The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitirath hoymala, 2020-01-12 21:21:38

รวมเล่ม

รวมเล่ม

หนังสือถอดบทเรยี น
ป 2562

งานมหกรรมคุณภาพ ครั้งที่ 26

คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานมหกรรมคณุ ภาพ (Quality Conference) คร้ังที่ 26 ประจาปี 2562
“เรียนรู้เพ่มิ คุณค่า พฒั นารามาธิบดอี ย่างยั่งยืน”
วนั ที่ 29-30 สงิ หาคม 2562
ณ หอ้ งประชุม 910 ABC ชนั้ 9

อาคารเรียนและปฏิบตั กิ ารรวมดา้ นการแพทยแ์ ละโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี

คำนิยม

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นสถาบันทางการแพทย์ชั้นนาในระดับสากล มีการ
จัดการศึกษา สรา้ งงานวจิ ัย ใหก้ ารบริการวิชาการ และดูแลสุขภาพ เพ่ือสุขภาวะของสงั คม โดยมคี า่ นิยม มุ่งเรยี นรู้
คู่คุณธรรม ใฝ่คุณภาพ ร่วมสานภารกิจ คิดนอกกรอบ รับผิดชอบสังคม ภายใต้วัฒนธรรมองค์กรซ่ึงร่วมประสาน
ความต่างเพ่ือสรา้ งสง่ิ ท่ดี ีกว่า

การดาเนินการของคณะฯ ประกอบด้วยบุคลากรที่มีองค์ความรู้หลากหลายสาขา ท้ังความรู้ที่
เด่นชัดและความรู้ฝังลึก คณะฯ ใช้การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) เป็นเคร่ืองมือคุณภาพ
โดยได้จัดงานมหกรรมคุณภาพเป็นประจาทุกปีเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคน พัฒนาหน่วยงาน และ
พฒั นาไปสอู่ งค์กรแหง่ การเรียนรู้

การจัดงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference: QC) ในปีน้ีเป็นการจัดงานครั้งที่ 26
ภายใตห้ ัวข้อ “เรียนรู้เพิ่มคุณค่า พฒั นารามาธิบดอี ยา่ งย่งั ยนื ”

ขอขอบคุณงานพัฒนาคุณภาพงานที่ทาหนังสือถอดบทเรียน ซึ่งเป็นผลงานอันเกิดจากการสกัด
วิเคราะห์ และร้อยเรียงองค์ความรู้ให้เข้าใจง่าย ถือเป็นการรวบรวมความรู้ที่มีค่าจากวิทยากรและประสบการณ์
จากการปฏิบัติงานจริงของบุคลากรที่ผ่านการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อให้งานของตนดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยบันทึก
ไว้ในหนังสือการถอดบทเรียน และสามารถนาไปเผยแพร่ทั้งในคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รวมถึง
องคก์ รอนื่ ๆ ในสังคมกอ่ เกิดประโยชน์ตอ่ ไป

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา
คณบดีคณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี

คำนิยม

หนงั สอื ถอดบทเรียนของคณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดีเลม่ น้ี เป็นองค์ความรู้ทีร่ วบรวมมาจาก
งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference : QC) ครั้งท่ี 26 ของคณะฯ ซึ่งเป็นการจัดงาน ภายใต้หัวข้อ
“เรยี นรู้เพ่มิ คณุ ค่า พฒั นารามาธิบดอี ยา่ งยง่ั ยืน”

การถอดบทเรียนเป็นวิธีการหนึ่งของการจัดการความรู้ เป็นการเสริมสร้างการเรียนรู้ของกลุ่มหรือ
องค์กร สกัดความรทู้ ี่ฝังลกึ ในตวั ตน นามาสรปุ และสังเคราะห์เป็นชุดความรู้ คมู่ อื สอื่ ตา่ ง ๆ ใหผ้ ู้ร่วมถอดบทเรยี น
เกดิ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั นาไปส่กู ารปรบั วิธคี ดิ และวธิ ีการทางานให้มคี ณุ ภาพ

หลักการของการถอดบทเรียน คือ การเปิดใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และพร้อมที่จะเรียนรู้
ร่วมกัน การถอดบทเรียนของผู้อื่น จึงเป็นการสกัดความรู้ท่ีมีในตัวคน (Tacit Knowledge) ออกมาเป็นบทเรียน
Explicit Knowledge) เป็นการนามาซ่ึงการปรับวิธีคิด และเปลย่ี นแปลงวิธกี ารทางานที่สร้างสรรค์และมีคณุ ภาพ
ย่งิ ข้นึ

หนังสือถอดบทเรียนน้ีจึงเป็นหนึ่งในความสาเร็จของงานพัฒนาคุณภาพงาน ในฐานะรองคณบดีฝ่าย
คุณภาพ มีความยินดีและภูมิใจท่ีจะได้นาเสนอหนังสือซึ่งตกผลึกและได้รับการถอดบทเรียนออกมาเล่มน้ี ไปยัง
องค์กรภายนอก และหวังว่า จะเป็นจุดเริ่มต้นกระตุ้นให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนางานคุณภาพให้ขยายในวง
กว้าง ก่อเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสุขภาวะของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี องค์กรอ่ืน ๆ และ
สังคม อยา่ งยง่ั ยืนตอ่ ไป

รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงมะลิ รุง่ เรอื งวานิช
รองคณบดีฝ่ายคุณภาพ

คำนิยม

หัวใจของการถอดบทเรียน จะต้องประกอบด้วย การแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing) มี
ผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutual benefit) มีความไว้วางใจทั้งตนเองและผู้อื่น (Trust) และมีการเรียนรู้ (Learning)
ซึง่ ผลท่ีได้คือทาให้ได้ชุดความรทู้ ่ีเป็นรูปธรรม เกิดการเรียนรูร้ ่วมกันของผู้เข้าร่วมกระบวนการ นามาซึ่งการปรับวิธี
คดิ และเปล่ยี นแปลงวธิ กี ารทางานท่ีสรา้ งสรรค์และมีคุณภาพยง่ิ ขึ้น

สาหรับหนังสือถอดบทเรียนของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีในปีนี้ เนื้อหาท่ีอยู่ภายในเล่มมา
จากงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference: QC) ครั้งที่ 26 ของคณะฯ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจที่
จะได้นาเสนอออกสู่สายตาของทุกท่าน โดยมุ่งหวังว่า ความรู้อันมีค่าจากวิทยากรและประสบการณ์จากการ
ปฏบิ ตั ิงานจรงิ ของบคุ ลากรที่ผา่ นการปรบั ปรุงและพฒั นาเพื่อให้งานของตนดีข้ึนอย่างต่อเน่ืองน้นั ผอู้ า่ นจะสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในบรบิ ทท่ีมีความแตกต่าง เผยแพร่ไปสู่ผู้แสวงหาความรอู้ นั ไม่มที ส่ี ิ้นสดุ ทาให้เกิดการแลกเปลยี่ น
ต่อยอดทางความรู้ออกไปในวงกว้างและเกิดความย่ังยนื ตอ่ ไป

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจริยา ไวศยารทั ธ์
รองหวั หน้าภาควชิ าพยาธิวทิ ยา
บรรณาธิการ

สารบญั หนา้
หนังสอื ถอดบทเรยี น งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference) ครงั้ ที่ 26 2

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล 4
“เรียนรู้เพม่ิ คณุ คา่ พฒั นารามาธิบดีอยา่ งยั่งยนื ” 9

รายการ 12

ส่วนที่ 1 การถอดบทเรียนการบรรยาย 18
1. จากรามาฯ สูศ่ าลายา เสน้ ทางเรียนรู้ที่ไม่สนิ้ สุด 22
28
วทิ ยากร รศ. นพ.ธนั ย์ สุภัทรพันธุ์ 33
รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 39
44
2. รามาธบิ ดีทม่ี ีหัวใจ 50
วทิ ยากร คณุ พจนารถ ซีบังเกิด(โค้ชจิมม)่ี ประธานกรรมการและผกู้ อ่ ต้ังกลุ่มบริษทั จมิ ม่ี เดอะ โคช้

3. ค้นหาแรงบันดาลใจ...เพอ่ื สรา้ งการเปล่ียนแปลง
วทิ ยากร น.ต.นิธิ บุญยรตั กลิน
กรรมการผู้ถอื หุ้นบรษิ ัท เคพีเอน็ บางกอก กรุป๊ จากัด บริษัท เคพีเอน็ แมเนจเมนท์ จากดั
ผศ. ดร.ปรียาสริ ิ วฑิ รู ชาติ ภาควชิ าวิทยาศาสตรส์ อื่ ความหมายและความผดิ ปกติของการสอ่ื ความหมาย (ผู้ดาเนินรายการ)

4. เสวนา : เสรมิ พลงั ...สร้างศักยภาพ ด้วยพลงั บวกทางความคดิ
วทิ ยากร นพ.สมิทธิ์ อารยะสกลุ (หมอโอค๊ ) แพทย์ผู้เช่ียวชาญดา้ นผวิ หนงั นกั ร้อง พธิ ีกร
วทิ ยากร คุณปาณสิ รา อารยะสกลุ (คณุ โอปอล)์ นักแสดง พธิ กี ร ดเี จ นักรอ้ ง นกั ธรุ กิจ
อ. พญ.จริ าภรณ์ อรณุ ากรู ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ (ผู้ดาเนนิ รายการ)

ส่วนที่ 2 การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงาน เร่อื งเลา่ เร้าพลัง

1. เส้ียวนาทแี ห่งชีวติ
2. รกั ษไ์ รพ้ รมแดน
3. Give Heart for Heart (ให้ใจ เพื่อใจ)
4. ออ้ มกอดเสรมิ พลัง สรา้ งแรงใจ
การนาเสนอผลงาน CQI
1. การพัฒนางานด้านการให้บริการ การขอสาเนาประวัติการรักษาพยาบาลผู้ป่วยสาหรับบรษิ ัท
2. การใหย้ าคมุ อาการในผูป้ ่วยระยะทา้ ยทางชนั ใตผ้ วิ หนงั อย่างตอ่ เน่อื งทบี่ า้ น
3. เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการนดั ผปู้ ่วยทา CT hydration

สารบัญ 56
หนังสอื ถอดบทเรยี น งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference) ครัง้ ท่ี 26 61
66
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 72
“เรยี นรูเ้ พ่ิมคณุ ค่า พฒั นารามาธบิ ดอี ยา่ งย่ังยนื ”
78
4. หัวหน้าพาทา งานคุณภาพ CQIKAIZEN
5. อปุ กรณ์ช่วยดงึ น้วิ เทา้ ไขว้ 83
6. จัดระเบียบพ้ืนที่จอดรถจกั รยานยนตค์ ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี
7. 3T การพฒั นาระบบการดูแลอยา่ งไรร้ อยตอ่ ฯ 85
การนาเสนอผลงาน Dean’s Innovation Awards 86
87
Inventory Distribution Center: IDC “คนื พืน้ ทคี่ ลงั วสั ด”ุ

ขอขอบคณุ
ภาคผนวก
กาหนดการงานมหกรรมคุณภาพ
รายชื่อทีมถอดบทเรียน
คณะผู้จัดทา

การถอดบทเรียนการบรรยาย

จากรามาฯ ส่ศู าลายา เส้นทางการเรียนร้ไู มส่ ้ินสดุ

หวั ข้อการบรรยาย จากรามาฯ สู่ศาลายา เสน้ ทางการเรยี นร้ไู ม่สน้ิ สุด
วันท่ี 29 สงิ หาคม 2562
เวลา 09.00-10.00 น.
ห้องประชุม ห้อง 910 ABC ช้ัน 9
อาคารเรียนและปฏบิ ัติการรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี
วทิ ยากร รศ. นพ.ธนั ย์ สุภทั รพนั ธ์ุ รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลยั มหิดล
รปู แบบการนาเสนอ การบรรยายประกอบเอกสารการนาเสนอ ( Power Point Presentation)

รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ุ รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล

เนอ้ื หา
เราจะไปได้ไกลแค่ไหน อนาคตไม่ใช่เรื่องที่คาดเดาไม่ได้อีกแล้ว รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ุ ต้ังคาถามกับผู้ฟัง

และได้เร่ิมต้นเลา่ เร่ืองราวว่า แรงบนั ดาลใจของตนเองจากภาพยนตร์ “เขาชื่อกานต์” ทที่ าให้เกิดแรงบนั ดาลใจอยากจะ
เป็นแพทย์ใชท้ ุนในชนบท ได้ทาหนา้ ท่แี พทย์อย่างเต็มกาลังความสามารถ หลงั เรยี นจบแพทย์ ศริ ิราชไดก้ ลับไปใช้ทนุ ณ
โรงพยาบาลแหง่ หน่ึงในจังหวัดสระบุรี และคดิ ว่าชีวิตของการเปน็ แพทย์คงจบลงตรงนั้น แต่ทว่าชีวติ คอื การเรียนรู้ และ
การแสวงหาโอกาส หลังจากน้ันไดม้ าเรียนแพทย์เฉพาะทางด้านกระดกู และขอ้ ท่โี รงพยาบาลรามาธบิ ดี ซงึ่ เป็นจดุ เรมิ่ ต้น
ท่ีทาให้ได้เรียนรู้เรื่องราวมากมายจนกระท่ังถึงทุกวันนี้ รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ุ ได้ค้นพบว่าปัจจัยที่กาหนด
ความสาเร็จในชีวิต หรือปัจจัยที่จะคาดเดาอนาคตของคนคนหน่ึงนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 3 อย่างด้วยกัน คือ
สมรรถนะ (Competency) ความมุ่งมน่ั (Commitment) และการสนับสนุนหรือโอกาส (Contribution) สามส่ิงนีค้ ือ
ส่ิงท่ี รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ุ ได้รับตลอดระยะเวลาที่อยู่ในรามาธิบดี หลังสาเร็จการศึกษาเฉพาะทางได้ถูกเลือกให้
เป็นอาจารย์แพทย์ที่ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ และได้รับโอกาสจากหัวหน้าภาควิชาฯ ในเวลานั้น ให้ทางานด้านคุณภาพ
โรงพยาบาล (Hospital Accreditation:HA)

รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธ์ุ เล่าว่าในราวปี พ.ศ. 2540 การทางานด้านคุณภาพโรงพยาบาล ยังคงเป็นเรื่องใหม่
แต่ส่งิ สาคัญท่สี ุดในตอนนั้นคือการเรียนรู้ที่จะทาความเขา้ ใจและพัฒนาตนเองให้สามารถทาได้ในเวลานั้น มีการบรหิ าร
จัดการทีมการทางานในภาควิชาออร์โธปิดิกส์หลายส่วนมาก และได้พัฒนาระบบการบริหารจัดการท่ีดีขึ้นโดยเฉพาะ
การบริหารจัดการเตียงเพ่ือให้ได้ประโยชน์สูงสุด แม้ภายหลังการตรวจเยี่ยมจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

2

จากรามาฯสศู่ าลายา เสน้ ทางการเรยี นรูไ้ มส่ ้นิ สุด
(องค์การมหาชน) (สรพ.) ในครั้งแรกจะไม่ผ่าน แต่ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ได้รับการยกย่องว่าเป็นสามภาควิชาใหญ่ท่ีมี
ความโดดเด่นมากในเวลานั้น ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าภาควิชาออร์โธปิดิกส์ยกระดับตัวเองขึ้นมาจากการมุ่งมั่นทา งาน
คุณภาพ รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์ เล่าให้ฟังอีกว่าการเรียนรู้คือสิ่งสาคัญของชีวิต จึงไม่หยุดพัฒนาตัวเองแต่เพียง
เท่านนั้ เมอื่ ผู้ใหญ่หยิบยื่นโอกาสให้จึงรับไว้และได้ศึกษาต่อที่สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) NIDA จน
ได้เล่ือนลาดับความก้าวหน้ามาเป็นหัวหน้าภาควิชาออร์โธปิดิกส์ รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้อานวยการ
โรงพยาบาลรามาธิบดี มาถึงจุดน้ี รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์ ยังเน้นย้ากับผู้ฟังว่า การเรียนรู้คือส่ิงสาคัญ โดยพูดถึงการ
ค้นพบวิตามินซีจากผักและผลไม้ของนักวิทยาศาสตร์ของประเทศอังกฤษ ทาให้อัตราการเสียชีวิตของกะลาสีเรือลดลง
ถึงร้อยละ 50 จึงทาให้ประเทศอังกฤษสามารถเดินเรือไปในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลกและสามารถยึดครองดินแดนท่ัวโลก
มากมาย และยังต้ังข้อสังเกตว่าการทางานเป็นทีมน้ันมีส่วนสาคัญมาก ๆ ในการบรรลุเป้าหมาย และการประสบ
ความสาเร็จ

“การเรียนรู้ คือ ดีเอ็นเอของมนุษย์” เป็นคากล่าวสรุปส้ัน ๆ ของ รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์ และได้อธิบาย
เพิม่ เติมเกยี่ วกบั กรอบความคดิ ของมนุษย์ (Mindset) วา่ มนษุ ยม์ ีกรอบความคิดหลัก ๆ อยู่ 2 แบบ คือ กรอบความคิด
แบบเตบิ โต (Growth Mindset) สนกุ กบั การเรยี นรู้ การล้มเหลวคือการเรยี นรู้ มองทุกอย่างดว้ ยความมีเหตุผล เข้าใจ
ฉลาดและพร้อมจะพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ และ กรอบความคิดแบบจากัด (Fix Mindset) ที่เชื่อว่าความสามารถท่ีตัวเองมี
เปน็ สงิ่ ท่ีตายตัว ไม่สามารถแกไ้ ขได้ จะหยุดอย่กู ับสิ่งเดิม ๆ ท่ีตัวเองทาได้ดี เม่อื เจอกับอปุ สรรคทม่ี ากเกนิ ความสามารถ
ของตัวเองจะปฏิเสธท่ีจะเผชิญ กลัวท่ีจะลม้ เหลว ปฏิเสธทจี่ ะยอมรับความผดิ พลาดแล้วนามาพัฒนาตวั เอง จึงสรุปเป็น
แนวคิดว่า คนที่จะพัฒนางานได้ดีต้องมีกรอบความคิดแบบเติบโต (Growth Mindset) นอกจากนี้ การจะพัฒนางาน
คุณภาพไปจนถึงการเกิดนวัตกรรมนั้น จาเป็นอย่างมากที่จะต้องมีจินตนาการบนพื้นฐานจากองค์ความรู้ท่ีถูกต้องด้วย
และ “บางครงั้ เราจาเปน็ ต้องลม้ เหลวบ้างเพอื่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ ส่ิงท่ดี กี วา่ ”

ชอ่ื ผจู้ ดบันทกึ
นายพชั ระกรพจน์ ศรีประสาร
งานการพยาบาลป้องกนั โรคและส่งเสริมสขุ ภาพ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี

3

รามาธบิ ดที ่มี ีหวั ใจ

หวั ข้อบรรยาย รามาธบิ ดที มี่ ีหัวใจ

วันที่ 29 สงิ หาคม 2562

เวลา เวลา 13.00-14.00 น.

