The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitirath hoymala, 2020-01-12 21:21:38

รวมเล่ม

รวมเล่ม

ผลงาน CQI เรอื่ งที่ 2

ผลงาน การให้ยาคมุ อาการในผ้ปู ่วยระยะทา้ ยทางชนั้ ใต้ผวิ หนังอย่างตอ่ เนื่องท่บี า้ น
วนั ที่ 29 สิงหาคม 2562
เวลา 14.00 – 15.30 น.
ห้อง 910 ABC ชัน้ 9

อาคารเรียนและปฏิบตั ิการรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี
ผู้นาเสนอ คุณศิริพร เสมสาร ผ้ปู ฏิบตั ิการพยาบาลขั้นสงู ปฏบิ ัตงิ านประจา RPC

งานการพยาบาลหอผูป้ ว่ ยโสต ศอ นาสิก ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี

เนอื้ หา
ผู้ป่วยระยะท้ายส่วนใหญ่การดาเนินของโรคเดินทางมาถึงระยะท้าย ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่น ต้องทนทุกข์

ทรมานและต้องได้รับการดูแลรักษาหรือให้ยาควบคุมอาการอย่างต่อเน่ือง ซึ่งแท้จริงแล้วสามารถให้การดูแลท่ีบ้านได้ แต่
พบว่าญาตแิ ละผู้ใกล้ชิดมกั ไม่มีความรคู้ วามมั่นใจในการดูแล จงึ ตอ้ งการพาผ้ปู ่วยมารับการรักษาท่โี รงพยาบาลจวบจนวาระ
สุดท้ายของชีวิต ซึ่งโดยส่วนใหญ่มักมาติดต่อรักษาท่ีแผนกฉุกเฉิน และพบว่าญาติและผู้ป่วยเหล่านี้มีความคาดหวังสูงที่
จะตอ้ งได้รับการพักรักษาตัวในโรงพยาบาล แต่ด้วยไม่มีจานวนเตียงและบุคลากรดูแลที่เพียงพอทาใหเ้ กิดปัญหาความแออัด
ความไมพ่ ึงพอใจ และอาจก่อให้เกิดการฟ้องร้องได้ ทางผู้นาเสนอจงึ คิดหาวิธีการจัดการอยา่ งเป็นระบบเพอื่ ให้ญาติสามารถ
กลบั ไปดแู ลผ้ปู ่วยระยะทา้ ยได้เองท่บี ้าน ผูป้ ่วยจะไดร้ บั การดูแลทถ่ี กู วิธี และจากไปอยา่ งสมศกั ดศิ์ รี
วตั ถปุ ระสงค์

ผูปวยระยะทายสามารถกลบั ไปเสียชีวติ ทบี่ ้าน โดยไดรบั ยาคมุ อาการทางชั้นใตผิวหนงั อยางตอเน่ือง

44

ผลงาน CQI เรอื่ งท่ี 2

การดาเนินงาน
1. ประชุมทีมและผูเ้ กย่ี วข้อง
2. อบรมใหค้ วามรู้แก่บุคลากรในการดูแลอยา่ งเปน็ ข้ันตอนและมมี าตรฐาน
- ญาติหรือผู้ป่วยรอ้ งขออยากกลับไปดูแลระยะท้ายทบ่ี ้าน
- ทมี วางแผนจดั การอาการ
- ประสานทีมในการดูแลและส่งต่อ
- เตรยี มพร้อมก่อนสง่ อาทิ จดั หาเครอื่ งมอื อุปกรณ์ หรอื ยาท่ีจาเป็นตอ้ งใช้
- สอนใชย้ าและอปุ กรณ์บริหารยา อาจมีการทา Clip แสดงการสอนใช้เครอื่ งมือตา่ ง ๆ
- ใหช้ อ่ งทางติดต่อกบั ทางทีมแก่ผปู้ ่วยและญาติ ดว้ ยช่องทางตา่ งๆ อาทิ โทรศัพท,์ Line,
VDO call
- ส่งตอ่ ผู้ปว่ ยกลับบา้ น
3. ประสานทมี แพทยฉ์ ุกเฉนิ และนาเสนอกระบวนการ
4. ใหการดูแลผูปวยทร่ี ับปรกึ ษาจากแพทยทหี่ องฉุกเฉิน
5. ประเมนิ ผลโครงการทุก 3 เดอื น

รปู ท่ี 1 แสดง Flow ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน

45

ผลงาน CQI เรื่องท่ี 2

ผลการดาเนินงาน
1. หลังจากดาเนนิ โครงการและปรับปรงุ กระบวนการใหม่แล้ว ติดตามผลโครงการทุก 3 เดอื น พบอัตราการ
เสยี ชวี ิตอยางสงบที่บาน ร้อยละ 100
2. อตั ราความพงึ พอใจของญาติผูดแู ลท่มี ตี อโครงการ อยู่ในระดบั มากถึงมากท่สี ดุ พบร้อยละ 97

รปู ท่ี 1 แสดงกระบวนการทางานแบบเกา่

รูปที่ 2 แสดงกระบวนการทางานแบบใหม่
46

ผลงาน CQI เร่อื งท่ี 2

ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั
ส่วนผรู ับบรกิ าร (ผูปวยและบุคคลครอบครัว)

1. ผูปวยไดรบั การประเมนิ และจัดการอาการในระยะทายอยางเหมาะสม
2. ชวยลดคาใชจายในการเดนิ ทางพาผูปวยมารบั บริการ
3. ญาตเิ กดิ ความพึงพอใจตอการบรกิ าร
สว่ นผใู หบริการ (บุคลากร/ทีม)
1. ลดปญหาดานการจัดสรรทรัพยากร เชน เตียงในการ Admit
2. ลดปญหาความขดั แยงระหวางบคุ ลากร/ทีมลง ลดความเครียด
3. มีแนวทางปฏบิ ตั ิงานท่ีชดั เจนทาใหสะดวกในการทางานมากยง่ิ ขึ้น
ส่วนองคกร (คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี)
1. ลดความแออัด อัตราการครองเตียงลง ในผูปวยท่ีมีความจาเปนตอง Admit เพ่ือใหยาคุมอาการ
2. ลดคาใชจายในระบบสุขภาพ (เชน คาเตยี ง คาตรวจทางหองปฏิบัติการตาง ๆ คาทาหตั ถการตาง ๆ )
3. ลดการกลับเขามารับการรักษาท่ีแผนกฉุกเฉนิ ลงได (re-visit ER)
4. ญาติผปู้ ว่ ยเกิดความพึงพอใจตอการบริการขององคกร

บทเรยี นทไี่ ด้รบั
1. โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นมากกว่าโรงพยาบาลตติยภูมิ เพราะเป็นท้ังโรงเรียนแพทย์ โรงเรียนพยาบาล ศูนย์
ความเป็นเลิศ และศูนย์ความเช่ียวชาญขนาดใหญ่ ดังนั้นพันธกิจ โครงสร้างการดาเนินงานจึงมีเน้ืองานท่ี
หลากหลาย และเต็มไปด้วยความคาดหวังจากประชาชนในการให้บรกิ ารด้านสขุ ภาพ
2. การดาเนินงานยังมีข้อจากัด โดยเฉพาะดานนโยบายในการบริหารยากลุม Opioids ในรูปแบบยาฉีดท่ี
นาออกไปใชนอกโรงพยาบาล ทั้งนี้ต้องประสานงานกับหลายหน่วยงาน ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตรวจสอบได้
และไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความยงุ่ ยากภายหลัง

ปัจจยั แห่งความสาเร็จ
1. ความเห็นอกเห็นใจ มีความรสู้ ึกเห็นใจเพ่อื นมนุษยแ์ ม้ในยามวาระสดุ ท้ายของชีวติ และตระหนกั ว่ามนษุ ย์ยงั คง
ตอ้ งการการดแู ลทง้ั ร่างกายและจิตใจจวบจนลมหายใจสุดทา้ ย
2. เอาใจเขามาใส่ใจเรา เม่ือมองในฐานะญาติผู้ป่วยซ่ึงไม่ได้คุ้นเคยกับยาและหัตถการทางการแพทย์ อาจจะมี
ความกังวล และไม่กล้าทาหัตถการบางอยา่ ง ดงั น้ันการให้ความรู้ทางการพยาบาล และนาเทคโนโลยีสมยั ใหม่
เขา้ มาช่วยเรียนรหู้ ตั ถการจึงเป็นอกี ทางออกท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. รูจ้ กั นาเทคโนโลยีทันสมยั เข้ามาประยุกต์ใช้
4. ความชา่ งสงั เกตใสใ่ จปญั หา และผลกระทบของปัญหา มองเหน็ ประโยชนใ์ นภาพรวมขององค์กร

47

ผลงาน CQI เรอ่ื งท่ี 2

เจา้ ของผลงานและทมี รบั รางวลั ชนะเลิศผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอุดมลปิ ิ รักษาการแทนรองคณบดฝี า่ ยดูแลสขุ ภาพ และผูอ้ านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

ข้อเสนอแนะจากผู้วิพากษ์

1. ผศ.ดร. มุกดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี สอบถาม
เกี่ยวกับข้อจากัดในการทางาน ซึ่งผู้นาเสนออธิบายว่ามีข้อจากัดบ้าง เช่น เดิมเคยคาดการณ์ว่าผู้ป่วย
จะมีชีวิตอยู่ได้อีกไม่เกิน 3 วัน แต่ในความเป็นจริงผู้ป่วยอยู่ได้นานกว่าน้ัน ทาให้ยาที่เตรียม ไปใช้ไม่
เพียงพอ ญาติและทีมจึงต้องประสานงานในการเข้ามารับยาภายหลัง ท้ังน้ีมีอธิบายพร้อมส่ง Clip
แสดงวิธีการและข้ันตอนหตั ถการเฉพาะตา่ ง ๆ ให้ไปดว้ ย

2. นพ.ณรงค์ฤทธ์ิ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ชื่นชมและสอบถามถึงการ
บริหารยาที่อาจสุ่มเสี่ยงต่อกฎหมาย อาทิ ยาเสพติดให้โทษ หรือหัตถการท่ีคล้ายการทารุณ จุดนี้มีการ
ดาเนินการอย่างไร ซ่ึงผู้นาเสนอช้ีแจงว่าทางทีมมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนตามลาดับข้ันตอน สมาชิกใน
ทีมถูกประเมิน Competency เป็นระยะ และด้านมาตรฐานการให้ยา มีบุคลากรในทีมประเมิน
ความสามารถของญาติและผู้ดูแลกอ่ นสง่ กลบั ทกุ ราย

48

ผลงาน CQI เรอ่ื งท่ี 2

3. ผศ. พญ.ปารวี ชีวะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ช่ืนชมและเห็นด้วยว่าการดูแล
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายเป็นสิ่งท่ีมีความยาก ซ่ึงบางครั้งแพทย์รุ่นใหม่บางท่านอาจยังไม่มีประสบการณ์
ดังน้ันอยากใหท้ มี นเ้ี ปิดกวา้ งใหส้ มาชกิ ในทีมมีหลายวิชาชีพ เพอ่ื จะได้เปน็ การฝกึ ฝนและรว่ มพฒั นา

การสรุปตคี วามโดยทมี ถอดบทเรียน
ขอ้ เสนอแนะจากผูจ้ ดบันทกึ

1. การดาเนินการเก่ียวกับทีมและคณะทางาน จาเป็นจะต้องกระทาอย่างจรงิ จัง มีการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ชัดเจน
ได้มาตรฐาน มีผู้รับผิดชอบ เพื่อรักษามาตรฐาน รับผิดชอบผลและติดตามงานได้ หากอาศัยเพียงผู้มีจิตอาสา
เข้ามาดาเนินการอาจไมม่ คี วามยั่งยนื

