198 รวมทั้งการขับเคลื่อนงานในด้านการพัฒนาโดยมีเป้าหมายเดียวกันในการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีของ คนในพื้นที่โดยใช้ฐานของทุนที่มีอยู่ภายในมาช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และมุ่งประโยชน์ส่วนรวม การ พัฒนาชุมชนจึงมีลักษณะการพัฒนาอย่างองค์รวมมุ่งให้เป็นชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง 5) ความต่อเนื่อง ส่วนผู้น าองค์กรชุมชนต าบลสวาย ได้เข้าร่วมในกระบวนการพัฒนาทักษะตามหลักสูตร ที่จัดโดยขบวนองค์กรชุมชน/เครือข่าย รวมถึงหน่วยงาน/ภาคต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และทัศนคติ ของผู้น าองค์กรชุมชนมีความเชื่อมั่นในแนวทางการพัฒนาที่องค์กรชุมชนเป็นแกนหลัก รวมถึงมี ทักษะในการบริหารจัดการงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เช่น การจัดท าแผนการพัฒนา ระบบข้อมูล การประสานเกิดขึ้น เพื่อท าให้การด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชนต าบลสวายมีความต่อเนื่อง ด้านความต่อเนื่องในการพัฒนาอาชีพ อาจจะยังไม่มีความต่อเนื่องเท่าที่ควร เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์เป็นงานฝีมือ และใช้ความเชี่ยวชาญ ความช านาญเฉพาะด้านในการผลิตสินค้า ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นที่ต้องหนุนเสริมพัฒนาทักษะ เพื่อให้มีผู้ที่ผลิตผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น ให้สามารถ ผลิตสินค้าได้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด 6) การปรับสัมพันธ์กับคนในพื้นที่ การที่สภาองค์กรชุมชนต าบลสวายมีการด าเนินการและขับเคลื่อนในด้านการพัฒนา ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทั้งทางด้านสวัสดิการ ทั้งจากสหกรณ์ร้านค้าชุมชน กองทุนสวัสดิการส าหรับ สมาชิก จนขยายไปสู่การให้การสนับสนุน ส่งเสริมทางด้านการพัฒนาอาชีพ แม้เป็นเรื่องใหม่และ ยังมีปัญหาอุปสรรคอยู่ ในแง่ของตลาด แต่ท าให้คนในชุมชนมีทัศนคติที่ดีต่อการรวมกลุ่ม จะเห็นได้ จากมีการรวมกลุ่มกันในพื้นที่หลากหลายมากถึง 54 กลุ่มทั้งกลุ่มทางด้านการเกษตร กลุ่มด้านปศุ สัตว์ และกลุ่มในการพัฒนาอาชีพ รวมทั้งการในการกิจกรรมในชุมชนคนในชุมชนต่างให้ความ ร่วมมือกับสภาองค์กรอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีความเข้าใจต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนอีก ด้วย สรุปในกระบวนการสร้างนวัตกรรมชุมชน สภาองค์กรชุมชนต าบลสวายมีการด าเนินการ และขับเคลื่อนในด้านการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทั้งทางด้านสวัสดิการจากสหกรณ์ร้านค้าชุมชน
199 กองทุนสวัสดิการส าหรับสมาชิก จนขยายไปสู่การให้การสนับสนุน ส่งเสริมทางด้านการพัฒนา อาชีพ อย่างไรก็ตามองค์การชุมชนต าบลสวายให้สนับสนุนเป็นการส่งเสริมในการรวมกลุ่ม โดย ส่งเสริมให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมโยงกับภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาและวัตถุดิบที่มีอยู่ใน ชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพของคนในต าบลสวายที่มีอยู่หลากหลายกลุ่ม ในส่วนการ สนับสนุนงบประมาณยังคงเป็นด้านการจัดสวัสดิการให้แก่คนในชุมชน ยังไม่มีการสนับสนุน งบประมาณเพื่อส่งเสริมอาชีพ แต่หากในด้านการจัดสวัสดิการมีความมั่นคงขึ้น แนวโน้มในอนาคตก็ จะเป็นการเน้นที่ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพในด้านการตลาด เพื่อให้สร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน ต่อไป การประเมินตา บลเข้มแขง ็4 มิติ มิติที่1 คนมีคุณภาพ ผู้น าชุมชน และสมาชิกสภาองค์กรชุมชนมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าร่วม กิจกรรมการอบรมสภาพัฒนาองค์กรชุมชน และขบวนองค์กรระดับศรีสะเกษ เพื่อสร้างเครือข่าย นอกจากนี้จากการที่เข้าร่วมท าโครงการกับหลากหลายหน่วยงานทั้งจากส านักงานกองทุนการ เสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ท าให้ผู้น าชุมชนได้รับองค์ความรู้ในด้าน การวิจัย การวางแผน การเขียนโครงการ มาใช้ในการพัฒนาชุมชน รวมทั้งคนในชุมชนยอมรับซึ่ง กันและกัน ท าให้เกิดการไว้เนื้อเชื่อใจของคนในชุมชน กลุ่มในชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ได้ ร่วมในโครงการเกิดความเข้มแข็งและมีความตื่นตัวในการมีส่วนร่วมกิจกรรมของชุมชน มิติที่2 องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง การด าเนินงานของกลุ่มสภาองค์กรชุมชน ด าเนินการต่อเนื่อง 10 ปี มีการด าเนินกิจกรรม การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ผู้น าองค์กร ชุมชนที่มีทัศนคติและความเชื่อมั่นในแนวทางการพัฒนาที่องค์กรชุมชนเป็นแกนหลัก รวมถึงมี ทักษะในการบริหารจัดการงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เช่น การจัดท าแผนการพัฒนา ระบบข้อมูล การประสานงาน เป็นต้น มีแผนการพัฒนาภาคชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยเกิดจากการมีส่วนร่วมของ เพื่อให้ได้รับทราบปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และผลักดันเข้าสู่แผนพัฒนาของ
200 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากนี้การที่มีกลไกและเครือข่ายที่เชื่อมโยงการขับเคลื่อนงาน พัฒนาร่วมระหว่างกลุ่ม องค์กรชุมชนต่างๆ ในพื้นที่ และเชื่อมโยงกับระดับจังหวัด ก็เป็นการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน เนื่องจากได้มีการสร้างเครือข่ายและแลกเปลี่ยนแนวทางการ พัฒนาระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง มิติที่3 คณุภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น ในด้านประชากรต าบลสวายมีปัญหาในกลุ่มประชากรวัยแรงงานที่มีน้อย เนื่องจากไป ท างานต่างถิ่น อย่างไรก็ตามคุณภาพชีวิตคนในชุมชนโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากอาชีพของคนในชุมชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร ปลูกพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ ชาวบ้านได้รับค าแนะน าและได้รับ ความรู้จากหน่วยงานราชการในการปลูกพืชเช่นอ้อย มีการท าอ้อยแปลงใหญ่ และในปีที่ผ่านมาได้ เริ่มต้นโครงการนาแปลงใหญ่ เพื่อเป็นการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ โดยในช่วงว่างเว้นจากการท า นา สมาชิกก็มีการรวมกลุ่มอาชีพเพื่อรายได้เสริม ได้แก่กลุ่มท าขนมดอกล าเจียก ขนมพื้นบ้านที่ ก าลังจะเลือนหายไปแต่ถูกสมาชิกกลุ่มร่วมอนุรักษ์ สืบสานให้คงอยู่ และด้วยอัตลักษ์ที่โดนเด่นใน รสชาติจึงท าให้ขนมชนิดนี้ติดตลาด และเป็นของขึ้นชื่อของต าบล นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุ่มของกลุ่มจักสาน ได้แก่ หมวกใบตาล ตะกร้าไม้กวาดจากไม้ ไผ่ และในด้านปศุสัตว์ ได้รวมกลุ่มกันท าโครงการโคแปลงใหญ่ โคเนื้อโคขุน เป็นวิสาหกิจชุมชน และ มีการรวมกลุ่มการใช้พลังงานทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ ไว้ใช้ในการเกษตรอีกด้วย มิติที่4 ความสมัพนัธก์บัท้องถิ่น สภาองค์กรชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีกับคนในชุมชน พื้นฐานของชุมชนมีความสัมพันธ์อัน ดีต่อกัน ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนโดยไม่ต้องร้องขอ ความสัมพันธ์กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปด้วยดี โดยให้การสนับสนุนในด้านบุคลากรมาร่วมเป็นสมาชิกสภา องค์กรชุมชน ช่วยเหลือด้านเอกสาร รวมทั้งการตั้งงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ทั้ง งบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ชุมชนร้องขอ การสนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชนมี ความเข้มแข็ง และสนับสนุนตามโครงการต่างๆ ที่เกิดจากแผนพัฒนาชุมชนที่สภาพองค์กรชุมชน ขับเคลื่อน
201 ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ 1. สภาองค์กรชุมชนต าบลถวายมีความเข้มแข็ง เนื่องจากใช้การสื่อสารและการประชุม ปรึกษาหารือกันตลอด เนื่องจากสภาองค์กรชุมชนและกลุ่มผู้น าชุมชนเป็นกลุ่มเดียวกัน จึงมีข้อดีใน การเสริมสร้างพลังเข้มแข็งในองค์กรชุมชนและการขับเคลื่อนงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันได้ ดังนั้น ควรคงลักษณะการด าเนินการไว้และเสริมแรงโดยการพัฒนาผู้น ารุ่นใหม่เพื่อต่อยอดการด าเนินงาน ของสภาองค์กรชุมชน 2. ควรหนุนเสริมการพัฒนาระหว่างกลุ่ม องค์กรชุมชนต่างๆ ในระดับพื้นที่ และการ เชื่อมโยงกับขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชนโดยการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. สภาองค์กรชุมชนยังไม่สามารถส่งเสริมการพัฒนาอาชีพให้คนในชุมชนได้ยึดเป็น อาชีพหลัก ในการสร้างรายได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากการขาดตลาดกลางในการขายผลิตภัณฑ์ใน ต าบล ท าให้มีข้อจ ากัดในช่องทางการจ าหน่ายสินค้า ทั้งที่ผลิตภัณฑ์ในชุมชนเป็นที่ต้องการของ ตลาด แม้สินค้าจะดีมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด แต่ช่องทางการจ าหน่ายสินค้ามีจ ากัด ท าให้ ผลิตภัณฑ์ในชุมชนยังไม่สามารถสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มอาชีพเท่าที่ควร ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ 1. นายประพันธ์ นาคนวล ประธานสภาองค์กรชุมชนสวาย 2. น.ส.สิดาวรรณ ไชยทา นักพัฒนาชุมชน อบต.สวาย 3. นายไพรวัน อินตา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 4. นายบุญชิด ศิลาชัย ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 8 5. นายไพบูรณ์ วงศ์ภักดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 7 6. น.ส.แดง บุตรทะนะ กลุ่มอาชีพจักสาน หมู่ 2 7. นางปราณี ไชยชาญ ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ 8. นายสุรัน พันธมาค ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 9. นายสุภา พันธมาศ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 10. นายสาย พันธมาศ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 10
202 กิจกรรมถอดบทเรียนชุมชนเข้มแข็งตำบลสวาย อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ รูปประกอบ กลุ่มอาชีพการทำหมวกใบตาล ตะกร้าไม้กวาดจากไม้ไผ่และใบตาล บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมโยงกับวัตถุดิบในท้องถิ่น
203 ถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบและนวัตกรรมชุมชน สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี เลขที่20 หมู่2 ตา บลโคกสีอา เภอสว่างแดนดิน จงัหวดัสกลนคร โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กตัญญู แก้วหานาม สาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลยักาฬสินธุ์ ส่วนที่ 1 บริบทพื้นที่ (Context) ในบริบทพื้นที่ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร มีความพิเศษโดยเฉพาะ เป็นพื้นที่ในการด าเนินโครงการพระราชด าริ “โครงการป่ารักน ้าอันเนื่องมาจากพระราชด าริบ้านป่า รักน ้า” ได้เริ่มขึ้นเมื่อ 21 ธ.ค. 2525 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ เยี่ยมราษฎร ณ วัดป่าสุขเกษมนิราศภัย บ้านหนองไผ่ ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ทรง พบว่าในหมู่บ้านนั้นมีราษฎรอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมีฐานะค่อนข้างดี ทรงสอบถามว่ามีอาชีพตัดไม้ ขาย มีเรือนหลังใหญ่มีที่ดินครอบครองคนละ 50 – 60 ไร่ แต่อีกกลุ่มหนึ่งมีฐานะยากจนมาก สภาพ ความเป็นอยู่แร้นแค้น ไม่มีที่ท ากิน เมื่อเสด็จฯ กลับถึงพระต าหนักภูพานราชนิเวศน์แล้ว ทรงมีพระ ราชเสาวนีย์ให้ พ.อ. เรวัติ บุญทับ เมื่อสมัยด ารงต าแหน่ง รอง ผบ.ร.3 เข้าเฝ้าและทรงมีพระราชด าริ ฯ ว่าต้องมีคนห้ามและอธิบายให้ราษฎรเข้าใจถึงผลดีผลเสียของการตัดไม้ท าทายป่า และจับจอง ที่ดินท ากินไว้คนละมากๆ แต่ใช้พื้นที่ไม่คุ้มค่า ปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า จะเป็นการท าลายต้นน ้าล า ธารและระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์อยู่แล้วและชีวิตของเขาเองโดย ไม่รู้ตัว พระองค์ท่านทรงมอบให้ พ.อ.เรวัติ บุญทับ ได้จัดแบ่งที่ดินจ านวน 10 ไร่ ที่ทรงเช่าจากนาง เหง้า เพิ่มพูน ราษฎรบ้านหนอง ไผ่ให้กับราษฎรกลุ่มที่มีฐานะยากจนและความเป็นอยู่แร้นแค้นไม่มีที่ท ากินและสอนให้รู้จักใช้พื้นที่ ทุกตารางนิ้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยพระองค์ท่านจะช่วยเหลือให้สามารถด ารงชีพอยู่ได้ในขั้นต้น ก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2526 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้ พ.อ.เรวัติ บุญทับ เข้าเฝ้า ณ พระต าหนักจิตรลดารโหฐาน รับพระราโชบายในการจัดตั้งหมู่บ้านป่า รักน ้าขึ้น โดยทรงคัดเลือกราษฎรยากจนไม่มีที่ท ากินจาก บ้านหนองไผ่ ต าบลโคกสี อ าเภอสว่าง