หอ้ งประชุม 910 ABC ชน้ั 9

อาคารเรียนและปฏบิ ตั ิการรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี

วทิ ยากร คณุ พจนารถ ซีบังเกิด ประธานกรรมการและผู้จดั ตั้งกลมุ่ บรษิ ทั จมิ ม่ี เดอะโคช้

รปู แบบการนาเสนอ การบรรยายประกอบเอกสารการนาเสนอ ( Power Point Presentation)

เน้อื หา
วิทยากรกล่าวถึง Disruption “หลายคนอาจมองว่า เป็นเรื่องท่ีคนอ่ืนมาก่อกวน หรือสภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนไป

แล้วมาขัดขวางส่ิงที่เราเป็นอยู่” แต่จริงแล้วเราต่างหากท่ีไป disruption system ท่ีเกิดขึ้น โลกนี้ไม่มีอะไรที่ไม่
เปลี่ยนแปลง ทุกสิ่งกาลังเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และเราจะหมุนไปตามเขา อะไรท่ีเปลี่ยนแปลงเราต้องปรับปรุงตามเขา
โลกทุกวนั นี้ มีปัจจัยหลักทกี่ ระทบชีวิตเรา หลายดา้ น ได้แก่

1. มีการเชือ่ มโยงแบบไร้พรมแดน
2. มีส่ือสังคมออนไลน์ (social media) ใหม่ ๆ เกิดขน้ึ มากมาย ทกุ คนมีสมาร์ทโฟน (smart phone) ไว้ใช้ ใครไม่
มีดูเหมือนจะอยูใ่ นโลกนีไ้ มไ่ ด้ หากระบบ WIFI หรือ internet ล่ม เราก็หาความสุขไมไ่ ด้ หรอื จะดารงชีวติ กันอย่างไร การใช้

4

รามาธิบดที มี่ ีหัวใจ

สื่อสังคมออนไลน์ มีทั้งดี และไม่ดี แต่ข้อดีเราสามารถเรียนหนังสือออนไลน์ (online) ได้ หรืออยากเรียนอะไรก็เข้าไปใน
YouTube ได้

3.โครงสร้างของประชากรท่ีเปล่ียนไป มีผู้สูงอายุมากข้ึนต่อไปอาจต้องเก็บภาษีมากขึ้นจากคนทางาน 5 คนเพ่ือ
เล้ยี งคนสูงอายุ 1 คน สาเหตุจากเทคโนโลยีท่กี า้ วหนา้ ทาให้คนอายยุ ืนขึ้น หรอื ส่ิงตา่ ง ๆ เช่น ความเครยี ด เป็นตน้

4.ความซับซ้อนทางข้อมูลมีมากข้ึน เมื่อพูดถึง big data เป็นเร่ืองท่ีน่าตกใจ เพราะมีข้อมูลหล่ังไหลมาจากทุก
สารทศิ จานวนมากมาย หากไม่ฉลาดพอ เราก็ไม่รจู้ ักกลนั่ กรองขอ้ มลู ทีจ่ าเปน็ มาใช้ กอ็ าจทาใหเ้ กิดปัญหา

5.มเี ทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขนึ้ มากมาย นอกจากนย้ี ังมปี ญั ญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence (AI) โดยหุ่นยนต์ AI
ทม่ี าทางานแทนคนมากขึน้ แมห้ นุ่ ยนต์อาจจะทาอะไรต่าง ๆ ได้ AI และมขี อ้ มลู มากมายแต่ไม่มหี ัวใจเหมือนมนุษย์

จากการทางานของวทิ ยากรเป็น Coach โดยเฉพาะในผู้บรหิ าร และคนอ่ืน ๆ พบวา่ สิ่งที่เราเห็นพฤติกรรมของคน
อ่ืนน้ันเป็นส่วนข้างนอก พฤติกรรมต่าง ๆ ของเขาผ่านอะไรมาเราก็ไม่รู้ อาจมีบุคลิกแปลก ๆ และเราก็มักจะตัดสินทุกคน
โดยท่ีเราไม่รู้ตัว เราตัดสินผู้อ่ืนโดยไม่ได้ใช้หัวใจเข้าใจเขาจริง ๆ แต่วิทยากรได้ใช้ศาสตร์ Coach มาศึกษา พบว่า ถ้าคนมี
พฤติกรรมแบบน้ี ใช้ภาษาแบบนี้ จะต้องมอี ะไรผลักดันใหเ้ ขาทาเชน่ นัน้

สง่ิ สาคัญทาให้คนเราเป็นเราในวันน้ี อาศัยปจั จัยภายในจาก 5 สิง่ ได้แก่
1.Being (คุณสมบัติท่ีติดตัวเรามา) เป็นคุณสมบัติที่ดีที่สุดท่ีธรรมชาติให้มา เช่น ความรับผิดชอบ ความกตัญญู
ความอบอุน่ ออ่ นโยน ใหอ้ ภยั ปลอ่ ยวาง เปน็ ตน้
2. Beliefs (ความเชื่อ) ทั้ง Limiting และ Supporting ผ่านจากประสบการณ์ชีวิตของเรา เช่น ถ้าเราเชื่อว่า
ผู้บังคับบัญชามักไม่สนใจรายละเอียด คนจะก้าวหน้าได้ต้องทางานให้เสร็จ ท่ีนี่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ โลกนี้ไม่มีความยุติธรรม
เปน็ ต้น
3. Value (ค่านิยม) คุณคา่ ท่ีเรายดึ ถือ เชน่ การให้เกียรติคนอน่ื ความสัมพนั ธ์อนั ดี การเคารพความ มีอาวุโส
ความกตัญญู เปน็ ต้น
4. Need (ความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์) มี 6 อย่าง ได้แก่ 1.ความต้องการความม่ันคง 2.ความแน่นอน ความ
ไมแ่ นน่ อน 3.ความรัก 4.ความโดดเดน่ 5.การเติบโต และ 6.การเป็นผู้ให้
5.Universal Fears (ความกลัว) เป็นความกลัวพ้ืนฐานที่ทุกคนต้องมี ได้แก่ กลัวไม่ดีพอ กลัวคนไม่รัก และกลัว
ไมไ่ ดเ้ ป็นสว่ นหน่งึ
ปจั จัยท้ัง 5 อยา่ ง จึงทาใหเ้ ราเปน็ เราในวนั น้ี

5

รามาธบิ ดีท่มี ีหวั ใจ

ดังนั้น ถ้าช่วยค้นหาในตัวเขา รวมท้ังในตัวเรา ว่ามีข้อดีอะไร จะทาให้เลือกได้ว่าจะทาให้เขาเป็นคนดีต่อไปใน
ข้างหน้าด้วยศักยภาพอะไร รวมทั้งความเช่ือและค่านิยมที่มีด้วย สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ส่ิงท่ีเปลี่ยนไม่ได้ คือ
ประสบการณ์ที่เกิดมาแล้ว และมุมมองการเข้าใจชีวิต จะต้องเข้าใจตั้งแต่วัยทารกจนกระท่ังมาถึงผู้ใหญ่ เราจะต้องเข้าใจ
ก่อนว่าเขามีประสบการณ์อะไรมาก่อน ซ่ึงอาจมีประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีซ่อนเร้นมาต้ังแต่เด็ก ๆ เช่นอาจจะเป็นผู้ใหญ่ที่มี
ความเหงา เป็นคนทชี่ อบแกล้งนอ้ ง เป็นต้น

พูดถึง AI เกิดข้ึนมาเพ่ือเข้ามาช่วยเราทางาน บางส่ิงก็ทาได้ บางอย่างก็ทาไม่ได้ แต่อย่างไร AI ไม่มีหัวใจ ไม่
สามารถมาแทนเราได้ทัง้ หมด และการที่จะอยู่ในโลกทมี่ ี disruption น้ีได้ เราจะต้องมีความมนั่ คง ส่ิงที่ควรเรยี นรู้ ใหเ้ รียนรู้
ภายในตัวเอง มีการปรบั ตัว เป็นแบบอย่างทดี่ ี สามารถอยกู่ บั สิง่ ท่มี ากระทบเหล่าน้นั ให้ได้ ทาในสิ่งท่หี ุ่นยนต์ทาไมไ่ ด้

เทคนิคฝึกการค้นคว้าตัวเอง
ขน้ั ตอนท่ี 1 นึกถึงสตั ว์เลย้ี งแสนรักตวั โปรดในชวี ิตคุณ หรือสัตว์เลี้ยงของเพ่ือนรกั หรอื สัตวใ์ ด ๆ ที่คุณชอบในธรรมชาติใน
ตัวมัน หรือ Role Model ทเ่ี ราช่นื ชอบ ให้เขยี นลงในกระดาษพร้อมคุณสมบตั ิที่คุณชื่นชอบในสัตว์ตวั นี้ หรือ Role Model
คนนี้ 5 ประการ เชน่ ซ่อื สัตย์ สนกุ สนาน เฝ้าคอย เป็นตน้
ข้นั ตอนที่ 2 นึกถึง Role Model ของคุณ เขาจะตอบคาถาม 3 ขอ้ น้ี 1.เสยี งลึก ๆ ในระดับจติ วิญญาณของฉันมกั จะบอกให้
ฉันเป็นคนที่... 2.ถ้าฉันจะเปน็ อะไรสกั อยา่ งในธรรมชาติ ฉนั จะเปน็ ... 3.คุณค่าทธี่ รรมชาตสิ งิ่ นแ้ี ละอุทศิ ใหก้ บั โลก คือ...
ขั้นตอนท่ี 3 ลองนึกทบทวนดูให้ละเอียดว่า อะไรที่คุณทาแล้วเพ่ือน ๆ หรือคนใกล้ตัวมักจะบอกว่า “ฉันอยากทาเรื่องน้ีได้
ง่าย ๆ เหมือนท่ีเธอทาได้จังเลย” เขียน 5 อย่างที่คุณทา และคนอื่น ๆ มักจะชื่นชม และบอกคุณว่าดูเหมือนมันง่ายจังเลย
เมอื่ เหน็ คณุ ค่าในตัวเอง
ขน้ั ตอนที่ 4 กลบั ไปอา่ นคาตอบในขั้นตอนท่ี 1 คุณสมบัตเิ ด่น 5 ประการ เปลีย่ นจากสตั ว์เลยี้ งมาเปน็ ของฉันแทน คือ...1...
2...3...4...5... ดูว่าเหมือนเราหรือไม่ เพราะอนั นเี้ ป็นศักยภาพทม่ี ใี นเรา แตเ่ ราอาจไม่ได้แสดงออกมา

6

รามาธิบดที ี่มีหัวใจ

ขัน้ ตอนท่ี 5 กลับไปอา่ นคาตอบในขัน้ ตอนที่ 2 เอาตัวเราไปแทนคาถาม 3 ขอ้ น้ีวา่ 1.เสยี งลึก ๆ ในระดบั จติ วญิ ญาณของฉัน
มักจะบอกให้ฉันเป็นคนท่ี..2.ถ้าฉันจะเป็นอะไรสักอย่างในธรรมชาติ ฉันจะเป็น...3...คุณค่าที่ธรรมชาติส่ิงน้ีและอุทิศให้กับ
โลก คือ... ว่าถ้าเป็นเรา เป็นแบบน้ีหรือไม่ หรือเราอยากจะเป็นแบบน้ันหรือไม่ การ ค้นหาตนเอง จะมาจากข้ันตอนท่ี 5
คณุ จะได้ Life Purpose คอื วิถีการดารงอย่อู ย่างอ่ิมเอม มีความหมาย และเป็นประโยชน์สามารถบอกตนเองได้วา่ ฉนั คือ
ใคร ฉันเปน็ ใคร เพื่อทจี่ ะทาอะไร มใิ ชต่ อบเป็นอาชีพตา่ ง ๆ เช่น ฉนั เปน็ คนท่ใี ช้ชวี ติ โดยมีประสบการณ์ในการเรยี นรู้และจะ
ถา่ ยทอดสง่ิ เป็นประโยชนใ์ หก้ บั ผูอ้ ื่น
ขน้ั ตอนท่ี 6 ส่ิงที่เราเก่ง 5 เรอ่ื งนั้น คือ ความแขง็ แกร่งของเรา ให้เขียน 5 ด้าน นนั้ ถา้ เราเก่งเร่ืองน้ีเราสามารถนามาใช้ใน
การดารงชีวิตไดอ้ ย่างมคี วามสุข
สรุปได้ว่า รามาธิบดีจะมีหัวใจและชนะ AI ได้น้ัน จะสาเร็จและเติมเต็มได้น้ัน จะต้องเริ่มเข้าใจตัวเอง และรู้เป้าหมายใน
ชีวิตวา่ จดุ ประสงค์ของชีวติ คอื อะไร

การสรปุ ตคี วามโดยทีมถอดบทเรยี น
ขอ้ เสนอแนะจากผูจ้ ดบันทึก

ในสงั คมทเี่ ปล่ยี นแปลงตลอดเวลา เปน็ สิ่งทเ่ี ราจะต้องเรยี นรู้และจะตอ้ งปรับตวั ให้ทัน การทางานท่ีตอ้ งเข้าไปเขา้ ใจ
ในตวั บคุ คลตา่ ง ๆ น้ันจะต้องรู้ปัจจัยต่าง ๆ ที่มากระทบ ค้นหาความเขา้ ใจในบุคคล ไม่ตดั สินบุคคลจากพฤติกรรมภายนอก
การค้นหาเข้าไปในตัวเขา รวมท้ังในตัวเรา ว่ามีข้อดีอะไร จะทาให้เลือกได้ว่าจะทาให้เขาเป็นคนดีต่อไปในข้างหน้าด้วย
ศักยภาพอะไร รวมท้ังความเชือ่ และค่านิยมที่มีด้วย สามารถเปล่ียนแปลงบุคคลได้ แม้ว่า ประสบการณ์ตา่ ง ๆ ทผี่ ่านมาท้ัง

7

รามาธบิ ดที ี่มีหวั ใจ
ด้านดีและไม่ดี อาจจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ก็ตาม รามาธิบดีจะมีหัวใจที่แขง็ แกร่ง และชนะ AI นน้ั จะตอ้ งเริ่มต้นด้วย
การเรียนรู้เข้าใจตนเอง และสามารถตอบตนเองได้ว่าเราเป็นใคร มีจุดประสงค์อะไรกับชีวิต สามารถใช้ศักยภาพภายใน
ตนเอง มาทางานอยา่ งมีความสขุ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ องคก์ ร และผอู้ น่ื
ปจั จัยแห่งความสาเร็จ

1. การเรยี นร้ทู ่เี ขา้ ใจในตนเองเปน็ ส่งิ สาคญั ตอ่ การมองตนเองใหเ้ ป็น รู้วา่ ตนเองเป็นใคร และมีเป้าหมายชวี ติ อย่างไร
2. การทาให้ผู้อ่ืนไดร้ ู้จักตนเอง จะตอ้ งผ่านการ Coach ท่ีถูกวิธี เขา้ ใจปัจจยั และฝึกฝนทักษะชีวิต จนสามารถเข้าใจ

ตนเองได้ สามารถนาศักยภาพท่ีดีของตนเอง มาทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข และทาให้องค์กรเกิด
ความสาเรจ็ ได้งา่ ย
3. ในสังคมใหม่ ๆ แม้วา่ จะมีเทคโนโลยีท่ีเข้ามาใช้ในการทางานอย่างมากมาย แต่ส่ิงเหล่านี้ ไม่สามารถทดแทนหน้าที่
ที่ต้องทาหน้าที่ด้วยหัวใจของมนุษย์ได้ แต่อย่างไรก็ตามเราจะต้องปรับตัวเพื่อที่ยอมรับกับการเปล่ียนแปลงกับสิ่ง
ใหม่ ๆ เอาสิ่งดี ๆ มาใช้ และคัดกรองในสง่ิ ท่ีมปี ระโยชน์มาใช้
ชื่อผู้จดบันทึก
นางอญั ชลี สมโสภณ
งานการพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี

8

คน้ หาแรงบนั ดาลใจ...เพอื่ สรา้ งการเปลี่ยนแปลง

หัวข้อบรรยาย ค้นหาแรงบนั ดาลใจ...เพอื่ สรา้ งการเปลีย่ นแปลง
วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2652
เวลา 09.00-10.00 น.
หอ้ งประชุม 910 ABC ชั้น 9
อาคารเรยี นและปฏบิ ัตกิ ารรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
วทิ ยากร น.ต.นธิ ิ บุญยรตั กลนิ
กรรมการผูถ้ ือหุ้นบรษิ ัท เคพีเอน็ บางกอก กรุ๊ป จากัด
ผดู้ าเนนิ รายการ และบริษทั เคพีเอ็น แมเนจเมนท์ จากดั
ผศ. ดร.ปรยี าสิริ วฑิ รู ชาติ
รูปแบบการนาเสนอ ภาควิชาสือ่ ความหมายและความผดิ ปกตขิ องการสือ่ ความหมาย
สนทนา ถาม-ตอบ

เนือ้ หา
น.ต.นิธิ บุญยรัตกลิน เป็นบุคคลที่หลายท่านรู้จักและทราบว่าประสบความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ

หลายอย่าง แต่บางคนอาจไม่เคยทราบว่าคุณนิธิ จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 42 และรับราชการ
ทหารเรืออยู่นานหลายปี จนค้นพบว่าตนเองชอบความท้าทาย ชอบมองหาโอกาสและชอบที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
ตลอดเวลา จึงเริ่มมองเห็นโอกาสในการทาธุรกิจ โดยเริ่มจากธุรกิจเกี่ยวกับบ้านในขณะที่ยังรับราชการอยู่ พอ
ธุรกิจเริ่มขยายตัวต้องใช้เวลามากขึ้นทาให้รบกวนเวลาราชการ ร่วมกับที่ตนเองต้องเปลี่ยนมาทางานเป็นงาน
แบบเดิมต้องทาซ้า ๆ ทุกปี ทาให้รู้สึกว่างานท่ีทาไม่มีความท้าทาย จึงคิดทบทวนวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียจึงตัดสินใจ
ลาออกจากราชการ ซึ่งเป็นการตัดสินใจที่ยากมาก เนื่องจากรักในอาชีพทหาร รู้สึกภาคภูมิใจที่มีโอกาสได้รับใช้
ชาติ แต่สุดท้ายตัดสินใจลาออก เนื่องจากคิดว่าเราสามารถทาประโยชน์อย่างอื่นให้ประเทศชาติได้และยัง
สามารถทาในสง่ิ ทต่ี นเองฝันไว้ คอื การมธี ุรกิจเปน็ ของตนเองและการนาธุรกจิ เข้าตลาดหลักทรัพยใ์ หไ้ ด้

ธุรกิจแรกที่เร่ิมต้น คือ รายการโทรทัศน์เก่ียวกับเด็ก เนื่องจากเพ่ิงแต่งงานมีลูกเล็ก จึงตั้งใจทาธุรกิจที่มี
ประโยชน์และทารายได้ให้กับตัวเองด้วย แต่เป็นช่วงที่เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลง รายการโทรทัศน์เริ่มมีปัญหา
จึงหยุดทารายการ ซึ่งนั่นเป็นการเรียนรู้ประสบการณ์แรกเก่ียวกับการทาธุรกิจ หลังจากนั้นจึงเริ่มทาธุรกิจอ่ืน ๆ
ตอ่ มา ได้แก่ ธุรกจิ รับเหมาออกแบบบา้ น ธรุ กจิ อาหาร ธรุ กจิ Export Import และธุรกจิ หลงั สุด คอื ธุรกจิ รถเช่า

การที่เป็นคนชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และเห็นโอกาสในการทาธุรกิจตลอดเวลา จึงทาให้มีธุรกิจต่าง ๆ ท่ี
หลากหลาย ยกตัวอย่าง ธุรกิจขนม เริ่มต้นจากการที่ได้ไปท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่นทางเกาะตอนใต้ แล้วเดินผ่าน
ร้านขนมที่มีคนต่อแถวรอจานวนมาก จึงเกิดความสนใจว่า เพราะอะไรจึงมีคนเข้ามาซื้อมากมาย เมื่อได้ลองชิม
รสชาติของขนม สัมผัสถึงความอร่อย คิดว่าเป็นของแปลกใหม่ในตลาด จึงชวนเพื่อนประสานงานกับเจ้าของ
กิจการชาวญี่ปุ่นจนสามารถนามาเปิดเป็นธุรกิจขนมในเมืองไทย โดยขนมที่ทาต้องให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน
ตามตน้ ฉบบั ของญ่ีปุ่น

9

คน้ หาแรงบนั ดาลใจ...เพ่อื สรา้ งการเปลีย่ นแปลง

ซึ่งช่วงแรกที่ออกมาทาธุรกิจ เคยมีความรู้สึก
ล้มเหลวบ้าง เพราะทุกอย่างไม่ได้เป็นอย่างที่เราคิด
การทางานย่อมมีปัญหา แต่ตัวเราสนุกกับการแก้ปัญหา ได้
เจอกับผู้คนใหม่ ๆ จึงทาให้ตัวเราไม่ทุกข์ การทาธุรกิจ งาน
หลักของผู้บริหาร คือ การแก้ปัญหาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณ
ร้อยละ 80 ของการทางาน ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ 20
เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่และพัฒนาต่อยอด พบว่าปัญหา
ใหญ่ในการทาธุรกิจ คือ คน ดังนั้นแนวทางการแก้ปัญหา
เก่ยี วกบั คนของคุณนิธิ มีดังนี้
 เมื่อเกิดปัญหา เราต้องตั้งสติเวลาเผชิญกับปัญหา วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา เพื่อแก้ไขให้ถูกต้นตอ
ของปัญหา และใหท้ ุกคนมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปญั หา
 มีความเชื่อเสมอว่า ทุกคนมีความสามารถและศักยภาพในตัวเอง ต้องใช้ความถนัดของแต่ละคนให้เกิด
ประโยชน์ เมื่อได้รับโอกาสได้ทาในสิ่งท่ีตนถนัด งานจะได้ผลลัพธ์ที่ดี คนทางานมีความสุข ผู้บริหารก็มี
ความสุข องคก์ รพัฒนา
 การรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนมุมมองที่แตกต่างกันเกิดการเรียนรู้
นาไปวิเคราะห์และปรับใช้พฒั นางานได้
 การเลือกคนให้เหมาะกับงาน ควรท่ีจะเร่ิมต้ังแต่การการเลือกคนเข้ามาทางาน โดยดูทัศนคติ ความชอบ
ความคิด เพือ่ พจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกับงานที่ทา
 การที่คนเราทางานแบบเดิมซ้า ๆ จะเกิดความรู้สึก Burn Out จะไม่ห้ามเมื่อบุคลากรขอลาพักผ่อน
เพราะมนั เปน็ การชาร์จพลังใหก้ บั ตนเอง เมอื่ กลบั มาทางานเราจะมพี ลงั มากข้ึน พร้อมท่จี ะทางานต่อไป
 คิดเสมอว่าทุกคนต้องการความก้าวหน้าและรายได้ที่เพิ่มขึ้น วิธีคิด คือ ทาอย่างไรให้บุคลากร
เจรญิ เตบิ โตและก้าวหน้า เพราะถ้าคนเรามองไมเ่ ห็นในส่ิงทท่ี าว่าจะทาให้เจริญกา้ วหน้าได้ ประสทิ ธภิ าพ
ในการทางานก็จะลดน้อยลง เพราะฉะน้ันเราต้องให้โอกาสให้เค้าแสดงความรู้ความสามารถและสง่ เสริม
ส่ิงท่เี ราจะได้รบั กลับมา คือ การทุ่มเททางานให้กบั เราอย่างเตม็ ท่ี
 การยืดหยุ่นในการทางาน เตือนตนเองให้ปล่อยผ่านในบางเร่ืองไปบา้ ง ให้ดูสาระสาคัญและวัตถุประสงค์
ของงานท่ีทาเป็นหลัก ถ้างานบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์กย็ อมรับได้
 หลักการบริการคน เราต้องใช้การสร้างอานาจต่อรอง สร้างแรงบัลดาลใจหรือสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้เค้า
เหน็ วา่ ตวั เองเป็นคนสาคญั กบั งานท่ีทา
 การใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ โดยเฉพาะ Social Media ในรูปแบบต่าง ๆ หากนามาใช้อย่างรู้เท่า
ทันกับการเปลี่ยนแปลงจะช่วยให้เกิดประโยชน์ เช่น การสื่อสารใช้ Group Line ทาให้มีการสื่อสาร
เขา้ ถงึ คนทางานทกุ ระดบั

10

คน้ หาแรงบนั ดาลใจ...เพอ่ื สรา้ งการเปลย่ี นแปลง
หลักการที่เราจะสร้างแรงบันดาลใจในการทางานในองค์กรใหญ่ คือ เราต้องสร้างแรงบันดาลใจให้กับ
ตนเอง ตั้งเป้าหมายให้ชัดเจนว่า เป้าหมายหลักของเราคืออะไร เป้าหมายรองคืออะไร แล้วค่อย ๆ ทาให้บรรลุ
ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ให้คิดบวกเสมอ ความล้มเหลวทาให้เราเริ่มต้นสิ่งใหม่ ๆ ที่ฉลาดกว่าเดิม เพราะเราจะ
รอบคอบมากขึ้น มีวิธีการใหม่เกิดขึ้น เราต้องบริหารจัดการตนเองและเวลาอย่างเหมาะสม หาเวลาในการ
สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ สง่ิ สาคัญ คือ ผู้บรหิ ารต้องสง่ เสรมิ และใหโ้ อกาสกบั ลูกน้องได้แสดงความรคู้ วามสามารถ

สุดทา้ ย บทเรยี นท่ีไดจ้ ากประสบการณก์ ารทาธรุ กจิ คือ
“อย่ากลวั กบั ปัญหา กลา้ ทีจ่ ะเผชญิ เชอ่ื ว่าทกุ สิ่งท่ีเกดิ ขน้ึ ดเี สมอ ในทุกวิกฤตย่อมมโี อกาส การแกป้ ัญหา
ต้องใช้เหตแุ ละผล”
“หาความสุขของตนเองให้เจอ ดแู ลสุขภาพให้แข็งแรง ใช้ชีวิต อย่างมีเปา้ หมายและสร้างแรงบันดาลใจ
ให้ตนเอง เรากจ็ ะทางาน อย่างมคี วามสุข”
“การบรหิ ารคนต้องใช้ท้งั ทฤษฎีและศิลปะ หัวใจสาคญั ของธรุ กจิ คอื การสร้างคน”

ชือ่ ผู้จดบันทกึ
1. นางรุ่งทพิ ย์ ประเสรฐิ ชยั
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกจติ เวช งานการพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจิต ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี
2. นางสาวนาตยา จลุ ลา
หอผปู้ ว่ ยจิตเวช งานการพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจิต ฝา่ ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี

11

เสรมิ พลัง สรา้ งศักยภาพด้วยพลังบวกทางความคิด

หัวขอ้ การบรรยาย เสริมพลงั สรา้ งศกั ยภาพด้วยพลงั บวกทางความคดิ

วันที่ 30 สงิ หาคม 2562

เวลา 13.00-14.00 น.