2. แบบฟอร์มทีใ่ ชใ้ นการดาเนินงานเก่ยี วกบั การสง่ ต่อหรือดูแลผปู้ ่วยระยะสุดท้าย อาจตอ้ งสังเคราะห์ขึ้นมาใช้ให้
เป็นมาตรฐานส่วนกลางที่ทุกหน่วยงานต้องกระทาเหมือนกัน โดยในส่วนเน้ือหาควรครอบคลุมทุกมิติ เพื่อ
ประโยชน์ในการตรวจสอบและป้องกันข้อผิดพลาดทางกฎหมาย ซ่งึ อาจต้องใหอ้ าจารย์แพทย์สาขาท่ีเกี่ยวข้อง
นิติกร ตัวแทนประชาชนช่วยระดมความเหน็ และตรวจทาน

ช่ือผจู้ ดบนั ทกึ
นายอเุ ทน บุญมี
นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวิชาโรคหวั ใจ ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์

49

ผลงาน ผลงาน CQI เร่อื งท่ี 3
วันท่ี
เวลา เพิ่มประสิทธภิ าพกระบวนการนัดผู้ป่วยทา CT hydration
ห้อง 30 สงิ หาคม 2562
14.00-15.30 น.
ผู้นาเสนอ 910 ABC ชัน 9
อาคารเรยี นและปฏบิ ตั กิ ารรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธิบดี
คุณแกว้ ใจ บุญมาตนุ่ พยาบาลวชิ าชีพ หนว่ ยตรวจผ้ปู ่วยนอกมะเรง็
ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี

เนอ้ื หา
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการทางานของไตผิดปกติท่ีมีความจาเป็นต้องทาเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ท่ีผู้ป่วย

จะตอ้ งไดร้ ับการเตรียมความพร้อมเพ่ือปอ้ งกันภาวะไตวายเฉียบพลนั จากสารทบึ รังสี แต่ดว้ ยกระบวนการนัดหมาย
ในการให้สารนาและยากอ่ นทา CT Scan (Pre-Post medication for CT Scan) นัน เดิมมีทงั สนิ 30 กระบวนการ
หลากหลายขันตอน ใช้เวลาติดต่อประสานงานกว่า 2 ชั่วโมง ซึ่งผู้ป่วยจะต้องประสานงานนัดหมายกับหน่วยงาน
ตา่ ง ๆ ทงั หมดถึง 4 หน่วย ไดแ้ ก่

1. หนว่ ยตรวจผู้ป่วยนอกมะเร็ง : ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง
2. ศูนยร์ ังสีวินิจฉยั ก้าวหน้า (AIMC) : ออกบตั รนัดในวันท่ีแพทยต์ ้องการ
3. หน่วยบริการหตั ถการ (HTU) : นัดวนั ใหส้ ารนาก่อนและหลงั
4. หน่วยบาบัดระยะสัน (SSS2) : นดั วันใหส้ ารนาและหลงั
พบว่ามีกระบวนการท่ีซับซ้อน ผู้ป่วยหรือญาติต้องเดินไปมาระหว่างหน่วยงาน มีระยะเวลารอคอยท่ี
ยาวนานโดยหากมีข้อผิดพลาดหรือเอกสารไม่ชัดเจนผู้ป่วยหรือญาติจะต้องเป็นผู้เดินกลับมาติดต่อด้วยตนเองซ่ึง
ติดต่อหลายรอบเกิดความเหน่ือยล้า จึงมีแนวคิดปรับปรุงกระบวนการด้วยการติดต่อประสานงานระหว่าง
หน่วยงานเพ่ือให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีขึน โดยเม่ือวิเคราะห์สาเหตุแล้วพบว่าความยุ่งยากในการนัดหมายเพ่ือ

50

ผลงาน CQI เร่ืองท่ี 3

เตรียม CT hydration มาจากหลายสาเหตุ อาทิ ระบบมีความยงุ่ ยากต้องผ่านหลายจุด ผปู้ ่วยและญาติเสียเวลาทา
ความเข้าใจ ลายมือแพทย์อ่านยากหรือบางครังอ่านผิด และเจ้าหน้าที่ไม่ได้ทาการประสานงาน จึงมีแนวคิดคิด
สรา้ งกระบวนการในการประสานงานขึน
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ลดระยะเวลาในการรอบัตรนัด CT Hydration (Wasting time)
2. เพื่อลดขนั ตอนในกระบวนการทานัดหมาย (Unnecessary process)
3. เพื่อลดการเคล่อื นท/ี่ การเดินไปมาของผ้ปู ว่ ย (Unnecessary motion)
การดาเนินงาน
เนอื้ หาโครงการประกอบด้วย
1. เพมิ่ รายละเอยี ดข้อมลู ในบัตรนดั เพื่อสื่อสารระหว่าง OCC/AIMC กรณีมีปัญหา (ไม่ต้องให้ผูป้ ่วย

เดินกลบั มาท่ี OCC อีก)
2. กรณมี กี ารเปลย่ี นแปลงการนดั หมายเจ้าหน้าทป่ี ระสานงานกนั ทางโทรศพั ท์ (ไมต่ อ้ งให้ผปู้ ่วยเดนิ

กลับมาที่ OCC อกี )
3. ทางหนว่ ย AIMC โทรประสานงานกับ HTU และ SSS 2
มกี ระบวนการดาเนินงานดังน้ี
1. วิเคราะหก์ ระบวนการ โดยหนว่ ยพัฒนาระบบงาน/หน่วยตรวจผูป้ ว่ ยนอกมะเรง็ /หนว่ ยบริการหัตถการ
2. นาเสนอนโยบายผา่ นผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี
3. ประชมุ หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง 1 ครัง
4. ปรบั ปรงุ กระบวนการทางานแต่ละหน่วยงานผ่าน Line application

4.1 บันทึกเวลาท่ีผู้ปว่ ยออกจากห้องตรวจและนาเอกสารมาส่งท่ีเคานเ์ ตอรพ์ ยาบาลและพบวา่ มี
order CT Hydration บนั ทึกเวลาท่ผี ้ปู ว่ ยไดร้ ับบตั รนัดตรวจ CT Scan

4.2 บันทกึ เวลาทผี่ ู้ป่วยได้รับบตั รนดั Pre – med โดยระบุเวลาและจานวนครังที่โทรติดต่อหนว่ ย
HTU

5. บันทึกเวลาทีผ่ ้ปู ่วยได้รบั บัตรนัด Post – med โดยระบุเวลาและจานวนครงั ที่โทรติดต่อ SSS 2

51

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 3 (นาที)

(นาที) (นาท)ี

รปู ท่ี 1 แสดงกระบวนการและขนั ตอนในการตดิ ตอ่ ประสานงานโดยเจา้ หนา้ ที่เพ่อื นดั หมายเตรียม CT hydration

รูปที่ 2 แสดงตวั อยา่ งแบบฟอร์ม Order for Pre-Post hydration
52

ผลงาน CQI เรือ่ งที่ 3

ผลการดาเนนิ งาน
ด้านผรู้ บั บรกิ าร
1. ลดขันตอนการรบั บริการ ของผปู้ ว่ ย ทม่ี นี ดั Hydration for CT
2. ลดการเดินไป-มา ของผปู้ ่วย (Motion) จาก 5 ครัง เหลือ 1 ครงั
3. ลดระยะเวลาการรอรับบตั รนัดจากหน่วยงานตา่ ง ๆ โดยประมาณ 110 นาที เหลือ 55 นาที
ด้านผูใ้ หบ้ ริการ
1. ลดขนั ตอนกระบวนการทางานทซี่ าซ้อนในการนัดหมายผูป้ ว่ ย Hydration for CT
2. เจา้ หน้าท่แี ต่ละแผนกประหยดั เวลาการทางาน สามารถให้บริการผปู้ ว่ ยรายอื่นได้เร็วขึน
3. พฒั นาระบบบริการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

รูปท่ี 3 แสดงผลการพฒั นากระบวนการนดั หมาย CT Hydration

ประโยชนท์ ่ีได้รบั
1. ผู้มารบั บรกิ ารไม่ร้สู กึ ว่าการขอนดั เตรียม CT hydration มีขันตอนและกระบวนการที่ยุ่งยาก
2. สรา้ งทศั นคติท่ดี แี ก่ผมู้ ารบั บริการ
3. ลดขันตอน ลดเจา้ หนา้ ทีป่ ระจาจดุ เวลาที่เหลอื และเจา้ หน้าท่ที เ่ี หลอื สามารถนาประโยชนอ์ ย่าง
อน่ื ให้กบั องค์กรได้
4. เป็นตวั อย่างของกระบวนการนดั หมายข้ามแผนก ท่ใี นทางทฤษฎเี จ้าหนา้ ท่ปี ระจาจุดควรสามารถ
ประสานงานให้ได้

53

ผลงาน CQI เรื่องท่ี 3

บทเรียนทีไ่ ดร้ บั
1. การเปลี่ยนกระบวนการ หรือ Flow งาน แม้เพียงเล็กน้อยแต่บางครังสามารถลด Waste ลง
ได้มาก
2. ปัญหาในการนัดหมาย ส่วนใหญ่เกิดจากตัวบุคคล โดยเฉพาะการสื่อสาร ทังโดยวาจา และลาย
ลักษณ์อักษร ดังนันหากทาส่ิงเหล่านีให้ชัดเจน อาทิ พูด แจ้ง หรือเขียนบันทึก ให้ละเอียดเป็น
ขนั ตอน ครบถ้วน กจ็ ะชว่ ยลดความผิดพลาด ลดเวลาลงได้ และทางานได้สะดวกขนึ มาก

ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ
1. ความมุง่ มน่ั อยากจะเปลย่ี นแปลงให้ดี และไม่หวาดกลวั ความเปลีย่ นแปลง ยอ่ มเปน็ ประตูส่สู ่ิงใหม่
2. ความร่วมมอื การกาหนดแบบแผนกระบวนการรว่ มกันระหว่างหน่วยงาน
3. ความเหน็ อกเหน็ ใจผู้มารบั บริการโดยเฉพาะบางรายที่ผู้ป่วยตอ้ งเดินติดตอ่ เอกสารเองหลายจุด
คงเกิดปัญหาและความยงุ่ ยาก

เจ้าของผลงานและทีม รับรางวัลชนะเลศิ ผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สุรศักด์ิ ลลี าอุดมลปิ ิ รกั ษาการแทนรองคณบดฝี า่ ยดแู ลสขุ ภาพ และผ้อู านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

ขอ้ เสนอแนะจากผู้วพิ ากษ์

54

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 3

1. ผศ. พญ.ปารวี ชีวะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาลรามาธิบดี ชื่นชมและเสนอแนะให้สังเคราะห์
แบบฟอร์มเข้าระบบ EMR และ Flow การทางานท่ีนาเสนอมีความน่าสนใจ แต่จากที่นาเสนอว่าการ
นัดกับ AIMAC ใช้เวลา 55 นาที ซึ่งในความเป็นจริงแต่ละจุดมีระบบคิวเข้ามาเก่ียวข้องด้วย และ
ส่วนมากตอ้ งติดต่อหลายจุด ดงั นันเวลาอาจมากขึนไปอีก

2. ผศ. ดร.มุกดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ช่ืนชมผลงาน
และชนื่ ชมทส่ี มารถมองปัญหาออกแล้วปรับแกไ้ ด้จนเหน็ ผลชัดเจน ซงึ่ ลกั ษณะนคี วรพัฒนาต่อยอด

3. นพ.ณรงค์ฤทธ์ิ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ชื่นชมผลงาน และเห็นด้วยกับคา
กล่าวที่ว่าพยาบาลเป็นความหวังของโรงพยาบาลและคณะ เพราะเป็นหัวแรงสาคัญและในการทา
LEAN ซึ่งท่ีถูกต้องนันจะต้องไม่ไปเพ่ิมงานให้ตนเองและผู้อ่ืน แต่ให้ความสนใจกับคาว่าผู้ป่วยจะ
ได้อะไร เช่น สะดวกสบาย พึงพอใจ และอยากให้กลุ่มผู้นาเสนอสานต่อและเผยแพร่ซ่งึ ต่อไปอาจสามารถ
เปน็ Facilitator ได้

