The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางดวงสมร ฝุ่นเงิน, 2021-04-02 00:10:59

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

46

9.5 ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง
9.6 การประหยดั
9.7 ความสนใจใฝร่ ู้
9.8 การละเว้นสง่ิ เสพตดิ และการพนัน
9.9 ความรักสามัคคี
9.10 ความกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลกั การจัดการองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต การ

จัดการความเสี่ยง การจัดการความขดั แยง้ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจดั การองคก์ าร และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพขององค์การตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสีย่ ง และความขัดแย้งในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธเ์ พอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพการทำงานตามหลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใชก้ ิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพมิ่ ผลผลิตในการจัดการงานอาชพี

เน้อื หาสาระ
1. พฤติกรรมในองคก์ าร
2. ความพงึ พอใจในการทำงาน
3. ความหมายของความพงึ พอใจในการทำงาน
4. ความสำคัญของความพงึ พอใจในการทำงาน
5. องค์ประกอบทม่ี ผี ลต่อความพึงพอใจในการทำงาน
6. วธิ กี ารเพิ่มปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการทำงาน
7. การสำรวจเพ่อื การวนิ จิ ฉยั งาน
8. งานวิจยั เกยี่ วกับความพึงพอใจในการทำงาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนำเข้าส่บู ทเรยี น
1.ครูและผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ ขอ้ ความทีว่ ่า “ค่าของคน อย่ทู ี่ผลงาน”
2.ผู้เรียนวเิ คราะห์พฤติกรรมการทำงานของตน

47

3.ครูกล่าวว่าองค์การจะสร้างรูปแบบของการดำเนินงาน ตลอดจนการปฏิบัติงานต่างๆ ข้ึน เพ่ือ
สนองตอบการเปลย่ี นแปลงของส่งิ แวดลอ้ ม และสภาวะทเี่ กดิ จากการดำเนนิ งานของบุคคลและของกลมุ่ หรือ
อาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า รูปแบบเฉพาะในการดำเนินงานท่ีองค์การสร้างข้ึนนั้น เป็นผลมาจากการปรับ
องค์ประกอบต่างๆ ให้สอดคล้องกันและเข้ากันได้ ระหว่างองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับบุคคล เช่น
ความสามารถ ความต้องการ เปน็ ต้น

ขนั้ สอน
4.ครูใชส้ ่อื Power Point อธิบายพฤตกิ รรมองค์การ ซง่ึ มีการศกึ ษา 3 ระดบั คือ

พฤติกรรมบคุ คล (Individual Behavior) มีองคป์ ระกอบหลายอย่างท่เี กี่ยวข้องกับ
พฤติกรรมของบคุ คล ซงึ่ จะแบ่งได้เปน็ 4 องค์ประกอบ คือ

- การรับรู้ (Perception)
- ทัศนคติ (Attitudes)
- ค่านยิ ม (Values)
- การจงู ใจ (Motivation)

พฤติกรรมกลมุ่ (Group Behavior)

48

พฤติกรรมองค์การ (Organization Behavior)

รูปแบบของพฤติกรรมในระดบั ตา่ งๆ ทง้ั สามระดับท่กี ล่าวมาแล้ว ตา่ งก็มีความสัมพนั ธ์และมผี ลซึ่งกนั และ
กัน ซึ่งสามารถจะเขียนเป็นแผนภมู ไิ ดด้ งั นี้

49

5.ครูใชเ้ ทคนิคการบรรยายเพื่ออธิบายความพึงพอใจในการทำงาน วา่ เปน็ เรื่องทไ่ี ดร้ ับความสนใจ
มาก ทง้ั จากนกั จติ วทิ ยา นักวิชาการและนักบรหิ ารงาน ผูป้ ฏิบตั ทิ มี่ ีความพึงพอใจในการทำงาน ย่อม
ปฏบิ ตั งิ านได้ประสบผลสาเร็จดีมากกวา่ ผู้ที่ไม่พึงพอใจในการปฏบิ ัติงาน ดังนน้ั ในการบริหารงานจำเป็น
จะตอ้ งศึกษาให้เข้าใจเพราะความพงึ พอใจในการทำงาน เปน็ กระบวนการทางจิตวิทยาที่ไมส่ ามารถ
มองเห็นและสงั เกตได้ เพยี งอาศยั การคาดคะเนและสงั เกตพฤติกรรมเทา่ นั้น

6. ครบู อกความหมายความพงึ พอใจในการทำงาน หมายถงึ สภาวะของอารมณ์ ความรสู้ กึ และ
เจตคตขิ องบุคคลทีม่ ีตอ่ งานทเี่ ขาปฏิบตั ิอยู่ โดยแสดงออกมาเปน็ ความสนใจ กระตือรอื รน้ เตม็ ใจและ

50

สนกุ รา่ เรงิ เป็นตน้ ดงั นน้ั เมือ่ ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจในงานทที่ ำ เขาก็จะมคี วามพยายาม
อุตสาหะ มคี วามสขุ ในการทำงาน มคี วามรับผิดชอบ และมุ่งม่นั จนงานนนั้ สำเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์

7.ผู้เรยี นบอกความสำคัญของความพงึ พอใจในการทำงาน โดยแยกในประเด็นไดด้ งั นี้
1). เสริมสร้างบรรยากาศและความตัง้ ใจในการปฏิบัติงาน
2). เสริมสรา้ งความเป็นอสิ ระในการทำงาน
3). ส่งเสริมการบรหิ ารแบบประชาธปิ ไตย
4). ส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน

8.ครูใช้ส่ือ Power Point เพ่อื อธบิ ายองค์ประกอบทมี่ ผี ลตอ่ ความพึงพอใจในการทำงาน
องค์ประกอบพ้นื ฐานท่สี ำคัญ ที่มีผลตอ่ ความพึงพอใจมดี ังตอ่ ไปนี้

1). งาน (Job)
2). ค่าจ้าง (Wage) คา่ จ้างแรงงาน
3). โอกาสทไี่ ดเ้ ลือ่ นตำแหน่ง (Promotion)
4). การยอมรับ (Recognition)
5). สภาพการทำงาน (Working Condition)
6). ผลประโยชน์ (Benefit) และสวสั ดกิ าร (Services)
7). หวั หน้างานหรือผบู้ ังคับบญั ชา (Leader)
8). เพอ่ื นร่วมงาน (Co-Workers)
9). องคก์ ารและการจดั การ (Organization and Management)
9.ผู้เรยี นยกตัวอย่างองคป์ ระกอบที่มีผลกระทบตอ่ ความพึงพอใจในการทำงาน โดยแสดงเหตผุ ล
ประกอบอย่างชัดเจน
10.ครแู ละผู้เรยี นอภปิ รายเนื้อหาเรอ่ื งวิธีการเพม่ิ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ซง่ึ มวี ิธีการใหญ่
ทีใ่ ชอ้ ยู่ 3 วธิ ีการ คือ
1). วธิ กี ารบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Managerial Approach)
2). วธิ ีการมนษุ ยสมั พนั ธ์ (Human Relation Approach)
3). วธิ ีการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ (Human Resources Management)
11.ครูแสดงภาพประกอบการอธิบายเรอ่ื งการสำรวจเพอ่ื การวินจิ ฉัยงาน

51

12.ครูและผเู้ รยี นอภปิ รายงานวิจยั เกยี่ วกบั ความพึงพอใจในการทำงาน
13.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในการทำบัญชรี ายรับ-รายจ่าย ซึ่งเปน็ การจดบนั ทึกเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ
เกยี่ วกบั การเงินหรอื บางสว่ นเกี่ยวข้องกับการเงนิ โดยผ่านการวิเคราะห์ จัดประเภทและบันทึกไว้ใน
แบบฟอรม์ ท่กี ำหนด เพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนนิ งานของตนเองหรือครอบครวั ในชว่ ง
ระยะเวลาหนึง่ เป็นวธิ ีชว่ ยตรวจสอบการใชจ้ า่ ยของครอบครวั ว่ามีรายจ่ายสมดุลกับรายรบั และใช้จ่าย
อย่างมเี หตุผลตามความจำเป็น พอเหมาะกับสภาพครอบครวั หรือไม่ หากสามารถปรบั เปล่ียนพฤติกรรม
การบริโภค เพ่ือลดรายจ่ายทไี่ มจ่ ำเป็นเกินตนได้ จะช่วยใหม้ ีเงินเกบ็ ออมเพอื่ เป็นรากฐานสรา้ งภมู คิ ุ้มกันที
ดใี นชวี ติ ได้

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
14.ครูและผ้เู รียนสรุปเน้ือหาที่เรียน
15.ผู้เรียนทำกจิ กรรมใบงาน แบบประเมินผล แบบฝึกหัด และประเมนิ ผเู้ รียนตามแบบฟอร์ม
ดงั ตอ่ ไปนี้

ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณ์พืน้ ฐานการเรยี นรู้ วิธกี ารเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.

52

5.

สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้
1.หนงั สอื เรียน วิชาการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร ของสำนักพมิ พ์เอมพันธ์
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์, PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้

หลักฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์
เครอื่ งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยผ้เู รียน)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน

53

5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและ

ผ้เู รยี นร่วมกันประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50 %
ข้ึนไป)
3. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50% ข้นึ
ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมเี กณฑ์ผา่ น 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนน
ขึน้ อยู่กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครแู นะนำให้ผู้เรยี นอา่ นทบทวนเนื้อหา และทำกิจกรรมใบงาน
2.ผู้เรยี นควรหาข้อมูลเพมิ่ เตมิ จากส่ืออนิ เตอร์เนต็

54

ตอนท่ี 1 ให้เลือกคำตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. องคป์ ระกอบทีส่ ำคญั ของพฤติกรรมบุคคลในองค์การ หมายถงึ ข้อใด

ก. การรับรู้ ข. ความเช่อื

ค. ค่าจ้าง ง. งาน

2. ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบท่ีเกิดจากการแสดงออกของพฤติกรรมกลุ่ม

ก. ประสทิ ธิภาพ – ค่านยิ ม ข. ความพึงพอใจ – การรบั รู้

ค. ประสทิ ธภิ าพ – ความพึงพอใจ ง. การรับรู้ – ประสทิ ธิภาพ

3. พฤติกรรมในองค์การ สว่ นใหญ่จะได้รบั อิทธพิ ลมาจากข้อใด

ก. ผปู้ ฏบิ ตั ิ ข. ผนู้ ำ

ค. ผบู้ ริโภค ง. ผกู้ ำกับติดตาม

4. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง “สภาวะของอารมณ์ ความร้สู ึกและเจตคตขิ องบุคคลที่มตี อ่ การปฏิบัติงาน”

ก. ความเป็นอสิ ระในการทำงาน ข. ความสำคญั ของการทำงาน

ค. บรรยากาศของการทำงาน ง. ความพึงพอใจในการทำงาน

5. ขอ้ ใดหมายถงึ องคป์ ระกอบพ้ืนฐานทีม่ ีผลตอ่ ความพงึ พอใจในการทำงาน

ก. ความเชือ่ – ความพึงพอใจ ข. คา่ จ้าง – ความเชอ่ื

ค. งาน – ค่าจา้ ง ง. งาน – คา่ นิยม

6. วิธกี ารบริหารแบบวทิ ยาศาสตร์ เปน็ แนวคิดการบรหิ ารของใคร

ก. Tayler ข. Oldman

ค. Hackman ง. Hackman and Tayler

7. แนวการบริหารวิธกี ารมนษุ ยสมั พนั ธ์ สมาชกิ ในองค์การนอกจากมหี น้าที่หลักทต่ี ้องปฏบิ ัติ

ยังมหี นา้ ท่ีรองทต่ี อ้ งปฏบิ ัติ หน้าทร่ี องลงมานี้เรียกอีกอยา่ งหนง่ึ วา่ อะไร

ก. หนา้ ที่ของสงั คม ข. หน้าท่ตี ามประเพณี

ค. หนา้ ทป่ี ระจำ ง. หนา้ ท่ที ่ีไดร้ บั มอบหมาย

8. ขอ้ ใดเป็นวิธกี ารบริหารท่ีเน้นวตั ถปุ ระสงค์ (MBO)

ก. การบรหิ ารเชงิ คุณภาพ ข. การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์

