The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางดวงสมร ฝุ่นเงิน, 2021-04-02 00:10:59

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

แผนการสอนการบริหารงานคุณภาพในองค์กร

146

2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 %
ขนึ้ ไป)
เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ
3.
ไป) กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50%
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมีเกณฑ์ผ่าน 50%
4. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนน
5.
6 การประเมนิ ตามสภาพจริง
ขน้ึ อยกู่ ับ

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทำกจิ กรรม แบบฝกึ ปฏบิ ัติ เพอื่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ
2.อ่านและทบทวนเน้อื หา

147

ตอนท่ี 1 ให้เลือกคำตอบทถี่ กู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งข้อเดยี ว

1. ประสทิ ธภิ าพการทำงานและประสิทธผิ ลท่ีเกิดขึ้นนน้ั ยอ่ มข้นึ อย่กู ับสง่ิ ใด

ก. ความสามารถในการทำงานหลัก

ข. ความรูใ้ นการทำงานหลกั

ค. ความสามารถและทักษะในการทำงานหลัก

ง. ความชำนาญในการทำงานหลัก

2. ข้อใดถือเปน็ ทักษะในการทำงาน

ก. สรุ ะมีความร้เู ร่อื งคอมพิวเตอร์ ข. สุชามีความชำนาญในการใชค้ อมพิวเตอร์

ค. สุชาดามีความสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ง. สดุ านำเอาคอมพวิ เตอรม์ าทางาน

3. การเร่ิมต้นของประสิทธภิ าพการทำงาน ควรเรมิ่ ตน้ จากข้อใด

ก. การตัง้ เป้าหมายความสำเรจ็ ของผลงานทีม่ ีคณุ ภาพสูงสุด

ข. การวางแผนงาน กำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์

ค. การกำหนดนโยบายหลักของงาน

ง. การสำรวจ การวเิ คราะห์ และติดตามผลงาน

4. หลักการพัฒนาด้านความสามารถและทกั ษะการทำงาน ควรจะเรม่ิ ตน้ กอ่ นและเร่ิมต้นจากความพร้อม

อยา่ งไร

ก. การตงั้ เปา้ หมายเพอ่ื เปน็ เจา้ ของธรุ กิจ ข. การมีจิตสำนึกในความรับผิดชอบตอ่ งาน

ค. การแก้ปญั หาให้งานผ่านพน้ ไปได้ ง. การกำหนดแนวทางในการทำงาน

5. ข้อใดเป็นการพฒั นาทกั ษะดา้ นการใช้มารยาททางสังคม

ก. การแสดงออกทางสีหนา้ ข. การมีความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์

ค. ความสง่างาม ง. ความเท่ียงตรง และสภุ าพ

6. ขอ้ ใดเปน็ บุคลกิ ภาพของผ้นู ำ

148

ก. ความสามารถด้านการประสานงาน ข. ความเชือ่ ม่นั ในตนเอง

ค. การเสนอข้อคิดเห็นในการประชมุ ง. การพูดแนะนำบุคคลสำคัญ

7. ข้อใดเปน็ องค์ประกอบของการสือ่ สาร

ก. ผู้สง่ สารและผู้รบั สาร ข. ข่าวสาร และผูร้ ับสาร

ค. วิธกี ารส่อื สาร และผรู้ บั สาร ง. ผู้ส่งสารขา่ วสารผ้รู บั สาร สอ่ื และวิธกี ารสื่อ

8. แนวทางการตดั สินใจโดยใชอ้ ำนาจนัน้ มีผลเสยี อย่างไร

ก. ขาดความรอบคอบ ผดิ พลาดไดง้ า่ ย

ข. ใช้เวลานาน อาจจทำให้งานอืน่ หยดุ ชะงัก

ค. บุคลากรขาดโอกาสพฒั นาแนวคิดของตนเอง

ง. ขาดการติดต่อสอ่ื สารอย่างแท้จรงิ

9. ขอ้ ใดเปน็ หลกั การสำคัญทใี่ ช้ประกอบในการตัดสินใจ

ก. หลักการแห่งคณุ ภาพ ข. หลักการแห่งความรวดเรว็

ค. หลกั การแห่งพันธหน้าท่ี ง. เป็นไปได้ท้งั สามขอ้

10. ความล้มเหลวในการแก้ปญั หาเกิดจากสาเหตุใด

ก. สภาพปญั หามาก การวางแผนขาดประสทิ ธภิ าพ

ข. ระยะเวลาในการแก้ปญั หาเร่งดว่ นเกินไป

ค. การเสนอแนวทางแก้ปัญหาไมค่ อ่ ยได้รบั การแก้ไข

ง. มีการประเมินผลงานผดิ พลาดบ่อย

149

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

150

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 14 หนว่ ยท่ี 10
รหัส 3001-1001 การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (3-0-3) สอนครง้ั ท่ี 14 (40-
ช่ือหนว่ ย/เรื่อง กจิ กรรมการพัฒนาทมี งาน
42)
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคญั
การพัฒนาทมี งานใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ ทำงานด้วยระบบความสัมพันธท์ ด่ี ี ทำใหบ้ ุคลากรทำงาน

อยา่ งมี ความสขุ และทำได้เตม็ ศักยภาพ หน่วยงานมีความภาคภูมิใจและมีความ กา้ วหน้าของผลงาน
องคก์ รมีความ ม่ันคง ในการพฒั นาทมี งานตอ้ งคำนึงถึงองคป์ ระกอบท่สี ำคญั ไดแ้ ก่ เป้าหมายของการ
ทำงาน ผนู้ ำทมี งาน สมาชกิ ของทมี งาน โครงสร้างแผนงาน ทรพั ยากร ระบบการประเมนิ ผล และการ
แบง่ ปันผลประโยชน์ ซ่ึงองค์ประกอบเหล่านี้อาจจะกลายเปน็ สาเหตแุ ห่งความขัดแยง้ ของทมี งานได้ การ
พฒั นาทีมงานให้เกดิ ความสมั พันธ์อันดีและลดความขัดแย้งทาไดห้ ลายวธิ ี ได้แก่ กิจกรรมกล่มุ สัมพันธ์
กิจกรรมกลมุ่ คณุ ภาพ การประชุมสมั มนา และการเรยี นรเู้ พอ่ื การสร้างความเข้าใจผู้อืน่

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสำคัญของทีมงานและการทางานเปน็ ทมี ได้
2. บอกองค์ประกอบของการทางานเปน็ ทมี ได้
3. อธิบายความขัดแย้งของทีมงานได้
4. บอกเทคนคิ การพฒั นาทมี งานได้
5.มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเรอ่ื ง
5.1 ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ์
5.2 ความมีวนิ ัย
5.3 ความรบั ผิดชอบ
5.4 ความซ่ือสัตย์สุจรติ
5.5 ความเช่ือม่นั ในตนเอง
5.6 การประหยดั
5.7 ความสนใจใฝ่รู้

151

5.8 การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนัน
5.9 ความรักสามัคคี
5.10 ความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลักการจัดการองค์การ การบรหิ ารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลติ การ

จัดการความเส่ยี ง การจดั การความขดั แยง้ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจดั การองคก์ าร และเพ่มิ ประสิทธิภาพขององคก์ ารตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเส่ียง และความขัดแย้งในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธ์เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทำงานตามหลกั การบรหิ ารงานคุณภาพและเพ่มิ ผลผลิต
5. ประยกุ ตใ์ ช้กิจกรรมระบบคุณภาพและเพิม่ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชีพ

เนือ้ หาสาระ
1. ความหมายและความสำคญั ของทีมงานและการทางานเป็นทมี
2. องค์ประกอบของการทางานเป็นทมี
3. ความขดั แยง้ ของทมี งาน
4. เทคนคิ การพฒั นาทีมงาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครูและผเู้ รยี นสนทนาเกี่ยวกับการพัฒนาทมี งานให้เกิดประสิทธภิ าพ ทำงานดว้ ยระบบ

ความสัมพนั ธ์ท่ดี ี ทำให้บุคลากรทำงานอยา่ งมี ความสุข และทำได้เต็มศกั ยภาพ หน่วยงานมีความ
ภาคภมู ิใจและมคี วาม ก้าวหนา้ ของผลงาน องค์กรมีความ มนั่ คง ในการพัฒนาทมี งานตอ้ งคำนงึ ถึง
องค์ประกอบที่สำคญั ได้แก่ เปา้ หมายของการทำงาน ผ้นู ำทีมงาน สมาชกิ ของทีมงาน โครงสรา้ งแผนงาน
ทรัพยากร ระบบการประเมินผล และการแบง่ ปนั ผลประโยชน์

2.ผู้เรยี นเล่าประสบการณ์การทำงานเปน็ ทีม พร้อมระบปุ ัญหาท่ีเกดิ ข้นึ และวิธีการแกป้ ัญหา
หรือการพัฒนาการทำงานเปน็ ทีม

3.ครูกลา่ วว่าทีมงาน (Workteam) หมายถงึ กล่มุ บคุ คลท่มี คี วามสัมพันธอ์ ย่างม่นั คงด้วยเปา้ หมาย
ความสำเรจ็ หรือต้องการผลงานรว่ มกนั ความมั่นคงของกลุม่ หรอื ความสามัคคกี ลมเกลียวกนั ขึน้ อยู่กับ

152

องคป์ ระกอบท่ีสำคญั คือ ความชัดเจนของเปา้ หมาย การแบง่ ปนั ความสำเร็จ ผู้นำและผ้ตู ามทีพ่ ร้อมให้
ความรว่ มมอื

ข้ันสอน
4.ครใู ช้สือ่ Power Point ประกอบการอธบิ ายความสำคญั ของทมี งานและการทำงานเป็นทีม ดังนี้
ทมี งานมคี วามสำคัญตอ่ การทำงานเปน็ ทีม เน่อื งจากประสทิ ธภิ าพของทมี งาน จะทำให้การ
ทำงานเปน็ ทีมบรรลเุ ป้าหมายที่ต้ังไว้ ดงั นัน้ การจดั ทีมงานจึงต้องมุ่งจดั สรรบุคลากรท่มี ีลกั ษณะดังน้ี

มีความสามารถและทกั ษะในการทำงานสงู (High Competency)
มคี วามเขา้ ใจและตอ้ งการความสำเรจ็ ตามเป้าหมายของทีมงาน
มบี ุคลกิ ภาพของความรว่ มมือรว่ มใจในการทำงาน
เหน็ ความสำคญั ของผรู้ ว่ มทมี งาน
เหน็ ผลประโยชนข์ องทีมงานสำคัญกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
การทำงานเป็นทีม มีความสำคญั ต่อบุคคลหรือสมาชิกของทีม ดงั นี้
สมาชกิ ของทมี งานมีโอกาสแสดงความสามารถและทักษะในการทำงาน
สมาชิกของทมี งานมโี อกาสสร้างความสมั พนั ธ์กบั เพอื่ นร่วมทมี งาน ความสมั พันธ์ทีด่ ตี อ่ กนั ทำ
ใหเ้ กิดความเป็นเพื่อน (Frendship) ซ่ึงมีความสำคญั ต่อบคุ คลอยา่ งยิ่ง ตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ซง่ึ เปน็
สัตวส์ ังคม มนุษย์จะร้สู กึ อบอุน่ และปลอดภัยเมอ่ื รู้สึกวา่ ตนเองมเี พื่อน
สมาชกิ มีโอกาสหรอื มีส่วนรว่ มทุกขน้ั ตอนการทำงาน ตงั้ แตก่ ารกำหนดเปา้ หมาย วางแผน
งาน ดำเนนิ งาน และประเมนิ ผลงาน ทำใหส้ มาชกิ เห็นความสำคัญของตนเองและของผู้อนื่ นอกจากนี้ยงั
เข้าใจลกั ษณะการทำงานของผู้อ่ืนด้วย
สมาชิกมีโอกาสช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ทำให้สมาชกิ เกิดการเรียนรูง้ านบุคคลและสภาพการ
ทำงาน
สมาชกิ มโี อกาสพฒั นาตนเอง จากส่งิ ที่สมาชิกมโี อกาสทา 4 ขอ้ แรก ทำให้ผลงานของสมาชกิ
เปน็ ผลงานคณุ ภาพ ตามความมุ่งหวังของทมี งาน
การทำงานเป็นทีม มีความสำคญั ตอ่ ทมี งาน หนว่ ยงานหรอื องคก์ ร คือ
สรา้ งประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล
สรา้ งภาพลกั ษณท์ ี่ดีใหป้ รากฏถงึ ความรกั สามัคคี
สรา้ งความภาคภูมิใจแกบ่ คุ คล หน่วยงานและองค์การ
เพิ่มความสามารถในการแขง่ ขัน