ขอ้ เสนอแนะจากผู้จดบนั ทกึ
1. ควรนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการนัดหมายให้มีความเป็นอัตโนมัติมากขึน อาทิ Application และ
E-workstation ท่ีเจ้าหน้าที่แผนกที่เกี่ยวข้องสามารถ Log-in เข้าไปใช้งานร่วมกัน เพื่อทาหารนัด
หมายเตรียม CT hydration
2. ความผิดพลาดจากการนัดหมายบางคลินิกอาจไม่สะท้อนผลมาก แต่สาหรับการเตรียม CT
hydration ทีเ่ ป็นขันตอนซึ่งมีรายละเอยี ดเฉพาะ มีความจาเป็นเพราะอาจส่งผลต่อภาวะไตวาย หาก
ลืมนัดหมายหรือนัดผิดพลาดอาจส่งผลรุนแรงต่อสุขภาพและชีวิต จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะต้องให้
ความสาคัญในรายละเอยี ดและการนดั หมายทถ่ี ูกตอ้ ง แมน่ ยา และสะดวก
3. เมือ่ มีการกาหนดจุดบริการใด ๆ ขนึ มา จดุ ๆ นนั ย่อมต้องการทจ่ี ะเป็นเจ้าของงาน สร้างผลลัพธ์ และ
ใช้อานาจสั่งการ กาหนดแนวทางปฏิบัติหรือสังเคราะห์แบบฟอร์มให้ผู้อ่ืนทาตาม ดังนัน ย่ิงมากจุดก็
ยิ่งมากคน เม่ือมากคนก็มากเร่ืองราว ทังที่ในความเป็นจริงหากระดมคนจานวนมากลงมาปฏิบัติงาน
เดียวกันแล้วงานน่าจะ Flow ไปได้เร็วขึน แต่กลับติดกับดักคือ เมื่อเพ่ิมคน เพิ่มจุดแล้ว ทาให้ Flow
งานหรือเอกสารต้องไปวนอีกหลาย ๆ จุดตามไปด้วย กว่าจะถึงปลายทางจึงเกิดความยุ่งยากซับซ้อน
และเสียเวลาโดยใช่เหตุ ดังนันต้องตัดจุดบริการให้น้อยลง (แต่เพ่ิมเจ้าหน้าท่ีประจาจุดให้มากเพื่อ
ทางานเดียวกัน) และต้องทาลายทิฐิและลดบทบาทเจ้าหน้าท่ีในการเป็น “ผู้ควบคุม/ผู้สั่งการ” แก่
ผู้ป่วยในแต่ละจุดลง

ผ้จู ดบนั ทกึ
นายอเุ ทน บุญมี
นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวชิ าโรคหวั ใจ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์

55

ผลงาน CQI เร่ืองที่ 4

ผลงาน หัวหนา้ พาทา งานคุณภาพ CQI/KAIZEN
วนั ที่ 29 สิงหาคม 2562
เวลา 14.00 – 15.30 น.
หอ้ งประชุม 910 ABC ช้ัน 9
อาคารเรยี นและปฏบิ ตั ิการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี
ผู้นาเสนอ คณุ จติ ตมิ า นุรติ านนท์ พยาบาลวิชาชพี หน่วยบริการหัตถการ
งานการพยาบาลบริการเฉพาะ ฝา่ ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คุณจิตตมิ า นุรติ านนท์

เน้ือหา
ด้วยตระหนักถงึ ประโยชน์ของงานพัฒนาคุณภาพทสี่ ามารถนามาแกป้ ัญหาหน้างานได้ โดยเฉพาะ CQI ท่ีมวี งรอบ

การปฏิบัติงาน PDCA ชัดเจน และ KAIZEN ที่เป็นเครื่องมือคุณภาพท่ีไม่ยุ่งยากหรือซับซ้อนเกินไป ทาให้ภายในหน่วยงาน
พยายามสร้างค่านิยมในการสร้างสรรค์งานพัฒนาคุณภาพ โดยใช้วิธีการที่รุ่นพี่หรือหัวหน้าท่ีมีประสบการณ์มากกว่าสอน
หรือทาให้ดูเป็นแบบอย่าง แต่เน่ืองจากบุคลากรมีหลากหลายวิชาชีพและมีความชอบต่างกันทาให้ต้องมีการนาหลักการ
เครื่องมือ และวิธีการด้านการพัฒนาคุณภาพเข้ามาช่วย โดยมีการช่วยเหลือกันในหน่วยงาน ส่งอบรมให้ความรู้ สร้าง
แรงจูงใจ ผลักดัน ให้บุคลากรเห็นคุณค่าและสร้างสรรค์งานพัฒนาคุณภาพได้อย่างถูกต้อง สามารถปรับใช้กับการทางาน
ประจา และมีผลงานจดั แสดงและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
วตั ถุประสงค์

1. บุคลากรในหนว่ ยรว่ มกันสร้างผลงานพัฒนาคุณภาพ อยา่ งน้อยมผี ลงานสง่ เข้าประกวดปีละ 2 เร่อื ง
2. สรา้ งคา่ นิยมและเจตคติที่ดีต่องานพฒั นาคณุ ภาพ
การดาเนนิ งาน
ใช้หลกั 6E คือ
1. Explore : สังเกตและสารวจดูลักษณะนสิ ยั ความชอบ เจตคตขิ องบุคลากรทม่ี ตี ่องานพฒั นาคณุ ภาพ

56

ผลงาน CQI เรอ่ื งท่ี 4

2. Empathy : เข้าใจในจริตและความรู้สึกของบุคลากรแต่ละคนท่ีมีต่องาน CQI, KAIZEN บางคนอยากทามาก
หรือบางคนอาจอยากทาแตม่ ีอุปสรรค

3. Engagement : การสร้างข้อตกลงหรอื เงือ่ นไขให้บุคลากรในหน่วยชอบและรกั ม่งุ มั่นอยากจะทา
4. Empower : เสริมสร้างกาลังใจ คอยอยู่เคียงข้างเป็นท่ีปรึกษา หาแหล่งเงินทุนสนับสนุนในบางโครงการ

บางครัง้ อาจต้องใช้เงนิ หรือ วัตถุ เพื่อเปน็ แรงจูงใจ
5. Example : ทาให้ดูเป็นตัวอย่าง เพ่ือให้บุคลากรเห็นข้ันตอนและชิ้นงานสุดท้ายอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งยัง

สามารถแนะนาอปุ สรรคระหว่างการทางานในฐานะผูม้ ีประสบการณ์มากกว่าได้
6. Excellent team : รวมกลุ่มกัน เช่น บางคนไม่สามารถเขียนอธิบายออกมาเป็นช้ินงานได้ ก็มาน่ังรวมกลุ่ม

เล่าถ่ายทอดถึงสง่ิ ทอ่ี ยากจะทาดว้ ยคาพูด เพ่ือให้เพ่ือนร่วมงานจับประเด็น แลว้ ค่อยมาเรียบเรียงให้สละสลวย
ซ่ึงจะทาให้บคุ ลากรในหน่วยท่ีมีหลายระดับหลายพืน้ ฐานความรกู้ ล้าทีจ่ ะนาเสนอแนวคิดของตน รวมท้งั มผี อู้ ่ืน
คอยแนะนาเพ่ิมเตมิ ดว้ ย
กระตุ้นให้บุคลากรเห็นความสาคัญและส่งเสริมทักษะ ส่งอบรมเพิ่มพูนความรู้ สร้างแรงจูงใจในการสร้างสรรค์
ผลงาน สร้างเงอื่ นไขขอ้ ตกลงโดยมีเป้าหมายชัดเจน โดยวัดผลจากจานวนผลงานทส่ี ่งเขา้ ประกวดในและนอกคณะฯ
ผลการดาเนนิ งาน
1. บคุ ลากรในหน่วยร่วมกนั สร้างผลงานพฒั นาคณุ ภาพ จนเห็นเป็นรูปธรรม คอื จากปี 2558 – 2561 มจี านวน
ผลงานเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งต่อเน่ืองและหลากหลายประเภท (รปู ท่ี 1)
2. สร้างแบบอย่างและเจตคตทิ ่ดี ีต่องานพฒั นาคุณภาพ จากจานวนผสู้ ่งผลงานทีเพิม่ ข้นึ ทุกปี

รปู ที่ 1 แสดงจานวนผลงานพฒั นาคุณภาพในแตล่ ะปี ตง้ั แต่ 2558 – 2561

57

ผลงาน CQI เร่ืองที่ 4

รูปท่ี 2 แสดงตวั อย่างผลงาน KAIZEN ท่ีวางขวดน้า ปี 2559

ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ
1. ปัญหาในหนว่ ยงานถูกนามาแก้ไขผา่ นการสร้างสรรคง์ าน CQI, KAIZEN
2. มีบางผลงานได้รับรางวลั และถกู เชญิ ให้ไปนาเสนอภายนอก เป็นการสรา้ งชือ่ เสียงใหห้ นว่ ยงานและ
องค์กร
3. เกิดการปลูกฝังคา่ นยิ มในการนาเคร่ืองมอื พฒั นาคุณภาพมาใชแ้ กป้ ัญหาจริง
4. บางผลงานถูกนาไปต่อยอด อาทิ R2R เปน็ ต้น

บทเรียนทไี่ ดร้ บั
1. การเปล่ียนทัศนคติเป็นสิ่งที่ยาก แต่สามารถทาได้ต้องอาศัยการสร้างค่านิยมหรือแฟชั่น โดยมาจากการสร้าง
ส่ิงแวดล้อม เช่น ให้คนส่วนใหญ่ในหน่วยปฏิบัติ เพราะโดยธรรมชาติมนุษย์จะพยายามทาตัวให้คล้อยตามคน
ส่วนใหญ่ในสงั คมอนั หมายถึงสังคมในหนว่ ยงาน เป็นตน้
2. แม้ว่าเงินจะไม่ใช่เป้าหมายหลักในการทางานพัฒนาคุณภาพ แต่ก็สามารถกระตุ้นความคิดอยากจะ ทา และ
เป็นขวัญกาลังใจสาหรับผู้คิดพัฒนาผลงานของตนเอง ทัง้ ยังทาให้เห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนว่าคนที่ไม่อยู่
นิ่งคิดทาสิ่งต่าง ๆ ในทางสร้างสรรค์ย่อมเป็นประโยชน์และได้รับผลในทางที่ดี ซ่ึงดีกว่าคนท่ีอยู่น่ิงเฉยหรือ
เพยี งทางานประจาไปวนั ๆ

ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ
1. มเี จตคตทิ ่ีดี (คิดบวก) ต่อการสร้างสรรค์งานพัฒนาคณุ ภาพ แทนท่ีจะมองว่าเปน็ ภาระงานท่เี พิ่มขนึ้
2. การกระทาสาคญั กวา่ คาพูด กลา่ วคอื การทาใหด้ เู ป็นตวั อยา่ งมีความสาคัญ และนาไปสูค่ วามสาเร็จได้
มากกวา่ การอธิบายดว้ ยคาพูดเพยี งอยา่ งเดียว

58

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 4

เจา้ ของผลงาน รบั รางวลั ชนะเลศิ ผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอดุ มลปิ ิ รักษาการแทนรองคณบดีฝา่ ยดูแลสขุ ภาพ และผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี

ข้อเสนอแนะจากผู้วิพากษ์

1. ผศ. ดร.มุกดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ชื่นชมในการ
เป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้อ่ืน ส่งเสริมให้เกิดการคิดบวกต่อการพัฒนาคุณภาพ และสาคัญท่ีสุดคือ
หวั หนา้ งานต้องลงมาร่วมทาด้วยจึงจะทาใหบ้ รรลเุ ป้าหมายได้เรว็ ขน้ึ

2. นพ.ณรงค์ฤทธ์ิ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิต์ิ ชื่นชมผลงาน และช่ืนชมท่ีทีมนี้มีการ
นา LEAN มาพัฒนาต่อยอดคว ามคิด และถามถึงสิ่งท่ีเป็นแรงบันดาลใจในการทางานพัฒนา
คุณภาพ ซึ่งผู้นาเสนอตอบว่า การสร้างสรรค์งานพัฒนาคุณภาพเป็นการแสดงศักยภาพอย่างหน่ึง ที่
เมอ่ื เขา้ ใจกระบวนการแลว้ ไม่ว่าพยาบาลวชิ าชพี ผูช้ ว่ ยพยาบาล หรอื เจ้าหนา้ ทที่ วั่ ไป ก็สามารถทาได้

