The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tewarat Thipaut, 2023-03-17 03:01:36

การถอดองค์ความรู้การพัฒนาตำบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ภาคอีสาน 10 ตำบล

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

98 กระบวนการพัฒนากลุ่มกิจกรรมดังกล่าว เป็นเครื่องมือให้แกนน าและสมาชิกกลุ่ม ได้ฝึกทักษะ ความสามารถในการท างานพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม โดยผ่านกระบวนการผลักดันริเริ่มในการ ขอให้มีการส่งเสริมสนับสนุนประเพณีวัฒนธรรมของชาวไทยพวนในการสืบสานความเป็นไทยพวน ให้เกิดการเรียนรู้ ความมีรากเหง้าของตนให้คนรุ่นหลังได้ตระหนักและเผยแพร่เอกลักษณ์วัฒนธรรม ประเพณีของชาวไทยพวนให้สาธารณะได้รับรู้ มิติที่2 องคก์รชุมชนมีความเข้มแขง ็ กลุ่มชมรมไทยพวน ต าบลโพธิ์ตากได้มีการพัฒนาและรักษาเอกลักษณ์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตของชาวไทยพวนภายใต้การรวมกลุ่มสมาชิกท าให้เกิดลานวัฒนธรรมประเพณีไทยพวนขึ้น ท าให้มีการพัฒนาต่อยอดพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศูนย์การเรียนรู้วิถีชีวิตไทยพวน โดยพัฒนาภายใต้แกนน าชุมชน ผู้น าชุมชนและสมาชิกมาอย่างยาวนานท าให้เกิดความเข้มแข็งและ เป็นเครื่องยืนยันความเข้มแข็งของต าบลโพธิ์ได้อย่างดีและท าให้เกิดกลุ่มต่างๆขึ้นในชุมชนเช่น การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนเพื่อช่วยเหลือชุมชน การจัดตั้งสภาองค์กรชุมชน เพื่อเป็นองค์กร สาธารณประโยชน์ เช่น ทุนเพื่อการศึกษา ทุนผู้พิการ ทุนผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มทอผ้า ไม่ กวาดดอกหญ้า ข้าว เป็นต้น ท าให้คนในชุมชนมีรายได้อย่างต่อเนื่อง มิติที่3 คณุภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น กลุ่มชมรมไทยพวนและกิจกรรมลานวัฒนธรรมไทยพวน สมาชิกสะท้อนให้เห็นและมีความ คิดเห็นตรงกันว่าครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คนในชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมากขึ้น เกิด การร่วมกลุ่มต่างๆขึ้นในชุมชนเพื่อท าอาชีพเสริมจากเวลาว่างในการท าเกษตรที่เป็นอาชีพหลักของ คนในชุมชน ท าให้เกิดผลิตภัณฑ์และสิ้นค้าในชุมชนขึ้นและมีรายได้เพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยวที่มา เที่ยวและหน่วยงานทั่งภาครัฐและภาคประชาสังคมที่เข้ามาศึกษาดูงานในต าบลโพธิ์ ท าให้มีเงิน หมุนเวียนลดภาระหนี้สิ้นคุณภาพชีวิตคนในชุมชนทั้งสุภาพจิตสุขภาพกายดีขึ้น มิติที่4 ความสมัพนัธก์บัหน่วยงานภาคีท้องที่ท้องถิ่น จะเห็นได้ว่าหน่วงงานไม่ว่าจะเป็นองค์การบริการส่วนต าบลโพธิ์ ส านักงานวัฒนธรรม จังหวัดหนองคายและแกนน า ผู้น าชุมชนและสมาชิกมีบทบาทในการเชื่อมประสานงานและ ความสัมพันธ์ที่ดีจากทุนเดิมของต าบลโพธิ์ตากที่ อดีตเคยเป็นศูนย์เรียนรู้ศูนย์สามวัย ท าให้มีการ ท างานร่วมกันมายาวนานและยังคอยช่วยเหลืองบประมาณต่างๆและได้มีการผลัดดันพัฒนาฟื้นฟู่ให้


99 เกิดลานวัฒนธรรมไทยพวนต าบลโพธิ์ตากท าให้เกิดความเข้มแข็งในมิติต่างๆเช่น การส่งเสริม อาชีพ การส่งเสริมการท่องเที่ยว และมีการค่อยช่วยเหลือกันมาตลอดไม่ว่าจะเป็นภาครัฐและภาค ประชาสังคม จะเห็นว่าข้อมูลเชิงคุณภาพสอดคล้องกับข้อมูลเชิงปริมาณ เพียงแต่เมื่อพิจารณาข้อมูล คุณภาพเชิงลึกในแต่ละมิติแล้ว พบว่ายังมีรายละเอียดที่ต้องน ามาประกอบการพิจารณาร่วมด้วย ประกอบกับแกนน าใช้ตัวชี้วัดวิเคราะห์ต าบลเข้มแข็ง 4 มิติกันตามล าพัง ขาดการอธิบาย ชี้แจง ความหมายตัวชี้วัดแต่ละมิติให้เข้าใจโดยละเอียด คะแนนจึงออกมาค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วัดต าบลเข้มแข็ง 4 มิติ นับว่าเป็นเครื่องมือวัดประเมินการท างาน 5. ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ 5.1 ต าบลเข้มแข็ง ; สภาองคก์รชุมชนตา บลโพธ์ิตาก ความเข้มแข็งต าบลมีมากถึง 4 มิติสภาองค์กรชุมชนต าบลเป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิด ต าบลเข้มแข็ง ซึ่งในแต่ละมิติต้องการพัฒนาเพิ่มเติมให้ชัดเจน ดังนั้นขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด หนองคาย และพอช. ต้องมีบทบาทในการพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบลโพธิ์ตากให้เกิดความ เข้มแข็งตามตัวชี้วัดด้วย คือ 1) ต้องมีการวางแผนพัฒนาผ่านกิจกรรมโครงการพัฒนา 2) การเพิ่ม องค์ความรู้ทักษะการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนภายใต้สถานการณ์โควิเช่น ทักษะการขายออนไลน์และ ช่องทางการขายที่หลากหลาย จึงจะเกิดความเข้มแข็งตามตัวชี้วัดได้ 4) ต้องมีแนวคิด และ เครื่องมือการพัฒนาใหม่ๆ ช่วยหนุนเสริมให้เกิดการเรียนรู้ เช่นการเก็บข้อมูลท าแผนชุมชน ติดตาม ความก้าวหน้าในการท า การใช้ตัวชี้วัด 4 มิติประเมินความเข้มแข็งสภาองค์กรชุมชน เป็นต้น 5.2 กลุ่มองค์กรชุมชนเข้มแข็ง ; กลุ่มชมรมไทยพวน กรณีกลุ่มชมรมไทยพวนท่องเที่ยววิถีชีวิตไทยพวน ถือว่าเป็นจุดเด่นของต าบลโพธิ์ตาก เพราะได้รับประโยชน์ในหลายมิติไม่ว่าจะเป็นด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจทั้งทางตรงและ ทางข้าม ด้านนโยบายสนับสนุนการด าเนินงาน งบประมาณ เพื่อความเข้มแข็งจะหนุนเสริมให้กลุ่ม องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง และสภาองค์กรชุมชนต าบลขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดหนองคาย และ พอช.เองก็ไม่ได้วางแผนการพัฒนาให้กลุ่มองค์กรให้มีความเข้มแข็งในลักษณะกลุ่มกิจกรรมพัฒนา


100 มีเพียงการสนับสนุนงบประมาณให้กลุ่มท าแผนธุรกิจชุมชน ซึ่งสอดคล้องแต่ยังไม่ครอบคลุมของ กลุ่มท่องเที่ยววิถีไทยพวน วิธีเกบ ็ ข้อมูล การถอดองค์ความรู้ต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนต าบลโพธิ์ตาก อ าเภอโพธิ์ตาก จังหวัด หนองคายนั้นเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 รุนแรง ภาครัฐขอความร่วมมืองด เว้นการเดินทาง และการรวมกลุ่มท ากิจกรรม การเก็บข้อมูลเพื่อเขียนรายงานเบื้องต้น (Inception Report) จึงใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบออนไลน์ ค้นคว้าจากช่องทาง Internet และศึกษาข้อมูลจาก เอกสารที่ได้รับจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) และสภาองค์กรชุมชนต าบลโพธิ์ ตากส่วนการเก็บข้อมูลเพื่อเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ได้ใช้ข้อมูล Inception Report แตกค าถาม และลงพื้นที่ด าเนินการสัมภาษณ์กลุ่มแกนน าต าบล(Focus Group) ขอขอบคุณแกนน าชุมชนขบวนองค์กรชุมชนต าบลโพธิ์ตากและเจ้าหน้าที่พอช ที่ให้ข้อมูลเป็น อย่างดียิ่ง 1.นางเครือวัลย์ ช่างสาร ประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลโพธิ์ตาก 2.นางกาวี ค าภูแก้ว ประธานโฮมสเตย์ 3.นางสาธินี สมสาร์ เลขานุการสภา 4.นางสมบูรณ์ คันธี ประธานเกษตรทฤษฏีใหม่ 5.นางค าผัน ชาวโพธิ์ตาก ประธาน อสม 6.นางสาวสุภาพร บัวค าเกิด กรรมการและผู้ช่วยเลขาสภา


101 การถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม โดย มุกดา สุวรรณศรีและ ไพรินทร์ยอดสุบัน ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม เป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีการขับเคลื่อนงาน พัฒนา โดยเฉพาะประเด็นเศรษฐกิจและทุนมาอย่างยาวนาน ในปี 2564 พบว่า สภาองค์กรชุมชน ต าบลบ้านกลาง มีประเด็นเด่นในการขับเคลื่อนการพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง ที่ น่าสนใจคือ กระบวนการพฒันาผลิตภณัฑ์ทีต่่อยอดจากทกัษะความช านาญเดิม เชื่อมโยง วตัถดุิบในท้องถิน่และตลาด ของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ เพื่อเป็นการถอด องค์ความรู้ดังกล่าว รายงานฉบับนี้ทีมวิจัยขอน าเสนอข้อมูล โดยประกอบด้วย 4 ส่วนได้แก่ 1) ข้อมูลบริบทพื้นที่ 2) การสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) 3) กระบวนการและนวัตกรรมของชุมชน และ 4) ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลบริบทพื้นที่ 1.1 ต าแหน่ งที่ตั้ง และลักษณะภูมิ ประเทศ ต าบลบ้านกลางตั้งอยู่บริเวณริม ฝั่งล าน ้าโขงทางด้านทิศใต้สุดของอ าเภอ เมืองนครพนม อยู่ห่างจากอ าเภอเมือง นครพนม ระยะทาง 28 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 14,806 ไร่ (23.69 ตารางกิโลเมตร) แบ่งเป็นป่ าสาธารณะ 244 ไร่ แหล่งน ้า สาธารณะ 794 ไร่ ที่อยู่อาศัย 2,998 ไร่ พื้นที่ท าการเกษตร 10,665 ไร่ และที่ดิน ส่วนราชการ 10 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ภาพแสดงที่ตั้งของตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม (ปรับปรุงจาก https://www.google.com/maps/place..)


102 ทิศเหนือ จรดต าบลดงขวาง อ าเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ทิศใต้ จรดต าบลนาถ่อน อ าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ทิศตะวันออก จรดฝั่งล าน ้าโขง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตก จรดต าบลค าเตย อ าเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ดอนและมีที่ราบลุ่มเป็นบางส่วน ด้านทิศตะวันตกติด ริมฝั่งแม่น ้าโขงมีลักษณะพื้นที่ราบเรียบ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทราย ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพืชผักต่างๆ ส่วนด้านทิศตะวันตก ลักษณะดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินชั้นล่าง เป็นดินเหนียว ส่วนใหญ่ใช้ท านาปลูกข้าว ท าสวนผลไม้และยางพารา ตลอดจนการเพาะปลูกพืช เศรษฐกิจอีกหลากหลายชนิดพันธุ์ 1.2 ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม ต าบลบ้านกลาง มีแหล่งโบราณสถานที่แสดงถึง ประวัติศาสตร์ของ “อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์” ที่เคยรุ่งเรืองในอดีต ซึ่งช่วยยืนยันความเชื่อที่ว่า ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนพื้นถิ่นดั้งเดิมที่เคยอาศัยอยู่ในพื้นที่มาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เป็นเวลากว่าร้อยปี โดยประกอบไปด้วยหลายชนเผ่า ทั้งไทยลาว ผู้ไท ไทกะเลิง และไทยย้อ ปัจจุบันต าบลบ้านกลางมีจ านวนหมู่บ้านทั้งหมด 13 หมู่ มีจ านวนประชากรรวมทั้งสิ้น 8,592 คน แยกเป็นชาย 4,308 คน (ร้อยละ 50.14 )หญิง 4,284 คน (ร้อยละ 49.86) มีจ านวนครัวเรือนทั้งหมด 2,225 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559) โดยมี “วัด” เป็นสถานที่ส าคัญหรือเป็นจุด ศูนย์รวมการด าเนินกิจกรรม ทั้งกิจกรรมทางศาสนาและกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน ในแต่ละปีคนในชุมชนจะร่วมกันจัดงานบุญตามประเพณีในวันส าคัญทางพระพุทธศาสนาและ ประเพณีไทย ซึ่งจะสอดคล้องกับ “ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่” เช่นเดียวกับชุมชนชนบททั่วไปในภาค อีสาน 1.3 ลักษณะทางเศรษฐกิจ ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น หลัก เช่น ท านาข้าว ท าสวนยางพารา สวนผลไม้ ปลูกผัก และ เลี้ยงสัตว์เป็นต้น และมีอาชีพอื่น ร่วมด้วย เช่น ค้าขาย รับจ้าง และอุตสาหกรรมในครัวเรือน เป็นต้น เนื่องจากมีพื้นที่ส่วนหนึ่งตั้งอยู่ ติดกับริมฝั่งแม่น ้าโขง คนในชุมชนจึงท าการเลี้ยงปลาในกระชังในแหล่งน ้าธรรมชาติ (แม่น ้าโขง หนอง บึง) ท าการประมงน ้าจืด รวมถึงท าการปลูกพืชผักในลักษณะการท าเกษตรริมฝั่ง โดยเฉพาะ ต้นหอม (หอมแบ่ง) และพริก ซึ่งถือเป็นแหล่งรายได้ที่ส าคัญของคนในต าบล นอกจากนี้ในต าบลยัง เป็นที่ตั้งของฟาร์มไก่ไข่ที่มีชื่อเสียง และเป็นที่รู้จักของคนในพื้นที่และจังหวัดใกล้เคียง นอกจากการ ผลิตในภาคเกษตรแล้ว ต าบลบ้านกลางยังเป็นแหล่งรวบรวม และจ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตรที่


103 ส าคัญ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของตลาดสดจ าหน่ายสินค้าชุมชน ตลาดนัดชายแดนไทย-ลาว และตลาด นัดชุมชน ซึ่งคนในต าบลและต าบลใกล้เคียงนิยมเดินทางเข้ามาจับจ่ายใช้สอยอยู่เป็นประจ า รวมถึง เป็นที่ตั้งของกลุ่มพ่อค้าแม่ค้ารถเร่ (รถพุ่มพ่วง) ซึ่งจะน าผลผลิตทางการเกษตรและอาหารส าเร็จรูป ออกไปตระเวนขายทั้งภายในต าบล และภายนอกต าบลเป็นประจ าทุกวัน นอกจากนี้คนในชุมชนยัง ได้มีการรวมกลุ่มด้านอาชีพอีกหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มอาชีพผู้เลี้ยงไก่ไข่ กลุ่มอาชีพผู้เลี้ยงโค กระบือ และกลุ่มจักสาน เป็นต้น (องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง, 2559) ซึ่งมีส่วนส าคัญท าให้คนใน ชุมชนมีอาชีพเสริม มีแหล่งจ้างงาน สร้างรายได้หมุนเวียนอยู่ภายในต าบลตลอดทั้งปี จากบริบทพื้นที่ที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ต าบลบ้านกลางมีทุนทางสังคมวัฒนธรรม ทุนมนุษย์ และทุนทางธรรมชาติเป็นทุนเดิม ด้านทุนทางสังคมวัฒนธรรม คือมีการรวมตัวกันของ กลุ่มคนที่มีชาติพันธุ์เดียวกัน มีประเพณีวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ความเป็นมาร่วมกัน ด้านทุน มนุษย์ คือภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสามารถในด้านการจักสาน และท าการผลิตภาคเกษตรภายใต้ การเอื้ออ านวยของระบบนิเวศที่คุ้นเคย ด้านทุนทางธรรมชาติ คือชุมชนมีท าเลที่ตั้ง แหล่งน ้า และ ทรัพยากรดินที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะสมแก่การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจหลายชนิด ทุนทั้งสามส่วนนี้จึง น่าจะเป็นปัจจัยส าคัญที่เอื้อต่อกระบวนการทางนวัตกรรมของชุมชน กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ทุนทาง สังคมดังกล่าวน่าจะมีอิทธิพลในฐานะหนึ่งในปัจจัยน าเข้า (input) ของกระบวนการทางนวัตกรรม (Innovation process) ของกลุ่ม/องค์กรที่มีชื่อเสียงและเป็นประเด็นเด่นของสภาองค์กรชุมชนต าบล บ้านกลาง ในที่นี้คือกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ส่วนที่ 2 การสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หากกล่าวถึงการขับเคลื่อนการพัฒนาต าบลไปสู่การเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง กลุ่มจักสาน ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ต าบลบ้านกลาง จากการศึกษาพบว่ากระบวนการและนวัตกรรมใน การขับเคลื่อนกลุ่มฯ เกี่ยวข้องกับปัจจัยน าเข้า (Input) คือองค์กร/หน่วยงานภาคีหลายภาคส่วน ซึ่ง ล้วนมีบทบาทส าคัญ ดังนี้ 2.1 สภาองค์กรชุมชน กลไกหลักในการขับเคลื่อนงานพัฒนาต าบล “สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง” จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ตาม พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาต าบลสู่การสร้างความ เข้มแข็งของท้องถิ่น คือ “ต าบลน่าอยู่ การเกษตรก้าวหน้า ประชาชนสุขภาพดี” การขับเคลื่อนงาน พัฒนาต าบล ด าเนินตามแผนยุทธศาสตร์สองส่วน ได้แก่ 1) แผนงานของสภาองค์กรชุมชน ประกอบด้วย 1.1) พัฒนาระบบเกษตรอย่างยั่งยืน 1.2) พัฒนาระบบสวัสดิการให้ครอบคลุมทั้งต าบล และ 1.3) พัฒนากลุ่มอาชีพและการจัดการขยะ


