The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางดวงสมร ฝุ่นเงิน, 2021-04-02 00:10:59

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

แผนการสอน/การจัดการเรยี นรแู้ บบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวิชา ๓๐๐๐๑-๑๐๐๑ วชิ าการบริหารงานคุณภาพองค์กร
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 25๖๓

ประเภทวิชาบริหารธุรกจิ

จัดทำโดย

นางดวงสมร ฝนุ่ เงิน
ตำแหน่ง ครูชำนาญการ

แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

1

แบบคำขออนุมตั ิ
แผนการจดั การเรยี นร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ
รหัสวิชา 3๐๐๐1-๑๐๐๑ รายวิชาการบริหารงานคณุ ภาพในองคกฺ ร
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 25๖๓

ผูจ้ ัดทำ

ลงชื่อ
(นางดวงสมร ฝนุ่ เงนิ )
ตำแหนง่ ครูชำนาญการ

ผตู้ รวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ ลงชื่อ
(นางประไพศรี วงศ์ปรีด)ี (นายคุมดวง พรมอนิ ทร์)
หวั หนา้ แผนกวิชาการบัญชี หัวหน้างานพฒั นาหลักสูตรฯ

ความเหน็ รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวิชาการ

ลงชอ่ื
(นายทินกร พรหมอินทร)์
รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวิชาการ

ความเหน็ ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

 อนุมตั ิ  ไมอ่ นุมตั ิ เพราะ

ลงชื่อ
(นางวรรณภา พ่วงกุล)

ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

2

คำนำ

พระรำชบญั ญตั กิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 ทไ่ี ดป้ ระกำศใชต้ งั้ แตเ่ ดอื นสงิ หำคม 2542 เป็นตน้ มำ ไดเ้ น้นให้

ครู-อาจารย์และผูเ้ กย่ี วขอ้ งทงั้ หลายจดั การเรยี นการสอนโดยเน้นผูเ้ รยี นสาคญั ทสี่ ุด ซ่งึ กิจกรรมการเรยี นการสอนทจี่ ดั
ควรมลี กั ษณะสาคญั ดงั น้ี

1. ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรูจ้ ำกกำรปฏบิ ตั จิ รงิ
2. ผูเ้ รยี นมโี อกำสเลอื กเรยี นรูใ้ นสงิ่ ทต่ี นถนดั และสนใจ
3. ผูเ้ รยี นไดม้ โี อกำสแสวงหำควำมรูแ้ ละสรำ้ งองคค์ วำมรูด้ ว้ ยตวั เอง
4. ผูเ้ รยี นไดม้ โี อกำสทจ่ี ะนำควำมรูไ้ ปปฏบิ ตั ใิ ชจ้ รงิ ในชวี ติ ประจำวนั
5. ผูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในกำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ของตนเอง

บรษิ ทั สานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั ไดต้ ระหนักถงึ ภารกจิ ของครอู าจารย์ ในการจดั กจิ กรรมการ

เรยี นรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ดว้ ยการบูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม

และ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคไ์ วใ้ นรายวชิ า และในการคดิ กจิ กรรมทจ่ี ะสง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น

ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตใิ หเ้ ป็นรูปธรรมจงึ ไดจ้ ดั ทาสงิ่ อานวยความสะดวกให้แก่ครูอาจารย์

เป็น คู่มือครูเพอื่ ประกอบหนงั สือเรียนวิชาการบรหิ ารงานคุณภาพในองคก์ าร 3001-1001 (3-

0-3) ซง่ึ ประกอบดว้ ย

• ตำรำงวเิ ครำะหห์ น่วยกำรเรยี นรตู้ ำมจุดประสงคร์ ำยวชิ ำ สมรรถนะรำยวชิ ำ และคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

• ลกั ษณะรำยวชิ ำ

• ตำรำงวเิ ครำะหห์ ลกั สูตร

• กำหนดกำรสอนทบ่ี รู ณำกำรคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

• แผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ บี่ รู ณำกำรคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

2

3

สารบญั

 จุดประสงรายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ า
 ลกั ษณะรายวชิ า
 ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
 กาหนดการสอนทบี่ รู ณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
 แผนการจดั การเรยี นรทู้ บ่ี ูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 2
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 5
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 6
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 7
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 8
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 9
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 10
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 11
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 12
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 13
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 14
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 15
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 16
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 17
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 18

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้



1

ลกั ษณะรายวิชา

รหสั 3001-1001 วิชา กำรบรหิ ำรงำนคุณภำพในองคก์ ำร
หน่วยกิต 3-0-3 เวลาเรยี นต่อภาค 54 ชวั่ โมง

รายวิชาตามหลกั สตู ร สมรรถนะรายวิชา* ชวั่ โม


จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา

1. เขำ้ ใจเกย่ี วกบั กำรจดั กำรองคก์ ำร หลกั กำร 1. แสดงควำมรเู้ กยี่ วกบั หลกั กำรจดั กำร

บรหิ ำรงำนคณุ ภำพและเพม่ิ ผลผลติ หลกั กำรเพมิ่ องคก์ ำร กำรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพและเพม่ิ

ประสทิ ธภิ ำพ ผลผลติ กำรจดั กำรควำมเสย่ี งกำรจดั กำร

กำรทำงำน และกำรประยุกตใ์ ชใ้ นกำรจดั กำรงำน ควำมขดั แยง้ กำรเพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพกำร

อำชพี ทำงำน

2. สำมำรถวำงแผนกำรจดั กำรงำนอำชพี โดย 2. วำงแผนกำรจดั กำรองคก์ ำร และเพมิ่

ประยุกตใ์ ชห้ ลกั กำรจดั กำรองคก์ ำร กำรเพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพขององคก์ ำรตำมหลกั กำร

ประสทิ ธภิ ำพของ 3. กำหนดแนวทำงจดั กำรควำมเสย่ี ง

องคก์ ำร และกจิ กรรมกำรบรหิ ำรงำนคุณภำพและเพมิ่ และควำมขดั แยง้ ในงำนอำชพี ตำม

ผลผลติ สถำนกำรณ์

3. มเี จตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ทด่ี ใี นกำรจดั กำรงำนอำชพี ดว้ ย 4. เลอื กกลยุทธเ์ พอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพ

ควำมรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ มวี นิ ยั ขยนั ประหยดั กำรทำงำนตำมหลกั กำรบรหิ ำรงำน

อดทน และสำมำรถทำงำนร่วมกนั คุณภำพและเพมิ่ ผลผลติ

คาอธิบายรายวิชา 5. ประยกุ ตใ์ ชก้ จิ กรรมระบบคุณภำพ
และเพมิ่ ผลผลติ ในกำรจดั กำรงำนอำชพี

ศกึ ษำเกยี่ วกบั กำรจดั องคก์ ำร กำรเพม่ิ รวม 54
ประสทิ ธภิ ำพขององคก์ ำร กำรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพ

และเพมิ่ ผลผลติ กำรจดั กำรควำมเสย่ี ง กำรจดั กำร

ควำมขดั แยง้ ในองคก์ ำร กลยทุ ธก์ ำรเพมิ่

ประสทิ ธภิ ำพกำรทำงำน กำรนำกจิ กรรมระบบ

คณุ ภำพและเพมิ่ ผลผลติ มำประยกุ ตใ์ ชใ้ นกำรจดั กำร

งำนอำชพี

2

พทุ ธิพิสยั (40%)

พฤติกรรม ความ ้รู
ความเข้าใจ
ช่ือหน่วย การนาไปใ ้ช
การ ิวเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเ ิมน
ทักษะ ิพสัย (30%)
ิจต ิพสัย (30%)
รวม
ลำดับควำมสำคัญ
จำนวนชั ่วโมง

1. องคก์ ำรและกำรจดั องค์กำร 1111- -127 3
2. กำรเพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพในองคก์ ำร 1111- -127 3
3. วฒั นธรรมองค์กำร 1111- -127 3
4. พฤตกิ รรมกำรทำงำน 1111- -127 3
5. กำรจดั กำรควำมเสยี่ ง 1111- -228 3
6. กำรจดั กำรควำมขดั แยง้ ในองคก์ ำร 1111- -228 6
7. กลยทุ ธ์กำรเพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพกำรทำงำนใน
องค์กำรดว้ ยกำรสรำ้ งบรรยำกำศในกำรทำงำน 1111- -228 3

8. กจิ กรรมกลมุ่ เพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพกำรทำงำน 1 1 1 1 - - 2 2 8 6

9. กจิ กรรมกำรพฒั นำตนเองเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพ 1111- -228 6

กำรทำงำน 3
3
10. กจิ กรรมกำรพฒั นำทมี งำน 1111- -228 3

11. ควำมหมำยและกระบวนกำรวำงแผนพฒั นำงำน 1 1 1 1 - - 2 2 8 3

12. หลกั กำรและกระบวนกำรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพ 1 1 1 1 - - 2 2 8 3
3
13. กำรดำเนินงำนสู่เป้ำหมำยกำรบรหิ ำรงำน 1111- -228
คณุ ภำพ 54

สอบกลางภาค
สอบปลายภาค

รวม 13 13 13 13 22 26 100
ลาดบั ความสาคญั 3333 21

3

แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการที่ 1 หน่วยที่ 1
รหสั 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ (3-0-3) สอนคร้ังที่ 1 (1-1)
ชื่อหนว่ ย/เรอ่ื ง ปฐมนิเทศ จำนวนชวั่ โมง 1 ช.ม.