3. ผศ. พญ.ปารวี ชีวะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ช่ืนชมผู้นาเสนอท่ีสามารถ
ยกตัวอย่าง หรือคิดวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเห็นภาพ ซึ่งจุดน้ีน่าส่งเสริมให้ขยายผลต่อไปทั้งหัวหน้างาน
และบคุ ลากรในหนว่ ย อาจสามารถพฒั นาเพิม่ พนู ความรูไ้ ปเป็น Coach ในด้านน้ีได้

59

ผลงาน CQI เรือ่ งที่ 4

การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรยี น
ขอ้ เสนอแนะจากผูจ้ ดบนั ทกึ

1. “การดึงดูด” โดยทั่วไปการบังคับหรือส่ังให้ปฏิบัติเพียงอย่างเดียวอาจไม่เกิดแรงจูงใจในการทา หรือบางคน
อาจจะทาเพ่ือให้พอผ่าน ๆ ไปโดยไม่คานึงถึงระดับคุณภาพของผลงาน แต่หากมีการช้ีให้เห็นถึงปัญหาหรือ
ความเสียหาย เปรยี บเทยี บให้เห็นการเปลี่ยนแปลงทดี่ ีขนึ้ อย่างชัดเจนระหว่าง “ก่อน” กบั “หลัง” พัฒนาแล้ว
จะยิ่งตอกยา้ ว่าหากไม่มีสิ่งที่เราสร้างหรือพัฒนาข้ึน ปัญหาและความเสยี หายน้ัน จะไม่ถูกแก้ได้เลย สิ่งเหล่าน้ี
อาจจะชว่ ยดงึ ดดู ใหบ้ คุ ลากรเหน็ คณุ ค่าของงานพฒั นาคณุ ภาพ

2. “การส่งเสรมิ ” เม่ือสร้างความคิดบวกได้แล้ว การใชเ้ งินหรอื วตั ถุมิใช่มีประโยชน์เพียงแค่จงู ใจ แต่ยังกระต้นุ ให้
เกิดการแข่งขัน ทาให้ผลงานท่ีได้มีมาตรฐานและคุณภาพดีข้ึน เพราะหากอยากได้ส่ิงตอบแทนที่มีมูลค่ามากก็
ตอ้ งพัฒนาศกั ยภาพทาผลงานให้ดีมีมาตรฐานสงู จึงจะมโี อกาสได้รบั เลอื ก

3. การพัฒนาคุณภาพงานประเภทหน่ึงที่ต้องระมัดระวัง คือ การสังเคราะห์แบบฟอร์ม เพราะอาจเป็นการเพ่ิม
ขน้ั ตอนการทางานโดยไม่รู้ตัว กล่าวคือหากมีบุคลากรสังเคราะห์แบบฟอร์มคนละใบ น่ันหมายความว่าแพทย์
หรือพยาบาลจะต้องเสียเวลาส่วนหน่ึงกับการกรอกและเขียนแบบฟอร์มต่าง ๆ ทั้งที่ความจริงอาจมีวิธีอื่นท่ี
ดีกว่า เชน่ รวบรวม จัดหมวดหมู่ หรือใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ยได้

4. งานพัฒนาคณุ ภาพ เม่อื ทาไดส้ าเรจ็ และมองยอ้ นกลบั ไป เราจะภูมใิ จและรูส้ ึกว่าเราสามารถเอาชนะปญั หาตา่ ง
ๆ ไดด้ ว้ ยความคิดและความสามารถของเราอย่างเปน็ ระบบ มขี ้ันตอนชดั เจน ซึง่ เป็นสิง่ ท่ีถา่ ยทอดบอกตอ่ ได้

ผูจ้ ดบันทกึ
นายอุเทน บุญมี
นักเทคโนโลยหี วั ใจและทรวงอก สาขาวชิ าโรคหวั ใจ ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์

60

ผลงาน CQI เร่ืองที่ 5

ผลงาน อปุ กรณช์ ่วยดงึ น้ิวเท้าไขว้ คด ผิดรปู
วนั ที่ 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
เวลา 14.00 – 15.30 น.
ห้องประชุม 910 ABC ชน้ั 9

อาคารเรยี นและปฏบิ ตั กิ ารรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ผูน้ าเสนอ คณุ เนตนภา สรุ ินทราช, คุณประภา พาสมดี และทีม หนว่ ยตรวจผู้ปว่ ยนอกศลั ยกรรมกระดูก

งานการพยาบาลผูป้ ว่ ยนอก ฝา่ ยการพยาบาล ศูนย์การแพทยส์ มเด็จพระเทพรัตน์

คณุ เนตนภา สรุ ินทราช

เนือ้ หา
การรักษาเบ้ืองต้น ของอาการนิ้วเท้าไขว้ คด ผิดรูป ด้วยการพันข้อนิ้วเท้าวิธีเก่ามีปัญหาเรื่องวิธีการที่ยุ่งยาก

ซบั ซ้อน บ่อยครั้งที่มีผู้ป่วยมาขอคาปรึกษาหรือพยาบาลตรวจพบลักษณะการพันนิ้วท่ีผิดทาให้การรักษาไม่เป็นไปตามแผน
และมีข้อจากัดหลายอย่าง อาทิ ต้องเสียค่าใช้จา่ ยในการซอ้ื เทปกาว เทปกาวท้ิงคราบสกปรกและรสู้ ึกเหนอะหนะ ทางทีมผู้
นาเสนอจึงคิดสร้างอุปกรณ์ช่วยดึงนิ้วเท้าไขว้ คด ผิดรูป ให้ผู้ป่วยสามารถนาไปใช้ได้เองอย่างสะดวก โดยประดิษฐด์ ้วยการ
ตดั เย็บจากเศษผา้ และแถบตนี ตุ๊กแก วดั ผลความพึงพอใจจากผปู้ ่วยที่นาไปใช้งาน และติดตามภาวะไมพ่ ึงประสงค์ต่าง ๆ

รปู ท่ี 1 แสดงลักษณะการพันน้วิ เท้าแบบเดิมก่อนการพัฒนา
61

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 5

วตั ถปุ ระสงค์
1. ประดษิ ฐสิง่ ทดแทนการใชพลาสเตอรดึงรัง้ น้วิ เทาไขว คด งอ ผดิ รปู
2. ผูใช้งานมคี วามพึงพอใจตอ่ สิ่งประดษิ ฐ์
3. ไมเกิดภาวะไมพงึ ประสงค์ เชน่ รอยเสยี ดสี หรือมบี าดแผล เป็นต้น

การดาเนินงาน
1. ใช้หลกั การ สังเกตปัญหา ต้ังสมมตฐิ านและวางแผน ออกแบบ ทดลองใช้ วดั ผลและปรบั ปรงุ
2. ขัน้ ตอนการประดษิ ฐ์อุปกรณ์ ใช้วสั ดตุ ่าง ๆ คอื เข็ม ดา้ ย กรรไกร เศษผ้า แถบตนี ตุ๊กแก ยางยืด
3. ได้ผลิตภณั ฑ์ระยะที่ 1 (ดงั รูปท่ี 2) ทดลองนาไปใช้กับผู้ป่วยจริง ติดตามผลพบวา่ มีการเล่ือนหลุดและบางจุดมี
แรงดงึ ที่มากเกนิ ไป จงึ นาไปปรับปรุงเพม่ิ
4. ได้ผลติ ภัณฑ์ระยะท่ี 2 (ดงั รูปท่ี 3,4) ติดตามผลและสรุปผล

รปู ท่ี 2 แสดงลักษณะและการใช้อปุ กรณ์ช่วยดงึ นิว้ เทา้ ไขว้ คด ผดิ รปู ระยะที่ 1

รูปท่ี 3 และ รูปท่ี 4 แสดงอุปกรณช์ ว่ ยดงึ นิ้วเทา้ ไขว้ คด ผดิ รูป และการสวมใส่ ระยะที่ 2
62

ผลงาน CQI เร่ืองท่ี 5

รปู ที่ 5 แสดงวธิ ีการใชอ้ ุปกรณ์ ซ่งึ เปน็ การสวมใสโ่ ดยใชห้ ลักการ “สอด ดงึ รัด” เพียง 3 ขั้นตอน

ผลการดาเนินงาน
1. ไดอ้ ุปกรณช์ ว่ ยดึงน้วิ เทา้ ไขว้ คด ผดิ รปู แบบใหม่ตัดเยบ็ สาเร็จรูป จากเดมิ ซ่ึงไม่เคยมี
2. ผใู้ ช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 90 แพทย์ผ้ดู ูแลยังมคี วามพึงพอใจมากกว่ารอ้ ยละ 90
3. จากการติดตามผลและรบั ขอ้ เสนอแนะจากผปู้ ว่ ยท่ีนาไปใชไ้ ม่พบภาวะไม่พึงประสงค์

ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ผปู้ ่วยสามารถใช้อุปกรณช์ ่วงดงึ น้วิ ได้เอง ซง่ึ ถูกกวา่ คงทนกว่า และใชง้ านไดส้ ะดวกกวา่
2. เกิดผลงานดา้ นนวตั กรรมที่ในอนาคตอาจสามารถสรา้ งเปน็ สินค้าและเพม่ิ มูลคา่ ได้
3. จากความสะดวกในการใช้ ทาใหแ้ พทย์และพยาบาลไม่ตอ้ งเสียเวลาสาธิตวธิ ีดว้ ยเวลานาน ๆ ดงั เช่นวิธกี ารใน
อดีต

บทเรยี นท่ีได้รบั
1. การพัฒนาคุณภาพ ไม่จาเป็นต้องทาแต่สิ่งท่ีมีมูลค่ามาก หรือต้ังเป้าเป็นธุรกิจเท่าน้ัน และไม่ต้องรอให้หัวหน้า
หรือผ้บู รหิ ารเป็นคนทา แต่สามารถลงมือพัฒนาไดต้ ้ังแต่ปญั หาหน้างานท่ีใกล้ตัวเรา
2. ปัญหาทุกอย่างมีทางออกและอาจมีทางออกมากกว่าหนึ่งทาง หากไม่สามารถลงมือปฏิบัติเพียงลาพังได้ ก็ยัง
สามารถขอคาปรกึ ษาหรือรวมกลุ่มกนั หาความรูเ้ พม่ิ เติม หรือปรกึ ษาผู้รู้ในเรอ่ื งน้ัน ๆ

ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ
1. ช่างสงั เกต

63

ผลงาน CQI เรอื่ งท่ี 5

2. มีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะด้านการประดิดประดอย
3. มกี ารติดตามและไมป่ ล่อยปญั หาให้ผ่านเลยไป
4. เอาใจเขามาใสใ่ จเรา กลา่ วคอื รสู้ ึกลาบากแทนผปู้ ว่ ยทีจ่ ะต้องประสบกับความยงุ่ ยากในการพันข้อ

น้ิวเท้าดว้ ยตนเองจากวธิ ีเดมิ ซึ่งมคี วามซับซ้อน
5. ความสมั พนั ธแ์ ละความสามัคคีในหนว่ ยงานท่รี ว่ มกนั สรา้ งสรรค์ ติดตามผล ใหโ้ อกาสและยอมรับฟงั ความ

คดิ เหน็ เพื่อสามารถนาไปทดลองใชง้ านกับผปู้ ว่ ยจรงิ ได้

เจา้ ของผลงาน รับรางวัลรองชนะเลิศผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลปิ ิ รักษาการแทนรองคณบดฝี ่ายดูแลสุขภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