ค. การบรหิ ารแบบวิทยาศาสตร์ ง. การบริหารมนุษยสัมพันธ์

9. การบริหารที่ใช้แนวคิดท่ตี อ้ งการให้ผปู้ ฏิบัตงิ านมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายของงาน

55

เพื่อใหง้ านได้เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ ตรงกบั ข้อใด

ก. การบริหารเชิงคณุ ภาพ ข. การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์

ค. การบริหารแบบวิทยาศาสตร์ ง. การบริหารมนษุ ยสมั พนั ธ์

10. จากผลการวิจยั ความพงึ พอใจในงานของผปู้ ฏิบตั งิ าน ปจั จัยสำคัญอะไรทท่ี าให้เกดิ ความ

พึงพอใจในงาน

ก. เพือ่ นร่วมงาน

ข. สภาพการใช้เทคโนโลยี

ค. บรรยากาศการทางานขององค์การ และสภาพแวดล้อมการทางาน

ง. นวัตกรรมใหมใ่ นองค์การ

56

บันทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

ปัญหาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

57

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการที่ 5 หน่วยท่ี 5
รหัส 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ (3-0-3) สอนครง้ั ท่ี 5 (13-15)
ชอื่ หน่วย/เรือ่ ง การจัดการความเส่ยี ง
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
ความเสยี่ งเปน็ เหตกุ ารณ์ทอี่ าจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ท่ีไม่แนน่ อน และจะสง่ ผลกระทบสร้าง

ความเสยี หาย ความล้มเหลวหรอื ลดโอกาสท่ีจะบรรลคุ วามสำเรจ็ ตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์
ในระดับองค์การ ดังนนั้ จึงจำเป็นต้องมีวธิ กี ารจัดการความเสย่ี งที่เหมาะสม โดยนากระบวนการจดั การ
ความเส่ยี งมาใช้ในองคก์ ารเพ่อื ดำเนินการใหบ้ รรลุเปา้ หมายทว่ี างไว้ เนือ่ งจากการจัดการความเสย่ี งเปน็
การคาดการณ์ในอนาคตอย่างมเี หตุผล มีหลักการ และหาทางลดหรือป้องกันความเสยี หายในการทำงาน
แต่ละขั้นไวล้ ่วงหน้า กรณที ี่พบกับเหตุการณ์ทไ่ี ม่คาดคดิ หรอื โอกาสที่จะประสบปญั หา ท่ไี ม่มีการ
เตรยี มการมากอ่ นนั้นอาจเกิดข้นึ ได้ หากเกดิ วิกฤตน้ันขึน้ กอ็ าจทำใหเ้ กิดความเสียหายตามมาโดยยากที่
จะแกไ้ ข ดังน้นั การนำกระบวนการบรหิ ารความเส่ยี งมาชว่ ยเสริมรว่ มกับการทำงานจะชว่ ยให้ภาระงานท่ี
ปฏิบตั ิการอยู่เป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายความหมาย และประเภทของความเสี่ยงได้
2. แสดงความร้เู ก่ยี วกบั การจัดการความเสี่ยงได้
3. บอกแนวคดิ การจัดการความเสี่ยงได้
4. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการจัดการความเสี่ยงขององค์การเชิงบรู ณาการตามแนวทาง COSO ได้
5. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการจัดการความเสีย่ งตามมาตรฐานของออสเตรเลียและนวิ ซแี ลนด์ได้
6. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั การจัดการความเสี่ยงเชิงบรู ณาการตามกรอบโครงสรา้ งของ Treasury

Board of Canada ได้
7. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล ISO/DIS 31000 ได้
8. แสดงความรู้เกย่ี วกับการจัดการความเสย่ี งตามมาตรฐานของ Bank for International
Settlements (BASEL II) ได้
9. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเรอื่ ง
9.1 ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ 9.7 ความสนใจใฝร่ ู้

58

9.2 ความมวี นิ ัย 9.8 การละเวน้ ส่ิงเสพติดและการพนนั
9.3 ความรับผิดชอบ 9.9 ความรักสามัคคี
9.4 ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ 9.10 ความกตัญญูกตเวที
9.5 ความเชื่อมนั่ ในตนเอง
9.6 การประหยดั

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั หลักการจัดการองคก์ าร การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิม่ ผลผลติ การ

จดั การความเส่ยี ง การจดั การความขัดแยง้ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองค์การ และเพ่มิ ประสทิ ธิภาพขององค์การตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจัดการความเส่ยี ง และความขัดแยง้ ในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธ์เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพการทำงานตามหลกั การบริหารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยุกต์ใช้กิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพ่ิมผลผลติ ในการจดั การงานอาชีพ

เน้ือหาสาระ
1. ความหมาย และประเภทของความเส่ยี ง
2. การจัดการความเสี่ยง
3. แนวคดิ การจัดการความเสย่ี ง
4. การจดั การความเสย่ี งขององค์การเชงิ บรู ณาการตามแนวทาง COSO
5. การจดั การความเสีย่ งตามมาตรฐานของออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์
6. การจดั การความเสี่ยงเชงิ บูรณาการตามกรอบโครงสร้างของ Treasury Board of Canada
7. การจดั การความเสีย่ งตามมาตรฐานสากล ISO/DIS 31000
8 การจดั การความเสยี่ งตามมาตรฐานของ Bank for International Settlements (BASEL II)

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น
1.ครูสนทนากับผู้เรยี นวา่ ความเสย่ี งเป็นเหตุการณ์ท่ีอาจเกดิ ข้ึนภายใต้สถานการณ์ทไี่ มแ่ นน่ อน

และจะสง่ ผลกระทบสร้าง ความเสียหาย ความลม้ เหลวหรอื ลดโอกาสที่จะบรรลุความสำเรจ็ ตอ่ การบรรลุ

59

เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงคใ์ นระดบั องคก์ าร ดังน้ันจึงจำเป็นตอ้ งมีวิธีการจดั การความเสี่ยงทเี่ หมาะสม
โดยนากระบวนการจัดการความเสีย่ งมาใช้ในองค์การเพื่อดำเนินการใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทว่ี างไว้

2.ผเู้ รียนพิจารณาดูวา่ ในชีวิตท่ีผ่านมาของตนเองไดเ้ ผชญิ กับความเสี่ยงในชวี ิตส่วนตวั ความเสีย่ ง
ในการทำงาน และองคก์ ารของตนเคยเผชิญความเสย่ี งอะไรมาบ้าง

3.ผเู้ รียนทำแบบประเมินผลการเรยี นรูก้ อ่ นเรยี น

ขนั้ สอน
4.ครูบอกความหมายของความเสย่ี ง (Risk) หมายถงึ เหตุการณใ์ ดๆ ทอ่ี าจจะเกิดข้นึ ภายใต้
สถานการณท์ ่ี ไม่แนน่ อน และจะมีผลกระทบตอ่ การดำเนินแผนงาน โครงการขององคก์ าร ซึง่ อาจส่งผล
ให้เกดิ ความเสยี หายหรอื ส่งผลให้ไม่บรรลุเปา้ หมายขององคก์ าร ทัง้ ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ และไม่เป็นตัวเงิน หรอื
กอ่ ให้เกิดความล้มเหลวหรอื ลดโอกาสที่จะบรรลเุ ป้าหมายตามภารกจิ และพันธกจิ หลกั ขององคก์ าร เช่น
การเปล่ียนแปลงอัตราดอกเบ้ีย การเปล่ียนแปลงอัตราแลกเปลยี่ น ภยั ธรรมชาติ การทจุ ริต ความเสียหาย
ของระบบส่อื สาร

5.ครูใช้สือ่ Power Point อธิบายประเภทของความเส่ียง แบ่งออกไดด้ ังน้ี
1). ความเสยี่ งทีเ่ ปน็ อุปสรรคหรอื อนั ตราย (Hazard) เปน็ เหตกุ ารณ์ในเชงิ ลบ หรอื เหตุการณ์

ไมด่ ที ี่หากเกดิ ขึน้ แลว้ อาจจะเปน็ อันตรายหรอื สรา้ งความเสยี หายต่อองคก์ าร เชน่ การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี การแข่งขนั ทางการตลาดทงั้ สนิ ค้าและบรกิ าร การเปล่ยี นแปลงนโยบาย กลยทุ ธ์ ศกั ยภาพ
ความสามารถของผบู้ ริหารและพนักงาน

2). ความเสยี่ งท่เี ป็นความไมแ่ น่นอน (Uncertainly) เป็นเหตกุ ารณท์ ที่ ำให้ผลท่ีองค์การได้รับ
จากเหตกุ ารณ์ไมเ่ ป็นไปตามทคี่ าดการณไ์ ว้ หรอื ไมส่ ามารถคาดการณ์เหตกุ ารณ์ลว่ งหน้าไดแ้ นน่ อน อัน
เนอื่ งมาจากสาเหตุตา่ งๆ เชน่ ต้นทนุ ทีเ่ กิดขึ้นจรงิ สงู กว่างบประมาณที่ตง้ั ไว้

3). ความเสยี่ งทีเ่ ป็นโอกาส (Opportunity) เป็นเหตุการณท์ ่ีทำใหอ้ งคก์ ารเสยี โอกาสในการ
แขง่ ขนั การดำเนนิ งานและการเพมิ่ มูลค่าของผู้มีผลประโยชนร์ ่วม เช่น การไม่ส่งเสรมิ หรอื พัฒนาบุคลากร
ให้มีทักษะในการปฏิบตั ิงาน เพอื่ ยกระดับประสทิ ธิภาพขององคก์ าร

6.ครูและผูเ้ รยี นอภิปรายเรื่องการจัดการความเสี่ยง ซึ่งมหี ลายวธิ ี ได้แก่
1). การยอมรบั ความเสีย่ ง องค์การจะยอมรับความเส่ยี งเม่ือเหน็ ว่าไม่คุ้มคา่ ทจ่ี ะควบคุมหรือ

ป้องกนั ความเสีย่ ง

60

2). การลดความเสยี่ งหรือควบคมุ ความเสยี่ ง เป็นการปรับกระบวนการทางานหรือวาง
รูปแบบการทำงานใหม่เพ่อื ลดโอกาสการเกิดเหตุการณค์ วามเสย่ี ง หรอื ลดผลกระทบของ ความเสีย่ งให้
อยู่ในระดบั ทอ่ี งค์การยอมรับได้

3). การกระจายความเส่ยี ง คือ การกระจายหรอื ถ่ายโอนความเสยี่ งไปให้ผอู้ ่ืน
4). การหลีกเลีย่ งความเสี่ยง คือ การจัดการกับความเส่ียงทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อองคก์ าร ถ้า
หากมคี วามเส่ยี งเกดิ ขน้ึ จะเกิดความเสยี หายมาก
7. ครูอธิบายเรอื่ งการจัดการความเสี่ยง โดยใช้ส่ือ Power Point ประกอบ อธบิ ายว่าการจดั การ
ความเส่ยี ง มีโครงสร้างองค์การ กระบวนการ และวัฒนธรรมองคก์ าร ประกอบเขา้ ดว้ ยกันมีลักษณะท่ี
สำคัญ ได้แก่
1). ผสมผสานและเปน็ ส่วนหนึ่งขององค์การ
2). การจดั การความเส่ยี งควรสอดคล้องกบั แผนการดำเนินงานตา่ งๆ ขององค์การ
3). พิจารณาความเสย่ี งทั้งหมด
4). การจดั การความเสี่ยงมคี วามคิดแบบมองไป
5). ได้รับการสนับสนุนและมสี ่วนร่วม
แนวคดิ การจัดการความเสย่ี งมหี ลายวิธี เช่น
1). การจัดการความเสยี่ งขององคก์ ารเชิงบูรณาการตามแนวทาง The Committee of
Sponsoring Organization of the Tread-way Commission (COSO) ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า
2). การจดั การความเส่ยี งตามมาตรฐานของออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ (AS/NZS
4360:2004) ของประเทศออสเตรเลยี
3). การจดั การความเส่ยี งเชงิ บรู ณาการตามกรอบโครงสรา้ งของ Treasury Board of
Canada ของประเทศแคนาดา
4). การจดั การความเส่ียงตามมาตรฐานสากล ISO/DIS 31000 International
Organization For Standardization (ISO)
5). การจัดการความเสีย่ งตามมาตรฐานของ Bank for International Settlements
(BASEL II) ของ Bank for International Settlements (BIS)
8. ครูใช้สอ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายการจัดการความเส่ียงขององค์การเชิงบูรณาการตาม
แนวทาง COSO ซ่ึงมีสาระสำคญั ดงั นี้
-การจัดการความเส่ยี งตามแนวคิดนี้ จะมีสว่ นช่วยองค์การไดด้ งั นี้
1). ชว่ ยกาหนดกลยุทธใ์ หไ้ ปในทศิ ทางเดยี วกบั ระดบั ความเสีย่ งที่ยอมรับได้