สาระสำคญั
การศกึ ษาวิชาการบริหารคณุ ภาพในองคก์ ารเป็นวิชาทเี่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั เพอ่ื ปลกู ฝงั ให้

พัฒนาตนเองเข้าสูอ่ าชีพอยา่ งสม่ำเสมอ และนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทำงานสำหรับชวี ิตประจำวันต่อไป
และยงั เป็นการใหผ้ ู้เรียนได้มโี อกาสฝกึ ทกั ษะความชำนาญการเรียนรู้ด้านความรู้ ความสามารถเพอ่ื มีส่วน
ร่วมในการเรียนอย่างเตม็ ท่ี เพอื่ พัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถรวมท้ังสตปิ ัญญาเพอ่ื แกป้ ัญหาได้
ผูเ้ รยี นวชิ านน้ี อกจากจะไดค้ วามรูท้ ถี่ กู ตอ้ งแลว้ ยังสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในงานเพอื่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพ
ของงาน และสามารถแก้ปญั หาในชีวติ ประจำวนั อีกดว้ ย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้

2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรยี นร้ไู ด้

3.มีการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรอื่ ง

3.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 3.8 การละเว้นสิง่ เสพตดิ และการพนัน

3.2 ความมวี ินัย 3.9 ความรกั สามัคคี

3.3 ความรบั ผิดชอบ 3.10 ความกตัญญกู ตเวที

3.4 ความซ่ือสัตย์สจุ ริต

3.5 ความเชื่อมัน่ ในตนเอง

3.6 การประหยัด

3.7 ความสนใจใฝร่ ู้

สมรรถนะรายวิชา

4

1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลักการจัดการองค์การ การบริหารงานคณุ ภาพและเพ่ิมผลผลิต การ
จดั การความเสยี่ ง การจัดการความขัดแย้ง การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทำงาน

2. วางแผนการจดั การองคก์ าร และเพ่มิ ประสทิ ธิภาพขององค์การตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเส่ยี ง และความขัดแยง้ ในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธเ์ พอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทำงานตามหลักการบรหิ ารงานคุณภาพและเพิม่ ผลผลิต
5. ประยุกต์ใช้กิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพมิ่ ผลผลติ ในการจดั การงานอาชีพ

เนอ้ื หาสาระ
1.บอกจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้
2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ด้

กิจกรรมการเรียนรู้

ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรยี น
1.ครูผ้สู อนแนะนำจุดประสงค์ท่ผี ู้เรียนจะไดจ้ ากหลักสตู ร โดยกำหนดให้ผูเ้ รยี นทกุ คนตอ้ งมี
ความรู้

ความเข้าใจเก่ียวกบั การบรหิ ารงานคุณภาพองคก์ าร และมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่ดีในการนำ
ความรู้ไปประกอบอาชพี

2.ครูสนทนากบั ผเู้ รยี นเพื่อใหเ้ ห็นความสำคญั ของการเรยี นวชิ าการบริหารคุณภาพใน
องคก์ าร

ขน้ั สอน
3.ครใู ช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ซง่ึ เป็นวิธีสอนทผ่ี สู้ อนให้ความรู้

ตามเน้อื หา
สาระด้วยการเลา่ อธบิ ายโดยทผี่ ู้เรียนเป็นผู้ฟัง และเปิดโอกาสใหซ้ ักถามปัญหาไดบ้ า้ งในตอนท้ายของการ
บรรยายเกยี่ วกับแนวคดิ สำคัญของวชิ าการบริหารคุณภาพในองคก์ าร

4.ผูเ้ รยี นรับฟังคำช้ีแจงสังเขปรายวิชาและการวัดประเมนิ ผล ซักถามข้อปัญหารวมท้งั แสดง
ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การเรยี นวิชานี้

ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์

5

5.ผเู้ รียนวางแผนการเรียนวชิ าการบรหิ ารคุณภาพในองค์การ และการนำความรทู้ ่ไี ดจ้ าก
รายวชิ าไปประยุกตใ์ ช้กับงานในชีวิตประจำวันทจี่ ำเป็นโดยทว่ั ไป ซึ่งทุกคนจะตอ้ งวางแผนการทำงานตา่ ง
ๆ ในอนาคต

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1.หนังสอื เรียน วชิ าการบรหิ ารคุณภาพในองคก์ าร ของสำนักพมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.สื่อแผน่ ใส
3.ส่ืออิเล็กทรอนิกส์
3.กิจกรรมการเรียนการสอน

หลักฐาน
1.บันทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายช่ือ
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอัน
พึงประสงค์

เคร่อื งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและ
ผู้เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ

6

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 %
ขนึ้ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้นึ
ไป)
4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่

กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
แนะนำใหศ้ ึกษาขอ้ มลู เกีย่ วกบั การบรหิ ารคุณภาพในองคก์ ารจากสือ่ อนิ เตอร์เนต็

7

บนั ทกึ หลงั การสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
..............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาที่พบ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
..

8

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการท่ี 1(ต่อ) หน่วยที่ 1
รหัส 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองค์การ (3-0-3) สอนครั้งที่ 1 (2-3)
ช่อื หน่วย/เรอื่ ง องค์การและการจัดองค์การ จำนวน 2 ชม.

สาระสำคญั
ทุกองค์การตา่ งมีวัตถุประสงค์หลักเพอื่ ให้สามารถดำเนนิ งานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และ

เจรญิ เตบิ โตอย่างตอ่ เน่ืองในอตั ราทเ่ี หมาะสม ระบบการจัดองค์การกจ็ ะมีหน้าที่เก่ียวขอ้ งกบั บุคคลต้งั แต่
กอ่ นร่วมงาน ขณะปฏิบัตงิ าน และภายหลงั จากการรว่ มงานกบั องค์การ เพ่ือสร้างความมนั่ ใจใหอ้ งคก์ ารว่า
มีบคุ คลทมี่ คี วามรู้ ทกั ษะ และความสามารถในระดับและปริมาณท่ีเหมาะสมรว่ มงานอย่ตู ลอดเวลา โดย
จะจงรกั ภักดีและท่มุ เทความสามารถในระดับและปรมิ าณที่เหมาะสมตลอดเวลา ในการปฏบิ ัติงานใหก้ ับ
องคก์ ารอยา่ งเตม็ ที

บุคคลส่วนใหญต่ อ้ งทำงานเพอ่ื ให้ตนเองและครอบครัวดำรงชวี ิต มคี ุณภาพชีวิตท่ดี ใี นสังคม โดยมี
ปจั จัยสี่ มีความปลอดภยั และมกี ารยอมรับทางสงั คมในอัตราสว่ นทเี่ หมาะสม เราจะเหน็ ได้วา่ การจัดการ
ทรัพยากรมนษุ ยม์ วี ัตถุประสงค์ท่ีจะตอบสนองความต้องการระดบั ต่างๆ ของบคุ ลากร ต้ังแต่โครงสร้าง
องคก์ ารประเภทขององคก์ าร เป้าหมายขององคก์ าร การจดั องคก์ าร และอื่นๆ ซงึ่ งานเหล่านลี้ ว้ นจะมสี ่วน
ชว่ ยสง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิตการทำงานและมาตรฐานการครองชีพของบุคคลให้ดขี ้นึ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายขององคก์ ารได้
2. อธิบายลกั ษณะขององค์การได้
3. บอกโครงสรา้ งขององคก์ ารได้
4. อธิบายประเภทขององค์การได้
5. อธบิ ายเป้าหมายขององคก์ ารได้
6. อธบิ ายการจัดองคก์ ารได้
7. บอกความสำคญั ของการจัดองคก์ ารได้
8. อธบิ ายหลกั การจัดองคก์ ารได้
9. บอกขัน้ ตอนการจดั องค์การได้

9

10.มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทคี่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

10.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์
10.2 ความมีวนิ ัย
10.3 ความรบั ผดิ ชอบ
10.4 ความซอ่ื สัตย์สจุ ริต
10.5 ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
10.6 การประหยัด
10.7 ความสนใจใฝร่ ู้
10.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
10.9 ความรักสามัคคี
10.10 ความกตัญญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการจดั การองคก์ าร การบรหิ ารงานคุณภาพและเพ่มิ ผลผลิต การ

จัดการความเส่ยี ง การจัดการความขดั แย้ง การเพ่ิมประสิทธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองคก์ าร และเพิ่มประสิทธิภาพขององคก์ ารตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจัดการความเส่ียง และความขัดแยง้ ในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธเ์ พ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพการทำงานตามหลกั การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพ่มิ ผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใชก้ ิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพ่มิ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชพี

เนื้อหาสาระ
1. ความหมายขององค์การ
2. ลักษณะขององค์การ
3. โครงสร้างขององค์การ
4. ประเภทขององค์การ
5. เปา้ หมายขององค์การ
6. การจัดองค์การ
7. ความสำคญั ของการจัดองคก์ าร

10

8. หลักการจัดองคก์ าร
9. ขน้ั ตอนการจัดองค์การ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน
1.ครูกล่าววา่ บคุ คลสว่ นใหญ่ตอ้ งทำงานเพื่อใหต้ นเองและครอบครวั ดำรงชีวติ มคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี

ในสังคม โดยมีปัจจยั สี่ มีความปลอดภัย และมกี ารยอมรบั ทางสงั คมในอตั ราสว่ นท่ีเหมาะสม เราจะเหน็
ได้วา่ การจัดการทรัพยากรมนษุ ยม์ ีวตั ถุประสงค์ท่ีจะตอบสนองความต้องการระดับตา่ งๆ ของบคุ ลากร
ตง้ั แตโ่ ครงสร้างองคก์ ารประเภทขององคก์ าร เปา้ หมายขององค์การ การจดั องค์การ และอน่ื ๆ ซึ่งงาน
เหล่านีล้ ้วนจะมีสว่ นชว่ ยส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตการทำงานและมาตรฐานการครองชพี ของบุคคลใหด้ ขี ึ้น

2.ครูบอกความหมายขององค์การ หมายถึง ศูนยร์ วมของกจิ กรรมทบ่ี ุคคลได้รวมกนั ขึ้น เพือ่
ประกอบ กจิ กรรมอยา่ งใดอย่างหนง่ึ โดยมกี ารจัดระเบียบ มีข้อบงั คับ มวี ธิ ีการทำงาน เพ่ือใหก้ าร
ดำเนนิ งานบรรลุวัตถุประสงคท์ ่ีกาหนดไว้

3.ผเู้ รียนทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรกู้ ่อนเรยี น แลว้ สลับกนั ตรวจเพือ่ เกบ็ คะแนนสะสมไว้

ข้ันสอน
4.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ด้วยการเล่าอธบิ ายให้ผู้เรียนเป็นผูฟ้ งั
และเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นซักถามปัญหาได้ในตอนทา้ ยของการบรรยายเกีย่ วกับลักษณะขององคก์ าร
โดยทั่วไป ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 3 ลักษณะใหญๆ่ คือ

1). องค์การทางสังคม เปน็ องคก์ ารท่ีมวี ัตถปุ ระสงคใ์ นการทำหน้าที่ทีเ่ ก่ยี วข้องสัมพนั ธก์ ับ
สมาชิกในสังคม ได้แก่ ครอบครัว มหาวทิ ยาลัย โรงเรยี น และกลมุ่ กิจกรรมต่างๆ

2). องคก์ ารทางราชการ เป็นหน่วยงานทางราชการตา่ งๆ ทท่ี ำหน้าทใ่ี นทางสาธารณะ หรอื
บริการประชาชน และเป็นองคก์ ารทมี่ ีระบบสลบั ซบั ซอ้ นมาก ได้แก่ กระทรวง เทศบาล สุขาภบิ าล และ
องคก์ ารตา่ งๆ ทอ่ี ย่ใู นระบบราชการ