หอ้ งประชุม 910 ABC ชน้ั 9

อาคารเรียนและปฏบิ ตั กิ ารรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี

วิทยากร นพ.สมทิ ธ์ิ อารยะสกุล (หมอโอค๊ ) แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านผิวหนงั นักร้อง พิธีกร

คณุ ปาณศิ รา อารยะสกุล (คณุ โอปอล)์ นักแสดง พิธีกร ดีเจ นักร้อง นกั ธุรกจิ

อ.พญ.จริ าภรณ์ อรณุ ากูร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ (ผ้ดู าเนินรายการ)

รูปแบบการนาเสนอ สนทนา ถาม ตอบ

เนือ้ หา
แนะนำแขกรับเชญิ

คุณโอปอล์ ดารา พิธีกรชื่อดังที่เป็นไอดอลของใครหลายคนในห้องประชุมนี้ และเป็นคุณแม่ลูกสอง ท่านที่สองคุณหมอ
โอ๊ค แพทย์ชื่อดังและเป็นสามีของคุณโอปอล์ ภาพที่เห็นทั้งคู่เป็นคนที่ประสบความสาเร็จ มีธุรกิจของตนเอง มีคู่ชีวิตท่ี
หน้าตาดี มลี ูกที่น่ารัก กวา่ จะมาเปน็ วนั น้ีต้องผ่านอปุ สรรค มีสง่ิ ท่ีตอ้ งใช้ศักยภาพจนมาถึงจุดน้ีได้ วันนี้ทั้งสองท่านจะมา
เล่าถึงการใชช้ วี ติ คยุ กนั แบบสบาย ๆ

อยำกให้เลำ่ เร่อื ง Work life balance เปน็ อยำ่ งไรบำ้ ง?
คณุ หมอโอค๊ : เริ่มจากตอนนี้เราทาอะไรบ้าง ผมเปน็ แพทย์ทโ่ี รงพยาบาลสมิติเวช แผนกผวิ หนังและเวชศาสตรช์ ะลอวัย
ส่วนตัวมีคลินิก 2 สาขา สมิทธิ์คลินิกทาเกี่ยวกับ LASER ผิวหนัง ความงามและคลินิกศัลยกรรมตกแต่ง อยู่ในบทบาท
ของผู้บริหาร โดยมีทีมแพทย์เฉพาะทาง plastic surgery มีบริษัทเครื่องสาอางแบรนด์สมิทธิ์ มีรายการทางโทรทัศน์ทา
รว่ มกนั กับภรรยา มีธรุ กจิ ขา้ วออร์แกนิคและข้าวสายพันธ์ุใหม่ ๆ โดยจะดูแลอยู่ท้ังหมด 4 บริษัทและเป็นคุณพอ่ ฟูลไทม์
ด้วย

12

เสริมพลงั สรา้ งศักยภาพดว้ ยพลงั บวกทางความคดิ

คุณโอปอล์ : ทาธุรกิจเหมือนพี่โอ๊ค จะทางานเบื้องหลังทางด้าน production, marketing เน่ืองจากพี่โอ๊คทางานหนัก
มาก ใน 3 ปีแรกปอล์ต้องอยู่ดูแลลูกตลอดและทางานไปพร้อมกัน จนลูกเริ่มโตจึงพาไปที่ทางานด้วย พอลูกเริ่มไป
โรงเรียน ซงึ่ เรียนครึ่งวัน ชีวิตจะมเี วลาเมื่อสง่ ลกู เขา้ โรงเรยี น 9 โมงเชา้ ถงึ บ่ายโมง เม่ือไปรบั ลกู ก็อยู่กบั ลกู ตลอดเหมือน
ไมไ่ ดห้ ายไปไหนเลย สาหรบั เรา Work life balance คอื การจัด priority ถ้าเราจัดลาดับความสาคญั ได้ เราจะทุ่มเท
ในทางนน้ั เราคยุ กันไวว้ ่าเราจะจดั ครอบครวั เป็นอันดับหนึง่ ดงั นั้น การจัดสรรเวลาจะง่าย เราแบง่ หน้าทกี่ ัน
คุณหมอโอ๊ค : เราสองคนคุยกันทุกเรื่อง บางเรื่องซึ่งเราก็คิดว่าก็น่าจะรู้ดีอยู่
แล้วแต่จริงแล้วรู้ไม่ตรงกัน ต้อง clear กัน เรื่อง priority ของเราจะออกจาก
เล็กไปใหญ่เร่ิมต้นจากตัวเราก่อน ไม่ว่างานจะหนักหรือสาเร็จแค่ไหน เราต้อง
รักษาสุขภาพกาย ใจ และขยายสู่ครอบครัว ในยุคปัจจุบันคนมักให้
ความสาคญั กับส่ิงท่ีอยู่ไกลตัว Work life balance ไม่มีท่ดี ีท่ีสดุ แตกตา่ งกันใน
แต่ละวัน แต่เราทาดีที่สุดท่ีเราทาได้ ยังมี factor อื่น เช่น ผู้ร่วมงาน ที่มีความ
ไม่แน่นอน เราต้องรู้จักชื่นชมตัวเองให้เป็น ยอมรับข้อผิดพลาด ให้อภัยตัวเอง
ได้

กำรทีต่ อ้ งเรม่ิ จำกสิ่งทเี่ ลก็ ทสี่ ุดก็คอื ตวั เรำ อยำกใหแ้ ชรว์ ่ำเรำสร้ำงควำมสมดลุ ในตวั เองอย่ำงไรบำ้ ง?
คุณโอปอล์ : เรียนรู้ให้ได้ว่าความสุขของเราคืออะไร ในการทางานเราต้องยอมรับว่างานไม่ได้มีความสุขตลอดเวลา
งานในวงการบันเทิงเหมือนทางการแพทย์ เราทางานกับคน ต้องรองรับอารมณ์คน ดังนั้นการทางานต้องแยกแยะให้ได้
ไม่เอาอารมณ์กลับมาบ้าน ก่อนไปทางานต้องคิดว่า “เราไปทางาน ทาหน้าท่ีเราให้ดีที่สุด ย้ิม และทาให้ผ่านไป ทางาน
เสรจ็ แล้วท้ิงไว้” ขบั รถกลบั บ้านหาพอ่ แม่ สามีและลูก น่ีเปน็ ความสขุ

การทางานบนความคาดหวังของคนเหนื่อยมาก รู้จักจัดการเรื่องที่คิดในสมอง อดีตของปอล์ไม่สวย ไม่รวย ได้
พบผู้คนท่ีไม่ยอมรบั ถา้ แบกไวจ้ ะเปน็ เรอ่ื งเรา ต้องผลกั ให้เปน็ เรอ่ื งเขา อย่าเอาตัวเราไปผูกกับสง่ิ น้ัน
คุณหมอโอ๊ค : สิ่งที่โอปอล์พูด ได้ตกตะกอนมาแล้ว เราอยู่เคียงข้างกันตลอด กว่าที่โอปอล์จะคิดอย่างนี้ได้ต้องใช้เวลา
ผมมองว่าความสุขจะเกิดขึ้นได้เราต้องรู้จักตัวเองก่อน ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ อย่าไปยึดติดกับกรอบที่สมมุติข้ึนมา เรา
ต้องการอะไร ให้ซื่อสัตย์กับตัวเอง ไม่ต้องไปเอาใจใคร ในอดีตเป็นคนยุขึ้น อะไรดี ทาหมด ตอบโจทย์ให้ทุกคน แต่
สุดท้ายไม่รู้ว่าตัวเองต้องการอะไร จนกระทั่งแต่งงานทาให้เข้าใจ อะไรคือเป้าหมาย มีคุณค่า ด้วยบทบาทของพวกเรา
บุคลากรทางการแพทย์ต้องรองรับปัญหาของคน เราจะพยายามหาทางแก้ให้ แต่ความจริงแล้วมันไม่ใช่ เขาไม่ได้
ต้องการการแก้ไข เขาแค่อยากได้คนรับฟัง ตั้งแต่ทางานทางด้านนี้เหมือนถูกตีกรอบว่าเราต้องทาให้ดีที่สุด งาน
ทางด้านความงาม ความคาดหวงั สูงมาก

คณุ หมอโอ๊คได้พดู ถึงกำรทำควำมรจู้ กั กับตวั เอง ควำมเปน็ ตัวเองสำคญั มำกเพรำะถำ้ เรำยังดแู ลตัวเองได้ไม่
ดี แล้วจะไปดูแลคนอ่ืนได้ดีอย่ำงไร อยำกให้กล่ำวถึงมุมมองกำรใช้ชีวติ คู่บ้ำงเพรำะว่ำท้ัง 2 คนประสบควำมสำเร็จ
ในกำรเลือกคู่ ไดค้ ู่ที่เขำ้ กันไดด้ ี กำรหำคู่ กำรมคี ู่ มองสงิ่ น้ีอย่ำงไร?

13

เสริมพลัง สรา้ งศักยภาพด้วยพลงั บวกทางความคิด

คุณโอปอล์ : มันมีบริบทที่แตกต่างกัน ตอนโสดมีความสุขมากแต่ก็ไม่รู้ว่าเป็นโสดดีกว่าคนแต่งงาน ไม่ว่าเราอยู่ใน
สถานะไหนถ้าเราอยากใหค้ นเห็นคณุ คา่ ของเรา เราตอ้ งเหน็ คุณค่าของตนเอง ไม่ถามใคร ไม่เคยรสู้ ึกวา่ สวย แต่ไมเ่ คย
รสู้ ึกวา่ ไม่ดพี อ เป้าหมายต้ังใจเรยี นเพื่อให้เล้ียงดูพ่อแม่ได้ ไมเ่ คยจีบใครก่อน เมอื่ ไหร่ท่ีรู้สกึ ว่าเราตอ้ งเปลยี่ นแปลงตวั เอง
เพื่อเขาเราจะหยุด ปอล์เป็นคนรักด้วยใจไม่ใช่ด้วยสมองอย่างเดียว รักเราอย่างที่เราเป็น เรามีคุณค่า เราอยู่คนเดียว
ดีกว่า จนกระทั่งหมอโอ๊คมาจบี
คุณหมอโอ๊ค : มองว่าชีวิตคู่ไม่ใช่เป้าหมาย เมื่อถึงเวลาทุกคนต้องแต่งงานมีลูก ไม่จาเป็นเลย ทุกคนมีเป้าหมายของ
ตนเองจะอยู่เป็นโสด จะแตง่ งานมลี กู หรอื ไมม่ ีลกู ในมุมผมไมเ่ คยมองหาส่วนที่ขาดมาเตมิ เพราะเรารู้สกึ วา่ เราเต็มแล้ว
เราจึงมองหาผ้หู ญิงทีเ่ ต็มเหมือนกัน เป็นพน้ื ฐานของความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน ชวี ิตคู่ตอ้ งแชร์เป้าหมาย ความฝัน ความคิด
และทศั นคตเิ ดียวกนั ซง่ึ เราจะไมร่ ้เู ลยจนกวา่ เราจะทาความรู้จักกนั และตอ้ งใชเ้ วลา

อะไรท่ีทำใหส้ ะดดุ กนั และกัน?
คุณหมอโอ๊ค : ช่วงที่พบกันเป็นช่วงวิฤกติ เกิดสถานการณ์น้าท่วมปี 54 เราสองคนเหมือนกันเป็นลูกที่ต้องดูแลพ่อ แม่
บา้ นอยู่ใกลก้ นั คยุ กันเรอ่ื งหนนี า้ ทว่ ม ได้คยุ กันเยอะ รู้สกึ ว่าโอปอล์เหมอื นเรามาก มันง่ายเมอ่ื เรารูส้ กึ วา่ ใช่
คุณโอปอล์ : ครอบครัวปอล์ได้หนีน้าไปก่อนครอบครัวพี่โอ๊ค หนีตอนน้ามาถึงแล้ว
เรารู้ระบบก่อนแนะนาได้ เราได้คุยกันเยอะช่วงนั้น และเราโตมากพอแล้วที่จะบอก
ว่าหน้าตาไม่ใช่ทุกอย่าง เมื่อเราคุยกันจะไม่ได้มองที่หน้าตาแล้ว หน้าตาจึงเป็นเรื่อง
ท้าย ๆ ฝากถึงสาว ๆ ทุกคนว่าผู้หญิงเราต้องศรัทธาในตัวเองก่อน ถ้าเราเปลี่ยนตัว
เองเพื่อผู้ชายไปตลอด ผู้ชายจะไม่รู้เลยว่าเราเป็นอย่างไร และคนเราเปลี่ยนตัวเอง
ตลอดชีวิตไม่ได้แม้จะพยายามแค่ไหน สุดท้ายเขาก็รู้ ดีที่สุดของเราได้แค่ไหน ปอล์
เป็นตัวเองของตัวเองเมื่อคุยกับพี่โอ๊ค เราสองคนทุกวันนี้ทางานเก็บเงินเพื่อดูแล
ตนเองตอนแก่ เมื่อลูกโตขึ้นเขาจะได้ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ไม่ได้จาเป็นว่าต้องเลี้ยง
เรา จงึ อยากบอกทุกคนวา่ เราอยู่คนเดียวได้ ไม่ตอ้ งกังวล
คุณหมอโอ๊ค : การแต่งงานหรือการมีบุตรไม่ได้เป็นสิ่งการันตีว่าเราจะไม่มั่นคง สิ่งท่ีแย่กว่าคือการแต่งงานกับคนที่เรา
รัก แต่เขาไม่ไดร้ ักเรา คือ การแตง่ งานทแ่ี ชรค์ นละเปา้ หมาย

ทง้ั คู่ได้แชร์ว่ำกำรเป็นตัวเอง มีควำมสุขในสง่ิ ทเี่ รำเปน็ และถำ้ โชคดีไดเ้ จอคนที่เตม็ เหมือนเรำ จะอยู่ด้วยกัน
ไมต่ อ้ งเติมกนั อย่ำงมคี วำมสุข อยำกให้แชร์เร่อื งมุมมองของกำรเป็นพอ่ แม่ กำรเล้ียงลูก
คุณโอปอล์ : ลูกคลอดก่อนกาหนดที่โรงพยาบาลรามา มีโรคหัวใจ ต้องอยู่โรงพยาบาลนาน 4 เดือน เราคุยกันว่าจะ
เลี้ยงให้ลูกเป็นคนธรรมดา จะระวังเรื่องนี้มากเนื่องจากปอล์เป็นที่รู้จัก ลูกเราก็จะเป็นที่รู้จัก ปอล์เข้าวงการมา มี
ชื่อเสียง เงินทองมันน่ากลัวมาก เพราะเงินได้มาง่าย สิ่งที่ตามมาคือไปไหนไม่ต้องเข้าแถว มีคนส่งของให้ ได้รับสิทธิ
พิเศษ ปอล์อายุ 20 ปี ยังจะเสียคนได้ ใช้เวลานานมาก จนตอนนี้รู้สึกว่าการเป็นคนที่ได้รับสิทธิพิเศษมันไม่ยุติธรรม
และถ้าลูกเกิดมาได้รับสิทธิพิเศษ แล้ววันนึงไม่ได้รับจะเกิดอะไรขึ้น จึงพยายามเลี้ยงให้เป็นคนธรรมดา กลัวเสียคน
เพือ่ นลูกเป็นเด็กปกตทิ ว่ั ไป ลกู ไมร่ ู้ว่าพอ่ แม่ มชี ื่อเสยี ง แตเ่ อาไปกองถ่ายดว้ ยเพ่ือให้รูว้ ่าแม่ไปทางาน

14

เสริมพลัง สรา้ งศักยภาพด้วยพลังบวกทางความคดิ

คุณหมอโอ๊ค : มองว่าเป็นชีวิตปกติ อยากให้ลูกเห็น พาไปโรงพยาบาล คลินิก รับรู้ตามความเข้าใจของเด็ก ไม่รู้ว่าเป็น
เด็กพิเศษ ขึ้นกับส่ิงทีเ่ ราจะถ่ายทอดให้ลกู

มคี วำมคำดหวงั กับลูกอย่ำงไรบ้ำง?
คุณโอปอล์ : ให้ลูกมีร่างกาย สติปัญญาและจิตใจที่แข็งแรง เราไม่สามารถปกป้องลูกได้ตลอด ปอล์กับพี่โอ๊คเป็นคนที่
เต็มในวงกลมของตนเอง จึงคาดหวังว่าลูกจะเต็มแบบเรา เมื่อวันหนึ่งลูกรักใคร แต่เขาไม่รักทาให้หัวใจแตกสลาย หวัง
ว่าลูกจะเติมเต็ม ไม่จาเป็นต้องให้ใครมาเติมเต็ม ดังนั้นในช่วงแรกของชีวิตลูกจึงพยายามให้ความรักเต็มที่ ไม่ว่าจะพบ
เจออะไรในอนาคตลูกตอ้ งรู้นะวา่ พ่อแมร่ ักมาก
คณุ หมอโอ๊ค : ตามประสาพอ่ แมท่ ั่วไป อยากใหล้ ูกมีความสุข สมบูรณแ์ บบ ผมกับโอปอล์โชคดบี นความโชคร้าย โอปอล์
มีอาการคลอดก่อนกาหนดท่ี 23 สัปดาห์ต้องนอนที่โรงพยาบาลรามาและคลอดเมื่อ 30 สัปดาห์ลูกมีน้าหนักน้อย 960
และ 1,000 กรัม และอลินมีโรคหัวใจ เราได้บทเรียนจากเหตุการณ์ที่ผ่านมา หวังให้ลูกสมบูรณ์ทั้งกาย จิตใจและ
สติปัญญา ร้รู ับผดิ ชอบชัว่ ดี จะเลอื กอาชพี อะไรใหร้ ้จู ุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง รู้จกั ตัวเอง

คุณโอปอล์ได้เล่ำว่ำทำไมถึงเติมเต็มเพรำะว่ำกำรที่รู้ว่ำเป็นเด็กที่พ่อแม่รัก เป็นเด็กที่มีควำมสำมำรถ มี
ศักยภำพและเป็นคนทม่ี ีควำมหมำย เมื่อเตมิ ส่ิงนใ้ี ห้กับลูก เขำจะโตมำเตม็ และไดเ้ จอคนทีเ่ ตม็ แบบเขำมำอยดู่ ว้ ยกัน
ขอฝำกในช่วงท้ำยของวันนี้ ชีวิตไม่ได้เจอแต่ควำมสวยงำม อยำกให้เล่ำเมื่อพบอุปสรรค ผ่ำนมำได้อย่ำงไรและมี
หลกั คดิ อย่ำงไร?
คุณหมอโอ๊ค : เราสวมหมวกหลายใบ ปัญหาต้องแก้ให้ถูกทาง สวมหมวกให้ถูกใบ จัดลาดับความสาคัญให้ถูกต้อง
ขึน้ กบั เราว่าจะรบั มอื อยา่ งไร
คุณโอปอล์ : ทุกคนมีปัญหา จะมีมาก มีน้อย ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นคือปัญหาที่เราหนีไม่ได้ ต้องเผชิญหน้าและใช้สติ
แยกปัญหาให้ออก อะไรท่ีเกิดขึ้นเราต้องรับให้ได้ ช่วงที่นอนใหย้ าในโรงพยาบาล มีอาการหัวใจวายเหมือนคนจมน้า พอ
เราได้โอกาสในการกลับมาใช้ชีวิตอีกครั้ง ทาให้ได้คิด ปอล์กับพี่โอ๊คเราเลือกใช้ชีวิตจากข้างในออกข้างนอก ใช้ชีวิตกับ
คนทีเ่ ราอยากใช้ ใชใ้ นครอบครัว เพราะเราไม่รู้หรอกวา่ เราจะมีพรงุ่ น้ีหรือเปล่า