104 2) แผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 2.1) การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความสุขอย่างยั่งยืน 2.2) พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชนและโครงสร้างพื้นฐาน 2.3) การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และ 2.4) พัฒนาคนและที่อยู่อาศัยให้มั่นคงแข็งแรง ในแต่ละปี สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ได้ด าเนินงานตามภารกิจของสภาองค์กร ชุมชนต าบล ตามมาตรา 21 และได้มีการวิเคราะห์พื้นที่ร่วมกัน โดยในปี พ.ศ. 2559 ได้ท าการ วิเคราะห์ศักยภาพในมิติส าคัญ ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม พบว่า ชุมชนมี ศักยภาพดังนี้จุดแข็ง (Strength) คือ มีสภาองค์กรชุมชน มีความสามัคคีของคนในชุมชน และมี พื้นที่ที่เหมาะสมแก่การท าเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์ จุดอ่อน (Weakness) คือ การมีส่วนร่วมยังไม่ ดีเท่าที่ควร และการรวมกลุ่มยังมีน้อย โอกาส (Opportunity) คือ มีทรัพยากรที่พร้อมในการท างาน และมีการส่งเสริมการใช้ปุ๋ ยอินทรีย์อุปสรรค (Treat) คือ การมีจิตสาธารณะ และความรู้ ความสามารถ พร้อมนี้ก็ได้มีการการวิเคราะห์จัดล าดับความส าคัญของปัญหาในต าบล พบว่าสาม อันดับแรก คือ 1) ราคาสินค้าทางการเกษตรตกต ่า 2) แหล่งน ้าส าหรับท าการเกษตรไม่เพียงพอใน ฤดูแล้ง และ3) ไม่มีตลาดรองรับสินค้าในภาคเกษตรที่เป็นรูปธรรม ส าหรับในปี พ.ศ. 2564 นี้ สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง มีเป้าหมายการด าเนินงานที่ ส าคัญ คือ 1.แกนน าชุมชน กลุ่มองค์กรมีความรู้ความสามารถในการขับเคลื่อนงานชุมชนต้นแบบ ด้านการส่งเสริมอาชีพต าบลบ้านกลาง 2.สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง มีแผนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นสามารถบรรจุใน แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ 3. หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีสามารถสนับสนุนการขับเคลื่อน ต าบลต้นแบบได้อย่างต่อเนื่อง 4. ภาคีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาพื้นที่ 2.2 บทบาทของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ในการขับเคลื่อนงานพัฒนาต าบล สู่การเป็นต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง พบว่า สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลางไม่ได้ขับเคลื่อนงานโดยล าพัง โดยพบว่าได้รับการหนุนเสริมจาก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หรือ พอช. ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551 พอช. ถือเป็น หน่วยงานหนึ่ง ที่มีส่วนสนับสนุนทั้งงบประมาณ เจ้าหน้าที่ พอช. และขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด นครพนม ได้ลงพื้นเชิงรุกและเชื่อมโยงการท างาน เป็นคนกลางที่ให้เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ของคนใน ชุมชนได้มีโอกาสร่วมด าเนินโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า สภา


105 องค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง เกิดการขับเคลื่อนงานหลายมิติทั้งการต่อยอดงานเดิมที่มีอยู่ การเพิ่ม กลุ่มเป้าหมาย และการพัฒนางานใหม่ ก่อให้เกิดเป็นนวัตกรรมทางสังคม เละเป็นกลไกที่ส าคัญใน การพัฒนางานอย่างต่อเนื่องในชุมชน ได้แก่ 1) การแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยตามโครงการบ้าน พอเพียง 2) การจัดสวัสดิการชุมชน 3) การส่งเสริมอาชีพรายได้เศรษฐกิจชุมชน 4) การขับเคลื่อน งานเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และ 5) จัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ ปัจจุบันสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ก็ยังคงได้รับการหนุนเสริมจากเจ้าหน้าที่ของ พอช. และการสนับสนุนเงินสมทบในการจัดสวัสดิการชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่นในปี พ.ศ. 2561 ได้ สนับสนุนเงินสมทบเข้ากองทุนสวัสดิการเป็นเงินกว่า 5.79 แสนบาท ซึ่งได้มีส่วนช่วยเหลือการจัด สวัสดิการให้กับสมาชิก และเกิดก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญในพื้นที่ ดังนี้ ปี พ.ศ. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญ 2551-2552 - จัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลบ้านกลาง โดยการสนับสนุนของ พอช. มีสมาชิก แรกตั้งกลุ่ม 59 คน และได้มีการขับเคลื่อนงานมาจนถึงปัจจุบัน (ปี 2561) มีสมาชิก สะสม 3,098 คน และได้มีการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก (สะสม) 5 ประเภท - จัดตั้งกลุ่ม/องค์กรชุมชน ประกอบด้วย กองทุนสวัสดิการชาวบ้าน สหกรณ์ผู้ใช้น ้า สถานีสูบน ้าด้วยไฟฟ้า และกลุ่มออมทรัพย์เพื่อผลผลิต รวมทั้งสิ้น 17 กลุ่ม 2555 จัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 โดยการสนับสนุนของ พอช. 2558 มีการจัดประชุมสภาฯ จัดท าแผนชุมชนท้องถิ่น โดยการสนับสนุนด้านงบประมาณ และเจ้าหน้าที่ จาก พอช. และขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม เพื่อค้นหาปัญหา และแนวทางแก้ไขในพื้นที่ และมีการจัดท าข้อเสนอสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2562-2563 - สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง โดยการสนับสนุนของ พอช. ด าเนินการสนับสนุน งบประมาณ โครงการบ้านพอเพียงชนบท และด าเนินการซ่อมแซมที่อยู่อาศัย ตาม โครงการบ้านพอเพียงชนบทปีพ.ศ. 2563 จ านวน 3 ครัวเรือน - สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ด าเนินโครงการด้านพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือน ได้แก่ หลักสูตรอบรมอาชีพ และอบรมเพิ่มทักษะผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ โดยการ สนับสนุนขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและ ครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดศรีสะเกษ และส านักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของ-มนุษย์ฯ


106 ปี พ.ศ. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญ - สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ด าเนินโครงการจัดการขยะ โดยการสนับสนุน ของส านักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2564 - สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ด าเนินการส ารวจข้อมูลผู้มีปัญหาที่ดินท ากิน และที่อยู่อาศัย จ านวน 16 แปลง - สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก พอช. ตาม โครงการต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง และต าบลแผนธุรกิจชุมชน จ านวน 45,000 บาท และส่งตัวแทนเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการจัดท าแผนธุรกิจเพื่อชุมชน (Community Business Model Canvas : CBMC) ที่มา: สภาองค์กรชุมชน ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม 2.3 ภาคีเครือข่ายและการสนับสนุนที่หลากหลาย ในการขับเคลื่อนงานพัฒนาต าบลตลอด 13 ปีที่ผ่านมา พบว่า นอกจาก พอช. แล้ว สภา องค์กรชุมชนต าบลบ้านกลางและกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ยังได้รับการหนุนเสริม จากภาคีเครือข่ายอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ (ดังตาราง) ภาคีเครือข่าย ลักษณะความร่วมมือ ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม สนับสนุนบุคคลากรช่วยด าเนินงาน และการ จัดการความรู้จากการด าเนินกิจกรรม องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง สนับสนุนงบประมาณด าเนินโครงการ สนับสนุน วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ และสนับสนุนบุคคลากร ช่วยด าเนินงาน ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครพนม สนับสนุนงบประมาณด าเนินโครงการ และ สนับสนุนบุคคลากรในการฝึกอบรม ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดศรีสะเกษ สนับสนุนบุคคลากรช่วยด าเนินงาน ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส) ส านัก 6 สนับสนุนงบประมาณ และการก ากับติดตาม โครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล สนับสนุนด้านความรู้ ให้ค าปรึกษาด้านสุขภาวะ และ


107 ที่ปรึกษาสภาองค์กรชุมชน ที่มา: สภาองค์กรชุมชน ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม จากข้อมูลทั้งสองส่วน คือ 1) บริบทพื้นที่ และ 2) การสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) รวมถึงภาคีเครือข่ายที่กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่าการขับเคลื่อน กระบวนการทางนวัตกรรม (Innovation process) ของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ เกี่ยวข้องกับปัจจัยน าเข้า (Inputs) ที่ส าคัญ 3 ส่วนคือ 1) ทุนทางสังคมวัฒนธรรม ทุนมนุษย์และทุน ทางธรรมชาติ ซึ่งเป็นทุนเดิมที่มีอยู่แล้วและสอดคล้องกับวิถีการด าเนินชีวิตของคนในชุมชน 2) สภา องค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงานพัฒนาต าบล เป็นพื้นที่กลางใน การประสานความร่วมมือ การเชื่อมโยงคนท างาน และ 3) องค์กร/หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งใน และนอกพื้นที่ ซึ่งรวมถึงสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ที่มีส่วนสนับสนุนด้าน งบประมาณในการขับเคลื่อนกิจกรรม การเชื่อมโยงประเด็นงาน และสนับสนุนองค์ความรู้ทักษะ เฉพาะด้าน เพื่อให้เห็นภาพการขับเคลื่อนประเด็นงานเด่น ของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้าน ดงยอมากยิ่งขึ้น หัวข้อต่อไปจะขอน าเสนอกระบวนการ (Process) และนวัตกรรม (Innovation) ใน การขับเคลื่อนชุมชน กรณีกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ส่วนที่ 3 กระบวนการ (Process) และนวัตกรรม (Innovation) ในการขับเคลื่อนชุมชน กรณี กลุ่มจกัสานผลิตภณัฑจ์ากไม้ไผ่บ้านดงยอ 3.1 กระบวนการ (Process) ในการขับเคลื่อนกลุ่มฯ การจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ถือเป็นงานหัตกรรมในครัวเรือน ที่คนในต าบลบ้านกลาง ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เนื่องจากในบริเวณพื้นที่มีต้นไผ่ที่สามารถตัดน ามาจักสาน ได้ทั่วไป การจักสานในสมัยอดีตมีวัตถุประสงค์เพื่อท าวัตถุข้าวของเครื่องใช้ส าหรับใช้สอยภายใน ครัวเรือน เช่น หวด และ กระติบข้าว เป็นต้น โดยไม่ได้ท าการผลิตเพื่อขายหรือมีการรวมกลุ่มกันท า แต่อย่างใด ต่อมาคนในชุมชนได้มีการรวมกลุ่ม จัดตั้งเป็นกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ขึ้น โดยมีการผลิตและการจัดจ าหน่าย จนกระทั่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทั้งต่อสมาชิกกลุ่มและขยายออก ไปสู่สังคมในวงกว้าง กระบวนการพฒันาผลิตภณัฑ์ทีต่่อยอดจากทักษะความช านาญเดิม เชือ่มโยงวตัถดุิบในท้องถิน่และตลาด ของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอที่กล่าวมา มีรายละเอียดดังนี้


108 1) การก่อตั้งกลุ่มและการขยายสมาชิก จุดเริ่มต้นของการรวมกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ จากไม้ไผ่บ้านดงยอ เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2558 เมื่อสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ร่วมกับขบวน องค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม โดยการสนับสนุนด้านงบประมาณจาก พอช. จัดเวทีประชุมและท า แผนชุมชนท้องถิ่น เพื่อค้นหาปัญหาและแนวทางแก้ไขในพื้นที่ ในครั้งนั้นที่ประชุมเห็นตรงกันว่า คนในชุมชนต้องการมีอาชีพและมีรายได้เสริมเพิ่มเติมจากการท าเกษตรกรรม ประกอบกับชุมชนมี ทุนเดิมที่น่าจะสามารถพัฒนาต่อยอดได้คือ ทุนมนุษย์ (Human capital) หรือความสามารถในด้าน การจักสานกระติบข้าวและหวด และทุนทางธรรมชาติ (Natural capital) ที่เอื้อต่อการเติบโตของ วัตถุดิบหลักคือไม้ไผ่ เมื่อได้ข้อสรุปแล้วราวปี พ.ศ. 2560 จึงได้เริ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ จากไม้ไผ่บ้านดงยอขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยในเริ่มแรกมีผู้สนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิก จ านวน 15 คน มีการลงทุนร่วมกันโดยจัดเก็บเงินจากสมาชิกเดือนละ 120 บาท แบ่งเป็นเงินส าหรับน ามาเป็นทุน หมุนเวียนภายในกลุ่มจักสาน 100 บาท และส าหรับการออมทรัพย์ 20 บาทต่อเดือน ปัจจุบันกลุ่ม จักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ มีสมาชิก 62 คน มีเงินทุนหมุนเวียนสะสมภายในกลุ่ม 45,000 บาท และเงินออมทรัพย์ 105,000 บาท (ข้อมูลวันที่ 6 สิงหาคม 2564) 2) การจดัหาวตัถดุิบ การพฒันาทกัษะของสมาชิก และการพฒันาผลิตภณัฑ์ไม้ไผ่ บ้าน เป็นวัตถุดิบหลักในการจักสาน ซึ่งกลุ่มฯ สามารถจัดหาได้บริเวณภายในต าบลและต าบล ใกล้เคียง การจัดหาไม้ไผ่ให้แก่สมาชิกจะใช้เงินทุนของกลุ่มฯ ซื้อไม้ไผ่บ้านที่ขึ้นอยู่ตามสวนหรือไร่ นาของชาวบ้าน ในราคาล าละ 100 บาท ปัจจุบันแหล่งวัตถุดิบในพื้นที่ยังคงมีเพียงพอ ไม่ต้องสั่งซื้อ มาจากภายนอกพื้นที่ วิธีคัดสรรไม้ไผ่ที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ ในแต่ละเดือน กลุ่มฯจะส่งตัวแทน ประมาณ 4-5 คน ไปช่วยกันคัดเลือกต้นไผ่ที่มีคุณลักษณะเหมาะสมส าหรับการจักสาน คือมีล าต้น ตรงสวย มีปล้องใหญ่และยาว อายุตั้งแต่ 3-10 ปี เพื่อให้ได้กระติบข้าวที่ทั้งสวยงามและคงทนต่อ การใช้งาน จากนั้นจะช่วยกันตัดและล าเลียงมาตัดแบ่งให้กับสมาชิกกลุ่ม อย่างไรก็ตาม จากการการ สัมภาษณ์พบว่าสมาชิกกลุ่มฯ ได้มีการคิดวางแผนส าหรับการจัดหาวัตถุดิบในระยะยาว โดยในปี พ.ศ. 2561 ได้เริ่มปลูกต้นไผ่จ านวนกว่า 100 กอในบริเวณป่าชุมชน ทั้งนี้เพื่อลดต้นทุนและลดความ เสี่ยงด้านการจัดหาวัตถุดิบในอนาคต และส ารองไว้ให้คนรุ่นลูกรุ่นหลาน ดังที่สมาชิกคนหนึ่งกล่าว ว่า


109 “ ไม้ไผ่ที่ใช้ก็ไปหาตัดเอาจากแถวบ้านเรา หรือซื้อแถวต าบลนาถ่อน ต าบลโพนแพง ให้ตัวแทน กลุ่มไปด้วยกัน 4-5 คน ไปช่วยกันดูไปตัดไปดึงช่วยกัน….ซื้อล าละ 100 บาทเป็นไม้ไผ่บ้าน ไม้ของเราก็พึ่ง ปลูกได้ 3 ปีแล้ว ปลูกประมาณ 100 กอ ประมาณอีกเกือบ 10 ปี ถึงจะใช้ได้เต็มที่ปลูกไว้เพื่อเป็นวัตถุดิบจัก สานให้ลูกให้หลานต่อไป” ภาพการจัดหาไม้ไผ่ส าหรับน าไปจักสาน (ซ้าย) และการปลูกต้นไผ่ในบริเวณป่าชุมชน (ขวา) ด้านการพัฒนาทักษะของสมาชิกและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของกลุ่มฯ แม้ จะยังคงมีกระติบข้าวและหวดเป็นหลัก แต่ได้เปลี่ยนแปลงจากผลิตภัณฑ์ที่มีรูปทรงและลวดลายไม่ สลับซับซ้อน เป็นผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ที่มีความประณีตงดงามมากขึ้น มีลวดลายหลากหลาย และมี เอกลักษณ์ นอกจากกระติบข้าวและหวดที่เป็นของใช้ของฝากแล้ว กลุ่มฯ ยังได้เชื่อมโยงกับสินค้า เกษตรอื่นๆ ที่เป็นจุดเด่นจุดขายของต าบล เช่นไก่ไข่และลิ้นจี่ โดยท าการสานชะลอมใส่ไข่และผลไม้ อื่นๆ เพื่อจัดส่งให้กลุ่มผู้ผลิตไข่ไก่ และผลไม้ลิ้นจี่ภายในต าบล กระบวนการพัฒนาดังกล่าวนี้พบว่า ไม่ได้เกิดขึ้นจากแกนน ากลุ่มหรือสมาชิกกลุ่มในชุมชนเพียงล าพัง แต่เกิดจากการที่แกนน าและ สมาชิกกลุ่มฯ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วในส่วนที่สอง ทั้งการสนับสนุน ด้านงบประมาณ การอบรมความรู้ทักษะด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์เช่น การอบรมหลักสูตร ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ โดยศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด ศรีสะเกษ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง หรือโครงการอบรมเพิ่มทักษะวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ โดยส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด นครพนม รวมถึงการอบรมด้านการท ากระบวนการกลุ่ม ระบบการจัดเก็บข้อมูล และการจัดท าแผน และประเมินผลกลุ่ม โดย พอช.ร่วมกับขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม และเข้าร่วมอบรม


110 หลักสูตร “แบบจ าลองทางธุรกิจเพื่อชุมชน” (Community Business Model Canvas : CBMC) โดย พอช. เป็นต้น ภาพการฝึกอบรมด้านการจักสาน และตัวอย่างผลิตภัณฑ์ของกลุ่มฯ 3) การจัดการทางการตลาด ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ มีช่องทางการจัดจ าหน่าย 2 ช่องทางหลักคือ การขายปลีกและการขายส่ง 1) การขายปลีก ผู้ซื้อกลุ่มนี้พบว่ามักจะเป็นกลุ่มข้าราชการภายในจังหวัด หรือกลุ่มผู้ซื้อ ตามงานแสดงสินค้า งานบุญประเพณีต่างๆ ที่หน่วยงานระดับจังหวัดจัดขึ้น ตลอดจนผู้ซื้อที่เป็นขา จร เช่น พ่อค้าแม่ค้า และครัวเรือน ทั้งภายในจังหวัดนครพนมและจังหวัดใกล้เคียง นอกจากนี้พบว่า กลุ่มฯ ยังได้มีการลงประกาศเพื่อโฆษณาขายสินค้า ผ่านทางออนไลน์ โดยใช้ facebook ส่วนตัวของ แกนน าและสมาชิกกลุ่มอีกช่องทางหนึ่งด้วย 2) การขายส่ง ผู้ซื้อกลุ่มนี้พบว่าส่วนใหญ่เป็นผู้ค้ารายย่อย ทั้งจากจังหวัดใกล้เคียงและต่าง ภูมิภาค เช่น มุกดาหาร สกลนคร ล าปาง แพร่ น่าน สมุทรปราการ เป็นต้น บางรายมีหน้าร้านจัด จ าหน่ายสินค้าที่เป็นงานหัตถกรรม ส่วนบางรายจ าหน่ายสินค้าผ่านทางออนไลน์ โดยมีหน้าเพจ facebook กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ซึ่งหลายรายเป็นลูกค้าขาประจ าที่สั่งซื้อผลิตภัณฑ์จาก