3). องคก์ ารเอกชน เปน็ องคก์ ารท่มี ีการดำเนินการเพ่อื ผลประโยชนท์ างการค้าและบรกิ าร
โดยผลประโยชนห์ รือกำไรจะตกแกบ่ ุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีเป็นเจา้ ของ ไดแ้ ก่ สถาบันการเงิน โรงงาน
อตุ สาหกรรม บริษัท ห้างหุน้ สว่ น เปน็ ต้น

11

5.ครใู ชเ้ ทคนิควธิ ีสอนแบบใชโ้ สตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method)
เปน็ วธิ ีสอนท่นี ำอุปกรณ์โสตทัศน์วัสดุมาช่วยพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทศั นว์ ัสดุดังกลา่ ว
ไดแ้ ก่ Power Point
เพือ่ แสดงให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้โครงสรา้ งขององค์การ เปน็ การมององค์การในลักษณะทค่ี งท่ี ทเี่ กย่ี วกับ
ความสมั พนั ธ์ และบทบาทหน้าทีท่ ี่เปน็ ระบบ เพ่ือการจดั การและบริหารให้มีประสิทธภิ าพสูงสุด เพื่อ
ความสำเร็จขององคก์ าร โครงสรา้ งขององค์การจะประกอบดว้ ยส่วนสำคญั ดงั นี้

1). มเี ป้าหมายและวัตถุประสงค์ เป็นสงิ่ ท่ีองค์การจะต้องกำหนดเอาไวใ้ นการจัดตง้ั องค์การ
ว่าตัง้ ขึน้ มาเพ่ืออะไรบา้ ง

2). มีภารกจิ หนา้ ที่ องค์การทกุ ประเภทจะต้องกำหนดภารกิจหนา้ ท่ีอยา่ งชัดเจน โดยทัว่ ไป
แลว้ จะกำหนดไว้อยา่ งถาวร

3). มกี ารแบ่งงานกนั ทำ โดยมอบอำนาจหน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบ เป็นการแบ่งงานหรือจัด
กลุ่มงาน แล้วมอบหน้าทใี่ ห้แต่ละคนหรอื แต่ละกลุ่มรับผดิ ชอบอย่างเปน็ ระบบ

4). มสี ายการบังคับบัญชา เป็นการจดั ตามความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าท่ี และความ
รบั ผิดชอบ ตามขอบเขตอำนาจหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบแต่ละคน หรอื แต่ละหน่วยงาน

5). มีชว่ งการควบคมุ เปน็ เทคนคิ สำคัญในการจดั องค์การ เพื่อแสดงใหเ้ ห็นวา่ ใครมีขอบเขต
อำนาจหน้าท่ี และความรบั ผิดชอบเพยี งใด มีผู้ใต้บงั คบั บญั ชาก่คี น มีหนว่ ยงานท่ีอยูใ่ ต้ความรบั ผิดชอบกี่
หนว่ ย

6). มคี วามเอกภาพ หรือความเปน็ อนั หน่งึ อันเดยี วกนั ในการบังคับบัญชา เป็นการจัดอำนาจ
การควบคุมบังคบั บญั ชาใหร้ วมอยูก่ ับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือคณะบุคคลใดบุคคลหนงึ่ อย่างชดั เจน เพื่อ
การปฏบิ ัตหิ น้าทไ่ี มซ่ ้ำซอ้ นกนั และไม่ก้าวกา่ ยกนั

6.ครูและผู้เรียนอภิปรายเนอื้ หาเรอื่ ง ประเภทขององคก์ าร ได้แก่
1). องค์การแบบปฐมและมัธยม
1.1 องคก์ ารแบบปฐม (Primary Organization) เปน็ องค์การที่เกิดขน้ึ ตามธรรมชาติ โดย

สมาชิกขององคก์ ารมคี วามสนทิ สนมคุน้ เคยกันดี และรูปแบบของความสัมพันธน์ น้ั เปน็ ไปตามลกั ษณะ
สว่ นตวั ไมม่ ีพธิ รี ีตองและเปา้ หมาย เชน่ ครอบครัว เพือ่ นบ้าน

1.2 องค์การแบบมัธยม (Secondary Organization) เปน็ องค์การทีส่ มาชิกมี
ความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งมเี หตผุ ล อันเป็นผลสืบเน่อื งมาจากบทบาททกี่ ำหนดข้นึ ไวภ้ ายในองคก์ าร
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมาชกิ เป็นไปแบบไม่เปน็ สว่ นตวั และวตั ถุประสงค์ในการจดั ต้งั ชัดเจน เช่น
หน่วยงานทางราชการ หน่วยงานทางเอกชน เป็นต้น

12

2). องคก์ ารรูปนยั และอรปู นยั
2.1 องค์การรปู นัย หรอื องค์การทเ่ี ป็นทางการ (Formal Organization) เป็นองค์การท่ีมี

รปู แบบ มรี ะเบยี บแบบแผนท่ีชัดเจน เป็นองค์การทจ่ี ัดต้ังข้ึนตามกฎหมาย มสี ายการบังคับบัญชา มีการ
แบ่งงานกนั ทำตามความสามารถของแตล่ ะบคุ คล เพอื่ ดำเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงคท์ ี่ได้กำหนดไว้

2.2 องค์การอรูปนยั คอื องคก์ ารทีไ่ ม่เป็นทางการ (Informal Organization) เป็น
องคก์ ารท่ีเกดิ ข้ึนจากความสมั พนั ธข์ องสมาชิกในองคก์ ารทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ส่วนตัว ไม่เป็นทางการ ไมม่ ี
โครงสรา้ ง กฎ ระเบยี บ สายการบังคับบัญชา และวัตถุประสงคท์ ่ชี ัดเจนแนน่ อน โดยตั้งอยู่บน พน้ื ฐาน
ความพอใจ ความสมัครใจ และความศรทั ธาตามธรรมชาติของมนุษย์ เชน่ สมาคม ชมรม สโมสร เป็นต้น

7. ครูและผเู้ รียนอภปิ รายเนอ้ื หาเร่อื งเปา้ หมายขององค์การ ซ่ึงแบ่งออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1). เป้าหมายทางเศรษฐกิจหรือกำไร
2). เปา้ หมายเก่ยี วกบั การให้บริการ
3). เป้าหมายดา้ นสังคม

8.ครูใชส้ ื่อ Power Point ประกอบการอธบิ ายเน้ือหาเรื่องหลักการจัดองคก์ าร โดยมีหลักสำคญั
ดงั น้ี

1). การกำหนดหนา้ ทก่ี ารงาน
การกำหนดหน้าทข่ี องงาน (Function) นน้ั ข้นึ อยู่กับวัตถุประสงคข์ ององคก์ าร หน้าทกี่ าร
งานและภารกจิ จงึ หมายถึง กจิ กรรมท่ตี ้องปฏิบัติ เพ่อื ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ขององคก์ าร หนา้ ทีก่ ารงานจะ
มอี ะไรบ้าง มกี ่กี ลมุ่ ขึ้นอยกู่ บั เปา้ หมายขององคก์ าร ลักษณะขององค์การ และขนาดขององค์การด้วย
2). การแบ่งงาน
การแบง่ งาน (Division of Work) หมายถงึ การแยกงานหรอื รวมหนา้ ทก่ี ารงานทม่ี ลี ักษณะ
เดยี วกัน หรอื ใกลเ้ คยี งกันไวด้ ว้ ยกนั หรอื แบง่ งานตามลกั ษณะเฉพาะของงาน แลว้ มอบงานนน้ั ๆ ให้แก่
บุคคลที่มคี วามสามารถหรือความถนดั ในการทำงานน้ันๆ โดยตั้งเป็นหนว่ ยงานยอ่ ยข้ึนมารับผิดชอบ
3). สายการบงั คับบัญชา

3.1. จำนวนระดบั ช้นั แต่ละสายไม่ควรใหม้ ีจำนวนมากเกินไป จะทำใหไ้ มส่ ะดวกแก่การ
ควบคุม อาจทำให้งานคงั่ ค้างได้

3.2. สายบงั คบั บัญชาควรมลี กั ษณะชดั เจนวา่ ใครเป็นผู้มอี ำนาจส่งั การ และส่งั ไปยงั ผ้ใู ด
และจะมีการรายงานตอ่ ใคร มที ิศทางเดนิ ไปในทศิ ทางใด

3.3. สายการบงั คบั บญั ชาไม่ควรใหก้ า้ วกา่ ยกัน หรอื ซอ้ นกนั งานอย่างหนง่ึ ควรมี
ผู้รบั ผิดชอบเพยี งคนเดียว

13

4). อำนาจการบงั คบั บญั ชา
4.1. การรวมอำนาจ (Centralization) หมายถงึ ระบบบริหารทรี่ วมศูนย์อำนาจอยทู่ ี่

ผบู้ ังคบั บัญชา หรือหนว่ ยงานระดับสงู เพียงจดุ เดียว จะตัดสินใจเร่ืองใดตอ้ งรอให้ผ้บู รหิ ารระดบั สงู ตัดสินใจส่งั
การก่อนจงึ จะดำเนินการได้ ทำงานไดล้ ่าช้า ผบู้ ริหารระดบั ลา่ งไม่ตอ้ งรับผดิ ชอบใดๆ จึงไมม่ คี วามคิดจะริเรม่ิ
งานหรือพัฒนางานเท่าทค่ี วร

4.2. การกระจายอำนาจ (Decentralization) หมายถึง ระบบบริหารที่กระจายอำนาจ
ลงไปให้ผู้บรหิ ารระดบั ล่าง หรือหนว่ ยงานท้องถ่ินเปน็ ผตู้ ัดสนิ ใจในหน้าท่กี ารงานทีต่ นรบั ผดิ ชอบ โดย
กระจายอำนาจส่วนใหญ่ลงไปให้ผบู้ ริหารระดับล่างสามารถตัดสินใจไดท้ ันที

5). ชอ่ งการควบคุม ช่องการควบคมุ จะกวา้ งหรอื แคบ ข้ึนอย่กู ับองค์ประกอบดงั ต่อไปน้ี
5.1. ความสามารถของผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา
5.2. การได้รับการฝึกฝนอบรมของพนักงาน
5.3. ความยงุ่ ยากสลับซบั ซอ้ นของงาน
5.4. ความสมั พันธ์กบั หน่วยงานอื่น

6). แผนภมู ิองค์การ
6.1. แผนภูมโิ ครงสรา้ งหลกั (Skeleton Chart) เป็นแผนภูมแิ สดงการจัดโครงสรา้ ง

ทัง้ หมดขององคก์ าร ว่าประกอบด้วยหนว่ ยยอ่ ยอะไร มคี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไร หน่วยงานย่อยใดข้ึนกับ
หนว่ ยงานใด