เป็นควำมโชคดีของรำมำธิบดีที่ทั้งสองท่ำนสละเวลำอันมีค่ำกับสิ่งสำคัญ และค่ำตอบแทนของสองท่ำนได้
บริจำคให้มูลนิธิรำมำธิบดี ขอบคุณที่ได้มำเติมพลังใจ ให้พวกเรำทำงำนอย่ำงมีควำมสุขมำกขึ้น หลำยอย่ำงที่ได้
เรียนรู้จำกชีวติ ของคณุ โอปอล์และหมอโอค๊ นำแง่คดิ ดี ๆ ไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป
การสรุปตคี วามโดยทมี ถอดบทเรยี น
บทเรยี นทไ่ี ด้รับ ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ

1. Work Life Balance คือ การจดั ลาดับความสาคญั ของชวี ิต
2. รกั ษาสุขภาพกาย ใจ และขยายสู่ครอบครัว เลือกใช้ชวี ิตจากข้างใน (ครอบครวั ) ออกขา้ งนอก
3. ชวี ิตคู่ตอ้ งแชร์เปา้ หมาย ความฝนั ความคิด และทัศนคติเดยี วกัน
4. ปญั หาท่เี กิดข้ึนคอื ข้อเทจ็ จรงิ ทเ่ี ราตอ้ งเผชญิ หน้าและใชส้ ตใิ นการแก้ไข
5. รู้จกั ชืน่ ชมตวั เองใหเ้ ป็น ยอมรับขอ้ ผดิ พลาด ใหอ้ ภัยตัวเองได้
6. ถ้าเราอยากให้คนเห็นคุณค่าของเรา เราต้องเห็นคณุ คา่ ของตนเอง มศี รัทธาและเป็นตวั ของตัวเอง

15

เสรมิ พลัง สร้างศกั ยภาพดว้ ยพลังบวกทางความคดิ
7. เตมิ ชวี ติ ให้เต็มแล้ว เม่ือมคี รอบครัวหรอื เป็นโสด จะสามารถอยไู่ ดอ้ ยา่ งมีความสขุ
ช่ือผ้จู ดบนั ทกึ
คณุ เพญ็ ศริ ิ พุ่มหริ ญั
งานบรกิ ารวสิ ัญญี ภาควชิ าวิสัญญีวทิ ยา

16

การนาเสนอผลงานเรื่องเลา่ เรา้ พลงั

ผลงาน เสี้ยวนาทแี หง่ ชีวติ
ผลงาน เสีย้ วนาทีแห่งชีวิต
วนั ท่ี 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
เวลา 11:15 – 12:00 น.
ห้อง 910 ABC ชน้ั 9

อาคารเรียนและปฏบิ ตั ิการรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธิบดี
ผ้นู าเสนอ นางศศธิ ร บญุ โยธา งานการพยาบาลบริการเฉพาะ ฝา่ ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี
รปู แบบการนาเสนอ VDO Clip

เน้ือหา
เช้าวันจันทร์ในเวลาหกนาฬิกาเศษ ท้องฟ้ายังไม่สว่างมากนัก ฉันเดินเข้ามายังตัวอาคาร ภายในโถง ชั้น 1

หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกเวชศาสตรค์ รอบครวั คือ สถานท่ีทางานของฉัน ภายในตวั อาคารเปิดไฟสว่างทุกจดุ โดยเจ้าหน้าท่ี
รักษาความปลอดภัย บริเวณโถงหน้าห้องตรวจท้ังสองฝั่งมีผู้รับบริการนั่งรอบางส่วน และผู้ป่วยอีกหลายรายยืนเข้าคิว
เพื่อรอยน่ื บัตรนัด ฉันเดินเล่ยี งไปอกี ทางเพอ่ื เซน็ ชื่อในใบลงเวลาปฏิบัติงานเชน่ ทุกวัน ขณะน้ันฉันมีเวลาอีกย่ีสิบนาทีใน
การเตรียมความพรอ้ มของตนเอง

ฉันแต่งหน้าโทนสีอ่อน และจิบกาแฟแทนอาหารมื้อเช้า ฉันยิ้มให้กับตัวเองในกระจก และฉันไม่ลืมที่จะบอก
กบั ตัวเองเช่นทุกวันว่า ฉันพร้อมแล้วสาหรับการทางานเพ่ือให้บริการในวันนี้ และฉันปฏิบัติงานในเวลาหกนาฬิกาสี่สิบ
หา้ นาที ซึง่ ก่อนเวลาปฏบิ ตั ิงานจรงิ สบิ ห้านาที

วันน้ีฉันได้รับมอบหมายให้ดูแลผมู้ ารับบริการท้งั หมด ทงั้ ผู้ป่วยที่มีนัดหมายในวันนี้ และผู้ป่วยท่ีไม่ไดน้ ัดหมาย
ล่วงหน้าและต้องการพบแพทย์ด้วยอาการเจ็บป่วยรวมถึงผู้ท่ีต้องการเช็คสุขภาพ และอานวยความสะดวกแก่ผู้ มารับ
บริการในหน่วยอื่น ๆ เช่น แนะนาทางไปห้องยา ห้องน้า ห้องอาหารเป็นต้น นอกจากน้ีฉันยังมีหน้าท่ีช่วยประเมิน
อาการของผู้ปว่ ยเบ้ืองต้น หากพบว่าผู้ปว่ ยมีสัญญาณชพี ผิดปกติจะตอ้ งรายงานพยาบาลเพ่ือประสานงานใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ ับ
การดแู ลทเี่ หมาะสมตอ่ ไป

18

ผลงาน เส้ียวนาทแี ห่งชีวติ

ภายในห้องโถงบริเวณชั้นหน่ึงฉันยืนโดดเด่นในชุดพยาบาลสีขาว ด้วยบุคลิกภาพท่ีสมส่วนและคล่องแคล่ว สี
หน้ายิ้มแย้มใบหน้าหมดจด น้าเสยี งอ่อนโยนใช้กิริยาวาจาสุภาพต่อผู้ร่วมงานและผู้รับบริการ และมีความกระตือรือร้น
ในการใหบ้ รกิ าร ซ่งึ เจ้าทที่ กุ คนในแผนกจะมีลักษณะความพเิ ศษน้ีเชน่ กัน

ในตอนสายวันน้ันเอง หญงิ วัยกลางคนพร้อมชายวยั ใกลเ้ คยี งกนั เดนิ เขา้ มาพน้ ประตูของอาคาร ฉันมองเห็น
ทันทีด้วยระยะห่างไม่เกินสิบเมตร หญิงคนดังกล่าวเดินมาพร้อมใช้มือสองข้างกุมระหว่างหน้าอกและลาคอเหงื่อเม็ด
ใหญ่เต็มใบหน้า โดยมีญาติพยุงกึ่งวิ่งก่ึงเดินเข้ามาภายในอาคารด้วยอาการตื่นตระหนก ด้วยประสบการณ์การทางาน
ย่สี บิ ปีเศษ ฉันสามารถประเมนิ ผู้ป่วยด้วยสายตาได้ว่า เขาต้องการความช่วยเหลือ ฉันเดินออ้ มจากเคานเ์ ตอร์เดนิ ตรงไป
ท่ีหญิงผู้นั้น เราต่างมุ่งเข้าหากันโดยไม่ได้นัดหมาย มือสองข้างของเธอย่ืนส่งมาข้างหน้า จุดหมายคือคว้าตัวของฉัน
ดวงตาของเธอจ้องมองมาท่ีฉันตลอดโดยไม่ละสายตา ดวงตาของเราประสานกันอย่างตั้งใจและเธอก็ขอความช่วยเหลือ
จากฉันผ่านแววตาคู่นั้น ก่อนท่ีเธอจะสะอึกคล้ายอาการสาลัก ขาสองข้างของเธอเร่ิมอ่อนแรงพร้อมกันน้ันเข่าสองข้าง
ของเธอทรุดลง เป็นจังหวะเดียวกับที่ฉันเดินถึงตัวของเธอพอดี มือสองข้างของฉันประคองใต้รักแร้แต่ด้วยน้าหนักตัว
ของเธอทาให้ฉนั และเธอล้มลงกับพ้ืนพรอ้ ม ๆ กัน โดยท่ียงั ไม่มีการสนทนาใด ๆ เกดิ ข้ึน ฉันประคองศีรษะเธอวางลงกับ
พ้ืนในขณะที่เธอเงียบและนิ่งไป ฉันใช้มือตบท่ีไหล่ท้ังสองข้างด้วยความแรงและเรียก “คุณคะ คุณ ๆ”ด้วยเสียงท่ีดังไม่
น้อยกว่าน้าหนักมือที่ตบลงบนบ่าท้ังสองข้าง ไม่มีเสียงตอบใด ๆ มือข้างขวาของฉันวางลงตาแหน่งลาคอด้านข้างตรง
บรเิ วณหลอดเลือดดาใหญเ่ พื่อคลาชีพจร สง่ิ ทไี่ มค่ าดคดิ ก็เกดิ ขึน้ คือ ฉนั คลาไมพ่ บชพี จร

ฉันตะโกนขอความช่วยเหลือ “ช่วยด้วยค่ะ ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่มีชีพจร” ในระหว่างนั้นฉันกดหน้าอก
ในอัตราเร็ว 100-120 คร้ังต่อนาที โดยใช้ความลึกในการกด 5-6 เซนติเมตร ตามมาตรฐานท่ีได้รับการอบรมในทุก ๆ
สองปี

ทนั ท่ีสิน้ เสยี งของฉนั เสียงสัญญาณขอความชว่ ยเหลือภายในแผนกก็ดงั ขนึ้ พยาบาล ผู้ชว่ ยพยาบาล เจา้ หน้าที่
อื่น ๆ พร้อมอุปกรณ์ช่วยชีวิตตรงมาท่ีฉัน พวกเราช่วยกันเคลื่อนย้ายผู้ป่วยขึ้นบนรถนอนเพ่ือให้การช่วยชีวิตเกิดความ
คล่องตัวและมีประสิทธิภาพสงู สุด โดยไม่ลืมรองกระดานแขง็ ใต้ลาตวั ของผปู้ ่วยเพ่ือประสิทธภิ าพของการกดหนา้ อก

ทนั ใดนั้น เสียงประกาศโคด๊ รหัสของทีมช่วยฟน้ื คนื ชีพที่ใช้เฉพาะภายในของโรงพยาบาลก็ดังขึ้น “ทีม CPR ทีม
CPR ทีม CPR ที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอกเวชศาสตร์ครอบครัวค่ะ” ทันทีท่ีส้ินเสียงประกาศท่ีดังติดต่อกันถึงห้าคร้ัง ทีมกู้
ชีพภายในโรงพยาบาล ซึ่งประกอบด้วยแพทย์ วิสัญญีแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องมา
พร้อมอปุ กรณ์ช่วยชีวิตจนเต็มบริเวณ ผู้มารบั บริการหรือผู้ป่วยรายอ่นื ถกู เจ้าหน้าท่ีรกั ษาความปลอดภัยกันออกใหห้ ่าง
จากบรเิ วณโดยมีรศั มีหา้ เมตรเพื่อให้ทมี กู้ชพี ทางานได้อย่างเต็มศักยภาพ

แพทย์ซักประวัติอาการสาคัญก่อนมาโรงพยาบาลจากญาติผู้ป่วย ฉันเล่าเหตุการณ์ตอนพบผู้ป่วยครั้งแรกให้
แพทย์ทราบ แพทย์ขอประวัติการรักษาภายในโรงพยาบาล พรอ้ มสั่งติดอุปกรณ์มอนิเตอร์ EKG และประเมินคล่นื ไฟฟ้า
หัวใจ ทันใดน้ันแพทย์สั่งช็อคไฟฟ้า แพทย์สั่งเตรียมใส่ท่อช่วยหายใจ และสั่งให้สารน้าเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั กิ ารภายใตค้ าสง่ั แพทยถ์ กู ทาไปพรอ้ ม ๆ กนั การกดหนา้ อกยงั คงทาตอ่ เน่อื ง

หลังจากการช็อคไฟฟ้าผ่านไปสองนาที พยาบาลรายงานว่ายังคลาชีพจรไม่ได้ แพทย์ท่านเดิมประเมิน
คลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้า และส่ังช็อคไฟฟ้าครั้งที่ 2 หลังจากสองนาทีผ่านไปแพทย์ประเมินคล่ืนฟ้าหัวใจซ้า การกดหน้าอก
ยังคงทาต่อเน่ืองโดยเปล่ียนคนกดทุกสองนาที การใส่ท่อช่วยหายใจลุล่วงด้วยดีโดยวิสัญญีแพทย์พร้อมยืนยันตาแหน่ง

19

ผลงาน เสีย้ วนาทีแห่งชีวิต

ท่อช่วยหายใจ ผู้ช่วยพยาบาลใช้พลาสเตอร์เหนียวสีขาวยึดท่อช่วยหายใจตามตาแหน่งที่แพทย์ระบุ และสั่งช่วยหายใจ
ในอตั รา 8-10 ครงั้ ตอ่ นาที

มีคาส่ังแพทย์ให้ใช้ยา มีพยาบาลคนท่ีหน่ึงคนคอยจดบันทึก และขานรับคาส่ังแพทย์พร้อมบันทึกเวลาครบให้
ยาทุกสน่ี าที เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุกสองนาที และพยาบาลคนท่ีสองเป็นคนให้ยาตามคาส่ังแพทย์โดยทวนคาส่ังแพทย์
ด้วยถ้อยคาท่ีดงั และชัดเจน แพทย์เข้าประเมินอาการพร้อมมีคาส่ังให้ยาเพ่มิ เสียงมอนิเตอร์ดงั เสียงคาส่งั แพทย์ เสียง
พยาบาลพยาบาลผู้ให้ยาและ พยาบาลผู้จดบนั ทึก ดังสลบั กนั เป็นอย่างนต้ี อ่ เน่อื ง

ในนาทีนฉ้ี ันเห็นถึงบทบาทหนา้ ที่ ของแพทย์ พยาบาล ผูช้ ่วยพยาบาล และบคุ ลากรตาแหน่งอน่ื ๆ ท่ีถงึ แมจ้ ะมี
หน้าท่ีที่แตกต่าง ล้วนแล้วแต่มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่ากันเลย การทางานของพวกเราถือเป็นการทางานเป็นทีมโดย
แท้จรงิ

ภายหลงั หลังฉากท่ีบังอยู่ แต่ไม่สามารถปิดกั้นเสียงการทางาน ภายในคือภาพบรรยากาศนาทีชีวิตของผู้ป่วยที่
ต้องย้ือชีวิตนาทีต่อนาที เสียงแพทย์พยาบาลเสมือนเสียงของเทวดาและนางฟ้า เสียงเคร่ืองมอนิเตอร์และเครื่องช่วย
หายใจดังเสมือนเสียงพญามัจจุราช ทุกคนรอบข้างฟังด้วยใจระทึกก่อให้เกิดความหดหู่ใจยิ่งนัก เสียงสะอื้นของญาติดัง
แผ่วราวกับว่ากาลงั อ้อนวอนต่อรองขอชวี ิตแทนผูป้ ว่ ย มันช่างบีบคนั้ หัวใจของฉนั และผู้คนรอบขา้ งเสียจริง

เวลาผ่านไปร่วมสามสิบนาที แพทย์ประเมินอาการของผู้ป่วยอีกครั้งพร้อมกับพูดข้ึนว่า คลาชีพจรได้แล้วเสียง
ทุกคนในทีมร้องด้วยความดีใจอย่างอดกลั้นไม่ได้ รวมทั้งตัวฉันเอง ผู้มารับบริการท่ีนั่งบริเวณน้ันถึงกับปรบมือส่งเสียง
ช่นื ชมบคุ ลากรในทมี ทาให้ฉนั อดยมิ้ ไม่ได้

หลังจากนั้นแพทย์ได้ส่ังให้วัดสัญญาณชีพ ดูแลการช่วยหายใจ ก่อนส่งผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วยเพ่ือหาสาเหตุของ
การหยุดเต้นของหวั ใจและเพื่อใหไ้ ดร้ ับการดแู ลหลังภาวะหยุดเตน้ ของหวั ใจตอ่ ไป

เหตุการณ์ในครั้งน้ี ฉันได้เห็นว่า ปัจจัยสาคัญในการช่วยฟ้ืนคืนชีพในครั้งน้ี ที่จะทาให้การช่วยฟื้นคืนชีพน้ันมี
ประสิทธิภาพและประสบผลสาเร็จนั้น ก็คือ การกดหน้าอกอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเน่ือง ไม่หยุดโดยไม่มีความจาเป็น
นอกจากน้ียังมีปัจจัยท่ีช่วยให้การช่วยฟื้นคืนชีพ ประสบความสาเร็จ ได้แก่ ทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพ เข้าใจ และ
รับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนอยา่ งเคร่งครดั มีการสื่อสารท่ดี ี และชัดเจน

ฉันยงั ยมิ้ ให้ตัวเองในกระจกในทุก ๆ เช้าและไมล่ ืมที่จะบอกกับตัวเองว่า ฉนั พร้อมแลว้ สาหรับการทางานเพอ่ื ให้
บริการในวนั นี้

เจ้าของผลงาน รบั รางวลั ชนะเลศิ ผลงานเร่อื งเลา่ เรา้ พลัง
จาก รศ.นพ.สรุ ศักดิ์ ลลี าอดุ มลิปิ รกั ษาการแทนรองคณบดีฝ่ายดูแลสขุ ภาพ และผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบ2า0ลรามาธิบดี

ผลงาน เสีย้ วนาทแี หง่ ชีวติ

ผ้วู พิ ากษ์

ดร.จตุพร วศิ ิษฏ์โชติอังกรู วทิ ยากร ทปี่ รกึ ษา และโค้ชของบริษทั ดิอนิ เทอรเ์ มท ลีดเดอร์ จากดั
“ปีน้ีมี 181 เร่ืองนะครับ คดั เหลือ 4 เร่ือง ก็ถือว่าสุดยอดแล้วเป็น 1 ใน 181 เร่ือง อันที่จรงิ ด้วยความเป็นคน

นอก การเลา่ เร่ืองของพ่ี ๆ ทาใหเ้ หน็ ถงึ สภาพแวดล้อม เร่ืองราว และก็เหตุการณ์ท่คี นข้างนอกไม่สามารถจะจินตนาการ
ได้เลยนะครับ แต่เวลาอ่านทาให้เราเห็นวา่ สติของคนทางานน่ีสาคัญมาก ความเป็นทมี ความรวดเร็ว แลว้ ก็จุดม่งุ หมาย
ของทีมท่ไี มต่ ้องพูดกันเลยว่าจุดม่งุ หมายคืออะไร คอื ทุกคนรู้กันหมด ผมชอบประโยคที่เขาเขียนวา่ ดว้ ยน้าหนักของตัว
เธอทาให้ฉันและเธอล้มลงกับพ้ืนพร้อม ๆ กัน มนั ค่อย ๆ เห็นพยาบาลและผู้ป่วยค่อย ๆ ล้มลงพ้ืนโดยประคองกันไป
ผมว่าภาพแบบนี้มันก็งดงามในส่วนหนึ่งก่อนจะเริ่มเรื่อง อันน้ีชื่นชมมากเลยครับ คุณภาพจากหัวใจมันไม่ใช่แค่
คณุ ภาพอยา่ งเดียว แตม่ ันดว้ ยหัวใจจรงิ ๆ ครบั ”








ผ้จู ดบนั ทึก
นางสาวนันทิตา จุไรทศั นยี ์
งานการพยาบาลป้องกนั โรคและส่งเสริมสขุ ภาพ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

21

ผลงาน รักษไ์ ร้พรมแดน
ผลงาน รักษ์ไร้พรมแดน
วันท่ี 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
เวลา 11:15 – 12:00 น.
หอ้ ง 910ABC ช้นั 9

อาคารเรียนและปฏิบัตกิ ารรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ผูน้ าเสนอ นางสาวกนกพร จันทรเ์ ผอื ก

งานการพยาบาลปอ้ งกนั โรคและส่งเสรมิ สุขภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี
รปู แบบการนาเสนอ VDO Clip

เนอ้ื หา
เมื่อความมืดมิดเร่ิมคืบคลานเข้าปกคลุมทุกพื้นท่ีหลังพระอาทิตย์ลับลาขอบฟ้าไป หลาย ๆ คนเร่ิมเข้าสู่

กระบวนการนิทราเพ่ือเติมพลังให้กับเช้าวันใหม่ แต่สาหรับฉันกลับเป็นการเริ่มต้นการทางานเมื่อใกล้จะผ่านพ้นค่า
คืนเพื่อเข้าส่วู นั ตอ่ ไป

ในคนื วันนั้นฉนั ต้องเขา้ ทางานในเวรดึก สาหรับวอร์ด ไอ.ซ.ี ยู.เด็ก (PICU : หอผ้ปู ่วยวกิ ฤตเด็ก) นบั วา่ เปน็ เรอื่ ง
ปกติท่ีจะต้องเตรียมพร้อมรับคนไข้ตลอดเวลา ภาวะวิกฤตในเด็กสามารถเกิดขึ้นได้ทุกช่วงชีวิตของเด็กป่วย และ เป็น
หน้าที่ของเราในการเตรียมพร้อมรับมือในการดูแลคนไข้เด็กในช่วงวิกฤตนั้นให้ผ่านไปได้อย่างปลอดภัย และนั่น
เป็นเหตผุ ลทท่ี ำใหฉ้ นั มำยืนอยทู่ ่นี ี่ ณ เวลำนี้ ซงึ่ ผำ่ นมำแล้วถึง 5 ปี

แต่ความไม่ปกติในวันนี้ คือ ผู้ป่วยที่รับใหม่เป็นเด็กชายชาวต่างชาติจากประเทศเพื่อนบ้านด้านทิศตะวันออก
เฉียงใต้ของเรา ซ่ึงนาน ๆ จะได้พบเจอ บิดามารดาของเขาพาบินข้ามเส้นพรมแดนมารักษาตัวท่ีโรงพยาบาล
รามาธบิ ดี และตง้ั ความหวงั ไว้ไกลถึงประเทศไทยเลยทเี ดียว

ฉันได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้าเวรพยาบาลในค่าคืนนี้ และน่ันทาให้ฉันต้องเตรียมพร้อมในการทางานให้
เต็มที่ ประกอบกับหลังจากวันนี้ไปเด็กชายจะต้องอยู่ในความดูแลของฉันซ่ึงเป็นพยาบาลเจ้าของไข้ของเขา ซึ่งจะต้อง
ดูแลกันไปตลอดจนกวา่ อาการจะดีขน้ึ หรือว่าแยล่ งจนต้องจากกันไป ความกังวลเริ่มจู่โจมเข้ามา อาจเปน็ ดว้ ยเร่ืองภาษา

22

ผลงาน รักษ์ไร้พรมแดน

ซึ่งฉนั ไม่รู้ว่าจะตอ้ งส่อื สารอย่างไร และฉันจะสามารถอธิบายหรือให้ข้อมูลใด ๆ แก่พอ่ แมไ่ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งหรือไม่ แต่ด้วย
ความเชอื่ มนั่ ในทมี บุคลากรการแพทย์ ไมว่ ่ายงั ไงทกุ อย่างตอ้ งผ่านไปได้ด้วยดีอยา่ งทเ่ี คยเป็นเสมอมา

วนิ าทีท่ีเด็กชายบนรถนอน (Stretcher) ถกู เขน็ ผา่ นประตูเขา้ มาสู่วอร์ด เขาดเู หมือนเด็กวัย 2 ขวบท่ัวไป แต่ที่
ต่างออกไปคือท่อช่วยหายใจที่มุมปากต่อเข้ากับชุดช่วยหายใจแบบบีบมือ (Oxygen Reservoir Bag) น่ันบ่งบอกถึง
ความเหน่ือยหอบและความรุนแรงของโรคในขณะนั้นได้เป็นอย่างดี เนื่องจากปัญหาเรื่องโรคปอดเร้ือรังท่ีจาเป็นต้องใช้
เครือ่ งช่วยหายใจความถีส่ งู (HFOV) ซง่ึ เป็นภาวะวิกฤตทิ จี่ าเป็นต้องเข้า ไอ.ซ.ี ยู.