61

2). ช่วยใหก้ ารตัดสินใจตอบสนองต่อความเส่ยี งไดด้ ีข้ึน
3). ชว่ ยลดเหตกุ ารณ์อันไม่คาดคิดและความสญู เสียที่เกยี่ วขอ้ งในการปฏบิ ัตงิ าน
4). ชว่ ยเอื้อประโยชน์ตอ่ การตอบสนองความเส่ียงในองคร์ วมให้ดขี ึ้น
5). ชว่ ยสนบั สนนุ การดาเนินงานเชิงรุกในกรณีท่ีเหตุการณน์ นั้ เปน็ โอกาสทางธุรกจิ
6). ชว่ ยในการบรหิ ารเงินทุนใหด้ ขี น้ึ ทงั้ แหล่งทม่ี าและแหลง่ ที่ใชไ้ ปของเงนิ ทุน
-สรุปแนวความคิดพื้นฐานของการจดั การความเสี่ยงตามวธิ ี COSO ไดแ้ ก่
1). เปน็ กระบวนการที่ดาเนินอยู่และกระทำอยา่ งต่อเน่ืองทว่ั ทง้ั องคก์ าร
2). เป็นกระบวนการท่ถี ูกกำหนดขึน้ และนำไปใช้โดยทุกระดบั
3). ถกู ออกแบบมาเพ่อื ระบเุ หตุการณท์ ีอ่ าจจะเกิดและผลกระทบ
4). ใช้ในการกำหนดกลยทุ ธ์
5). ใช้จัดการความเสย่ี งในภาพรวม
6). ใช้บริหารความเสย่ี งที่อาจจะเกิดให้อยใู่ นระดับทย่ี อมรับได้
7). ใหค้ วามเชอื่ ม่ันอยา่ งมีผลต่อฝ่ายจัดการและคณะกรรมการวา่ องค์การจะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
และเป็นวิถที างท่ีนาไปสูค่ วามสำเรจ็
-วัตถปุ ระสงค์ตา่ งๆ ในองคก์ ารตามแนวทาง COSO
1). วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
2). วตั ถุประสงค์ดา้ นการปฏิบัตกิ าร
3). วัตถปุ ระสงคด์ ้านรายงาน
4). วตั ถุประสงคด์ า้ นการปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ
-การจดั การความเสยี่ งยงั มีองค์ประกอบซึง่ สามารถประยกุ ตเ์ ข้ากบั ทุกวตั ถุประสงค์ ไดแ้ ก่
1). สภาพแวดล้อมภายใน
2). การกาหนดวตั ถุประสงค์
3). การระบเุ หตุการณ์
4). การประเมนิ ความเสีย่ ง
5). การตอบสนองความเสย่ี ง
6). กิจกรรมควบคมุ
7). สารสนเทศและการสื่อสาร
8). การตดิ ตามประเมนิ ผล
9. ครูบอกการจัดการความเส่ยี งตามมาตรฐานของออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ ได้แก่

62
1). การกำหนดบริบท
2). การแยกแยะความเสีย่ ง
3). การวิเคราะห์ความเส่ียง
4). การประเมนิ ความเส่ยี ง
5). การจัดการความเสีย่ ง
6). การตดิ ตามและการทบทวน
7). การส่อื สารและการปรึกษาหารอื
10. ครูแสดงภาพประกอบการสอนรว่ มกบั ส่อื Power Point เพอ่ื อธิบายการจดั การความเสย่ี งเชงิ
บรู ณาการตามกรอบโครงสรา้ งของ Treasury Board of Canada

11. ครูอธิบายโดยใชส้ ่ือ Power Point ประกอบการสอนโครงสร้างการจัดการความเส่ียง
ส่วนประกอบของโครงสร้างการจัดการความเส่ียง และกระบวนการจดั การความเส่ยี งของการจดั การ
ความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล ISO/DIS 31000

12. ครูบอกหลักการตามแนวทาง Basel II ประกอบดว้ ย
1). ข้อกำหนดของเงนิ กองทุนขน้ั ต่าตามกฎหมาย
2). กระบวนการทบทวนโดยผู้กำกบั ดแู ล
3). การรกั ษาวนิ ยั โดยตลาด (ขอ้ กำหนดการรายงานตามกฎหมาย)

63

13.ครูเสนอแนะและเปน็ ที่ปรกึ ษาในการนำเอาแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่งึ ในกระบวนการ
ทำงานทกุ ประเภทนัน้ จะต้องเนน้ สัจจะซึ่งเปน็ ตัวคุณธรรม จริยธรรม เนน้ ความซื่อสัตยส์ ุจรติ เนน้ ให้
ช่วยกันคดิ ชว่ ยกนั ทำ เน้นให้ร้จู ักความพอดี พอประมาณ มีเหตุผล ท้งั หมดนี้คอื หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับการดำเนนิ ชวี ติ ของทกุ คนได้

ขัน้ สรุปและการประยกุ ต์

14.ครูและผู้เรยี นสรปุ เนือ้ หาท่ีเรียน

15.ผเู้ รียนทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

16.ผู้เรียนร่วมกันประเมนิ โดยพจิ ารณาจากขอ้ มูลความรู้ การใหเ้ หตุผล

ช่อื ผู้เรยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วิชาการบริการงานคณุ ภาพในองค์การ ของสำนักพมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส,์ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

หลกั ฐาน
1.บันทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายช่อื
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

64

การวัดผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ

6. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผูเ้ รียน)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ

6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและผู้เรยี นร่วมกนั
ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ มเี กณฑผ์ ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนน
ข้ึนอยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจริง

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครแู นะนำให้ฝึกปฏิบตั ิทำกิจกรรมใบงาน และอ่านทบทวนเน้ือหา
2.ควรศึกษาข้อมูลเพ่มิ เตมิ จากส่อื อินเตอร์เน็ต

65

ตอนที่ 1 ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ กู ต้องท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใดคือความเส่ยี งจากปจั จยั ภายนอกองค์การ

ก. กระบวนการปฏิบตั งิ าน ข. กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับขององคก์ าร

ค. โครงสร้างองคก์ าร ง. การเมอื ง เศรษฐกจิ และสภาพสงั คม

2. ข้อใดเป็น “เทคนคิ ” ที่ใช้ในการค้นหาและระบุความเส่ียง

ก. ตอบแบบสอบถามการควบคุมภายใน ข. การสัมภาษณ์

ค. การประชมุ ระดมสมอง ง. ก. ข. และ ค.

3. ข้อใดกล่าวไดถ้ กู ต้องทส่ี ดุ

ก. การคน้ หาและระบุความเส่ียงวิธตี อบแบบสอบถามทำให้ได้ขอ้ มูลความเสีย่ ง

ข. การเทยี บรอยไม่เหมาะสมทีจ่ ะนำมาใช้ในการค้นหาและระบุความเส่ียง

ค. การบรหิ ารจัดการความเส่ยี งดว้ ยวธิ ี “ลดความเส่ยี ง” ไม่มีต้นทนุ เกดิ ขึ้น

ง. การทำประกันภัย ถอื เปน็ ทางเลือกหน่ึงในการ “โอนความเสีย่ ง”

4. ขอ้ ใดกล่าวไดถ้ ูกต้องทสี่ ุด

ก. ความเส่ยี งของหนว่ ยงานไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั วัตถุประสงค์

ข. การใช้ทรัพยากรอยา่ งไม่คุ้มค่าหรือส้ินเปลอื ง ถือเป็นความเสย่ี งของหนว่ ยงาน

ค. การดำเนินงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพแต่ไมม่ ปี ระสิทธิผลเปน็ ความเส่ียงของหนว่ ยงาน

ง. ถกู ทง้ั ขอ้ ข. และ ค.

5. การจัดทำระบบการบรหิ ารความเสี่ยงและการควบคุมภายในตามเกณฑ์ระดบั ความสำเร็จของการ

จดั ทำระบบการจัดการความเสี่ยง มุ่งเน้นการจดั การความเสย่ี งดา้ นใด

ก. ดา้ นกลยทุ ธ์ ข. ดา้ นการดำเนินงาน

ค. ด้านการรายงาน ง. ด้านการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย

6. ถา้ ประเมนิ งานของฝา่ ยผลิตวา่ มีความเส่ยี งและหาวธิ กี ารจัดการความเส่ยี งแลว้ พบวา่ “ต้นทุนในการ

บรหิ ารจดั การ” มีความเส่ียงสูงกว่าผลประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั และไมม่ วี ธิ อี ื่นแลว้ อกี ทง้ั งานฝา่ ยผลิต

ยกเลกิ หรอื เปลีย่ นแปลงไมไ่ ด้ ควรเลอื กเทคนคิ ใดในการจัดการความเสย่ี ง

ก. ยอมรับความเสย่ี ง ข. โอนความเสย่ี ง

ค. ลดความเสี่ยง ง. หลกี เลย่ี งความเสยี่ ง

66

7. ใน พ.ศ. 2558 บริษทั สำนักพมิ พ์เอมพันธ์ จากัด ตง้ั อยู่ที่กรุงเทพฯ มีแผนท่ีจะเปดิ โรงงาน ผลิตสื่อ

ส่งิ พมิ พข์ นาดใหญใ่ นประเทศไทย โดยไดน้ ำพลงั งานแสงอาทิตย์มาใชใ้ นโรงงาน การประเมนิ ความเสย่ี ง

ของบริษทั พบวา่ อาจจะไดร้ ับผลเสยี หายจากนำ้ ทว่ ม มลภาวะ คา่ แรงงาน จนอาจทำให้ต้องขาดทนุ ดังนน้ั

บริษัทจึงตดั สินใจท่จี ะย้ายฐานการผลิตไปในจังหวดั เชียงใหม่ ซึ่งมีความเสย่ี งนอ้ ยกวา่

จากข้อมูลข้างตน้ บรษิ ัทใช้วธิ กี ารจัดการความเสย่ี งประเภทใด

ก. ยอมรบั ความเสยี่ ง ข. โอนความเส่ยี ง

ค. ลดความเส่ียง ง. หลีกเลี่ยงความเสย่ี ง

8. การจดั การความเส่ียงแบบ Basel II นิยมนำไปประยุกต์ใชไ้ ดก้ บั องคก์ ารประเภทใด

ก. โรงพยาบาล ข ธนาคาร

ค. โรงเรยี นเอกชน ง. หน่วยงานราชการพ้ืนที่การปกครอง

9. ขอ้ ใดเป็นหลักการของการจัดการความเสยี่ งตามมาตรฐานสากล ISO/DIS 31000

ก. การสรา้ งคณุ ค่าเป็นอันหนง่ึ อนั เดียวกบั กระบวนการขององค์การ

ข. มีกระบวนการทบทวนโดยผกู้ ำกับดแู ล

ค. ข้อกำหนดการรายงานตามกฎหมาย

ง. การจดั การความเสยี่ งเชิงบรู ณาการ

10. แนวคดิ การจดั การความเสย่ี งรปู แบบใดที่เนน้ การจดั การเชิงบูรณาการ

ก. COSO ข. ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์

ค. ISO/DIS 31000 ง. Basel II

67

บันทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการที่ 6 68
รหัส 3001-1001 การบรหิ ารงานคุณภาพในองค์การ (3-0-3)
ชื่อหนว่ ย/เร่อื ง การจัดการความขัดแยง้ ในองค์การ หน่วยที่ 6
สอนครัง้ ที่ 6 (16-18)

จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
ความขัดแยง้ ย่อมเกิดขน้ึ ไดใ้ นชวี ิตประจำวันของมนษุ ย์ เนื่องจากมนุษยต์ อ้ งอยรู่ ว่ มกันเปน็ สังคม