6.2. แผนภมู ิแสดงตัวบุคคล (Personnel Chart) เปน็ แผนภมู ิแสดงตำแหนง่ และ
หน่วยงานยอ่ ย และบอกหน้าทยี่ อ่ ๆ ของแต่ละตำแหน่งไว้ด้วย

9.ผู้เรยี นอภิปรายรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ วา่ ปจั จบุ ันองค์การราชการใช้หลกั การจดั องคก์ ารแบบใด พร้อม
ทั้งใหเ้ หตุผลประกอบให้ชัดเจน

10.ผ้เู รยี นสำรวจการจดั องคก์ ารของหน่วยงานประเภทสมาคม สถาบนั การเงนิ แล้วให้สรปุ
หน่วยงานเหลา่ น้นั ประสบผลสำเร็จอยา่ งไร พร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ

11.ครูบรรยายเรื่องการจดั องค์การใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตามทเี่ ออร์เนสต์ เดล ไดเ้ สนอแนะไวเ้ บ้อื งต้น
3 ขั้นตอน ดังน้ี

1). การกำหนดรายละเอียดของงาน เพ่ือใหอ้ งค์การบรรลุเปา้ หมายที่องค์การไดต้ ง้ั ขนึ้ มา
เพื่อให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์อยา่ งใดอย่างหน่ึง งานตา่ งๆ ขององคก์ ารยอ่ มมมี ากนอ้ ยตา่ งกันตามประเภท
ลกั ษณะ และขนาดขององคก์ าร การแจกแจงรายละเอียดของงานว่ามอี ะไร เป็นสิ่งจำเปน็

14

2). การแบ่งงานให้แตล่ ะคนในองคก์ ารไดร้ ับผิดชอบตามความเหมาะสม และตาม
ความสามารถ

3). การประสานงาน เมอ่ื ไดจ้ ัดแบง่ งานใหแ้ ต่ละฝ่าย แต่ละแผนกแล้ว ข้ันตอ่ ไป คือ การ
ประสานงานระหว่างแผนกต่างๆ เพื่อให้การดำเนินงานเปน็ ไปอย่างราบรนื่ และบรรลุเปา้ หมายอย่างมี
ประสิทธิภาพ

12.ครแู นะนำเพ่มิ เติมให้ผ้เู รียนเขยี นบัญชแี สดงรายรบั -รายจา่ ยในชีวิตประจำวนั เพอื่ สร้างนิสยั
ความพอเพยี งให้แก่ตนเองและครอบครัว

ขัน้ สรปุ และการประยุกต์

13.ครแู ละผู้เรยี นร่วมกนั สรุปเนือ้ หาทเ่ี รยี น

14.ผเู้ รยี นทำกจิ กรรมใบงาน และแบบประเมินผลหลงั เรยี น

15.สรปุ โดยการถาม-ตอบ เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันและประเมนิ ผเู้ รียนตามแบบฟอร์ม

ตอ่ ไปนี้

ชื่อผูเ้ รียน ประสบการณพ์ ืน้ ฐานการเรยี นรู้ วธิ ีการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สื่อและแหลง่ การเรียนรู้
1.หนงั สอื เรียน วิชาการบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ ของสำนักพิมพเ์ อมพันธ์
2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
3.แผ่นใส
4.สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์, PowerPoint
5.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

15

หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอนของผ้สู อน
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนจดั การเรียนรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบัติ
6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึง
ประสงค์

เครอื่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผูเ้ รียน)
4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและ

ผเู้ รียนรว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง

16

2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 %
ขน้ึ ไป)
เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ
3.
ไป) แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มเี กณฑ์ผา่ น และแบบฝึกปฏิบัติ 50%
แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมเี กณฑ์ผ่าน 50%
4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนน
5.
6. กับการประเมนิ ตามสภาพจริง
ขน้ึ อยู่

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผู้เรียนวางแผนการศกึ ษาวชิ าการบริการงานคณุ ภาพในองคก์ าร
2.ทำกจิ กรรมใบงาน และทบทวนเนื้อหา

17

ตอนท่ี 1 ใหเ้ ลือกคำตอบท่ถี ูกต้องทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

1. องคก์ ารทีด่ ำเนนิ การเพอ่ื ผลประโยชน์ทางการคา้ และบรกิ าร โดยผลประโยชนห์ รือกำไรจะตกแกบ่ ุคคล

หรอื กล่มุ บุคคล เปน็ องค์การประเภทใด

ก. องค์การเอกชน ข. องค์การราชการ

ค. องค์การทางสงั คม ง. องค์การปฐมภมู ิ

2. สถาบนั การเงิน โรงงานอตุ สาหกรรม ห้างหุ้นสว่ น จัดเป็นองคก์ ารประเภทใด

ก. องคก์ ารเอกชน ข. องคก์ ารราชการ

ค. องค์การทางสังคม ง. องคก์ ารปฐมภมู ิ

3. สมาคม ชมรม สโมสร จัดเปน็ องคก์ ารประเภทใด

ก. องคก์ ารรปู นัย ข. องคก์ ารอรูปนัย

ค. องค์การเอกชน ง. องค์การการกศุ ล

4. การกำหนดทศิ ทางการดำเนนิ การขององค์การ โดยคอยกำกบั แนวทางปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหอ้ งคก์ าร

ดำเนินงานไดอ้ ย่างชดั เจน หมายถงึ ข้อใด

ก. การจัดองคก์ าร ข. การกำหนดเป้าหมายองคก์ าร

ค. การกำหนดแนวทางปฏิบัติ ง. ลกั ษณะขององค์การทีด่ ี

5. องคก์ ารทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานของรัฐ จัดต้ังเพอ่ื ให้บริการแก่ประชาชน หรือเพอ่ื ความเจริญของประเทศโดย

สว่ นรวม หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ข. เป้าหมายด้านบริการ

ค. เปา้ หมายดา้ นสงั คม ง. เป้าหมายด้านองค์การ

6. องค์การสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปล่ียนไปได้ง่าย ตามความจำเปน็ หมายถึงขอ้ ใด

ก. ประโยชนด์ ้านผ้บู ริหาร ข. ประโยชนด์ า้ นผปู้ ฏบิ ตั ิ

ค. ประโยชนด์ า้ นผ้มู าติดต่อหรือลกู คา้ ง. ประโยชน์ด้านองคก์ าร

7. การมอบอำนาจทาไดง้ า่ ย ขจดั ปัญหาการเกยี่ งกันทำงาน หรือความรับผดิ ชอบ หมายถงึ ข้อใด

ก. ประโยชน์ดา้ นผู้บรหิ าร ข. ประโยชน์ด้านผูป้ ฏิบตั ิ

ค. ประโยชนด์ า้ นผู้มาติดต่อหรือลกู ค้า ง. ประโยชน์ด้านองค์การ

8. ข้อใดถกู ตอ้ งตามคำกลา่ วนี้ “ความสัมพันธ์ตามลาดบั ข้นั ระหวา่ งผ้บู งั คบั บญั ชากบั ผู้ใต้บังคบั บัญชา

เพอื่ ใหท้ ราบวา่ การติดตอ่ สื่อสารมีทางเดนิ อย่างไร”

18

ก. สายการบงั คับบัญชา ข. อำนาจการบงั คบั บัญชา

ค. การกระจายอำนาจ ง. การแบ่งงาน

9. ขอ้ ใดถูกต้อง แผนภูมิแสดงตำแหนง่ และหนว่ ยงานย่อย และบอกหน้าทีย่ อ่ ๆ ของแตล่ ะตำแหน่งไว้

ก. แผนภูมิโครงสรา้ งหลกั ข. แผนภูมภิ าคปฏบิ ตั ิ

ค. แผนภูมิแสดงตวั บคุ คล ง. แผนภมู แิ สดงตำแหนง่ งาน

10. คำว่า Division of Work ตรงกบั ขอ้ ใด

ก. การดำเนนิ งาน ข. การกระจายงาน

ค. การควบคุมงาน ง. การแบ่งงาน

19

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

ปัญหาที่พบ
................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
................................................................................................................................................

20

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 2
รหัส 3001-1001 การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ (3-0-3) สอนครัง้ ที่ 2 (4-6)
ชอื่ หนว่ ย/เร่ือง การเพ่มิ ประสิทธิภาพในองค์การ
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
ความมีประสิทธิผลขององคก์ าร (Organizational Effectiveness) เป็นเรื่องที่สำคญั อย่างย่งิ ตอ่

การวิเคราะห์ และขดั เกลาพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการบรหิ ารงาน ว่ามีประสทิ ธภิ าพมากนอ้ ยเพยี งใด ความมี
ประสทิ ธิผลขององคก์ าร น้ีจะมีข้ึนได้นน้ั ยอ่ มขน้ึ อย่กู ับเง่อื นไขทวี่ ่า องคก์ ารสามารถทำประโยชนจ์ าก
สภาพแวดล้อมจนบรรลุผลสำเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีต้ังไว้ แต่สงิ่ ทีส่ ำคญั ทอี่ ยู่เบอื้ งหลังควบค่กู นั กบั
ประสทิ ธผิ ลก็คอื ความมีประสิทธภิ าพ (Efficiency) หมายถึง การมีสมรรถนะสูง สามารถมีระบบการ
ทำงาน สรา้ งสมทรัพยากรและความมน่ั คงเก็บเกีย่ ว ไว้ภายในเพอ่ื การขยายตวั ต่อไป และเพ่ือเอาไปไวส้ า
หรบั รองรับสถานการณท์ ี่อาจเกดิ วิกฤตการณ์จากภายนอก ไดด้ ว้ ย

ดว้ ยเหตุตามทีก่ ลา่ วมานี้เอง ประสิทธภิ าพขององคก์ ารท่จี ะชีว้ ่าองคก์ ารมีประสิทธิผลจริงหรือไม่
เพยี งใด จึงอยทู่ ีเ่ กณฑ์การวัด คือ การอยรู่ อด ซ่งึ จะเกดิ ขนึ้ ได้ตอ่ เม่ือองคก์ ารต้องสามารถปรับตัวต่อ
สภาวการณแ์ ละ สิง่ ใหมๆ่ ท่ีเกิดขนึ้ และสามารถมีประสทิ ธภิ าพการปฏิบัตงิ านภายในพรอ้ มกันไปด้วย
เสมอ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของการเพม่ิ ประสิทธิภาพในองค์การได้
2. อธิบายข้อแตกต่างของคำว่าประสิทธิผลกับประสทิ ธภิ าพได้
3. บอกปรชั ญาและอดุ มการณก์ ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพในองคก์ ารได้
4. อธิบายวธิ กี ารใชต้ ัวเกณฑ์วดั ประสิทธภิ าพขององคก์ ารได้
5. อธิบายการสร้างองค์การแหง่ คณุ ภาพได้
6. บอกความสำเร็จขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวัตนไ์ ด้
7. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้สำเรจ็