204 แดนดิน จังหวัดสกลนคร จ านวน 5 ครอบครัวและจากบ้านห้วยไหล่ ต าบลมหาชัย อ าเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม จ านวน 4 ครอบครัว รวมเป็น 9 ครอบครัว มาอยู่ในหมู่บ้านป่ ารักน ้า โดย พระราชทานบ้านให้เป็นที่อยู่อาศัย ลักษณะบ้านที่พระราชทานเป็นเรือนไม้ใต้ถุนยกสูง ฝาขัดแตะ ชั้นบนมี 2 ห้องนอน 1 ห้องพักผ่อน ชั้นล่างดัดแปลงเป็นห้องครัว ห้องสุขา ห้องเลี้ยงไหมและที่ตั้งกี่ ทอผ้าได้ ทรงพระราชทานเงินเดือนให้ ครอบครัวละ 1,500 บาท (ปัจจุบันงดรับเงินพระราชทานแล้ว ) และทรงมีพระราชด าริฯ ให้ราษฎรช่วยกันปลูกป่าไม้และรักษาป่าครอบครัวละประมาณ 5 ไร่ โดย ทรงเช่าที่ดินรกร้างว่างเปล่าจากราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียงเพิ่มเติมอีกตามจ านวนครอบครัวที่จะช่วย ปลูกป่า พ.ศ.2527 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชะนีนาถ เสด็จเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ จังหวัด อุดรธานี ทรงพบราษฎรยากจนไม่มีที่ดินท ากินและสภาพความเป็นอยู่ที่น่าสงสารอีกหลาย ครอบครัว ทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้ พ.อ.เรวัติ บุญทับ ไปรับราษฎรเหล่านั้นจาก อ าเภอหนองวัวซอ , อ าเภอหนองบัวล าภูจังหวัดอุดรธานี มาอยู่ที่บ้านป่ารักน ้าเพิ่มอีก 18 ครอบครัว ปี พ.ศ. 2528 รับ ราษฎรจาก อ าเภอบ้านม่วง, อ าเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร มาอยู่ที่บ้าน ป่ ารักน ้า เพิ่มอีก 9 ครอบครัว รวมในปัจจุบันมีสมาชิกโครงการป่ารักน ้า ทั้งสิ้น 36 ครอบครัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จเยี่ยมโครงการฯ บ้านป่ารักน ้า จ านวน 4 ครั้ง - ครั้งที่ 1 ทรงเสด็จเมื่อ วันที่ พ.ศ. 2526 - ครั้งที่ 2 ทรงเสด็จเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 27 ทรงปลูกต้นขี้เหล็ก - ครั้งที่ 3 ทรงเสด็จ เมื่อวันที่ 29 พ.ย. 37 ทรงปลูกต้นบง - ครั้งที่ 4 ทรงเสด็จเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 41 ทรงปลูกต้นกฤษณา โดยมีการด าเนินการ ช่วง ปี 2556 – 2557 ปัจจุบันโครงการบ้านป่ารักน ้ามีสมาชิกทั้งหมด 812 คน แบ่งสมาชิกออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้ - กลุ่มทอผ้าไหม 91 ชิ้น, ผ้าฝ้าย 8,842 ชิ้น, ผ้าลายสก๊อต 35 ชิ้น - กลุ่มผ้าปัก - กลุ่มจักสาน 2. ปัจจุบันมีสมาชิกในโครงการรวม 36 ครอบครัว พระราชทานพื้นที่ ส าหรับเป็นที่อยู่อาศัยประมาณ 1 ไร่ และพื้นที่ท าเกษตรกรรมประมาณคนละ 5 ไร่ ปัจจุบันพื้นที่เป็น พื้นที่ปลูกป่ า, อยู่อาศัย, ท าเกษตรกรรม และอ่างเก็บน ้า รวมทั้งสิ้นประมาณ 1,029 ไร่ โดยมี หน่วยงานรับผิดชอบ กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 13
205 ซึ่งส่งผลให้พื้นที่มีลักษณะเฉพาะของพื้นที่นั้น ในการเสริมสร้างทางสถาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม รวมถึงความคิด ความเชื่อ ส่งผลต่อศักยภาพการด าเนินงานของ กลไกสภาองค์กรชุมชนแต่ละต าบลมีความโดดเด่นให้มีความโดดเด่น 1. บริบทเชิงพื้นที่ 1. ด้านกายภาพ 1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือต าบล ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ อ าเภอสว่างแดน ดิน มีขนาดพื้นที่ 50,535 ไร่ ( ประมาณ 93 ตารางกิโลเมตร) อยู่ห่างจากอ าเภอสว่างแดนดิน ประมาณ 19 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับต าบลต่าง ๆ ดังนี้
206 ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต าบลหนองแปน อ าเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดต่อกับ ต าบลบ้านถ่อน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต าบลทุ่งแก อ าเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต าบลโพนสูง และต าบลดงเย็น จังหวัดอุดรธานี 1.2 ลกัษณะภมูิประเทศ ต าบลโคกสี มีลักษณะพื้นที่เป็นลอนลูกลื่น สูง ๆ ต ่า ๆ ลาดไปทางทิศตะวันตกของต าบล มี พื้นที่ราบลุ่มสลับกับที่ดอน เหมาะแก่การท าการเกษตร เช่น ปลูกข้าว ปลูกพืชไร่ พืชสวน เลี้ยงสัตว์ และเลี้ยงสัตว์น ้า มีความสูงจากระดับน ้าทะเลโดยเฉลี่ย 170 เมตร 1.3 ลกัษณะภมูิอากาศ ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร มีอุณหภูมิ เฉลี่ยสูงสุดในสูงสุดในคาบ 10 ปี ( 2548 – 2558 ) ในฤดูร้อนอยู่ที่ 39. 15 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิ เฉลี่ยต ่าสุดในสูงสุดในคาบ 10 ปี ( 2548 – 2558 ) อยู่ที่ 20.33 องศาเซลเซียส ปริมาณน ้าฝน ประจ าปี 2558 ตกหนักที่สุด 1 วัน ปริมาณน ้าฝน 72. 7 มิลลิลิตร เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 ตกหนักรอบ 1 เดือน ปริมาณ น ้าฝน 408.6 มิลลิลิตร เมื่อเดือนกรกฎาคม 2558 1.4 ลกัษณะของดิน ดินต าบลโคกสีแบ่งเป็น 4 ชุด คือ 1. ดินชุดร้อยเอ็ด มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย สีเทาอ่อน หรือสีน ้าตาล มีจุดสีเหลือง ปน แดงหรือสีน ้าตาล ปฏิกิริยาของดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัด บริเวณที่พบได้แก่ หมู่ที่ 2 , 4 ,11 ,13 คิดเป็นร้อยละ 25 ของพื้นที่ 2. ดินชุดโคราช มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย สีน ้าตาลเข้ม ปฏิกิริยาของดินเป็นกรด ปาน กลางถึงกรดแก่ บริเวณที่พบ ได้แก่ หมู่ที่ 2 , 4 , 5 , 7 ,10 ,12 ,13 คิดเป็นร้อยละ 25 ของพื้นที่ 3. ดินชุดโพนพิสัย มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเทาเข้ม บริเวณที่พบ ได้แก่ หมู่ที่ 1 , 2 , 5 , 7 ,8 ,9 ,10 ,12 คิดเป็นร้อยละ 25 ของพื้นที่
207 4. ดินชุดน ้าพอง มีลักษณะเป็นดินทรายปนดินร่วน สีน ้าตาลเข้ม บริเวณที่พบ หมู่ที่ 1 , 2,9 คิดเป็นร้อยละ 25 ของพื้นที่ 1.5 ลักษณะของแหล่งน ้า ประกอบแหล่งน ้าธรรมชาติและแหล่งน ้าที่สร้างขึ้น - แหล่งธรรมชาติประกอบด้วย ล าดับที่ ชื่อแหล่งน ้าที่ตั้ง ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่/สถานะน ้า 1. บึงโคกสี หมู่ที่ 1,3 ขนาดพื้นที่ 777 ไร่ มีน ้าตลอดปี 2. บึงโน หมู่ที่ 5,7 ขนาดพื้นที่ 300 ไร่ มีน ้าตลอดปี 3. บึงฟ้าแลบ หมู่ที่ 5 ขนาดพื้นที่ 200 ไร่ มีน ้าตลอดปี 4. แม่น ้าสงคราม หมู่ที่ 6,8,10,12 ความยาวประมาณ 10 กิโลเมตร มีน ้า ตลอดปี 5. ล าห้วยพาน หมู่ที่ 2,4,6 ความยาวประมาณ 15 กิโลเมตร มีน ้า ตลอดปี 6. ล าห้วยข้าวหลาม หมู่ที่ 4 ความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร มีน ้าตลอด ปี 7. ล าห้วยทราย หมู่ที่ 2,4 ความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ไม่มีน ้า ตลอดปี 8. ล าห้วยสารจอด หมู่ที่ 10,12 ความยาวประมาณ 15 กิโลเมตร มีน ้า ตลอดปี - แหล่งน ้าที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย 1. อ่างห้วยข้าวหลาม เป็นอ่างเก็บน ้าตามโครงการในพระราชด าริ มีพื้นที่ประมาณ 60 ไร่ สร้างเมื่อ พ. ศ. 2524 หมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์คือบ้านหนองไผ่ 2. อ่างเก็บน ้าซึม 1 เป็นอ่างเก็บน ้าตามโครงการในพระราชด าริ มีพื้นที่ประมาณ 50 ไร่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 หมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์ คือบ้านป่ารักน ้า