หรอื ต้อง ทำงานเปน็ กลมุ่ นอกจากความขัดแยง้ ระหว่างบุคคลแล้วยังจะมีความขัดแย้งระหวา่ งกลุม่ ดว้ ย
หากสมาชิกกลุ่มมี ความแตกต่างกันมากในหลายด้าน ความขัดแยง้ ก็จะเกดิ มากขึ้น จงึ อาจจะกลา่ วไดว้ ่า
เป็นการยากทีบ่ ุคคลจะ ทำงานรว่ มกนั ในองค์การได้ โดยปราศจากความขัดแยง้ ดังนน้ั ผบู้ ริหารจึงควร
ศึกษาและหาวิธีจัดการความ ขัดแย้งอย่างมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับทฤษฎคี วามขัดแย้งได้
2. อธิบายความหมายของความขดั แย้งได้
3. บอกประเภทของความขดั แยง้ ได้
4. วิเคราะหป์ ัจจัยท่เี ปน็ สาเหตุของการเกดิ ความขัดแย้งได้
5. บอกแนวทางการจัดการความขัดแย้งได้
6.มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเร็จการศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเร่อื ง
6.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์
6.2 ความมีวินยั
6.3 ความรับผิดชอบ
6.4 ความซ่อื สตั ย์สุจรติ
6.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
6.6 การประหยดั
6.7 ความสนใจใฝร่ ู้
6.8 การละเวน้ สิ่งเสพติดและการพนัน
6.9 ความรกั สามัคคี
6.10 ความกตญั ญกู ตเวที

69

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับหลักการจัดการองคก์ าร การบริหารงานคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ การ

จดั การความเสี่ยง การจัดการความขัดแย้ง การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองคก์ าร และเพิ่มประสิทธิภาพขององคก์ ารตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสี่ยง และความขัดแย้งในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธ์เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทำงานตามหลักการบริหารงานคุณภาพและเพิม่ ผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใชก้ จิ กรรมระบบคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ ในการจดั การงานอาชีพ

เนอ้ื หาสาระ
1. ทฤษฎคี วามขัดแย้ง
2. ความหมายของความขดั แยง้
3. ประเภทของความขดั แยง้
4. ปจั จัยท่ีเปน็ สาเหตขุ องการเกิดความขัดแย้ง
5. แนวทางการจดั การความขัดแย้ง

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน
1.ครูกลา่ ววา่ ความขัดแยง้ ยอ่ มเกิดขน้ึ ไดใ้ นชีวิตประจำวันของมนุษย์ เน่อื งจากมนุษย์ต้องอยู่

รว่ มกันเป็นสงั คมหรอื ตอ้ ง ทำงานเปน็ กลุ่ม นอกจากความขดั แย้งระหวา่ งบคุ คลแล้วยงั จะมีความขดั แยง้
ระหว่างกลุ่มด้วย หากสมาชิกกลุ่มมี ความแตกตา่ งกันมากในหลายด้าน ความขัดแย้งกจ็ ะเกิดมากข้ึน จงึ
อาจจะกล่าวได้วา่ เปน็ การยากท่ีบคุ คลจะ ทำงานรว่ มกันในองค์การได้ โดยปราศจากความขัดแยง้ ดังนั้น
ผู้บริหารจงึ ควรศึกษาและหาวิธจี ดั การความ ขดั แยง้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

2.ผู้เรียนเลา่ ประสบการณ์ความขัดแย้งท่เี กิดข้ึนในชวี ติ ประจำวนั และวิธกี ารที่ผู้เรยี นใช้ในการ
จัดการความขัดแยง้ ท่เี กิดขน้ึ

3.ครูและผู้เรยี นวเิ คราะหผ์ ลทจี่ ะเกดิ จากความขดั แย้งทีเ่ กดิ ขนึ้

ขนั้ สอน

70

4. ครูใช้สอ่ื Power Point ประกอบการอธิบายเร่ืองทฤษฎคี วามขัดแยง้ (Conflict theory) ว่า
เป็นแนวความคดิ ท่ีมีขอ้ สมมุติฐานวา่ พฤติกรรมของสงั คมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแยง้ ระหวา่ งกล่มุ
ต่างๆ และบุคคลต่างๆ เพราะการแข่งขันกันในการเป็นเจา้ ของทรพั ยากรทีม่ คี า่ และหายาก มีนักสังคม
วทิ ยาหลายท่านที่ใช้ทฤษฎี ความขัดแย้งอธิบายการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม ดังตอ่ ไปนี้

- ทฤษฎีความขดั แยง้ ของคาร์ล มารก์ ซ์ (Karl Marx) มีฐานคติที่สำคญั อยู่ 3 ประการดังนี้
1). องค์การทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเปน็ เจา้ ของทรัพยส์ ิน เป็นผู้กำหนดรปู แบบของ

องค์การอน่ื ๆ ในสังคม
2). องค์การเศรษฐกิจของสงั คมใดๆ ยอ่ มเปน็ ต้นกำเนิดการขัดแย้งเชงิ ปฏวิ ัตริ ะหว่างชน

ชั้นในสังคมอยา่ งหลีกเล่ียงไม่พน้ เสมอ เปน็ กระบวนการวภิ าษวธิ ี (Dialectics) และจะเกิดเป็นยคุ เป็น
สมยั ซ่ึงแบ่งสังคมออกเปน็ กลมุ่ เป็นพวก

3). การขัดแยง้ จะมีลกั ษณะเปน็ 2 หลัก (Dipolar) ได้แก่
3.1 ชนชนั้ ที่ถกู เอารดั เอาเปรียบ
3.2 ชนชั้นที่มอี านาจและเปน็ เจ้าของทรพั ยส์ ิน

ตามแนวความคดิ ของมาร์กซ์ ลำดับขนั้ ของการนำไปสกู่ ารปฏิวตั ขิ องชนชนั้ ล่างของสังคมเกิดจาก
กระบวนการดังตอ่ ไปนี้

1). มีความต้องการในการผลิต
2). เกิดการแบง่ แยกแรงงาน
3). มีการสะสมและพัฒนาทรพั ย์สนิ ส่วนบุคคล
4). ความไมเ่ ทา่ เทยี มทางสงั คมมีมากขนึ้
5). เกดิ การตอ่ สรู้ ะหว่างชนชั้นในสังคม
6). เกิดตวั แทนทางการเมืองเพือ่ ทำการรักษาผลประโยชนข์ องแตล่ ะชนช้นั
7). เกิดการปฏิบัติ
- ทฤษฎีการขัดแยง้ ของยอร์จ ซมิ เมล (Georg Simmel) แนวคดิ ที่สำคญั ของซิมเมลเกยี่ วกับ
ความขดั แยง้ บางส่วนได้แก่
1). ความขัดแยง้ ทำให้เกดิ ความสามคั คีกลมเกลียวในกลุม่
2). ความกลมเกลียวภายในกลุ่มเปน็ สาเหตทุ ี่ทำให้เกิดความขัดแย้ง
3). ความกลมเกลียวระหว่างกลมุ่ เปน็ สาเหตุทำให้เกิดการขัดแยง้
แนวคดิ เกย่ี วกบั องคก์ ารสังคมของยอร์จ ซิมเมล

71

1). ความสัมพนั ธ์ทางสงั คมจะเกดิ ขึ้นในภาวะสังคมเป็นระบบ ซงึ่ อาจเนอื่ งมาจาก
กระบวนการทางอินทรยี ์ ภาพสองกระบวนการคอื กระบวนการก่อสัมพนั ธ์และการแตกสัมพันธ์

2). กระบวนการดงั กลา่ วเปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากแรงขับ สัญชาตญาณ และความจำเป็นท่ี
สบื เน่ืองมาจากความสัมพันธท์ างสังคมประเภทต่างๆ

3). กระบวนการขดั แยง้ เปน็ ส่งิ เกา่ แกแ่ ตโ่ บราณของสงั คม แต่ไม่จำเป็นจะตอ้ งเปน็ สิ่ง
ทำลายระบบสงั คมหรอื ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเสมอ

4). ในสภาพความเปน็ จรงิ การขัดแย้งเป็นกระบวนการสำคัญอย่างหนึง่ ทด่ี ำเนนิ ไปเพ่อื
ดำรงรักษาสังคมหรือสว่ นประกอบบางอย่างของสงั คม

- ทฤษฎีการขัดแย้งของลิวอสิ เอ. โคเซอร์ (Lewis A.Coser) ลวิ อสิ เอ. โคเซอร์ เปน็
นักจติ วทิ ยาชาวเยอรมนั ไดจ้ ำแนกความขัดแยง้ เป็น 3 แบบ คือ

1). เม่อื บุคคลอยูร่ ะหว่างเปา้ หมายท่ีตนปรารถนาสองอยา่ งท่ีต้องเลอื ก
2). เม่อื บุคคลพบกบั เป้าหมายสองอย่าง ซ่งึ เป็นทง้ั เป้าหมายทีต่ นเองชอบและไมช่ อบ
3). เม่ือบคุ คลอยูร่ ะหวา่ งเปา้ หมายสองอย่างทีต่ นเองไมช่ อบทั้งคู่
- ทฤษฎกี ารขัดแยง้ ของราลฟ์ ดาร์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) ราลฟ์ ดาห์เรนดอร์ฟเป็นนัก
สังคมวิทยาชาวเยอรมนั ทป่ี ฏิเสธแนวความคดิ ของมาร์กซ์ ทีว่ า่ ชนชัน้ ในสงั คมเกดิ จากปัจจัยการผลิต
และเสนอว่าความไมเ่ ท่าเทยี มกันในสงั คมน้ันเกดิ จากความไมเ่ ทา่ เทียมกันในเรือ่ งของสิทธิอานาจ
(Authority)
ข้อเสนอหลกั ทฤษฎคี วามขัดแยง้ ของราล์ฟ ดาร์เรนดอร์ฟ ได้แก่
1). การขัดแยง้ มีโอกาสเกิดได้ ถา้ สมาชกิ ของกลุ่มขัดแยง้ ว่าผลประโยชน์ของตน คอื อะไร
และสามารถรวมตวั กันเปน็ กลุ่มเพ่ือมุ่งผลประโยชนน์ ั้น
2). ความขดั แย้งจะเข้มข้น หากมีเงื่อนไขทางเทคนิค ทางการเมอื ง และทางสงั คม
3). ความขดั แย้งจะมีความเขม้ ขน้ หากการสับเปล่ียนโยกยา้ ยบุคคลไปมาระหว่างกลุม่ ทม่ี ี
อำนาจกบั กล่มุ ท่ีไม่มีอำนาจซงึ่ เปน็ ไปได้โดยยาก
4). ความขัดแย้งจะมีความเขม้ ข้น หากกระจายสิทธิ อำนาจและรางวลั เก่ยี วเน่ืองสมั พันธ์
กนั
5). ความขัดแยง้ จะรนุ แรง หากเง่อื นไขการรวมกลมุ่ คนดา้ นเทคนิค ดา้ นการเมือง และ
ด้านสังคม ไม่อำนวยหรอื ให้ทำได้นอ้ ย
6). ความขัดแยง้ รุนแรง หากมีการเสยี ผลประโยชน์ในการแบง่ รางวลั เนอื่ งจากเปลี่ยน
เกณฑ์จากเกณฑ์ตายตวั ไปเปน็ เกณฑ์เชิงเปรยี บเทียบ

72

7). ความขดั แย้งจะรุนแรงถ้ากลุ่มขดั แย้งไม่สามารถสรา้ งข้อตกลงควบคมุ การขดั แย้งได้
8). ความขัดแยง้ ทเ่ี ขม้ ขน้ จะทำใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรา้ งและการจัดการ
องค์การสังคมแหง่ การขัดแยง้
9). ความคิดขัดแย้งทีร่ ุนแรง จะกอ่ ให้เกิดอัตราการเปล่ียนแปลงทางโครงสรา้ ง และการ
จัดระเบียบใหม่ในองค์การสงั คมท่เี กิดการขัดแย้งน้นั อย่างสูง
5.ครูใช้เทคนคิ การบรรยายเพื่อบอกความหมายของความขดั แย้ง (conflict) ซ่งึ หมายถงึ
พฤติกรรมชนดิ หน่งึ ทีเ่ กดิ ข้ึนเมอ่ื บคุ คลหรือกล่มุ มี ความคิดเห็น การรบั รู้ความคาดหวังความเช่อื และ
ค่านยิ มทแี่ ตกต่างกนั ไป
6.ผู้เรยี นบอกประเภทของความขัดแยง้ ซงึ่ ได้แก่
1). ความขัดแย้งภายในตวั บคุ คล (Intrapersonal Conflict)