ขอ้ เสนอแนะจากผู้วพิ ากษ์

1. ผศ. ดร.มุกดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ช่ืนชมผู้นาเสนอ
ท่ีเชื่อม่ันว่าทุกปัญหามีทางออก ทั้งยังมีความเสียสละ รู้จักสังเกตปัญหาและสงสัยเพ่ือจะพัฒนา
(กระตุกตอ่ มเอ๊ะ) แล้วไมป่ ลอ่ ยให้ความสงสัยนน้ั ผา่ นเลยไป

64

ผลงาน CQI เรอื่ งที่ 5

2. นพ.ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ชื่นชมผลงานและถามถึงอะไรเป็น
แรงบันดาลใจให้ผู้ช่วยพยาบาลท่ีปกติมีหน้าท่ีช่วยหลังห้องตรวจมีความคิดอยากจะทาสิ่งน้ี ซึ่งผู้นา
เ ส น อ ต อ บ ว่ า เ ห็ น ใ จ ใ น ค ว า ม ย า ก ล า ย า ก ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ที่ จ ะ ต้ อ ง พั น น้ิ ว เ อ ง ด้ ว ย วิ ธี เ ดิ ม ซ่ึ ง ท า ไ ด้ ย า ก แ ล ะ มี
ข้อจากัดเร่ืองราคาจึงอยากจะเป็นส่วนหนึ่งท่ีทาให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวกสบาย และผู้วิพากษ์ยัง
กล่าวชืน่ ชมถึงความช่างสังเกต โดยไม่น่ิงดดู ายปลอ่ ยผา่ นปัญหา ตรงจดุ นจ้ี ะชว่ ยให้เกดิ (Innovation)

3. ผศ. พญ.ปารวี ชีวะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี ในสถานการณ์การทางานจริง
ผู้ช่วยพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพจะเป็นด่านหน้าที่จะต้องเจอกับความไม่พึงพอใจข้อร้องเรียน หรือ
รับฟังคาวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆ จากผู้ป่วยและญาติ ถ้าทุกแผนกนา Concern เหล่านี้มาคิดแก้ปรับปรุง
โรงพยาบาลรามาธิบดีคงจะเกิดนวตั กรรม (Innovation) ขึ้นมาอีกหลายชน้ิ งาน

การสรปุ ตีความโดยทีมถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะจากผู้จดบันทึก

1.วัสดุท่ีใช้ทาต้องคานึงถึงความสะอาด และสามารถถอดเปล่ียน หรือทาความสะอาดได้ง่าย เพราะใช้
กับเท้าซง่ึ เปน็ จดุ อบั และต้องสมั ผัสกบั เหงอื่
2. ต้องมีคาแนะนา ข้อควรระวัง หรือข้อห้ามใช้แจ้งในซองบรรจุแก่ผู้ใช้ทุกคร้ัง เช่น มีโอกาสเกิดกรณี
เลือดไหลเวียนไม่สะดวกอันเนื่องมาจากการรัดที่แน่นเกินไป หรืออาจมีการเสียดสีจนเกิดการ
ระคายเคือง แพ้ ถลอก หรือมีบาดแผลได้
ชอ่ื ผูจ้ ดบันทกึ
นายอุเทน บุญมี
นักเทคโนโลยีหวั ใจและทรวงอก สาขาวชิ าโรคหัวใจ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์

65

ผลงาน CQI เร่ืองที่ 6

ผลงาน จดั ระเบียบพนื้ ทีจ่ อดรถจกั รยานยนต์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
วนั ท่ี 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562
เวลา 14.00 – 15.30 น.
เวลา 14.00-15.30 น.
ห้องประชุม 910 ABC ชน้ั 9
อาคารเรยี นและปฏิบัตกิ ารรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธิบดี
ผนู้ าเสนอ คณุ มัลลกิ า ศรีมาก งานรักษาความปลอดภัย
ฝ่ายกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก สานกั งานคณบดี

เน้ือหา
บุคลากรมีการร้องเรียนเกี่ยวกับเรื่องปัญหาที่จอดรถไม่เพียงพอบ่อยคร้ัง และพบมีการโจรกรรมหมวกนิรภัย

(หมวกกันน็อค) บ่อยคร้ังเช่นกัน จึงทาการสารวจและติดตามปัญหา ผลสารวจพบว่าการจอดรถรวมกันท้ังบุคลากรภายใน
และภายนอกก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวรถและทรัพย์สิน อาทิ รถมีรอยขีดข่วน หมวกนิรภัยถูกโจรกรรม เป็นต้น ซึ่ง
บ่อยครั้งที่กล้องวงจรปิดไม่สามารถจับภาพได้ชัดเจนทาให้ติดตามตัวผู้กระทาผิดไม่ได้ ทางผู้นาเสนอจึงจัดทาโครงการ
พฒั นาทจ่ี อดรถสาหรบั บคุ ลากรขึน้ โดยหลกั PDCA เพอ่ื ทาโครงการแตต่ ิดตามผลอย่างตอ่ เน่อื ง
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพิ่มพนื้ ที่จอดรถจักรยานยนต์แก่บคุ ลากร
2. ลดปัญหาการลกั ทรัพยห์ รอื โจรกรรมหมวกนิรภัย
3. สามารถติดตามตัวผู้โจรกรรมหมวกนริ ภัยได้

66

ผลงาน CQI เรอ่ื งท่ี 6

การดาเนินงาน
ใช้หลัก PDCA

1. วางแผนสารวจปัญหาและหาทางแก้ไข
2. วางแผนหาทางแก้ไข เขียนโครงการ ประเมินค่าใช้จ่าย เบิกจ่ายค่าจ้างบุคลากรในการดาเนินงาน อาทิ ช่าง

รับเหมา
3. ลงทะเบียนผู้มีสทิ ธ์จิ อดรถจกั รยานยนต์ โดยมบี ัตร/สตกิ เกอร์ให้ตดิ ท่รี ถด้วย
4. จดั หาพืน้ ทจ่ี อดเพม่ิ
5. ดาเนินการขีดเส้นช่องจอดและช่องเดินรถใหม่ให้มีจานวนมากขึ้นและกว้างขึ้น ลดการเกิดความเสียหายอัน

เนือ่ งมาจากรอยขดี ขว่ นต่าง ๆ
6. มมี าตรการตรวจสอบ และตดิ ตามตัวผู้โจรกรรมหมวกนริ ภัย
7. ติดตามผลอยา่ ตอ่ เนอ่ื ง
ผลการดาเนนิ งาน
1. บุคลากรมีพนื้ ทจ่ี อดรถจักรยานยนตเ์ พ่ิมขึ้นร้อยละ 41 จากที่คาดหวงั เพียงรอ้ ยละ 30 เกิดจากการจดั หาพ้นื ท่ี

เพิ่ม และขดี เส้นช่องเดนิ รถและช่องจอดใหมใ่ ห้กวา้ งขน้ึ ลดการเกิดรอยขดี ขว่ นของรถ และจดั หาพื้นที่จอดเพ่ิม
เช่นช้นั ใต้ดนิ อาคารหอพักแพทย์ และชัน้ ใต้ดนิ อาคารเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คือขีดเสน้ ชอ่ งจอดใหม่ในพืน้ ที่ต่างๆ
ทั้งส้นิ 900 กว่าชอ่ ง

1.1 อาคารเวชศาสตรฉ์ กุ เฉิน ชั้นใตด้ นิ จากเดมิ 110 ชอ่ ง เป็น 420 ชอ่ ง
1.2 อาคารหอพักแพทย์ ชัน้ ใต้ดนิ จากเดิม 122 ชอ่ ง เปน็ 140 ช่อง
1.3 ข้างอาคารหอพักพยาบาล 110 ชอ่ งเท่าเดิม (ไมส่ ามารถเพิม่ ไดแ้ ตเ่ พ่ิมความปลอดภัยแทน)
1.4 ข้างสนามเทนนิส 125 ช่องเท่าเดิม
1.5 ริมถนนกาแพงเพชร 5 ข้างทางรถไฟ เพม่ิ ทั้งหมดเป็น 120 คนั
2. ลดอบุ ตั กิ ารณ์การเกดิ หมวกนิรภัยถูกโจรกรรมได้ร้อยละ 100 จากเดมิ พบเฉล่ยี 5 ครง้ั /เดือน จนไม่พบเหตุ
ดงั กล่าวเลย
3. ติดตามตัวผู้โจรกรรมได้โดยกลอ้ งวงจรปิดมากขนึ้ จากเดิมร้อยละ 75 เปน็ ร้อยละ 93

67

ผลงาน CQI เรือ่ งท่ี 6

รปู ท่ี 1 แสดงผลการดาเนินงานและตัวช้วี ัด

รปู ท่ี 2 แสดงบตั ร/สติกเกอรอ์ นญุ าตจอดรถจักรยานยนต์ ปจั จบุ นั มผี ลู้ งทะเบยี น 723 ราย

รูปที่ 3 แสดงการขดี เสน้ ช่องจอดและเสน้ ทางเดินรถใหม่
68

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 6

รูปท่ี 4 แสดงการตรวจสอบและตดิ ตามผู้โจรกรรมหมวกนริ ภัย

ประโยชน์ที่ได้รบั
1. บคุ ลากรมีพ้ืนทจี่ อดรถจักรยานยนตเ์ พ่มิ ขนึ้
2. ลดอุบัติการณ์การเกดิ หมวกนิรภัยถกู โจรกรรม
3. หากหมวกนริ ภยั หรือทรัพยส์ ินสญู หายสามารถขอตรวจสอบจากกลอ้ งวงจรปิดและติตดตามตวั ผ้โู จรกรรมได้

บทเรียนที่ได้รับ
1. การพัฒนาคุณภาพบางอย่างท่ีย่ิงใหญ่ ต้องอาศัยการเสียสละท้ังกาลังกาย กาลังความคิด หรือบางคร้ังอาจ
กระทบกับกาลังทรัพย์ส่วนบุคคล และสละเวลาในการระดมทีม ลงมือพัฒนาพัฒนา ซึ่งจุดน้ีอาจประเมินค่า
ผลตอบแทนกลบั มาเป็นเงนิ ไมไ่ ด้
2. ปญั หาท่ีมีผลในเชิงระบบ การจะเปล่ียนแปลงแนวปฏิบัติย่อมไม่สามารถตัดสินใจเพียงคนเดียวหรือหน่วยงาน
เดียวได้ จาเป็นต้องมีการสารวจและรับฟงั ปญั หาจากหลายฝ่ายร่วมกนั

ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็
1. มคี วามเสียสละ เพราะบางขัน้ ตอนต้องมาทาในวันสงกรานต์ซงึ่ เป็นชว่ งเวลาทีไ่ มว่ า่ ใครก็อยากกลบั
บ้านไปอยู่พร้อมหน้าพร้อมตากบั ครอบครวั
2. มีความกล้าที่จะทา เพราะการท่ีได้รับคาติชมร้องเรียนต่าง ๆ หากไม่นามาคิดปรับแก้ หรือกล้าเสนอ
หานทางแก้ไข ย่อมไม่เกิดการพัฒนางาน แต่ทีมรักษาความปลอดภัยและทีมกายภาพน้ัน รู้จักสังเกต
และวางแผนดาเนนิ การแก้ไข ทาใหไ้ ด้ผลการพัฒนาทดี่ ี
3. มีความอดทน อดทนในที่นี้ไม่ใช่อดทนต่อคาวิพากษ์วิจารณ์ในแบบท่ีน่ิงเฉย นิ่งดูดาย และไม่รู้สึกอะไร
เลย หากแต่ความอดทนน้ีหมายถึงการที่งานรักษาความปลอดภัยต้องเป็นด่านหน้าในการพบเห็น
พฤติกรรม หรือรับฟังถ้อยคาวิพากษ์วิจารณ์ท่ีมาจากอารมณ์ต่าง ๆ ทั้งจากผู้มารับบริการและบุคลากร
ด้วยกัน ซ่งึ กอ่ ให้เกิดความเครียดและเสียสุขภาพจิต

69

ผลงาน CQI เรอื่ งท่ี 6

เจ้าของผลงาน รับรางวัลรองชนะเลิศผลงาน CQI
จาก รศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอดุ มลปิ ิ รกั ษาการแทนรองคณบดีฝา่ ยดแู ลสุขภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