111 กลุ่มมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่า 3 ปีแล้ว กรณีลูกค้าขาประจ านี้จะมีการสั่งสินค้าเป็นจ านวน มาก โดยเฉลี่ยประมาณรายละ 100 ชิ้นต่อเดือน กลุ่มจะทยอยท าการผลิตตามก าลังความสามารถ ของสมาชิกและจัดส่งให้ลูกค้าครั้งละ 50-60 ชิ้น ช่องทางการติดต่อสื่อสาร และการจัดส่งสินค้าให้กับผู้ซื้อผ่านช่องทางออนไลน์นี้ ประธาน กลุ่มฯ จะเป็นผู้รับออเดอร์จากผู้ซื้อผ่านทางโทรศัพท์และช่องทางออนไลน์(facebook และ Line) และแจ้งแก่สมาชิกกลุ่ม การจัดส่งสินค้าส่งผ่านไปรษณีย์เอกชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ประธานกลุ่มฯ และ สมาชิกไม่คุ้นเคยและพึ่งเริ่มต้นเรียนรู้ด้วยตัวเองและจากการแลกเปลี่ยนระหว่างกันภายในกลุ่มฯ ด้านรายได้ปัจจุบันกลุ่มมีรายได้จากการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จักสานโดยเฉลี่ย 30,000- 50,000 บาท/เดือน ช่วงเดือนที่สามารถขายผลิตภัณฑ์ได้มากที่สุด หรือราว 400-500 ชิ้น กลุ่มจะมี รายได้มากถึง 60,000 บาท รายได้ดังกล่าวนี้แต่ละเดือนแม้จะไม่เท่ากันแต่ค่อนข้างต่อเนื่อง แม้ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของ covid-19 ที่มีลูกค้าขาจรลดน้อยลง แต่ลูกค้าขาประจ าที่รับซื้อครั้ง ละจ านวนมากไปจ าหน่ายต่อ ก็ยังคงสั่งสินค้าจนผลิตไม่ทันตามจ านวนที่ต้องการ เมื่อวิเคราะห์ถึง ความสามารถทางการผลิตและการตลาดของกลุ่มฯ สมาชิกบางรายมองว่ายังคงมีช่องทางการจัด จ าหน่ายและสามารถขายสินค้าได้อย่างต่อเนื่อง กลุ่มฯ ผลิตสินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจากการท าจักสานถือเป็นอาชีพเสริม สมาชิกกลุ่มจะท าการจักสานเมื่อว่างเว้นจากการท างาน ในภาคเกษตร ประกอบกับสมาชิกส่วนหนึ่งเป็นผู้สูงอายุ ดังที่แกนน ากลุ่มฯ ท่านหนึ่งให้สัมภาษณ์ ว่า “เขาสั ่งท ามาเยอะแต่เราท าไม่ทัน เพราะว่าบางช่วงเราต้องท านา ช่วงเดือน มิถุนายนกรกฎาคม เราต้องท านา พอถึงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน เราก็หยุดเกี่ยวข้าวอาชีพท านาท าไร่เป็น หลัก ส่วนจักสานก็เป็นอาชีพรอง….ขนาดช่วงโควิดก็ยังสั ่งอยู่ตลอด เราท าไม่ทันยังไม่พอขาย”


112 ภาพการจ าหน่ายสินค้าและการโฆษณาสินค้าให้กับกลุ่มผู้ซื้อ ยังช่องทางต่างๆ 3.2 นวัตกรรม (Innovation) ในการขับเคลื่อนกลุ่มฯ การขับเคลื่อนการพัฒนาของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ซึ่งเป็นประเด็นเด่น ในด้าน กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทีต่่อยอดจากทักษะความช านาญเดิม เชื่อมโยง วตัถดุิบในท้องถิน่และตลาด หากวิเคราะห์ภายใต้กรอบคิดต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน เข้มแข็ง สามารถสรุปได้ดังนี้ ด้าน ข้อคิดเหน ็ 1. สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ เมื่อพิจารณาถึงจุดมุ่งหมาย และกระบวนการการพัฒนาของกลุ่ม จักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ กล่าวได้ว่า การจัดตั้งกลุ่มฯ เป็ น สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นในชุมชน การจักสานถูกเปลี่ยนจากผลิตเพื่อให้สอยใน ครัวเรือนมาเป็นเพื่อขาย โดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่ประณีตงดงามและสร้าง ชื่อเสียงให้กับชุมชน สิ่งใหม่นี้เกิดจากกระบวนการที่เรียกว่า “ท าด้วยกัน” คือบริหารจัดการต้นทุน การผลิต และรับผลประโยชน์ร่วมกัน การก่อเกิด ของกลุ่มฯ น ามาสู่สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่อื่นๆ ตามมา ที่ส าคัญคือ 1) การเกิด ช่างฝีมือ จากการฝึกฝนและถ่ายทอดกันเองภายในกลุ่ม และจากการ ฝึกอบรมจากหน่วยงานภายนอก 2) การเข้ามาหนุนเสริมของหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ 3) การต่อยอดเป็นกิจกรรม


113 ด้าน ข้อคิดเหน ็ อื่นๆ ในชุมชน อาทิ การผลิตปุ๋ ยหมัก การคัดแยกและแปรรูปขยะ เป็น ต้น 2. เกิดจาก กระบวนการมีส่วน ร่วม การจัดตั้งและการขับเคลื่อนกลุ่มฯ เกิดจากกระบวนการมีส่วน ร่วมตัง้แต่เริ่มต้น กล่าวคือ เมื่อสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ร่วมกับขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม โดยการสนับสนุนด้าน งบประมาณจาก พอช. จัดเวทีประชุมและท าแผนชุมชนท้องถิ่น สมาชิก ในชุมชนได้ร่วมค้นหาปัญหาและแนวทางแก้ไขในพื้นที่ คือความต้องการ มีอาชีพและมีรายได้เสริมเพิ่มเติมจากการท าเกษตรกรรม โดยอาศัย ทุนเดิมที่น่าจะสามารถพัฒนาต่อยอดได้คือ ทุนมนุษย์ ทุนทางสังคม และ ทุนทางธรรมชาติภายหลังจากจัดตั้งกลุ่มฯ สมาชิกได้มีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการเงินทุน ร่วมจัดหาวัตถุดิบ รวมถึงวางแผนด้านแหล่ง วัตถุดิบส ารอง ตลอดจนขั้นตอนการจัดจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด 3. ง่ า ย ต่ อ ก า ร ท า ความเข้าใจของคน ในชุมชน กระบวนการจักสาน รวมถึงการพัฒนาลวดลายบนผลิตภัณฑ์ของ กลุ่ม โดยภาพรวมถือได้ว่าเป็ นสิ่งที่ง่ายต่อการท าความเข้าใจของ สมาชิกกลุ่มฯ และง่ายต่อขยายผลไปสู่สมาชิกคนอื่นๆ ในชุมชน เนื่องจากการจักสานถือเป็นงานหัตกรรมในครัวเรือน ที่คนในต าบลบ้าน กลางปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ หลายคนที่ไม่เคยท ามา ก่อนก็ได้รับการถ่ายทอดและฝึกฝนจากสมาชิกกลุ่มด้วยกันเองและการ เข้าร่วมฝึกอบรม ปัจจุบันสมาชิกกลุ่มฯ แต่ละคนแม้จะมีทักษะฝีมือและ องค์ความรู้แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ แต่โดยรวมทุกคนสามารถ จักสานผลิตภัณฑ์ที่มีรูปทรงและลวดลายพื้นฐานทั่วไปได้เช่น ลายไทย และ ลายดอกไม้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามพบว่าหากเป็นลวดลายที่ยาก เช่น ลายตัวอักษร จะมีสมาชิกกลุ่มที่สามารถท าได้เพียง 1-2 คน 4. ส า ม า ร ถ น า ไ ป ปฏิบตัิได้ต่อเนื่อง การจักสาน เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในชุมชนท าเป็นอาชีพเสริม เมื่อ ว่างเว้นจากการผลิตและการเก็บเกี่ยวในภาคเกษตร ปัจจุบันกลุ่มยังคง สามารถปฏิบตัิได้ต่อเนื่อง เนื่องจากมีก าลังคนหรือมีสมาชิกที่ท าการ


114 ด้าน ข้อคิดเหน ็ จักสานได้ตามความต้องการของตลาด โดยไม่ลดจ านวนลงหรือไม่มี สมาชิกลาออก กลุ่มสามารถจัดหาวัตถุดิบหลักคือ ไม้ไผ่ ได้ตลอดทุก ฤดูกาล รวมถึงมีการเพาะปลูกส ารองไว้ เพื่อเป็นการลดต้นทุนและลด ความเสี่ยงด้านการจัดหาวัตถุดิบในอนาคต นอกจากนี้สมาชิกกลุ่มยัง สามารถจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ได้ด้วยตนเอง ไม่ได้พึ่งพาตลาดจากการ ส่งเสริมโดยหน่วยงานภายนอกเพียงแหล่งเดียว โดยสามารถโฆษณา ประชาสัมพันธ์สินค้า มีแหล่งรับซื้อสินค้าซึ่งเป็นลูกค้าขาประจ า และมี หน่วยงานภาครัฐและองค์กรภาคประชาสังคมให้การสนับสนุนทางด้าน การตลาดร่วมด้วย ความสามารถบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้ ด้วยตนเองตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่ต้นน ้า (จัดหาวัตถุดิบ) ไปจนถึง ปลายน ้า (การจ าหน่าย) น่าจะมีส่วนให้กลุ่มสามารถปฏิบัติและขับเคลื่อน กลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง 5. เกิดประโยชน์ต่อ ส่วนรวม การด าเนินกิจกรรมของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ นอกจากเกิดประโยชน์ต่อสมาชิกกลุ่มในทางเศรษฐกิจแล้ว ยังได้ ก่อให้เกิดทุนทางสังคมคือความรู้สึกเสมือนเป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ที่ กลุ่มฯ สามารถใช้เป็นต้นทุนขยายผลไปสู่การร่วมกันท ากิจกรรมอื่นๆ ที่ เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มคนอื่นๆ ทั้งในชุมชนและสังคมภายนอก เช่น การเป็นวิทยากรสอนการจักสาน ให้กับนักเรียนชั้น ป.4-ป.6 ที่ศึกษาอยู่ ในโรงเรียน 1 วัน/สัปดาห์ซึ่งก็ได้สร้างความรู้ทักษะการจักสานและการ ประกอบอาชีพให้กับลูกหลานในชุมชน นอกจากนี้ยังสามารถขยายผล ไปสู่สังคมภายนอกในวงกว้าง ยกตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2564 สมาชิกสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ได้ระดมกันจัดหาพืชสมุนไพร หลากหลายชนิด ส่งมอบผ่าน พอช.ภาคอีสาน เพื่อแบ่งปันน ้าใจและ ความปรารถนาดี ไปถึงพี่น้องชาวกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ใน การดูแลรักษาสุขภาพจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ covid-19


115 ด้าน ข้อคิดเหน ็ 6. เกิดการ เปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ การที่สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง มีการด าเนินกิจกรรมที่ เข้มแข็งและต่อเนื่อง ได้มีส่วนในการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์กับ หน่วยงานในท้องถิ่น ยกตัวอย่างเช่น ในการจัดท าแผนการด าเนินงาน ประจ าปี ขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง ได้มีแกนน าของสภา องค์กรชุมชน เข้าไปมีส่วนร่วมพร้อมทั้งได้น าเสนอสาระส าคัญต่อ หน่วยงาน น าไปสู่การประชาคม เพื่อบรรจุในการท าแผนพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 5 ปี (2564–2568) ซึ่งครอบคลุมแผนงานด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และด้านสภาองค์กร ชุมชน อาทิ โครงการพัฒนาอาชีพราษฎรต าบลบ้านกลาง โครงการ อบรมเพิ่มทักษะผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอหมู่ที่ 8 โครงการบูรณา การการจัดท าแผนชุมชน โครงการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพคณะท างาน สภาฯ ด้านการบริหารจัดการองค์กร เป็นต้น ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง (Product) พัฒนาการของสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง และกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้าน ดงยอ ได้มีส่วนส าคัญต่อผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง ใน 4 มิติคือ การพัฒนาคุณภาพคน ความเข้มแข็ง ขององค์กรชุมชน การแก้ปัญหาของชุมชนและการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการปรับเปลี่ยน ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคีท้องถิ่น ดังนี้ มิติที่1 การพัฒนาคุณภาพคน กระบวนการและนวัตกรรมการพัฒนาของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ถือได้ ว่าเป็นการพัฒนางานและพัฒนาคุณภาพคนควบคู่ไปด้วยกัน กระบวนการดังกล่าว คนท างานคือ แกนน าและสมาชิกสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลางรวมถึงสมาชิกกลุ่มอาชีพ ได้เข้ามามีส่วน ร่วมกับสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นนี้ ตั้งแต่ร่วมวิเคราะห์ปัญหาความต้องการ เป็นผู้ด าเนินการหลัก จนกระทั่ง สามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทั้งจากทุนเดิมและความรู้ใหม่จากภายนอก รวมถึงสามารถบริหาร จัดการการด าเนินงานของกลุ่มได้ด้วยตนเองตลอดห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งได้ส่งผลให้สมาชิกกลุ่มเกิด องค์ความรู้ทักษะการจักสาน การเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านการจักสาน (สามารถถ่ายทอดได้ 15 คน) โดยได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้และทักษะให้กับกลุ่มนักเรียนในโรงเรียนบ้าย


116 ดงยอ และประชาชนที่สนใจ รวมถึงการส่งเสริมการขายด้วยตลาดสินค้าออนไลน์ (ส่วนใหญ่จะเป็น บทบาทของประธานและรองประธานกลุ่ม) ภาพการเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านการจักสาน มิติที่ 2 ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน “เมื่อก่อนที่จะมีสภาองค์กรชุมชน เราเหมือนคนเดินไม่เป็น ต้องรอการด าเนินงานจากหน่วยงาน ต่างๆ ที่หยิบยื่นให้ หลังจากตั้งสภาองค์กรชุมชนแล้ว เหมือนเราได้เปิดหูเปิดตา พบปะเพื่อนใหม่ ได้เรียนรู้ งานพัฒนามากขึ้น” (ประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง) พัฒนาการของสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2564 ได้มีส่วนต่อ ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนคือ กลุ่มจักสานฯ การรวมตัวของกลุ่มสมาชิกบริเวณศูนย์เศรษฐกิจ ชุมชนบ้านดงยอ ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์ภายในต าบล (ที่ราชพัสดุ) กลุ่มจักสานฯกลายเป็น แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่ส าคัญช่วยเพิ่มโอกาสให้คนในชุมชนได้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นเสมือน พื้นที่กลางที่สมาชิกได้มาประชุมหารือ สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง ช่วยเพิ่ม ความสัมพันธ์อันดีของสมาชิกกลุ่มมากขึ้นมีการอยู่ร่วมกันแบบพี่น้อง เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปัน เอื้ออาทร กลายเป็นทุนทางสังคมที่มีความเข้มแข็งของชุมชนที่สามารถรวมกลุ่มเพื่อท า กิจกรรมอื่นๆได้นอกจากกิจกรรมของกลุ่มแล้ว การรวมตัวของสมาชิกกลุ่มอย่างสม ่าเสมอ ยังส่งผล ต่อการร่วมมือกันติดตามแก้ไขปัญหาสาธารณะของชุมชน เช่น ในปี พ.ศ. 2562 สภาองค์กรชุมชน ต าบลบ้านกลาง เสนอขอขยายไฟฟ้าบริการ และแจ้งพื้นที่ที่ช ารุดเสียหาย ให้องค์การบริหารส่วน ต าบลบ้านกลาง พิจารณาบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี เพื่อด าเนินการซ่อมบ ารุง เป็นต้น ดังที่ ผู้แทนจากขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม ให้ความคิดเห็นว่า


117 “จากการร่วมติดตามและลงมาขับเคลื่อนงาน เห็นว่าพัฒนาการของต าบลบ้านกลาง โดยเฉพาะกลุ่มอาชีพมีความเข้มแข็งมากแห่งหนึ่งในจังหวัดนครพนม เพราะว่ามีการขับเคลื่อน ตลอด เวลาว่างก็จะมาจับกลุ่มร่วมกันท านั ่นท านี่ โดยไม่ปล่อยเวลาให้เสียไป” มิติที่3 การแก้ปัญหาของชุมชนและการพฒันาคณุภาพชีวิต ที่ผ่านมาสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ได้มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบล บ้านกลาง โดยได้รับการสนับสนุนสมทบจากองค์กรทั้งภายในพื้นที่และภายนอกพื้นที่คือ พอช. ในปี พ.ศ. 2561มีสมาชิกสะสม 3,098 คน มีจ านวนเงินสวัสดิการกว่า 4 ล้านบาท กองทุนดังกล่าวได้มี การจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก (สะสม) 5 ประเภท ซึ่งล้วนมีบทบาทส าคัญต่อการด าเนินชีวิต โดยเฉพาะด้านสุขภาพอนามัยของครัวเรือน ได้แก่ สวัสดิการกรณีเสียชีวิต, สวัสดิการเกี่ยวกับการ เจ็บป่วย/รักษาพยาบาล สวัสดิการเกี่ยวกับเด็กแรกเกิด/คลอดบุตร และสวัสดิการคนด้อยโอกาส/ คนพิการ โดยได้มีการประสานการท างานร่วมกับหน่วยงานในชุมชน คือ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต าบล ในการให้ค าปรึกษาดูแลเรื่องสุขภาพของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของกลุ่ม จักสานฯ พบว่าได้ส่งผลให้สมาชิกกลุ่มมีรายได้ส าหรับใช้จ่ายเพื่อการด ารงชีพ และช่วยเสริมสร้าง ความสัมพันธ์อันดีกับสมาชิกคนอื่นๆ ในชุมชนเพิ่มขึ้น ดังที่สมาชิกกลุ่มฯ รายหนึ่งให้สัมภาษณ์ว่า “การเข้ามารวมกลุ่มท าให้เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นมาก ท าให้มีรายได้เพิ่มขึ้น มีเงินให้ลูก ได้เรียนหนังสือ ท าให้มีการสานสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานในชุมชนมากขึ้น และยังน าความรู้ที่ได้ กลับไปสอนลูกหลานได้” มิติที่4 การปรบัเปลี่ยนความสมัพนัธ์กบัหน่วยงานภาคีท้องถิ่น ในการจัดท าแผนการด าเนินงานประจ าปี ขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลาง ได้มี เลขานุการขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดนครพนม และแกนน าสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง เข้า ไปมีส่วนร่วมพร้อมทั้งได้น าเสนอสาระส าคัญต่อหน่วยงาน อันแสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยน ความสัมพันธ์ที่ชุมชนท้องถิ่นไม่ได้เป็นฝ่ายรอรับเพียงอย่างเดียว ข้อเสนอขององค์กรชุมชนน าไปสู่ การประชาคม เพื่อบรรจุในการท าแผนพัฒนาท้องถิ่นระยะ 4 ปี (2564–2568) ซึ่งครอบคลุมแผนงาน ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และด้านสภาองค์กรชุมชน ดังนี้ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผ้รูบัผิดชอบโครงการ/ กิจกรรม 1. โครงการพัฒนาอาชีพราษฎรต าบลบ้าน กลาง 100,000 บาท สภาองค์กรชุมชน/อบต.บ้าน กลาง