153

เพิ่มความเช่ือม่นั ให้กบั ลูกคา้
5. ครใู ช้ส่อื Power Point อธิบายองค์ประกอบของการทำงานเป็นทมี ประกอบด้วย

1). เป้าหมายของทมี งาน การตั้งเป้าหมายของทีมงาน คือหวั ใจของการทำงานเป็นทีม
เป้าหมายของการทำงานเป็นทมี มี 3 ระดับ ได้แก่

1.1 การตั้งเป้าหมายคณุ ภาพของผลงาน เปน็ การตงั้ เปา้ หมายโดย
ลูกค้ากำหนดคุณภาพ คณุ สมบัติ หรอื เป็นความต้องการของลกู คา้
การตอบสนองความต้องการของลกู ค้า โดยคำนึงถงึ ทรัพยากรหรอื ตน้ ทุน
มมี าตรฐานของสนิ ค้าและการบริการ เป็นเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการให้ได้
ตอ้ งการเพ่ิมผลผลิตใหก้ ับองคก์ ารหรือหน่วยงาน

1.2 การตัง้ เป้าหมายคณุ ภาพของทีมงาน เปน็ การกำหนดประสทิ ธิภาพของทมี งานในดา้ น
ต่างๆ เชน่

ความรว่ มมอื ร่วมใจของทมี งาน
ความเป็นเอกภาพของทมี งาน
ผรู้ ว่ มงานทกุ คนมโี อกาสแสดงศกั ยภาพของตนเอง
ผลงานทไ่ี ดใ้ ห้ประโยชนแ์ ละคุณค่าแก่ผู้รว่ มทีมงานทกุ คน
1.3 การตง้ั เป้าหมายคุณภาพของหนว่ ยงานหรือองคก์ าร เปน็ การกำหนดระดบั ความสำเร็จ
ของหนว่ ยงานหรือองค์การ เช่น
ความสามารถในการแขง่ ขนั กบั ค่แู ขง่ ในตลาดการคา้
ภาพลกั ษณท์ ีด่ ขี ององคก์ าร
ผลกำไรทีอ่ งค์การได้รับ
2). ผูน้ ำทีมงาน เปน็ บุคคลท่ีถูกแตง่ ตั้ง เลอื กตั้ง หรือเป็นผู้จดั ต้งั ทมี งานขน้ึ มา ประสทิ ธภิ าพ
ของการทำงานเปน็ ทีมขึ้นอยกู่ ับความสามารถและบคุ ลิกภาพของผนู้ ำทีมงาน ดงั น้ี
2.1 บุคลกิ ภาพของผนู้ ำทมี งานท่ีมีประสิทธภิ าพสูง ไดแ้ ก่
มีความรับผดิ ชอบ
ตรงตอ่ เวลา
เสียสละ
รกั เพือ่ น มีนา้ ใจให้เพือ่ น
มีความมนั่ คง ยึดมน่ั ในเป้าหมายความสาเร็จ
มีความอดทน ไม่แสดงความทอ้ แท้ อ่อนแอ

154

มคี วามยุตธิ รรม
ใช้แนวทางประชาธิปไตย
มีความซอื่ สัตย์และจริงใจ
มีความฉลาดทางอารมณ์
2.2 ความสามารถของผ้นู ำทมี งานที่มีประสิทธิภาพสงู ไดแ้ ก่
ความสามารถในการสอ่ื สาร ทั้งการพดู เจรจาตอ่ รอง การเขียนและการประชมุ
ปัจจุบันต้องมคี วามสามารถส่ือสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ความสามารถในเชิงบริหารจัดการ ทัง้ ด้านบุคลากรและทรพั ยากร
ความสามารถในการประสานงานกบั หนว่ ยงานอ่ืนๆ
ความสามารถในการวนิ ิจฉยั ปัญหาและแก้ปัญหา
มีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์
มีความรแู้ ละความสามารถในงานท่รี ับผิดชอบพอสมควร
มอี ิทธพิ ลตอ่ กลุม่ แต่เป็นอิทธิพลแฝง เช่น บุคลกิ นา่ เกรงขาม เสยี งมีอานาจ เคยให้
ความชว่ ยเหลอื เพ่อื นรว่ มงานทกุ คน เปน็ ต้น
มกี ารตดั สนิ ใจที่ถูกตอ้ งแม่นยา ด้วยประสบการณ์และสัญชาตญาณ
มีความสามารถในการขจดั ปัญหาความขัดแย้งภายในทีมงาน
มที ักษะดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์
3). สมาชกิ ของทมี งาน ทีช่ ว่ ยกนั สรา้ งประสิทธภิ าพใหก้ ับทมี งาน มลี ักษณะดังนี้
มเี ปา้ หมายการทำงานตรงกบั เปา้ หมายของทีมงาน
มีความตอ้ งการทำงานร่วมกบั ทีมงาน เพราะเห็นความสำคัญและเหน็ ประโยชน์ที่จะ
ได้รับรว่ มกนั
ยอมรับและยดึ มน่ั ในอดุ มการณ์และเป้าหมายของทีมงาน
ทำงานด้วยความต้ังใจและทำสดุ ความสามารถหรือเตม็ ศักยภาพ
ยินดีใหค้ วามร่วมมอื ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นรว่ มทมี งาน
มนี ำ้ ใจ ไมตรตี ่อเพอื่ นรว่ มทมี งาน
พร้อมรบั ปัญหาและช่วยกนั แกป้ ัญหา
พร้อมเรยี นร้สู ง่ิ ใหม่และปรับปรงุ งานของตนเอง
พรอ้ มท่ีจะเขา้ ใจผูอ้ ื่นและใหอ้ ภยั ในความผดิ พลาดของผอู้ ่ืน

155

4). โครงสร้างของทีมงาน คอื การแบ่งแยกหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบเพอื่ ให้เกิดประสิทธภิ าพ
การทำงานมากทีส่ ุด ควรเขียนโครงสรา้ งและหน้าท่ีให้ชัดเจน และใหท้ กุ คนเข้าใจข้นั ตอนการทำงาน

5). แผนการดำเนนิ งาน เพ่อื ให้สมาชกิ ทกุ คนเขา้ ใจขัน้ ตอนการทำงานและความรับผิดชอบ
ของแต่ละบคุ คล การเขียนแผนการดำเนนิ งานควรให้ทมี งานทกุ คนมีส่วนร่วมในการวางแผน เพอื่ ให้ได้
แผนงานทค่ี รอบคลุมงานทกุ ๆ ดา้ น และมรี ายละเอียดชดั เจนพอทท่ี ุกคนจะเข้าใจและทำงานประสานกนั
ได้

6). ทรพั ยากรทใ่ี ช้ในการดำเนนิ งาน เป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนดำเนินงาน ทำใหท้ ราบวา่
จะใชท้ รพั ยากรอะไรบ้าง จดั หาได้อยา่ งไร

7). ระบบการประเมินผลการดำเนนิ งาน ซ่ึงประกอบดว้ ย
วธิ กี ารประเมินผล และเกณฑ์การประเมินผล
เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ประเมนิ ผล
ระยะเวลาหรือกาหนดเวลา ประเมนิ ผล

8). การแบ่งปนั ผลประโยชน์ ซ่งึ ประกอบดว้ ย
หลกั เกณฑ์การแบง่ ปนั
วธิ ีการแบ่งปนั
ระยะเวลาหรือกาหนดเวลาการแบ่งปนั

6.ผู้เรยี นยกตวั อยา่ งความขัดแยง้ ของทมี งานและกระบวนการแก้ปญั หา
7.ครแู ละผูเ้ รยี นอภิปรายเน้ือหาเทคนิคการพฒั นาทมี งาน โดยใช้สือ่ Power Point ประกอบดว้ ย
มีสาระสำคญั ดังน้ี
การสรา้ งสมั พันธภาพอนั ดีระหวา่ งผรู้ ว่ มงาน หรือทีมงาน โดยมีเปา้ หมายสำคญั คอื การเพ่มิ
ประสิทธิภาพการทำงานนนั้ เกิดจากการพฒั นาระบบความสัมพันธ์ด้วยกิจกรรมต่อไปนี้

1). กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ (Group Dynamics) คือ กิจกรรมเนน้ กระบวนการกลุ่มในการทำงาน
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นระบบความสัมพันธ์ของกลมุ่ มีขั้นตอนการฝึก ดังนี้

1.1 ขัน้ การแบง่ กลุ่มหรือจดั กลุ่ม มี 2 ลักษณะ ได้แก่
แบง่ กลุม่ ตามความสนใจ ตามความสามารถ
แบง่ กลมุ่ จากความหลากหลาย

1.2 ขั้นต้งั เปา้ หมาย เปา้ หมายคือ หัวใจของกจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ ดังน้ันในการฝกึ จงึ ควรมี
เพยี ง 1 เปา้ หมายเท่าน้ัน

156

1.3 ขั้นกำหนดตำแหน่งของสมาชิก ให้สมาชิกในแตล่ ะทีมงานเรม่ิ การประชมุ กาหนด
ตำแหนง่ ภายในทีมงานของตนเอง ไดแ้ ก่ ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรญั ญกิ และอน่ื ๆ ตาม
ความต้องการของทีมงาน โดยระบหุ นา้ ที่ของตำแหนง่ ตา่ งๆ ใหช้ ัดเจน

1.4 ขน้ั วางแผนดำเนนิ งาน ให้สมาชกิ ร่วมประชุมวางแผนดาเนินงานให้บรรลุ เปา้ หมาย
ตามเวลาท่ีกำหนด

1.5 ขัน้ ดำเนินงาน ให้สมาชิกทุกคนปฏิบตั งิ านตามแผนแ
1.6 ขั้นสรปุ และเสนอแนวทางการปรบั ปรุงงาน ใหส้ มาชิกร่วมกนั สรุปผลการดำเนนิ งาน
และแนวทางการปรบั ปรุงงาน
2). กจิ กรรมกลมุ่ คุณภาพ คือ การรวมตัวของบุคลากรเพอ่ื การพิจารณางานในหนว่ ยงานของ
ตนเองให้มคี ุณภาพ ประสิทธภิ าพ และสนองตอบความต้องการของลูกคา้ ได้มากข้ึน ซึ่งมี กจิ กรรมที่
พัฒนาและปฏบิ ตั ิมาแล้วอย่างไดผ้ ลในประเทศญ่ีปุ่น ไดแ้ ก่
2.1 กิจกรรม 5 ส.
2.2 กิจกรรม QCC
2.3 กิจกรรมข้อเสนอแนะปรบั ปรุงงาน
2.4 กจิ กรรมการบารงุ รกั ษาแบบมีสว่ นร่วม
3). การประชุมสัมมนา (Meeting/Seminar)
3.1 มกี ารกำหนดหวั ข้อหรอื หัวเรอ่ื ง ตรงตามเปา้ หมายและวัตถปุ ระสงคข์ องการพฒั นา
ทมี งาน
3.2 มีการเตรียมรายละเอยี ดและเน้อื หาการประชมุ ครอบคลุมทุกเร่ืองทีต่ ้องการพฒั นา
ทมี งาน ถา้ มีเอกสารประกอบดว้ ยจะดีมาก
3.3 มีวิทยากรหรือประธานการประชมุ ท่มี ีทกั ษะความชำนาญในการสรา้ งบรรยากาศการ
ประชมุ ให้นา่ สนใจ นา่ ตดิ ตาม และเห็นความสำคัญ
3.4 มีสถานที่ท่ีเหมาะสมกบั การประชุมหรือการสัมมนา เช่น ถา้ เปน็ การประชมุ กลมุ่ ย่อย
ควรใช้ห้องขนาดเลก็ พอเหมาะกับจานวนคน ไมค่ วรใช้ห้องใหญเ่ กิน
3.5 กำหนดเป้าหมายการประชุมและกำรสมั มนา ให้ทุกคนรับทราบอย่างชัดเจน พรอ้ มกับ
กาหนดเกณฑ์การประเมินผลการประชุมและสมั มนาด้วย
3.6 ทำการประเมนิ ผลและแจง้ ผลการประชุม- สัมมนา ใหส้ มาชิกทราบ
3.7 ถา้ ป็นสมั มนาหลายวัน ควรจัดช่วงเวลานนั ทนาการใหส้ มาชิกไดค้ ลายเครียด
3.8 ควรมกี ำรตดิ ตามผล หลงั การประชุมสมั ม