ขอ้ เสนอแนะจากผวู้ พิ ากษ์

1. ผศ. พญ.ปารวี ชวี ะอิสระกุล รองผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี กล่าวช่ืนชมทมี กายภาพ และ
เห็นใจในการปฏิบัติงาน และขอบคุณท่ีให้ความสาคัญกับเร่ืองท่ีจอดรถของบุคลากร แม้จะดูมากกว่าของผู้มา
รับบริการบ้าง เพราะบุคลากรเหล่านี้จะต้องมาทางาน มาขับเคล่อื นองค์กร และขอบคณุ ที่ทาให้ผู้ฟังได้ ทราบ
สถิติสัดส่วนตัวเลขท่ีจอดรถในแต่ละพื้นที่ ซึ่งสถิติน้ีไม่บ่อยนักที่จะได้รู้ และแนะนาว่าอยากให้ลอง นาวิธีการ
ของห้างสรรพสินค้ามาปรับใช้ เช่น สามารถจอดรถได้นาน 5 ชั่วโมงฟรีหากมียอดซ้ือตั้งแต่ 700 บาทขึ้นไป
เปน็ ต้น เพื่อให้เกดิ การหมนุ Flow รถเขา้ มาจอดและออกตลอดเวลา

2. ผศ. ดร.มกุ ดา เดชประพนธ์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร โรงเรียนพยาบาล
รามาธิบดี ชน่ื ชมวา่ ทีมนเี้ ป็น ตวั อยา่ งในการ “รู้เรา” เพราะสถติ แิ ละข้อมูลเหลา่ น้บี คุ ลากรรามาธิบดีหลาย
ทา่ นก็ยงั ไม่เคยทราบทั้งท่ีเปน็ เรอ่ื งในองค์กรของเราเอง

3. นพ.ณรงค์ฤทธ์ิ มัศยาอานนท์ ผู้อานวยการศูนย์การแพทย์สิริกิต์ิ กล่าวชื่นชมเร่ืองการนาเครื่องมือ
พัฒนาคุณภาพและ LEAN มาใช้ จนเกิดผลออกมาเป็นรูปธรรมชัดเจน ทั้งยังได้สอบถามเกี่ยวกับ

70

ผลงาน CQI เรอื่ งที่ 6

อุปสรรคหรือความยุ่งยากของทีมในการทางานพัฒนาคุณภาพครั้งน้ี ซ่ึงผู้นาเสนออธิบายว่าพบความ
ยุ่งยากในเร่ืองของเวลาเพราะตลอดท้ังปีมีปริมาณรถมากตลอด การจะปิดและตีเส้นช่องเดินรถและ
ช่องจอดใหม่ให้เป็นระเบียบจึงต้องระดมทีมรักษาความปลอดภัย และทีมกายภาพมาดาเนินการในช่วง
วันหยุดยาว อาทิ เทศกาลสงกรานต์ เป็นต้น อีกท้ังงานเหล่าน้ีมีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและต้นทุน
ต้องมีการเขียนโครงร่างและรออนุมัติเบิกจ่ายตามระเบียบซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาที่นาน การติดตามและ
สรุปผลจึงต้องใช้เวลาถึง 6 เดือน กว่าจะแล้วเสร็จ และกรณี Phase 3 ที่จะนาวิธีการแตะบัตรผ่านมา
ใช้นนั้ กาลงั อยรู่ ะหวา่ งการเบกิ จ่ายและพจิ ารณางบสาหรับดาเนนิ งาน
การสรปุ ตคี วามโดยทีมถอดบทเรียน
ขอ้ เสนอแนะจากผู้จดบนั ทกึ
1. ปัญหาสาคญั ของเรื่องที่จอดรถคือสถานท่ีไม่เพียงพอ การท่ีเราสามารถเพ่ิมพื้นทีใ่ นการจอดรถของบุคลากรได้
น้ัน ส่วนหนึ่งต้องแลกมาด้วยการสูญเสียพื้นที่จอดของผู้ป่วยและผู้มาติดต่อไป ซึ่งอาจเป็นการแก้ปัญหาหน่ึง
แต่เพิ่มอีกปัญหาหนึ่ง (แย่งกันไปมาอยู่ท่ีจะเขียนป้ายว่าให้ใครจอด) ดังน้ันควรคิดวางแผนใหญ่เพ่ือหาหนทาง
แก้ปัญหาที่ยงั่ ยืนมากกวา่ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น การสร้างอาคารจอดรถอย่างถาวรที่มีระบบตรวจตรา
ความปลอดภัยและการจัดการที่ดี เพราะในด้านความรู้สึกหากผู้มารับบริการทราบว่าการมาตรวจรักษาที่
โรงพยาบาลรามาธิบดี จะต้องรบั ความเส่ียงเรื่องที่จอดรถไม่เพียงพอหรืออาจต้องไปจอดในจุดท่ีเส่ียงภัย ย่อม
ไม่มีใครอยากรับความเสี่ยงและอาจตัดสินใจเปล่ียนไปรับการรักษาในสถานพยาบาลอื่น และอาจก่อใหเ้ กิดคา
วพิ ากษ์วจิ ารณใ์ นทางทีไ่ ม่ดี
2. การพัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพด้านกายภาพเป็นเรื่องใหญ่เพราะส่งผลต่อทุกคนในพ้ืนที่ และบางโครงการ
ต้องใช้เม็ดเงินมหาศาลในการทา ดังน้ันในเชิงนโยบายการแก้ไขที่ยั่งยืนควรต้องผสานความร่วมมือกับหลาย
หนว่ ยงานโดยเฉพาะทมี บริหารเพ่อื ใหส้ ามารถบรรลุเป้าหมายและแก้ปญั หาได้อย่างแท้จริง
3. Lean/LEAN คือ แนวคิดในการลดความสูญเปล่า หรือ Waste ซ่ึง LEAN คือ การปรับปรุง การพัฒนางาน
และแนวทางในการดาเนนิ งานดว้ ยวิธตี า่ ง ๆ
ชอื่ ผูจ้ ดบนั ทกึ
นายอเุ ทน บญุ มี
นักเทคโนโลยีหวั ใจและทรวงอก สาขาวชิ าโรคหวั ใจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์

71

ผลงาน CQI เร่ืองที่ 7

ผลงาน 3T: การพฒั นาระบบการดแู ลอย่างไรร้ อยตอ่ ในผปู้ ่วยทม่ี ีภาวะวกิ ฤติจากน้าตาลในเลือดสงู
วนั ที่ 30 สงิ หาคม 2562
เวลา 10.30-11.30 น.
ห้องประชุม 910 ABC ช้นั 9
อาคารเรียนและปฏิบตั ิการรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี
วทิ ยากร พว.รตั นาภรณ์ จรี ะวฒั นะ งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ ฝา่ ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

เนอื หา
โครงการน้ีเป็นการพัฒนาต่อยอดจากโครงการปี 2557 ในการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่มีปัญหา

ซับซ้อนในหอผู้ป่วย เมื่อมีการติดตามผลลัพธ์ของการดาเนินงานในปี 2558 พบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาล
ด้วยภาวะวิกฤติน้าตาลในเลือดสูง ได้แก่ Diabetes Ketone Acidosis (DKA) และ Hyperosmolar Hyperglycemic
State (HHS) เป็นกล่มุ ผปู้ ่วยท่ีต้องการความชว่ ยเหลอื มากทส่ี ดุ เม่ือกลบั บ้าน
ท่ีมา/เหตผุ ล

โดยจากการวิเคราะห์ในผู้ป่วยทีม่ ภี าวะวิกฤตนิ ้าตาลในเลือดสงู พบปัญหาดงั นี้
- ผปู้ ่วยตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ดูแลต่อที่บ้าน รอ้ ยละ 89.3
- ต้องฉดี อินซูลนิ ตอ่ ทีบ่ า้ น ร้อยละ 37.5 มีปญั หาในการควบคมุ ระดับนา้ ตาล
จากปัญหาดังกล่าวในปี 2558 จึงได้มีการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤติจากน้าตาลในเลือดสูงไร้
รอยตอ่ ประกอบด้วย 3T: Team Multidisciplinary , Transition , Telehealthโดยดาเนนิ การปรับปรงุ พฒั นาอยา่ ง
ต่อเนอ่ื ง (PDCA) จนถึงปัจจบุ นั
วตั ถุประสงค์
เพ่ือให้มีระบบการดูแลผ้ปู ่วยท่ีมีภาวะวิกฤติจากนา้ ตาลในเลือดสงู ไร้รอยต่อ โดยเช่ือมโยงระหว่างทีม Team ,
Transition , Telehealth เพื่อผู้ป่วยได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง และควบคุมระดับน้าตาลได้ดีมากข้ึน
เพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพ มาตรฐานการดูแลผูป้ ว่ ยท่ีมีภาวะวกิ ฤติจากนา้ ตาลในเลือดสงู ทโ่ี รงพยาบาลรามาธบิ ดี

72

ผลงาน CQI เรื่องท่ี 7

วเิ คราะห์ปัญหา
จากการวเิ คราะห์ระบบบรกิ ารท่ผี ู้ป่วยได้รบั ตั้งแต่ในหอผู้ป่วย จนจาหนา่ ยจากโรงพยาบาลเพ่ือดูแลตนเองตอ่ ที่

บา้ น และกลบั มาตรวจตามนัดทโี่ รงพยาบาล พบปญั หาดงั นี้

ปญั หาที่พบ กรณีที่ 1 (ขณะนอนในโรงพยาบาล)
ร้อยละ 29 ของผู้ป่วย DKA/HHS ไม่ได้รับการส่งปรึกษาทีม ไม่มีเกณฑ์ที่ชัดเจนในการส่งปรึกษา ขาดระบบ

การสื่อสารทมี่ แี บบแผนในทีม
ปัญหาที่พบ กรณีที่ 2 (กระบวนสอนเอกสารและส่ือ)

แบบบันทึกมีเอกสารจานวนมากไม่เหมาะสมกับการใช้งาน ส่ือการสอนขาดความน่าสนใจ หลักการให้ความรู้
ไม่เป็นไปตามมาตรฐานระดับสากล (Diabetes Self-Management Education : DSME) ที่มีเน้ือหาครอบคลุม
(American Association Diabetes Educators : AADE 7 self-care behavior )
ปญั หาที่พบ กรณีท่ี 3 (กระบวนการวางแผนจาหน่าย)

ขาดการวางแผนจาหน่ายล่วงหนา้ ผ้ปู ว่ ยจึงได้รับความรู้ในวนั ท่ีจาหนา่ ยออกจากโรงพยาบาล ในผทู้ ช่ี ่วยตนเอง
ไมไ่ ด้ ต้องใช้เวลาในการคน้ หาแลเ้ ตรยี มความพร้อมของผู้ดูแล ทาใหผ้ ูป้ ว่ ยตอ้ งนอนโรงพยาบาลนานข้ึน
ปญั หาท่ีพบ กรณที ่ี 4 (หลังจาหนา่ ยจากโรงพยาบาล)

ผปู้ ่วยร้อยละ 89.3 ได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซลู ินต่อท่ีบ้านทาให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่า
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีเครื่องตรวจน้าตาลทาให้ไม่สามารถประเมินค่าน้าตาลของตนเองได้ และไม่มีแนวปฏิบัติเพ่ือ
ประสานงานกับแพทย์ทีช่ ดั เจนเมื่อพบปัญหาในการดูแลตนเองของผปู้ ่วย
ปญั หาท่ีพบ กรณีที่ ๕

ผ้ปู ่วยขาดแรงจูงใจ และมีพฤตกิ รรมดแู ลตนเองท่ีไม่ต่อเนื่อง
แนวทางแกไ้ ขปัญหา

73

ผลงาน CQI เรอ่ื งที่ 7

แนวทางแกไ้ ข ที่ 1
สรา้ งทีม (Team: Multidisciplinary) ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพ (Skill Mix) มีการพัฒนาศักยภาพอย่าง