ฉนั สัมผัสได้ถึงความห่วงใยของผ้เู ป็นแม่ เธอร้องไห้ตลอดเวลาด้วยความเสียใจที่ลูกชายอาการหนักยิ่งนัก ซ่ึงผู้
เปน็ พ่อกไ็ ด้พยายามปลอบใจอยไู่ มห่ ่างกาย แต่หน้าที่ของฉนั และทีมบคุ ลากรการแพทย์จาเปน็ ต้องใหก้ ารดูแลผูป้ ว่ ยเป็น
หลกั หลังจากนั้นจงึ จะสามารถอธิบายเรื่องตา่ ง ๆ ทั้งอาการ การดูแล การรกั ษา และอื่น ๆ อีกมากมายในขณะท่ีรบั การ
รักษาตัวในโรงพยาบาล ซึ่งคืนน้ันเหตุการณ์ทุกอย่างก็ผ่านไปได้ด้วยดี อาการของเด็กชายค่อนข้างคงท่ีหลังจากได้รับ
การรกั ษาอย่างทนั ท่วงที และแพทย์กไ็ ด้แจ้งอาการกบั ผู้ปกครองทัง้ สองคน และให้กลบั บา้ นเพ่ือพกั ผ่อนกอ่ นจะมาเยี่ยม
ลกู ในตอนเชา้ อกี ครั้ง

เป็นควำมโชคดีที่คุณพ่อสำมำรถสื่อสำรเป็นภำษำอังกฤษได้ เพรำะเคยเป็นแพทย์อยู่ที่ประเทศของตนเอง
แต่ปัจจบุ ันไม่ไดท้ างานด้านนนั้ แล้วเนือ่ งจากประเทศของเขาไม่สามารถให้คา่ ตอบแทนไดเ้ พียงพอท่ีจะดูแลครอบครัวได้
เขาจึงตอ้ งเปล่ยี นอาชีพมาทางานรับเหมาก่อสร้างแทนตามความต้องการด้านอุตสาหกรรมภายในประเทศ

ในการทางานในแต่ละคร้ังและแต่ละวันท่ตี ้องดูแลเด็กชายถือว่าอาการไม่ได้แย่เสียทุกวัน แต่ในการส่ือสาร
กับพ่อและแม่นั้นก็ไม่ได้ง่ายในช่วงแรก แต่หลังจากได้พูดคุยและแจ้งอาการในแต่ละวัน ฉันเร่ิมจะปรับตัวได้ ความ
หนักใจต่าง ๆ ลดลงมาก สามารถพดู คยุ บอกอาการท่ัวไปหรือในเวลาใหก้ ารพยาบาลได้ แต่อาการโดยรวมของเด็กชายก็
ไม่ได้ดีขึ้นเลยตลอดเวลาที่รับการรักษาอยู่ ความเครียดและความกังวลของพ่อแม่บ่งบอกได้จากทางสีหน้า แววตา และ
ทา่ ทาง รวมถึงค่ารักษาที่เพม่ิ ขึ้นเรือ่ ย ๆ ซ่ึงการเป็นชาวตา่ งชาตมิ ผี ลให้ค่ารักษาสูงขน้ึ กว่าปกติ พวกเขาจาเป็นต้องขาย
ที่ดินและรถเพ่ือมารักษาลูกชายที่นับวันย่ิงมีค่าใช้จ่ายท่ีเพ่ิมขึ้นจนถึงหลักล้านเลยทีเดียว แล้ววันหน่ึงพ่อของ
เด็กชายก็ได้แจ้งว่าเงินที่เก็บรวบรวมไว้แทบไม่เหลือแล้ว ท้ังสองรวบรวมความกล้าในการขออนุญาตรบกวนทาง
โรงพยาบาลเพอื่ ขอความชว่ ยเหลอื

ทีมบุคลากรการแพทย์ได้ประชุมทีมร่วมกันและคิดว่าพอช่วยเหลือครอบครัวนี้ได้อย่างไรบ้าง ขั้นแรกคือ การ
ทาเรื่องไปยังสานักงานผู้อานวยการเพื่อให้ค่ารักษาเป็นราคาในอัตราของคนไทย ซึ่งค่ารักษาท้ังหมดจะลดลงเกือบ
สองเท่า น่นั ทาให้ฉันได้เรียนรู้ว่าขั้นตอนการเปล่ียนแปลงในระบบต่าง ๆ ต้องทาอย่างไร และทาให้ฉันรู้สึกว่าอยากทา
ทุกอย่างให้เต็มที่เพื่อช่วยเหลือครอบครัวน้ี เพราะภายในประเทศของเขาเองไม่มีความพร้อมในการรักษาคนไข้ เมื่อ
ทราบว่าท่ีไหนสามารถให้การรักษาได้ พวกเขาก็ไปทุกท่ีเพื่อให้ลูกหายป่วย จนกระท่ังทราบถึงความก้าวหน้าทาง
สาธารณสขุ ของประเทศไทย จึงเดินทางมาไกลด้วยความหวังทีเ่ ต็มเป่ียม และแพทยเ์ จ้าของไข้สรุปประวัติการรกั ษา
เพื่อให้บดิ ามารดานาไปแจ้งทีส่ ถานทูตของประเทศทีป่ ระจาประเทศไทย เผือ่ ว่าทางน้ันอาจจะสามารถชว่ ยเหลือในเรอ่ื ง
อน่ื ๆ ได้อีกทางหน่ึง แต่สุดทา้ ยส่ิงทไี่ ดก้ ลบั มาจากสถานทูตคือคาปฏิเสธ ......

วันเวลาผ่านไปหลายสัปดาห์พร้อมกับอาการของเด็กชายที่เริ่มแย่ลง แพทย์เจ้าของไข้แจ้งอาการของผู้ป่วยกับ
พ่อและแม่เป็นระยะ จากที่ทั้งสองสามารถรับรู้และรับฟังได้โดยการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง กลับกลายเป็นว่า

23

ผลงาน รักษ์ไรพ้ รมแดน

สภาพจิตใจท่ีย่าแย่และหม่นหมอง ทาให้ไม่สามารถสื่อสารได้อย่างเคย จนจาเป็นต้องใช้ล่ามเจ้าของภาษาในการช่วย
แปล แต่ถึงกระน้ันการพูดคุยก็ยังเป็นไปอย่างยากลาบาก ด้วยความที่จิตใจเศร้าหมองจนไม่สามารถยอมรับความเป็น
จรงิ ได้ แนวทางในการรกั ษาก็ย่งิ ยากข้นึ ในทุกนาที และเป็นอยา่ งนใี้ นทกุ ๆ วนั ท่อี าการของเด็กชายไมค่ งท่หี รือแย่ลง

พ่อกับแม่ตัดสินใจเดินทางกลับประเทศของตนเพื่อไปหาค่ารักษาเพิ่มเติม แต่เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น
อาการของเด็กชายกลับแยล่ งในชั่วข้ามคนื จนแพทย์ต้องติดตอ่ พ่อและแม่เพอ่ื แจ้งอาการใหท้ ราบทางโทรศพั ท์ ฉันอยู่
ในเหตุการณ์นนั้ ตลอดเวลาจนรู้สึกได้ถึงสถานการณ์ว่าย่าแย่เพียงใด ฉันไดย้ ินเพยี งแต่เสียงร้องไห้ของผู้เป็นแม่ดงั เล็ด
ลอดออกมำ หลังจากนั้นท้งั สองกร็ บี เดินทางกลบั มาประเทศไทยทนั ที

ในเวลานน้ั เต็มไปด้วยความวุ่นวายในการพยายามชว่ ยชีวิตเด็กชายรวมถึงการกู้ชพี พ่อและแม่อยากพบลูก
แทบขาดใจ เสียงร้องไห้ของผู้เป็นแม่ดังก้องอยู่ในหวั ของฉัน แพทย์ผ้ทู าการรักษาตัดสินใจแจ้งอาการของเด็กชายกับ
พ่อแม่อกี ครั้ง เวลาแจ้งข้อมูลทางการแพทย์จาเป็นต้องทางานเป็นทีม และฉันก็เป็นหนึ่งในทีมในการเข้าร่วมพดู คุย
ในครง้ั นด้ี ้วย

หลงั จากอาจารย์แพทยแ์ ละแพทยเ์ จา้ ของไข้ไดแ้ จ้งอาการให้ท้ังคู่ทราบ ทันใดน้ัน แมข่ องเด็กชายก็ก้มลงกราบ
ทีมแพทย์และฉันเพื่อขอให้ช่วยลูกของตนเองให้ได้ เสียงกรีดร้องและเสียงร้องไห้ดังอยู่ไม่ขาด เธอคุกเข่าอยู่อย่างน้ัน
ผู้เป็นพ่อก็ย่อตัวลงคุกเข่าร้องไห้กอดผู้เป็นแม่ไว้แน่นและขอให้ช่วยรักษาลูกให้ได้ เขาได้แต่พูดว่า “หมอช่วยเอำ
ปอดของผมไปใหล้ กู แทนดว้ ยเถอะ ผมยอมตำยแทนไดเ้ พื่อให้ลกู รอดชวี ติ ”

ชว่ งเวลานั้นนน้ั สาหรบั ฉันเปน็ ช่วงที่ชุลมุนมากท่ีสดุ ในชีวิตการทางานก็ว่าได้ ฉันตอ้ งให้การพยาบาลเบ้ืองต้นแก่
มารดาท่ีเป็นลมจากการผิดหวงั และร้องไห้ฟมู ฟาย จนกระทั่งเม่ืออารมณข์ องเธอสงบลง ทีมแพทย์ไดข้ อร้องใหพ้ ่อกบั แม่
กลับไปพกั ผอ่ น เนอื่ งจากเป็นเวลาดึกมากแลว้ และจากท่ีไดร้ บั การรักษาในช่วงวกิ ฤต อาการของเด็กชายกลบั มาคงทอี่ ีก
คร้งั ฉันและพยาบาลคนอ่นื ๆ อยู่เปน็ เพ่อื นเพ่ือให้กาลังใจทัง้ คจู่ นสามารถพดู คุยกนั ไดแ้ ละกลบั ท่ีพกั ไปในทส่ี ดุ

หลังจากวันนั้นฉันต้องไปประชุมวิชาการจึงไม่ได้มาทางานหลายวัน และได้ทราบในภายหลังว่าเด็กชายอาการ
แย่ลงจนไม่สามารถย้ือชีวิตไว้ได้ ซ่ึงได้สร้างความเสยี ใจให้กับพ่อและแม่เป็นอย่างมาก เมื่อได้รับรู้ฉันเองก็เสียใจไม่แพ้
กนั ได้แตค่ ดิ ถึงตลอดช่วงเวลา 2 เดือนทผ่ี า่ นมาท่ฉี นั มโี อกาสไดด้ ูแลเด็กชาย ฉนั ตดั สนิ ใจว่าตอ้ งใหก้ าลังใจและ
หาโอกาสลา่ ลากับพ่อและแม่เป็นครงั้ สดุ ท้าย แตเ่ มื่อกลบั มาท่วี อรด์ อีกครัง้ ...... ฉันกลับไม่เจอท้งั สองเสียแลว้

อันท่ีจริงฉันพอจะทราบว่าการท่ีพ่อและแม่ต้องพาร่างของเด็กชายกลับสู่ประเทศของตนเองนั้นเป็นเรื่องยาก
อย่างย่ิง เน่ืองจากติดปัญหาเร่ืองค่าใช้จ่ายรวมถึงเอกสารต่าง ๆ แต่ในความโชคร้ายยังมีความโชคดี ทางครอบครัว
ได้รับความช่วยเหลือจากภาควิชากุมารเวชศาสตร์ซึ่งได้ร่วมสมทบทุนเพ่ือช่วยเหลือในเรื่องการเดินทางและการเตรียม
เอกสาร สว่ นฉนั ก็เช่นกนั ท่ถี ึงแม้วำ่ อยำกจะช่วยเทำ่ ทีท่ ำได้ ..... แตค่ ดิ ว่ำคงไมม่ โี อกำสแลว้

เชา้ วันต่อมา ฉนั มาทางานตามปกติแต่เหมือนมปี ำฏิหำริย์เกิดข้ึน ฉันรู้สกึ โชคดีมำกท่คี ณุ พอ่ ของเด็กชำยมำท่ี
วอร์ดอีกคร้งั เพื่อวางพวงมาลยั บนหัวเตียงที่เด็กชายเคยนอนรกั ษาตัวอยู่ตามความเชอ่ื เป็นครั้งสุดท้าย ฉนั จึงได้โอกาส
มอบความชว่ ยเหลือตามเจตนารมณ์ท่ีตั้งใจไว้ ตอนนั้นฉนั มีสิง่ ท่ีอยากจะบอกกับพ่อหลายอย่าง แต่มันตีบตันอยู่ในลาคอ
ฉันพูดอะไรไม่ออก ส่ิงท่ีฉันทาได้คือบอกว่า “ขอให้โชคดี” ซ่ึงเขาก็ได้แต่บอกว่า “ขอบคุณสำหรับทุกส่ิงทุกอย่ำง ถ้ำ
มีโอกำสคงไดเ้ จอกนั อกี ”

24

ผลงาน รกั ษ์ไร้พรมแดน
นัน่ เป็นควำมรู้สกึ ที่ดที ่ีสุดแลว้ สำหรับฉันในชีวิตกำรทำงำนท่ีมีโอกำสได้ทำในส่ิงท่ีเป็นกำรช่วยเหลอื โดยไม่
หวังผลตอบแทน ฉันได้แต่คิดว่าสักวันหน่ึงคงมีโอกาสได้เจอกันในวันท่ีครอบครัวของพ่อกับแม่เข้มแข็งและได้พบ
ความสุขอกี คร้ัง
หน่ึงเดือนผ่านไปหลังจากวันน้ัน ฉันเปิดโซเชียลมีเดียเป็นปกติแบบท่ีเคยทามา สิ่งที่ผ่านตาทาให้ฉันได้พบเจอ
เร่ืองราวต่าง ๆ มากมายของคนท่ีรู้จักผ่านการเล่าดว้ ยรูปภาพและตัวหนังสือ แต่ตัวอกั ษรสีแดงเด่นทาให้ฉนั สะดุดตาที่
เห็นคนขอเพิ่มเป็นเพื่อนที่ไอคอนรูปคน มีความรู้สึกบางอย่างท่ีทาให้ฉันต่ืนเต้น เม่ือเปิดเข้าไปดูว่าเขาเป็นใครและฉัน
รูจ้ กั เขาหรอื ไม่ กลับพบวา่ เป็นคณุ พ่อของเด็กชายคนนั้นท่ีมาขอเป็นเพอื่ นทาง โซเชียลมเี ดีย ฉันจงึ ได้เขา้ ใจจรงิ ๆ ว่า
ถงึ แม้เรำอำจไม่ไดพ้ บเจอกันอกี ในชีวติ จริงแตเ่ รำสำมำรถรับรู้เรื่องรำวของพวกเขำได้เสมือนว่ำเรำไดพ้ บกันอกี ครง้ั
สามปีแลว้ ท่ีเรื่องราวตา่ ง ๆ ได้ผา่ นไปตามกาลเวลา ฉันได้รบั รู้ถึงความสุข ความสดใสของครอบครัวนัน้ และ
ได้เห็นการระลึกถึงบุคคลอันเป็นท่ีรักที่ไม่เคยลืมเลือน แต่ก็สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขในปัจจุบัน ทำให้ฉัน
คิดว่ำกำรรกั ษำในครง้ั น้นั ไร้ซ่ึงขอบเขตและพรมแดน ถงึ แมจ้ ะตำ่ งชำติตำ่ งภำษำ แต่เรำสำมำรถรบั รไู้ ด้ถงึ ควำมเอื้อ
อำทรที่มใี หแ้ ก่กนั ไดจ้ ริงๆ จนถงึ วันนแี้ ละตลอดไป

งานการพยาบาลปอ้ งกนั โรคและสง่ เสริมสขุ ภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี รับรางวลั
จาก รศ.นพ.สรุ ศักดิ์ ลลี าอดุ มลิปิ รกั ษาการแทนรองคณบดฝี า่ ยดูแลสขุ ภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี

ผวู้ พิ ากษ์

25

ผลงาน รกั ษไ์ รพ้ รมแดน

1. อาจารย์สุธีร์ พุม่ กุมาร ผอู้ านวยการสถาบันกวนี ิพนธ์ไทย
“สวัสดีครับทุกท่าน เร่ืองน้ีผมประทับใจต้ังแต่ช่วงต้น ๆ ของเรื่องที่บอกว่าเขาเป็นหมออยู่ในประเทศ แล้วก็

รายไดไ้ มด่ ี สุดท้ายเขาก็ต้องมาเป็นผู้รับเหมาก่อสรา้ งซึ่งมันประหลาดมาก จากหมอแลว้ มาเปน็ ผ้รู บั เหมาก่อสร้าง มนั คือ
ชวี ิตทเี่ หมือนนิยาย แต่ก่อนอื่นผมช่นื ชมผผู้ ลิตวิดโี อ ซง่ึ มหี ลาย ๆ เรื่องท่ีผมเหน็ ความพยายามของผเู้ ขียนท่ีเขาพยายาม
จะสร้างภาพให้มนั สอดคล้องกบั เรื่อง เดิมทีผมสันนิษฐานว่าอยูท่ างตะวันออกเฉยี งใต้ ซึ่งผู้เขียนเขาไม่เปิดเผยว่าเปน็ ชน
ชาติใด แต่ผมเดาไว้แล้วว่าเป็นชนชาติใด จนกระท่ังมาเห็นรูปภาพในเร่ืองถูกต้องตามท่ีเดาไว้ ถ้าการวิพากษ์ในแง่
วิชาการนั้น เนื่องจากวา่ มันเป็นความรู้ทางการแพทย์ ซง่ึ น้อยคนท่ีจะเขา้ ไปถึงขอ้ มลู จริง ๆ ถา้ เขาสนใจจรงิ ๆ

นอกจากน้ัน ผมก็จะดูในเรื่องของวรรณศิลป์ การใช้ภาษากับการเดินเรื่องท่ีมันสอดคล้อง เรียบร้อย กะทัดรัด
มากกว่าท่ีจะไปให้คะแนนด้านวิชาการ ในเรื่องรักษ์ไรพ้ รมแดนน้ี ผู้เขยี นสามารถเรียบเรยี งถ้อยคาขอ้ ความ มีอย่างหนึ่ง
ที่เราเห็นว่าเค้าพยายามทจ่ี ะซอ่ นอะไรบางอย่างซึ่งควรหรอื ไม่ควรน้ี อันนี้เป็นความรู้สึกส่วนตัวของเขาที่ซอ่ นเอาไว้ แล้ว
ให้ผู้อา่ นไปตีความเอาเอง นี่คือช้ันเชิงในทางวรรณศิลป์ ส่วนเร่อื งของรายละเอียดในเร่ือง ผู้เขียนได้ดาเนินเร่ืองที่ให้เรา
เห็นหลายส่ิงหลายอย่างท่ีคนท่ีเดินตามมาตรงนี้ หมายถึงว่าบางคนที่อาจตามมารักษาที่น่ีแล้วก็ไม่ใช่เป็นคนไทย อย่าง
ในเร่ืองนี่ผมสะเทือนใจตรงท่ีบอกว่าได้ขอความช่วยเหลือไปที่สถานทูตแล้วเพิกเฉย ผมใช้คา ๆ น้ี แต่ในเร่ืองไม่ใช้คานี้
อันน้ีมันสะเทอื นใจ ในทส่ี ดุ แลว้ เค้าได้เอื้อเฟอื้ จากรามาธิบดี ตรงน้ีที่ผเู้ ขยี นน่ไี ด้ดาเนินเรื่องให้ผู้อ่านได้เห็นถึงว่า ข้ันตอน
ของการขอความช่วยเหลือจะต้องทาอยา่ งไรบ้าง อนั น้ที ส่ี าคัญ