157

4). เทคนิคการเรยี นรเู้ พือ่ การสรา้ งความเข้าใจผู้อื่น ความเข้าใจผอู้ ่ืน เกิดจากการรับรูท้ าง
สังคม (Social Perception) ซง่ึ หมายถึง กระบวนการสรปุ ตีความหมาย ตอ่ พฤติกรรมของบคุ คลใน
เหตุการณ์ต่างๆ ทผี่ า่ นระบบประสาทการรับรูแ้ ละประสาทสัมผัส ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ปาก ผวิ หนัง และ
กลา้ มเนอ้ื

8.ครกู ำหนดรายงานหรอื กจิ กรรมกลุ่มเรื่องใดก็ได้ และให้ผ้เู รียนวเิ คราะห์การทำงานเป็นทีมว่า
พบปญั หาใดระหวา่ งการทำงานบา้ ง มีวธิ ีพฒั นาทมี งานของตนเองไดอ้ ยา่ งไร โดยวิธีใดบา้ ง พรอ้ ม
นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น

ขัน้ สรุปและการประยุกต์

9.ครแู ละผเู้ รียนสรุปเนื้อหาท่ีเรียน

10.ทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบตั ิ และประเมนิ ตนเองจากแบบประเมินตนเอง

พรอ้ มทำกิจกรรมการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้

11.ประเมนิ ผู้เรียนตามแบบฟอร์มตอ่ ไปนี้

ชือ่ ผ้เู รียน ประสบการณ์พ้ืนฐานการเรียนรู้ วธิ ีการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

158

สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วิชาการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร ของสำนกั พิมพ์เอมพันธ์
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ , สือ่ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้

หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายชือ่
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ

159

6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและ
ผเู้ รียนร่วมกันประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50 %
ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึน
ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏิบัติมีเกณฑผ์ า่ น 50%
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนน
ขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทำแบบใบงาน แบบฝกึ หัด
2.อา่ นและทบทวนเน้ือหา

160

ตอนท่ี 1 ให้เลือกคำตอบทีถ่ ูกตอ้ งที่สุดเพยี งข้อเดียว

1. ข้อใดจัดเปน็ กลุ่มบุคคลที่มจี ุดม่งุ หมายร่วมกันและต้องทำงานรว่ มกัน เพอ่ื ใหจ้ ุดมงุ่ หมายขององค์การ

ประสบความสำเรจ็

ก. การทำงานเปน็ ทีม ข. การสรา้ งทีมงาน

ค. ประสิทธภิ าพทีมงาน ง. ทมี งานทีด่ ี

2. ข้อใดมีลกั ษณะทมี งานท่ีดี

ก. งานที่มีคณุ ภาพ ข. พฒั นาความคิดสร้างสรรค์

ค. การสอ่ื สารเปน็ แบบเปดิ ง. สรา้ งมิตรสัมพันธ์

3. “Positive Thinking” สอดคล้องกับขอ้ ใด

ก. ความคิดเชงิ บวก ข. ความคิดสดุ ยอด

ค. ความคดิ ความจำ ง. ความดีความงาม

4. ลักษณะพิเศษของแต่ละบุคคลท่ีจะทำให้บคุ คลน้ันแตกตา่ งไปจากบคุ คลอนื่ ๆ หมายถงึ ข้อใด

ก. บคุ ลกิ ภาพ ข. ลักษณะพิเศษของบุคคล

ค. ลกั ษณะทางสงั คม ง. บุคลิกทางอารมณ์

5. การพัฒนาปรบั ปรุงบุคลกิ ภาพของตนเอง สิ่งแรกท่จี ะตอ้ งกระทำคอื ข้อใด

ก. ปรับปรุงแกไ้ ข ข. การวิเคราะห์ตนเอง

ค. แสดงออกใหม่ ง. ประเมินผล

6. “คนเราเกิดมาแล้วไมส่ ามารถอยู่ตามลาพังไดแ้ ตจ่ ะต้องเริ่มสัมพันธก์ บั ผอู้ ่ืนเพือ่ ความสุขสว่ นตวั ”

สอดคลอ้ งกบั ข้อใด

ก. ความสามารถในการสร้างคา่ นยิ มทางสงั คม

ข. ความสามารถในการแสดงอารมณ์ในขอบเขตท่ีเหมาะสม

ค. ความสามารถในการรับรแู้ ละเขา้ ใจสภาพความจรงิ

ง. ความสามารถในการสรา้ งความสมั พนั ธท์ างสังคม

7. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีเปน็ การพฒั นาทีมงาน

ก. ให้การยอมรับ และความเคารพความเป็นสมาชิกในองค์การ

ข. มคี วามสมัครใจ และรว่ มใจทางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง

ค. ใหโ้ อกาสทุกคนได้แสดงความคิดเห็น

161

ง. ใชก้ ารประชุมรว่ มกนั ในการทางาน

8. ข้อใดมีลกั ษณะการทำงานเพื่อพฒั นาการทำงานส่คู วามสาเรจ็

ก. การทำงานเปน็ กลุ่ม ข. ความร่วมมือ

ค. การทำงานเป็นทมี ง. ความสามคั คี

9. ขอ้ ใดคอื หัวใจสำคัญของการทางานเปน็ ทมี

ก. ความไวว้ างใจกนั ข. ความสามารถในการทำงาน

ค. ความรบั ผิดชอบในงานของตนเอง ง. ความกล้าแสดงออก

10. การพัฒนาทมี งานในขน้ั ใดเปน็ แนวทางให้ผบู้ รหิ ารสามารถกำหนดกลยทุ ธก์ ารทำงานของทมี งานได้

ชัดเจน

ก. การประชมุ ปฏิบัติงาน ข. การวางแผนทีมงาน

ค. การมอบหมายงาน ง. ถูกทกุ ขอ้

162

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 15 163
รหสั 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองค์การ (3-0-3)
ชอ่ื หน่วย/เร่อื ง ความหมายและกระบวนการวางแผนพัฒนางาน หนว่ ยท่ี 11
สอนครัง้ ที่ 15 (43-45)

จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคัญ
การวางแผน คอื การกำหนดรายละเอียดของการทำงาน โดยมีการตัง้ เปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์

อยา่ งชัดเจน การวางแผนพฒั นางาน คือการวางแผนปรับเปลย่ี นหรอื ปรบั ปรุงงานใหเ้ กิดคุณภาพหรือ
ประสทิ ธิภาพตามเป้าหมาย โดยมกี ระบวนการวางแผนพฒั นางานถึง 9 ขน้ั ตอนทีส่ ำคญั คือ การสำรวจ
สภาพปญั หา การวิเคราะห์ปญั หา ซึง่ มเี ทคนคิ การวิเคราะห์ทห่ี ลากหลาย เชน่ แผนภูมกิ า้ งปลา แผนภมู ิ
ทางความคิด และ SWOT เม่ือทำการวเิ คราะหป์ ัญหาจนพบประเดน็ สำคัญแล้ว กอ่ นเขียนแผนงานตอ้ ง
ตัดสนิ ใจเลือกแนวทางการแก้ไขปญั หา แตม่ ีขอ้ จำกดั ในการสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ การทดสอบหรอื การ
ทดลอง ทำให้เกิดความมน่ั ใจในแนวทางทีเ่ ลือก แต่มีขอ้ จำกัดด้านเงินทุน ระยะเวลา และบุคลากร
สดุ ทา้ ยคอื การวเิ คราะห์ด้วยการใหค้ ะแนน ซ่ึงเปน็ วธิ ีการท่ีผ้เู ลือกมีความเข้าใจแนวทางการแกป้ ัญหา
อย่างถอ่ งแท้แล้ว แต่มขี ้อเด่นข้อด้อยต่างกัน จงึ ต้องวเิ คราะหด์ ว้ ยการให้คะแนน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและความสำคญั ของการวางแผนได้

2. อธบิ ายกระบวนการวางแผนพฒั นางานได้

3. ตัดสนิ ใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหาได้

4.มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศึกษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ที่ครูสามารถสังเกตไดข้ ณะทำการสอนในเร่ือง

4.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 4.8 การละเว้นสง่ิ เสพตดิ และการพนัน

4.2 ความมวี นิ ัย 4.9 ความรกั สามัคคี

4.3 ความรับผิดชอบ 4.10 ความกตัญญกู ตเวที

4.4 ความซือ่ สตั ย์สุจรติ

4.5 ความเชื่อมน่ั ในตนเอง

4.6 การประหยดั

4.7 ความสนใจใฝร่ ู้

164

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลกั การจัดการองค์การ การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพ่ิมผลผลิต การ

จัดการความเสย่ี ง การจัดการความขดั แยง้ การเพิ่มประสิทธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองคก์ าร และเพ่ิมประสทิ ธิภาพขององคก์ ารตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสย่ี ง และความขัดแยง้ ในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธเ์ พอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพการทำงานตามหลกั การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพ่มิ ผลผลิต
5. ประยุกต์ใช้กิจกรรมระบบคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชพี

เน้ือหาสาระ
1. ความหมายและความสำคญั ของการวางแผน
2. กระบวนการวางแผนพฒั นางาน
3. การตดั สินใจเลือกแนวทางการแกป้ ญั หา

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครูกลา่ ววา่ การการวางแผน คือ การกำหนดรายละเอยี ดของการทำงาน โดยมกี ารต้งั เป้าหมาย

และวตั ถปุ ระสงคอ์ ย่างชดั เจน การวางแผนพัฒนางาน คือการวางแผนปรบั เปล่ยี นหรอื ปรับปรงุ งานให้เกิด
คณุ ภาพหรือประสทิ ธิภาพตามเป้าหมาย

2.ครูและผเู้ รียนยกตัวอยา่ งความสำคญั ของการวางแผน
3.ครูแสดงตัวอยา่ งแผนงาน เพ่ือเชอ่ื มโยงเข้าสู่เนอื้ หา