208 3. อ่างเก็บน ้าซึม 2 เป็นอ่างเก็บน ้าตามโครงการในพระราชด าริ มีพื้นที่ประมาณ 80 ไร่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2526 หมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์ คือบ้านป่ารักน ้า 4 .อ่างเก็บน ้าซึม เป็นอ่างเก็บน ้าตามโครงการในพระราชด าริ มีพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2522 หมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์ คือบ้านหนองไผ่ 1.6 ลักษณะของไม้และป่ าไม้ สภาพป่ าส่วนใหญ่เป็นป่ าเต็งรัง ป่ าผลิใบเสื่อมโทรม และเป็นพื้นที่ป่ าสงวนแห่งชาติ บางส่วน ขนาดพื้นที่ป่าไม้ของต าบลโคกสีประมาณ 11,063 ไร่ 2. ด้านการเมือง การปกครอง 2.1 เขตการปกครอง ต าบลโคกสีแบ่งเขตการปกครองเป็น 14 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อผู้ใหญ่บ้าน หมายเลขโทรศัพท์ 1. บ้านโคกสี นายจรัล ศรีประดับ 098 – 1182131 2. บ้านโคกคอน นางละมัย ผาเขาบวช 087 – 8055596 3. บ้านโคกสว่าง นางธนาภร สมณะ 089 - 0035563 4. บ้านหนองไผ่ นายโชคชัย แก้วอาสา 080 – 1956618 5. บ้านบึงโนใน ( ก านัน ) นายวิทยา จันดารักษ์ 085 – 2741874 6. บ้านดอนม่วย นายอาคม สุวรรณเพชร 093 – 6042984 7. บ้านบึงโนนอก นายบูรณ์พิภพ จุลโนนยาง 091 – 0604247 8. บ้านท่าสะอาด นายประยูร เย็นรัตน์ 082 – 8684811 9. บ้านสามแยก นายโสภา ป้องปิ่น 087 – 9555029 10. บ้านตาล นายทองปาน ใบมะลิ 087 – 9555029 11. บ้านป่ารักน ้า นายกองสี หงษ์ทอง 080 – 8684811 12. บ้านตาล นางปาณิสรา จ้อยจีด 093 – 6707010 13. บ้านสุขเกษม นายจันเพ็ง แก้วกันยา 087 – 8619165 14. บ้านโคกคอน นายสมจิตร แสนอุบล 083 – 3325902
209 3. ประชากร 3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับประชากร ต าบลโคกสีมีประชากร จ านวน 11,531 คน จ าแนกตามเพศ ดังนี้ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน เพศชาย เพศหญิง รวม 1. บ้านโคกสี 631 644 1,275 2. บ้านโคกคอน 327 310 637 3. บ้านโคกสว่าง 288 293 581 4. บ้านหนองไผ่ 542 547 1,089 5. บ้านบึงโน ( ก านัน ) 319 311 630 6. บ้านดอนม่วย 440 451 891 7. บ้านบึงโนนอก 628 636 1,364 8. บ้านท่าสะอาด 426 439 865 9. บ้านสามแยก 343 352 698 10. บ้านตาล 353 345 698 11. บ้านป่ารักน ้า 148 141 289 12. บ้านตาล 565 541 1,106 13. บ้านสุขเกษม 443 456 899 14. บ้านโคกคอน 312 327 639 รวม 5,910 5,621 11,531 ที่มา :ระบบสารสนเพื่อการวางแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อมูล ณ มิถุนายน 2562 3.2 ช่วงอายุและจ านวนประชากร ช่วงอายุ เพศชาย ( คน ) เพศหญิง ( คน ) รวม หมายเหตุ ช่วงอายุต ่ากว่า 18 ปี 1,453 1,477 2,920 ช่วงอายุ 18 – 60 ปี 3,504 3,361 6,865 ช่วงอายุมากกว่า 60 ปี 953 873 1,826 รวม 5,910 6,521 11,531 หมายเหตุ ระบบสารสนเพื่อการวางแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อมูล ณ มิถุนายน 2562
210 4. สภาพทางสังคม 4.1 การศึกษาต าบลโคกสี มีสถานศึกษา ที่เปิดสอนในระดับต่าง ๆ ดังนี้ ที่ ชื่อโรงเรียน ที่ตั้ง ระดบัที่เปิดสอน 1. โรงเรียนบ้านโคกสี ( จตุรภูมิ พิทยา ) หมู่ที่ 1 ระดับอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 2. โรงเรียนบ้านโคกคอน – ดอนม่วย หมู่ที่ 2 ระดับอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 3. โรงเรียนบ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 4 ระดับอนุบาล – ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3 4. โรงเรียนบ้านบึงโน หมู่ที่ 5 ระดับอนุบาล – ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3 5. โรงเรียนบ้านตาล หมู่ที่ 10 ระดับอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 6. โรงเรียนบ้านท่าสะอาด ( สวรรค์ คงคา ) หมู่ที่ 8 ระดับอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 7. โรงเรียนโคกสีวิทยาสรรค์ หมู่ที่ 1 ระดับมัธยมศึกษาปี่ที่ 1 – 6 8. โรงเรียนไฮเทคเทคโนโลยีสกลนคร (เอกชน) หมู่ที่ 9 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ – ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่มา : กองการศึกษา เทศบาลต าบลโคกสี ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2562 4.2 สาธารณสุข ต าบลโคกสี มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จ านวน 2 แห่ง คือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต าบลโคกสี ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านตาล ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านตาล 4.3 อาชญากรรม ปี พ.ศ. ประเภทคดี จ านวนคดี หมายเหตุ 2562 คดีท าร้ายร่างกายผู้อื่นได้รับ อันตราย 1 คดี คดีเมาขณะขับรถ 12 คดี คดียาเสพติด 6 คดี คดียักยอกทรัพย์ 1 คดี
211 ปี พ.ศ. ประเภทคดี จ านวนคดี หมายเหตุ คดีท าให้เสียทรัพย์ 1 คดี คดีลักทรัพย์ในเวลากลางคืน 2 คดี คดีเสพของมึนเมาในขณะขัขรถ 2 คดี รวมทั้งหมด 26 คดี ที่มา: ข้อมูลจากสถานีต ารวจภูธรโคกสี ณ เดือน มิถุนายน 2562 4.4 การสังคมสงเคราะห์ ต าบลโคกสีมีการสังเคราะห์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์ โดยจ าแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้ ล าดับ ประเภทการสงเคราะห์ จ านวน ( คน ) หมายเหตุ 1. ผู้พิการ 471 2. ผู้ป่วยเอดส์ 17 3. ผู้สูงอายุ 1,600 รวม 2,088 ที่มา: ข้อมูลจากกองสวัสดิการสังคม ณ เดือน มิถุนายน 2562 5.ระบบบริการพื้นฐาน 5.1 การคมนาคมขนส่ง ต าบลโคกสีอยู่ห่างจากอ าเภอสว่างแดนดิน ประมาณ 19 กิโลเมตร มีรถโดยสารประจ าทาง จาก ต าบลโคกสี - อ าเภอสว่างแดนดิน อัตราค่าโดยสาร คนละ 25 บาทต่อเที่ยว นอกจากนี้ยังมีรถ ปรับ อากาศของบริษัท 407 พัฒนา ต้นทางจากอ าเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ถึงปลายทาง กรุงเทพมหานคร อัตราค่าโดยสารคนละ 480 บาท และบริษัทสวัสดีอิสานทัวร์ ต้นทางจากอ าเภอ บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ถึงปลายทางกรุงเทพมหานคร อัตราค่าโดยสารคนละ 565 บาท
212 5.2 การไฟฟ้า หมู่บ้านในต าบลโคกสีมีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน 5.3 การประปา หมู่บ้านในต าบลโคกสี มีระบบประปาหมู่บ้าน จ านวน 12 หมู่บ้าน ในหมู่ที่ 1,2 และหมู่ที่ 3 บางส่วนใช้น ้าจากการประปาส่วนภูมิภาค 5.4โทรศัพท์ ประชาชนใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการติดต่อสื่อสารต าบลโคกสีมีตู้โทรศัพท์สาธารณะ จ านวน 25 ตู้ ปัจจุบันใช้งานไม่ได้แล้ว 5.5ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่งและวัสดุครุภัณฑ์ ต าบลโคกสีมีที่ท าการไปรษณีย์ไทย จ านวน 1 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต าบลโคกสี มีเอกชนมีผู้ ให้บริการขนส่งและมีร้านค้าประกอบการค้าด้านวัสดุครุภัณฑ์ในต าบลโคกสี ประมาณ 4- 5 ร้านค้า 6. ระบบเศรษฐกิจ 6.1 การเกษตร ต าบลโคกสีมีการผลิตพืชในฤดูฝนและฤดูแล้ง ดังนี้ ตารางการผลิตพืชในฤดฝูน ที่ ชนิดพืช พื้นที่ปลูก ( ไร่ ) ผลผลิตต่อไร่ (ถัง) ผลผลิตรวม (ตนั) 1. ข้าวเจ้า 11,284 375 4,231 2. ข้าวเหนียว 24,556 397 9,748 3. อ้อยโรงงาน 520 12,000 6,240 4. ข้าวโพดฝักสด 15 2,000 30 5. แตงร้าน 10 3,000 30