1.1 Approach–Approach Conflict
1.2 Avoidance–Avoidance Conflict
1.3 Approach–Avoidance Conflict
2). ความขัดแย้งระหวา่ งบุคคล (Interpersonal Conflict)
3). ความขัดแย้งภายในกลมุ่
4). ความขดั แยง้ ระหวา่ งกลมุ่
5). ความขดั แยง้ ในองค์การ
5.1 Vertical Conflict
5.2 Horizontal Conflict
5.3 Line–Staff Conflict
5.4 Role Conflict
6). ความขัดแย้งระหว่างองค์การ
7.ครูและผูเ้ รยี นอภปิ รายปจั จยั ทเ่ี ปน็ สาเหตุของการเกดิ ความขดั แยง้
1). ดา้ นบคุ คล สาเหตทุ ่ีทำให้มนษุ ยข์ ัดแยง้ กนั โดยท่วั ไป อาจแบง่ ออกได้ดงั นี้
1.1 ความคดิ เหน็
1.2 แนวทางปฏบิ ตั ิ
1.3 ผลประโยชน์
2). ดา้ นองค์การ สาเหตขุ องความขดั แย้งอาจเกิดจากปัจจยั ตา่ งๆ ดังนี้
2.1 ลักษณะงานทตี่ ้องพงึ่ พาซ่ึงกนั และกนั (Task interdependence)

73

2.2 การแบ่งงานตามความชำนาญเฉพาะดา้ นมากข้นึ (Increased specialization)
2.3 การกำหนดหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของงานไมช่ ดั เจน (Ambiguously defined
responsibilities)
2.4 อปุ สรรคของการตดิ ตอ่ ส่อื สาร (Communication obstruction)
2.5 การมที รพั ยากรอยา่ งจากดั (Limited sources)

8.ครใู ชภ้ าพและสอ่ื Power Point เพอ่ื อธิบายแนวทางการจดั การความขัดแย้ง และเปรยี บเทยี บ
การเลือกใชว้ ธิ แี ก้ไขความขัดแยง้

9.ครเู นน้ ผู้เรียนให้มีความละเอยี ดรอบคอบ มคี วามอดทน มีควาเข้มแขง็ มคี วามเพียร
พยายาม นอกจากน้ันยงั ให้ระมดั ระวงั ความปลอดภัยในการทำกิจกรรมใบงานทีอ่ าจผิดพลาดเกิดข้ึนได้
โดยไมไ่ ด้

ขัน้ สรปุ และการประยุกต์
10.สรุปเนอ้ื หาโดย ครสู มุ่ ผู้เรียนใหต้ อบคำถาม
11.ผเู้ รียนทำใบงาน กิจกรรม แบบประเมนิ ผล และแบบฝกึ ปฏิบัติ

74

12.ประเมนิ ผ้เู รียนตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี

ช่ือผเู้ รียน ธรรมชาติของผเู้ รียน วิธกี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สตปิ ัญญา วุฒภิ าวะ

1.

2.

3.

4.

5.

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วิชาการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร ของสำนกั พิมพเ์ อมพันธ์
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์, สอื่ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้

หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายชอื่
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ

75

6. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

เคร่อื งมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและ

ผเู้ รียนรว่ มกันประเมิน
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 %
ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50% ข้ึน
ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบัติมีเกณฑผ์ ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน
ข้ึนอยกู่ บั การประเมินตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1.แนะนำใหผ้ เู้ รียนฝึกทักษะโดยทำกจิ กรรมใบงาน
2.อ่านทบทวนเน้ือหา

76

บันทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

77

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการท่ี 7 หนว่ ยท่ี 6
รหัส 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ (3-0-3) สอนครงั้ ท่ี 7 (19-21)
ชื่อหน่วย/เร่ือง การจดั การความขัดแย้งในองคก์ าร
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
ความขัดแย้งยอ่ มเกิดขึ้นไดใ้ นชวี ติ ประจำวนั ของมนุษย์ เนื่องจากมนษุ ยต์ อ้ งอยูร่ ว่ มกนั เปน็ สงั คม

หรือตอ้ ง ทำงานเป็นกลุม่ นอกจากความขัดแยง้ ระหวา่ งบคุ คลแลว้ ยังจะมคี วามขัดแย้งระหวา่ งกลุ่มดว้ ย
หากสมาชกิ กลุ่มมี ความแตกตา่ งกนั มากในหลายด้าน ความขัดแย้งก็จะเกิดมากขน้ึ จงึ อาจจะกล่าวได้วา่
เปน็ การยากท่บี คุ คลจะ ทำงานรว่ มกนั ในองค์การได้ โดยปราศจากความขัดแย้ง ดังน้นั ผู้บริหารจึงควร
ศกึ ษาและหาวธิ ีจัดการความ ขัดแย้งอย่างมีประสิทธิภาพ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
6. แสดงความรู้เก่ียวกับกระบวนการจดั การความขัดแย้งในองค์การได้
7. บอกวธิ ีจัดการความขดั แย้งได้
8. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผูส้ ำเรจ็ การศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทีค่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่อื ง
8.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์
8.2 ความมีวินัย
8.3 ความรบั ผิดชอบ
8.4 ความซื่อสตั ย์สจุ ริต
8.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
8.6 การประหยดั
8.7 ความสนใจใฝร่ ู้
8.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
8.9 ความรกั สามัคคี
8.10 ความกตญั ญกู ตเวที

78

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร้เู กย่ี วกบั หลักการจัดการองค์การ การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิม่ ผลผลติ การ

จดั การความเส่ียง การจัดการความขดั แย้ง การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองค์การ และเพ่ิมประสทิ ธิภาพขององคก์ ารตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสี่ยง และความขัดแย้งในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธเ์ พ่อื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการทำงานตามหลกั การบรหิ ารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใชก้ ิจกรรมระบบคุณภาพและเพิม่ ผลผลิตในการจดั การงานอาชีพ

เน้ือหาสาะ
6. กระบวนการจัดการความขัดแยง้ ในองค์การ
7. วิธจี ัดการความขดั แย้ง

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครใู ช้เทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรู้เดิมจาก

สปั ดาห์ทผ่ี ่านมา โดยดึงความรเู้ ดิมของผเู้ รยี นในเรอื่ งท่จี ะเรยี น เพ่อื ช่วยใหผ้ ้เู รยี นมคี วามพร้อมในการ
เช่อื มโยงความรใู้ หม่กับความรู้เดมิ ของตน ผู้สอนใชก้ ารสนทนาซักถามให้ผู้เรียนเลา่ ประสบการณ์เดิม

2.ครูและผู้เรยี นบอกความสำคัญของการจัดการความขัดแยง้
3.ครูแนะนำใหผ้ ู้เรียนศึกษาเนื้อหาเพิม่ เติมจากสื่ออนิ เตอเ์ น็ต

ขน้ั สอน
4. ครูใชเ้ ทคนคิ การบรรยายเพอ่ื อธิบายกระบวนการจัดการความขัดแย้งในองคก์ าร ได้แก่

1). การเผชญิ หน้ากบั ความขัดแยง้
2). ทำความเข้าใจสถานภาพของแตล่ ะฝ่าย
3). ระบปุ ญั หา
4). แสวงหาทางเลอื กและประเมนิ ทางเลือก
5). สรุปแนวทางและนาทางเลือกที่เหมาะสมไปใช้

79

5. ครใู ช้สื่อ Power point ประกอบการสอนวธิ ีจดั การความขดั แย้งในองคก์ าร ซง่ึ วิธแี ก้ไขความ
ขดั แยง้ แบ่งเป็นวธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการแกไ้ ขความขัดแย้งเกยี่ วกับบุคคลและวธิ ีการแก้ไขความขดั แย้งที่
เกยี่ วขอ้ งกับโครงสร้างองคก์ าร ซึ่งแต่ละดา้ นมีดงั ตอ่ ไปน้ี

- วธิ กี ารแก้ไขความขดั แย้งที่เกีย่ วกับบุคคล ไดแ้ ก่
1). การบังคับ (Force)
2). การหลบหนี (Avoidance)
3). การประนีประนอม (Compromise)
4). การปรองดอง (Accommodation)
5). การแก้ปญั หาหรือการรว่ มมอื กัน (Problem Solving หรือ Collaboration)
- การจัดการความขดั แยง้ เก่ียวกบั โครงสร้าง
1). เปล่ยี นแปลงกระบวนการ
2). เปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งขององค์การ
3). เปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มขององค์การ

ในการจัดการกับความขัดแย้งน้ัน เป็นหน้าทขี่ องผบู้ ริหารหรือหัวหน้าท่ีจะตอ้ งทราบและเขา้ ใจท้ังสาเหตุ
และวธิ กี ารจัดการ ซึง่ อาจจะพิจารณาขัน้ ตอนตา่ งๆ ดังน้ี

1). ใหค้ วามสนใจกับประเภทต่างของความขัดแยง้
2). การติดตอ่ สอื่ สารท่ีชัดเจนตอ่ เนอื่ ง
3). การสร้างเปา้ ประสงค์ หรอื คา่ นิยมร่วม
4). พจิ ารณาธรรมชาติของความเปน็ อิสระซึ่งกันและกนั
5). ต้องพรอ้ มที่จะเส่ียง
6). แสดงความมอี านาจ
7). ตอ้ งจำกดั ขอบเขตในสงิ่ ทที่ ำสำเร็จแล้ว
8). การสรา้ งความเช่ือมัน่ รว่ มกัน
6. ผ้เู รียนวิเคราะห์และอภปิ รายว่ากระบวนการจัดการความขดั แย้งในองค์การใดทสี่ ำคญั มากที่สดุ
เพราะเหตใุ ด
7.ผู้เรยี นใชก้ ระบวนการจดั การความขัดแย้งในองค์การ เปน็ แนวทางในการจัดการความขัดแย้งที่
เกดิ ข้ึนในชีวิตประจำวันของตนไดอ้ ยา่ งไร

80

8.ครูใช้ สอ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเรื่องวธิ จี ดั การความ ได้แก่
1). การเจรจาตอ่ รอง
กลยทุ ธ์ในการเจรจาตอ่ รอง
1.1. กลยทุ ธ์เฉพาะ (Specific tactics)
1.2. กลยุทธก์ รอบความคิดในการต่อรอง (Cognitive frames in bargaining)
1.3. กลยุทธก์ ารเน้นขอ้ ยุตแิ บบชนะ-ชนะแทนแบบชนะ–แพ้ (Win-win versus win–lose

orientation)
1.4. กลยทุ ธใ์ ช้บคุ คลท่ีสามเขา้ แทรกแซง (Third–party intervention)

2). ไกล่เกลี่ย
ขั้นตอนในการไกลเ่ กลีย่
ข้ันท่ี 1 ลดภาวะอารมณ์ การลดภาวะอารมณ์ จากความขุ่นเคือง โกรธแคน้ มาสู่ความตอ้ งการ
หาทางแก้ไขปญั หาร่วมกนั ได้แก่