การศกึ ษาสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนใน
เรอื่ ง

7.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 7.6 การประหยัด

21

7.2 ความมวี นิ ยั 7.7 ความสนใจใฝร่ ู
7.3 ความรบั ผิดชอบ 7.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
7.4 ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต 7.9 ความรกั สามัคคี
7.5 ความเชื่อมนั่ ในตนเอง 7.10 ความกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกย่ี วกับหลักการจัดการองคก์ าร การบริหารงานคณุ ภาพและเพม่ิ ผลผลติ การ

จดั การความเส่ยี ง การจดั การความขัดแยง้ การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองค์การ และเพ่มิ ประสิทธิภาพขององค์การตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจัดการความเส่ียง และความขัดแยง้ ในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธ์เพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพการทำงานตามหลักการบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิม่ ผลผลิต
5. ประยุกต์ใชก้ จิ กรรมระบบคุณภาพและเพม่ิ ผลผลิตในการจดั การงานอาชีพ

เนอื้ หาสาระ
1. ความหมายของการเพิ่มประสทิ ธิภาพในองคก์ าร
2. ข้อแตกตา่ งของคำวา่ ประสิทธผิ ลกบั ประสิทธิภาพ
3. ปรชั ญาและอุดมการณก์ ารเพิม่ ประสิทธภิ าพในองค์การ
4. วธิ กี ารใชต้ ัวเกณฑ์วัดประสิทธภิ าพขององคก์ าร
5. การสรา้ งองค์การแห่งคุณภาพ
6. ความสำเร็จขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวตั น์

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน
1.ครูกล่าวว่าความมปี ระสิทธิผลขององคก์ าร (Organizational Effectiveness) เปน็ เรื่องทส่ี ำคัญ
อยา่ งย่งิ ตอ่ การวิเคราะห์ และขดั เกลาพฤตกิ รรมท่ีเกดิ จากการบริหารงาน ว่ามปี ระสิทธภิ าพมากน้อย
เพียงใด ความมีประสทิ ธิผลขององค์การ นจ้ี ะมขี ึน้ ได้นน้ั ย่อมขน้ึ อยูก่ บั เงือ่ นไขทวี่ า่ องค์การสามารถทำ

22

ประโยชนจ์ ากสภาพแวดล้อมจนบรรลุผลสำเร็จ ตามเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้ แตส่ งิ่ ท่ีสำคญั ทอ่ี ยูเ่ บ้ืองหลงั ควบคู่
กันกับประสิทธิผลก็คอื ความมปี ระสิทธิภาพ (Efficiency)

2.ครูแนะนำให้ผูเ้ รยี นศึกษาเน้อื หาเพมิ่ เติมจากสอื่ อินเตอร์เน็ต และนำมาเชอ่ื มโยงกับเนอื้ หาท่ี
เรยี น เพือ่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพในการเรยี นสงู สดุ

ข้ันสอน

3. ครูใชเ้ ทคนิคการบรรยายเพอ่ื อธิบายความหมายของการเพ่มิ ประสิทธภิ าพในองค์การ

(Organization Efficiency) ซ่ึงหมายถึง การเพมิ่ ประสิทธภิ าพขององคก์ าร โดยการเปรียบเทียบ

ทรพั ยากรทีใ่ ชไ้ ปกับผลท่ีไดจ้ ากการทำงานว่าดีขน้ึ อย่างไร แคไ่ หน ในขณะที่กำลงั ทำงานตามเป้าหมาย

ขององคก์ าร โดยหลักการแล้วองคก์ ารควรมีทงั้ ประสทิ ธิผลและประสทิ ธิภาพควบคกู่ ันไป แต่ก็ปรากฏว่า

ได้เห็นบ่อยครัง้ ว่า มีองคก์ ารจำนวนมากท่ีสามารถทำไดเ้ พียงอยา่ งใดอย่างหน่งึ กล่าวคือ องคก์ ารบาง

แห่งอาจทำใหม้ ปี ระสิทธิผลบรรลเุ ป้าหมายได้ แต่กลับมีการใช้จา่ ยทรพั ยากรส้นิ เปลือง ซง่ึ อาจปรากฏใน

รปู แบบตา่ งๆ กนั เช่น การตอ้ งใชว้ ตั ถดุ บิ หรือวัสดุอปุ กรณ์มากเกนิ ไป หรือเกินความจาเป็น และรวมถงึ

การใช้แรงงานคนอย่างสิ้นเปลือง

4.ผูเ้ รยี นบอกขอ้ แตกต่างของคำวา่ ประสิทธิผลกับประสทิ ธิภาพ

- ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) หมายถึง ความสำเร็จในการท่สี ามารถดำเนินกิจการกา้ วหนา้

ไป และสามารถบรรลุเปา้ หมายตา่ งๆ ที่องคก์ ารต้ังไวไ้ ด้

- ประสิทธภิ าพ (Efficiency) หมายถึง การเปรียบเทยี บทรัพยากรทใ่ี ช้ไปกับผลท่ไี ดจ้ ากการ

ทำงานวา่ ดีขนึ้ อย่างไร แคไ่ หน ในขณะท่กี ำลงั ทางานตามเป้าหมายขององค์การ

5.ครูและผู้เรียนอภิปรายเน้ือหาเร่ืองปรัชญาและอุดมการณ์การเพิ่มประสิทธภิ าพในองคก์ าร

สำหรับตัวเกณฑท์ ใี่ ช้ศกึ ษาความมีประสทิ ธภิ าพขององค์การท่ีได้นามาใช้ John P. Campbell

ได้สรปุ ไว้ โดยประกอบดว้ ยตวั เกณฑต์ ่างๆ 30 ตวั เกณฑ์ ดังนี้

1). ประสทิ ธิผลรวม 16). การวางแผนและการกำหนดเปา้ หมาย

2). ผลผลิต 17). ความเห็นท่ีสอดคล้องกนั ของสมาชกิ ต่อเป้าหมาย

3). ประสทิ ธภิ าพ 18). การยอมรบั ในเป้าหมายขององค์การ

4). กำไร 19). การเข้ากนั ไดข้ องบทบาทของสมาชกิ

5). คณุ ภาพ 20). ความสามารถในทางมนษุ ยสมั พันธ์ของผบู้ รหิ าร

6). อุบตั ิเหตุทเี่ กดิ 21). ความสามารถในส่วนงาน

7). การเตบิ โต 22). การบริการข้อมูลและการตดิ ต่อสอื่ สาร

23

8). การขาดงาน 23). ความพรอ้ มในดา้ นตา่ งท่ีมีอยู่

9). การลาออกจากงาน 24). ความสามารถทำประโยชน์จากสภาพแวดลอ้ ม

10). ความพอใจในงาน 25). ทัศนะและการสนับสนนุ จากกลมุ่ ตา่ งๆ ภายนอก

11). แรงจงู ใจ 26). ความมนั่ คง

12). ขวัญและกาลงั ใจ 27). คณุ คา่ ของทรัพยากรดา้ นบุคคล ขององค์การ

13). การควบคมุ 28). การมีส่วนร่วมและการรว่ มแรงรว่ มใจ

14). ความขัดแยง้ และความสามคั คีบุคคล 29). ความตั้งใจและท่มุ เทในด้านการอบรมและ

พฒั นา

15). ความคลอ่ งตัวและการปรบั ตัว 30). การมุ่งความสำเร็จ

6.ครูใช้สอ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายวธิ กี ารใชต้ วั เกณฑ์วัดประสิทธภิ าพขององคก์ าร

สามารถนำมาสรปุ เป็นแนวทางใหญๆ่ สำคัญๆ ดงั นี้

1). เกณฑว์ ัดผลสำเรจ็ ตามเป้าหมาย (The Goal-Attainment Approach)

2). เกณฑก์ ารบริหารประสิทธภิ าพเชิงระบบ (The Systems Approach)

3). เกณฑ์การบรหิ ารประสิทธภิ าพโดยอาศัยกลยุทธ์ตามสภาพแวดลอ้ มเฉพาะส่วน

4). การใช้วิธกี ารแข่งขนั คุณค่า (The Competing-Values Approach) วิธกี ารบริหาร

องคก์ ารให้มปี ระสทิ ธภิ าพสงู วิธหี นึง่ ทถ่ี อื ได้วา่ เป็นวิธีของการประเมนิ ประสิทธิภาพเป็นเชงิ รวม ซึง่ จะ

อาศัยชุดการแขง่ ขัน 3 ชุดดว้ ยกนั คือ

4.1 ชดุ ที่เก่ียวกับโครงสรา้ งองคก์ าร แนวทางทเ่ี น้นโครงสรา้ งองคก์ ารท่ีคล่องตัว

4.2 ชดุ ทเี่ กี่ยวข้องกับทอ่ี งค์การมงุ่ เน้น แนวทางท่ีมุ่งเน้นถึงชีวิตความเป็นอยูท่ ดี่ ี และ

พฒั นาคนทอ่ี ย่ใู นองคก์ าร

4.3 ชดุ ทเ่ี กยี่ วกับหนทางและผลสุดท้าย เป็นแนวทางพิจารณาให้น้าหนกั กบั หนทาง หรือ

กระบวนการทำงานต่างๆ ควบคู่กบั พิจารณาใหน้ ำ้ หนักผลสาเรจ็ ซึ่งเปน็ ผลสุดทา้ ย โดยท้งั 3 ชุด จะ

แสดงออกมาให้เห็นตามภาพขา้ งล่างน้ี

24

7.ครกู ลา่ วว่าการทอี่ งค์การจะไปสคู่ ุณภาพน้ัน จำเปน็ จะตอ้ งปรับองคก์ าร โดยทว่ั ไปนยิ มใช้ 3 วิธี คอื
1). การลดต้นทุน (Cost Reduction)
2). การเพม่ิ ผลผลิตอยา่ งตอ่ เน่อื ง (Continuous Productivity Improvement)
3). การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนอ่ื ง (Continuous Quality Improvement)

8.ผ้เู รยี นบอกนสิ ยั แห่งคณุ ภาพ มี 7 ประการ ซึ่งมีดงั นี้
ประการที่ 1 : ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย
ประการที่ 2 : การทำงานเป็นทมี
ประการที่ 3 : การปรบั ปรุงอย่างต่อเนื่อง
ประการที่ 4 : การม่งุ ที่กระบวนการ
ประการท่ี 5 : การศึกษาและฝกึ อบรม
ประการท่ี 6 : ประกนั คณุ ภาพ
ประการที่ 7 : การส่งเสริมใหพ้ นกั งานมสี ว่ นร่วม