213 ที่ ชนิดพืช พื้นที่ปลูก ( ไร่ ) ผลผลิตต่อไร่ (ถัง) ผลผลิตรวม (ตนั) 6. แตงโมเนื้อ 20 3,500 70 7. ถั่วฝักยาว 10 700 7 8. บวบ 4 1,800 7 ตารางการผลิตพืชในฤดแูล้ง ที่ ชนิดพืช พื้นที่ปลูก ( ไร่ ) ผลผลิตต่อไร่( ถงั) ผลผลิตรวม (ตนั) 1. ข้าวเจ้า - - - 2. ข้าวเหนียว 1,320 350 462 3. ข้าวโพดฝักสด 250 2,500 150 4. แตงโมเนื้อ 25 5,000 125 5. แตงกวา 15 1,200 180 6. พืชผักต่างๆ 32 1,200 38 7. พริก 8 1,500 12 แหล่งที่มา: ส านักงานเกษตรอ าเภอสว่างแดนดิน 6.2 ปศุสัตว์ ต าบลโคกสี มีการเลี้ยงสัตว์ประเภทต่าง ๆ ดังนี้ ที่ ประเภทสัตว์เลี้ยง จ านวน (ตัว ) ผลผลิต ( ก.ก ) 1. โคเนื้อ 2,073 621,900 2. กระบือ 1,315 394,500 3. สุกร 1,246 124,600 4. ไก่ 31,052 31,052 5. เป็ด 4,105 61,575 แหล่งที่มา: ส านักงานเกษตรอ าเภอสว่างแดนดิน
214 6.3 การบริการ ต าบลโคกสีมีสถานบริการด้านการพยาบาลของเอกชน จ านวน 2 แห่ง คือ วันวิสาข์ การ พยาบาลและจิราพรการพยาบาล เป็นสถานพยาบาลที่ตรวจและรักษาโรคทั่วไปแบบไม่รับผู้ป่วยค้าง คืน โดยเปิดให้บริการในตอนเย็นเวลา 18.00 น. เป็นต้นไป 6.4 การท่องเที่ยว ต าบลโคกสี มีสถานที่ท่องเที่ยวดังนี้ (1.) วัดพระธาตุมีชัย ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านโคกคอน เป็นแหล่งอารยธรรมที่มีอายุราว 5,000 ปี มีการขุดพบโครงกระดูกและเครื่องใช้ของมนุษย์สมัยโบราณ ปัจจุบันใช้เป็นแหล่งศึกษาทาง โบราณคดีของท้องถิ่น ( 2.) บึงโคกสี ตั้งอยู่หมู่ที่1 บ้านโคกสี เป็นแหล่งน ้าธรรมชาติที่มีน ้าตลอดปี ปัจจุบันใช้ เป็น แหล่งน ้าดิบเพื่อผลิตน ้าประปา เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น ้าจืดและใช้เป็นสถานที่จัดงานประเพณี ลอย กระทงของหมู่บ้าน (3.) พระธาตุเจดีย์ศรีมงคล ตั้งอยู่วัดใหม่บ้านตาล หมู่ที่ 10 ต าบลโคกสี อ าเภอสว่าง แดน ดิน จังหวัดสกลนคร เป็นสถานที่ส าคัญทางพระพุทธศาสนา (4.) โครงการบ้านป่ารักน ้าอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 บ้านป่ารักน ้า เป็น หมู่บ้านในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีสมาชิกทอผ้าไหมและผ้าฝ้าย มีการอบรมปักผ้า ต่าง ๆ ปัจจุบันมีหัวหน้าโครงการป่ารักน ้าอันเนื่องมาจากพระราชด าริเป็นผู้ดูแล (5.) หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านบึงโนใน เป็นหมู่บ้านที่ได้รับรางวัล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ มีฐานการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ธนาคาร ข้าว ร้านค้าชุมชน โรงน ้าดื่ม สวนผักหวาน สวนมะนาวและโรงเพาะเห็ด กลุ่มทอผ้า ฯลฯ ปัจจุบันหมู่บ้าน ดังกล่าวเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง โดยส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงานของ ทางราชการที่มาศึกษาดูงาน และประชาชนผู้สนใจทั่วไป
215 6.5 อุตสาหกรรม ต าบลโคกสีเป็นแหล่งผลิตอิฐมอญ ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ปัจจุบันมีจ านวน 35 โรง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 9 ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 7 . ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 7.1 การนับถือศาสนา ประชาชนในต าบลโคกสีส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ 7.2 ประเพณีและงานประจ าปีงานประจ าปีของต าบลโคกสี มีดังต่อไปนี้ (1.) งานประเพณีแข่งเรือ จัดท าขึ้นเพื่อบวงสรวงปู่ศรีสุทโธ ตามความเชื่อต านานนาคราช จัดท าขึ้น ณ บ้านท่าสะอาดหมู่ที่ 8 บริเวณริมฝั่งแม่น ้าสงคราม ห้วงระยะเวลาในการแข่งเรือคือ ประมาณ เดือนตุลาคม (2.) งานประเพณีลอยกระทง จัดท าขึ้นเพื่อขอขมาแม่น ้าคงคา จัดท าขึ้น ณ บ้านโคกสี หมู่ที่ 1 บริเวณริมบึงโคกสี ห้วงระยะเวลาในการจัดงานประเพณี ภายในเดือนพฤศจิกายน (3.) งานประเพณีก่อเจดีย์ทราย จัดท าขึ้นเพื่อสร้างอานิสงส์ จัดท าขึ้น ณ บ้านโคกสว่าง หมู่ ที่ 3 บริเวณลานวัดโคกสว่างวารีรมย์ ห้วงระยะเวลาในการจัดงานประเพณี คือ ประมาณเดือน เมษายน (4.) งานประเพณีบุญข้าวจี่ จัดท าขึ้นเพื่อสร้างอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไป แล้ว จัดท าขึ้น ณ บ้านตาล หมู่ที่ 12 ห้วงระยะเวลาการจัดงานในเดือนกุมภาพันธ์ (5.) งานประเพณีบุญบั้งไฟ จัดท าขึ้นเพื่อสานสานบูชาพญาแถน ผู้ประทานน ้าให้แก่มนุษย์ เพื่อให้มีน ้าในการเพาะปลูก จัดท าขึ้น ณ บ้านโคกคอน หมู่ที่ 2 ,14 ห้วงระยะเวลาการจัดงานใน เดือนพฤษภาคม (6.) งานประเพณีบุญผะเหวด จัดท าขึ้นเพื่อร าลึกถึงอดีตชาติของพระพุทธเจ้า จัดท าขึ้น ณ บ้านตาล หมู่ที่ 12 ห้วงระยะเวลาการจัดงานในเดือนมีนาคม (7.) งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา จัดท าขึ้นเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ถวายผ้าอาบน ้าฝน และเทียนพรรษาแด่พระสงฆ์ เนื่องจากในพระสงฆ์เหล่านั้นต้องจ าพรรษาที่วัด จัดท าขึ้น ณ บ้านบึง โนในและบึงโนนอก ห้วงระยะเวลาการจัดงานใน เดือนกรกฎาคม
216 7.3 ภมูิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ต าบลโคกสีมีภูมิปัญญาท้องถิ่นได้แก่ การท าพิธีบายศรีสู่ ขวัญแบบภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันมีผู้รักษาประเพณีนี้ไว้ คือนายบุญใส โคตรจันทร์ หมู่ที่ 1 และ การทอ ผ้าไหมและผ้าฝ้าย ผู้อนุรักษ์ภูมิปัญญาประเภทนี้ ได้แก่นางอาภรณ์ เอี่ยมบัณฑิต และสมาชิกกลุ่ม ทอ ผ้าฝ้าย หมู่ที่10 และการทอผ้ามัดหมี่ที่บ้านบึงโนนอก หมู่ที่ 5 ด้านภาษาถิ่น ภาษาที่ใช้สื่อสาร ในต าบลโคก สี ส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยอิสาน 7.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ด้านหตัถกรรม ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรางวัลประเภท สินค้า โอท๊อปของต าบลโคกสีคือ ผ้าไหมลายไอ่ค า และผ้าห่มกันหนาวที่ท ามาจากฝ้าย มีแหล่งผลิต ที่บ้านตาล หมู่ที่ 10 ด้านการเกษตรมีการจ าหน่ายข้าวไรเบอร์รี่ ที่หมู่ที่ 7 บ้านบึงโนนอก ต าบลโคก สี เป็นบางครั้งคราว เช่นงานออกร้านของส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอสว่างแดนดิน เป็นต้น 8. ทรพัยากรธรรมชาติ 8.1 น ้า ต าบลโคกสีมีแหล่งน ้าที่ส าคัญ ดังนี้ (1) บึงโคกสี ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ใช้เป็นแหล่งน ้าดิบเพื่อผลิตน ้าประปาและแหล่งอาหารของคนใน ชุมชน (2) บึงฟ้าแลบ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ใช้เป็นแหล่งน ้าเพื่อการเกษตรและแหล่งอาหารของคนใน ชุมชน (3 ) ล าห้วยสงคราม เป็นแหล่งน ้าเพื่อใช้ในการเกษตรและแหล่งอาหารของคนชุมชม รวมถึง การจัดงานประเพณีแข่งเรือของบ้านท่าสะอาด หมูที่ 8 8 (4) ล าห้วยพาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ใช้เป็นแหล่งน ้าเพื่อการเกษตรและแหล่งอาหารของชุมชน (5) บ่อประทาย ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ใช้เป็นแหล่งเพื่อการเกษตรและแหล่งอาหารของชุมชน 8.2 ป่ าไม้ ป่ าไม้ในต าบลโคกสี ลักษณะเป็นป่ าเบญจพรรณ ไม่มีภูเขาและป่ าไม้ที่มีคุณค่าทาง เศรษฐกิจ