165

ขั้นสอน
4.ครูกลา่ ววา่ แผนงาน ประกอบด้วยเรอ่ื งสำคัญดังนี้

1). ระยะเวลา ช่วงเวลา หรอื กาหนดวันทเ่ี ริ่มทำงานและวนั ท่เี สร็จงาน
2). กิจกรรมท่ตี ้องทำ ซ่งึ จะแบง่ เปน็ ขนั้ ตอนการทำ หรือแบง่ ตามระยะเวลากไ็ ด้ โดยเรยี งตาม
ลาดับความสาคัญ หรือเรยี งตามขนั้ ตอนของกิจกรรม
3). ผรู้ บั ผิดชอบงานหรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง
4). สถานที่ทไ่ี ปทำงาน
5). งบประมาณ
6). ผลการดำเนนิ งาน เป็นการบนั ทึกตอ่ ท้ายกิจกรรมแต่ละช่อง เพอ่ื ใหท้ ราบว่า การ
ดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเป้าหมายหรือไม่
5.ครูและผเู้ รยี นอภิปรายเรอ่ื งความสำคัญการวางแผนต่อการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งไร
1). การวางแผนเป็นการกำหนดกจิ กรรม หรอื ขน้ั ตอนการทำงานล่วงหน้า ทำให้เกิดการเตรียม
งานก่อนการลงมือปฏบิ ตั ิ การเตรียมงานก่อนย่อมทาให้ผูป้ ฏบิ ตั ิงานมีความพรอ้ ม
2). การวางแผนงานเกิดจากการตง้ั เปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ ทำใหก้ ิจกรรมท่ีถกู กาหนดข้นึ มี
ทศิ ทาง หรอื มจี ุดมุ่งหมายสู่ความสำเร็จตามเปา้ หมาย
3). การวางแผนงาน ต้องใช้ขอ้ มลู ที่ถกู ตอ้ งและแม่นยา ในเรื่องทีเ่ ก่ียวกบั

ปัญหาทีเ่ คยพบมากอ่ นการทำงาน
สาเหตุแหง่ ปญั หาน้ัน จึงต้องมีการวิเคราะห์ปัญหากอ่ นลงมือเขยี นแผนงาน
ข้อมลู อ่นื ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการทำงาน เช่น บุคลากร เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณ์ เคร่ืองใช้
วัตถดุ ิบ ฯลฯ
4). การวางแผนงาน ทำให้เกิดการจนิ ตนาการลักษณะงาน และผลงาน ทำใหม้ องเหน็
องค์ประกอบอื่นๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการทำงาน ได้แก่
สภาพแวดลอ้ มของการทำงาน มคี วามพรอ้ มหรือไม่
บคุ ลากรมคี วามพร้อมหรอื เพียงพอหรอื ไม่
เคร่ืองมอื อุปกรณเ์ ป็นอย่างไร
วตั ถุดิบ จะหาหรือซือ้ จากไหน
ตอ้ งใช้งบประมาณเท่าใด

166

5). การวางแผนงานเปน็ การพจิ ารณากำหนดกจิ กรรม ขั้นตอนการทางาน และอื่นๆ รว่ มกัน
ระหว่างบุคลากรของกลุ่มกจิ กรรม/หน่วยงาน หรอื ระหว่างหน่วยงาน เพอื่ ใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์ของ
ระบบงาน ดงั นน้ั แผนงานท่ไี ดย้ อ่ มไดร้ ับการยอมรบั จากผู้ทปี่ ฏบิ ตั ิงานและผู้เกีย่ วข้อง

6.ครใู ช้สือ่ Power Point ประกอบการอธิบายกระบวนการวางแผนพฒั นางาน ซงึ่ ประกอบดว้ ย
1). สำรวจสภาพปัญหา เพื่อกำหนดประเดน็ ปัญหา ทีท่ ำให้ประสิทธภิ าพการทำงานไม่เปน็ ไป

ตามเป้าหมาย และเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปญั หา ลกั ษณะของขอ้ มูล มี 2 ลกั ษณะ คือ
ข้อมูลดิบ
และขอ้ มูลดดั แปลง

2). การวิเคราะหป์ ญั หา เม่ือไดป้ ระเด็นปญั หาแล้ว นำมาวิเคราะหห์ าสาเหตุท่แี ทจ้ ริงของ
ปญั หาวา่ เกิดจากอะไรบา้ ง เทคนคิ การวเิ คราะหป์ ระเด็นปัญหามหี ลายแนวคดิ และหลายวธิ ี ท่ีใช้กันมาก
คือเทคนิคตอ่ ไปน

2.1. แผนภูมิก้างปลา (Fishbone diagram) หรอื Ishikawa diagram
2.2. แผนภูมิทางความคดิ (Mind Mapping)
2.3. SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
3). แนวทางการแก้ปญั หา และเลือกแนวทางท่เี หมาะสมทส่ี ดุ
4). กำหนดกระบวนการหรอื ขนั้ ตอนการแก้ปญั หา
5). กำหนดทรพั ยากรทจี่ ำเป็นตอ้ งใช้ในการแก้ปัญหา
6). กำหนดระยะเวลาหรอื ชว่ งเวลา
7). ปฏบิ ตั ิการแกป้ ญั หา
8). ตดิ ตามผลการแกป้ ัญหา
9). สรุปและกำหนดมาตรฐานการทำงานใหม่

167

7.ครูใช้เทคนดิ วิธีการสอนแบบบรรยายและสาธิต โดยใช้สอื่ Power Point ประกอบการสอนเรอื่ ง
การตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางการแกป้ ญั หา ซงึ่ การตัดสนิ ใจเลือกแนวทางการแกป้ ัญหามี 3 วธิ ี ดังนี้

วิธที ่ี 1 : ใชป้ ระสบการณ์
ผ้ทู ่พี บกบั ปัญหา สว่ นใหญจ่ ะใช้ประสบการณ์เดมิ ในการแกป้ ัญหา จงึ ใชว้ ธิ ีการแกป้ ญั หา
แบบเดมิ ท่เี คยใช้มาแลว้ แม้ว่าการแกป้ ญั หาครั้งก่อนจะไดผ้ ลมากหรอื นอ้ ยก็ตาม การใชป้ ระสบการณเ์ ดมิ
มีสว่ นทีด่ ี คอื ทำใหต้ ัดสินใจไดร้ วดเรว็ มองเห็นสภาพการณ์ที่จะนำไปเขยี นเปน็ แผนงานได้ โดยไมต่ อ้ ง
สืบค้นข้อมลู เพมิ่ เติม
วธิ ีที่ 2 : ใช้การทดสอบ
การทดสอบหรือการทดลอง เปน็ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยการตง้ั สมมติฐานว่า “วิธี การ
แก้ปญั หา (ก)” คอื วิธีการที่ดที ่ีสุด แต่ก่อนนาไปใช้จรงิ ทำการจาลองสถานการณแ์ ละทดสอบวธิ ีการ
แกป้ ญั หา (ก) กอ่ น เพ่ือจะได้ทราบผลดงั น้ี

ความเหมาะสมของวิธีการแกป้ ัญหากบั สภาพปัญหา
อุปสรรคของการใช้วิธกี ารแก้ปญั หา เช่น ชว่ งเวลา การจดั หาวสั ดุ ฯลฯ
ขนั้ ตอนการแก้ปัญหาเหมาะสมหรือไม่
เครอ่ื งมือและอุปกรณท์ ี่ใช้เหมาะสมหรอื ไม่
บคุ ลากรมีความพร้อมหรอื ไม
วิธีท่ี 3 : การวิเคราะห์ดว้ ยการให้คะแนน
ในกรณีท่ีพบว่ามวี ธิ กี ารแกป้ ญั หาหลากหลายวธิ ี แต่ละวธิ ีมขี อ้ ดีข้อเสยี แตกต่างกัน ดงั น้นั การ
ตัดสนิ ใจเลือกแนวทางการแกป้ ัญหาจึงตอ้ งการวเิ คราะห์ดว้ ยการใหค้ ะแนน (Criteria Rating) มขี ั้นตอน
ดังน้ี
1). เขียนช่อื แนวทางการแก้ปญั หาแต่ละแนวทาง โดยแนวทางการแกป้ ัญหาท่เี ป็น ตัวเลือก มี
รายละเอียดของวธิ ีการดาเนินงาน ผลกระทบ และส่วนประกอบต่างๆ พร้อม
2). กาหนดเกณฑ์การเลือก คือ การกาหนด
2.1 เป้าหมายคณุ ภาพท่ีตอ้ งการ
2.2 งบประมาณทจ่ี ัดหาได้
2.3 ระยะเวลาของการแกป้ ัญหาและชว่ งเวลาท่ีเหมาะสม
2.4 จำนวนบคุ ลากรทมี่ ีอยู่หรือทส่ี ามารถปฏิบตั ิการแกป้ ัญหาได้
2.5 ขอ้ จำกดั ด้านเทคโนโลยี อปุ กรณ์ และวัตถุดิบ

168

3). ใหน้ ำ้ หนกั ของเกณฑ์ทง้ั 5 ขอ้ รวมเทา่ กับ 100% แตล่ ะข้อจะใหข้ อ้ ละก่ีเปอร์เซ็นต์
4).ใหค้ ะแนนกบั วิธกี ารแกป้ ัญหาแต่ละวธิ ีการ โดยกำหนดให้นำ้ หนกั เปอร์เซ็นตท์ ต่ี ง้ั ไว้ คอื 10
คะแนน ถ้าตรงกบั เกณฑท์ ก่ี ำหนด คอื 10 คะแนน ถา้ ไม่ตรงให้ลดลงตามสัดส่วน
8.ครูใชเ้ ทคนดิ วธิ ีการจดั การเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ (Cooperative Learning) หมายถงึ กระบวนการ
เรยี นรู้ทจี่ ดั ให้ผู้เรียนไดร้ ว่ มมอื และช่วยเหลือกันในการเรยี นรู้โดยแบ่งกล่มุ ผู้เรยี นท่มี ีความสามารถตา่ งกนั
ออกเปน็ กลุ่มเล็ก ซึง่ เปน็ ลกั ษณะการรวมกลุ่มอยา่ งมโี ครงสร้างท่ชี ัดเจน มีการทำงานร่วมกัน มีการ
แลกเปล่ียนความคิดเหน็ มีการชว่ ยเหลือพง่ึ พาอาศัยซง่ึ กันและกนั มคี วามรบั ผิดชอบร่วมกันทงั้ ในส่วนตน
และสว่ นรวมเพอ่ื ให้ตนเองและสมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มประสบความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ ดงั นี้

8.1 แบง่ กลุ่มผเู้ รียนออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ เท่ากัน โดยสมาชิกแตล่ ะกลุ่มใหข้ ้ึนอยู่กับ
สภาพแวดล้อมของกาเรียนรู้ทแ่ี ท้จรงิ

8.2 แต่ละกลมุ่ กำหนดงานขึ้นมา 1 ดา้ น เชน่ ด้านการพัฒนาการใช้ภาษาองั กฤษในอาเซียน
การพัฒนาการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เลือกโปรแกรมเอง) หรอื การพัฒนาทกั ษะดา้ นใด ดา้ นหน่ึง

8.3. ประชุมวางแผนงาน มอบหมายงาน และอ่ืนๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
8.4. เขียนกระบวนการวางแผนพฒั นางานให้ชดั เจน
8.5. นำเสนอ และส่งรายงาน
8.6. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
9. ผเู้ รยี นวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายใน (SWOT) ของร้าน KFC
10. ผ้เู รียนวิเคราะหป์ ัญหาสภาพภัยแล้งทีเ่ กดิ ขนึ้ ในประเทศไทย ชว่ ง เดือนพฤษภาคม –
กรกฎาคม ปี 2558 ดว้ ยแผนภมู ิก้างปลา
11. ผูเ้ รียนวิเคราะหป์ ญั หาน้ำทว่ มเม่อื ปี 2555 ด้วยแผนภูมิทำงควำมคิด
12.ครูแนะนำใหผ้ ู้เรียนรู้จักการนำเอาความพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซ่งึ เป็นความ
พอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจำเป็นท่ีตอ้ งมีระบบภมู คิ ุม้ กนั ในตวั ทีด่ พี อสมควรต่อผลกระทบ
ใดๆ อันเกิดจากการเปล่ยี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน การตัดสนิ ใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆใหอ้ ยู่
ในระดับพอเพยี งนน้ั ตอ้ งอาศยั ทง้ั ความร้แู ละคณุ ธรรมเป็นพนื้ ฐาน

ขนั้ สรุปและการประยุกต์
13.ครสู รปุ บทเรยี น โดยใช้ PowerPoint และอภิปรายซกั ถามขอ้ สงสยั
14.ทำกิจกรรมต่อเนื่อง ตอบคำถามจากบทความในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และทำ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ซงึ่ ครผู ้สู อนพจิ ารณาตามความเหมาะสม

169

15.ผูเ้ รยี นทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกหัด

16.ประเมินผู้เรยี นตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี

ชอ่ื ผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รียน วธิ ีการเรยี นรู้
ความสนใจ สติปญั ญา วฒุ ภิ าวะ

1.