9.ครใู ช้สือ่ Power Point อธิบายกลยุทธก์ ารบริหารเชงิ คุณภาพ ซ่งึ มีดังน้ี
1). วงจร PDCA หรือวงลอ้ PDCA คือ วธิ ีการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ป็นข้นั ตอน เพ่ือทำให้งานเสร็จ

สมบรู ณอ์ ย่าง ถกู ตอ้ ง มปี ระสิทธภิ าพ และเช่ือถือไว้ใจได้ วงจร PDCA จะประกอบดว้ ย
การเขยี นแผนงาน (Plan)
การนำแผนงานไปปฏิบัติ (Do)
การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน (Check)
การแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง (Act)

โดยแสดงออกเป็นภาพได้ดังนี้

25

หากกระบวนการดำเนนิ งานท้งั 4 ขน้ั ตอนเปน็ ไปในลกั ษณะต่อเน่อื ง และมีประสทิ ธิภาพ ย่อมทำ
ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานต่างๆ ขององค์การมคี ุณภาพ และบรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไวท้ ุกประการ เช่น เมอ่ื ฝ่าย
บรหิ ารกำหนดนโยบายและเป้าหมายการดำเนนิ การ ฝา่ ยปฏิบตั ติ อบสนองด้วยการใชว้ งจร PDCA ในการ
ปฏิบตั งิ าน โดยจะแสดงออกมาเปน็ ภาพได้ดงั นี

2). ระบบ 5 ส หรือ 5 S เปน็ ระบบการบรหิ ารงานท่มี แี นวทางปฏบิ ัติ 5 อย่าง โดยเน้นให้
พนกั งานกระทำด้วยตนเองอย่างตอ่ เนอื่ ง จนกลายเป็นสว่ นหนึ่งของการทำงาน และชีวิตประจำวัน ซ่งึ
เปน็ พื้นฐานในการสรา้ งวินยั ของคนไดเ้ ป็นอย่างดี ระบบ 5 ส มาจากภาษาญี่ปนุ่ คือ

2.1. SEIRI (เซริ) สะสาง SORT
2.2. SEITON (เซตง) สะดวก SYSTEMISE
2.3. SEISO (เซโซ) สะอาด SWEEP

26

2.4. SEIKETSU (เซเคทซุ) สขุ ลักษณะ SUSTAIN
2.5. SHITSUKE (ชิทซุเกะ) สร้างนิสัย SELF DISCIPLINE

โดยสามารถแสดงออกมาเปน็ ภาพไดด้ งั นี้

3). กลมุ่ ระบบ QCC (Quality Control Circle : QCC) หลกั การของกลมุ่ กจิ กรรม QCC
3.1. ทกุ คนในกลมุ่ มีสว่ นร่วมในการแกไ้ ขปัญหาและปรับปรุงงาน
3.2. การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นไปตามอิสระ โดยนาเครอ่ื งมือการแก้ปัญหามาใช้
3.3. มกี ารควบคุมและตดิ ตาม ตลอดจนดำเนนิ การปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่ือง ขนั้ ตอนการ

จัดทำกลมุ่ กิจกรรม QCC

27

4). ระบบการปรบั รื้อ (Re-engineering) เป็นเทคนิคที่เน้นการปรบั เปลย่ี นวธิ ีการทำงานใหม่
แทนวธิ กี ารทำงานเกา่ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพความเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขนึ้ เพอ่ื วตั ถุประสงค์ คอื ลด
ค่าใช้จ่าย เพมิ่ ประสิทธิภาพของงาน และบรกิ ารรวดเรว็ ทนั ความต้องการของลกู ค้า ด้วยการใชเ้ ทคนคิ
หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ และการมวี สิ ยั ทัศน์ทก่ี วา้ งไกล นิยมใชใ้ นธรุ กิจที่มกี ารผลิตหรอื การบริการมากๆ
และต้องการความรวดเรว็ และประหยดั เวลา

5). ระบบ TQM (Total Quality Management) เปน็ ระบบการบรหิ ารคุณภาพทว่ั ทง้ั
องคก์ าร ได้ววิ ฒั นาการขน้ึ ในประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือปี ค.ศ. 1980 เพอื่ ใหท้ กุ คนมีสว่ นรว่ มกันบรหิ าร
องคก์ าร และสามารถแกป้ ญั หาการทำงานทเี่ กีย่ วข้องกับปจั จยั สาคัญ 5 ประการ คือ

คุณภาพ (Quality)
ต้นทุน (Cost)
การสง่ มอบ (Delivery)
ความปลอดภัย (Safety)
ขวัญกาลังใจ (Morale)
ระบบ TQM มีคณุ ลักษณะที่สาคัญ 7 ประการ คือ
5.1. ทกุ คนมีส่วนร่วม ต้งั แตป่ ระธานบริษัทลงมาจนถึงพนกั งานระดบั ล่าง
5.2. มีการปฏิบัตใิ นทุกแผนกงาน ไม่เฉพาะแตใ่ นสายงานการผลิตเพียงอยา่ งเดยี วเทา่ นั้น
5.3. มีการปฏิบตั ิในทกุ ๆ ขัน้ ตอนของการทำธุรกิจ
5.4. สง่ เสรมิ ใหม้ ีความใส่ใจปรับปรงุ มาตรฐานการทางานในส่วนอื่นๆ ทว่ั ทงั้ บริษัทเพือ่ ให้
วงลอ้ PDCA หมุนไดไ้ ม่หยดุ ในกจิ กรรมการทำงาน

28

5.5. ควบคมุ และปรบั ปรงุ QCDSM คอื Quality, Cost, Delivery, Safety และ Morale
5.6. ใหค้ วามสำคัญตอ่ ปรัชญา และวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาแบบควบคุมคุณภาพ
5.7. ใชป้ ระโยชน์จากเครือ่ งมือและวิธปี ฏิบตั แิ บบควบคมุ คุณภาพ

10.ผู้เรียนรวบรวมประเดน็ ข่าวการบรหิ ารเชงิ คณุ ภาพของระบบ QCC และระบบ TQM พรอ้ ม
อธิบายเหตผุ ลวา่ มหี ลักเกณฑ์ในการพิจารณาความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร

11.ผเู้ รยี นอภิปราย ว่าระบบ 5 ส สามารถนำมาใชใ้ นการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในองคก์ ารได้อยา่ งไร
และเพราะเหตุใด

12.ครแู ละผู้เรียนอภปิ รายเรอ่ื งความสำเรจ็ ขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวตั น์

13.ครูสอนเพ่ิมเตมิ เกยี่ วกับการทำหนา้ ทเี่ ป็นพลเมืองดีของสังคมไทย รจู้ กั เออ้ื เฟ้ือเผื่อแผต่ อ่ ผอู้ ืน่

สรุปและการประยุกต์
14.ครูและผู้เรยี นช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียน

15.ผเู้ รยี นทำกิจกรรมใบงาน แบบฝึกหัดและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
16.ผูเ้ รยี นวเิ คราะห์เนอ้ื หาการเรียนการสอนและหาข้อสรุปเปน็ ความคดิ รวบยอดเพือ่ นำไป
ประยุกต์ใช้ตอ่ ไป พร้อมขอ้ เสนอแนะตนเอง
17.ประเมนิ ธรรมชาติของผู้เรียน

ชอ่ื ผูเ้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น วิธีการเรียนรู้
ความสนใจ สตปิ ญั ญา วุฒิภาวะ

1.

2.

3.

29

ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
1.หนังสือเรียน วิชาการบรหิ ารงานคุณภาพในองค์การ ของสำนกั พมิ พเ์ อมพันธ์
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์, PowerPoint
5.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
6.แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

หลกั ฐาน
1.บันทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชอื่
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏิบัติ
6. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผู้เรียน)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน

30

5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและ

ผู้เรยี นร่วมกนั ประเมิน
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 %
ข้ึนไป)
3. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ
ไป)
เกณฑก์ ารประเมนิ มีเกณฑ์ 4 ระดับ คอื 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควร
ปรับปรงุ
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ แบบฝึกปฏบิ ัติผ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนน
ขึ้นอยกู่ ับการประเมินตามสภาพจริง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.แนะนำให้ผู้เรียนอา่ นทบทวนเนอื้ หาเพมิ่ เติม
2.ทำกิจกรรมใบงาน และแบบฝึกหดั

31

ตอนท่ี 1 ใหเ้ ลือกคำตอบท่ถี กู ตอ้ งทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดกล่าวถึงคำวา่ ประสทิ ธิผลไดถ้ ูกตอ้ ง

ก. ความสำเรจ็ ในความสามารถใชท้ รพั ยากรไดอ้ ย่างเต็มท่ี

ข. ความสำเร็จในความสามารถดำเนินงานกจิ การให้บรรลเุ ป้าหมายทก่ี ำหนดไว้

ค. การเปรียบเทียบการใช้ทรัพยากรกับผลของงานที่ทำอยปู่ จั จบุ ัน

ง. การเปรยี บเทียบความสำเรจ็ ในการใช้ทรัพยากร กับผลสำเรจ็ ของงานตามเป้าหมายขององค์การ

2. ความมีประสทิ ธภิ าพขององค์การแบบดัง้ เดิม ยังคงขาดการวเิ คราะหท์ ีไ่ ม่ลึกซง้ึ เพียงพอ โดยขาดการ

ประมาณการในเร่ืองใด

ก. ความสำเรจ็ ในเชิงปรมิ าณ ข. ความสำเร็จในเชงิ คุณภาพ

ค. เปา้ หมายของระยะเวลา ง. เป้าหมายของการแขง่ ขนั

3. ตวั เกณฑว์ ัดประสิทธิภาพขององค์การในข้อใด ท่ีผู้บริหารนิยมนาไปใช้ในการบริหารองคก์ าร

ก. เกณฑก์ ารบริหารประสิทธิภาพเชิงระบบ

ข. เกณฑว์ ดั ผลสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย

ค. เกณฑ์การบรหิ ารประสิทธิภาพตามสภาพแวดลอ้ ม

ง. เกณฑ์ใชว้ ิธกี ารแขง่ ขนั คุณคา่

4. ระบบ TQM มีววิ ัฒนาการจากประเทศใด

ก. อังกฤษ ข. ญี่ปนุ่

ค. สวีเดน ง. สหรฐั อเมริกา

5. ระบบ TQM เรียกชอ่ื เตม็ ว่าอะไร

ก. ระบบบรหิ ารคณุ ภาพภายในองคก์ าร

ข. ระบบการปรบั รือ้ องคก์ าร

ค. ระบบบรหิ ารคุณภาพทวั่ ทั้งองคก์ าร

ง. ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001

6. ระบบท่ีเปน็ พื้นฐานในการสรา้ งวินัยในองคก์ าร โดยใหพ้ นักงานกระทาดว้ ยตนเอง คอื ระบบใด