217 8.3 ทรพัยากรธรรมชาติที่สา คญัขององคก์รปกครองส่วนท้องถิ่น (1 ) ต้นกก ต าบลโคกสีมีทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญ คือ ต้นกก เป็นพืชที่มีมากในบึงโคกสี ประชาชนในต าบลโคกสี น ามาใช้ประโยชน์ในการทอเสื่อ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ (2) ต้นคล้า ต าบลโคกสีมีต้นคล้า ตามปกติจะขึ้นในบริเวณพื้นที่ชุ่มน ้า ประชาชนน ามาใช้ ประโยชน์ในด้านการจักสาน เช่น กระติ๊บใส่ข้าวเหนียวนึ่ง และของใช้อื่นๆ (3) ต้นโสน ต าบลโคกสีมีต้นโสน เป็นพืชพันธุ์ธรรมชาติที่ขึ้นในบริเวณบึงโน หมู่ที่ 5 บ้าน บึง โนใน คุณประโยชน์ของต้นโสน คือ ดอกโสนและยอดโสน ใช้เป็นอาหารและท าขนมไทย 2. ประวตัิความเป็ นมา ; สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ประวัติความเป็นมาต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็นต าบลเก่าแก่ ตั้ง มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2431 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 132 ปี ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอิสาน นับถือ ศาสนาพุทธ แบ่งเขตการปกครอง ประกอบด้วย 14 หมู่บ้าน โดยสภาองค์กรชุมชนต าบลต าบลโคก สี ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พรบ. สภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 จึงเป็นเวทีกลาง ในการประสาน เชื่อมโยงกลุ่ม องค์กรและภาคีการพัฒนา ท้องที่และท้องถิ่นในพื้นที่ต าบล มาร่วม กันก าหนดเป้าหมายและทิศทางการพัฒนาตามภายใต้การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและความ ต้องการไปสู่การจักท าแผนพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาและต่อยอดงานพัฒนาในชุมชน ท้องถิ่น ได้อย่างยั่งยืน โครงการส่วนใหญ่ที่ด าเนินการเป็นโครงการเกี่ยวกับที่ดินท ากิน ในปีงบประมาณ 2564 ได้ ส่งโครงการ ท่องเที่ยวเชิงพุทธหนุนผลิตภัณฑ์ชุมชนต าบลโคกสี เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ จ านวน เงิน 45,000 บาท 3. กลไก ; สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ได้มีกระบวนการขับเคลื่อนงานในระดับต าบลโดยเป็นเวที กลางในการประสานงานเรื่องความร่วมมือกับภาคีทุกภาคส่วน ร่วมจัดท าแผนพัฒนาชุมชน บูรณา การแผนงาน 1 แผน 1 ต าบล ตามสภาพปัญหาความต้องการของชุมชน ครอบคลุม วิถีบริบท
218 ชุมชน โดยใช้ฐานข้อมูลเดียวกันและถูกต้องเป็นปัจจุปันในการก าหนดแนวทางพัฒนาต าบล เชื่อมโยงสู่แผนพัฒนาร่วมกับหน่วยงานในท้องที่พ้องถิ่น แต่ยังขาดความเข้าใจเรื่องกระบวนการ ด้านเอกสารและแนวทางที่ถูกต้อง เนื่องจากคณะท างานสภาองค์กรชุมชต าบลโคกสียังขาดบุคลากร ในด้านการจัดท าเอกสาร ดังนั้นบทเรียนการท างานด้านกระบวนการจัดท าเอกสารจึงเป็นสิ่งที่ต้อง เกิดการช่วยเหลือจากหน่วยงานและบุคลากร กับทางท้องถิ่นเพื่อให้สามารถด าเนินงานได้อย่างมี คุณภาพ ซึ่งปัจจุบันทางสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสีได้ด าเนินงานในเรื่องการพัฒนาของขบวน ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องในด้านเกษตรและพัฒนาชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม จะเห็นได้จากการตั้งกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนที่มีสินค้าจ าหน่วย หลากหลาย เช่น กลุ่มผ้าพื้นเมือง กลุ่มแปรรูปอาหาร กลุ่มเกษตร อินทรีย์ ฯลฯ ดังนั้น บทเรียนการที่ผ่านมาเป็นสิ่งที่ส าคัญและทางสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี 4. ภาคีเครือข่าย ; หน่วยงานภายนอก ที่เข้ามาหนุนเสริมทั้งความรู้ และงบประมาณ ที่ ชื่อองค์กรที่เข้าร่วมในการจัดท า แผน บทบาทและการสนับสนุน 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลต าบลโคกสี สนับสนุนงบประมาณช่วยเหลือในเรื่องการจัดกิจกรรม ต่างๆ 2 สถาบันการเงินชุมชนต าบลโคกสี สนับสนุนเงินหมุนเวียนให้กับสมาชิก 3 กองทุนสวัสดิการต าบลโคกสี สนับสนุนจัดสวัสดิการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้แก่สมาชิก 4 ธนาคารขยะต าบลโคกสี ส่งเสริมให้มีการจัดการขยะในชุมชนและสนับสนุนให้ สมาชิกมีอาชีพเสริม ส่วนที่ 2 การสนับสนุนจาก พอช. (Input) 1. เป้าหมายการท างาน ในปี2564 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้สนับสนุนขบวนองค์กรชุมชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ด าเนินโครงการพัฒนาและเชื่อมโยงกลุ่มธุรกิจชุมชน จ านวน 80 ต าบล และ สนับสนุนต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง จ านวน 100 ต าบล ซึ่งจะเป็นฐานการพัฒนาทั้งในมิติด้าน เศรษฐกิจและสังคมสู่พื้นที่ต้นแบบชุมชนท้องถิ่นจัดการ ตนเองในการเรียนรู้และขยายผลสู่พื้นที่อื่น ๆ เป็นการพัฒนาพื้นที่รูปธรรมชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองที่มีความ หลากหลาย เช่น การพัฒนา
219 เศรษฐกิจชุมชน ท่องเที่ยวชุมชน เกษตรกรรม การจัดการภัยพิบัติ เป็นต้น ซึ่งได้ก าหนด กรอบ งบประมาณการพัฒนาแผนธุรกิจชุมชน โดยในปี 2564 ได้สนับสนุนงบประมาณให้สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ผ่านเทศบาล ตา บลโคกสีในชื่อ “โครงการพฒันาตา บลต้นแบบชุมชนเข้มแขง ็ ส่งเสริมกลุ่มผลิตภณัฑผ์ ้า ย้อมครามต าบลโคกสี” สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลโคกสี จ านวนงบประมาณ 45,000 บาท 2. กลยุทธ์ ประเด็นบ่งชี้ความเข้มแข็งของต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง 4 ประเด็น (ตามเอกสารเสนอ ก.พ.ร.) ประกอบด้วย 1. คนมีคุณภาพ 2. องค์กรชุมชนเข้มแข็งมีธรรมาภิบาล 3. สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนได้ 4. ชุมชนมีความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายใน ระดับต่าง ๆ ได้ 3. แผนงาน/กิจกรรม แผนเพิ่มความสามารถการท ามาหากิน ท ามาค้าขายของชุมชนวิสาหกิจชุมชนบึงโนในทอ ผ้าไหมสามัคคี โดยมีผลิตภัณฑ์/สินค้า เป็น ผ้าไหม, ผ้าย้อมคราม, ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดน ดิน จังหวัดสกลนคร โดยมีการก าหนดกิจกรรมและผู้รับผิดชอบ ที่ชัดเจน ดังนี้ กิจกรรม กิจกรรมย่อย ผ้รูบัผิดชอบ วนัที่ดา เนินการ 1.การตลาด - ขายที่กลุ่มทอผ้าและคณะ ศึกษาดูงาน - ขายออนไลน์ เพจหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง - ขายตามงานที่จัดนิทัศ การ นางนู มะธุวร นางสุพรรษา จันดารักษ์ ท าตลอดปี