ต่อเนอ่ื ง (Train the Trainer) Round ward ร่วมกันทกุ จันทร์ พธุ และศุกร์ เพ่ือวางแผนการดูแลผู้ป่วยร่วมกันโดยยึด
“ผู้ป่วยเป็นศูนยก์ ลาง”
แนวทางแกไ้ ข ที่ 2

Transition พัฒนาแบบบันทึกท่ีครอบคลุม AADE7 พัฒนาส่ือการสอนให้ทนั สมยั ให้ความร้แู ละฝกึ ทักษะตาม
มาตรฐานสากล (DSME) วางแผนการเตรียมจาหน่ายล่วงหน้าจากการ round ward ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ สนับสนุน
การดูแลตนเอง เชน่ อุปกรณฉ์ ีดอนิ ซูลิน เครอื่ งเจาะน้าตาลปลายน้ิว และสมดุ บนั ทึก เป็นต้น
แนวทางแกไ้ ข ท่ี 3

Telehealth พฒั นาระบบการประสานงานกับแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพ (ปรับแผนการรักษา) พัฒนาใบ
เซ็นยินยอมการติดตามทางโทรศัพท์ (Consent form) ติดตามและสนับสนุน สร้างแรงจูงใจในการดูแลตนเอง รวมถึง
การฉีดยา เจาะน้าตาลปลายน้ิว ตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuing Care) แม้
ผปู้ ่วยจาหนา่ ยออกจากโรงพยาบาลแลว้ กต็ าม
ตวั ชวี ัดการปฏบิ ัตงิ าน

จากการปรับพฒั นาอย่างต่อเนือ่ งตลอด 4 ปีตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2558-2561
- ผู้ป่วยมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังได้รับการดูแล ตั้งเป้าหมายไว้ ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยทั้งหมด ผลเกินเป้าหมาย

คอื ร้อยละ 95
- ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้ังเป้าหมายไว้ 60%ของผู้ป่วยทั้งหมด ผลเกินเป้าหมาย คือ ระหว่าง ร้อย

ละ 85-92
- ค่าน้าตาลเฉล่ีย (Hba1c)ในผู้ป่วยลดลง ตั้งเป้าหมายไว้ ร้อยละ 0.75 ของผู้ป่วยท้ังหมด ผลท่ีได้คือ ร้อย

ละ 1.7-3.5
- ความพึงพอใจของผปู้ ่วยอยู่ที่ระดับมากทส่ี ุด ตัง้ เป้าหมายไว้รอ้ ยละ 80 ของผู้ป่วยท้งั หมด ผลท่ีได้คือ รอ้ ย

ละ 94-95

74

ผลงาน CQI เรือ่ งที่ 7

ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั
ผปู้ ่วย/ญาติ

ไดค้ วามรู้/เพม่ิ ทกั ษะการดแู ลตนเอง ควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลอื ดไดด้ ี พงึ พอใจการรับบริการ
ผ้ใู ห้บรกิ าร

ได้พัฒนาศกั ยภาพ ทางานเป็นทีมสหสาขาวชิ าชีพองค์กร มีมาตรฐานในการดแู ลผู้ป่วยโรคเบาหวานในระดับ
สากล และการใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั
โอกาสพฒั นา

พัฒนาศกั ยภาพของทีมใหน้ างานประจาสู่งานวจิ ัย (R2R) การขยายผลให้บริการผู้ป่วยเบาหวานในคลินิกต่าง ๆ
เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ และเปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู านให้แก่องค์กรต่าง ๆ
ปัจจัยแห่งความสา้ เร็จ

ผู้บรหิ ารสาขาต่อมไร้ท่อภาควิชาอายุรศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล ทีมสหสาขาวิชาชีพร่วมปรับพฒั นาระบบงาน
อย่างตอ่ เนอื่ ง

เจา้ ของผลงาน รบั รางวัลชนะเลิศ
จาก รศ.นพ.สรุ ศักดิ์ ลลี าอุดมลปิ ิ รักษาการรองคณบดฝี า่ ยดูแลสขุ ภาพ และผ้อู านวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี

ขอ้ แนะนา้ จากผวู้ พิ ากษ์ : ศ.เกยี รติคุณ พญ.ศิริวรรณ จิรสิรธิ รรม ภาควิชาวสิ ญั ญวี ิทยา
สิ่งทนี่ า่ ช่นื ชมชืน่ ชม

1. ทมี งานมีความพยายาม ตัง้ ใจ ในการปรบั พฒั นางานอย่างต่อเนอ่ื งตั้งแต่ ปี พ.ศ.2556-ปีปัจจบุ ัน
2. ทมี สหสาขาวิชาชพี ผู้รบั ผดิ ชอบในแตล่ ะกระบวนการทเี่ ขา้ ร่วมชดั เจนเปน็ สายงานการให้บรกิ ารทดี่ ี
โอกาสพัฒนา
1. การเขียนโครงงาน แนวทางปฏิบัติ ไม่เป็นรปู ธรรม เช่น การให้ความร้กู ับผู้ปว่ ยให้อย่างไร? ใครเป็นผสู้ อน?
ไม่มีตัวเลขวัตถุประสงค์ที่จะเห็นได้อย่างชัดเจน ผู้ป่วยได้รับความรู้เฉลี่ยเพ่ิมขึ้น เพ่ิมอย่างไร? ผู้ป่วยปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรม ปรับอะไร?

75

ผลงาน CQI เรื่องที่ 7

2. การใชเ้ ทคโนโลยมี าช่วยระบบที่ปรบั พัฒนา ช่วยอยา่ งไร ปรบั อะไร?การใหบ้ ริการต้องไมพ่ ดู ถึง ความคมุ้ คา่ /
คุ้มทนุ

3. ตวั ชี้วัดไมต่ รงกนั กรณคี ่าน้าตาลเฉล่ยี (Hba1c) ระบใุ นตารางตัวชว้ี ดั ร้อยละ 0.5 แต่กราฟร้อยละ 0.75
4. ไมม่ ีการนาเสนอออกนอกภาควชิ า
5. การพัฒนาระบบปฏบิ ตั ิงานในวงรอบต่อไปสามารถทาได้ แต่ต้องมขี ้อมูลทีเ่ ป็นรูปธรรม ถูกตอ้ ง ชัดเจน
ชอ่ื ผจู้ ดบันทกึ
นางสมปอง ไตรศลิ ป์
หนว่ ยสทิ ธิประโยชนผ์ ู้รบั บรกิ าร งานบริหารการรักษาพยาบาล

76

การนาเสนอผลงานช่วง
Dean’s Innovation Awards

ผลงาน Dean’s Innovation Awards

ผลงาน Inventory Distribution Center: IDC “คนื พนื้ ท่คี ลงั วัสดุ”
วนั ท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
เวลา 14.00 – 15.30 น.
ห้อง 910 ABC

อาคารเรยี นและปฏบิ ัตกิ ารรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี ชน้ั 9
ผูน้ าเสนอ นายจเร ท่ังโต งานบริหารพัสดุ ฝ่ายการพสั ดุ สานักงานคณบดี

นายจเร ทัง่ โต

เนอ้ื หา
งานบริหารพัสดุ ฝ่ายการพัสดุ สานักงานคณบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการ

บริหารจัดการคลังวัสดุท่ัวไปท่ีสนับสนุนทุกพันธกิจ เพื่อทุกหน่วยงานภายในคณะฯสามารถขับเคล่ือนภารกิจของ
หนว่ ยงานของตนได้อย่างต่อเนือ่ ง ในช่วงที่ผา่ นมาได้มี การจดั ระเบียบพื้นท่ีคลงั วัสดุท่ัวไปเพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการ
เบิก-จ่ายกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ซึง่ ท่ีจัดเกบ็ วัสดุสารองคลงั ทงั้ 3 แห่ง มีดงั น้ี

- พืน้ ที่บรเิ วณอาคาร 3 ชน้ั 2 (พ้ืนที่จดั วาง 452 ตารางเมตร)
- ศนู ย์การแพทย์สมเดจ็ พระเทพรตั น์ ชั้น B2 (พ้นื ท่จี ัดวาง 205.57 ตารางเมตร) และชนั้ B3 (พน้ื ทีจ่ ดั วาง
510.05 ตารางเมตร) (รวมพื้นทที่ ้งั สิน้ จานวน 714.62 ตารางเมตร)
ในการจดั การวสั ดุ ที่มีคลังสารองวัสดุ 3 แห่งนั้น กลบั ส่งผลให้เกิดปญั หา ตา่ ง ๆ เชน่ ปญั หาการจัดส่งวัสดุจาก
ผู้ขาย (ส่งผิดที่) วัสดุคงคลังมีจานวนสูง วัสดุไม่เคล่ือนไหวตกรุ่น ผู้ขายจัดส่งวัสดุช้ากว่ากาหนดเกิด ความไม่คุ้มค่ากับ
ผู้ปฏบิ ตั ิงาน สูญเสียระยะเวลา และพลงั งานโดยไม่เกิดประโยชน์ สง่ ผลถึงการส่งมอบวัสดุให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายใน
โรงพยาบาลรามาธบิ ดี “ลา่ ชา้ ”
กรอบแนวคดิ /การวเิ คราะหห์ าสาเหตุ (Root cause analysis)
งานบริหารพัสดุ จึงวิเคราะห์สาเหตุปัญหาที่เกิดขึ้นท้ังกระบวนการ Supply Chain กระบวนการพัฒนา
คณุ ภาพ PDCA การในเครื่องมอื Priority Matrix การนาทฤษฎกี ารมองเหน็ โดยใช้สี จาแนกระบบหมวดหมู่ของวสั ดุ
หรือ ปิด Sticker ในบรรจุภัณฑ์ท่ีจดั ครบถ้วนแลว้ (ระบบป้องกันความผดิ พลาด POKA YOKA) เพ่ือใช้ร่วมกับการปรับ
พฒั นาระบบการปฏิบัติงานท่เี กิดปัญหา

78

ผลงาน Dean’s Innovation Awards

กระบวนการทางาน(Workflow)
ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2558-2560 งานบรหิ ารพัสดุได้มีการปรับพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานอยา่ งต่อเน่อื ง ตามผลงาน

ด่านล่างน้ี

เครือ่ งมอื ท่ีใช้ PDCA กระบวนการปฏบิ ัติงานโดยรวม ท้งั Supply chain ดา้ นการพสั ดุ

ตวั ช้วี ดั ผลดาเนินการ

ภาพแสดงการเคลอ่ื นท่ี ของผเู้ กยี่ วขอ้ งในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นการบรหิ ารวสั ดุ ที่หลังคืนพนื้ ทจี่ ะเคลือ่ นไหวและใชเ้ วลาน้อยลง
79

ผลงาน Dean’s Innovation Awards

ผลการปรับปรงุ /ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับเม่อื ดาเนินงานเสร็จสนิ้
การจดั หา