2.

3.

4.

5.

แบบประเมินประสบการณ์พน้ื ฐานการเรียนรู้

ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณพ์ นื้ ฐานการเรยี นรู้ วิธีการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
1.หนังสือเรียน วชิ าการบริหารงานคุณภาพในองคก์ าร ของสำนักพมิ พเ์ อมพันธ์
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ , สื่อ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้

170

หลกั ฐาน
1.บนั ทึกการสอน
2.ใบเช็ครายช่ือ
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
4 ตรวจกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้
5. ตรวจใบงาน
6. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ
7. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์
เคร่อื งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยผ้เู รยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
6. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ
7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและ
ผู้เรยี นร่วมกันประเมิน
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง

171

2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 %
ขนึ้ ไป)

3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ข้นึ
ไป)

4. ตอบคำถามในกจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้จงึ จะถอื ว่าผ่าน
เกณฑก์ ารประเมิน มเี กณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควร
ปรบั ปรงุ
5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คือ 50%
6. แบบประเมินผลการเรียน และแบบฝึกปฏบิ ัติรมู้ เี กณฑ์ผา่ น 50%
7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนน
ขน้ึ อยู่กับการประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทำกิจกรรมใบงาน และแบบฝกึ หัด
2.อ่านและทบทวนเน้ือหา

ตอนที่ 1 ให้เลือกคำตอบทถี่ กู ตอ้ งท่สี ุดเพยี งข้อเดียว
1. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ไี มใ่ ชแ่ ผนงานตามลกั ษณะการใช้งาน

ก. แผนงานหลัก ข. แผนการปฏิบัติการ
ค. แผนกลยุทธ์ ง. แผนการทางานประจำวัน
2. ข้อใดเป็นแผนการปฏบิ ตั ิงานเฉพาะของหน่วยงาน
ก. แผนงานประจำ ข. แผนงานหลกั
ค. แผนปฏิบัตงิ าน ง. แผนงานประจำไตรมาส
3. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ไม่ใช่ปัจจยั ท่ีทำให้การปฏิบตั ิงานตามแผนประสบความสำเร็จ
ก. มแี ผนทีด่ ีสามารถปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง ข. มีผู้รบั ผิดชอบการบริหารแผนงาน
ค. มีทกั ษะความสามารถของผู้ปฏิบตั งิ าน ง. มีทรพั ยากรทีใ่ ชใ้ นการปฏบิ ัติงาน
4. การวางแผนมบี ทบาทในการบริหารขององค์การอยา่ งไร
ก. กำหนดทิศทางและเป้าหมายรว่ มขององคก์ าร

172

ข. ประสานความพยายามของกล่มุ ต่างๆ ภายในองคก์ าร
ค. สามารถวัดผลความสาเร็จของผลแต่ละบุคคลของกลมุ่ ในองคก์ าร
ง. ถูกทกุ ขอ้
5. หลักสำคัญทส่ี ุดของการวางแผนอย่ทู ่ขี ้อใด
ก. กำหนดวัตถปุ ระสงค์
ข. การกำหนดแนวทางปฏบิ ัติ
ค. การจัดทำแผนปฏิบัติตามวัตถปุ ระสงค์
ง. ถูกทกุ ขอ้
6. ขอ้ ใดคือวิธีการตัดสินใจลว่ งหนา้ เพอ่ื อนาคตขององคก์ าร
ก. Planning ข. Plan
ค. Project ง. Objective
7. การใช้แผนภูมิก้างปลาวเิ คราะห์สาเหตุของปญั หา มวี ตั ถุประสงค์ท่ีสำคญั คอื อะไร
ก. มองเห็นปญั หาได้อย่างชดั เจนและเปน็ ระบบ
ข. คนสว่ นใหญ่ชอบกนิ ปลาและปลามกี ้างมาก
ค. ทำใหก้ ารแสดงปญั หาน่าสนใจมากขนึ้
ง. เพราะปลามีมากในเมอื งไทย
8. ขอ้ ใดถอื วา่ เปน็ จดุ แข็ง (Strengths) ขององค์การ
ก. ชมุ ชนอย่ใู กล้กบั โรงงาน ข. ลูกค้ามที ศั นคตทิ ่ดี ีตอ่ โรงงาน
ค. องค์กรมฐี านะทางการเงินดี ง. รฐั บาลสนบั สนนุ การเงินใหแ้ กอ่ งค์การ
9. ข้อใดถือวา่ เปน็ โอกาส (Opportunities) ขององค์การ
ก. รฐั บาลเปดิ ตลาดการค้าเสรใี นอาเซียน ข. ผลิตภัณฑด์ ี มีคุณภาพ และราคาถูก
ค. เป็นโรงงานผลิตทีม่ เี งนิ ทุนหมุนเวียนดี ง. ถกู ทุกข้อ
10. อุปสรรคขององคก์ ารคอื ขอ้ ใด
ก. ตรายห่ี อ้ ของสินค้ายงั ไมเ่ ป็นที่รจู้ ักของลูกคา้
ข. การแขง่ ขนั ในตลาดสินคา้ เดียวกันมมี าก
ค. ทำเลท่ีต้ังอยู่หา่ งไกลจากวัตถดุ บิ
ง. รฐั บาลเข้ามาสนับสนุนแหล่งเงนิ ทนุ

173

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

174

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ 16 หน่วยท่ี 12
รหัส 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (3-0-3) สอนครัง้ ท่ี 16 (46-48)
ช่ือหนว่ ย/เร่ือง หลกั การและกระบวนการบรหิ ารงานคณุ ภาพ
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคัญ
การบรหิ ารงานคณุ ภาพมีหลักการพนื้ ฐานสำคญั 8 หลกั การ ได้แก่ เปน็ องคก์ ารทีม่ ุ่งเน้นลกู ค้า

เปน็ สำคัญ การบรหิ ารดว้ ยความเป็นผนู้ ำ การมีสว่ นร่วมของบุคลากร การดำเนินงานอยา่ งเปน็
กระบวนการ การบริหารงาน อย่างเป็นระบบ การปรบั ปรงุ งานอยา่ งต่อเน่อื ง การใช้ข้อเท็จจรงิ เปน็
พื้นฐานในการตดั สินใจและการสร้าง สัมพันธภาพกับตวั แทนจาหน่ายด้วยพ้ืนฐานของผลประโยชน์ที่
เสมอภาคกนั โดยการบริหารคุณภาพทั้ง กระบวนการ คือ ปจั จัยนาเขา้ กระบวนการดำเนินงาน และ
ผลลัพธส์ ุดทา้ ยคือความพึงพอใจของลกู ค้า ทัง้ นีย้ ังให้ ความสำคัญกับการบรหิ ารงานคุณภาพท่ัวทง้ั
องคก์ ารด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลักการบรหิ ารงานคุณภาพได้
2. แสดงความรู้เกย่ี วกับกระบวนการบริหารงานคุณภาพได้
3. แสดงความรูเ้ ก่ียวกับการบรหิ ารงานคุณภาพท่ัวทง้ั องค์การได้
4.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ครูสามารถสังเกตไดข้ ณะทำการสอนในเรอ่ื ง
4.1 ความมีมนษุ ยสมั พันธ์
4.2 ความมวี นิ ัย
4.3 ความรับผิดชอบ
4.4 ความซอ่ื สัตย์สุจริต
4.5 ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง
4.6 การประหยดั
4.7 ความสนใจใฝ่รู้
4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพติดและการพนนั
4.9 ความรกั สามัคคี
4.10 ความกตญั ญูกตเวที

175

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการจัดการองคก์ าร การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลติ การ

จัดการความเส่ยี ง การจดั การความขดั แยง้ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทำงาน
2. วางแผนการจัดการองค์การ และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพขององค์การตามหลกั การ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสี่ยง และความขัดแย้งในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธ์เพอื่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการทำงานตามหลกั การบริหารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยุกต์ใช้กจิ กรรมระบบคุณภาพและเพิม่ ผลผลติ ในการจัดการงานอาชีพ

เนื้อหาสาระ
1. หลกั การบรหิ ารงานคุณภาพ
2. กระบวนการบริหารงานคุณภาพ
3. การบรหิ ารงานคณุ ภาพทัว่ ท้งั องค์การ

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น
1.ครแู ละผู้เรยี นสนทนากันเรื่องการบรหิ ารงานคณุ ภาพมหี ลักการพืน้ ฐานสำคัญ 8 หลักการ

ไดแ้ ก่ เป็นองคก์ ารที่มงุ่ เน้นลูกค้าเปน็ สำคญั การบรหิ ารดว้ ยความเปน็ ผู้นำ การมีสว่ นร่วมของบุคลากร
การดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ กระบวนการ การบริหารงาน อยา่ งเปน็ ระบบ การปรบั ปรงุ งานอยา่ งตอ่ เนื่อง
การใชข้ ้อเทจ็ จรงิ เปน็ พ้ืนฐานในการตัดสนิ ใจและการสร้าง สมั พนั ธภาพกับตวั แทนจาหน่ายด้วยพ้นื ฐาน
ของผลประโยชน์ทเ่ี สมอภาคกนั โดยการบรหิ ารคุณภาพท้งั กระบวนการ คอื ปัจจัยนาเขา้ กระบวนการ
ดำเนนิ งาน และผลลพั ธส์ ุดทา้ ยคอื ความพงึ พอใจของลกู ค้า ของพนักงานขาย และยงั นำรายงานมาใชใ้ น
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานขายดว้ ย

2.เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นสอบถาม หรอื แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น รวมท้งั ปัญหาตา่ ง ๆ ในการเรียน
การสอน

3.ผูเ้ รียนทำแบบประเมนิ ผลก่อนเรียน

ขั้นสอน

176
4.ครูใช้ส่ือ Power Point ประกอบการอธบิ ายเรอื่ งหลักการบรหิ ารงานคุณภาพ (Quality
Management Principle : QMP) ซึ่งมีหลกั การพนื้ ฐานสาคัญ 8 หลกั การ ดังนี้

หลักการที่ 1 เป็นองค์การที่มงุ่ เนน้ ลูกคา้ เป็นสำคัญ (Customer Focus Organization)
หลักการที่ 2 การบรหิ ารด้วยความเปน็ ผนู้ ำ (Leadership)
หลักการที่ 3 การมีสว่ นร่วมของบุคลากร (Involvement of People)
หลักการที่ 4 การดำเนินงานอย่างเปน็ กระบวนการ (Process Approach)
หลักการที่ 5 การบรหิ ารงานอย่างเป็นระบบ (System Approach to Management)
หลักการท่ี 6 การปรับปรงุ งานอยา่ งต่อเน่อื ง (Continual Improvement)
หลักการท่ี 7 การใช้ข้อเทจ็ จริงเปน็ พื้นฐานในการตดั สนิ ใจ
หลักการที่ 8 การสรา้ งสัมพนั ธภาพกับตัวแทนจำหน่าย หรอื องค์การทีเ่ กยี่ วขอ้ งด้วยพ้นื ฐาน
ของผลประโยชนท์ เี่ สมอภาคกัน
5.ครูใช้ภาพและส่ือ Power Point อธบิ ายกระบวนการบรหิ ารงานคุณภาพ ซง่ึ มสี าระสำคญั ดงั น้ี

กระบวนการบรหิ ารงานคุณภาพ คอื กระบวนการที่ประกอบด้วย
1). ปัจจยั นำเขา้ (Input) เพ่ือบรหิ ารงานคุณภาพขององค์การ คอื การตอบสนองความ