220 กิจกรรม กิจกรรมย่อย ผ้รูบัผิดชอบ วนัที่ดา เนินการ 2.เพิ่มเสน่ห์สินค้าตัว เอก - ผ้าคราม - ผ้าครามพันคอ นางนู มะธุวร และ สมาชิกในกลุ่ม ท าตลอดปี 3.สินค้าตัวรอง - การแปรรูปผ้าคราม - หมวกผ้าคราม - ท ากระเป๋ า - ท าย่าม - ท าต่างหู - ท าสร้อยคอ - ท ายางรัดผม - ท าพวงกุญแจ - ท าผ้าขาวม้า นางนิ่มนวล ธงศรี นางสุพรรษา จันดารักษ์ และสมาชิกในกลุ่มทอผ้า ท าตลอดปี 4.สินค้าตัวใหม่ - ผ้าคลุมไหล่ปักลายจาก ด้ายย้อมสีธรรมชาติ - ตะกร้าหวาย - ไข่เค็มสมุนไพร - ข้าวอินทรีย์ - น ้าตาลอ้อยสด - น ้าตาลปี๊บจากอ้อยสด กลุ่มทอผ้า กลุ่มจักสาน นางหอมจันทร์ ธงศรี ท าตลอดปี 5.สินค้าตัวที่น ามาจาก เพื่อนเครือข่ายมาขาย ให้ลูกค้าประจ า - กระติบข้าว - ไม้กวาดดอกหญ้า - ฐานรองบาตร - เข่งปลาทู - ผ้าคราม - ผ้าปักลาย บ้านโคกคอน บ้านท่าสะอาด บ้านดอนม่วย บ้านป่ารักษ์น ้า ท าตลอดปี
221 ผลิตภณัฑช์ุมชน 4. งบประมาณ 45,000 บาท 5. เครื่องมือ ทาง พอช. ได้เสริมสร้างความเข้าใจในการจัดท าโครงการ ข้อเสนอโครงการ ระเบียบทาง ราชการให้กลุ่มและสมาชิกเข้าใจในกระบวนการด้านเอกสารและแนวทางที่ถูกต้อง อีกทั้ง ผู้น าใน พื้นที่มีความเข้มแข็ง ท างานเป็นทีม มีจิตอาสาในการร่วมพัฒนากลุ่ม 6. เจ้าหน้าที่ นายหนูเกณฑ์ ศรีบัว (พี่เอ็กซ์) หรือที่แม่ ๆ เรียนว่าหัวหน้าเอ็กซ์ เป็นเจ้าหน้าที่จาก พอช. สกลนคร ที่ค่อยให้ความช่วยเหลือในทุกมิติ ตั้งแต่การให้ค าปรึกษาที่ดินท ากิน การถือครองที่ดิน ตลอดจนการบริหารจัดการกลุ่มต่าง ๆ เป็นผู้ที่ค่อยประสานหาหน่วยงานมาช่วยเหลือกลุ่มต่าง ๆ ใน ชุมชนให้เข้มแข็ง การเข้าถึงความต้องการของคนในชุมชนเป็นปัจจัย ที่ท าให้การท างานในพื้นที่ได้รับความ ไว้วางใจจากชุมชน การต่อสู้กับอ านาจรัฐ โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ.2557 หลังการรัฐประหาร การ
222 ท างานในพื้นที่เกิดปัญหา มีการเรียกเข้าไปปรับทัศนคติเนื่องจากจากการช่วยเหลือประชาชนใน ปัญหาเรื่องที่ดิน การท าเช่นนั้นท าให้ประชาชนมีความเห็นใจและได้ใจจากคนในพื้นที่ ท าให้การ ท างานต่าง ๆ ได้รับการสนับสนุนจากคนในพื้นที่เป็นอย่างดี การส่งเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ประชาชน ในพื้นที่ให้ความร่วมมือและเรียนรู้ในการท างานเพื่อพัฒนาพื้นที่อย่างดี ในทุกมิติ ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีในชุมชน ส่งผลต่อกลุ่มต่าง ๆ ส่วนที่ 3 นวัตกรรมและกระบวนการ (Process) “สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี” มีจุดเด่นในส่วนปัญหาในพื้นที่ท ากินร่วมกัน สมาชิกไม่มี กรรมสิทธิ์ในที่ดิน มีการร่วมต่อสู้ให้ได้มาซึ่งที่ท ากิน ส่งผลให้สมาชิกทุกคนท างานเป็นทีม มีความ สามัคคี 1. สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น ; ขั้นตอนกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม (ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมด าเนินการ ร่วมติดตาม และร่วมรับประโยขน์) ในกลุ่มแกนน า สมาชิก และองค์กรภายนอก กลไกการขับเคลื่อนงานองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ที่ ชื่อองค์กรที่เข้าร่วมในการจัดท า แผน บทบาทและการสนับสนุน 1 สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี เปิดเวที ค้นหา วิเคราะห์ข้อมูล สรุป จัดท าแผน 2 ผู้น า ท้องที่ ค้นหาข้อมูล ปัญหา ความต้องการของคนใน ชุมชน 3 วัด เสนอปัญหา ความต้องการ เข้าร่วมกิจกรรม 4 โรงเรียน เข้าร่วมเวที เสนอปัญหา ความต้องการ 5 คนในชุมชน ช่วยคิดค้นหาปัญหา ความต้องการ เสนอ โครงการ จากการสอบทานเพื่อพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบล ปี 2562 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) ได้ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนากิจการสภาองค์กรชุมชน ต าบลตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน พบว่า มีสภาองค์กรชุมชนต าบลที่มีพัฒนาการเข้มแข็งและ
223 อ่อนแอแตกต่างกันไป การสอบทานสภาองค์กรชุมชนต าบล จึงมีความส าคัญเพื่อค้นหาปัจจัย เงื่อนไขของพัฒนาการ และน าข้อมูลที่ได้มาเป็นแนวทางพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบล ดังนั้น ส านักเลขานุการสภาองค์กรชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนชุมชน (องค์การมหาชน) จึงได้ ออกแบบสอบทานเพื่อพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบลขึ้น โดยมี 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน สภาองค์กรชุมชนต าบล ข้อมูลด้านการจัดรูปองค์กรโครงสร้างการท างาน ข้อมูลด้านการขับเคลื่อน กิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรม และข้อมูลด้านการจัดท าแผนพัฒนาบูรณาการกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการสอบทานของ “สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี” ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 1. ข้อมูลพื้นฐานสภาองค์กรชุมชนต าบล ที่ตั้ง 1) 132 ม.2 ต.โคกสี เทศบาลต าบลโคกสี อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 47110 รายชื่อคณะกรรมการรบัผิดชอบโครงการ ล าดับ ชื่อ - นามสกุล ต าแหน่ง 1. นางวัฒนา หมุนสิงห์ ประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี 2. นางพัชนี สิงสถิต รองประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี 3. นางบัวค า สวัสดี กรรมการ 4. นางเตือนจิต เฉลิมจิตร กรรมการ 5. นายธนพล ค าลือ กรรมการ 6. นายณรงค์ ตนุกิจ กรรมการ 7. นางปาณีสรา จ้องจีด กรรมการ 8. นางธนาภร สมณะ กรรมการ 9. นางนภัสวรรณ สุวรรณเพชร กรรมการ 10. นายวิทยา จันดารักษ์ ที่ปรึกษา 11. นายทองใบ สุทธิประภา ที่ปรึกษา 12. นางละมัย ผาเขาบวช เลขานุการ