ก. ระบบ 5 ส ข. ระบบ TQM

ค. กลมุ่ QCC ง. วงจร PDCA

32

7. กลมุ่ ระบบ QCC เป็นกิจกรรมท่พี นักงานร่วมมอื กันทางานในองคก์ าร โดยวิธีการทำงานจะยึดหลักการ

ของระบบบริหารแบบใด

ก. ระบบ TQM ข. ระบบ 5 ส

ค. วงจร PDCA ง. ระบบ ISO 9000

8. การสรา้ งนิสัยแหง่ คณุ ภาพให้บคุ ลากรในองค์การ เพ่ือประสิทธภิ าพขององคก์ าร นิสยั แห่งคุณภาพ

ประการที่ 6 คอื อะไร

ก. การทำงานเป็นทีม ข. การมุ่งท่ีกระบวนการ

ค. การศกึ ษาและฝกึ อบรม ง. การประกันคุณภาพ

9. วงจร PDCA องคป์ ระกอบของคา A (Act) คืออะไร

ก. การนำแผนไปปฏบิ ัติ ข. การแก้ไขขอ้ บกพรอ่ ง

ค. การตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน ง. การเขียนแผนงาน

10. ความสำเร็จขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวัตน์ เป็นผลสำเร็จที่องคก์ ารจะตอ้ งปรบั ตวั เองให้สอดคล้อง

เงอื่ นไขใหม่ๆ คอื อะไร

ก. สภาพแวดลอ้ ม ข. เทคโนโลยี

ค. การคา้ ระหว่างประเทศ ง. มนษุ ยสมั พันธ์

33

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 3 34
รหสั 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองค์การ (3-0-3)
ช่ือหนว่ ย/เรอ่ื ง วัฒนธรรมองค์การ หน่วยที่ 3
สอนคร้ังท่ี 3 (7-9)

จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั

เมื่ออารยธรรมเจริญขน้ึ มนษุ ยไ์ ด้รวมกลุ่มเปน็ สงั คมท่ีมขี นาดใหญ่และซับซ้อนขึน้ มาตามลำดับโดย

มพี ัฒนาการจากครอบครัวเปน็ หม่บู า้ น หม่บู า้ นเป็นเมอื ง เมืองเป็นรฐั และรฐั เปน็ อาณาจักรสง่ ผลให้

ปรมิ าณและความซบั ซ้อนของงานมีมากขนึ้ จนบคุ คลเพียงคนเดียวหรือกลุ่มเดยี วหรอื กลุ่มเลก็ ๆ ไม่

สามารถปฏิบตั ิได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ มนุษยจ์ งึ ต้องมีการจดั แบ่งลำดับช้นั และมกี ารแบง่ งานกันทำ

เพื่อใหก้ ารดำรงชีพสามารถดำเนนิ ไปอย่างสะดวกกว่าในอดีต การแบ่งงานกนั ทำสง่ ผลใหค้ วามสามารถใน

การผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารขยายตัวมากขนึ้ ทั้งในดา้ นปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนระยะเวลาในการ

ตอบสนองความต้องการทีส่ ัน้ ลง นอกจากนี้งานหลายประเภทท่ีสามารถกระทำไดโ้ ดยอาศัยการร่วมแรง

รว่ มใจและการจดั การทม่ี ีประสิทธิภาพ เชน่ การสร้างโครงสร้างขนาดใหญ่ การชลประทาน การสร้าง

นวัตกรรมทางเทคโนโลยขี ้นั สูง เปน็ ตน้

จากทก่ี ล่าวมาข้างต้นก็จะมีลักษณะเหมือนกับวฒั นธรรมขององค์การ ซงึ่ จัดเป็นสังคมหนงึ่ เชน่ กนั

ที่มวี ฒั นธรรมอย่างเหนียวแน่นสำหรบั สมาชกิ ในกลุม่ น้นั ๆ ซ่งึ จะแตกตา่ งกันออกไปแตล่ ะองค์การนนั้ ๆ

แตส่ ง่ิ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กัน คือ

การมเี อกลกั ษณะความเป็นวฒั นธรรมขององคก์ ารนนั้ ๆ

แนวคดิ วัฒนธรรมองคก์ าร องค์ประกอบองค์การ

คุณลกั ษณะวฒั นธรรมองคก์ าร การส่งเสริมวฒั นธรรมองค์การ

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. บอกความหมายวัฒนธรรมองคก์ ารได้

2. บอกแนวคิดวัฒนธรรมองคก์ ารได้

3. อธิบายองค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การได้

4. บอกคณุ ลักษณะวัฒนธรรมองค์การได้

5. บอกระดับวฒั นธรรมขององค์การได้

6. อธิบายการส่งเสริมวฒั นธรรมองคก์ ารได้

7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูส้ ำเร็จการศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครูสามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรอ่ื ง

35

7.1 ความมมี นษุ ยสมั พันธ์ 7.6 การประหยัด
7.2 ความมีวินัย 7.7 ความสนใจใฝ่รู้
7.3 ความรบั ผิดชอบ 7.8 การละเว้นสงิ่ เสพติดและการพนนั
7.4 ความซือ่ สัตย์สุจริต 7.9 ความรักสามัคคี
7.5 ความเชือ่ ม่นั ในตนเอง 7.10 ความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลกั การจัดการองคก์ าร การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลิต การ

จัดการความเสยี่ ง การจัดการความขัดแย้ง การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจดั การองค์การ และเพม่ิ ประสิทธิภาพขององคก์ ารตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจัดการความเสีย่ ง และความขัดแยง้ ในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธเ์ พ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพการทำงานตามหลกั การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิม่ ผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใช้กจิ กรรมระบบคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชพี

เน้ือหาสาระ
1. ความหมายวัฒนธรรมองค์การ
2. แนวคิดวัฒนธรรมองค์การ
3. องคป์ ระกอบของวัฒนธรรมองค์การ
4. คุณลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ าร
5. ระดับวัฒนธรรมขององคก์ าร
6. การสง่ เสริมวฒั นธรรมองค์การโลว์

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรียน
1.ครูกลา่ ววา่ การแบ่งงานกันทำสง่ ผลให้ความสามารถในการผลิตสินคา้ และบริการขยายตัวมากข้นึ

ทัง้ ในดา้ นปรมิ าณและคุณภาพ ตลอดจนระยะเวลาในการตอบสนองความต้องการที่สั้นลง นอกจากนงี้ าน
หลายประเภทท่สี ามารถกระทำไดโ้ ดยอาศัยการร่วมแรงรว่ มใจและการจดั การทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ เช่น การ
สร้างโครงสรา้ งขนาดใหญ่ การชลประทาน การสร้างนวตั กรรมทางเทคโนโลยีขน้ั สงู เป็นต้น

2.ผ้เู รียนยกตัวอยา่ งลักษณะทค่ี ล้ายคลึงกนั ในแตล่ ะองคก์ าร

36

ขั้นสอน
3.ครูใช้เทคนคิ การบรรยยายเพ่ืออธิบายความหมายของวัฒนธรรม (Culture) โดยในมมุ มองของ
นกั วชิ าการ ได้ให้ความหมายได้ดังน้ี

ส่ิงทที่ ำให้เจรญิ งอกงามแกห่ มูค่ ณะ
วถิ ีชวี ติ ของหม่คู ณะ
ลกั ษณะที่แสดงถงึ ความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ความกลมเกลยี ว
ก้าวหน้าของชาติ และศลี ธรรมอันดขี องประชาชน
พฤติกรรมและสิง่ ท่ีคนในหมู่คณะสร้างข้นึ ด้วยการเรยี นรซู้ ่ึงกันและกนั และร่วมใช้ใน หมู่พวก
ของตน
ถ้าจะแปลตามรูปศพั ท์ กจ็ ะได้วา่ ความเจรญิ ความงอกงาม

4.ครูและผเู้ รยี นอภปิ รายเแนวคิดวฒั นธรรมองค์การ โดยวฒั นธรรมองคก์ ารนัน้ ถกู หยงั่ รากลกึ ใน
อดตี แต่จะถกู กระทบจากปจั จบุ นั และความ คาดหวงั ในอนาคต แนวคดิ ของวฒั นธรรมในองคก์ ารจะมี
รากฐานมากจากมานุษยวิทยา วัฒนธรรม ขององค์การจะเป็นการสะสมของความเช่ือ ค่านยิ ม งานพธิ ี
เร่อื งราว ตานาน และภาษาพิเศษท่ี กระตนุ้ ความร้สู กึ ความผูกพันภายในบรรดาสมาชิกในองคก์ าร
บุคคลบางคนจะเรยี กวัฒนธรรมของ องค์การว่าเป็น “กาวทางสังคม” ทีจ่ ะผกู สมาชิกขององคก์ ารเข้า
ด้วยกนั

5.ครูใช้ Power Point ประกอบการสอนเร่อื งองคป์ ระกอบของวฒั นธรรมองคก์ าร ซงึ่ ในแนวคิด
ของดสิ และเคนเนดี ได้เสนอแนะไว้ 5 ประการ คอื

1). สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ
2). ค่านิยม
3). วรี บรุ ุษ
4). ธรรมเนียมปฏิบัติ
6.ครูอธบิ ายคุณลกั ษณะวฒั นธรรมองคก์ าร ซงึ่ รากฐานรองรับของวัฒนธรรมองค์การ คือ ความ
เชอ่ื ที่นำทางค่านยิ มทสี่ ร้างรากฐานทางสังคม ปรชั ญาเพื่อทศิ ทางขององคก์ ารข้ึนมา โดยทัว่ ไปความเช่ือ
จะสะท้อนใหเ้ หน็ บุคลกิ ภาพและเป้าหมายของผกู้ ่อต้ังหรือผ้บู รหิ ารระดับสูง ความเชื่อเหล่านจ้ี ะกำหนด

37

บรรทดั ฐานเพอ่ื พฤติกรรมประจำวันขนึ้ มาภายในองคก์ าร เม่ือคา่ นยิ มและความเช่อื ได้ถกู ยอมรับท่ัวทง้ั
องค์การ และพนกั งานกระทำตามค่านิยม เหล่าน้ีแลว้ องค์การจะมคี วามเขม้ แขง็ องคป์ ระกอบของ
วัฒนธรรมทีเ่ ข้มแข็ง ดังน้ี