ก่อนหน้าน้ีผมเข้าโรงพยาบาลบ่อย มาเย่ียมเพ่ือนฝูง ได้เห็นการทางานของบุคลากรรวมไปถึงท้ังแพทย์และ
พยาบาลว่าควรที่จะเปน็ อย่างไร ผมพบกลอนช้นิ หนง่ึ และผมชอบใจทีผ่ ู้เขียนมีอารมณข์ ัน ส่ิงผมคดิ ว่าเป็นคาจากดั ความ
ของพยาบาลซงึ่ ผมจะจาไว้เลยว่าถ้าพูดถึงพยาบาลจะต้องมลี ักษณะนคี้ รับ

ความเสยี สละตอ้ งมี บริการดีมนี า้ ใจ
มีวนิ ัยและความอดทน สดุ สบั สนเวลาเขา้ งาน

ขา้ วเช้ากนิ สาย ข้าวบ่ายกินคา่
ขอบตาดาเพราะอดนอน งอนกบั แฟนเพราะไมม่ ีเวลา

หูชาเพราะคอมเพลน กวา่ จะได้เอนเตอร์เทนก็เกือบวยั ทอง”

2. ผศ.พญ.จรยิ า ไวศยารัทธ์ รองหัวหน้าภาควชิ าพยาธิวิทยา
“สวัสดีค่ะ เรื่องน้นี ะคะอย่างท่ีอาจารย์จตพุ รได้เกรน่ิ มาแล้วว่าปีน้มี ีคนส่งเรื่องเข้าประกวด 180 กว่าเรื่อง แล้ว

ก็คาดว่าน่าจะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ เม่ืออ่านไปยังไม่ทันหมด ซ่ึงบางทีเราก็อ่านตามลาดับเรื่องหรือแล้วแต่กรรมการ แต่
ตัวเองจะเลือกอ่านตามลาดับ รู้สึกมันเป็นงานท่ียากเหมือนกันเพราะมาก โดยส่วนตัวใช้วิธีดูตามชื่อเร่ืองด้วย เรื่องนี้
เลือกอ่านตามช่ือเรื่องเพราะน่าสนใจมาก “รักษ์ไร้พรมแดน” เราก็ดึงมาเลย พออ่านเสร็จก็อย่างท่ีอาจารย์สุธีร์ก็ได้พูด
แล้วว่า ในเชิงวรรณศิลปน์ ีค่ รบถว้ น เพราะเขาจะเปดิ เร่ืองแบบท่ีตอนทาวิดโี อ เปดิ เหมือนซีนภาพยนตรห์ รอื หนังนะ พอ
เราดทู าใหเ้ ราคดิ ถงึ เรอ่ื งเรือ่ งหน่งึ ท่มี นั สงบ ถึงแมจ้ ะเปดิ เรือ่ งตอนมืดมดิ แตม่ นั ดอู บอนุ่

เนื่องจากว่า เป็นวิทยากรเก่ียวกับเรื่องเล่าเร้าพลัง เคยมีปีหน่ึงนักเรียนถามว่า อาจารย์คะเรื่องท่ีไม่ต้องร้องไห้
หรือว่าไม่ตายน่ะมีม้ัยท่ีจะได้เข้ารอบ ในฐานะกรรมการท่านหนึง่ เราก็ ‘อืม จริงด้วยนะ’ ตอนทีอ่ ่านเรื่องนี้สานวนท่ีเขา

26

ผลงาน รักษไ์ ร้พรมแดน

เปิดเรอ่ื ง เล่าเร่อื ง แล้วก็ในเชิงวรรณศิลป์น่ีดีมาก ลื่นไหล เป็นการอธิบายถึงการทางานของไอ.ซี.ยู.เดก็ การทางาน
ในโรงพยาบาล แล้วก็มขี มวดปมความขดั แย้งว่าปมท่ี 1 เล็ก ๆ ก็คือ ไมใ่ ช่คนไทยก็เข้ากับช่ือเรื่องนะคะ อารมณ์นัน้ กค็ ิด
เลยไปไม่ถึงคาว่า Global Health ซ่ึงเราก็จะเห็นว่าโรงเรียนแพทย์หรือแม้กระท่ังหลักสูตรการศึกษาตอนนี้เราต้อง
ผลิตแพทย์ท่ีเป็น Global Medicine ไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทย เพราะว่าทุกคนเดินทางไปมา แล้วก็พอมาถึงตัว
เรื่องท่ีมีความขัดแย้งเหมือนกับที่เราดูหนัง ต้องขอเรียกว่าเป็นหนังแห่งชีวิตนะคะ คือ เขาเป็นคนต่างประเทศ ตัวเอง
เคยเดินทางไปช่วยเกี่ยวกับเร่ืองการศึกษาท่ีประเทศลาว พบว่าคุณหมอในลาวก็ต้องไปทานาเหมือนกันนะคะ มันจะมี
เลก็ ๆ นอ้ ย เปน็ ข้อแตกตา่ ง เป็น Culture ของประเทศหรือวา่ เปน็ วฒั นธรรม เปน็ ส่ิงแตกต่างจากประเทศของเรา

แล้วก็ความขัดแย้งอกี อยา่ งก็คือ ทาไมทาตามขนั้ ตอนแล้วสถานทตู ทาไมถงึ จุดสูงสดุ ซึ่งผู้เขียนเขยี นได้ดีมากนะ
คะ คอื ไม่เขียนในแงล่ บ แต่นาความจริงมาบอก อันน้ีเขาสุดยอดนะ คอื เขาไม่ได้บอกว่าทาอย่างนั้นไมด่ ีเลย แต่บอกว่า
ทาไปตามข้ันตอนของรามาธิบดแี ละทั้งสถานทูต แต่ตอนอ่านเราก็รู้สึก ตอนลุ้นก็รู้สกึ ว่าเสียใจ เสียใจมาก ๆ ไป เลยนะ
คะ คาว่า Global Health ก็ผุดขึ้นมาอีกว่า มันมีมั้ยที่ต่อไปในอนาคตซ่ึงรุ่นไหนก็ไม่รู้ รุ่นลูก รุ่นหลานของพวกเรา
เดินทางกันหลาย ๆ ประเทศ แล้วต่างประเทศรองรับคนไทยมั้ย ประเทศไทยเองรองรับคนต่างประเทศหรือเปล่า
เพราะฉะน้ันจึงคิดว่าในเชิงวรรณศิลป์ของเร่ืองน้ีครบ คอื เขาเล่าเรื่อง พูดถึงเหตุการณท์ ี่เกิดข้ึนจริง เหตุการณ์ท่เี กิด
Impact เกดิ การเร้าพลงั ผู้อ่าน แล้วเขาก็พูดถงึ Impact ที่จะมตี ่อไปใหผ้ ู้อา่ น อย่างเชน่ ต่อตวั เองในฐานะแพทย์น่คี ิด
ตอ่ ไปในอนาคตว่ามันจะมี Global Health ได้จริงในโลกของเรานะคะ แล้วก็เข้ากบั ช่ือเร่ืองของเขาคอื รักษ์ คือ รักษา
ไร้พรมแดน เหมือนตอนที่เขาปิดเร่ือง ซ่ึงเขาปิดเร่ืองดีมากเลยนะคะว่าการรักษาในครั้งนั้นไร้ซึ่งขอบเขตและ
พรมแดนแมว้ ่าจะเป็นคนต่างชาติ ซึง่ ก็คงต่างศาสนาดว้ ย ขอบคณุ มากคะ่





ผู้จดบันทึก

นางสาวนนั ทติ า จไุ รทัศนีย์

งานการพยาบาลปอ้ งกนั โรคและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

27

ผลงาน Give Heart for Heart (ให้ใจ เพ่ือใจ)
ผลงาน Give Heart for Heart (ให้ใจ เพ่อื ใจ)
วนั ท่ี 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
เวลา 11:15 – 12:00 น.
หอ้ ง 910 อาคารเรียนและปฏบิ ตั ิการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ชนั้ 9
ผู้นาเสนอ นายชรินทร์ กา่ นหงษ์ ห้องผ่าตัดและวกิ ฤต ฝา่ ยการพยาบาล ศูนย์การแพทยส์ ริ ิกิต์ิ
รูปแบบการนาเสนอ VDO Clip

เน้อื หา
ตึบ…ตึบ…... ตึบ……….ตึบ ปิดสวิตซ์ไฟตามทางเดินของห้องผ่าตัด หลังจากท่ีเราได้ส่งผู้ป่วยราย

สุดท้ายออกจากหอ้ งผ่าตัด สายตาเหลือบมองเห็นเขม็ นาฬิกาบอกเวลา 02.00 น. ซึง่ เป็นเวลาที่ฉันและทีมเวร
on call จะได้พักบ้างแล้ว หลังจากเหนื่อยล้าจากการทางานมาตลอดท้ังวัน ทันใดนั้น เสียงเรียกเข้าของ
โทรศัพท์ท่ีอยู่ข้างกายดังข้ึนท่ามกลางความเงียบสงัด…หัวหน้าเวรที่รักของฉันนั่นเอง ทาให้ฉันตกใจรีบคว้า
โทรศัพท์มาแนบหู พร้อม ๆ กับเสียงหัวหน้าเวรตอบมาเบา ๆ แต่มีผลต่อประสาทหูของฉันอย่างยิ่งว่า “มีเคส
แล้ว….Heart Transplant!!”

สิ้นเสียงพ่ีหัวหน้าเวร ฉันรสู้ ึกกังวลใจ ในหัวของฉันมีเสียงก้องขนึ้ มาในใจว่า ทาไงดี ๆ ฉันไม่เคยเจอ
เคสน้ีมาก่อน เราจะช่วยพ่ีเค้ายังไงดี เพียงครู่เดียว ฉันก็ต้ังสติได้ รีบพาตัวเองออกจากห้องพักเวร เหลียวมอง
เตียงนอนอย่างแสนอาลัยแล้วรีบว่ิงเข้าไปในห้องผ่าตัดอย่างว่องไวเหมือนทุกคร้ังท่ีทราบว่า เป็นการผ่าตัด
รีบด่วนฉุกเฉิน ฉันวิ่งเข้าไปโดยเร็ว แต่ไม่รู้หรอกนะว่าจะเร่ิมจากจุดไหนดี คิดแค่ว่าเข้าไปก่อน พ่ีจะให้ทา
อะไรก็ช่วยแจ้งแล้วกันฉันพร้อมทาตามความสามารถเท่าท่ีจะทาได้ ในสมองฉันจาได้แต่ว่าพี่ ๆ เคยบอกว่า
หัวใจท่ีผู้บริจาคมอบมาให้นั้นมีระยะเวลาส้ันนัก ไม่เกิน 4 ช่ัวโมง ต้ังแต่ตัดออกมาจนถึงใส่เข้าในร่างกายผู้รับ
บริจาคโดยนาหัวใจดวงเดิมท่ีมีพยาธิสภาพออกไป แล้วนาหัวใจดวงใหม่จากผู้บริจาคมาใส่แทนที่ เพื่อให้ผู้รับ
บรจิ าคได้มหี วั ใจใหมท่ แ่ี ขง็ แรงกวา่ หัวใจดวงเดิมและใชง้ านได้อีกคร้งั

28

ผลงาน Give Heart for Heart (ใหใ้ จ เพือ่ ใจ)

ผู้ป่วยรายน้ีรอคอยส่ิงที่เรียกว่า “หัวใจ” ด้วยความหวังมาเป็นเวลานานเกือบ 14 ปี บัดน้ี ความหวัง
เริ่มก่อเป็นรูปร่างบ้างแล้ว ช่วงชีวิตที่ผ่านมาของผู้ป่วยรายนี้ไม่เคยได้ใช้ชีวิตแบบคนปกติเลย เกิดมาพร้อม
โรคภัยไข้เจ็บ มีพยาธิสภาพของหัวใจมาแต่กาเนิด ผ่านการผ่าตัดมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วน และน่ีอาจจะเป็นการ
ผ่าตัดครั้งสุดท้ายของผู้ป่วยรายนี้ก็ได้ หัวใจดวงเดิมที่เส่ือมสลาย และใกล้จะหมดอายุขัย กาลังจะได้รับการ
เปล่ียนใหม่แล้ว ดังนั้นทุกอย่างต้องสมบรู ณ์แบบ จะผิดพลาดไม่ได้ อุปสรรคจะต้องน้อยทส่ี ุด ฉันและผู้ป่วยจะ
ผ่านประสบการณน์ ไ้ี ปพรอ้ ม ๆ กนั อยา่ งมเี ป้าหมาย

ความเรง่ รีบวนุ่ วายท่ีเกดิ ขน้ึ เป็นสิง่ ที่พบไดต้ ามปกติในการทางานในห้องผา่ ตัด แต่จะเทียบไมไ่ ดเ้ ลยกับ
ครั้งนี้ที่ฉันรู้สึกว่าทาไมสภาพการณ์จึงดูวุ่นวายกว่าทุกวัน หรือว่าภายในใจของฉันรู้สึกต่ืนเต้นเกินกว่าจะ
ควบคุมได้นะ ฉันคิดอยู่คนเดียวในใจ…. ฉันรีบดึงสมาธิและสติตัวเองเอามาจดจ่ออยู่กับงานตรงหน้า เตรียม
หอ้ ง เตรียมเคร่ืองมือเท่าท่ีจะทาได้และตามที่พ่ีหัวหน้าเวรให้คาแนะนาและสอนงานขณะทาไปด้วย เวลาผ่าน
ไปไม่นานศัลยแพทย์ผู้ทาการผ่าตัดได้ปรากฏกายขึ้นหน้าห้อง พร้อมบอกกับทุกคนว่า “พร้อมหรือยังครับ ผม
กาลังจะไปรับผู้ป่วยรับบริจาคมานะครับ จะได้ทันเวลากันกับหัวใจที่รอมาลงพอดี” ส้ินเสียงพูด ก็มีหลาย ๆ
เสียงตอบรับพร้อมเพรียงกันว่าพร้อมค่ะ/ครับ แล้วศัลยแพทย์ที่ทาผ่าตัดก็ตรงด่ิงไปยังหอผู้ป่วยวิกฤต ที่อยู่ติด
กับห้องผ่าตัด ไม่นานก็กลับมาพร้อมกับเจ้าหน้าท่ีเข็นเตียงและทีมผู้เกี่ยวข้อง บนเตียงมีผู้ป่วยนอนนิ่ง ใส่ท่อ
ช่วยหายใจ พร้อมเคร่ืองช่วยพยุงการทางานของหัวใจและปอดติดมาด้วย สภาพผู้ป่วยจากการประเมินด้วย
สายตาไมแ่ ตกต่างไปจากเจา้ ชายนิทราที่มีสีหน้าซีดเซยี ว ผิวกายดูซูบซีดไม่มีเลือดฝาด นอนสงบนิ่งชวี ิตและลม
หายใจดารงอยู่ได้ด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ช่วยพยุงและประคับประคองไว้ ชีวิตของคนเราช่างแตกต่างกัน
ยง่ิ นัก ผู้ป่วยอายุเพียงเท่าน้ีแต่ต้องมาประสบกับภาวะของโรคท่ีหัวใจไม่สามารถทางานได้ตามหน้าที่แล้ว จาก
ความคิดคานึงของฉันขณะน้ัน ทาให้ฉันได้สารวจตัวเองและสร้างกาลังใจให้ฮึดสู้และจดจ่อกับงานสาคัญ
ตรงหน้าในคืนนี้อีกคร้ัง ด้วยแรงแห่งการรอคอยท่ีเกือบจะไร้ความหวังจนปรากฏแสงแห่งความหวังข้ึนอีกคร้ัง
ของผู้ป่วย บวกกับแรงใจท่ีบริสุทธ์ิและกาลังกายท่ียังเข้มแข็งของฉัน ทาให้ฉันพร้อมแล้ว พร้อมท่ีจะช่วยเหลือ
ผปู้ ่วยของฉัน ตอนนี้ทุกอย่างกาลงั จะเรม่ิ ต้นขึ้น เสียงล้อเตยี งท่ีเข็นผู้ป่วยมาเทียบเขา้ กับเตยี งผ่าตัดเตือนฉันให้
รีบชว่ ยย้ายผปู้ ว่ ยไปยังเตียงผา่ ตัดเพื่อให้แพทยเ์ ริ่มเปดิ แผลรอ

ศัลยแพทย์ผู้ทาการผ่าตัดได้เร่ิมลงมีดไปแล้วเพื่อรอและนาหัวใจดวงใหม่จากผู้บริจาค ใจบุญท่ีกาลัง
เดินทางมาโดยทีมผ่าตัดเพื่อนาอวัยวะจากผู้บริจาคสมองตาย (Retrieval organ team) จากอีกโรงพยาบาล
หนง่ึ มาใส่ใหก้ ับผ้ปู ่วยรายน้ี หวั ใจและอวัยวะอ่ืน ๆ ที่ยังทาหน้าทไ่ี ด้อย่างสมบูรณ์ ภายใต้ภาวะสมองตายของผู้
บริจาค ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่ามหาศาลแก่ผู้ท่ีรอคอยด้วยความหวังจากการให้คร้ังสุดท้ายน้ี ฉันยังจา
เหตุการณ์วันนั้นได้ดี ระหว่างท่ีทาการผ่าตัดอยู่น้ัน สัญญาณชีพของผู้ป่วยเร่ิมเปล่ียนแปลงไปในทางที่แย่ลง
เรอ่ื ย ๆ อาจจะเปน็ เพราะภาวะเสียเลือดมากของผปู้ ่วย แตท่ มี ยงั สามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้เป็นอยา่ งดี

ฉันไม่ได้เข้าส่งผ่าตัดในรายนี้ท่ีหัวหน้าเวรให้ฉันช่วยอยู่รอบนอก แม้ว่าภายในใจจะกระวนกระวาย
เพียงใด แต่ด้วยความมุ่งมั่นและคาดหวังอย่างเต็มเป่ียม ปรารถนาให้การผ่าตัดดาเนินไปด้วยดีจนผู้ป่วย
ปลอดภัยและฟ้ืนตัวได้ดี ทาให้ฉันทางานอย่างตั้งใจและทุ่มเทกับงานตรงหน้ามากกว่าปกติ ตอนน้ีร่างกายมี
ความพร้อมอย่างเต็มที่แล้ว ทีมแพทย์ผู้ทาการผ่าตัด หรือพยาบาลส่งผ่าตัดเรียกหา หรือต้องการสิ่งใดฉันก็

29

ผลงาน Give Heart for Heart (ให้ใจ เพื่อใจ)

พร้อมจดั หามาให้อย่างเต็มความสามารถ หลังจากการผ่าตัดดาเนินไปได้เกือบช่ัวโมง เสียงเปิดประตูห้องผ่าตัด
หัวหน้าทีม Retrieval organ ปรากฏกายข้ึนพร้อมกระติกน้าแข็งที่ไม่ใช่กระติกน้าแข็งธรรมดา ๆ เพราะ
ภายในนั้นมีบรรจุหัวใจอวัยวะที่ล้าค่าอยู่ เม่ือทีม Retrieval organ มาถึงแววตาและท่าทางของทุกคน
แสดงออกถึงความดใี จอย่างสังเกตได้ชัดเจน ทีมมีกาลงั ใจขน้ึ มาอกี ครั้ง ฉันรีบวิ่งเข้าไปรับกระติกเปิดฝาและนา
ถุงทบี่ รรจหุ ัวใจออกมา เพ่ือเสรฟิ ให้แพทย์ท่ที าการผ่าตัดรับไปวางในพื้นท่ีปลอดเชื้อของบรเิ วณผ่าตัดเพอื่ รอใส่
ในตัวผู้ป่วย เมื่อถึงข้ันตอนนั้น จากนั้นทีมศัลยแพทย์จึงดาเนินการผ่าตัดต่อทีละขั้นทีละตอนจนสามารถนา
หัวใจดวงใหม่ใส่ในตัวผู้ป่วยสาเร็จ บรรยากาศการทางานในคืนนี้ ฉันสัมผัสได้ว่า ทีมมีความมุ่งม่ัน มีเป้าหมาย
รว่ มกนั จุดเดียวคือผู้ป่วยต้องรอดปลอดภัยหัวใจดวงใหม่ต้องทางานได้เป็นอยา่ งดี การผ่าตดั ครง้ั น้ี เดิมพนั ด้วย
ชีวิต เราจะผิดพลาดไม่ได้ เพราะถ้าผิดพลาดคือชีวิต ผู้ป่วยเจ็บป่วยมาด้วยโรคหัวใจมาตั้งแต่กาเนิดใช้ชีวิต
เหมือนผู้คนปกติไม่ได้ ทนทุกข์กับภาวะโรคของตนมากกว่า 14 ปี ผ่านการผ่าตัดมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วน ถ้าทีม
ผ่าตดั สามารถผา่ ตัดเปลีย่ นอวัยวะคร้ังนี้ไดส้ าเรจ็ จะกลายเป็นของขวัญอันลา้ คา่ สาหรับผปู้ ่วยและครอบครวั