224 2.เกิดการมีส่วนร่วม ; น าไปสู่การจัดรูปองค์กรและโครงสร้างการท างานของสภา องค์กรชุมชนต าบล 1. มีการจัดโครงสร้างการท างานและแบ่งบทบาทหน้าที่ มีผู้น าท างานตาม โครงสร้างและมีการแต่งตั้งคณะท างานรับผิดชอบงานที่ชัดเจน 2. มีสมาชิกสภาองค์กรชุมชนร่วมกันขับเคลื่อนงาน จ านวน 11-15 คน 3. ประชุมมากกว่า 4 ครั้ง 4. มีการทบทวนสภาองค์กรชุมชนที่สมาชิกครบวาระ 4 ปี 5. มีองค์กรชุมชนที่จดแจ้ง เท่าเดิม หลังจากการทบทวนฯ ครั้งล่าสุด 3. ง่ายต่อความเข้าใจของคนในชุมชน ; น าไปสู่การการขับเคลื่อนภารกิจตาม มาตรา 21 ของพระราชบญัญตัิสภาองคก์รชุมชนอย่างเป็ นรปูธรรม 1. สภาองค์กรชุมชนต าบลมีภารกิจ (1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกองค์กร ชุมชนอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของชุมชน ได้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกองค์กรชุมชนด าเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี 2. ได้เสนอแนะปัญหาและแนวทางแก้ไขและการพัฒนาต่อ อปท. หรือหน่วยงาน ของรัฐ หรือภาคส่วนอื่นๆและน าไปบรรจุในการจัดท าเป็นแผนพัฒนาต าบล 3. ได้จัดให้มีเวทีการปรึกษาหารือกันของประชาชน และมีกระบวนการระดมความ คิดเห็นในการพัฒนาข้อเสนอต่อการด าเนินโครงการหรือกิจกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน 4. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรชุมชนในต าบลและประชาชนทั่วไปขับเคลื่อน กิจกรรมการพัฒนาให้สามารถพึ่งตนเองได้ 5. . ได้ประสานและร่วมมือกับสภาองค์กรชุมชนต าบลอื่นหรือพื้นที่ใกล้เคียงโดยมี แนวทางการแก้ปัญหาและมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนหรือประเด็นนโยบายสาธารณะร่วมกัน 6. . ได้จัดท ารายงานปัญหาและผลที่เกิดขึ้นในต าบล เสนอต่อองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง 7. ได้จัดท ากติกาหรือระเบียบการด าเนินงานไว้อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร 8. ได้จัดท ารายงานประจ าปีของสภาองค์กรชุมชนต าบลรวมถึงสถานการณ์ด้าน ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในต าบลและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปทราบ
225 9. ได้เสนอรายชื่อผู้แทนสภาองค์กรชุมชนต าบลและเข้าร่วมประชุมในระดับจังหวัด ทุกครั้ง 4. สภาองคก์รชุมชนตา บลโคกสีมีการน าไปฏิบตัิอย่างต่อเนื่อง ; โดยน าข้อมูลไปสู่ การจัดท าแผนพัฒนาต าบลและการบูรณาการแผนพัฒนากับหน่วยงานในพื้นที่ 1. ได้น าเสนอแผนพัฒนาต าบลต่อ อปท.และได้รับบรรจุเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือ แผนพัฒนาต าบลได้รับการสนับสนุน โปรดระบุชื่อกิจกรรม/แผนงาน 2. จัดท าโครงการ แผนงานหรือกิจกรรม เสนอต่อหน่วยงาน ได้รับการสนับสนุน งบประมาณให้ด าเนินการ 3. มีผู้แทนสภาองค์กรชุมชนต าบลมีส่วนร่วมในการด าเนินการกิจกรรมพัฒนาและ อยู่ในโครงสร้างการท างานของหน่วยงานภาครัฐหรือภาคส่วนอื่นๆ 4. มีบูรณาการท างานร่วมกันโดยมีสภาองค์กรชุมชนต าบลเป็นพื้นที่กลางในการ ขับเคลื่อน 5. มีแหล่งเรียนรู้ และประเด็นรูปธรรม มากกว่า 3 ด้าน 5. เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ; โดยทุกคนมีส่วนร่วมในขั้นตอนกระบวนการจัดท า แผนดา เนินงานพฒันาชุมชน สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ได้เข้าร่วมในกระบวนการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน เริ่มจากการระดมความเห็นของเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนอ าเภอสว่างแดน ดิน น าไปสู่การจัดท าร่างแผนยุทธศาสตร์ต าบล และการน าเสนอแนวทางร่างแผนยุทธศาสตร์ต าบล โคกสี เข้าสู่ การเชื่อมโยงแผนท้องถิ่น (2561 – 2564) เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพโดยให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนานาสามปีของแต่ ละชุมชน ซึ่งจะเป็นเครื่องมือส าคัญในการบริหารงานสภาองค์กรชุมชนโดยสมาชิกสภาองค์กรชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่ายสนับสนุนการจัดท าแผนพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี วิถีชาวพุทธ และมีหน้าที่ในการรวบรวมปัญหา/วิเคราะห์ และจัดท าโครงการพัฒนา ที่ต้อง ด าเนินการในพื้นที่ชุมชน เพื่อให้การจัดการและการติดตาม ด าเนินงานตามแผนงาน/โครงการ พัฒนาและกิจกรรม ที่ด าเนินการจริงในพื้นที่ มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
226 6. เกิดการเปลี่ยนความสานสมัพนัธ์; จากกระบวนการพัฒนาการมีส่วนร่วมระหว่าง คนชุมชน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ร่วมคดัเลือกประเดน ็ มาดา เนินการ ในการพฒันาเชิงพื้นที่ สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสีมีกระบวนการคัดเลือกในรูปแบบประชุมรับฟัง ความคิดเห็น ประชุมคณะกรรมการ ฯ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาข้อสรุป ในการเสนอโครงการ ผ่านการสื่อสาร ภายในชุมชน และสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ผ่านการประชุมของสมาชิกและคณะกรรมการฯ ตลอดจนภาคีเครือข่ายย่างเข็มแข็ง ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง (Product) สภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร มีผลงาน เด่นที่เป็นรูปธรรมส าเร็จ ซึ่งทุกโครงการที่ด าเนินการจะมีการประชุมคณะท างานสภาฯเพื่อติดตาม ประเมินผล มีการสรุปถอดบทเรียนเพื่อเป็นฐานข้อมูลและมีหลักฐาน/มีภาพถ่าย มีการจัดท าราย สรุปรายงานปิดโครงการ จัดท ารายงานการเงิน ถือได้ว่าบุคลากรทุกคนที่มีส่วนร่วมในขบวนการ องค์กรชุมชนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทรงคุณค่า ตั้งแต่ผู้ชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ ประธานสภาองค์กร ชุมชน สมาชิก และภาคีเครือข่าย ล้วนหนุนเสริมให้ต าบลมีความเข้มแข็ง สิ่งที่ปรากฏถึงคนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น 1. การจัดสวัสดิการให้กับผู้ด้อยโอกาสและสวัสดิการให้กับสมาชิก 2. ท าเรื่องที่ดินที่ท ากินโดยการจับพิกัดส่วนที่เป็นของชุมชนและของรัฐร่วมกับภาคี 3. พัฒนากลุ่มอาชีพให้มีรายได้ องค์กรท าร่วมกับภาคีท้องที่และท้องถิ่น จากการสนทนากลุ่มสามารถถอดบทเรียนเป็นรูปแบบในการขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็งของ สภาองค์ชุมชนต าบลโคกสี ซึ่งทุกภาคส่วนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลในบริบทหรือบทบาทที่รับผิดชอบทั้ง แบบทางการและไม่เป็นทางการอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยง มีการบริหารจัดการที่ดี ผ่านรูปแบบ คณะกรรมการ อีกทั้ง ชุมชนมีผลผลิต ออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์ ที่หลากหลาย ภายใต้ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นถิ่น ซึ่งขอน าเสนอ การขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็งของสภาองค์กรชุมชน ต าบลโคกสี ดังแผนภาพ
227 ที่มา: การสนทนากลุ่มสภาองค์กรชุมชนต าบลโคกสี (กตัญญู แก้วหานาม, 2564) ส่วนที่5 ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ สภาองค์กรชุมชนจะเข้มแข็งได้ รากฐานในความเป็นชุมชน ที่ตระหนักในความเป็นพลเมือง ที่มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น กรรมการหมู่บ้าน อสม. ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษาทุกช่วงวัย ท้องถิ่น ท้องที่ วัฒนธรรมประเพณี ที่หลอมรวมเป็นหนึ่งท าให้การ ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน และมีที่ปรึกษาที่ดีในพื้นที่ ถือเป็นปัจจัยในการความส าเร็จ ดังค า กล่าวที่ว่า “ให้ใจ ได้ใจมา ร่วมพัฒนา เป็นหนึ่งเดียว”