7.ครูใชส้ ่อื Power Point แสดงรปู ภาพประกอบการอธบิ ายระดับวฒั นธรรมขององค์การ

8.ครูและผ้เู รยี นอภปิ รายเนือ้ หาเร่ืองการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การ ซึ่งวฒั นธรรมองคก์ ารจะ
กำหนดการกระทำของบคุ คลภายในองคก์ าร ประสิทธิผลขององคก์ ารหน่ึงจะไดร้ บั อทิ ธิพลจากวัฒนธรรม
องคก์ าร ซึง่ มีผลกระทบต่อหน้าทก่ี ารจัดการในการวางแผนการจดั องคก์ าร การจดั บุคคลเขา้ ทำงาน และ
การควบคุม ซงึ่ แสดงได้โดยภาพดังนี้

38

9.ผเู้ รียนสังเกตวัฒนธรรมองคก์ ารที่ตนเองสังกัดอยู่ หรือเพื่อนรว่ มงาน โดยใหย้ ก ตัวอยา่ ง
วฒั นธรรมนน้ั ๆ มาด้วย 3 ประเภท

10.ผู้เรียนอภปิ รายว่าสภาพแวดล้อมจะมีผลกระทบต่อองคก์ ารอยา่ งไร อธิบายพร้อมยกเหตุผล
ประกอบ

11.ครใู ห้ความรู้เพิม่ เติมนอกเหนอื จากเนอื้ หาการเรยี นการสอน เกย่ี วกบั เง่ือนไขตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ในการตดั สินใจและการปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพียงนนั้ ตอ้ งอาศัยทง้ั ความรู้
และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคอื

(1) เงอ่ื นไขความรู้ เป็นความรอบรเู้ กีย่ วกับวิชาการต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง ความรอบคอบที่จะนำ
ความรู้เหลา่ น้ันมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพ่อื การวางแผน และความระมัดระวงั ในข้นั ปฏบิ ัติ

(2) เงื่อนไขคุณธรรม เป็นส่งิ ทีต่ อ้ งเสรมิ สรา้ งให้มีความตระหนกั ในคุณธรรม มคี วามซอื่ สตั ยส์ ุจริต
และมีความอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชวี ิต

39

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์

12.ครูและผูเ้ รยี นช่วยกนั สรปุ เน้ือหาทเี่ รียน

13.ผเู้ รียนทำใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

14.ประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอร์มต่อไปนี้

แบบประเมนิ ประสบการณ์พื้นฐาน

ชอ่ื ผู้เรียน ประสบการณพ์ ้นื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนังสอื เรยี น วชิ าการบริหารงานคุณภาพในองค์การ ของสำนักพิมพ์เอมพนั ธ์
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ , PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
7.แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

หลกั ฐาน
1.บนั ทึกการสอน
2.ใบเช็ครายช่อื

40

3.แผนจดั การเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
6. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เครอ่ื งมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏิบตั ิ
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและ
ผู้เรียนร่วมกนั ประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 %

ขึน้ ไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึน

ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมีเกณฑ์ผ่าน 50%

41

6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนน
ขึ้นอยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทำกิจกรรมใบงาน
2.อา่ นและทบทวนบทเรยี น

42

ตอนท่ี 1 ใหเ้ ลอื กคำตอบท่ีถูกตอ้ งที่สดุ เพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดกล่าวถงึ วัฒนธรรมไดถ้ กู ตอ้ ง

ก. คา่ นิยมรว่ มของพนักงานในองค์การ

ข. วถิ ีชีวติ ของหมคู่ ณะ

ค. ค่านิยม งานพธิ ี เร่อื งราวท่ีกระตุน้ ความรู้สกึ ความผูกพนั ในบรรดาสมาชิกในองค์การ

ง. สมมตฐิ าน ความเชอื่ และบรรทดั ฐานร่วมกนั ทผี่ กู พันสมาชกิ ในองคก์ าร

2. วฒั นธรรมองค์การเรยี กอีกอย่างหนง่ึ วา่ อย่างไร

ก. ความเชอ่ื ทางสงั คม ข. ค่านิยมทางสงั คม

ค. กาวทางสังคม ง. วฒั นธรรมทางสงั คม

3. องค์การท่ีมคี วามเข้มแข็งจะมอี งค์ประกอบตามขอ้ ใด

ก. การมีส่วนรว่ มของพนกั งานในองคก์ าร ข. สภาพแวดล้อมทางธรุ กิจทเ่ี หมาะสม

ค. เครอื ข่ายวัฒนธรรมทเ่ี ข้มแข็ง ง. ค่านิยมทย่ี ึดถอื ปฏิบตั ิ

4. ขอ้ ใดหมายถงึ องคป์ ระกอบของวฒั นธรรมทเ่ี ปน็ แกน

ก. คา่ นยิ มหรือประเพณี ข. ประเพณีหรือความเชอ่ื

ค. ความเชือ่ หรอื วีรบรุ ุ ษ ง. ค่านิยมหรือความเชอื่

5. โดยทั่วไปแลว้ วัฒนธรรมองค์การจะแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือข้อใด

ก. วฒั นธรรมพืน้ ฐานกับวฒั นธรรมประยุกต์

ข. วัฒนธรรมทสี่ ังเกตไดก้ ับวัฒนธรรมประเพณี

ค. วัฒนธรรมทส่ี งั เกตไดแ้ ละวัฒนธรรมที่เปน็ แกน

ง. วัฒนธรรมที่เป็นแกนกบั วัฒนธรรมพ้นื ฐาน

6. องค์ประกอบของวัฒนธรรมองคก์ ารตามแนวคิดของดสิ และเคนเนดี ได้เสนอแนวคิดไว้ตามขอ้ ใด

ก. สภาพแวดลอ้ มทางธุรกจิ ข. วฒั นธรรม-ประเพณี

ค. สญั ลักษณ์ ง. ค่านยิ มแกน

7. เม่ือคา่ นิยมและความเชอื่ ได้ถกู ยอมรบั ท่ัวท้งั องค์การ และพนักงานกระทำตามคา่ นิยมเหลา่ นีแ้ ลว้ จะมี

ผลตามขอ้ ใด

ก. สังคมจะมีความสมบรู ณ์ ข. องค์การจะมคี วามเขม้ แขง็

ค. บุคลากรจงรักภกั ดอี งคก์ าร ง. สรา้ งบรรทดั ฐานแก่องค์การ

43

8. วัฒนธรรมท่สี ังเกตได้ หมายถึงขอ้ ใด

ก. ค่านิยม-วฒั นธรรมองค์การ

ข. ความเช่ือ-ธรรมเนียมปฏบิ ตั ิ

ค. ส่งิ ที่บุคคลมองเหน็ และไดย้ ิน หรอื วถิ ีทางของบุคคลในองค์การ

ง. ความชดั เจนด้านนโยบายและเปา้ หมาย

9. วฒั นธรรมขององค์การจะถกู ถ่ายทอดผ่านเครอื ขา่ ยทีไ่ มเ่ ปน็ ทางการ เร่อื งราวของอุดมการณ์ อุดมคติ

และวรี บุรุษขององคก์ ารก่อนหนา้ นจี้ ะถกู รบั ร้รู ว่ มกันทั้งองค์การ และระหว่างรนุ่ ของสมาชกิ ในองคก์ าร

หมายถึงขอ้ ใด

ก. ค่านิยม ข. วีรบุรุษ

ค. ธรรมเนียมปฏิบัติ ง. เครือข่ายทางวัฒนธรรม

10. ความเช่ือท่นี ำทางค่านยิ มที่สร้างรากฐานทางสงั คม ปรชั ญา เพ่อื ทิศทางขององค์การ โดยทวั่ ไปความ

เชือ่ จะสะท้อนใหเ้ หน็ บุคลกิ ภาพและเป้าหมายของผู้ก่อตัง้ หรอื ผบู้ ริหารระดับสงู เป็นความหมายตรงกบั

ข้อใด

ก. คุณลักษณะของวฒั นธรรมองคก์ าร ข. รากฐานทางวฒั นธรรมองคก์ าร

ค. เครอื ข่ายทางวฒั นธรรมองค์การ ง. ความเช่ือที่เปน็ บรรทดั ฐานในองค์การ

44

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

\

45

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการท่ี 4 หนว่ ยที่ 4
รหัส 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองค์การ (3-0-3) สอนครง้ั ที่ 4 (10-12)
ช่อื หน่วย/เรอ่ื ง พฤติกรรมการทำงาน
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
ในการทำงานของทุกคนคงเคยไดย้ ินประโยค “คา่ ของคน อยทู่ ผ่ี ลงาน” คนไหนท่ที ำงานดีทำงาน

เก่ง
เราจะรู้ถึงคณุ ค่าของเขาท่มี ีตอ่ องคก์ าร ต่อผ้บู งั คับบัญชา ตอ่ หนว่ ยงาน ตอ่ เพือ่ นรว่ มงาน ผลงานเขาเปน็
เครอื่ งบ่งชวี้ ่าเขามคี ่าแค่ไหน อยา่ งไร ความรสู้ กึ ที่เหน็ คา่ ของเขานั้นควรเกดิ ข้ึนตลอดเวลาทเี่ ขาทำงาน ซึ่ง
ก็ขึ้นอย่กู บั พฤติกรรมการทำงานในองค์การของแตล่ ะคนแตกตา่ งกันออกไปตามพฤตกิ รรมในองคก์ ารแต่
ละหนา้ ที่ ความพงึ พอใจในการทำงาน องคป์ ระกอบที่มีผลตอ่ ความพงึ พอใจในการทำงาน การสำรวจเพอื่
การวินจิ ฉัยงาน วิธกี ารเพมิ่ ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการทำงาน และงานวจิ ยั เกี่ยวกบั ความพงึ พอใจในการ
ทำงาน ส่ิงเหล่านจี้ ะส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการทำงานในองค์การนน้ั ๆ โดยตรง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายพฤตกิ รรมในองคก์ ารได้
2. อธิบายความพงึ พอใจในการทำงานได้
3. อธบิ ายความหมายของความพงึ พอใจในการทำงานได้
4. บอกความสำคญั ของความพงึ พอใจในการทำงานได้
5. อธิบายองค์ประกอบทมี่ ผี ลต่อความพงึ พอใจในการทำงานได้
6. อธบิ ายวธิ ีการเพิม่ ปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการทำงานได้
7. อธิบายการสำรวจเพ่อื การวนิ จิ ฉัยงานได้
8. บอกงานวจิ ยั เก่ียวกบั ความพงึ พอใจในการทำงานได้
9.มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้สู ำเรจ็ การศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเร่ือง
9.1 ความมีมนุษยสัมพันธ์
9.2 ความมวี ินัย
9.3 ความรบั ผิดชอบ
9.4 ความซอื่ สัตย์สจุ ริต


Click to View FlipBook Version