- การมสี ติ
- ความเปน็ มติ ร
- ความรว่ มมอื
ขัน้ ท่ี 2 ทำความเขา้ ใจสถานการณ์ความขัดแย้ง ไดแ้ ก่
- อารมณ์ความรสู้ กึ เมอื่ ความขดั แยง้ ปรากฏตวั ขึ้น จะส่งผลให้เกิดแรงกดดันในตัวเองและ
เกบ็ กดอารมณเ์ อาไว้ เมื่อแสดงอารมณอ์ อกมาก็จะมาพรอ้ มกับความโกรธและความขุ่นเคอื งซง่ึ อารมณ์ท่ี
ถูกเก็บกดนจี้ ะมผี ลต่อพฤติกรรมและการตัดสินใจของคขู่ ัดแย้ง และเม่ือความขัดแย้งถกู พัฒนาไปสู่
อารมณ์ความโกรธเกลยี ด เริ่มมีการกระทบกระทัง่ โต้ตอบกันและปฏเิ สธฝ่ายตรงข้าม สิ่งท่ตี ามมาคือการ
ปอ้ งกนั ตนเองและความขุ่นเคืองของทัง้ สองฝา่ ย ดงั นัน้ ผไู้ กล่เกลี่ยจาเปน็ ต้องร้วู ่า
ก. แตล่ ะฝา่ ยมีความรู้สกึ อย่างไรกบั ตนเองในความขัดแย้ง
ข. แตล่ ะฝ่ายมคี วามรสู้ กึ อย่างไรกบั อีกฝา่ ยในความขดั แย้ง
ค. แต่ละฝา่ ยคิดวา่ อกี ฝ่ายเขา้ ใจความรู้สกึ ของตนเองมากนอ้ ยแค่ไหน
- มมุ มองของแต่ละฝา่ ย ในฐานะของผู้ไกล่เกล่ยี ต้องมคี วามสามารถที่จะมองปญั หาจากมุมมอง
ของแต่ละฝ่าย เพื่อท่จี ะเขา้ ใจแต่ละฝา่ ยได้อย่างแทจ้ ริง อาจสร้างความเขา้ ใจให้เกดิ ขึน้ ขณะที่คยุ กบั ผู้
ขัดแยง้ โดยใช้คำถามเหล่าน้ี
- การเข้าใจทัศนะของคู่ขดั แย้ง

81

ก. แตล่ ะฝ่ายเข้าใจถึงประเดน็ ของความขดั แย้งอย่างไร และมคี วามคิดเหน็ หรอื เหตุผล
อย่างไร

ข. แตล่ ะฝ่ายเหน็ วา่ อกี ฝา่ ยหนึง่ เขา้ ใจถงึ ประเด็นที่ขดั แย้งอย่างไร และเห็นอกี ฝา่ ยมีความ
คิดเหน็ หรอื เหตุผลอย่างไร

- ผู้ไกล่เกลย่ี ตอ้ งให้ความสนใจในเรอื่ งต่อไปน้ี
ก. ความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ ส่วนใดบ้างท่ียังขาดหายไป
ข. เรือ่ งใดบ้างทีค่ ู่ขดั แย้งเข้าใจอีกฝ่ายหน่ึงผดิ ไป ซงึ่ จำเป็นตอ้ งสร้างความเขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ ง
ค. ประเดน็ ใดบ้างทีย่ ังเข้าใจสับสน และตอ้ งทำให้เกิดความเข้าใจทีช่ ัดเจน
ง. หลงั จากท่ีรับรมู้ มุ มองของแต่ละฝา่ ยแล้ว ผู้ไกลเ่ กลย่ี เหน็ ว่ามีความเข้าใจผดิ ตรงจุดใดบ้าง

ท่ตี อ้ งแก้ไข
- ศึกษาประวตั ศิ าสตรก์ ารแก้ไขปัญหาว่าเคยแก้ไขปัญหาไปอยา่ งไรบา้ ง และสง่ ผลอยา่ งไร

ขั้นที่ 3 วเิ คราะหค์ วามขัดแย้ง ไดแ้ ก่
- จดุ ยนื ของแต่ละฝ่าย จุดยนื เปน็ แนวทางการแก้ไขความขัดแย้งท่กี ำลังดำเนนิ อยู่ ซึง่ เปน็ จุดท่ี

ทำให้ความขัดแย้งยงั ไมอ่ าจคลี่คลายได้ หรอื ยงั ไม่อาจเข้ามาสูก่ ารหาข้อตกลงรว่ มกัน
- อะไรคือความตอ้ งการหรือความเข้าใจทีแ่ ท้จริง การท่ีความขดั แยง้ ยังคงดารงอยสู่ ิง่ สำคญั

ส่วนหนง่ึ มาจากการทที่ ้ังสองฝ่ายไมเ่ ข้าใจความตอ้ งการหรือไม่เข้าใจความเข้าใจท่ีแท้จรงิ เชน่ ปัญหา
ความขัดแยง้ ด้านผลประโยชน์หากทำให้เข้าใจความตอ้ งการทีแ่ ท้จรงิ กอ็ าจจัดสรรผลประโยชนไ์ ด้ลงตัว
ได้ ส่วนปัญหาความขัดแย้งด้านข้อมูลหรือความเข้าใจ หากสามารถหาได้วา่ ความเขา้ ใจทีแ่ ท้จริงคืออะไร
กจ็ ะทำใหเ้ รอื่ งยตุ ไิ ดโ้ ดยงา่ ย

- สงิ่ ท่ีอุปสรรคและข้อจากดั ซึง่ อาจมาจากทางฝ่ายคขู่ ดั แยง้ ตัวผู้ไกล่เกลย่ี สถานการณ์
แวดลอ้ ม ฯลฯ ส่ิงสาคัญอยทู่ ี่ว่าตอ้ งรถู้ ึงปจั จัยตา่ งๆ เหล่านห้ี รือไม่ เพื่อทจี่ ะได้เตรยี มหาแนวทางขจัดไป
ให้ได้ หรือจำกัดอุปสรรคและข้อจำกดั ทม่ี ี

ขนั้ ท่ี 4 หาทางออกหรอื ขอ้ ตกลงรว่ มกัน เปน็ การแยกการกระทำสามอยา่ งออกจากกนั คอื
จินตนาการ การประเมินผล และการตัดสินใจ

- จินตนาการ สามารถจินตนาการให้พ้นจากกรอบความเคยชนิ เดมิ ๆ ไดด้ ้วยการรวบรวม
ทางเลอื กให้มากทส่ี ุดเท่าท่ีจะมากได้ ก่อนทจ่ี ะประเมินขอ้ ดีข้อเสียอย่างจริงจงั

- การประเมนิ สามารถประเมินขอ้ แนะนาแตล่ ะข้อไดโ้ ดยพจิ ารณาว่ามีข้อดีขอ้ เสียอย่างไรบ้าง
วธิ นี จ้ี ะชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ใหร้ ีบตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึง่ กอ่ นทีจ่ ะมีการคิดให้รอบคอบ

- การตัดสินใจ ควรให้คู่ขัดแย้งเป็นผู้ตัดสนิ ใจดว้ ยตนเอง

82

3). อนญุ าโตตุลาการ คอื วิธกี ารระงบั ขอ้ พพิ าทท่ีคูก่ รณตี กลงกนั เสนอขอ้ พิพาทที่เกิดขน้ึ แล้ว
หรือท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคตให้บคุ คลภายนอกซึ่งเรียกว่า อนญุ าโตตุลาการ ทาการพจิ ารณาชี้ขาด โดย
คู่กรณีผูกพันท่ีจะปฏิบัติตามคาชขี้ าดของอนุญาโตตุลาการ
อนญุ าโตตุลาการแบ่งไดห้ ลายประเภท ดงั นี้

3.1). อนุญาโตตลุ าการในศาลกับอนญุ าโตตุลาการนอกศาล
- อนุญาโตตุลาการในศาล คอื กรณีทค่ี ูก่ รณีซงึ่ มคี ดอี ยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาล

ตกลงกนั ใหม้ ีอนญุ าโตตลุ าการช้ีขาดไดโ้ ดยความเห็นชอบของศาลตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความ
แพง่ แตว่ ิธนี ้ีไมเ่ ป็นทนี่ ิยมเพราะเมอื่ มคี ดีข้ึนไปสูศ่ าลแล้ว ค่คู วามมกั ไม่ต้องการใหบ้ ุคคลอ่นื มาชว่ ยชี้ขาด
ให้ แต่ตอ้ งการใหศ้ าลตดั สินคดนี ัน้ มากกว่า

-อนญุ าโตตุลาการนอกศาล คือกรณีทค่ี ู่กรณีตกลงกนั เสนอขอ้ พพิ าทให้อนญุ าโตตลุ าการ
พิจารณาชี้ขาดโดยไมไ่ ดฟ้ ้องคดตี ่อศาล ซึง่ อาจตกลงกันไว้ลว่ งหนา้ ก่อนมี ขอ้ พิพาทหรืออาจตกลงกัน
ภายหลงั จากท่ีมีขอ้ พิพาทแลว้ กไ็ ด้

3.2). อนญุ าโตตลุ าการเฉพาะกิจกับอนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน
- อนญุ าโตตลุ าการเฉพาะกิจ (Ad Hoc Arbitration)
- อนญุ าโตตลุ าการโดยสถาบนั (Institutional Arbitration)
4). ฟ้องร้อง เม่อื หาข้อยตุ กิ นั ไม่ได้ กต็ อ้ งมกี ารฟอ้ งร้องกนั ในที่สดุ ซึ่งสามารถฟอ้ งไดท้ ้ังคดแี พง่
และคดอี าญา ท้งั นี้ขน้ึ อยูก่ ับลกั ษณะของความผดิ น้ันนนั้ ๆ
คดีแพง่ คอื คดีที่ฟอ้ งเพือ่ เรียกเงนิ ระหว่างกนั เช่น คดกี ้ยู มื เงิน คดีผดิ สญั ญา คดีเช่าทรัพย์
คดตี ัว๋ เงิน คดีจานอง คดีซอื้ ขาย คดีมรดก เปน็ ตน้
คดแี พ่ง เปน็ คดีท่ีเกีย่ วกับเรอื่ งสว่ นตวั ของบคุ คล 2 ฝา่ ย ที่มกี ารทาผิดสญั ญาหรอื โตแ้ ยง้
สิทธิกันเปน็ เร่อื งที่ผไู้ ดร้ ับการโตแ้ ย้งสิทธิ จะฟ้องรอ้ งอกี ฝ่ายทีท่ าการโต้แย้งสิทธิ หรือทาผดิ สญั ญา
คดอี าญา คือ คดีที่ฟอ้ งร้องกนั เน่อื งจากมกี ารกระทาความผดิ ทางอาญา หรือว่าฟ้องร้อง
เพ่ือให้อกี ฝา่ ยติดคกุ หรือรบั โทษอนื่ ๆ ในทางอาญา เช่น ให้ปรบั ให้ประหารชีวิต เช่น คดีทารา้ ยร่างกาย
คดลี ักทรพั ย์ คดชี งิ ทรัพย์ คดปี ล้นทรัพย์ คดฆี า่ คนตาย คดีประมาททาให้ผู้อ่นื บาดเจ็บ หรอื เสยี ชีวิต คดี
รบั ของโจร เป็นต้น
9.ผูเ้ รียนเขยี นส่งิ ท่ีได้รบั จากการทำกิจกรรม และการเรียนการสอน
ข้ันสรปุ และการประยุกต์
10.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปเนื้อหาท่ีเรียน
11.สรปุ สาระสำคญั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ และประเมินผู้เรยี นดงั นี้

83

ชื่อผเู้ รียน ธรรมชาติของผู้เรยี น วธิ กี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สตปิ ญั ญา วุฒภิ าวะ
1.
2.
3.
4.
5.