118 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผ้รูบัผิดชอบโครงการ/ กิจกรรม 2. โครงการอบรมเพิ่มทักษะผลิตภัณฑ์จากไม้ ไผ่บ้านดงยอหมู่ที่ 8 - สภาองค์กรชุมชน/พมจ. นครพนม 3. โครงการสืบสานวัฒนธรรมไหลเรือไฟ 500,000 บาท อ าเภอเมือง/อบต.บ้านกลาง/ผู้น า ท้องที่/สภาองค์กรชุมชน/ ภาคเอกชน 4. โครงการอนุรักษ์ประเพณีฮีต 12 คอง 14 60,0000 บาท อบต.บ้านกลาง/ผู้น าท้องที่/สภา องค์กรชุมชน 5. โครงการการจัดการขยะ 20,000 สภาองค์กรชุมชน 6. บูรณาการการจัดท าแผนชุมชน 20,000 สภาองค์กรชุมชน/ผู้น าหมู่บ้าน/ อปท./พช.อ าเภอ/มหาวิทยาลัย นครพนม 7. ฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพคณะท างานสภา ด้านการบริหารจัดการองค์กร 30,000 บาท สภาองค์กรชุมชน ส่วนที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ พัฒนาการของสภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง และกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้าน ดงยอ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2564 นั้น จากการประชุมกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์พบว่า กว่า 13 ปี ของกระบวนการขับเคลื่อนงาน โดยเฉพาะประเด็นเด่น คือ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ต่อ ยอดจากทักษะความช านาญเดิม เชื่อมโยงวัตถุดิบในท้องถิ่น และตลาด ไม่ได้เกิดขึ้นจากคนใน ชุมชนเพียงล าพัง แต่เกิดจากปัจจัยน าเข้า (Inputs) ที่ส าคัญคือ 1) สภาองค์กรชุมชนต าบลบ้านกลาง ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงานพัฒนาต าบล เป็นพื้นที่กลางในการประสานความร่วมมือ การ เชื่อมโยงคนท างาน 2) องค์กร/หน่วยงานภาคีทั้งในและนอกพื้นที่ ซึ่งรวมถึงสถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) ที่มีส่วนสนับสนุนด้านงบประมาณในการขับเคลื่อนกิจกรรม การเชื่อมโยง ประเด็นงาน และสนับสนุนองค์ความรู้ทักษะเฉพาะด้าน 3) ทุนเดิม ประกอบด้วย ทุนทางสังคม วัฒนธรรม ทุนมนุษย์และทุนทางธรรมชาติ ซึ่งเป็นทุนเดิมที่มีอยู่แล้วและสอดคล้องกับวิถีการ ด าเนินชีวิตของคนในชุมชน และ 4) เทคโนโลยีการสื่อสาร/การตลาดออนไลน์และระบบขนส่งสินค้า (ไปรษณีย์) ซึ่งกลุ่มฯ สามารถหยิบใช้ประโยชน์ให้เอื้อต่อการจ าหน่ายสินค้าและท าการตลาด


119 กระบวนการ (Process) ขับเคลื่อนองค์กรชุมชน กรณีกลุ่มกรณีกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้าน ดงยอ แสดงถึงนวัตกรรมทั้ง 6 ด้านคือ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม ง่ายต่อ การท าความเข้าใจของคนในชุมชน สามารถน าไปปฏิบัติได้ต่อเนื่อง เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม และ เกิดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ซึ่งได้ชี้ให้เห็นถึงผลลัพธ์ (Outputs) สู่การพัฒนาเป็นต าบล เข้มแข็งใน 4 มิติคือ การพัฒนาคุณภาพคน ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน การแก้ปัญหาของ ชุมชนและการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคีท้องถิ่น ดัง ภาพต่อไปนี้ ภาพสรุปกระบวนการพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง กรณีกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัด นครพนม อย่างไรก็ตามพบว่า ปัจจุบันกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่บ้านดงยอ ยังคงมีจุดอ่อนที่ ต้องได้รับการพัฒนาต่อไปที่ส าคัญคือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลบัญชีรายรับรายจ่าย รวมถึงการ วิเคราะห์ก าไรต้นทุนและการตลาดของกลุ่ม ซึ่งมีส่วนส าคัญต่อการจัดท าแผนและประเมินผลการ ด าเนินงานของกลุ่ม ---------------------------------------------------


120 การถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนภาคอีสาน ตา บลเขี่อน อา เภอโกสุมพิสยัจงัหวดัมหาสารคาม โดย พลูสมบตัินามหล้า ส่วนที่ 1 บริบทพื้นที่และต้นทุนทางสงัคม (Context) ส่วนนี้จะกล่าวถึง ประวัติศาสตร์ ประชากร วัฒนธรรม ภูมิปั ญญา อาชีพ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่เป็นต้นทุนทางสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะมี ผลต่อปัจจุบันและอนาคตของชุมชน 1.1 ประวตัิศาสตรแ์ละประชากร คนกลุ่มแรกที่อพยพมาสร้างหลักปักฐานเป็นคนที่มาจากจังหวัดอุบลราชธานี เนื่องจาก จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่อยู่ติดแม่น ้าโขง แม่น ้ามูล แม่น ้าสงคราม และอีกแม่น ้าหลายสาย ปัญหาเรื่องน ้าท่วมขังถือเป็นเรื่องปกติ กลุ่มคนเหล่านี้จึงได้พากันหนีปัญหาน ้าท่วมขังซ ้าซาก และ ได้เดินทางมาแสวงหาดินแดนที่จะสร้างบ้านเรือน ประกอบอาชีพและสร้างครอบครัวให้มีอยู่มีกิน จึง ได้มาปักหลักตรงหนองน ้าแห่งหนึ่ง (คือหนองเขื่อนในปัจจุบัน) ต่อมามีการแบ่งแยกออกเป็น 2 หมู่บ้านใหญ่ คือบ้านเขื่อนและบ้านโนนตุ่น-โนนเนา เลยเรียกเมืองสองบ้าน ต าบลเขื่อนจึงมีค าขวัญ ว่า "เขื่อนนครเมืองสองบ้าน สืบสานต านานผ้ามัดหมี่ สร้อยดอกมากหลากหลายอาชีพ และแหล่ง วัฒนธรรม ขุมค าล ้าโคกเก่าค้อ” ต าบลเขื่อนมีภาพเป็นชุมชนเมื่อปี พ.ศ.2334 หรือประมาณ 230 ปี(ค านวณเมื่อ พ.ศ.2564) ต่อมามีการจัดรูปแบบหมู่บ้านและต าบลตาม พรบ. ปกครองท้องที่ ปี พ.ศ. 2457 จึงมีสถานะเป็น ต าบล และแบ่งเขตเป็นหมู่บ้านเพื่อง่ายต่อการปกครองและการพัฒนา มีเนื้อที่ทั้งหมด 14,667 ไร่ มี ทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ปัจจุบันมีผู้อาศัยในเขตต าบลเขื่อน 1,623 ครัวเรือน ประชากร 5,559 คน ชาย หญิง 2,741 หญิง 2,818 คน


121 1.2 ภมูิปัญญาและอาชีพฐานทรพัยากรธรรมชาติที่มีอยู่ คนในชุมชนมีภูมิปัญญาในการ “ท ามาหากิน เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน” คือการท านาปลูกข้าว ทั้งท า นาปีและนาปรัง อาชีพรองคือการค้าขาย ปลูกพืชผัก ทอเสื่อกกจากต้นกก จักสาน ทอผ้าไหม เลี้ยง โค เลี้ยงกระบือ เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ ซึ่งก็เป็นอาชีพที่มาจากฐานการเกษตรกรรม บนไร่นา ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญา ที่พวกเขามีอยู่ การท านาในปัจจุบันที่มีต้นทุนที่สูง มีการซื้อเมล็ดพันธุ์ จ้างรถไถ หว่าน ปักด า ใส่ปุ๋ ย เก็บ เกี่ยว ล้วนแต่มีค่าใช้จ่ายที่สูง เมื่อราคาผลผลิตต ่า ย่อมท าให้เกษตรกรขาดทุนและมีหนี้สิน ประกอบ กับเกษตรกรยังไม่สามารถรับมือกับการแข่งขันในระบบตลาดได้ไม่ดีนัก ท าให้มองเห็นว่าเกษตรกร ยังขาดทักษะในระบบห่วงโซอุปทาน (Supply chain) เช่น การแปรรูป การตลาดและจ าหน่าย มีการ หนุนเสริมและพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ สร้างตลาดเพื่อให้มีช่องทางจ าหน่ายสินค้า พัฒนาอาชีพ ทางเลือกให้กับตนเอง เช่น การพัฒนาสายพันธุ์ข้าว ฟื้นฟูอาชีพพื้นถิ่น ปศุสัตว์ โดยมีชุมชน เศรษฐกิจชุมชนเป็นฐาน บางคนรับจ้างโรงงานหรือบริษัทท าเกษตรพันธะสัญญา เช่น การผลิตเมล็ด พันธุ์แคนตาลูปส่งให้กับบริษัท มีกลุ่มอาชีพที่เกิดขึ้นในชุมชนมากกว่า 30 กลุ่ม 1) กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน 11 กลุ่ม 2) กลุ่ม โรงสีข้าวชุมชน 5 กลุ่ม 3) กลุ่มองค์กร/เครือข่าย 10 กลุ่ม 4) กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 1 กลุ่ม 5) กลุ่มทอ เสื่อกก 1 กลุ่ม 6) กลุ่มทอผ้าไหม 1 กลุ่ม 7) กลุ่มทอผ้าฝ้าย 1 กลุ่ม 8) กลุ่มจักสาน 1 กลุ่ม ซึ่งเป็น ฐานการรวมกลุ่มช่วยเหลือกัน แก้ไขปัญหา เรียนรู้อาชีพ เรียนรู้ระบบการผลิต การแปรรูป การตลาดและการจ าหน่ายไปด้วยกัน 1.3 วัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมและประเพณี เป็นการกระท าหรือกิจกรรมที่ท าสืบทอดกันมา มีความเชื่อมโยงกับ วิถีชีวิต เศรษฐกิจ สังคมอย่างมีนัยยะส าคัญ กล่าวคือ คนต าบลเขื่อนนับถือศาสนาพุทธเป็นส่วน ใหญ่ โดยมีวัดถึง 4 แห่ง คือ วัดจันทร์อุทัย วัดสุทธาราม วัดทรายค า ที่พักสงฆ์ป่าโคกเก่าค้อ และยัง มีดอนปู่ตา 2 แห่งตั้งอยู่ที่บ้านโนนตุ่น หมู่ที่ 9 เนื้อที่ 20 ไร่ และหอพระธรรมตั้งอยู่บ้านเขื่อน หมู่ที่ 2 เนื้อที่ 1 ไร่ 54 ตารางวา มีหลักบ้านหรือเจ้าปู่บ้านที่ชาวบ้านเครพนับถือ และมีประเพณีที่ได้จัด กิจกรรมสืบสานกันมาทุกปี เช่น 1) ประเพณีบุญเบิกบ้าน (บุญเดือน 6) มีการสืบสานประเพณีนี้มากว่า 90 ปี ในวันขึ้น 6 ค ่าเดือน 6


122 2) ประเพณีสงกรานต์สงฆ์น ้าพระคุณเจ้าและรดน ้าด าหัวผู้สูงอายุ(เดือน 5 ) 3) ประเพณีท าบุญตักบาทวันเข้าพรรษา ประเพณีตักบาทเทโวออกพรรษา 4) ประเพณีวันลอยกระทง 5) ประเพณีงานข้าวคูณลาน (เดือน 12) 1.4 ทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ของต าบลเขื่อนส่วนมากเป็นพื้นที่ส าหรับเพาะปลูก มีทรัพยากรธรรมชาติหลาย แหล่ง ปัญหาในการเพาะปลูกเนื่องจากพื้นที่บางส่วนเป็นดิน เค็ม น ้าใต้ดินก็เค็ม หรือไม่ก็เป็นน ้า กร่อย ไม่สามารถที่จะน าน ้าจากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภคบริโภค ต้องอาศัยน ้าดิบจากแหล่งอื่นและ น ้าฝน น ้าในการเกษตรต้องรอฤดูฝน และน ้าดิบจาก ห้วย/หนองน ้าสาธารณะ ชุมชนมีสถานะ ครอบครองการใช้ประโยชน์ที่ดินโฉนด น.ส. 3 แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญในพื้นที่ 1) ป่าโคกเก่าค้อ ตั้งอยู่ที่ บ้านเขื่อนเหนือ หมู่ที่ 8 เนื้อที่ 907 ไร่ 2 งาน 2) หนองเขื่อน ตั้งอยู่ที่ บ้านเขื่อนหมู่ที่ 2 เนื้อที่ 87 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา 3) หนองไข่เน่า ตั้งอยู่ที่ บ้านเขื่อนหมู่ที่ 3 เนื้อที่ 22 ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา 4) ดอนปู่ตา ตั้งอยู่ที่ บ้านโนนตุ่น หมู่ที่ 9 เนื้อที่ 20 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา 5) หอพระธรรม ตั้งอยู่ที่ บ้านเขื่อนหมู่ที่ 2 เนื้อที่ 1 งาน 54 ตารางวา 6) ป่าโคกสนาม เป็นป่าเสื่อมโทรม ในพื้นที่ 25 ไร่ 1.5 ปัญหาส าคัญของชุมชน จากการระดมสมองจากชุมชน พบว่า ปัญหาหนี้สิ้น เป็นปัญหาส าคัญของคนในชุมชน จากการเป็นหนี้ธนาคารพาณิชย์ ธนาคาร เพื่อการเกษตร กองทุนหมู่บ้าน เงินนอกระบบ เงินทุนเอกชนต่าง ๆ ท าให้เกษตรกรมีหนี้ครัวเรือน ประมาณต่อครัวเรือน 300,000-400,000 บาท ต่อครัวเรือน นอกจากนั้นชุมชนเห็นว่า ปัญหาแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร แหล่งน ้าใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัจจุบันมีการใช้น ้า กันเป็นจ านวนมาก จึงท าให้เกิดความขาดแคลน ปัญหาด้านขยะ เมื่อจ านวนครัวเรือนมากขึ้น ขยะก็เกิดมากขึ้นตามมาก็มากขึ้น ต้องมีการ เตรียมความพร้อมในการแก้ไขปัญหาขยะ


123 ปัญหาเรื่องรายได้เสริม เกษตรกรบอกว่าจะมีความยากมากที่จะยืนอยู่บน “ขาเดียว”ใน การท านาอย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องมีรายได้เข้ามาเสริมเพื่อมีเงินหล่อเลี้ยงครอบครัวเป็น “ขาที่สอง” ถึงจะยืนอยู่อย่างมั่นคง 1.6 องค์กรชุมชนและสภาองค์กรชุมชน ปี พ.ศ. 2551 ได้จดแจ้งจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบล และขับเคลื่อนงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ได้ เช่น ได้มีเวทีกลางพูดคุยแลกเปลี่ยนรู้ปัญหาของชุมชนด้านต่าง ๆ เกิดการส ารวจข้อมูลชุมชน จัดท าแผนพัฒนาต าบล การฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน าของชุมชนหลายครั้ง การเกิดขึ้นมา ของสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน ท าให้ได้เกิดการบูรณาการท างานร่วมกับองค์การบริหารส่วน ต าบล สถาบันการเงินชุมชน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้านต าบลเขื่อน กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบล เขื่อน ท้องที่ท้องถิ่น ก านันผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารท้องถิ่น สถาบันการศึกษา 4 แห่ง โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพชุมชนต าบล 1 แห่ง และกลุ่มองค์กรเครือข่ายในชุมชน ก็ยิ่งท าให้ต าบลมีความ เข้มแข็งเพิ่มมากขึ้น การจดแจ้งสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน มีนายอ่อนศรี จันทะเขียน เป็นประธานสภาองค์กรชุมชน และมีนายส าลี สีมารักษ์ เป็นที่ปรึกษาสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน ปี พ.ศ. 2555 มีการจดแจ้งสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน 1) นายมงคล กันยาสุด เป็นประธานสภา องค์กรชุมชน 2) นายสมควร ศรีจันตะ รองประธานคนที่ 1 3) นายส าเนียง สิมลา รองประธานคนที่ 2 4) นายก าจัด ไกยะวัตร เลขานุการ ในปี พ.ศ. 2559 มี 1) นายน้อย บุระค า ประธานสภาองค์กร ชุมชนต าบลเขื่อน 2) นายส าเนียง สิมลา รองประธานสภาฯคนที่1 3) นายกฤตชัย ศรีหาบัว รอง ประธานสภาฯคนที่ 2 4)นายวีรชัย ศรีภูมั่น เลขานุการ 5) นางสง่า สีมารักษ์ เหรัญญิก ปี พ.ศ. 2554 ได้พัฒนาก่อตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบล ปี พ.ศ.2556 ให้เกิดการรวมตัว ทั้ง 11 หมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนได้ช่วยเหลือกันตั้งแต่เกิดจนตาย ความหมายคือ ให้อย่าง มีคุณค่า รับอย่างมีศักดิ์ศรี จัดสวัสดิการตั้งพื้นฐานส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ร่วมกิจกรรม ของคน ในชุมชน เชื่อมโยงกลุ่มองค์กรกลุ่มออมทรัพย์ หนุนเสริมบุคลากรในการท างานร่วมกันมากขึ้น กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลเขื่อนเป็นองค์กรหนึ่งที่ถือว่ามีความเข้มแข็ง โดยมีวัตถุประสงค์ เจ็ดประการ คือ 1) เป็นการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตให้กับคนในชุมชน โดยจัดให้มีระบบ สวัสดิการของชุมชน ที่สามารถดูแลคนในชุมชนทุกช่วงวัยตั้งแต่เกิดจนตาย ท าให้สมาชิกในชุมชนมี คุณภาพชีวิตที่ดี 2) เพื่อจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนสมาชิกในเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย 3) เพื่อ


124 จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ในชุมชน 4) เพื่อจัดตั้งกองทุนส่งเสริมอาชีพ และ การศึกษาในชุมชน 5) เพื่อจัดตั้งกองทุนหลักประกันเงินกู้ เงินฝากให้แก่สมาชิกในกรณีเสียชีวิต 6) เพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับเงิน พัฒนาคนให้มีคุณธรรม จริยธรรมครบวงจรชีวิต 7) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรมไทย สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อความมั่นคงใน ชีวิตของสังคมไทย กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลเขื่อน เกิดจากแกนน า (นายประเชิญ พวงมะลัย) และผู้บริหาร ท้องถิ่นเห็นความส าคัญ จึงได้จัดประชุมผู้น าและแกนน าชุมชนทั้ง 11 หมู่บ้าน ได้ประชุม ปรึกษาหารือถึงความเป็นไปได้ ประโยชน์ที่จะได้รับ ผู้น าชุมชนมีความเห็นตรงกันว่า เป็นกิจกรรม ที่ดี ทั้งปัจจุบันและอนาคต จึงได้มีมติจัดตั้ง เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยมีคณะกรรมการชุด แรกจากการแต่งตั้ง 22 คน ที่ปรึกษา 4 คน จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหารโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เจ้าอาวาสวัดในพื้นที่ และก านันต าบล และ ประกาศใช้ระเบียบข้อบังคับ พ.ศ. 2554 เริ่มด าเนินการเก็บสัจจะวันแรก ในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2554 มีผู้สนใจสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกในครั้งแรก 1,130 คน ครอบคลุมทั้งหมด 11 หมู่บ้าน(ทุก หมู่บ้านในต าบลเขื่อน) ระยะเวลา 8 ปีที่ด าเนินงาน มีประชาชนให้ความสนใจสมัครเข้าเป็นสมาชิก ทุกเดือน ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 2,102 คนและสมาชิกคงเหลือ(หัก ตาย ลาออกและพ้นสภาพการ เป็นสมาชิกกลุ่ม คงเหลือประมาณ 1665 คน) รับเงินจากสมาชิก (เฉพาะเงินสัจจะ) กว่า 5 ล้านบาท เศษ ปัจจุบันนี้ยังเป็นกองทุนที่พึ่งและสวัสดิการให้ชุมชนเช่นเดิม มีระบบจัดสวัสดิการดังนี้ 1) สมาชิกออมเงินวันละ 1 บาท หรือ 30 บาท ต่อเดือน 2) มีสมาชิก 1,665 คน 3) เงินทุนหมุนเวียน 700,000- 800,000 บาท 4) ทุนการศึกษาให้เด็กปีละ 500 บาท 5) เจ็บป่วยนอนโรงพยาบาล จ่ายคืนละ 100 บาท 6) เสียชีวิต ส าหรับสมาชิก 6 เดือน คุ้มครอง 3,500 บาท ส าหรับสมาชิก 2 ปีขึ้นไปจะ ได้รับคุ้มครอง 12,000 บาท การมีสถาบันการเงินชุมชนต าบล(กองทุนสวัสดิการ)ที่เข้มแข็ง ท าให้เกิดการเชื่อมโยงบูรณา การกลุ่มองค์กรชุมชนต่าง ๆ ได้ กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบล ชมรมผู้สูงอายุต าบล สวัสดิการจาก กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง มีสมาชิกทั้ง 11 หมู่บ้าน ครอบคลุมทุกพื้นที่ของต าบล