เม่ือมาถึงขั้นตอนน้ีทีมศัลยแพทย์จะเย็บปิดและตัดต่อเส้นเลือดอย่างรวดเร็ว ภายใต้สถานการณ์ที่
กดดันเชน่ นี้ ศัลยแพทย์ผู้ทาการผ่าตัดยังสามารถควบคุมอารมณต์ ัวเองได้ดี ทาให้ทีมทางานกันได้อย่างราบร่ืน
จนกระท่ังต่อเส้นเลือดทุกเส้นเสร็จ พร้อมท่ีจะปล่อยเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ลองให้หัวใจดวงใหม่ได้ทางานดู
เพยี งปลอ่ ยได้ไม่เกนิ นาที สญั ญาณชพี ที่เหมอื นจะดีขึ้นก็กลบั แย่ลงอีกครั้ง หวั ใจดวงใหม่ยังไม่ตอบสนอง แพทย์
ขอเคร่ืองกระตุกหัวใจพร้อมท้ังใช้มือช่วยนวดหัวใจไปด้วย แม้กระนั้นทั้งทีมผ่าตัดก็ไม่ได้ย่อท้อแต่อย่างใด
แพทย์ได้กลับไปตรวจสอบตาแหน่งท่ีทาการเย็บและตัดต่อเส้นเลือดอีกคร้ัง ทาให้พบว่ามีการร่ัวของเส้นเลือด
ด้านหลังมีเลือดไหลออกไม่หยุด….เวลาผ่านไปเกือบคร่ึงช่ัวโมง ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้ แก้ไขจุดหน่ึง ก็เกิดอีก
จุดหน่ึง ทุกคนในทีมผ่าตัดเริ่มกังวล กาลังใจเริ่มจะถดถอย จนกระทั่งศัลยแพทย์ท่ีทาการผ่าตัดได้ปลุกระดม
พวกเราขึ้นมาอีกคร้ัง “เรามาช่วยกันอกี ครัง้ นะครับ” ด้วยสหี น้าอันมีความหวัง ทุกคนต่างมีความหวัง เราจะสู้
ไปด้วยกัน ทาอย่างต้ังใจ ภายในใจเต็มไปด้วยความหวังและภาวนาให้การผ่าตัดผ่านไปด้วยดีไม่มีปัญหาและ
ข้อผิดพลาดใด ๆ ขณะท่ีความหวังสุดท้ายของทีมกาลังจะหมดลง ทันใดนั้นฉันสังเกตเห็นหัวใจดวงใหม่ก็เร่ิม
เคลอ่ื นไหวอยา่ งชา้ ๆ ฉนั เหลอื บไปมองจอมอนิเตอร์เหน็ สัญญาณชพี เริ่มมีการเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ ทุก
พารามิเตอร์ ปาฏิหาริย์เกิดข้ึนอีกคร้ัง ผู้ป่วยที่ฉันเห็นนอนนิ่งบนเตียง กาลังจะได้กลับออกไปแข็งแรงอีกครั้ง
แล้ว ในอนาคตอนั ใกล้ ทกุ คนในทมี ผ่าตดั เริ่มมีความหวงั และกาลังใจอกี ครงั้ ความปิตกิ าลงั จะบังเกิดข้ึนภายใน
ใจฉันรู้สึกต้ืนตันอย่างท่ีฉันไม่เคยรู้สึกเช่นนั้นมาก่อนความเหน่ือยล้าท่ีทุกคนในทีมมีอยู่ในขณะน้ันดูเหมือนว่า
จะสูญหายไปราวกับปลิดทิ้ง จากความเหน่ือยล้า อ่อนแรงของแต่ละคนในตอนแรกกลับกลายมาเป็นความปิติ
ในใจที่ทีมให้ความสาคัญและช่วยเหลือกัน อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย โดยมีเป้าหมายเดียวกัน เสริมด้วยความ
มงุ่ มน่ั และการให้กาลังใจซึ่งกันและกัน ทาใหท้ ีมสามารถประสบความสาเร็จไดอ้ ย่างสวยงาม ผ่านพ้นอุปสรรคท่ี
เปรียบเสมอื นครูให้เราได้เรียนรู้ต่อไป…ใกล้สว่างแล้ว… แสงสว่างยามเช้าวนั น้ีช่างสดใสนักฉันมองไปท่ีลิฟท์…
“คำว่ำให้ไม่ส้ินสุด” …ฉันสัมผัสได้ถึงความหมายของวลีน้ีแล้ว… ขอบคุณทุกสิ่งอย่างท่ีจัดสรรให้ฉันได้เรียนรู้
และเขา้ ใจในการทางานของฉันต่อไป… อยา่ งไมส่ ้ินสุด

30

ผลงาน Give Heart for Heart (ให้ใจ เพือ่ ใจ)

คุณชรนิ ทร์ กา่ นหงษ์
เจ้าของผลงาน รบั รางวัลชนะเลศิ ผลงาน เรอื่ งเลา่ เรา้ พลงั
จาก รศ.นพ.สุรศกั ดิ์ ลลี าอุดมลปิ ิ รักษาการแทนรองคณบดฝี ่ายดแู ลสุขภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี

ผูว้ พิ ากษ์

1. รศ.ดร.พรรณวดี พุธวฒั นะ ที่ปรกึ ษาโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี
“สวัสดีนะคะ การนาเสนออันนี้ก็ใช้เทคนิคท่ีต่างจาก 2 เรื่องที่ผ่านมานะคะ ใช้ภาพวาด แล้วก็มี

ภาพเคลื่อนไหวในจุดที่สาคัญ ท่ีจาเป็น ก็ทาให้เราเห็นภาพพจน์ได้ว่าอันน้ีคือหัวใจ ผู้เขียนนี้สามารถที่จะเล่า
ได้เห็นถึงการทางานของทีมงานได้อย่างเป็นข้ันตอน เป็นระบบ เห็นความร่วมมือกัน ขณะเดียวกันก็ให้
อารมณ์ความรู้สึกของทีมงานท่ีมีความต่ืนเต้น ร่วมมือกัน มีช่วงที่หมดกาลังใจแล้วก็กลับมีกาลังใจขึ้นมา
ใหม่ คือในการบรรยายมันสามารถได้ครบถว้ นในเชิงของการเลา่ เรื่องท่ีแสดงถึงคุณภาพของงาน สามารถ
เร้าพลังของคนอ่านให้คล้อยตามในจุดที่ว่าเป็นการทางานท่ีได้ทุ่มเทกัน มันสร้างกาลังใจได้จากเนื้อของ
งานเอง รสู้ ึกช่ืนชมการเขียนและการนาเสนอเร่ืองน้ีค่ะ
2. ดร.จตพุ ร วศิ ษิ ฏ์โชตอิ ังกรู วทิ ยากร ทป่ี รึกษา และโค้ชของบรษิ ัท ดิ อนิ เทอร์เมท ลีดเดอร์ จากัด

“มีประโยคเริม่ แรกทบ่ี อกว่า ไม่รู้หรอกนะว่าจะเร่ิมจากจดุ ไหนดี แต่เขา้ ไปก่อน พใ่ี ห้ทาอะไรก็จะทา
ตามความสามารถเท่าที่จาทาได้ อันนี้ก็ทาให้เห็นถึงหัวใจท่ีมันยิ่งใหญ่มากนะครับ เวลาผมอ่านเรื่องน้ีมัน
เหมือนกับดูหนังแล้วต่ืนเต้นไปตลอดท้ังเร่ือง ผมชอบตั้งแต่ช่ือเรื่องมาเลยครับ ภาพเหตุการณ์มันเป็นเร่ือง
นาทีต่อนาที แล้วมันเป็นเรื่องของชีวิตด้วย เป็นเร่ืองของ Heart Transplant เห็นความหวังของท้ังผู้ให้
และท้งั ผู้รบั และคนกลุ่มหน่ึงที่เป็นผู้ใหร้ ักษา มันมีความ ประณีตมีความสมบรู ณ์แบบ แล้วมันยังมีชว่ งหนึ่งท่ี

31

ผลงาน Give Heart for Heart (ใหใ้ จ เพ่อื ใจ)

ไปถึงภาพทีม Retrieval Organ ท่ีเอาอวัยวะมา เราก็นึกถงึ เวลาเราดูหนังว่าทมี นแี้ ข็งขัน แล้วก็แววตาทุกคนนี่
แสดงออกถึงความดีใจอย่างเห็นได้ชดั เรามีความรู้สึกว่ามีอารมณ์รว่ มไปด้วยนะครับ พออ่านท้งั หมดนี้ก็จะเป็น
นิยามของคาว่าให้ไม่มีที่ส้ินสดุ เปน็ อุดมการณท์ ี่มีชีวติ ชีวา แลว้ ก็เปน็ คุณภาพยงิ่ กวา่ คุณภาพกค็ อื คณุ ภาพ
ดว้ ยหวั ใจนะครับ ขอช่นื ชมคนเขยี นจรงิ ๆ








ผู้จดบันทึก
นางสาวนนั ทิตา จุไรทัศนีย์
งานการพยาบาลป้องกนั โรคและสง่ เสรมิ สุขภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี

32

ผลงาน อ้อมกอดเสรมิ พลงั สร้างแรงใจ
ผลงาน ออ้ มกอดเสริมพลัง สร้างแรงใจ
วันที่ 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
เวลา 11:15 – 12:00 น.
หอ้ ง 910 ABC ชน้ั 9

อาคารเรยี นและปฏบิ ัติการรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ชนั้ 9
ผู้นาเสนอ นางสาวศมนนั ท์ ศรีสปุ รชี า

หอผู้ปว่ ยหลงั ทาหัตถการหัวใจ ฝา่ ยการพยาบาล ศนู ย์การแพทยส์ ริ ิกิต์ิ
รปู แบบการนาเสนอ VDO Clip

เน้อื หา
24 ปีกบั การทางานในวิชาชีพพยาบาล ฉันผ่านประสบการณ์ในหน่วยงานมาแล้ว 3 แห่ง รวมถึงการ

ทางานพิเศษในสถานพยาบาลเอกชน ค่าตอบแทนท่ีได้นั้นเพียงพอที่จะทาให้คุณภาพชีวิตของฉันและ
ครอบครัวดีข้ึน แต่สิ่งเหล่าน้ีกลับไม่สามารถตอบโจทย์หรือเติมเต็มพลังใจในการทางานของฉันได้เลย ฉัน
ยอมรับกับตัวเองว่าประสบการณ์ท่ีทรงคุณค่าในครั้งน้ันต่างหากที่ทาให้จิตใจของฉันอ่ิมเอม มีความสุข
เปรียบเสมือนเป็นรางวัลชีวติ ที่ตอกย้าความม่ันใจให้ฉันทางานในวิชาชีพน้ีต่อไป ฉันยังร้สู ึกถึงเหตุการณ์ในวัน
น้ันได้ด.ี ..

“กรง๊ิ ๆ” เสียงโทรศัพทด์ ังขึน้ แขง่ กบั เสียงพยาบาลทก่ี าลังส่งเวร
“สวสั ดคี ะ่ หอผู้ปว่ ยหลังทาหัตถการหัวใจ ศมนันท์ พยาบาลยนิ ดใี หบ้ ริการค่ะ”
เสียงท่ีฟงั ดูคนุ้ เคยจากปลายสายอกี ด้านก็คือเจ้าหนา้ ทหี่ ้องสวนหวั ใจถามหาเตียงว่าง ฉันจึงแจ้งว่าขอ
เวลาประมาณครึ่งช่ัวโมงในการจาหน่ายผู้ป่วยก่อน จึงจะรับผู้ป่วยรายใหม่ได้ ระหว่างน้ีขอให้ส่งต่ออาการ
ผู้ป่วยก่อนได้ ฉันรับฟังอาการผู้ป่วยอย่างต้ังใจ จับใจความได้ว่าผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหายใจไม่ค่อยอ่ิม ขณะ
ออกแรงจะเหน่ือยเพ่ิมขึ้นมีเจ็บหน้าอกเล็กน้อย วันนี้สวนหลอดเลือดหัวใจไม่พบภาวะหัวใจตีบแต่มีไขมันใน
เลอื ดสงู ร่วมกบั ภาวะน้าเกนิ และให้ยาขบั ปสั สาวะทางหลอดเลอื ดแลว้ ...

33

ผลงาน อ้อมกอดเสริมพลงั สร้างแรงใจ

เวลา 16.00 น. เสียงประตูอัตโนมัติเปิดออกพร้อมรถนอนเข็นผู้ป่วยเข้ามา “เชิญที่เตียง 4 ค่ะ” ฉัน
สงั เกตได้วา่ เป็นผู้ปว่ ยหญงิ สงู วัยท่มี ีรปู ร่างสูงใหญ่ ร่างกายถกู ปกคลุมอยู่ภายใต้ผ้าห่มสีเขียวหลายชั้น ใบหน้าที่
ดูซีดประกอบกับหัวคิ้วท่ีย่นเข้าหากันแสดงถึงความเจ็บปวด มีเหง่อื ซึมออกเต็มบริเวณหน้าผากรว่ มกับอาการ
เหนือ่ ยและหายใจเรว็ เป็นระยะ ๆ “คุณยายชือ่ อะไรคะ”

“ยายศรนี วลค่ะ” คณุ ยายตอบ ฉนั นึกกบั ตวั เองในใจว่าชือ่ เหมอื นแม่เราเลย
“ตอนนค้ี ุณยายศรีนวล ทาการสวนหัวใจเรยี บรอ้ ยแล้ว ตอนน้ีนอนพกั ทีห่ อ้ งสังเกตอาการนะคะ”
จากน้นั ฉันได้แนะนาตัวในฐานะพยาบาลเจ้าของไข้ของคุณยายและให้คาแนะนาการปฏิบัติตวั หลังทา
หัตถการหัวใจ ได้แก่ต้องนอนราบต่ออีก 6 ช่ัวโมงและห้ามงอขาข้างขวาเพ่ือป้องกันภาวะเลือดออก แม้จะมี
อาการเหนอ่ื ยแตค่ ุณยายก็มีคาถามตลอดเวลา
“ยายจะลกุ นั่งไดเ้ มือ่ ไหรจ่ ะ๊ และถ้าปวดปัสสาวะล่ะ จะทายังไง”
คุณยายพูดพร้อมกับพยายามขยับและงอขาข้างขวาตลอดเวลา ฉันกังวลแผลที่ขาหนีบเพราะสังเกต
ได้ว่าเร่ิมมเี ลือดจุดเล็ก ๆ ซึมออกมาใหเ้ ห็น แต่โชคดีท่แี ผลไมบ่ วม คลาไม่ไดก้ ้อน ฉันน่ังเปน็ เพ่ือนพร้อมจับมือ
และตอบคาถามคุณยายเป็นระยะ ๆ สลับกับการรองกระโถนปัสสาวะให้ ปัญหาน้าเกินในร่างกายหมดไปแต่
ปัญหาใหมก่ าลงั จะเกดิ ขึ้น....
“หนจู ๋า ยายปวดเม่ือยหลงั เหลอื เกิน ยายปวดหลังยิ่งกว่าปวดแผลอีกนะ”
ฉนั จึงขอใหค้ ณุ ยาย ใหค้ ะแนนความปวด คุณยายตอบว่า “ปวดเตม็ ท่ี 10 คะแนนเลยหนู”
ร่วมกับสีหน้าของคุณยายที่ดูเจ็บปวดและทรมานมาก สังเกตจากใบหน้าที่ย่นเข้าหากันและหลับตา
ตลอดเวลาที่พูด ฉันจึงขอประเมินแผลท่ีบริเวณขาหนีบอีกคร้ัง ซึ่งแผลดีไม่มีเลือดซึมเพ่ิม ฉันจึงเสนอแนว
ทางการลดอาการปวดด้วยการนวดหลังให้ ตามโครงการเอาใจเขามาใส่ใจเรา บรรเทาปวด ท่ีทางหอผู้ป่วยได้
จัดทาขนึ้
“น้องพี ๆ พี่ฝากดูแลคนไข้ห้อง 5 ให้พี่ด้วยนะ เพราะพี่จะทาการนวดหลังให้คุณยายก่อน ขอเวลา
ประมาณ 20 นาทนี ะจะ๊ ”
หลังจากนวดหลังประมาณ 15 นาที อาการปวดหลังของคุณยายน่าจะบรรเทาลงมากสังเกตได้จาก
เสียงหายใจเป็นจังหวะสมา่ เสมอสลับกบั เสยี งกรนเปน็ ระยะ ๆ ฉันปล่อยให้คุณยายนอนพักตอ่ โดยปิดไฟกลาง
ห้องและเปิดไฟท่ีหัวเตียงไว้ เพ่ือให้มองเห็นคุณยายได้ชัดเจนจากภายนอกห้อง จากน้ันจึงได้เดินไปให้ข้อมูล
เพิ่มเตมิ กบั คุณตาและญาตทิ ีร่ ออย่อู ยา่ งกระวนกระวายหน้าหอผ้ปู ่วย
“คณุ ตาคะ อาการคุณยายดขี ึน้ มากค่ะ ไมเ่ หนื่อยแล้ว แผลดไี มม่ ปี ญั หาและตอนนีก้ ห็ ลบั ได้”
“จริงเหรอหนู ตากังวลมากเลยนะ ถ้ายายต้องนอนค้างท่ีน่ี ตาต้องไปบอกรถตู้ที่จ้างวานเค้ามาและ
ต้องจ่ายเงนิ ใหเ้ ค้าเพม่ิ ตากลวั เงนิ ไมพ่ อ แลว้ ยายจะกลับบ้านไดก้ ่โี มงละลกู ”
ฉนั จึงแจ้งเวลาไปคอื ประมาณหา้ ท่มุ และให้คณุ ตาไปรับประทานอาหารก่อน ระหว่างรอเวลา
เวลาสีท่ มุ่ คุณหมอมาประเมินแผลทขี่ าหนีบ สรุปวา่ แผลดีและอนญุ าตให้คณุ ยายกลับได้

34

ผลงาน อ้อมกอดเสริมพลงั สร้างแรงใจ

ในตอนน้ี ฉันสังเกตได้ว่าคุณยายและคุณตาดูผ่อนคลายลงมาก ฉันจึงได้ให้คาแนะนาเก่ียวกับ
การปฏิบัติตัวหลังจาหน่ายกลับบ้านและขอเบอร์โทรศัพท์ เพื่อจะได้โทรสอบถามแผลหลังจากท่ีคุณยายกลับ
บ้านแล้ว 3 วนั ตามโครงการตดิ ตามเย่ียมผู้ป่วยทางโทรศพั ทห์ ลงั จาหนา่ ย

“ขอบใจนะลูก ยายขออะไรหนสู ักอย่างได้ไหม” คุณยายหนั มาคยุ พร้อมกับจับมอื ฉัน
“ไดซ้ คิ ะคณุ ยาย”
“ยายขอกอดหนูหน่อยนะ” ฉันน่ิงไปพักนึง และมองหน้าคุณยายที่ใบหน้าเต็มไปด้วยรอยย้ิม ฉันยิ้ม
ตอบพร้อมกับให้คณุ ยายโอบกอดด้วยความเตม็ ใจ ระหวา่ งนฉ้ี ันไดย้ ินคุณยายพดู วา่
“ขอบใจนะจะ๊ ทด่ี แู ลยายเปน็ อยา่ งดแี ละขอใหด้ ูแลผ้ปู ว่ ยด้วยใจแบบนต้ี ลอดไปนะลกู ”
“ขอบคณุ คะ่ ทีใ่ ห้กาลังใจหนแู ละเหน็ ถงึ ความต้ังใจจริงของหนใู นการดูแลคนไข้”
ฉันยงั จาได้ดีถึงความรูส้ ึกของตัวเองในช่วงเวลานั้น ใจฉนั สมั ผัสไดถ้ ึงความรกั ท่ีคุณยายส่งผ่านการโอบ
กอดด้วยความเมตตา และเน้นย้าด้วยการตบไหล่ฉันเบา ๆ เสมือนเป็นการให้กาลังใจ หัวใจฉันเต็มตื้นขึ้นมา
ทนั ทีด้วยความปติ ิ
“ยายขอกอดหนูสองคนดว้ ยนะ”
ฉันนึกขอบคุณคุณยายในใจท่ีได้เผ่ือแผ่ความเมตตาให้กับน้องในทีมอีก 2 คน ฉันมองคุณยายโอบกอด
น้องทีละคน ใบหน้าของน้องและของคุณยายมีแต่รอยย้ิม วันน้ีเป็นวันทางานท่ีเหน่ือยมากวันหนึ่งแต่ก็มี
ความสุขอย่างมากเชน่ กัน
“ตากบั ยายกลับแลว้ นะลกู ” คุณยายหันกลับมาบอกลาพวกเราอีกคร้ัง
“สวัสดีค่ะคณุ ตาคุณยาย ขอให้สุขภาพแข็งแรงค่ะ ส่งขา่ วบอกหนูหน่อยนะคะ ถ้ากลับถึงบ้านทลี่ พบุรี
แล้ว พวกหนูจะได้รู้ว่าคุณตาคุณยายถึงบ้านอย่างปลอดภัย” หลังจากส่งคุณตาและคุณยายแล้วน้อง ๆ หันมา
คยุ กบั ฉนั ว่า “วันน้ีถึงจะทางานเหนื่อย แตก่ ็มคี วามสขุ นะคะพ่ี”
ฉนั หันไปพร้อมรอยยมิ้ บนใบหน้า ตอบนอ้ งไปว่า
“เห็นม้ัย การที่เราดูแลผู้ป่วยด้วยใจเหมือนเป็นญาติของเรา ทาให้ผู้ป่วยรับรู้ได้ถึงความต้ังใจในการ
ช่วยเหลอื และให้บริการของเรา แคน่ ีเ้ รากม็ ีกาลังใจทางานตอ่ แล้ว”
ฉนั เล่าเรื่องคณุ ยายให้พยาบาลเวรดึกรับรู้ และลงเวรพร้อมกับความวิตกกังวลว่าคณุ ตาและคณุ ยายจะ
ถึงบ้านกี่โมง ฉันเผลอหลับไปตอนไหนไม่รู้แต่ต่ืนมาอีกคร้ังเพราะเสียงไลน์ เปิดอ่านพบข้อความแจ้งจากน้อง
วา่ “คุณตาโทรมาบอกว่าถึงบ้านปลอดภัยดี แผลดไี ม่ต้องเปน็ หว่ ง”
เม่ือมีโอกาสกลับบ้านไปหาคุณแม่ ฉันไม่ลืมเล่าเรื่องคุณยายให้ท่านได้รับรู้ถึงความรู้สึกดีดีท่ีลูกได้รับจาก
คนไข้ เมอ่ื เล่าจบแม่ดึงฉนั มากอดและบอกฉันวา่ “แมแ่ ถมให้อกี หน่ึงกอดนะ”
ในอ้อมกอดของแมม่ ีคาตอบใหฉ้ ันอยา่ งครบถ้วนสมบรู ณ์ แค่น้ีกเ็ พยี งพอแล้วสาหรบั ฉนั
อกี 2 สัปดาห์ต่อมา ฉนั ข้ึนเวรเชา้ ตามปกติ ขณะท่ีฉันให้คาแนะนาผู้ป่วยก่อนกลับบ้านอยนู่ ั้น ก็ได้ยิน
เสียงนอ้ งพูดว่า “พ่คี ะมีญาติต้องการพบค่ะ”
และเมื่อฉันเดนิ ออกจากมาก็ได้พบกับคุณตาและคุณยายยนื ส่งย้มิ มาทักทาย ในมือมีชะลอมผลไม้และ
ตะกร้าขนม ฉันเดนิ เข้าไปใกล้และพนมมือไหวท้ กั ทาย