 กระบวนการ Round Store สนับสนนุ การจัดหา
 ระบบคานวณจุดสั่งซื้อ ระบบรายงานค่าใช้จ่ายโดยใช้โปรแกรม Power BI
 พัฒนาระบบคานวณจุดส่ังซ้ือในระบบ SAP ที่เรียกว่า MRP (Material Resource Planning) โดยฝ่าย
สารสนเทศชว่ ยพัฒนาสตู รคานวณจุดสั่งซือ้ ใหเ้ หมาะสมกับบริบทของคลัง งานบรหิ ารพัสดุ ซึ่งสามารถลดขั้นตอนในการ
คานวณจุดส่งั ซือ้ ได้
การเบิกวสั ดุ 000
 เพ่มิ รอบการเบิกพสั ดุ (ยกเว้น SDMC) จากเดอื นละ 1 คร้ัง เป็น 2 ครง้ั (พืน้ ท่วี ่างเพมิ่ ขึน้ )
การจัดเก็บ และการจดั จ่ายวสั ดุ
 จดั เกบ็ วสั ดุ ตามระบบตรวจรบั ท่กี าหนดใน WI
 การจดั จา่ ย ต้องผ่านตรวจสอบความถูกต้องพร้อมการปดิ Sticker ที่บรรจุภัณฑ์ (ในตาแหน่งที่ป้องกันการ
แกะ/ฉีก เพ่ือนาวัสดุออกในระหว่างการขนส่ง) เจ้าหน้าท่ีคลังวัสดุ และเจ้าหน้าท่ีขนส่งตรวจสอบแบบฟอร์มท่ีกาหนด
รว่ มกัน วสั ดุบรรจภุ ณั ฑ์อยู่ในสภาพสมบรู ณ์ จงึ ดาเนินการขนสง่ วัสดุไปยงั หน่วยงานตอ่ ไป
ด้านการจัดการผู้ขาย
 ฝ่ายการพัสดุ มีระบบการปฏิบัติงานตามขอ้ กาหนด ISO 9001:2015 กรณกี ารประเมนิ ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย
ทง้ั หนว่ ยงาน ผูร้ บั บริการ และผู้ขาย ทถ่ี อื เปน็ ส่วนสาคัญของระบบ Supply chain
การเรียนร/ู้ ขยายผล
 สามารถวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิด เพ่ือหาแนวทางแก้ไข เช่น การนาระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ
พัฒนาระบบปฏิบัตงิ าน เกิดประโยชน์กบั ทุกฝา่ ย ทัง้ ภายในและภายนอกองคก์ ร
การควบคุม/ติดตาม/ประเมนิ ผล/ปอ้ งกนั การเกดิ ปญั หาซา้
 ปรบั พัฒนาระบบ การปฏิบตั งิ าน ด้านการจัดหา การเบิกวัสดุ การจัดเกบ็ /จัดจ่ายวสั ดุ การจดั การกับผู้ขาย
การควบคุมระบบภายใน ประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน ระบบการปฏิบัติงานตามข้อกาหนด
ISO 9001:2015
โอกาสพฒั นาในครั้งตอ่ ไป
ออกแบบระบบการ เบิก-จ่าย วัสดุระบบใหม่ ให้เป็นระบบเดียว Single System คือ RIMO (ปัจจุบันมี 2
ระบบ SAP และRROP) และรวมถึงการ เบกิ -จ่าย วสั ดุใหเ้ ปน็ แบบ ปลอดเอกสาร (Paper less)
นากระบวนการปฏิบัติงานที่ปรับพัฒนา และประสบความสาเร็จแล้ว เข้าสู่ระบบการปฏิบัติงานท่ีสถาบัน
การแพทยจ์ กั รีนฤบดินทร์ เพอ่ื ปรับใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ระบบงานต่อไป

80

ผลงาน Dean’s Innovation Awards

ปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็ “หนึ่งในฤทัยฉัน คือ รามาธิบดี”

ขอ้ แนะนาจากผู้วิพากษ์ : ศ.เกยี รติคณุ พญ.ศริ ิวรรณ จิรสริ ธิ รรม ภาควิชาวสิ ญั ญวี ิทยา
สงิ่ ทน่ี ่าชืน่ ชม

1. เปน็ ผลงานการปรับพัฒนาระบบงานที่ดี เช่น การเช่อื มโยง การลดวงรอบ ประหยดั ค่าใช้จา่ ย
2. มีการประสานงานด้านการพัสดุกับหน่วยงานภายใน/ภายนอกองค์กร (จัดซื้อ) ด้วยระบบท่ีมีความปลอดภัย

สูงโดยการนาระบบสารสนเทศ (รามาธบิ ด)ี สรา้ งโปรแกรมเขา้ มาช่วยในการปฏบิ ตั งิ าน
3. สร้างพันธมิตรกับบริษัทผู้ค้าท่ัวประเทศในการเจรจาภาคธุรกิจด้านการขาย และสร้างแรงจูงใจให้กับบริษัท

ผคู้ า้ เชน่ ความเชอื่ ใจและความมมี ติ รภาพท่ีดตี ่อกนั ในการสัง่ ซ้ือสินค้า เป็นต้น
4. เป็นผลงานการปรับพัฒนาระบบงานที่ดี เช่น การเช่ือมโยง การลดวงรอบ ประหยัดค่าใช้จ่าย การนา

หลกั เกณฑ์ PDCA มาปรบั พัฒนาระบบปฏบิ ัติงาน และเข้าสรู่ ะบบ ISO 9001:2015

81

ผลงาน Dean’s Innovation Awards
โอกาสพัฒนา

1. การควบคมุ /ตดิ ตาม/ประเมินผล/ป้องกันการเกิดปัญหาซา้ ด้านการจดั เก็บ และจดั จ่ายวัสดุ ยังไม่ชัดเจน ควร
มีตวั อยา่ ง นาเสนอในกรณีต่าง ๆ เพื่อเปน็ แบบอย่างใหก้ ับโรงพยาบาลอืน่ ท่สี นใจ

2. ตัวช้ีวัดกรณีการคืนพ้ืนที่ให้กับส่วนกลาง (ตารางเมตร) ปรับในคร้ังที่ 1 เพียงคร้ังเดียว ซึ่งควรระบุให้ชัดเจน
ด้านระยะเวลา และจานวนคร้ัง รวมถึงควรคานวณราคาพ้ืนที่ท่ีสามารถปรับคืนให้คณะฯ เป็น จานวนเงิน
เท่าไหร่ จากจานวนพ้ืนที่ 775.82 ตารางเมตร

เจา้ ของผลงาน รับรางวัล Dean’s Innovation Awards
จาก รศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอุดมลปิ ิ รักษาการรองคณบดฝี า่ ยดูแลสุขภาพ และผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี

การสรุปตคี วามโดยทมี ถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะจากผจู้ ดบันทกึ

“คืนพื้นท่ีคลังวัสดุ”ลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น ลดภาระในการเก็บรักษา มีปริมาณ Stock เหมาะสม
เพียงพอ และสามารถให้บริการไดต้ ่อเนอ่ื ง ตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ไม่มีวสั ดุขาด
ชื่อผจู้ ดบนั ทกึ
นางสมปอง ไตรศลิ ป์
หน่วยสิทธปิ ระโยชนผ์ ู้รับบริการ งานบริหารการรักษาพยาบาล

82

ขอขอบคุณ

ขัดเกลาสานวนบทความ

อาจารยส์ ธุ ีร์ พุม่ กุมาร อุปนายกสมาคมนักกลอนแหง่ ประเทศ
วิทยากร/ทีป่ รึกษา/โคช้ บรษิ ัท ดิ อัลทเิ มท ลีดเดอร์ จากดั
อาจารย์จตพุ ร วศิ ิษฏ์โชติองั กูร ภาควชิ าพยาธวิ ิทยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี
ทปี่ รกึ ษาโรงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจรยิ า ไวศยารทั ธ์

รศ.ดร.พรรณวดี พุทธวัฒนะ

ผ้จู ัดงานมหกรรมคุณภาพ รงุ่ เรอื งวานิช รองคณบดฝี า่ ยคณุ ภาพ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ มะลิ ปญุ ญทลงั ค์ ผู้ช่วยคณบดฝี า่ ยคณุ ภาพ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนุชิต คุณากร ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
รองศาสตราจารย์ นายแพทยม์ งคล

บรรณาธกิ าร ภาควชิ าพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงจรยิ า ไวศยารทั ธ์

ภาพประกอบ
ภาพถา่ ยอาคาร จาก http://med.mahidol.ac.th/stockphotos/

83








ภาคผนวก








กำหนดกำรงำนมหกรรมคุณภำพ (Quality Conference) ครั้งที่ 26 คณะแพทยศำสตรโ์ รงพยำบำลรำมำธบิ ดี
“เรยี นรู้เพิ่มคณุ คำ่ พัฒนำรำมำธิบดีอยำ่ งยง่ั ยนื ”
ระหว่ำงวันท่ี 29-30 สิงหำคม 2562
ณ ห้องประชุม ชน้ั 8-9 อำคำรเรียนและปฏบิ ตั ิกำรรวมด้ำนกำรแพทย์และโรงเรยี นพยำบำลรำมำธบิ ดี

วนั พฤหสั บดที ่ี 29 สิงหาคม 2562

08.00 – 08.40 น. พธิ เี ปดิ
09.00 – 10.00 น. บรรยำย จำกรำมำฯ สศู่ ำลำยำ เสน้ ทำงเรียนรทู้ ่ีไมส่ ้ินสดุ

รศ. นพ.ธนั ย์ สภุ ัทรพันธุ์ รกั ษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล
10.00 – 10.55 น. เย่ยี มชมนิทรรศการ
10.55 – 11.15 น. อว้ นแล้วไง ทาไมตอ้ งกลวั Season 3

ศ.เกยี รตคิ ณุ นพ.สุรัตน์ โคมินทร์ และ รศ. ดร.ปรยี า ลฬี หกลุ
11.15 – 12.00 น. นาเสนอเรื่องเลา่ เรา้ พลงั
13.00 – 14.00 น. บรรยำย รำมำธบิ ดที ่ีมหี วั ใจ

คุณพจนารถ ซีบังเกดิ (โคช้ จิมม่)ี ประธานกรรมการและผูก้ อ่ ตง้ั กลมุ่ บริษัท จิมม่ี เดอะ โคช้
14.00 – 15.30 น. การนาเสนอผลงาน CQI

วันศุกรท์ ี่ 30 สิงหาคม 2562

09.00 – 10.00 น. เสวนำ : คน้ หำแรงบันดำลใจ...เพื่อสร้ำงกำรเปลย่ี นแปลง
น.ต.นธิ ิ บญุ ยรตั กลนิ กรรมการผถู้ อื หนุ้ บรษิ ทั เคพเี อ็น บางกอก กรปุ๊ จากดั
บริษทั เคพีเอน็ แมเนจเมนท์ จากดั
ผศ. ดร.ปรยี าสิริ วฑิ ูรชาติ ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ่อื ความหมายและความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื
ความหมาย (ผู้ดาเนนิ รายการ)

10.30 – 11.30 น. นาเสนอผลงานชว่ ง Dean’s Innovation Awards
13.00 – 14.00 น. เสวนำ : เสริมพลงั ...สรำ้ งศักยภำพ ดว้ ยพลงั บวกทำงควำมคดิ

นพ.สมทิ ธิ์ อารยะสกุล(หมอโอ๊ค) แพทยผ์ ูเ้ ช่ียวชาญดา้ นผิวหนัง นกั รอ้ ง พธิ กี ร
คุณปาณสิ รา อารยะสกลุ (คุณโอปอล)์ นักแสดง พิธกี ร ดเี จ นกั รอ้ ง นกั ธรุ กจิ
อ. พญ.จิราภรณ์ อรณุ ากรู ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ (ผดู้ าเนินรายการ)
14.00-15.00 น. พิธมี อบรางวลั พิธปี ิด

85

รายช่ือทมี ถอดบทเรียน

งานมหกรรมคณุ ภาพ (Quality Conference) คร้งั ท่ี 26
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

1. นายพชั ระกรพจน์ ศรปี ระสาร งานการพยาบาลป้องกันโรคและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
2. นางสาวนนั ทิตา จุไรทศั นยี ์ งานการพยาบาลป้องกนั โรคและสง่ เสริมสุขภาพ
3. นางอัญชลี สมโสภณ งานการพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์
4. นางรงุ่ ทพิ ย์ ประเสรฐิ ชยั งานการพยาบาลจิตเวชและสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ
5. นางสาวนาตยา จุลลา งานการพยาบาลจติ เวชและสง่ เสรมิ สุขภาพจติ
ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี
6. นางสมปอง ไตรศลิ ป์ หน่วยสทิ ธปิ ระโยชนผ์ รู้ ับบริการ
งานบริหารการรักษาพยาบาล
7. นายอุเทน บุญมี ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์
ภาควชิ าวสิ ญั ญีวิทยา
8. นางสาวเพ็ญศริ ิ พ่มุ หิรญั

86

คณะผู้จดั ทำ
งานพัฒนาคุณภาพงาน สานกั งานคณบดี

คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

87



คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล


Click to View FlipBook Version