125 ส่วนที่ 2 กระบวนการสนับสนุน ( Input) แนวทางการพัฒนาและนวัตกรรมชุมชน จากการค้นคว้าข้อมูลและแลกเปลี่ยนกับคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนพบว่า สภาองค์กร ชุมขนได้รับการสนับสนุนทุนจากหลากหลายองค์กร ได้มีการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ขึ้นมาก าหนด ทิศทางการท างาน มีปฏิบัติการเกิดขึ้นหลายด้าน และพบว่ากิจกรรมอนุรักษ์ข้าวพันธุ์ดี เป็น กิจกรรมเด่นหรือเรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรมของกลุ่ม 2.1 การสนับสนุนและความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ สภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน มีสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเป็นผู้คอยสนับสนุนผ่านขบวน องค์กรชุมชนจังหวัดสู่สภาองค์กรชุมชน นอกจากนั้นยังได้ร่วมมือท างานกับ องค์การบริหารส่วน ต าบล สถาบันการเงินชุมชนเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านต าบลเขื่อน ก านันผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารท้องถิ่น สถาบันการศึกษา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต าบล เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก และ สภาฮักแพงเบิ่งแยงคนสารคามซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาสังคมจังหวัดด้วย 1) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนงบประมาณสมทบ กองทุนสวัสดิการชุมชน 748,872 บาท และปี 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ภายใต้ ชื่อ โครงการกองทุนข้าวพันธุ์ต าบลเขื่อน ประมาณ 70,000 บาท 2) องค์การบริหารส่วนต าบล เป็นการเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งเรื่องการ สนับสนุนทุนทั้งเรื่องการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาศักยภาพ สุขภาพและการจัดการ สิ่งแวดล้อม และการประสานงาน และการสนับสนุนอาคารสถานที่จัดเวที 3) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล สนับสนุนการฝึกอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการรณรงค์ ป้องกันโรคติดต่อต่างๆ 4) สภาฮักแพง เบิ่งแยง คนสารคาม ได้หนุนความเข้มแข็งของขบวนองค์กรชุมชน ภายใต้การ สนับสนุนงบประมาณจาก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ซึ่งมีกิจกรรม ประเมินความก้าวหน้าสภาองค์กรชุมชน 1) ด้านศักยภาพของสภาองค์กรชุมชน(ผู้น าสภา) 2) ด้านรูปธรรมการแก้ไขปัญหาและจัดการปัญหาด้วยการขับเคลื่อนของสภาฯได้อย่าง ชัดเจนและเป็นรูปธรรม 3) ด้านการเชื่อมโยงและประสานความร่วมมือกับภาคีที่ หลากหลาย 4) ด้านการจัดท าระบบข้อมูลของสภาองค์กรชุมชน และสนับสนุนการจัดตั้ง และขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชน ในจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งปัจจุบันมี ทั้งหมด 123 กองทุน 5) สถาบันการเงินชุมชนเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านต าบลเขื่อน เป็นการประสานงาน ให้ ค าปรึกษาเรื่องเกี่ยวกับการกองทุนสวัสดิการต าบลเขื่อน


126 6) ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้มีบทบาทส าคัญในการประสานงาน ให้ข้อมูล และร่วมท างาน ด้วยกัน 7) เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก หนุนช่วยเกษตรกรกลุ่มข้าวพันธุ์ดีและสมาชิกตลาดเขียว เรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากเคมีสู่อินทรีย์ และหนุนเสริมให้เข้าร่วมขายสินค้าอาหาร ที่ตลาดเขียวทั้งในระดับอ าเภอและจังหวัด 2.2 แผนสร้างความเข้มแข็งองค์กรชุมชนและสภาองค์กรชุมชน จะกล่าวถึงวิสัยทัศน์หรือเป้าหมาย ยุทธศาตร์การพัฒนาต าบล ที่ได้ก าหนดไว้ดังนี้ วิสยัทศัน์: ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งพึ่งพาตนเองด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ : 1) การพึ่งพาตนเองของฐานเศรษฐกิจและทุนชุมชน 2) การลดต้นทุนการผลิตการเกษตรและการแปรรูป 3) การเชื่อมโยงเศรษฐกิจทุนชุมชนและองค์กรเครือข่าย 4) การสนับสนุนเกษตรอินทรีย์และเชื่อมโยงกลุ่มองค์กรเครือข่าย แผนงาน แนวทางส าคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ พัฒนาด้าน เศรษฐกิจ 1) พัฒนาเศรษฐกิจในชุมชนให้พึ่งตัวเองได้ 2) เพิ่มรายได้จากการท าเกษตรอินทรีย์ และการปลูกพืช หมุนเวียน 3) สร้างความสัมพันธ์ให้กับผู้ซื้อและผู้ขายในชุมชน เพื่อกระตุ้น การค้าภายในชุมชนมากขึ้นและสนับสนุนกลุ่มวิสาหกิจ ขนาดเล็กในชุมชนให้มีการพัฒนาต่อยอดต่อไป 4) แผนการสร้างบุคลากรสร้างงานน าความรู้ใหม่มาปรับใช้กับ เศรษฐกิจและทุนชุมชน 5) แผนการเชื่อมโยงเศรษฐกิจทุนชุมชนและองค์กรเครือข่าย แผนการสนับสนุนเกษตรอินทรีย์และเชื่อมโยงกลุ่มองค์กร เครือข่าย พัฒนาด้าน การเกษตร 1) การเพิ่มผลผลิตสินค้าทางการเกษตร การจัดระบบสู่เกษตร อินทรีย์ในต าบล ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี


127 2) การส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ลดรายจ่าย เพิ่ม รายได้ 3) การเรียนรู้การด าเนินชีวิตตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง 1) การแปรรูปผลผลิตด้านการเกษตร ผักปลอดสาร ให้มีการ ถนอมอาหาร เช่นการดอง การแช่อิ่ม และ สร้างหีบห่อบรรจุ ภัณฑ์ packaging ที่ตรงตามความต้องการของตลาด ด้านพัฒนาองค์กร 1) การพัฒนาศักยภาพแกนน าสภาองค์กรชุมชน และแกนน า กลุ่มองค์กรส าคัญในระดับพื้นที่ ให้เข้าใจ มีทักษะการ บริหารงานในเชิงยุทธศาสตร์มากขึ้น 2) กระบวนการบริหารจัดการภายในสภาองค์กรชุมชนมีความ เป็นขั้นตอน และชัดเจนมากยิ่งขึ้น 3) การเชื่อมโยงและบูรณาการงานร่วมกับภาคีหน่วยงาน อย่าง ครอบคลุมหลากหลาย และตรงตามความต้องการของคนใน ต าบลมากขึ้น 4) การเชื่อมโยงหน่วยงานภาคีหุ้นส่วนการพัฒนาที่ผ่านมายัง เป็นข้อจ ากัดของสภาองค์กรชุมชนที่ยังไม่สามารถเชื่อมโยง ภาคีการพัฒนาเข้ามาสนับสนุนงานในระดับพื้นที่ต าบลมาก นัก โดยเฉพาะหน่วยงานในระดับจังหวัด ที่จะเข้ามา สนับสนุนทั้งความรู้วิชาการและงบประมาณ พัฒนาด้าน สาธารณะสุข 1) พัฒนาเรื่องการปรับปรุงเรื่องการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2) สนับสนุนสมทบเงินงบประมาณในการจัดสวัสดิการชุมชนใน สมาชิก 3) จัดสวัสดิการรถรับส่งและพัฒนาให้ได้มาตรฐาน 4) ปรับปรุงให้ความช่วยเหลือแก้บุคคลพิการและผู้ด้อยโอกาส 5) ปรับปรุงระบบการจัดเก็บขยะและสนับสนุนให้มีการคัดแยก ขยะ


128 2.3 โครงการและกิจกรรมที่ขบัเคลื่อนดา เนินการโดยสภาองคก์รชุมชน นับแต่จดแจ้งจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลเมื่อปี พ.ศ. 2551 เกิดการส ารวจข้อมูลชุมชน และจัดท าแผนพัฒนาต าบล มีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ท างานภายในท้องที่ และพัฒนาศักยภาพ แกนน าของชุมชนหลายครั้ง เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนพัฒนาชุมชนแกนน าสภาองค์กรชุมชนต าบลได้มี เวทีกลางพูดคุยแลกเปลี่ยนรู้ปัญหาของชุมชนด้านต่าง ๆ ตามภารกิจของสภาร่วมกัน หลังจากนั้นก็ เกิดกิจกรรมต่าง ๆ หลากหลายประเด็น 1) ก่อตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบล ปี พ.ศ.2554 ให้เกิดการรวมตัว ทั้ง 11 หมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนได้ช่วยเหลือกันตั้งแต่เกิดจนตาย ได้มีแผนพัฒนากองทุน สวัสดิการชุมชนต าบลและเชื่อมโยงสวัสดิการกับงานพัฒนาอื่น ๆ 2) โครงการกองทุนข้าวพันธุ์ดีต าบลเขื่อน มีเป้าหมายส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตเม็ดข้าว พันธุ์ดีและท าเกษตรกรรมอินทรีย์ วิธีการคือการส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ชุมชนและปุ๋ ยอินทรีย์ท าการเกษตร มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรในพื้นที่ต าบลเขื่อน ด าเนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ.2559 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน ปัจจุบันมีเกษตรกรมากกว่า 20 ครัวเรือนได้เป็นผู้ผลิตข้าวพันธุ์ดี ได้รับงบประมาณสนับสนุนงบประมาณจากสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน 3) โครงการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพของกลุ่มองค์กร โดยร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบล เขื่อน มีเป้าหมายฝึกอบรมอาชีพและการรวมกลุ่มพัฒนา ยกระดับและเพิ่มรายได้ เมื่อ ต้นปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นมา มีวิธีการส่งเสริมอาชีพ คือจัดฝึกอบรมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ใน พื้นที่ต าบลเขื่อน 4) โครงการส่งเสริมให้ความรู้และเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อ มีเป้าหมายคือส่งเสริมให้ ความรู้หลักสาธารณมูลฐานการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อ มีวิธีการคืออบรมให้ความรู้ การเฝ้าระวังและการควบคุมโรคติดต่อ คาดหวังไว้ว่าโครงการจะท าให้แกนน าชุมชนมี ความรู้ สามารถควบคุมการแพร่ระบาดและโรคติดต่อได้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ถึงปัจจุบัน 5) โครงการส่งเสริมการออกก าลังกาย มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการออกก าลังกายให้ ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง มีวิธีการคือจัดกิจกรรมออกก าลังกายลดโรคร่วมกับ รพ สต.และอบต. ด าเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ถึง ปัจจุบัน 6) โครงการปลูกป่ าเฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงการที่ท างานร่วมกับ อบต. เพื่อสร้าง จิตส านึกและความตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิธีการ คือจัดอบรมเพื่อสร้างจิตส านึกและความตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมป่าชุมชน ด าเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน


129 7) โครงการอนุรักษ์ฟื้ นฟูประเพณีวัฒนธรรม “บุญเบิกบ้าน” เดือนหก เพื่ออนุรักษ์ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยจัดท าพิธีบวงสรวงขอฝนในวันขึ้น 6 ค ่าเดือน 6 และพระภิกษุสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เย็น 3 วันและถวายภัตตาหารเช้า โดยสภาองค์กร ชุมชนร่วมกับองค์กรเครือข่ายและประชาชนทั่วไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจุบัน 8) โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยชุมชน เพื่อลดปริมาณขยะและมลภาวะโดยวิธีที่ เหมาะสมแยกขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะมีพิษ วิธีการคือจัดแยกขยะทั้ง 11 หมู่บ้าน ด าเนินงานมาตั้งแต่ปี 2562 จนถึงปัจจุบัน 2.4 กิจกรรมที่โดดเด่นที่เลือกเป็นนวัตกรรมของชุมชน คือโครงการผลิตเมล็ดข้าวพันธุ์ดี ภายใต้การขับเคลื่อนของสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน เริ่มท ากองทุนข้าวพันธุ์ดี ในปี พ.ศ. 2559 โดยงบประมาณสนับสนุน 70,000 บาทจากสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน ได้ผลิตข้าวพันธุ์ดี 3 สายพันธุ์ คือ ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ข้าวจ้าวมะลิ 105 ข้าว เหนียวพันธุ์ กข.22 ข้าวเหนียวพันธุ์อีเตี้ยเขี้ยวงู โดยตั้งเป็นกองทุนข้าวพันธุ์ดีต าบลเขื่อน สมาชิก สภาองค์กรชุมชนต าบลและแกนน ากลุ่มองค์กร ได้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบอินทรีย์ ปัจจุบัน มีสมาชิก จ านวน 20 ครัวเรือน ที่แบ่งเนื้อที่เพาะปลูกคนละ 1-3 ไร่ และมีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรื่องความรู้เรื่อง พันธุ์ข้าวอยู่ 6 ต าบล กระบวนการริเริ่มท ากองทุนข้าวพันธุ์ดีเริ่มจากการมีวิทยากรมาสอนคัดพันธุ์ ข้าวจากจังหวัดยโสธรมาสอน และในปี พ.ศ.2563 มีผลผลิตจากการคัดพันธุ์ข้าวจ านวน 2 ตันหรือ 2,000 กิโลกรัมที่ผ่านการคัดเลือก ตรวจสอบและรับรองผลผลิต


130 ส่วนที่ 3 นวัตกรรมและกระบวนการ (process) ส่วนนี้จะเป็นการน าเสนอผลงานเด่นที่เป็นผลผลิตของชุมชนที่เรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรมด้าน เศรษฐกิจและทุนของชุมชน 3.1 กลุ่มกองทุนข้าวพันธุ์ดีต าบลเขื่อน ปี พ.ศ. 2558 จากการศึกษาข้อมูลการซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกร ของสภาองค์กร ชุมชนต าบลเขื่อน พบว่าเกษตรกรได้สั่งซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวจากภายนอกเป็นจ านวนเงินมหาศาล มากกว่าปีละ 5 ล้านบาท จึงได้เปิดเวทีสรุปบทเรียนและค้นหาปัจจัยที่ส่งผลเช่นนี้ พบว่า เกษตรกร ต าบลเขื่อนท านาปีละสองรอบทั้งรูปนาปีและนาปรัง เมื่อเกษตรกรจะลงมือปักด าหรือหว่านข้าวต้อง ไปซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวตามท้องตลาดหรือโรงสีข้าว และศูนย์ขยายพันธุ์ข้าว กรมการข้าวของจังหวัด กล่าวโดยสรุปคือ เกษตรกรไม่สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ จึงท าให้เกษตรกร ต้องลงทุนสูงขึ้น คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน จึงได้เสนอเขียนโครงเพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณต่อสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ภายใต้ชื่อโครงการกองทุนข้าวพันธุ์ต าบลเขื่อน และได้รับการสนับสนุนงบประมาณประมาณ 70,000 บาท ในปี พ.ศ. 2559 หลังจากนั้นจึงได้ ด าเนินการตามแผนฟื้นฟูการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต าบลเขื่อน ได้จัดกิจกรรมเวทีสร้างความเข้าใจปรับเปลี่ยนแนวคิดมาจากเกษตรกรรมแบบเคมีสารพิษ มาสู่เกษตรกรรมยั่งยืนหรือเรียกว่า “การพึ่งพาตนเอง” ในช่วงเบื้องต้นทางกลุ่มได้เสาะหาข้าวเมล็ด พันธุ์ดี โดยจัดชื้อเมล็ดพันธุ์ข้าว 3 สายพันธุ์ จากแหล่งที่เชื่อถือได้ คือ ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ข้าว จ้าวมะลิ 105 ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.22 โดยตั้งเป็น “กองทุนข้าวพันธุ์ดีต าบลเขื่อน” ส าหรับให้กับ สมาชิกสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อนและสมาชิกกลุ่มองค์กรในพื้นที่กู้ยืม สิ้นฤดูกาลผลิตข้าวนามี ข้าวพันธุ์ดีที่ผ่านมาตรฐาน 2,000 กิโลกรัมต่อปี เกิดการเชื่อมโยงท างานกับกลุ่มกองทุนสวัสดิการ ชุมชน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น-ท้องที่ และในปัจจุบันได้ เพิ่มพันธุ์ข้าวเพื่อมาผลิตอีก 1 สายพันธุ์ เป็นพันธุ์ข้าวเหนียวชื่อ “อีเตี้ยเขี้ยวงู” มีเทคนิคการด าเนินงานที่ส าคัญที่คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนผู้ก่อตั้งโครงการนี้ ได้ ถ่ายทอดให้เกษตรกรได้เรียนรู้ในเรื่องการปรับปรุงสภาพดิน การจัดการน ้า การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ฯลฯ เบื้องต้นมีการส ารวจผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต้นแบบแต่ละหมู่บ้าน เตรียมการคัดเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ ดี เตรียมแปลงหว่านกล้า ปักด าข้าวด้วยกล้าต้นเดียว (System of Rice Intensification) จัดระบบ เป็นแถว เพื่อสะดวกต่อการตัดข้าวปนตามระยะเวลาอย่างน้อย 3 หรือ 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 ช่วง ระยะ เวลาหนึ่งเดือน ตัดข้าวปนซึ้งอยู่นอกแถว ครั้งที่ 2 ช่วง ระยะ เวลา 2 เดือน ตัดข้าวปนซึ้งอยู่นอก