35

ผลงาน อ้อมกอดเสรมิ พลงั สร้างแรงใจ
“สวัสดีคะ่ คุณตาคุณยาย สบายดีนะคะ ดคู ณุ ยายสขุ ภาพแข็งแรงขึน้ หน้าตาดูสดใสขึน้ นะคะ”
คุณยายยม้ิ พร้อมตอบฉันว่า
“วันน้ียายมาตรวจตามนัด คิดถึงหนูเลยแวะเอาผลไม้ที่สวนและขนมที่ยายทาเองมาให้ทานกัน”
ฉันจึงขอเป็นตัวแทนกล่าวคาขอบคุณท่านท้ังสอง ก่อนกลับคุณยายขอกอดฉันอีกคร้ัง ฉันไหว้ขอบคุณ คุณตา
และคุณยายที่เมตตาพร้อมใหค้ ุณยายโอบกอดดว้ ยความสุขใจ
เรื่องราวเล็ก ๆ ที่เกิดข้ึนน้ี ส่งผลให้ฉันรับรู้ถึงคุณค่าของคาว่า “การดูแลด้วยหัวใจ” ไม่ใช่เฉพาะผู้ป่วย
เท่านั้นท่ีรับรู้ ตัวฉันเองก็สัมผัสได้ถึงความปิติและอ่ิมเอม เป็นพลังและแรงใจหล่อเลี้ยงในยามที่ฉันรู้สกึ อ่อนล้า
และทอ้ ถอย และฉันกไ็ ม่ลืมทจี่ ะถา่ ยทอดเร่ืองราวดีดีเชน่ นี้ให้กับผู้รว่ มงานได้รับรู้ดว้ ยเช่นกัน

คณุ ศมนนั ท์ ศรีสุปรชี า

เจา้ ของผลงาน รับรางวลั ชนะเลศิ ผลงาน เร่ืองเล่าเร้าพลัง
จาก รศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอุดมลปิ ิ รกั ษาการแทนรองคณบดีฝา่ ยดูแลสขุ ภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี

ผวู้ พิ ากษ์

1. ผศ. พญ.จรยิ า ไวศยารัทธ์ ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา
เรื่องน้ีเหมือนมาต่อจากการวิพากษ์เร่ืองที่แล้วก็คือมีบ้างมั้ยที่มีเร่ืองที่ไม่ต้องร้องไห้ หรืออาจเป็นการ

ร้องไห้แบบมีความสุข ไม่เศร้า แล้วก็ไม่ตาย เพราะฉะนั้นอยากจะเชียร์ท่านผู้เข้าร่วมว่าเรื่องอะไรก็ได้ที่เจอใน
ประจาวัน โดยส่วนตัวนะคะเรื่องนี้สังเกตว่าหัวใจของเขาก็มีแค่ดวงเดียว หัวใจดวงเดียวที่พร้อมจะกอดผู้อื่น

36

ผลงาน อ้อมกอดเสรมิ พลัง สรา้ งแรงใจ

หรือให้ผู้อ่ืนกอด เราลองกอดตัวเราเองดีมั้ย เร่ิมจากตอนนก้ี ็ได้ มันกอดแล้วมันดีนะคะ เคยไปเขา้ ร่วมประชุม
มา เขาใหต้ วั เองกอดตัวเองสัก 1 นาทีแลว้ มนั จะดี

เรื่องนี้มาแรงนะคะท่ีว่าการเขียนหรือการเล่าเรื่องน่ีดูเหมือนเปน็ ส่ิงในชีวิตประจาวนั ไม่ได้มีอะไรหวือ
หวา เป็นการสื่อถึงการทางานแบบทีมเหมือนกัน แล้วก็ลงไปเหมือนนามธรรมคืออยู่ในใจเขา เพราะว่าก็เริ่ม
จากประโยคที่บอกว่า ‘โอ้โห ชื่อเหมือนแม่หนูเลย’ อันนี้มันดี คนไข้ก็รู้สึกว่าช่ือเราก็เพราะ อันท่ี 2 ความรู้สึก
จากการเป็นคนไข้ คุณพยาบาล หรือเปน็ คุณหมอก็แล้วแตน่ ีพ่ ัฒนามาถึงข้นั ท่ถี ้าอ่านจากในเรื่องที่เขาเขียนกอ่ น
ปิดท้ายเร่ืองผู้เขียนก็จะบอกว่า ‘มีวันหนึ่งมคี นมาพบเขา แลว้ กบ็ อกนอ้ งๆ ว่ามญี าตมิ าขอพบ’ เพราะฉะนั้นคน
ท่ีมาขอพบน่ีเลื่อนตัวเองแล้วว่าเป็นญาติไม่ใช่คนไข้ เพราะฉะน้ันเราจะเห็นอะไร เราจะเห็น Relationship
แล้วนะคะว่าอันนี้ไม่ใช่แค่ผู้ให้บริการหรือผู้รักษาแต่น่ีเขาเป็นญาติกันเรียบร้อยแล้วนะคะ เขาถึงเอาขนม เอา
อะไรมาฝาก อันนี้เป็นพลังที่ถึงไม่ได้พลังจากที่ประชุมนี้หรือไม่ได้พลังจากรางวัลอะไร แต่ว่าได้พลังไปแล้ว
เรียบร้อย หรือผเู้ ขียนไดพ้ ลังจากคนไข้ ได้รบั การเล่ือนเปน็ ญาติ

อีกสิ่งหนึ่งคือตอนท่ีเขาขอกอด ผู้เขียนบอกเลยว่า ‘ขอกอดน้อง ๆ ด้วยนะ’ พลังก็เผ่ือแผ่ไป
ด้านข้างๆ รอบวง 360 องศา เพราะฉะน้ันจึงติดใจเรื่องนี้ ชอบ มีเสน่ห์ เรียบ ๆ นิ่ม ๆ ได้ใจความอบอุ่น
แถมพอมาดูท่ีวีดิทัศน์ เพลงของวงโฮปก็เข้ากันดีมากสาหรับเรื่องนี้ อย่าลืมนะคะว่าไม่ต้องตาย ไม่ต้องพลัด
พรากกไ็ ด้รางวลั ไดค้ ะ่
2. รศ. ดร.พรรณวดี พุธวัฒนะ ทปี่ รึกษาโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี

เร่ืองนี้ก็แตกต่างนะคะ ไม่ได้อ่านเรื่องเล่าที่เขียนมาท้ังหมด ก็เล่าเรื่องด้วยภาพ จริงๆ ก็ได้ประเด็น
สาคัญครบถ้วน ได้อารมณ์ครบถ้วน คือเม่ือดูจบน่ีก็คล้อยตามเต็มที่เลย แต่ว่ามีขาดรายละเอียดท่ีอยากมาเล่า
ให้ฟังนดิ หนึ่งว่าเวลาที่คณุ พยาบาลเขาดูแลผู้ป่วยรายนี้ เขาปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นต้นเรียบร้อย คือเราจะมอง
ว่าต้องไปนวดหลังให้คนไข้ดว้ ยหรือ ก่อนที่เขาจะนวด เขาได้ตรวจสอบทุกส่ิงทุกอย่างแล้วแต่ปรากฏว่าผู้ปว่ ยนี่
ยังไม่สงบ ยังมีความทุกข์ทรมาน ยังมีความอึดอัดไม่สบาย แล้วคน ๆ นี้เขาก็เลยไม่ได้ทาแค่ตามมาตรฐาน
ของเขาในการดูแล แต่ทาเกินมาตรฐานคือเอาหัวใจเข้าไปใส่ เธอถึงได้ทาต่อเนื่องมาถึงการนวดหลัง ซึ่งพอ
ทาเสร็จแล้วผ้ปู ่วยหลับสบาย อนั นเี้ ป็นจุดท่ีทาให้เหน็ ว่าในเชิงวิชาชพี น่ีเขาทาครบถ้วนแล้วนะคะ แล้วก็ไดเ้ อา
หัวใจเข้าไปใส่ก็เกิดการดูแลที่มันมากมายที่ผู้รับบริการรับรู้ได้ แล้วก็การให้ก็ไม่ส้ินสุดนะคะ ส่งพลังใจกัน
ส่งต่อกันท้ังผู้ป่วย เราให้กับผู้ป่วย ผู้ป่วยให้กับเรา แล้วก็ยังเผ่ือแผ่ไปถึงทีมงานนะคะ เร่ืองนี้ก็ทั้งอ่านท้ังดู
วดิ ีทศั นเ์ รอ่ื งนีก้ เ็ สียน้าตาไป ซ่ึงไมใ่ ชค่ วามเสียใจ เป็นความปล้ืมเปรมตามท่ีผูเ้ ขียนไดส้ อ่ื ออกมาได้ครบถ้วนค่ะ







ผจู้ ดบันทึก

นางสาวนนั ทิตา จไุ รทัศนยี ์

งานการพยาบาลปอ้ งกนั โรคและส่งเสริมสขุ ภาพ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

37

การนาเสนอผลงาน CQI

ผลงาน CQI เรือ่ งท่ี 1

ผลงาน การพฒั นางานด้านการใหบ้ รกิ าร : การขอสาเนาประวตั กิ ารรักษาพยาบาลผู้ป่วยสาหรบั
บรษิ ทั ประกนั ชวี ิต
วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
เวลา 14.00-15.30 น.
ห้องประชุม 910ABC ช้ัน 9
อาคารเรียนและปฏิบตั ิการรวมดา้ นการแพทยแ์ ละโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี
ผู้นาเสนอ คณุ วิภารัตน์ สนุ ทรวิภาต และคุณเยาวภา มลู มงคล งานบริหารโรงพยาบาลรามาธิบดี

เนื้อหา
เดิมการขอสาเนาประวัติการรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยบริษัทประกันน้ันจัดทาในรูปแบบ

แผ่นกระดาษ บริษทั จะต้องเดินทางมาขอด้วยตนเอง ใช้ระยะเวลาถงึ 10 วัน มีข้ันตอนถงึ 12 ขั้นตอน ท้ังยังมีรายละเอยี ดท่ี
สร้างความยุ่งยาก เพราะต้องข้ึนกับการดาเนินงานของหน่วยงานหลัก ๆ ถึง 4 ส่วน คอื บริษัทประกัน ฝ่ายบริหาร ฝ่ายกา
คลัง และแผนกเวชระเบียน คณะผู้นาเสนอได้สังเกตปัญหาและคิดสรา้ งกระบวนการขอประวัติผู้ป่วยทาง email โดยมีการ
ประสานระหวา่ งหน่วยงาน ทั้งฝา่ ยสารสนเทศ ฝ่ายงานคลงั และเวชระเบียนในการเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรข์ องโรงพยาบาลให้
สามารถส่งข้อมูลถึงบริษัทได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดความเสี่ยงในการสูญหายของเอกสาร รักษาความลับผู้ป่วย และลด
ปรมิ าณกระดาษ

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือลดระยะเวลาและขัน้ ตอนในการปฏบิ ตั งิ าน
2. เพื่อให้บรษิ ัทประกันได้รบั ประวตั ิการรักษาที่ครบถว้ น ลดการสญู หายของเอกสาร
3. เพ่อื ลดปริมาณการใช้กระดาษ
4. ผ้รู บั บริการมคี วามพึงพอใจในกระบวนการและวธิ กี ารใหม่

39

ผลงาน CQI เรือ่ งท่ี 1

การดาเนินงาน
1. ผสานความร่วมมือกับฝ่ายสารสนเทศ และแผนกเวชระเบียนในการติดตามข้อมูลประวัติให้เป็นข้อมูล
ในรปู แบบไฟล์อเิ ล็กทรอนกิ ส์
2. มีการรับ-ส่งเอกสาร คาร้อง และตรวจสอบเอกสารผ่าน email ดึงข้อมูลสาเนาประวัติจากข้อมูลฝ่าย
สารสนเทศ หรือบางส่วนจากเวชระเบียน ซึ่งสามารถจัดเก็บเป็น file ได้ โดยที่บริษัทประกันไม่ต้องเดิน
ทางเขา้ มาตดิ ตอ่ เองดงั เชน่ ในอดีต
3. มกี ารศึกษาผล โดยเปรยี บเทียบผลระหวา่ งวธิ ีการให้บรษิ ัทประกันมาติดต่อด้วยตนเอง และวิธี ดาเนินการ
ผา่ น email
4. นาผลทไี่ ดม้ ากาหนดแผนการปฏิบตั งิ านใหม่
5. วดั ผลดา้ นความพงึ พอใจของผูม้ าตดิ ตอ่

รปู ท่ี 1 กระบวนการและขน้ั ตอนการขอสาเนาประวตั ิแบบใหม่

ผลการดาเนนิ งาน
1. สามารถลดขน้ั ตอนการขอสาเนาประวัตจิ ากเดิมใชเ้ วลา ไมเ่ กิน 10 วันทาการ เหลือเพียงไมเ่ กนิ 3 วันทาการ
และลดขน้ั ตอนในการปฏิบตั ิงานงานจาก 12 ข้นั ตอน เหลือ 6 ขนั้ ตอน
คือ 1.) ยื่นเรอ่ื ง 2.) รบั เรือ่ ง 3.) ค้นสาเนา 4.) ตรวจสอบเอกสาร 5.) แจ้งอนุมติ 6.) สง่ บริษทั ประกัน

40

ผลงาน CQI เร่ืองท่ี 1

2. บริษัทประกันได้รับประวัติการรักษาที่ครบถ้วน ลดการสูญหายของเอกสาร โดยก่อนพัฒนามีความครบถ้วน
เพียงรอ้ ยละ 97 หลังจากพฒั นาแล้ว พบวา่ ข้อมูลปี 2562 บริษัทประกนั ไดร้ บั เอกสารครบ 100%

3. เพ่อื ลดปริมาณการใชก้ ระดาษ จากข้อมลู ปี 2561-2562 สามารถลดปรมิ าณกระดาษไดก้ วา่ 291,879 แผ่น คดิ
เป็นมลู ค่า 61,878 บาท

4. ความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ (เจา้ หน้าท่บี ริษัทประกัน) พบว่ามคี วามพึงพอใจถึงร้อยละ 89.4

รูปท่ี 2 เปรยี บเทยี บวธิ ขี อสาเนาประวตั ดิ ว้ ยการใช้บุคคลยน่ื เองและแบบยน่ื ผ่าน E-mail

ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ
1. มีกระบวนการท่ีไม่ซับซ้อนเหมือนในอดีต ลดระยะเวลาในการขอสาเนาประวัติให้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ตอ่ ผู้ป่วย
2. ตัวแทนบรษิ ัทไม่ตอ้ งเดินทางมาตดิ ต่อโรงพยาบาลดว้ ยตนเอง จงึ ลดความแออัดของผู้มาตดิ ต่องาน
3. ลดปรมิ าณการใชก้ ระดาษลง ถอื เปน็ การช่วยองค์กรประหยัดงบในการซ้ือกระดาษ รวมท้ังหมึกพิมพไ์ ด้ด้วย

บทเรยี นทไ่ี ด้รับ
1. กระบวนการและขั้นตอนที่ยุ่งยากของการเข้ามาติดต่อขอสาเนาประวัติโดยบริษัทประกันนั้นไม่เพียงส่งผลต่อ
บริษัท แต่ส่งผลโดยตรงต่อผู้ป่วยและญาติท่ีต้องสูญเสียเวลารอคอยที่จะได้รับประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ประกัน บางรายอาจกระทบหรือมีผลกับค่าใช้จ่ายในครอบครัว ดังน้ันการลดขั้นตอนเหล่านี้ให้ส้ันลงได้จึงมี
คณุ ค่าอยา่ งย่ิง

41

ผลงาน CQI เร่อื งท่ี 1

2. การลดปริมาณกระดาษสาหรับถ่ายสาเนายังช่วยลดปริมาณการใช้หมึกพิมพ์ถ่ายเอกสาร และลดปริมาณ
กระดาษทอ่ี าจจะถูกทิ้งเปน็ ขยะก่อให้เกดิ มลภาวะได้ดว้ ย

ปจั จยั แห่งความสาเรจ็
1. มีความใสใ่ จและตระหนักถึงปัญหาทก่ี ระทบต่อตนเอง ผู้ป่วย และองค์กร
2. มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ตั้งแต่ email ซ่ึงเป็นเครื่องมือพ้ืนฐาน และเคร่ืองมืออื่นทางสารสนเทศท่ีแม้
จะไม่ใช่หน้างานของตนเองก็ยังสามารถขอความร่วมมือกับฝ่ายอื่น ๆ เพื่อประสานงานในการเชอ่ื ม โยงข้อมูล
สาเนาประวัติใหไ้ ดส้ ะดวกและรวดเร็วมากขน้ึ
3. ความรว่ มมือระหวา่ งหนว่ ยงาน
4. เอาใจเขามาใส่ใจเรา โดยเฉพาะในความรู้สึกของผู้ป่วยและญาติ หรือผู้มาติดต่อท่ีต้องเผชิญกับข้ันตอนที่ต้อง
รอกระบวนการท่ียาวนานซ่ึงไม่มีใครปรารถนา ทาให้ไม่ปล่อยผ่านปัญหาทาให้สามารถมองเห็นปัญหา และ
มองเห็นความไม่สบายใจที่จะต้องรอคอยขั้นตอนต่าง ๆ เป็นเวลานาน ๆ จึงมองเห็นจุดเปลี่ยน ก่อให้เกิดการ
สร้างกระบวนการใหม่ท่ีลดขัน้ ตอนลง และสร้างประโยชนใ์ ห้กบั หลายฝา่ ย

เจ้าของผลงานและทมี รบั รางวลั รองชนะเลิศผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สุรศกั ด์ิ ลลี าอดุ มลปิ ิ รักษาการแทนรองคณบดฝี า่ ยดแู ลสขุ ภาพ และผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี

42

ผลงาน CQI เรื่องท่ี 1

ข้อเสนอแนะจากผวู้ ิพากษ์

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มุกดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
เสนอแนะให้ทาให้เหนือความคาดหมาย เป็นการจุดประกายให้ได้ผลลัพธ์ท่ีเกินคาดจากเดิมที่สามารถลด
ระยะเวลาในการขอสาเนาประวตั ิไดเ้ หลือแค่ 3 วัน อยากใหเ้ หลือเพียงไมเ่ กนิ 1 วัน

2. นพ.ณรงค์ฤทธ์ิ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ชื่นชมผลงาน การคิด และการใช้เครื่องมือท่ี
หลากหลาย ร่วมกันหลายหน่วยงานดี ซึ่งผลงานน้ีมีจุดเด่นในเร่ืองการทางานเป็นทีม ซึ่งช่ืนชมท่ีผู้นาเสนอที่
กล่าวขอบคุณผู้มีส่วนช่วยให้ผลงานสาเร็จ และชื่นชมท่ีทีมน้ีมีการนา LEAN มาพัฒนาและชื่นชมการวัดผล
ออกมาไดเ้ ปน็ รปู ธรรม คอื มกี ารเปรียบเทยี บเวลาใหเ้ ห็นชดั เจน

3. ผศ. พญ.ปารวี ชีวะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ช่ืนชม Concept โดยเฉพาะ ท่ีมาจาก
การรว่ มกันเปน็ Team work ซ่ึงผลงานน้ีจะเป็นตวั อยา่ งในการสรา้ งแรงบันดาลใจในการร่วมมอื กันหลายภาค
ส่วนเพอ่ื พัฒนางาน

ขอ้ เสนอแนะจากผจู้ ดบนั ทึก
1. เป็นเร่ืองท่ีเกิดจากปญั หาเลก็ ๆ แต่เม่ือพัฒนาแลว้ สามารถสร้างประโยชน์ให้กับหลายฝา่ ย คอื ทาให้ผปู้ ่วยและ
ญาติสามารถใชส้ ทิ ธใ์ิ นส่วนเกยี่ วกบั ประกนั ไดเ้ ร็วขนึ้ ผู้ดาเนนิ การมีแผนการปฏบิ ัติงานท่ีชัดเจน ผู้มาติดต่อขอ
ประวัติได้รับความสะดวกรวดเร็ว เกิดความประทับใจ และมีเจตคติท่ีดีต่อระบบบริการและภาพลักษณ์ของ
โรงพยาบาลรามาธิบดี ท้งั ยงั ลดความแออัดของผู้มาติดตอ่ งาน สถานท่ีจอดรถได้ทางอ้อมอีกดว้ ย
2. เป็นอีกผลงานท่ีตอกย้าถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีท่ีมีบทบาทมากขึ้นในโลกปัจจุบัน ซึ่งบุคลากรทุกภาคส่วน
ตอ้ งศกึ ษาและนามาปรับใชใ้ หเ้ ป็น

ชอ่ื ผจู้ ดบันทึก
นายอุเทน บญุ มี (นักเทคโนโลยหี วั ใจและทรวงอก) สาขาวชิ าโรคหวั ใจ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์

43


Click to View FlipBook Version