ตอ้ งการของลกู ค้า ดังน้นั ปัจจัยนำเข้า คือ ขอ้ มลู ความต้องการของลกู คา้ ขอ้ กำหนดท่ีลูกคา้ กำหนดข้ึน
หรอื ความคาดหวงั ของลูกค้า

177

2). กระบวนการดำเนนิ งาน (Process) เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายคณุ ภาพขององคก์ ารมี
กระบวนการหลกั 4 กระบวนการ ดงั นี้

ความรับผิดชอบของผูบ้ ริการ
การบรหิ ารทรพั ยากรหรือปจั จยั การผลิต
การผลิตหรอื การใหบ้ รกิ าร
การวดั วเิ คราะห์และปรบั ปรงุ กระบวนการดาเนินงาน
3). ผลการดำเนินงาน (Output) ไม่วา่ จะเปน็ ผลิตภณั ฑห์ รือการให้บริการผลการดำเนินงาน ต้อง
บรรลเุ ปา้ หมาย คอื ความพงึ พอใจของลกู คา้ ท้งั นกี้ ารตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน ตอ้ งมี กระบวนการ
ตรวจสอบตงั้ แตเ่ ริ่มดำเนนิ การจนถงึ ขัน้ สุดท้าย คือ ผลงานหรอื ผลผลิตหรอื ผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ ตอ้ งมรี ะบบการ
ตรวจสอบอกี คร้ังกอ่ นสง่ มอบลกู ค้า หลงั จากการส่งมอบลกู คา้ แลว้ องค์การยงั ต้องจัดระบบติดตามความ
พึงพอใจของลูกค้าอกี ครง้ั เพือ่ นำข้อมูลที่ไดร้ ับไปปรบั ปรงุ คณุ ภาพอย่าง ต่อเนื่อง
6.ครูและผเู้ รยี นอภิปรายเรอ่ื งการบริหารงานคณุ ภาพทัว่ ทัง้ องคก์ าร (Total Quality
Management : TQM) วา่ เป็นการบริหารแบบมีส่วนรว่ มของบคุ ลากรภายในองค์การทุกระดบั ในการ
สร้างผลงานคณุ ภาพตามความต้องการของลูกคา้ ภายใต้ปรัชญา “สามัคคคี ือพลัง” ความสามัคคภี ายใน
องคก์ ารทำให้เกดิ ความเป็นเอกภาพ การดำเนนิ งานสเู่ ป้าหมายขององค์การกส็ ามารถทาได้อย่างราบร่ืน
ทงั้ นี้องค์การต้องมีระบบการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม โดยสร้างจิตสำนึก “ความเปน็ เจ้าขององค์การ”
ใหก้ ับบุคลากรทุกคน รวมถึงการสร้างบรรยากาศการทำงาน ท่ีกอ่ ให้เกดิ ทศั นคติท่ดี ีตอ่ องค์การ การ
บริหารคุณภาพทัว่ ทง้ั องคก์ ารประกอบดว้ ย
1). หลกั การบริหารคุณภาพทวั่ ทง้ั องคก์ าร คือ
Quality : ความมงุ่ มน่ั ตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ดว้ ยคุณภาพ
Cost : การบริหารตน้ ทนุ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงท่ีสดุ เพือ่ ใหไ้ ดส้ ินคา้ คุณภาพดี ราคาถกู และ
องค์การมกี ำไร
Delivery : การส่งมอบทนั เวลาสร้างความประทบั ใจใหก้ บั ลูกค้า ลูกค้าพงึ พอใจเมอื่ ได้รับ
สินค้าหรือบริการ
Morale : การสรา้ งขวญั และกำลงั ใจให้กบั บุคลากรทกุ คน
Safety : การสร้างระบบรกั ษาความปลอดภยั ในการทำงาน
Environment : การรกั ษาสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองคก์ าร คือ การ
ประกอบการทไี่ มส่ รา้ งความเดือดร้อนแก่ชุมชน

178

Ethics : การดำเนนิ ธรุ กิจอยา่ งมีจรรยาบรรณ ไมป่ ระกอบธรุ กิจผดิ กฎหมาย หรอื เอาเปรียบ
สังคม หรอื ใชก้ ลอบุ ายทำลายคูแ่ ข่งทางการค้า เป็นต้น

2). การดำเนนิ งานในการบรหิ ารงานคุณภาพท้ังองคก์ าร มีขน้ั ตอนดงั นี้
2.1 กำหนดนโยบายการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เปน็ นโยบายทไ่ี ดร้ ับการยอมรับจากระดบั

ผบู้ ริหาร ผู้ถือห้นุ หวั หนา้ หนว่ ย จนถงึ พนกั งาน
2.2 จดั โครงสร้างการบรหิ ารงานใหม้ ีการแบง่ ช้ันในการส่ังการและดแู ลกากบั งานน้อยท่สี ุด

วางโครงสรา้ งการบริหารงานแบบระนาบและสรา้ งความเชอ่ื มโยงของฝ่ายต่างๆ อยา่ งชัดเจน แสดงให้
เห็นระบบความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน และผลประโยชนท์ ไี่ ด้รับรว่ มกัน

2.3 สร้างความเชอ่ื มัน่ ให้กับพนกั งาน ทำให้พนกั งานมคี วามเชอื่ มั่นตอ่ ระบบการบรหิ ารแบบ
มสี ว่ นรว่ ม ซึ่งจะสง่ ผลให้พนกั งานกลา้ คดิ กลา้ ทำ และกลา้ แสดงความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรคข์ องตนเอง กลา้ ชี้
หรือบอกถงึ จุดบกพรอ่ งในระบบการทำงาน

2.4 สร้างความเชอ่ื มั่นใหก้ ับหนว่ ยงาน คือใหห้ น่วยงานมคี วามเปน็ อิสระในการทำงานเพ่ือ
สามารถแกไ้ ข ปรบั ปรงุ งานดว้ ยตัวเองโดยไม่มคี วามกังวลว่าจะขดั แยง้ กบั ฝ่ายบรหิ าร ขณะเดยี วกนั
หนว่ ยงานก็ต้องการการสนับสนุนจากฝ่ายบรหิ ารในดา้ นปัจจัยและทรพั ยากรเพือ่ ให้การปรบั ปรุงงานบงั
เกดิ ผล

2.5 มกี ารจดั ฝึกอบรมพนักงานทุกระดบั เพอื่ พฒั นาความรู้ความสามารถ ทัศนคตติ อ่ องคก์ ร
พัฒนากระบวนการคิดการแกป้ ญั หาอยา่ งมีเหตผุ ล และเปน็ กระบวนการ พรอ้ มทัง้ สรา้ งความสามัคคี
ภายในองค์การ

2.6 กำหนดอานาจ หน้าที่ และความรบั ผิดชอบให้หนว่ ยงาน สามารถประสานความรว่ มมือ
ของพนักงานและผลักดนั ให้พนักงานแสดงศกั ยภาพสรา้ งสรรค์ผลงานใหม้ ากทส่ี ดุ

2.7 สรา้ งทีมงานประสิทธภิ าพดว้ ยกจิ กรรมกล่มุ คุณภาพ คอื กิจกรรม 5 ส. กิจกรรม QCC
ขอ้ เสนอแนะปรบั ปรุงงานและการบำรงุ รกั ษาแบบมีส่วนร่วม

2.8 ใหท้ ุกหน่วยงานทำงานโดยยดึ กระบวนการดาเนินงานทั้งระบบ ใหค้ วามสำคัญ ตงั้ แต่
ปัจจยั นาเข้า (Input) วธิ กี ารทางาน (Process) และผลงาน (Output)

7.ผูเ้ รียนบอกประโยชน์ของการบริหารงานคุณภาพทง้ั องคก์ ร

8.ผู้เรียนคน้ คว้าจากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต การสมั ภาษณ์ ฯลฯ เกยี่ วกบั องค์การท่ี
ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานระบบบริหารงานคณุ ภาพต่างๆ มา 1 องคก์ าร ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู เกีย่ วกับการ

179

บริหารงานขององคก์ าร กระบวนการบริหารงานคณุ ภาพ โดยเขยี นเป็นแผนภมู ิ รูปภาพทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ประกอบ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมสรปุ เปน็ รายงานและนำเสนอ

9.ครูแนะนำใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักการนำเอาความพอเพียงไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ซ่งึ เปน็ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจำเปน็ ท่ีตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกนั ในตัวทด่ี ีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆ อนั เกิด
จากการเปลยี่ นแปลงท้งั ภายนอกและภายใน การตัดสนิ ใจและการดำเนินกจิ กรรมตา่ งๆใหอ้ ยใู่ นระดบั
พอเพยี งนนั้ ตอ้ งอาศัยทงั้ ความรูแ้ ละคุณธรรมเปน็ พืน้ ฐาน

ขั้นสรปุ และการประเมินผล

10.ครแู ละผู้เรยี นสรุปเนือ้ หาท่ีเรยี น

11.ครูแนะนำให้ผ้เู รียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

12.สรปุ เน้ือหาในหน่วยการเรียนอีกคร้ัง โดยวิธถี าม–ตอบและซักถามข้อสงสัย ผู้เรียนทำแบบ

ประเมินผลการเรียนรู้ และแบบประเมนิ ตนเอง

ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

รายการประเมนิ =9-10 =7-8 =5-6 =ต่ำกว่า 5 คะแนน

คะแนน

1.การกล่าวนำ แนะนำตัว และเพือ่ นรว่ มงาน

2.จุดประสงค์ในการทำงาน แหลง่ ขอ้ มูล วธิ ีการ

ทำงาน

3.ออกเสยี ง ชดั เจน ถูกตอ้ ง

4.นำ้ เสยี งเหมาะสม

5.ตัวอย่างประกอบมีส่อื ชดั เจน

6.ลำดับความคดิ ได้ดี

7.ท่าทางเหมาะสม

แบบประเมินประสบการณพ์ ้ืนฐานการเรียนรู้

ชอ่ื ผเู้ รียน ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

180

4.
5.

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สือเรียน วชิ าการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ , ส่ือ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรยี นรู้

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชอื่
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
4 ตรวจกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้
5. ตรวจใบงาน
6. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค์
เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

181

2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
6. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ

ผเู้ รียนร่วมกันประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 %
ขึ้นไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้
ไป)
4. ตอบคำถามในกจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้จึงจะถือว่าผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ มีเกณฑ์ 4 ระดับ คอื 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควร
ปรับปรุง
5. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
6. แบบประเมินผลการเรยี น และแบบฝึกปฏิบัติร้มู ีเกณฑ์ผา่ น 50%
7 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนน
ขน้ึ อยูก่ บั การประเมินตามสภาพจริง

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.อ่านและทบทวนเน้อื หา
2.แนะนำให้เตรียมตัวสำหรบั การสอบปลายภาค

182

ตอนที่ 1 ใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสดุ เพียงข้อเดียว

1. ขอบขา่ ยของการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ารขอ้ ใดถูกตอ้ ง

ก. เปน็ การบริหารงานที่เกีย่ วขอ้ งกบั ลกู คา้ เปน็ หลัก

ข. เป็นการบริหารงานท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ตวั สินค้า

ค. เปน็ การบริหารงานทีเ่ กยี่ วกับลูกคา้ และองคก์ ารท้ังหมด

ง. เป็นการบริหารงานท่เี กี่ยวข้องกับสินค้าและบริหาร

2. การบริหารงานคุณภาพในองคก์ ารข้อใดที่มุง่ เนน้ ให้กับสงั คม

ก. คณุ ภาพของสนิ ค้า การสง่ มอบ ข. ต้นทนุ สนิ คา้ คุณภาพ

ค. ความปลอดภยั และคุณภาพของสนิ ค้า ง. ส่งแวดล้อม และจรรยาบรรณ

3. การบริหารงานต้งั แตป่ จั จัยนำเข้า กระบวนการดำเนินการ และผลลพั ธ์จากการดำเนนิ การเป็นการ