131 แถวครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ช่วงข้าวโน้มรวง ตัดข้าวปนจะเห็นสีแตกต่างของรวงข้าว ครั้งที่ 4 ตัดข้าวปน ช่วงเก็บเกี่ยวก่อนนวดข้าว โดยนวดด้วยมือคัดกรองสิ่งเจือปนอีกรอบ บรรจุกระสอบที่สามารถ ระบายความร้อนได้ จัดเก็บในยุ้งฉางหรือที่เหมาะสมห่างจากความชื้น กระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าว ถ้าท าแบบอินทรีย์ก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพทั้งของผู้ผลิตและผู้บริโภค การตลาดและการจ าหน่ายของเกษตรกร จากการสอบถามสมาชิกกลุ่มข้าวพันธุ์ดีนี้ ไม่ได้ ปลูกแค่ข้าวพันธุ์ดีเท่านั้น ยังมีเกษตรกรหลายรายท าการเกษตรในรูปแบบเกษตรผสมผสานมาก่อน เช่น ขุดบ่อเลี้ยงปลา เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ ปลูกผัก ปลูกไม้ผล ปลูกข้าว(ที่ไม่ใช่ข้าวพันธุ์) เกษตรกรน า ผลผลิตไปขายทั้งในแปลงของตนเอง ขายในชุมชน ขายในตลาดสีเขียว เช่น ตลาดสีเขียวข้าง โรงพยาบาลโกสุมพิสัย และตลาดสีเขียวสวนศรีสวัสดิ์ จังหวัดมหาสารคามร่วมกับเครือข่าย เกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสานด้วย แนวทางการพัฒนาด้านเศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่น ในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ชุมชนมองว่าควร มีการส่งเสริมยกระดับกลุ่มนี้ให้สูงยิ่งขึ้น ด้วยแนวทางต่อไปนี้ 1) ส่งเสริมให้มีผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ทั้ง 11 หมู่บ้าน ถึงแม้ไม่ทั้งหมดทุกครัวเรือนแต่ให้สามารถ พึ่งพากันเองในชุมชนลดการพึ่งพาภายนอก ให้มีเมล็ดพันธุ์ที่ดี มาจากแปลงปลอด สารพิษ และราคาเป็นธรรม 2) ส่งเสริมกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวยกระดับไปสู่มาตรฐานการรับรองคุณภาพ ปัจจุบันเป็น การตรวจคุณภาพกันเองภายใน 6 องค์กรสมาชิกผลิตข้าวพันธุ์เครือข่ายฮักแพงเบิ่งแงง คนมหาสารคาม ต่อไปในอนาคตอยากยกระดับมาตรฐานไปสู่มาตรฐาน PGS ( Participatory Guarantee Systems) ซึ่งเป็นการรับรองแบบมีส่วนร่วมในท้องถิ่น เผื่อ สินค้า เช่นข้าว และพืชผักในแปลงจะได้การติดมาตรฐานปลอดภัยต่อผู้บริโภคได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น 3) มีแปลงการผลิตพันธุ์ข้าวรายครัวเรือน ไม้น้อยกว่าร้อย 5 ของเนื้อที่เพาะปลูกสามารถ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบอินทรีย์ เพราะจะเป็นหลักประกันในการมีเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในฤดู การถัดไป และยังสามารถจ าหน่ายในชุมชนและนอกชุมชนได้ด้วย 4) อยากระดมทุนจากสมาชิกเพื่อด าเนินการในนามของกลุ่ม เช่น การประชุมปรึกษาหารือ การประสานงาน จัดหาเมล็ดพันธุ์อื่น ๆ และเพื่อจัดหาเครื่องมือในการคัดแยกเมล็ด พันธุ์ข้าว คัดแยกสิ่งเจือปนบรรจุถุง 5) สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแลกเปลี่ยน เช่น ได้เรียนเรื่องราวเกี่ยวกับการเกษตร อินทรีย์ การร่วมเวทีตลาดเขียวอ าเภอและจังหวัดและเข้าร่วมกิจกรรมหรือแสดงสินค้า ในท้องถิ่น


132 6) มีภาคีเครือข่ายหนุนช่วยเกษตรกรให้ยกระดับให้ได้ดียิ่งขึ้น ปัจจุบันมีเครือข่ายที่ เกี่ยวข้องเรื่องนี้ ที่หนุนช่วย คือเครือข่ายเกษตรกรทางเลือกภาคอีสาน สภาฮักแพงเบิ่ง แงงคนมหาสารคาม โรงพยาบาลโกสุมพิสัย ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายตลาดสีเขียวจังหวัดมหาสารคาม เป็นต้น มีความเห็นจากแกนน าคนส าคัญ ที่แสดงให้เห็นว่าได้ให้ความส าคัญกับกิจกรรมนี้เป็นอย่าง มาก นายน้อย บุระค า ประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อน นายส าเนียง สิมลา และนายส าลี สีมา รักษ์ ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับกิจกรรมการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ดังนี้“การพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวคือส่วนหนึ่งของชีวิตคน ปู่ยาตายายพาลูกหลานท านามาแต่โบราณเป็นอาชีพหลัก ส่วนการ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต าบลเขื่อน เป็นการผลิตแบบพึ่งตนเอง ผลิตได้มากและมีคุณภาพก็เป็นการสร้าง รายได้ให้กับครัวเรือน ความรู้ ทักษะคือองค์ประกอบส าคัญ” นายส าเนียง สิมลา รองประธานสภาองค์กรชุมชนคนที่ 1 ได้ให้สัมภาษณ์ว่า “เรื่องการ พัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวต าบลเขื่อน ถือว่าสภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อนมาถูกทาง เพราะว่าพื้นที่ต าบล เขื่อน มีพืชเศรษฐกิจหลักคือข้าว การพัฒนาชุมชนสู่เป้าหมาย คือ การเกษตรต้องพึ่งพาตนเองให้ได้ เช่นการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าว ถือเป็นการลดต้นทุน ถ้าผลิตได้มากก็เป็นการสร้างรายได้ให้กับคนใน ชุมชน และมีเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น นายส าลี สีมารักษ์ ต าแหน่งคณะท างานสภาองค์กรชุมชนต าบล ได้แสดงความคิดเห็นต่อ เรื่องนี้เช่นกันว่า “เรื่องการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวต าบลเขื่อนว่า การพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าว และการ พัฒนาแนวคิดคนต้องพัฒนาไปพร้อมพร้อมกัน ถ้าคนเราไม่ยอมปรับเปลี่ยนแนวคิดมันก็เหมือนเดิน ย ้าอยู่ที่เดิม ถ้าเปลี่ยนแต่ไม่ยอมลงมือท าสุดท้ายก็ไม่เกิดอะไรขึ้นมาให้เห็น สภาองค์กรชุมชนต าบล และแกนน าชุมชนพร้อมจะหนุนเสริม ความรู้ ทักษะ ขั้นตอนการผลิตให้กับทุกครัวเรือนผู้สมัครใจ ร่วมกันทุกครัวเรือน 3.2 วิเคราะห์ตามกรอบนวตักรรม 1) สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น • การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ภายใต้โครงการกองทุนข้าวพันธุ์ดีต าบลเขื่อน ถือได้ว่าเป็น ริเริ่มสร้างสรรค์ชุมชน จากการมองเห็นปัญหาเรื่องการจ่ายเงินค่าข้าวพันธุ์สูง และ พึ่งพิงภายนอกมาเป็นเวลานาน จากกิจกรรมนี้ท าให้เกษตรกรได้เกิดการพึ่งตนเอง และพึ่งกันเองได้เป็นอย่างดี และรวมทั้งได้เปลี่ยนพื้นที่เคมีเป็นอินทรีย์อย่างน้อย 50 ไร่ โดยมีการผลิตข้าวพันธุ์ดี 3 สายพันธุ์ คือ ข้าวเหนียวพันธุ์กข.6 ข้าวจ้าว


133 มะลิ 105 ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.22 ข้าวเหนียวอีเตี้ยเขี้ยวงู โดยตั้งเป็นกองทุนข้าว พันธุ์ดีต าบลเขื่อน มีสมาชิกจ านวน 20 ครัวเรือน ปลูกข้าวครัวเรือนละ 1-3 ไร่ หรือ คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 20- 60 ไร่ มีผลผลิตผ่านการผ่านการคัดเลือก ตรวจสอบและ รับรองผลผลิต ตามมาตรฐานกลุ่มแล้วจ านวน 2 ตันหรือ 2000 กิโลกรัม • ผู้น าได้รับการพัฒนาศักยภาพ สามารถสื่อสารถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้ เทคนิค ต่างๆ ให้กับเกษตรกรสมาชิกและบุคคลภายนอกได้ ทั้งเรื่องแนวคิดการเกษตร ผสมผสาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การปลูกกล้าต้นเดียว ตลอดจนการตรวจแปลง ซึ่งถือว่าเป็นผลผลิตของกิจกรรมที่เกิดผุ้น าชุมชนทั้งเก่าและใหม่ ท าให้เล็งเห็นว่า ผู้น าเหล่านี้จะพาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการเกษตรสู่เกษตรกรรมที่ยั่งยืนได้ อยากจะขอยกตัวอย่างผู้น าที่โดดเด่นคือ นายส าเนียง สิมลา ต าแหน่งรองประธานสภาองค์กรชุมชน ท าเกษตร พอเพียงตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ ปลูกพืชแบบปลอดสารพิษ สารเคมี แปลง ผสมผสาน และสามารถเป็นวิทยากรในเรื่องเกษตรผสมผสานได้ แปลงสามารถเป็น แหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานได้ นางทิตย์ เพียรชัย เป็นสมาชิกกองทุนพันธุ์ข้าว ใช้วิธีการหว่านและหยอด ก าลังเริ่มท าแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ในปีนี้ นางจิราภา อบเชย คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนและกรรมการกองทุน สวัสดิการ(ผู้ช่วยเหรัญญิก) มีทักษะการด านาต้นเดียว นายสมัคร ปัญญาวิทย์ คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน ต าแหน่งช่าง ดูแล เรื่องบ้านมั่นคง กองทุนสวัสดิการ ผลิตพันธุ์ข้างมะลิ 105 และอีเตี้ยเขี้ยวงู นายกุหลาบ ศรีหาค า สมาชิกกองทุนพันธุ์ข้าว มีทักษะการผลิตพันธุ์ข้าว นายอภิชาต จากผา กรรมการสภาองค์กรชุมชน ท าเรื่องการตรวจแปลง สนับสนุนช่วยงานในกิจกรรมและในกลุ่ม นางสง่า สีมารักษ์ เลขาสภาองค์กรชุมชน และนายส าลี สีมารักษ์ ผลิตพันธุ์ ข้าว เป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับพี่น้องสมาชิกในการด านาต้นเดียว มีองค์ความรู้เรื่องการ ปลูกเพื่อการเก็บเมล็ดพันธุ์ 2) เกิดจากการมีส่วนร่วม • สภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อนได้ก าหนดยุทธศาสตร์สี่ด้านคือ 1) การพึ่งพาตนเอง ของฐานเศรษฐกิจและทุนชุมชน 2) การลดต้นทุนการผลิตการเกษตรและการแปร


134 รูป 3) การเชื่อมโยงเศรษฐกิจทุนชุมชนและองค์กรเครือข่าย 4) การสนับสนุน เกษตรอินทรีย์และเชื่อมโยงกลุ่มองค์กรเครือข่าย ซึ่งถือว่ากิจกรรมปลูกข้าวพันธุ์ดี สอดคล้องกับทั้งสี่ยุทธศาสตร์ และยังสอดรับกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การ บริหารส่วนต าบลในข้อที่ 1 คือ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเกษตรอินทรีย์ เศรษฐกิจ แบบพอเพียง และการพัฒนาอาชีพ จึงท าให้สภาองค์กรชุมชนได้รับการสนับสนุน จากองค์การบริหารส่วนต าบลเสมอมา และเกิดความสัมพันธ์แบบหนุนช่วยซึ่งกัน และกัน • เดิมสภาองค์กรชุมชนตั้งเป้าที่จะให้มีสมาชิกประมาณ 100 คน แต่ผลลัพธ์ได้มี เกษตรกรเข้าร่วมและท ามาอย่างต่อเนื่อง “ไม่ทิ้ง” จ านวน 20 คน อย่างไรก็ดีถือว่า 20 คนคือเกษตรกรที่มีคุณภาพ เพราะต้องยอมปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต จากเคมีมา เป็นอินทรีย์ จากด าหลายต้นมาเป็นข้าวต้นเดียว และเชื่อมั่นในแนวคิดการ พึ่งตนเอง รวมทั้งเกษตรที่เข้าร่วมผลิตข้าวพันธุ์ดีมักจะผลิตอาหารอย่างอื่นในแปลง นาผืนใหญ่ด้วยเช่น ปลูกพืช เลี้ยงปลา เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เป็นต้น • เกิดการเชื่อมโยงสู่องค์กรและเครือข่ายอื่น ๆ เช่น เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก กลุ่มตลาดเขียวโกสุมพิสัย ตลาดเขียวศรีสวัสดิ์ จังหวัดมหาสารคาม และสภาฮัก แพงเบิ่งแงงคนมหาสารคามและแกนน าหลายคนยังมีบทบาทเข้าไปร่วมท างานกับ ชมรมผู้สูงอายุ กองทุนสวัสดิการชุมชน และรวมทั้งขบวนองค์กรชุมชนของจังหวัด ด้วย สามารถเข้าไปแลกเปลี่ยนแนวคิดกระบวนการท างานเกี่ยวกับข้าวพันธุ์ดีอยู่ เรื่อย ๆ 3) ง่ายต่อความเข้าใจของคนในชุมชน • เรื่องเกษตรกรรม โดยเฉพาะเรื่องข้าว ย่อมเป็นเรื่องที่เกษตรมีความสนใจและมีภูมิ ปัญญาชุมชนอยุ่เดิม เกษตรกรต าบลเขื่อนมีการท านาปีและนาปัง และยังมีอาชีพ ทางเลือกอย่างอื่นเช่น ปลูกผัก จักสาน ทอผ้า และการเลี้ยงสัตว์ ถือเป็นสิ่งที่เขา คุ้นเคยหรือมีศักยภาพอยู่เดิม ดังนั้น การปลูกข้าวพันธุ์ดี จึงเป็นเรื่องที่ท้าทาย ศักยภาพของเกษตรกรกลุ่มนี้เป็นอย่างยิ่ง เพียงแค่ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตร แบบสมัยใหม่(เคมี) มาเป็นอินทรีย์ และปลูกข้าวแบบปักด าทั่วไปมาเป็นแบบ ประณีต(กล้าต้นเดียว) และการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ต้องคัดสรรอย่างละเอียด • การมีรายได้เป็นสิ่งปรารถนาของกลุ่มเกษตรกรอยู่แล้ว การผลิตข้าวพันธุ์สามารถ ท าควบคุ๋กับการท าเกษตรกรรมแบบผสมผสาน ซึ่งจะท าให้มีผลผลิตมากขึ้นเช่น


135 ผัก ปลา เนื้อสัตว์ และข้าว ซึ่งจะเป็นการสร้างโอกาสในการน าสินค้าสู่การตลาด และจ าหน่าย เป็นรายได้ให้กับครัวเรือนที่ปลูก และส่งเสริมการท าเกษตรแบบ อินทรีย์อยู่แล้ว ข้าวพันธุ์ดีก็ยิ่งเป็นที่ต้องการของตลาด 4) สามารถน าไปปฏิบตัิได้อย่างต่อเนื่อง • การผลิตข้าวพันธุ์ ให้ค าตอบแก่เกษตรกรอันดับแรกคือการน าไปเป็นข้าวพันธุ์ใน ฤดูการที่จะมาถึง ท าให้เกษตรกรไม่ต้องไปหาซื้อข้าวพันธุ์จากตลาด หรือศูนย์ ขยายพันธุ์พืช ที่อบสารพิษหรือยาฆ่าแมลงไว้ในเมล็ดพันธุ์ และข้าวพันธุ์สามารถ น าไปหมุนเวียนไปใช้ตลอดชีวิตและพัฒนาพันธุ์ให้ดียิ่งขึ้นได้ด้วยตนเอง • ได้รับการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามแบบกรมวิชาการเกษตร และเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกให้ข้อแนะน า คือข้าวพันธุ์หลัก พันธุ์ขยาย และ พันธุ์จ าหน่าย จะต้องท าอย่างประณีต ในช่วงแรกเกษตรกรท าตามความเคยชิน ปริมาณผลผลิตเพิ่มก็จริงแต่คุณภาพข้าวไม่ดี เมล็ดพันธุ์มีสิ่งของเจือปน เช่น เมล็ด หญ้า ท าให้พันธุ์ข้าวมีการปลอมปน ในปี พ.ศ. 2561-2562 คณะกรรมการสภา องค์กรชุมชนต าบล ได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอยางละเอียดจาก เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก หลังจากนั้นมาจัดอบรมลงแปลงสาธิต และเรียนรู้ การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ตนเองผลิต • การปลูกข้าวอย่างเดียวเป็นรายได้ต่อฤดูกาลหรือปี เกษตรกรมักจะไม่พึ่งพากับ สินค้าเพียงสิ่งเดียวที่มี เกษตรกรส่วนใหญ่ที่ปลูกข้าวมักท าการเกษตรผสมผสาน เช่น ขุดบ่อเลี้ยงปลา เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ ปลูกผัก ปลูกไม้ผล ปลูกข้าว(ที่ไม่ใช่ข้าว พันธุ์) และยังต่อยอดจากแปลงข้าวพันธุ์ที่เป็นอินทรีย์แล้วไปสู่แปลงอื่น ๆ ให้เป็น อินทรีย์ตามไปด้วยเพราะจะท าให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในตลาดเขียว และดี ต่อสุขภาพของผู้ผลิตด้วยเช่นกัน 5) เกิดประโยชน์ส่วนรวม • แนวทางการจัดการแปลงแบบเกษตรอินทรีย์ เป็นการจัดการแปลงให้ปลอดภัยไร้ สารพิษแล้ว ผลผลิตจากการเกษตรยังดีต่อผู้บริโภค และดีต่อระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถ้าสามารถขยายจ านวนพื้นที่ท าการปลูกข้าว พันธุ์ดีได้มากเท่าไหร่ นั้นหมายถึงเพิ่มพื้นที่ปลอดภัยให้โลกนี้ได้มากขึ้น รวมทั้ง ส่งผลต่อระบบนิเวศให้มีความยั่งยืน