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสือเรยี น วิชาการบริหารงานคุณภาพในองคก์ าร ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์, สื่อ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรยี นรู้

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ

84

6. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์

เครอ่ื งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและ

ผูเ้ รียนร่วมกันประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง
2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50 %
ขึ้นไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึน
ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติมีเกณฑผ์ ่าน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน
ขึ้นอยกู่ บั

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.แนะนำใหผ้ ้เู รียนทำกจิ กรรมใบงาน
2.อ่านและทบทวนเนือ้ หา

85

ตอนท่ี 1 ใหเ้ ลอื กคาตอบทีถ่ กู ต้องท่สี ดุ เพยี งข้อเดียว

1. ทฤษฎีความขดั แย้งของคาร์ล มารก์ ซ์มีความเช่ือวา่ ความขดั แย้งเรม่ิ ท่ีประเด็นใด

ก. ความกลมเกลยี ว ข. เศรษฐกิจ

ค. สังคม ง. ความปรองดองกนั มากเกนิ ไป

2. ทฤษฎีความขดั แยง้ ใดมีความเช่อื วา่ ความขัดแย้งระหว่างสองฝา่ ยแสดงความสัมพนั ธ์กัน โดยจะเกิด

ความกลมเกลยี วภายในกลมุ่ แตค่ วามกลมเกลยี วนจี้ ะเปน็ ต้นเหตขุ องความขดั แย้ง

ก. ทฤษฎคี วามขดั แยง้ ของคารล์ มารก์ ซ์ (Karl Marx)

ข. ทฤษฎกี ารขัดแย้งของยอร์จ ซมิ เมล (Georg Simmel)

ค. ทฤษฎกี ารขดั แยง้ ของลิวอสิ เอ. โคเซอร์ (Lewis A.Coser)

ง. ทฤษฎกี ารขดั แยง้ ของราลฟ์ ดารเ์ รนดอรฟ์ (Ralf Dahrendorf)

3. ผ้ทู เ่ี สนอแนวคดิ ว่าความไม่เท่าเทยี มกนั ในสงั คมเกดิ จากความไมเ่ ทา่ เทยี มกันเร่อื งสิทธิ

ก. ทฤษฎีความขัดแยง้ ของคารล์ มาร์กซ์ (Karl Marx)

ข. ทฤษฎีการขัดแย้งของยอร์จ ซมิ เมล (Georg Simmel)

ค. ทฤษฎกี ารขัดแยง้ ของลวิ อิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A.Coser)

ง. ทฤษฎกี ารขดั แยง้ ของราลฟ์ ดาร์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf)

4. ขอ้ ใดเป็นความขัดแยง้ ระหว่างบคุ คล (Interpersonal Conflict)

ก. ความขัดแย้งระหวา่ งบคุ คลเกิดขึ้นมีผลมาจากความแตกตา่ งของบุคคลในดา้ นการรับรู้ พ้นื ฐาน

การศึกษาและครอบครวั

ข. ความขัดแย้งที่เกดิ ขึน้ จากบคุ คลต้องเลือกทาสิ่งใดระหวา่ งตวั เลือกทีม่ มี ากกวา่ 1 ตวั

และทุกตัวเลือกเป็นสงิ่ ท่ีจะให้ผลทางบวก ซึง่ ใหผ้ ลประโยชนแ์ ละนา่ สนใจเทา่ กนั

ค. ความขัดแย้งทีเ่ กิดขึ้นเนือ่ งจากตอ้ งเลอื กทางเลือกใดทางหนึง่ ซึง่ ได้ผลไมน่ ่าพอใจ

ง. ความขดั แย้งทีเ่ กิดขึ้นเน่ืองจากตอ้ งเลอื กทาในส่ิงทเ่ี ปน็ ทั้งผลบวกและผลลบ

5. ข้อใดเป็นความขดั แยง้ ในองคก์ าร ความขัดแย้งภายในองคก์ าร

ก. Vertical Conflict ข. Horizontal Conflict

ค. Line – Staff Conflict และ Role Conflict ง. ถกู ทกุ ขอ้

86

6. เมื่อมสี ถานการณ์ขัดแย้งท่ีเป็นปัญหาเล็กน้อย ควรแกป้ ัญหาตามวธิ ีใด

ก. การหลกี เล่ยี ง ข. การปรองดอง

ค. การรว่ มมือซ่ึงกนั และกนั ง. การแข่งขนั

7. เมอ่ื หวั หน้างานมอี ำนาจเท่ากัน แต่ยึดม่ันในเป้าหมายแตกต่างกนั ควรใช้วธิ ใี ดจัดการข้อขัดแย้ง

ก. การร่วมมอื ซึ่งกนั และกนั ข. การปรองดอง

ค. การประนีประนอม ง. การหลกี เลยี่ ง

8. ถา้ ใชว้ ธิ จี ัดการความขัดแยง้ ในองค์การแบบบังคับ (Force) จะมีผลอยา่ งไรบ้าง

ก. ลักษณะของการชนะ-แพ้ (Win – Lose) ข. ลักษณะของการแพ้-แพ้ (Lose – Lose)

ค. ลกั ษณะของการชนะ-ชนะ (Win – Win) ง. ถูกทกุ ขอ้

9. กลยุทธก์ รอบความคิดในการตอ่ รอง โดยมงุ่ งาน (Task) น้นั ผู้เจรจาจะเนน้ ถงึ เร่ืองใด

ก. ความสมั พนั ธก์ บั คู่เจรจา ข. ปจั จัยเชงิ วัตถุท่ีเป็นข้อขดั แยง้

ค. เน้นต้องชนะและไดป้ ระโยชน์สงู สดุ ง. ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ทง้ั สองฝ่าย

10. กลยุทธ์กรอบความคิดในการตอ่ รองทม่ี ุ่งความร่วมมือ ผเู้ จรจาจะเน้นเรอ่ื งใด

ก. ได้ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ทัง้ สองฝ่าย ข. ใช้ความรสู้ กึ ด้านอารมณ์ตอ่ กรณี

ค. เน้นทคี่ วามสมั พนั ธก์ บั คเู่ จรจา ง. ปจั จัยเชงิ วัตถุที่เป็นขอ้ ขดั แย้ง

87

บันทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการที่ 8 88
รหสั 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ (3-0-3)
ช่อื หน่วย/เรื่อง กลยทุ ธก์ ารเพ่ิมประสิทธิภาพการทำงานในองค์การ หนว่ ยที่ 7
ดว้ ยการสร้างบรรยากาศในการทำงาน สอนคร้ังท่ี 8 (22-24)

จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคัญ
กลยทุ ธ์การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการทำงานในองคก์ ารด้วยการสรา้ งบรรยากาศในการทำงาน

กอ่ ให้เกดิ ความพอใจในการทำงานและพัฒนาบคุ คล นบั วา่ เปน็ ข้นั ตอนแรกทส่ี ่งเสรมิ ให้พนักงานและ
องคก์ ารมโี อกาสกา้ วหนา้ และมสี ว่ นร่วมในการทำงานใหอ้ งคก์ ารมากขึ้น เปน็ การสร้างความรู้สกึ ในทาง
สร้างสรรค์และส่งเสรมิ ให้พนักงาน ใช้ความร้คู วามสามารถอยา่ งเตม็ ที่ ผลท่ไี ด้รับยอ่ มนำไปสเู่ ปา้ หมาย
องคก์ าร และทำให้คุณภาพของงานสงู ขึ้น อย่างไรก็ตาม กลยทุ ธก์ ารเพิม่ ประสิทธภิ าพการทำงานใน
องคก์ ารควรกำหนดไว้ให้สอดคลอ้ งกันทกุ ดา้ นเพอื่ ให้ เกิดความเท่าเทียมกนั จะช่วยส่งเสรมิ กำลงั ใจในการ
ทำงาน เพราะรู้ว่าตนได้รบั ความเป็นธรรม ก่อให้เกิดความ ม่ันคงในอาชพี และทุกคนจะปฏิบัตงิ านเพื่อ
มงุ่ หวังให้เกดิ ประโยชนต์ ่องานมากทีส่ ุด

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของกลยุทธใ์ นองค์การได้
2. บอกการจดั ชุดของทรัพยากรที่จะใชง้ านในองคก์ ารได้
3. อธบิ ายกลยทุ ธใ์ นฐานะเป็นเคร่อื งมอื สำหรับใช้จดั ให้สภาพแวดล้อมสอดคลอ้ งกบั ทรพั ยากรได้
4. อธบิ ายกลยทุ ธ์การบริหารท่ที รงประสิทธภิ าพได้
5. บอกบรรยากาศในองค์การได้
6. อธบิ ายบรรยากาศในองคก์ ารและความพึงพอใจในการทำงานได้
7. อธบิ ายการสร้างบรรยากาศในองคก์ ารกับความก้าวหน้าของบคุ ลากรได้
8.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่อื ง
8.1 ความมีมนษุ ยสัมพันธ์
8.2 ความมีวินัย
8.3 ความรบั ผิดชอบ
8.4 ความซื่อสัตย์สุจรติ

89

8.5 ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
8.6 การประหยดั
8.7 ความสนใจใฝร่ ู้
8.8 การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนนั
8.9 ความรักสามัคคี
8.10 ความกตัญญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร้เู กยี่ วกบั หลกั การจัดการองค์การ การบริหารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลิต การ

จัดการความเสย่ี ง การจดั การความขดั แย้ง การเพิ่มประสทิ ธิภาพการทำงาน
2. วางแผนการจดั การองค์การ และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพขององคก์ ารตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสยี่ ง และความขัดแยง้ ในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธเ์ พอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพการทำงานตามหลกั การบริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต
5. ประยกุ ตใ์ ชก้ ิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพม่ิ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชีพ

เน้ือหาสาระ
1. ความหมายของกลยุทธใ์ นองคก์ าร
2. การจดั ชดุ ของทรัพยากรทจี่ ะใชง้ านในองค์การ
3. กลยุทธใ์ นฐานะเปน็ เคร่ืองมอื สำหรบั ใช้จัดให้สภาพแวดล้อมสอดคล้องกับทรพั ยากร
4. กลยุทธก์ ารบริหารท่ีทรงประสทิ ธภิ าพ
5. บรรยากาศในองคก์ าร
6. บรรยากาศในองคก์ ารและความพึงพอใจในการทำงาน
7. การสรา้ งบรรยากาศในองค์การกบั ความก้าวหน้าของบุคลากร

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น
1.ครูใช้เทคนิคการสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรู้เดิมจาก
สัปดาห์ที่ผ่านมา โดยดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องท่ีจะเรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการ
เชอ่ื มโยงความรูใ้ หม่กับความรู้เดมิ ของตน ผู้สอนใช้การสนทนาซกั ถามใหผ้ ู้เรียนเลา่ ประสบการณเ์ ดิม

90

2.ครกู ลา่ วว่ากลยทุ ธก์ ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพการทำงานในองคก์ ารดว้ ยการสร้างบรรยากาศในการ
ทำงานก่อใหเ้ กิด ความพอใจในการทำงานและพฒั นาบุคคล นับวา่ เปน็ ขั้นตอนแรกท่ีส่งเสรมิ ให้พนักงาน
และองค์การมีโอกาสกา้ วหนา้ และมีส่วนร่วมในการทำงานใหอ้ งคก์ ารมากขน้ึ

3.ครูแสดงภาพเพ่อื เชือ่ มโยงเขา้ กับเนือ้ หา

ขั้นสอน
4.ครูใช้
เทคนคิ การเรียนการสอนแบบบรรยายประกอบการอธบิ ายความหมายของงกลยุทธข์ ององคก์ าร ซงื่
หมายถงึ การที่องค์การไดแ้ สดงความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดย ใชว้ ธิ กี ารบริหารท่ีองคก์ ารไป
เก่ยี วข้องกบั สภาพแวดลอ้ มทม่ี ีกลมุ่ ตา่ งๆ ตวั บุคคล องค์การอื่นและ สถาบันประเภทอ่ืนทงั้ หลายทอี่ ยู่
ภายในองค์การและนอกองค์การ แตใ่ นเวลาเดียวกนั ขณะท่ี สภาพแวดล้อมไดม้ ีข้อจำกัดควบคมู่ าด้วยนน้ั
ในสภาพแวดล้อมเองกไ็ ดเ้ ปิดโอกาสตา่ งๆ ขน้ึ มา ด้วย ทงั้ นโี้ อกาสตา่ งๆ ท่เี ปิดขนึ้ จะชว่ ยใหอ้ งคก์ าร
สามารถใชค้ วามสามารถพิเศษของตนทีม่ ีอยู่ และทรพั ยท์ ่เี ป็นจุดแข็ง ตลอดจนความคิด ความอา่ น ทจี่ ะ
ดำเนนิ ประโยชนจ์ ากสภาพแวดลอ้ มที่ เปิดโอกาส นน้ั ได้
5. ครูและผูเ้ รียนอภิปรายเร่ืองการจัดชุดของทรัพยากรทีจ่ ะใช้งานในองค์การ ซงึ่ องคก์ ารจะมกี าร
จัดชดุ ทรัพยากรเพอื่ ท่จี ะใช้สำหรับปฏิบัติ โดยทวั่ ไปแลว้ องคก์ ารทุกแหง่ ตา่ งกจ็ ะมสี ่วนผสมของ
ความสามารถ ทรพั ยส์ ิน ทรพั ยากร และประสบการณ์ตา่ งๆ ท่ีชำนาญไปคนละทาง เพื่อใช้ทำงานเพื่อ
เผชิญกับข้อจำกดั ตา่ งๆ ท่ีเกดิ ขึ้น ตลอดจนการใชเ้ พอ่ื สรา้ งความสำเร็จจากโอกาสท่เี ปิดข้ึนให้ดว้ ย ในการ
จดั ชดุ ทรัพยากรเพื่อใชใ้ นการบรหิ าร องค์การจะมีวธิ กี ารจัดทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป โดยทรพั ยากรตา่ งๆ
ดังกลา่ วสามารถทจ่ี ะนำมาพลกิ แพลงและจัดทำขึ้นเพื่อสนองต่อแผนงานในรูปแบบท่ีตา่ งกนั ไป สดุ แต่
ความเหมาะสม เช่น อาจจะจดั เพื่อมงุ่ ให้การสนใจต่อผลิตภัณฑ์ หรอื จัดเพ่อื ทมุ่ เทมงุ่ สู่ ตลาดใดตลาดหนึ่ง
ที่ตงั้ เป้าไว้ หรืออาจจะจัดขน้ึ เพื่อทมุ่ เทไปกบั เทคโนโลยอี ย่างใดอยา่ งหนึง่ เปน็ พเิ ศษ หรอื อาจจะนำมาใช้
กระจายไปยงั สงิ่ ตา่ งๆ ที่กลา่ วมาให้ครบทกุ ด้านกไ็ ด