บรหิ ารงานในด้านใด

ก. การบรหิ ารงานอยา่ งเป็นผู้นำ ข. การมสี ว่ นร่วมของพนกั งาน

ค. การบรหิ ารโดยกระบวนการ ง. การบรหิ ารงานอยา่ งเป็นระบบ

4. ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ป็นระบบการบรหิ ารงานคณุ ภาพ

ก. การบริหารผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดี

ข. การบริหารคนให้ทางานอยา่ งมีความสขุ

ค. การบรหิ ารลกู คา้ ใหพ้ งึ่ พอใจ

ง. การบรหิ ารงานองค์การใหม้ คี ณุ ภาพ

5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การดำเนินงานบรหิ ารงานคุณภาพท่ัวทงั้ องคก์ าร

ก. กำหนดนโยบายบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม ข. กำหนดความเหมาะสมของพนักงาน

ค. จดั ฝึกอบรมใหพ้ นกั งานทกุ ระดับ ง. จดั โครงสรา้ งการบรหิ ารให้มชี ้นั บรหิ ารงาน

น้อย

6. ข้อใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการบรหิ ารงานคุณภาพท่ัวทัง้ องค์การ

ก. พนกั งานได้รับผลตอบแทนในการทางานทค่ี มุ้ ค่า

ข. พนักงานทุกระดับมสี ่วนรว่ มในการรบั ผดิ ชอบและสร้างผลงานคุณภาพ

ค. หนว่ ยงานทกุ หน่วยงานเหน็ ความสำคญั ของตนเองจากการเชอื่ มความสมั พันธ์

ง. การรับฟงั ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรุงงานจากพนกั งานเปน็ การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม

183

7. เหตุใดจงึ ตอ้ งมีการจัดสรรทรัพยากร
ก. เพื่อใหใ้ ชง้ านไดอ้ ย่างท่วั ถงึ ข. เพือ่ ความเสมอภาคในการทำงาน
ค. เพื่อให้ฝา่ ยบริหารไดใ้ ช้ก่อน ง. เพอ่ื ให้การดำเนนิ งานมีคุณภาพสู่เป้าหมาย

8. การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ารเปน็ การทำเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ หก้ ับคนกลมุ่ ใด
ก. องคก์ าร นโยบายองคก์ าร
ข. ลกู ค้า พนกั งาน สังคม
ค. นโยบาย และเป้าหมายขององค์การ
ง. การวางแผน ระบบการบรหิ าร

9. ขอ้ ใดไม่ใชก่ ิจกรรมที่มงุ่ ตอนสนองใหก้ ับลกู คา้
ก. การสำรวจและทดสอบความต้องการของลกู ค้า
ข. ใหค้ วามคาดหวังและความพงึ พอใจ
ค. ประเมนิ ความพึงพอใจและความความหวงั
ง. กำหนดเป้าหมายและวสิ ยั ทศั นใ์ ห้ชดั เจน

10. ข้อใดเปน็ หลักการบริหารองค์การที่เนน้ ลูกคา้ เปน็ สำคญั
ก. บรกิ ารลูกค้าให้ดที ี่สุดโดยคนทง้ั องค์การ
ข. ผลิตสินค้าทีส่ วยงามตรงกบั ความตอ้ งการของลูกค้า
ค. ตอบสนองความต้องการดว้ ยความพึงพอใจ
ง. บรกิ ารใหก้ ับลกู ค้าเกิดความคาดหวัง

184

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

185

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 17 หน่วยที่ 13
รหสั 3001-1001 การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (3-0-3) สอนครง้ั ท่ี 17 (49-51)
ชอ่ื หน่วย/เร่อื ง การดำเนินงานสู่เปา้ หมายการบรหิ ารงานคณุ ภาพ
จำนวน 3 ช.ม.

สาระสำคัญ
การดำเนนิ งานสู่เปา้ หมายการบรหิ ารงานคณุ ภาพ ประกอบดว้ ย การบรหิ ารทรัพยากร การผลิต หรือ

การให้บริการ การวัดและตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน กระบวนการทง้ั 3 ดา้ น ตอ้ งอาศัยปจั จัยนำเข้าท่ี
สำคญั คอื ข้อมลู ความตอ้ งการของลกู ค้า เพือ่ นำไปสกู่ ระบวนการดำเนนิ งานและตรวจสอบผลการ
ดำเนินงาน และการแกไ้ ขปรบั ปรงุ งานอยา่ งต่อเนอื่ ง ทำใหไ้ ด้ผลลพั ธ์คอื การตอบสนองความตอ้ งการของ
ลกู ค้าตามเปา้ หมาย การบรหิ ารงานคุณภาพ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายการบรหิ ารทรพั ยากรได้
2. อธบิ ายการผลิตหรอื การใหบ้ ริการได้
3. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การวัดและตรวจสอบผลการดำเนินงานได้
4.การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้สู ำเร็จการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทีค่ รูสามารถสังเกตไดข้ ณะทำการสอนในเร่อื ง
4.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์
4.2 ความมวี นิ ยั
4.3 ความรับผิดชอบ
4.4 ความซือ่ สัตย์สุจรติ
4.5 ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง
4.6 การประหยัด
4.7 ความสนใจใฝ่รู้
4.8 การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนัน
4.9 ความรักสามัคคี
4.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

186

1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการจดั การองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ การ
จดั การความเสีย่ ง การจัดการความขดั แย้ง การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทำงาน

2. วางแผนการจดั การองคก์ าร และเพ่ิมประสทิ ธิภาพขององคก์ ารตามหลักการ
3. กำหนดแนวทางจดั การความเสย่ี ง และความขัดแยง้ ในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลือกกลยุทธเ์ พ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพการทำงานตามหลักการบรหิ ารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยกุ ต์ใชก้ จิ กรรมระบบคุณภาพและเพมิ่ ผลผลิตในการจดั การงานอาชีพ

เนื้อหาสาระ
1. การบรหิ ารทรัพยากร
2. การผลติ หรอื การให้บริการ
3. การวัดและตรวจสอบผลการดำเนินงาน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครกู ล่าวว่าการดำเนินงานส่เู ป้าหมายการบรหิ ารงานคณุ ภาพ ประกอบด้วย การบรหิ าร

ทรพั ยากร การผลิต หรือการให้บรกิ าร การวดั และตรวจสอบผลการดำเนินงาน กระบวนการทงั้ 3 ด้าน
ต้องอาศยั ปัจจัยนำเขา้ ท่ีสำคัญ คือ ขอ้ มูลความตอ้ งการของลกู ค้า เพื่อนำไปสกู่ ระบวนการดำเนนิ งานและ
ตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการแกไ้ ขปรบั ปรุงงานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทำให้ได้ผลลัพธค์ อื การตอบสนอง
ความต้องการของลกู ค้าตามเปา้ หมาย การบริหารงานคุณภาพ

2. ครูบอกความหมายการบริหารทรพั ยากร หมายถึง การจดั หา จดั มอบ จดั แบ่ง และควบคุมการ
ใชท้ รัพยากร เพ่ือให้หน่วยงานและบคุ ลากรสามารถดำเนินการตามภารกจิ ทีอ่ งค์กรมอบหมาย ได้สำเร็จ
ตาม เป้าหมายขององค์การ

3. ผเู้ รียนบอกความสำคัญของการบริหารทรัพยากร

ขัน้ สอน
4. ครูใช้สอื่ Power Point อธิบายหลักการบริหารทรัพยากรใหก้ ารดำเนนิ งานบรรลุเป้าหมาย
คณุ ภาพ ไดแ้ ก่

1). การบรหิ ารทรพั ยากรตรงกับความต้องการของหน่วยงานในการสรา้ งผลงานคณุ ภาพ โดย
พจิ ารณาจาก

187

1.1 ขอ้ มูลของหน่วยงานแสดงความต้องการ จำนวน ขนาด คุณภาพและคุณลกั ษณะ
เปน็ ข้อมูลท่ีถูกต้องชัดเจนพอ และสามารถสร้างผลงานคณุ ภาพได้

1.2 ฝ่ายจัดหาทรัพยากรต้องมีแผนการจัดหาทม่ี ีประสิทธภิ าพ จัดหาได้ตรงกบั ความ
ต้องการ ทันเวลา มีคุณภาพและตน้ ทุนตา่

2). การจดั หาและการใช้ทรพั ยากรมีระยะเวลาที่เหมาะสม
3). การเพิม่ ปรมิ าณ คณุ ภาพ หรือประสทิ ธภิ าพของทรัพยากร เพอื่ ใช้ในกระบวนการ ปรบั ปรงุ
งานอย่างตอ่ เน่อื ง ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากรต้องพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบถงึ วธิ กี ารจดั หา เพ่ือมิใหเ้ กิดปญั หา
ต้นทุนสูงเกินความจำเปน็
4). มีการวางแผนบริหารทรพั ยากรทัง้ ระยะส้ันและระยะยาว เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั การบริหาร
งบประมาณขององคก์ าร
5). การบริหารทรพั ยากรต้องคำนึงถึง ประโยชนแ์ ละการใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากร และยงั
ตอ้ งคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ จากการใชท้ รพั ยากร เช่น การติดตง้ั เครอ่ื งจักรขนาดใหญ่ การใช้
เคร่อื งจกั รเกา่ (มอื สอง) อาจก่อใหเ้ กิดปญั หาสภาพแวดลอ้ ม การใช้แรงงานเดก็ และสตรี ตอ้ งคำนงึ ถงึ
กฎหมายแรงงาน เป็นต้น
6). มีระบบการประเมินผลการใช้ทรัพยากรได้คมุ้ คา่ และก่อให้เกิดคุณภาพตามเป้าหมาย
5. ครูบอกขนั้ ตอนการดำเนินงานการจดั การงานบุคคล มีดังน้ี
1). การวางแผนงานบริหารบคุ คล ประกอบด้วย

1.1 แผนอัตรากำลงั
1.2 แผนการจา้ งประจำปี
1.3 แผนการฝึกอบรม
1.4 แผนบริหารค่าตอบแทน
1.5 แผนแรงงานสัมพนั ธ์
2). การพจิ ารณาคดั เลอื กบุคคลเข้าสู่ตำแหนง่ งาน ประกอบด้วย
2.1 การพิจารณาพนื้ ฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษา สาขาวชิ าท่เี รียนตรงกับหน้าทกี่ ารงาน
หรอื มีการผ่านการฝึกอบรมท่ตี รงกับความตอ้ งการของหนว่ ยงาน
2.2 การพจิ ารณาความสามารถในเชงิ การปฏิบตั ิงานหรอื ทักษะ (Competency)
2.3 การพจิ ารณาความสามารถในการใชภ้ าษา การสื่อสาร
2.4 การพจิ ารณาประสบการณก์ ารทำงาน หรอื เคยผา่ นการทำงานมาแล้วและตรงกับ
ตำแหน่งงานท่ีต้องการย่อมได้รบั การพิจารณาก่อน

188

3). การส่งเสรมิ บุคคลใหท้ ำงานเต็มศกั ยภาพ ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คลต้องมีการดำเนนิ งานดงั น้ี
3.1 จดั การฝึกอบรมและพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง
3.2 การมอบหมายหน้าทตี่ อ้ งมีความชดั เจนและเหมาะสม
3.3 ใหท้ ราบเกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานคณุ ภาพ
3.4 มีผลตอบแทนและสรา้ งแรงจงู ใจอย่างเหมาะสม
3.5 เปดิ โอกาสให้พนกั งานแสดงความสามารถหรือเสนอแนะปรบั ปรุงงาน
3.6 ใหพ้ นกั งานทกุ คนมโี อกาสได้รบั ความกา้ วหน้าอยา่ งเสมอภาคและเป็นธรรมและ มี

ความมั่นใจในความมั่นคงของงานอาชพี
4). สร้างความตระหนักตอ่ การทำงานเพ่ือใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายคุณภาพของ

องค์การ
5). มกี ารประเมนิ ผลงาน ดว้ ยหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนและตรงกบั เปา้ หมายคุณภาพขององคก์ าร ใช้

เคร่อื งมอื การประเมินท่มี ีประสิทธภิ าพทาการประเมนิ ดว้ ยความโปร่งใสและยตุ ิธรรม
6. ผู้เรียนบอกหลักการดำเนนิ งานการจัดการด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐาน มีดงั นี้
1). การจัดหาหรอื จดั สรา้ งโครงสร้างพน้ื ฐานให้พิจารณาจากความจำเป็นในการปฏิบตั ิงานและ

ตอบสนองเปา้ หมายคณุ ภาพขององคก์ าร
2). การบำรุงรกั ษาใหโ้ ครงสร้างพน้ื ฐานมีอายกุ ารใชง้ านยาวนานและมีประสทิ ธิภาพ ตามความ

ตอ้ งการของหน่วยงานในการสร้างผลงานคุณภาพ
3). การจัดสรรพนื้ ท่ีใชง้ านและการติดตั้งอุปกรณ์ต้องคำนงึ ถึง
3.1 ความตอ่ เนือ่ งของระบบการทำงานในแตล่ ะหนว่ ยงาน
3.2 การติดตัง้ เครื่องจกั ร ตอ้ งคานึงถงึ หลกั การอารยศาสตร์ คือความสมดลุ ระหว่าง

เคร่อื งจักรกบั รา่ งกายของผใู้ ชเ้ คร่อื งจักร เชน่ ความสูง ความใกล้–ไกล เปน็ ต้น
7. ครแู ละผ้เู รยี นอภปิ รายเรอ่ื งการจัดการด้านสภาพแวดล้อมของการทำงาน (Work

Environment Management) ว่าสภาพแวดลอ้ มของการทำงาน ประกอบด้วย
1. สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ไดแ้ ก่
อาคารสถานที่ และการติดตง้ั เครอื่ งจกั รและอปุ กรณ์ต่างๆ
ระบบรกั ษาความปลอดภยั
ระบบอาชวี อนามัย
ระบบระบายอากาศ อุณหภมู แิ ละความชน้ื
ระบบแสงสว่าง

189

2. สภาพแวดลอ้ มทางสังคม ไดแ้ ก่
ระบบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพนกั งานกบั พนกั งาน
ระบบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพนักงานกับฝา่ ยบรหิ าร
รายได้ ผลตอบแทน และสวสั ดิการ
การสรา้ งแรงจงู ใจขององค์การ
การสรา้ งทศั นคติท่ีดตี ่อองคก์ าร

8. ครูและผู้เรียนบอกกระบวนการดำเนนิ งานการผลิตหรอื การให้บรกิ าร ประกอบด้วย
1). การวางแผนผลติ /ให้บรกิ าร
2). กระบวนการผลิต/ใหบ้ รกิ าร
3). การออกแบบและพฒั นาผลติ ภัณฑ์/งานบริการ
4). การจัดซื้อวตั ถดุ ิบหรอื ผลิตภัณฑ์
5). การส่งมอบผลิตภณั ฑ์/การบริการ (Delivery)

9. ครใู ช้เทคนิคการบรรยายเพ่ืออธิบายขนั้ ตอนการตรวจสอบผลการดำเนนิ งานภายในองค์การ ซง่ึ
มดี ังนี้

1). การวางแผนงานการตรวจติดตามภายใน (Internal Audit Plan)
2). วิธกี ารตรวจติดตามภายในทำไดห้ ลายวิธี
3). ขนั้ ตอนการตรวจตดิ ตามภายใน
4). ข้นั ปฏบิ ตั กิ ารปรับปรงุ แกไ้ ขจุดบกพร่อง
10. ครูใช้สอื่ Power Point ประกอบการสอนเร่ือง การวดั และตรวจสอบผลิตภัณฑ์ การควบคมุ
สภาพ/ปอ้ งกันการทำผดิ เง่อื นไข และการปรบั ปรุงคุณภาพการบริหารงานอย่างตอ่ เน่อื ง
การวดั และตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์
1). การวัดและตรวจสอบในกระบวนการผลิต
2). การทบทวนผลการวัดและตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์
3). การตรวจหรือทดสอบโดยลูกคา้
4). การรับรองผลิตภณั ฑ์

การควบคมุ สภาพ/ปอ้ งกนั การทำผดิ เงอ่ื นไข
1). กระบวนการคดั แยกผลติ ภัณฑ์ทีไ่ มไ่ ดม้ าตรฐาน
2). กระบวนการแก้ไขข้อผิดพลาด

190

3). การรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลการดำเนนิ งาน
การปรับปรุงคณุ ภาพการบริหารงานอย่างตอ่ เนอื่ ง

1). การวางแผนปรบั ปรงุ คณุ ภาพการบรหิ ารงานอยา่ งต่อเน่อื ง
2). ปฏบิ ตั ิการแกไ้ ขระบบการบริหารทด่ี ้อยคุณภาพ
3). ปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั ระบบการบริหารงานให้คงไว้ซง่ึ คุณภาพ
11. ผูเ้ รียนศึกษาค้นคว้าหาโรงงานการผลติ สินค้า หรือบรษิ ัทใดบรษิ ทั หนงึ่ ทด่ี ำเนนิ การผลิต
สนิ ค้า หรอื ให้บรกิ ารมา 1 กจิ การ เพื่อกำหนดแนวทางในการบรหิ ารทรพั ยากร การผลิต และการ
ตรวจสอบ ดงั นี้
1). ชอ่ื กิจการ
2). ผลิตภัณฑ์ หรืองานบริการ
3). เป้าหมาย
4). วัตถุประสงค์
5). การจัดการทรัพยากร
6). การดำเนินการผลิต หรือใหบ้ รกิ าร
7). การดำนินการตรวจสอบ ติดตามผลการดำเนนิ งาน
12.ครูแนะนำการอา่ นหนงั สอื ใหแ้ ก่ผ้เู รียน
13.ครเู น้นใหผ้ ู้เรยี น ระมดั ระวงั รอบคอบทกุ คร้ังในการทำข้อสอบ

ขน้ั สรปุ และการประยุกต์

14. ครูสรุปเน้อื หาเนอ้ื หาของรายวิชาการบริหารงานคุณภาพในองคก์ าร

15.ครสู ุ่มถามตอบผู้เรียนเกีย่ วกับเนอ้ื หาที่เรียน

16.ผู้เรียนทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ตนเองจากแบบประเมนิ

ตนเอง รวมท้ังกจิ กรรมการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้

ชอ่ื ผูเ้ รียน ธรรมชาติของผูเ้ รยี น วิธกี ารเรียนรู้
ความสนใจ สติปญั ญา วฒุ ิภาวะ

1.

2.

3.

4.

191

5.

แบบประเมนิ ผลประสบการณพ์ นื้ ฐานการเรียนรู้

ชอื่ ผู้เรยี น ประสบการณพ์ ืน้ ฐานการเรยี นรู้ วิธีการเรยี นรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้
1.หนงั สือเรยี น วิชาการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ ของสำนกั พิมพเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ , สื่อ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายช่อื
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล

192

2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4 ตรวจกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้
5. ตรวจใบงาน
6. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ

ประสงค์
เคร่อื งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้
5. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
6. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและ

ผู้เรียนรว่ มกนั ประเมิน
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50 %
ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ข้นึ
ไป)
4. ตอบคำถามในกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้จึงจะถือว่าผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดบั คือ 4= ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควร
ปรบั ปรงุ
5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมเี กณฑ์ผา่ น 50%
7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน
ขนึ้ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

193

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครแู นะนำใหผ้ เู้ รยี นอา่ นและทบทวนเน้อื หา

ตอนที่ 1 ให้เลือกคาตอบทถี่ กู ต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว

1. ข้อใดตอ่ ไปนี้ไม่ใช่ความสำคัญของคุณภาพการผลิต

ก. การสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ ับลกู ค้า ข. การใชเ้ ทคโนโลยีทท่ี ันสมัย

ค. การลดต้นทนุ ในการผลิต ง. การยกระดบั ความต้องการของลกู คา้

2. ข้อใดเปน็ สาเหตุของการจัดสรรทรพั ยากร

ก. เพอื่ ใหใ้ ชง้ านไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง ข. เพื่อความเสมอภาคในการทำงาน

ง. เพอ่ื ให้ฝา่ ยบรหิ ารไดใ้ ชก้ ่อน ง. เพ่ือให้การดำเนินงานมีคณุ ภาพส่เู ป้าหมาย

3. Job Description ช่วยในการจดั สรรงานบุคคลข้อใด

ก. ช่วยในการจดั การเป้าหมายของการจัดการบุคคล

ข. ช่วยจดั สรรบคุ คลใหอ้ ยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม

ค. ชว่ ยในการพิจารณาบุคคล

ง. ชว่ ยส่งเสริมบุคคลให้ทำงานเตม็ ประสิทธภิ าพ

4. ขอ้ ใดตอ่ ไปนกี้ ลา่ วไดถ้ กู ตอ้ งเก่ยี วกับ QA

ก. การสุ่มตรวจขั้นสดุ ทา้ ยของกระบวนการผลิต

ข. การสุ่มตรวจผลผลติ จากกระบวนการผลติ แต่ละขัน้ ตอน

ค. การตรวจผลผลติ ทกุ ชิ้นในขัน้ สุดท้ายของการผลิต

ง. การตรวจสอบภายในของกระบวนการผลติ ทุกจดุ

5. กระบวนการ QC เกิดขึ้นในขนั้ ตอนใดในการผลติ

ก. การคดั เลือกวัตถุดบิ

ข. การนาวัตถุดบิ เขา้ สู่กระบวนการ

ค. กระบวนการผลิต

194

ง. ผลผลติ

6. ขอ้ ใดถกู ต้องเกย่ี วกบั “Put the right man in the right job”

ก. จัดคนโดยการส่งเสริมให้บุคคลทำงานเต็มประสิทธิภาพ

ข. จัดคนใหอ้ ยู่ในตำแหน่งทเ่ี หมาะสม

ค. จดั คนใหอ้ ัตรากำลงั เหมาะสม

ง. จัดคนใหไ้ ด้รับคา่ ตอบแทนที่เหมาะสม

7. การนำระบบการบรหิ ารงานคณุ ภาพมาใช้เพื่อตอบสนองกับใคร

ก. ผู้บรหิ ารองคก์ าร ข. ผู้ประเมนิ ภายใน

ค. ผ้ปู ระเมินภายนอก ง. ผูร้ บั สนิ ค้าและบริการ

8. ในการออกแบบผลิตภณั ฑข์ อ้ มูลที่ใชใ้ นการออกแบบควรมาจากข้อใดมากทสี่ ุด

ก. ขอ้ มูลจากลูกคา้ ข. ข้อมูลจากค่แู ขง่

ค. ขอ้ มลู จากนกั การตลาด ง. ข้อมูลจากผ้อู อกแบบ

9. Take-off high ability from man สอดคล้องกับข้อใด

ก. จัดสรรบุคคลใหเ้ หมาะสมกับงาน ข. สง่ เสริมบุคคลให้ทางานไดเ้ ต็มศักยภาพ

ค. จดั ทำรายละเอียดของหน้าทีก่ ารงาน ง. ประสทิ ธิภาพการจัดการงานบคุ คล

10. การควบคมุ ไม่ให้ผลติ ภัณฑท์ ่ีไมไ่ ด้คณุ ภาพถงึ มือลูกค้า องคก์ ารควรทำอย่างไร

ก. แตง่ ตั้งบุคลากรรบั ผิดชอบกระบวนการคัดแยก

ข. ติดเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานให้ชดั เจน

ค. จดั ระบบเอกสารเพอื่ บนั ทึกผลการคัดแยก และกำหนดพ้นื ท่ีจดั เก็บแยกจากคลงั สินค้า

ง. ถกู ทุกข้อ

195

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version