136 • การซึมซับแนวคิดเกษตรกรแบบอินทรีย์ มีผลท าให้แกนน าสภาองค์กรชุมชนได้มี แผนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและจัดการสิ่งแวดล้อม(ขยะ)อย่าง เหมาะสม ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติของต าบลเขื่อน มีไม่น้อยเช่น ป่าโคกเก่าค้อ ป่าโคกสนาม มีดอนปู่ตา มีแหล่งน ้าสาธารณะ มีหนอง เขื่อน มีหนองไข่เน่า สามารถท าเป็นป่ าชุมชน และเป็นหนองน ้าที่ใช้ประโยชน์ ร่ว มกัน ส ามารถ น าไ ปสู่ค ว ามมั่นค งทาง อาห ารข องชุมชนแ ละเป็ น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีชุมชนและของโลกได้ด้วย • กองทุนข้าวพันธุ์ดี เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ไปในตัว เช่น มีกิจกรรมปรับเปลี่ยน แนวคิดจากการใช้สารเคมีมาเป็นอินทรีย์ เรียนรู้การท าน ้าหมัก การปรับปรุงบ ารุง ดิน จัดการน ้า การเลี้ยงสัตว์ การจัดการแมลงด้วยระบบอินทรีย์ รวมทั้งเรียนรู้เรื่อง การแปรรูป การตลาดและการจ าหน่วย ตามห่วงโซ่อุปาทาน (Supply chain) 6) เกิดการเปลี่ยนความสมัพนัธ์ • การท าประสานหน่วยงานภาครัฐเพื่อก่อให้เกิดผลลัพธ์ดีที่สุด เกษตรกรต าบลเขื่อน มีการท านาปี นาปรัง และใช้น ้าในการเกษตรกรรมในรูปอื่น เช่น การปลูกผัก เลี้ยง สัตว์ น ้าคือส่วนส าคัญของการผลิต เมื่อปี พ.ศ. 2562 ระบบน ้าไม่พอระบาย ส่งผล กระทบผลผลิตทางการเกษตร นาข้าวเกิดโรคระบาด ผลผลิตล้มตาย เพราะพืช ขาดน ้า ผลผลิตได้รับความเสียหายเป็นจ านวนมาก จึงประสานความร่วมมือกับ กรมชลประทาน ผู้บริหารท้องถิ่นและท้องที่ สูบน ้าส่งตามคลองชลประทาน และ หารือกับส านักงานเกษตรต าบลและอ าเภอเพื่อขุดบ่อบาดาลหาลือเกษตรต าบล/ อ าเภอตามล าดับ • ปัจจุบันกรรมการสภาองค์กรชุมชน ได้แลกเปลี่ยนกันว่ามีแนวคิดที่จัดตั้งศูนย์ เรียนรู้เศรษฐกิจและทุนชุมชนระดับต าบล โดยการพัฒนายกระดับงานเศรษฐกิจ ชุมชนเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ที่เกี่ยวกับ สถาบันการเงินชุมชน เครือข่ายกองทุน หมู่บ้าน สหกรณ์การเกษตร ลดการสร้างหนี้นอกระบบ สร้างการมีส่วนร่วม ร่วม ออม ร่วมฝาก ส่งเสริมกลุ่มองค์กร กลุ่มท่อผ้าไหม กลุ่มทอเสื่อกก กลุ่มจักสาน และ ที่ส าคัญคือเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรื่องกลุ่มการอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ซึ่งได้ หารือร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งองค์กรบริหารส่วนต าบลและองค์กรที่เกี่ยวข้อง


137 • เมื่อก่อตั้งสภาองค์กรชุมชนขึ้นแรก ๆ ประชาชนยังไม่ค่อยทราบบทบาทมากนัก และมักไม่ได้ให้ความส าคัญสักเท่าไหร่ เมื่อมีการขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชน ก็ได้รับความเชื่อมั่นระดับหนึ่ง เมื่อมาท าเรื่องการเกษตรอินทรีย์และปลูกข้าวพันธุ์ดี ท าให้ได้รับการยอมรับจากองค์กรชุมชนมากขึ้น รวมทั้งมีประชาชนเข้าร่วมเรียนรู้ มาท างานร่วมมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนที่ 4 วิเคราะห์ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง (Product) บทนี้จะเป็นการวิเคราะห์ภาพรวมต าบลเข้มแข็ง 4 มิติ ซึ่งประกอบด้วย คนมีคุณภาพ องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตชุมชนดีขึ้น ชุมชนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรและ เครือข่ายและภาคีความร่วมมือต่าง ๆ โดยจะสรุปข้อมูลที่เป็นรายงานผลประเมินผลต าบลเข้มแข็ง ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนที่ท าไว้มาแสดงประกอบด้วย 1) มิติด้านคนมีคุณภาพ • จากรายงานต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน พบว่ามีผู้น า รุ่นใหม่ที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561-2563) ที่มีจ านวนมากกว่า 21 คน มีผู้น าองค์กรชุมชนที่มีแนวคิดการพัฒนา และมีทักษะในการบริหารจัดการมากกว่า 20 คนขี้น และมีครัวเรือนเข้ามาร่วมใน การท ากิจกรรมสาธารณะด้านพัฒนาชุมชนร้อยละ 16 ขึ้นไป ในรายงานยังกล่าว ด้วยว่าในช่วงสามปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาศักยภาพผู้น าโดยขบวนองค์กรชุมชน คิดเป็นจ านวนคนที่เข้าเรียนรู้หลักสูตรต่าง ๆ ถึง 50-100 คน แต่ได้ผู้น าที่มามี บทบาทจ านวนน้อย • เมื่อผู้ศึกษาได้ลงไปศึกษา พบว่า มีผู้น าที่มีศักยภาพที่มีความเด่นและสามารถ ท างานขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชน มีความรู้ด้านการเกษตรกรรมอินทรีย์การ บริหารจัดการกองทุนสวัสดิการ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ที่อยู่ในระดับเป็นวิทยากร กระบวนการได้ เช่น นายส าเนียง สิมลา สามารถเป็นวิทยากรในเรื่องเกษตร ผสมผสานได้และในแปลงสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานได้ นางจิราภา อบเชย คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนและกรรมการกองทุนสวัสดิการ มีความรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องกองทุนสวัสดิการได้ดีนายสมัคร ปัญญาวิทย์ ปลูก ข้าวพันธุ์ได้ดี เช่น หอมมะลิ 105และพันธุ์อีเตี้ยเขี้ยวงูและนายส าลี สีมารักษ์ เลขา


138 สภาองค์กรชุมชน เป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับพี่น้องสมาชิกในการด านาต้นเดียว มีองค์ ความรู้เรื่องการปลูกข้าวพันธุ์และการเก็บเมล็ดพันธุ์ • มีกลุ่มอาชีพที่เกิดขึ้นในชุมชนมากกว่า 30 กลุ่ม 1) กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน 11 กลุ่ม 2) กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน 5 กลุ่ม 3) กลุ่มองค์กร/เครือข่าย 10 กลุ่ม 4) กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน 1 กลุ่ม 5) กลุ่มทอเสื่อกก 1 กลุ่ม 6) กลุ่มทอผ้าไหม 1 กลุ่ม 7) กลุ่มทอผ้า ฝ้าย 1 กลุ่ม 8) กลุ่มจักสาน 1 กลุ่ม ซึ่งเป็นฐานการรวมกลุ่มช่วยเหลือกัน แก้ไข ปัญหา เรียนรู้อาชีพ เรียนรู้ระบบการผลิต การแปรรูป การตลาดและการจ าหน่าย ไปด้วยกัน กลุ่มเหล่านี้ได้มีตัวแทนกลุ่มที่สามารถถ่ายทอดเรื่องราวของกลุ่มรวมทั้ง การบริหารจัดการกลุ่มได้เช่นกัน 2) มิติองคก์รชุมชนเข้มแขง ็ • จากรายงานต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง ฯ เรื่ององค์กรชุมชนที่เป็นสมาชิกสภา องค์กรชุมชน มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ที่มีสัดส่วนร้อยละ 50 ขึ้นไป องค์กรชุมชนมีแผนการพัฒนาระยะยาว 3-5 ปี รวมทั้งมีการบูรณาการการ พัฒนาพื้นที่ทุกมิติ รวมทั้งมีกลไก เครือข่ายเชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานพัฒนา ร่วมกันระหว่างกลุ่มต่างๆ ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง องค์กรชุมชนที่เกิดขึ้นมามีบทบาท แก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรมพอสมควร ส่วนจุดอ่อนของชุมชนคือไม่ ปฏิบัติตามกติกา /ธรรมนูญหรือข้อบัญญัติของชุมชนเท่าที่ควรจะเป็น ทั้งที่เป็นการ ก าหนดขึ้นมาโดยท้องถิ่นเอง • ในมิติเรื่ององค์กรชุมชนเข้มแข็ง ผู้ศึกษาได้ลงไปศึกษา พบว่า กองทุนสวัสดิการ ชุมชน เป็นองค์กรที่มีความเด่นเพราะมีการจัดกลไกการท างาน และการแบ่ง บทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน มีกฎระเบียบ-กติกาของกลุ่มที่ชัดเจน มีการประชุมอย่าง ต่อเนื่อง/มีการรายงานผลการด าเนินงาน-รายงานการเงินให้สมาชิกทราบตาม ข้อตกลง สอดคล้องกับกับการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล การมีสถาบัน การเงินชุมชนต าบล(กองทุนสวัสดิการ)ที่เข้มแข็ง ท าให้เกิดการเชื่อมโยงบูรณาการ กลุ่มองค์กรชุมชนต่าง ๆ ได้ ทั้งชมรมผู้สูงอายุต าบล สวัสดิการจากกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง และองค์กรบริหารส่วนต าบล มีสมาชิกทั้ง 11 หมู่บ้าน ครอบคลุม ทุกพื้นที่ของต าบล กองทุนสวัสดิการ อย่างไรก็ตามถึงแม้จะเป็นกองทุนที่สามารถ ช่วยสวัสดิการตามเจตนาเดิม เกิดแก่เจ็บตาย ของสมาชิก แต่ก็ยังไม่สนองตอบต่อ


139 ด้านอื่น ๆ ที่จ าเป็นได้มากเท่าที่ควร มีหลายคนคิดว่า กองทุนสวัสดิการน่าจะได้ ช่วยแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ของชุมชนได้ด้วย เช่น ช่วยเรื่องเสริมอาชีพช่วยเหลือภัย พิบัติ ช่วยเหลือชุมชนในสถานการณ์โควิด เป็นต้น • ส่วนกลุ่มกองทุนข้าวพันธ์ดีเป็นองค์กรที่มีความเด่นเรื่องเชื่อมโยงกับเครือข่ายได้ดี โดยร่วมกับเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก สภาฮักแพงเบิ่งแงงคนมหาสารคาม เชื่อมกับผู้ผลิตผู้บริโภคในตลาดสีเขียวทั้งในชุมชน ทั้งในระดับอ าเภอ(โรงพยาบาล โกสุมพิสัย) และระดับจังหวัดมหาสารคาม ถึงแม้การขับเคลื่อนท างานกับเครือข่าย ได้ดี แต่ชุมชนจะมีปัญหาอุปสรรคเรื่องการแปรรูป การตลาด และจ าหน่ายอยู่ พอสมควร เพราะชุมชนผลิตเพื่อกินเพื่ออยู่เป็นปกติอยู่แล้ว เมื่อต้องน าไปขายเป็น รายได้ ต้องมีคิดถึงเรื่องการแปรรูป การตลาด และการจ าหน่าย 3) มิติคณุภาพชีวิตชุมชนดีขึ้น • จากรายงานต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง มีองค์กรการเงินในระดับชุมชน/หมู่บ้าน ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในต าบลและมีการด าเนินการต่อเนื่อง ทุกครัวเรือนมีข้าว/ อาหารบริโภคเพียงพอตลอดปี มีไม่พอกินเพียงร้อยละ 1 ของครัวเรือนทั้งหมด มี รายได้ไม่เพียงพอกับการด ารงชีพเพียงร้อยละ 1ของครัวเรือนทั้งหมด และเรื่องที่ ยังเป็นจุดอ่อนที่สุด คือการที่ยังไม่สามารถยกระดับกลุ่มองค์กรทางการเงินที่มีอยู่ ในชุมชนขึ้นเป็นสถาบันการเงินระดับต าบลได้ และถึงแม้ว่าจะมีแหล่งที่ก่อให้เกิด มลพิษบ้าง แต่ไม่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อชุมชน • ผู้ศึกษาค้นพบว่า ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะมีภูมิปัญญาชุมชนในระบบ เกษตรกรรม มีการท านาปีและนาปรังที่ท าให้มีการผลิตข้าวได้พอกินตลอดปีและ ยังมีอาชีพทางเลือกอย่างอื่นเช่น ปลูกผัก จักสาน ทอผ้า และการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งถือ เป็นความมั่นคงทางด้านอาชีพและรายได้ เพราะมีทั้งเกษตร ปศุสัตว์ และ หัตถกรรม ถือเป็น “หลังพิง” ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างดี รวมทั้งปัจจุบันมีบางคน เริ่มท าการเกษตรกรรมแบบอินทรีย์(กลุ่มที่ปลูกข้าวพันธุ์ดี)และกลุ่มที่ไปขายสินค้า ที่ตลาดเขียว ที่ท าให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นไปอีก เพราะพวกเขามีระบบนิเวศและ อาหารที่ปลอดภัยจากเคมีและสารพิษ • มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในพื้นทีจะเห็นได้ว่า มีป่ า สาธารณะคือ ป่าโคกเก่าค้อ ป่าโคกสนาม มีดอนปู่ตา มีแหล่งน ้าสาธารณะ มีหนอง


140 เขื่อน มีหนองไข่เน่า สามารถท าเป็นป่ าชุมชน และเป็นหนองน ้าที่ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน สามารถน าไปสู่ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน อย่างไรก็ดี“ป่ าโคก สนาม” มีการปลูกยูคาลิปตัสในพื้นที่ ท าให้พืชผักธรรมชาติหรือเห็ดเกิดขึ้นได้ยาก จึงกลายเป็นป่าที่เสื่อมสภาพพึ่งพาทางด้านอาหารไม่ได้ จึงสมควรได้มีการรื้อถอน และปลูกใหม่ให้เป็นสถาพป่าที่มีระบบนิเวศที่เหมาะสม และที่เกิดระบบความมั่นคง ทางอาหารที่แท้จริง 4) มิติความสมัพนัธก์บัหน่วยงานภาคีท้องที่ท้องถิ่น • จากรายงานต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง สภาองค์กรชุมชนมีการขับเคลื่อน โครงการมากกว่า 6 โครงการ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณมากกว่า 9 โครงการ ขึ้นไป ถูกบรรจุแผนงานหรือโครงการในแผนท้องถิ่นมากกว่า 4 แผนงานขึ้นไป มี ตัวแทนองค์กรชุมชนเข้าไปร่วมท างานในระดับกลไกมากกว่า 5 กลไก มี ความสัมพันธ์ที่ดีกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นโดยร่วมท างานด้วยกันเสมอ เรื่อง ที่เป็นจุดอ่อนในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา มีการปรับเปลี่ยนนโยบาย/ระเบียบ/กลไก โครงสร้าง/แนวปฏิบัติไปบ้าง แต่ยังไม่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาใน พื้นที่เท่าที่ควร • สภาองค์กรชุมชนต าบลเขื่อนได้ “เกาะเกี่ยว” กับองค์กร เครือข่ายต่าง ๆ มากมาย สู่การเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานพัฒนาต่าง ๆ โดยดึงเอาคนที่มีจิตอาสาและมี ศักยภาพจากองค์กรต่าง ๆ มาระดมสมอง ช่วยกันคิดค้นแก้ปัญหาให้ชุมชน องค์กร ที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นประจ าคือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วน ท้องที่(ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน) สถาบันการเงินชุมชนเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านต าบล เขื่อน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต าบล เครือข่าย เกษตรกรรมทางเลือก สภาฮักแพงเบิ่งแยงคนสารคามซึ่งเป็นองค์กรภาคประชา สังคมจังหวัดด้วย กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร และที่ส าคัญคือขบวนองค์กร ชุมชน และสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ที่เป็นผู้ร่วมขับเคลื่อนงานในเชิงนโยบาย และเป็นพี่เลี้ยงคอยสนับสนุนส่งเสริมกันมาตลอด


141 ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ในส่วนนี้จะเป็นข้อเสนอแนะทั้งในเชิงในเชิงวิชาการและการพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นข้อ แลกเปลี่ยนที่จะน าไปพัฒนาต าบลเขื่อนทั้งด้านแนวคิดการพัฒนา กระบวนการพัฒนา ส่งผลให้เกิด เป็นชุมชน/ต าบลเข้มแข็ง จึงมีข้อเสนอแนะจากผู้ศึกษา ดังนี้ 5.1 สร้างชุมชนให้เป็ นชุมชนแห่งการเรียนรู้มีการศึกษาเชิงลึกและมีส่วนร่วมในรูปการ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ทั้งการวิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพชุมชน รวมทั้งองค์ ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน เช่นเรื่องพันธุ์ข้าว โดยมีชุมชนเป็นหลักในการศึกษา ชุมชน เพื่อวิเคราะห์ หาทางออก และลงมือปฏิบัติด้วยตัวเขาเอง ไม่คิดให้หรือคิดแทน จากนักพัฒนา โดยมีผู้น าสภาองค์กรชุมชนและผู้น าองค์กรชุมชนเป็นแกนกลางในการ ด าเนินงาน เพื่อจะเป็นฐานข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลคุณภาพเหล่านี้จะได้เป็นการ อธิบายประกอบกับผลการประเมินตามตัวชี้วัด “ต าบลเข้มแข็ง”ที่สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชนมีอยู่ 5.2 ขยายฐานอาชีพด้านเกษตรกรรมทางเลือกและยั ่งยืน หรือเกษตรกรรรมแบบ ผสมผสานที่เกษตรกรชุมชนหลายรายได้ท าอยู่แล้ว ต่อยอดจากความรู้ของคนในกลุ่ม ปลูกข้าวพันธุ์ดี สู่การท าเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ หรือรูปแบบอื่น ๆ ที่มีอยู่ เน้นการลดละเลิกสารเคมีสารพิษในไร่นา โดยเอาเกษตรกรที่เป็นต้นแบบเป็นศูนย์กลาง เรียนรู้ให้กับเกษตรกรที่ต้องการริเริ่มและสนใจ 5.3 ส่งเสริมการเกษตรกรรมครบตามห่วงโซอุปทาน (Supply Chain) ทั้งการผลิต การ แปรรูป การตลาดและการจ าหน่าย เพราะชุมชนมีการผลิตอาหารปลอดสารพิษที่ น าไปสู่ผู้บริโภค เช่น ผลิตพืชผักสู่ตลาดเขียวจังหวัดมหาสารคาม ตลาดเขียวอ าเภอ โกสุมพิสัย และมีการจ าหน่ายผลิตข้าวพันธุ์ดีสู่มือเกษตรกรสมาชิกและตลาดทั่วไป รวมทั้งพัฒนาการรับรองมาตรฐานให้มีความน่าเชื่อถือสูงขึ้น จนไปถึงมาตรฐานสากล ยอมรับได้ 5.4 สถานการณ์โควิด 19 นับตั้งแต่ปลายปี พ.ศ.2562 เป็นต้นมาสถานการณ์โควิดมี ผลกระทบต่อชีวิตประจ าวันและการค้าขายของเกษตรกรเป็นอย่างมาก เพราะถึงแม้จะ ไม่มีปัญหาในการผลิตแต่ก็ประสบปัญหาในการน าผลผลิตออกสู่ตลาดเพราะตลาดถูก