91

6.ครูแสดงภาพเพ่อื ประกอบการอธิบายกลยทุ ธ์ในฐานะเป็นเคร่ืองมือสำหรบั ใชจ้ ดั ให้
สภาพแวดลอ้ มสอดคล้องกบั ทรพั ยากร

7.ครสู อนกลยุทธ์การบรหิ ารที่ทรงประสทิ ธิภาพ คือ การบรหิ ารเชิงรวมทเ่ี ปน็ ภารกจิ ทางการ
บริหารของผู้บรหิ ารท่มี อี ยเู่ ป็นพเิ ศษ คือ

1). การใช้วธิ บี รหิ ารแบบมงุ่ หมาย (Goal-Oriented Management) เปน็ สำคัญ ทงั้ นก้ี เ็ พราะ
ในภาวะเศรษฐกจิ ทีป่ ระสบปัญหาวิกฤตนน้ั ประสทิ ธภิ าพผลผลติ ทที่ ำได้จะเปน็ เร่ืองสำคญั ยง่ิ ที่ นกั
บรหิ ารจะต้องวดั ผล และคิดตามตลอดเวลา การตั้งเปา้ หมายผลสำเรจ็ ที่ตอ้ งการ และการติดตามผลงาน
ท่ที ำได้ตา่ งกต็ ้องอาศยั เปา้ หมายเปน็ เครอ่ื งมอื ที่จะขาดเสยี มิได้

2). การจดั ระบบการวางแผนท่ีสมบูรณ์ ทง้ั นก้ี ็เพือ่ ให้องคก์ ารมคี วามเข้มแข็งจากการมีระบบ
การวางแผนกลยุทธ์สาหรบั ระยะยาว รวมท้ังการมีระบบการวางแผนท่ีสามารถระบุเป้าหมายผลสำเรจ็
ตา่ งๆ ทจี่ ะสามารถนำมาใชบ้ ริหารงาน เพ่อื ผลสำเรจ็ ร่วมกันทั้งสองฝา่ ย คือ ฝ่ายบริหาร และฝา่ ยปฏิบัติ

3). การจัดระบบการบริหารงานในขน้ั ปฏิบตั ทิ ่ีดีพรอ้ ม น่นั คือ การใชร้ ะบบการวัดผล
ประเมินผล การจงู ใจทรพั ยากรบุคคล ตลอดจนระบบการควบคุม เพื่อใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือที่เหมาะสมสำหรบั
การเสริมสร้างประสิทธิภาพผลผลติ ให้สงู ขนึ้ ได้ตลอดเวลา

92

8.ครูบอกบรรยากาศขององคก์ ารท่มี ีผลกระทบตอ่ การรบั ร้ทู ี่นำไปสกู่ ารลงความเหน็ เกยี่ วกับ
บรรยากาศขององคก์ ารโดยรวม 6 ประการ คือ

1). ความสำคัญของมนษุ ยใ์ นองคก์ าร สมาชกิ ขององคก์ ารจะรู้สกึ วา่ พวกเขาสามารถปฏิบตั ิ
ตามแนวทางทีพ่ วกเขาปฏิบัตอิ ยมู่ ากเท่าไร พวกเขาจะมีความพงึ พอใจบรรยากาศขององค์การโดย
ส่วนรวมมากขนึ้

2). การสง่ ขา่ วสารในองคก์ าร สมาชิกขององคก์ ารรสู้ กึ วา่ พวกเขาสามารถปฏบิ ตั ติ าม
แนวทางทพี่ วกเขาปฏิบตั อิ ยู่ และบุคคลอ่ืนสามารถปฏบิ ัตติ ามแนวทางเดียวกับท่พี วกเขาปฏบิ ตั ิอยู่ การ
ส่งข่าวสารเพยี งพอมากเทา่ ไร พวกเขาจะพึงพอใจบรรยากาศขององค์การโดยรวมมากขน้ึ

3). วิธีการตดั สินใจ สมาชิกขององค์การร้สู ึกวา่ การกระทาของพวกเขาและการกระทำของ
บุคคลอ่นื มมี ลู เหตุจากวธิ กี ารตดั สนิ ใจที่ดี พวกเขาจะมีความพงึ พอใจบรรยากาศขององคก์ ารมากข้นึ

4). วธิ กี ารจูงใจ สมาชิกขององคก์ ารรูส้ ึกวา่ การกระทำของพวกเขา และการกระทำของ
บคุ คลอื่นมีการจงู ใจในทางท่ีดี พวกเขาจะพงึ พอใจบรรยากาศขององค์การ

5). เทคโนโลยีและทรัพยากร ถ้าหากวา่ สมาชกิ ขององค์การพจิ ารณาวา่ วัสดแุ ละอปุ กรณ์
ตลอดจนระเบียบวิธปี ฏิบตั ิขององค์การมีความทันสมัย และรกั ษาสภาพให้ใชง้ านได้ ทำให้พวกเขา
สามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ พวกเขาจะมีความพึงพอใจบรรยากาศขององคก์ าร

6). อทิ ธพิ ลจากเบือ้ งล่างสเู่ บอ้ื งบน สมาชิกขององค์การจะมคี วามพงึ พอใจบรรยากาศของ
องคก์ ารมากกว่า ถา้ หากพวกเขารู้สึกว่าพวกเขามีอทิ ธพิ ลบางอย่างตอ่ ส่งิ ทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในแผนกของพวก
เขา และสมาชิกขององค์การจะมีความพึงพอใจในบรรยากาศขององคก์ ารน้อยลง ถ้าพวกเขารสู้ กึ ว่าพวก
เขาไมส่ ามารถมีอิทธพิ ลต่อบุคคลท่บี งั คบั บญั ชาพวกเขาอย

9.ครูสอนเพ่ิมเติมวา่ บรรยากาศในองค์การ จะนำไปสคู่ วามพงึ พอใจในการทำงาน เมื่อ
บุคลากรมีความสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งกัน มคี วามเข้าใจในวตั ถุประสงคข์ ององคก์ ารเป็นอยา่ งดี มีความไว้
เนอ้ื เช่อื ใจกนั และกนั สูง ยอ่ มส่งผลถึงการมบี รรยากาศในการทำงาน มีความพงึ พอใจในการทำงานมาก
ข้นึ ผลงาน ดขี ึน้ โดยทบี่ คุ ลากรไมเ่ บ่ือหนา่ ยในการทางาน และปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ที่ได้รับมอบหมายไดเ้ ป็น
อยา่ งดี

10.ครูและผู้เรียนอภิปรายการสร้างบรรยากาศในองค์การกบั ความกา้ วหน้าของบุคลากร
และการพัฒนาองคก์ ารจาเปน็ ตอ้ งมีลำดับข้ันตอนในการดำเนินงาน เพอ่ื นาไปสู่ความสำเรจ็ ขององค์การ
ซ่ึงพอสรุปได้ดังต่อไปนี้

1). องคก์ ารควรจะกำหนดแผนระยะยาว ซ่ึงในแผนนั้นจะต้องมีเป้าหมาย และ
วัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง รดั กมุ ชดั เจน

93

2). องคก์ ารจะตอ้ งกำหนดความต้องการด้านกำลังคนจากวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย
เพื่อบคุ ลากรปัจจุบันจะไดเ้ ตรียมตวั หรืออาจแสวงหาความรเู้ พิ่มเตมิ เพือ่ ความกา้ วหน้าในการทำงาน
ของเขา

3). องค์การควรทำการสำรวจบคุ ลากรท่ีมอี ยู่ เพ่ือจะไดร้ ูว้ ่าปจั จุบนั มกี ำลังคนทมี่ ี
ลักษณะและคุณสมบตั อิ ย่างไร

4). องค์การควรคำนึงถึงกาลงั คนที่มีอยปู่ จั จุบนั กบั ความตอ้ งการกำลงั คนขององคก์ าร
ใน กจิ การงานที่สำคญั ต่างๆ เพ่อื จะไดจ้ ัดคนใหเ้ หมาะสมกบั งานหรือหนา้ ท่ี

5). องค์การควรจะกำหนดโครงการฝกึ อบรมตามความต้องการ เพ่ือสง่ เสริมบุคลากรให้
มคี วามก้าวหน้าในการทำงาน หรอื ปรบั ตัวให้ทันกบั เทคโนโลยีสมยั ใหม่ หรอื การสรรหาบุคลากรเพ่มิ เติม
ตามความจำเป็นขององค์การ

6). องค์การควรจะส่อื สารบอกกล่าวใหบ้ ุคลากรรู้ถงึ ความต้องการกำลงั คนประเภทตา่ งๆ
เพ่อื ใหบ้ ุคลากรได้มีความกระตอื รือรน้ ในการพัฒนาตนเองเสมอ

7). องค์การควรจัดรบั สมัคร สัมภาษณ์ คดั เลือก และตระเตรยี มบคุ ลากรให้อยูใ่ นสภาพ
พรอ้ มทจ่ี ะทำงาน จัดทาคำบรรยายลักษณะงานไวอ้ ย่างชัดเจน วางแผนงานให้เหมาะสมตามสภาพกาลงั
คนท่มี อี ยู่ และทร่ี ับเข้ามาใหม่

8). องคก์ ารควรมีระบบตรวจสอบการส่ือสารภายใน เพ่อื รกั ษาบรรยากาศขององคก์ าร
11.ผเู้ รียนแสดงความคิดเห็นว่า “บรรยากาศในองคก์ าร” นัน้ จะก่อให้เกดิ ความพงึ พอใจและ กล
ยุทธ์ในการบรหิ ารองคก์ ารอย่างไร พรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบ
12.ผเู้ รยี นจัดกลุ่มอภิปรายวา่ “การสร้างบรรยากาศในองค์การกับความก้าวหน้าของบุคลกร” โดย
อาศยั วธิ ีการอยา่ งไร โดยมีเหตุผลประกอบ

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
13.ครูและผู้เรยี นสรปุ เนอื้ หาที่เรียน
14.ครูใชว้ ธิ ีสุ่มผเู้ รยี นทุกกล่มุ ตอบคำถามและอธบิ ายให้เพอื่ นฟังทั้งช้ันเรียน

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สอื เรยี น วิชาการบรหิ ารงานคุณภาพในองคก์ าร ของสำนักพิมพ์เอมพนั ธ์
2.รปู ภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน

94

4.แผ่นใส
5.สื่ออิเล็กทรอนกิ ส,์ สือ่ PowerPoint
5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

หลักฐาน
1.บันทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รยี น)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ
ผูเ้ รียนรว่ มกนั ประเมิน
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี ่องปรับปรุง

95

2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 %
ขึ้นไป)

3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึน
ไป)

4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ มีเกณฑ์ผ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนน
ขนึ้ อยู่กับ

การประเมินตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ฝกึ ทกั ษะโดยทำกิจกรรมใบงาน แบบฝกึ หดั
2.อ่านและทบทวนบทเรียน


Click to View FlipBook Version