142 ปิดเป็นระยะยาว และรายได้ของเกษตรกรจึงลดลงเป็นอย่างมาก การส่งเสริมให้ เกษตรกรเรียนรู้ ปรับตัว เช่น การขายในช่องทางออนไลน์ จะช่วยแก้ไขปัญหาให้ เกษตรกรได้ 5.5 ส่งเสริมการจดัการทรพัยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม เพราะป่าชุมชนมี 2 ป่าและ หนองน ้า 3 แหล่ง เป็นทรัพยากรที่มีประโยชน์ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต รวมทั้งเป็น การอนุรักษ์นิเวศธรรมชาติเพื่อรับมือกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (โลก ร้อน) ได้ 5.6 ป่ าชุมชน “ป่ าโคกสนาม” มีการปลูกยูคาลิปตัสในพื้นที่ ท าให้พืชผักธรรมชาติหรือ เห็ดเกิดขึ้นได้ยาก จึงกลายเป็นป่าที่เสื่อมสภาพพึ่งพาทางด้านอาหารไม่ได้ จึงสมควร ได้มีการรื้อถอน และปลูกใหม่ให้เป็นสถาพป่าที่มีระบบนิเวศที่เหมาะสม และที่เกิดระบบ ความมั่นคงทางอาหารที่แท้จริง 5.7 การพฒันากองทุนสวสัดิการให้ครอบคลุมมากกว่าเรื่อง เกิด แก่เจบ ็ ตาย ซึ่ง ปัจจุบันนี้ก็เพิ่มสวัสดิการให้กับลูกหลานสมาชิกในเรื่องทุนการศึกษา แต่ยังสามารถ พัฒนาสวัสดิการให้ได้มากขึ้น เช่นสามารถน าไปสู่การพัฒนาพื้นที่สาธารณะ น ามา พัฒนากลุ่มองค์กรชาวบ้าน เสริมศักยภาพคนท างานชุมชนให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้ง ร่วมแก้ไขปัญหาภัยพิบัติต่าง ๆ ได้ทันท่วงที 5.8 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน แกนน าองค์กรชุมชน เพื่อให้ สามารถขับเคลื่อนองค์กรของภาคประชาชนให้มีความเข้มแข็ง เป็นที่พึง เป็นทางเลือก ให้กับประชาชน ให้ความส าคัญกับแนวความคิดการพัฒนา มีธรรมาภิบาล มีทักษะใน การบริหารจัดการองค์กรทั้ง “สร้างคน วางแผนงาน จัดการทุน” ให้ด าเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งเสริมขีดความสามารถในการท างานเชิงยุทธศาสตร์และขับเคลื่อน รณรงค์เชิงนโยบายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงชุมชนและสังคมได้ 5.9 สนับสนุนการประสานความร่วมมือกับภาคี กลไกที่เกี่ยวข้องเพื่อยกระดับงาน สภาองค์กรชุมชนเป็นเสมือนตัวแทนขององค์กรชุมชนมานั่งอยู่ในระดับต าบล ต้องออก แรงประสานเชื่อมโยงองค์กร เครือข่าย ภาคีต่าง ๆ ให้เข้ามาสนับสนุนทั้งเรื่อง คน


143 ความคิด องค์ความรู้ เทคนิค ทุน ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อจะมาหนุนช่วยองค์กรชุมชนให้ ท างานบรรลุวัตถุประสงค์และยังประสานสัมพันธ์เป็นเครือข่ายที่แน่นแฟ้นเพื่อการ รณรงค์ผลักดันเรื่องต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาชุมชนและสังคม


144 การถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ตา บลกระหาด อา เภอจอมพระ จงัหวดัสุรินทร์ โดย ปิยศกัด์ิสุคนัธพงษ์ ส่วนที่ 1 บริบทพื้นที่ กระหาดเป็นต าบลหนึ่งในเขตการปกครองของอ าเภอจอมพระ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตก ห่างจากที่ว่าการอ าเภอประมาณ 9 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2378 และห่างจากตัว เมืองจังหวัดสุรินทร์ ประมาณ 34 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 26 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 16,248 ไร่ ด้านทิศเหนือติดต่อกับต าบลชุมแสง อ าเภอจอมพระ ทิศใต้ติดต่อต าบลเพี้ย รามและต าบลตั้งใจ อ าเภอเมืองสุรินทร์ ทิศตะวันออกติดต่อกับต าบลเป็นสุข อ าเภอจอมพระ และ ทิศตะวันตกติดต่อกับต าบลเมืองลีง อ าเภอจอมพระ การปกครองแบ่งออกเป็น 9 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านกันโจรง กระหาด อันโนง อันซอง เวียย กระทุ่ม หนองยาว โคกจ๊ะและบ้านรันเดง-เบง มีจ านวน ประชากร (ตามทะเบียนราษฎร์ ณ เดือนพฤษภาคม 2562) 3,926 คน แบ่งเป็นชาย 1,980 คน และ หญิง 1,941 คน จ านวนครัวเรือน 930 ครัวเรือน ขนาดของครัวเรือนโดยเฉลี่ยมีสมาชิกจ านวน 4. คน ชาวบ้านส่วนใหญ่ร้อยละ 31.10 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจหลัก คือ ข้าว ผลผลิต เฉลี่ยต่อปี ประมาณ 1,350 ตัน นอกนั้นจะเป็นการเลี้ยงปศุสัตว์ ด้านการประกอบอาชีพอื่นๆ ได้แก่ การรับจ้างแรงงาน ค้าขาย รับราชการและลูกจ้างบริษัทธุรกิจเอกชน รายได้เฉลี่ย 65,281 บาทต่อคนต่อปี รายจ่ายเฉลี่ย 42,855 บาท ต่อคนต่อปี พัฒนาการและการเปลี่ยนของชุมชน กระหาดเป็นชุมชนเก่าแก่มีอายุประมาณ 260 กว่าปี สันนิษฐานว่า มีการตั้งถิ่นฐานเมื่อประมาณปี 2300 โดยมีตระกูลแสนกล้าเป็นต้นตระกูลแรกของ ชุมชน นับตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยทั้งภายใต้กรอบนโยบาย การพัฒนาของรัฐและสถานการณ์ที่เป็นผลกระทบ จากการบอกเล่าของครูสนาน สุขสนิท รัฐมี นโยบายบังคับให้คนในชุมชนเรียนหนังสือ โดยการก่อตั้งโรงเรียนขึ้นมาและก าหนดว่าหมู่บ้านใน รัศมี 2 กิโลเมตร ต้องส่งลูกหลานมาเรียนหนังสือ หลายครอบครัวได้มีการโยกย้ายครอบครัวออกไป ให้ห่างไกลโรงเรียน บางครอบครัวอย่างกรณีชาวบ้านกันโจรง ได้โยกย้ายพาครอบครัวไปบุกเบิกที่ ท ากินใหม่ที่ประเทศกัมพูชาเพื่อหลีกหนีการส่งลูกหลานไปเรียนหนังสือ ในช่วงที่ครูสนานเป็นครู สอนโรงเรียนบ้านขาม ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ต าบลกระหาด ในแต่ละวันต้องคอยไล่ต้อนเด็กๆมาเรียน หนังสือ เพราะเด็กไม่อยากมาเรียน หนึ่งนั้น ภาษาที่ใช้คนละภาษา สอง ครอบครัวขาดแรงงาน มาถึงช่วงปัจจุบันกาล ที่ระบบการศึกษาและความหลากหลายด้านอาชีพและการงานมีมากขึ้น การ


145 โยกย้ายถิ่นส่วนใหญ่จึงเป็นเรื่องการแสวงหาทางเลือกใหม่ในการประกอบอาชีพและสร้างเศรษฐกิจ เป็นส าคัญ เช่น การท างานในโรงงานหรือสถานประกอบการ การรับราชการและการค้าขาย เป็น ต้น ช่วงระยะต่อมา มีการพัฒนาเส้นทางรถไฟถึงสุรินทร์ ชาวบ้านเริ่มปลูกพืชเพื่อขายเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ ปอ ยาสูบและข้าว โดยการขนส่งทางเกวียนไปให้พ่อค้าที่ตัวเมืองสุรินทร์และทุ่งโพธิ์ ซึ่งจะรับ ซื้อทั้งผลผลิตการเกษตรและของป่า เช่น ขี้ไต้ ยางชัน เมื่อคนในชุมชนปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตเพื่อ การบริโภคสู่เพื่อขายเพิ่มมากขึ้น การขยายพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจก็ตามมา ผืนป่าก็ลดจ านวน ลง อย่างไรก็ตาม เหตุปัจจัยที่ท าให้ป่าถูกท าลายมาก คือ การเข้ามาตัดไม้ของโรงเลื่อยศรีสุรินทร์ ในปี พ.ศ. 2490 ไม้ใหญ่ๆหลายคนโอบถูกโค่นลง ในสมัยนั้น ชาวบ้านได้รับค่าจ้างตัดไม้ต้นละ 20 บาท หลังจากไม้ใหญ่ถูกตัดโค่น ไม้รุ่นกลางและขนาดเล็กก็ถูกตัดเช่นเดียวกัน โดยชาวบ้าน เพื่อ น าไปเป็นเสาหลักรั่วและเผาถ่าน ปัจจุบันเหลือผืนป่า 2 แห่ง ที่ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ คือ ป่าท าเล โคกหลวงและป่าหนองเสม็ด อีกส่วนหนึ่งที่ส าคัญต่อการเปลี่ยนแปลงชุมชน คือ ระบบการศึกษา สมัยใหม่ เมื่อก่อนคนบวชเรียนเพื่อต้องการเรียนรู้หลักการสวดมนต์ หลักศาสนาและหลักธรรมที่ น ามาปรับใช้ในการด าเนินชีวิต รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีและวิถีปฏิบัติในพิธีกรรมต่างๆตาม ครรลองที่สืบทอดกันมา รวมถึงเรื่องคาถาอาคม ซึ่งเป็น “การเรียนรู้เพื่อชีวิต” เมื่อระบบการศึกษา สมัยใหม่เข้ามา จริงอยู่ช่วงแรกคนหนีไปอยากเรียน แต่เมื่อความจ าเป็นบังคับ อาทิเช่น การดูแล สุขภาพ เมื่อไปหาแพทย์หรือหมออนามัย หากอ่านหนังสือไม่ได้ โอกาสกินยาผิดมีเยอะ หรือกรณี คนที่จะไปรับจ้างต่างถิ่น ซึ่งคนแถวนี้นิยมไปลงเรือจับปลาที่จังหวัดสมุทรสาคร คนที่ไปรับจ้างต้อง อ่านออก เขียนได้ เพราะเขาจะมีใบจ้างลงเรือจับปลา หากไม่รู้หนังสือเลยก็จะล าบาก อีกประการ หนึ่ง คือ เรื่องการขายของหรือขายสินค้า ซึ่งมีความจ าเป็นอย่างมาก ดังนั้น ระบบการศึกษาได้ น าพาชุมชนสู่การเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ทั้งด้านการประกอบอาชีพ การสื่อสาร (ปัจจุบันเด็กรุ่นใหม่ๆ แทบจะไม่พูดภาษาท้องถิ่นแล้ว) และการด าเนินชีวิตในสังคม ศักยภาพและต้นทุนการพัฒนา ต าบลกระหาดมีต้นทุนที่ส าคัญและเป็นรากฐานในการ พัฒนาชุมชน ดังนี้ (1) กลุ่มองค์กรชุมชน ได้แก่ กลุ่มพัฒนาอาชีพ กลุ่มสตรี ร้านค้า กองทุนหมู่บ้าน และกองทุนสวัสดิการต่างๆ มีจ านวน 48 กลุ่ม มีทุนหมุนเวียนประมาณ 18,861,083 บาท ซึ่ง นอกเหนือจากการมีทุนไว้ให้บริการแก่สมาชิกและชุมชนแล้ว แกนน ากลุ่มองค์กรที่มีความรู้ ทักษะ และจิตอาสาก็เป็นทุนที่ส าคัญในการขับเคลื่อนงาน สร้างความเข้มแข็งและความส าเร็จของกลุ่ม องค์กร (2) ภูมิปัญญาหรือภูมิความรู้ชุมชน เช่น ความรู้การรักษาแบบพื้นบ้าน การจักสาน การมัด ย้อม การทอผ้าและการท าเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นฐานในการด ารงชีวิตและ การสร้างรายได้ของชุมชน (3) ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นระบบความสัมพันธ์ทางเครือญาติ การสืบสานบุญประเพณีและพิธีกรรมต่างๆอย่างต่อเนื่อง รวมถึงวิถีการบริโภคแบบพื้นบ้าน (4) ทุน


146 ทางทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แหล่งน ้าและป่าชุมชน (ป่าท าเลโคกหลวงและป่าหนองเสม็ด) นับเป็น ทุนด้านปัจจัยสี่ที่ส าคัญนับแต่อดีตถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดี แม้ว่าชุมชนจะมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ หรือด้านความเข้มแข็งของกลุ่มองค์กร ที่หลากหลาย แต่สภาพปัญหาของชุมชนก็ยังมีอยู่หลากหลายประการที่จะต้องด าเนินการจัดการ แก้ไขทั้งด้วยตัวชุมชนเองและการหนุนเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิเช่น ปัญหาเรื่องที่ดินท ากิน (เอกสารสิทธิ์) ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาเศรษฐกิจครัวเรือน เป็นต้น ส่วนที่ 2. การสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) 2.1 การสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน หรือ พอช. ปัจจุบัน สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชนมีแนวทางส่งเสริมและสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชนแต่ละพื้นที่ 7 แนวทาง คือ เรื่องแผน ชุมชน ที่อยู่อาศัย ที่ดินท ากิน สวัสดิการชุมชน ทรัพยากร เกษตรยั่งยืน ภัยพิบัติ เศรษฐกิจและทุน ชุมชน ต าบลกระหาดเป็นพื้นที่เป้าหมายหนึ่งที่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนผ่านทางขบวนองค์กร ชุมชนจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1) การพัฒนาศักยภาพแกนน า ด้านความรู้และทักษะ อาทิเช่น จัดท าแผนชุมชน เข้มแข็ง การเขียนโครงการ การจัดท าระบบบัญชี การติดตามหนุนเสริมแบบเสริมพลังและการสอบ ทาน เป็นต้น 2) การสรุปบทเรียนการท างาน เป็นการทบทวนการท างานและเสริมสร้างการเรียนรู้ โดยการแลกเปลี่ยนเรียนบทเรียนและประสบการณ์ระหว่างแกนน ากลุ่มองค์กร 3) การสนับสนุนด้านงบประมาณ เป็นเครื่องมือหนึ่งที่น าใช้ เพื่อให้ขบวนองค์กรชุมชน ได้หนุนเสริมการขับเคลื่อนงานของสภาองค์กรชุมนในพื้นที่ เพื่อสร้างรูปธรรมความส าเร็จ 2.2 ภายใต้แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน โดยทั่วๆไป จะเริ่มจากการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนระดับต าบลขึ้นมา เพื่อเป็นกลไกรองรับการขยับขยายประเด็น การพัฒนาบนฐานแนวคิดต าบลจัดการตนเอง ซึ่งเป็นการใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง (Area Base) ในการ ขับเคลื่อนขบวนการพัฒนา อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติอาจจะมีความเหมือนหรือแตกต่างกันไป ตามศักยภาพและความเป็นไปได้ของแต่ละพื้นที่ ต าบลกระหาดเป็นต าบลหนึ่งที่เริ่มต้นจากงาน สวัสดิการชุมชนขึ้นมาก่อนการก่อเกิดสภาองค์กรชุมชน (กองบุญคุณธรรมก่อตั้ง ปี 2554 / สภา องค์กรชุมชน ก่อตั้ง ปี 2555) ที่ผ่านมา ชุมชนมีการให้สวัสดิการในรูปของการช่วยเหลือแบ่งปันหรือ การให้โอกาสเกี่ยวกับการหาอยู่หากินกันอยู่แล้ว เช่น การเก็บของป่า การหาปูหาปลาในแปลงนา เพื่อนบ้าน แหล่งน ้าสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งภายหลังต่อมามีการพัฒนาเป็นกฎกติกาของชุมชนเพื่อใช้ ประโยชน์ทรัพยากรร่วมกัน ลดปัญหาความขัดแย้ง เช่น กฎกติกาป่าชุมชน หรือกรณีการให้บริการ


147 สินเชื่อของกลุ่มออมทรัพย์ ถือได้ว่าเป็นการสวัสดิการประเภทหนึ่งของชุมชน เป็นการสร้างโอกาส ให้คนในชุมชนเข้าถึงทุนอย่างเป็นธรรม แต่การขยับขับเคลื่อนเรื่องการออมบุญนั่นมีความแตกต่าง เหตุด้วยเป็นการขยายมิติมุมมองเรื่องสวัสดิการที่กว้างขึ้นครอบคลุมตั้งแต่เกิดจนถึงเชิงตะกอน โดย มีการก าหนดกฎกติกาข้อตกลงในการปฏิบัติร่วมกันอย่างชัดเจน นั่นหมายถึงการยกระดับสวัดิการ ของชุมชนให้ครอบคลุมในทุกมิติเพิ่มมากขึ้น ในส่วนของการสนับสนุนประเด็นเศรษฐกิจและทุนนั้น ชุมชนเพิ่งเริ่มด าเนินงานในช่วงปี 2563 / 64 โดยเน้นเรื่องในเรื่องหม่อนไหม ซึ่งยังไม่ปรากฏเชิง รูปธรรมที่เด่นชัดนัก ดังนั้น สภาองค์กรชุมชนต าบลกระหาด จึงมีความเห็นร่วมกันว่า ประเด็นเด่น ของชุมชน คือเรื่องสวัสดิการ ซึ่งสามารถขับเคลื่อนงานสร้างรูปธรรมครอบคลุมมิติด้านเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ ส่วนที่ 3. นวัตกรรมและกระบวนการ นวัตกรรมและกระบวนการที่น าเสนอ กรณีกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการชุมชนต าบล กระหาด เป็นนวัตกรรมทางความคิดที่ว่าด้วย “หนึ่งบาทคือการท าบุญ” และกระบวนการหนุนเสริม เศรษฐกิจชุมชนจากฐานงานสวัสดิการ 3.1 ความเป็ นมากองบุญคณุธรรมเพื่อจดัสวสัดิการชุมชน ประมาณปี 2554 นายทัศนัย พิริยาสัยสันติ ข้าราชการสังกัดกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และมีบทบาทในฐานะคณะท างานกองบุญคุณธรรม ขบวนสภาองค์กรชุมชน จังหวัดสุรินทร์ ได้น าแนวคิดเรื่องการออมบุญเพื่อสวัสดิการชุมชนเข้ามาเผยแพร่ให้แกนน ากลุ่ม พัฒนาสตรีต าบลกระหาด หรือ กพสต. ได้รับรู้ พร้อมทั้งชักชวนไปร่วมศึกษาเรียนรู้เรื่องการจัด สวัสดิการชุมชนที่ต าบลเมืองแก อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ โดยมีแกนน าสตรีหลักๆ 3 คน คือ นางเพือน บรรเทิงใจ นางฉวี แสนกล้าและนางสาวประกอบ แสนกล้า หลังจากเข้าร่วมศึกษาเรียนรู้หลายๆครั้ง ทั้งในพื้นที่ใกล้เคียง ได้แก่ กองทุนคุณธรรมสวัสดิการชุมชนต าบลเมืองแก ต าบลเมืองลีง อ.จอม พระ และชุมชนหนองบัว อ.เมืองสุรินทร์ ท าให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ ชุมชนในรูปของ “กองบุญคุณธรรม” เพิ่มมากขึ้น ซึ่งโดยเจตนามุ่งเน้นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันตั้งแต่ เกิดจนกระทั่งตาย จึงได้ประสานงานกับทางก านันเสงี่ยม แสนกล้า ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ทุกหมู่และแกนน ากลุ่มพัฒนาสตรี รวมถึงทางเทศบาลต าบลกระหาด เพื่อจัดประชุมท าความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดสวัสดิการชุมชน โดยมีตัวแทนขบวนสภาองค์กรชุมชนจังหวัดสุรินทร์ ได้แก่ นางพัช รี บุญมี นายวิเชียร สัตตธารา มาร่วมเป็นวิทยากรแนะน าให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและวิธีการ ด าเนินงานต่างๆ ด้วยความร่วมมือด้วยดีของภาคส่วนต่างๆ ส่งผลให้เกิดการจัดตั้ง “กลุ่มกองบุญ คุณธรรมเพื่อจัดการสวัสดิการชุมชนต าบลกระหาด” ขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 มีชาวบ้านสนใจ


Click to View FlipBook Version