The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-12-13 05:34:13

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์2

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์2

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วชิ า ว 21102

รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ 2

จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ 3 คาบ/สัปดาห์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

ปกี ารศึกษา 2563

จัดทำโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ

กล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาการมธั ยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

1

a

หลกั สตู รรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวชิ า.... ว 21102...รายวิชา....วทิ ยาศาสตร.์ .2.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกิต ....3..... คาบ/ สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี ...2... ปีการศกึ ษา …2563…..

จดั ทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........

ตำแหน่ง ....ครูชำนาญการพเิ ศษ...........

กล่มุ สาระการเรียนรู้.....วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี......
โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาการมธั ยมศกึ ษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

2

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับนี้จัดทำขึ้นเพ่ือเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว
21102 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ และจดั ทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรยี นการสอนตลอดจนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของผู้เรยี นโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 1 ตอ่ ไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์
ชอ่ื ผจู้ ัดทำ

3

1. หลักการและจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ทมี่ ีความ
สมดุลท้ังด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ ม่ันในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั บนพ้นื ฐานความเชื่อว่า
ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มหี ลักการทส่ี ำคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กับความเป็นสากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถ่นิ

4. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ี มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้ านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้

5. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญ า มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกดิ กับผเู้ รยี น เม่ือจบการศกึ ษาขั้น
พน้ื ฐาน ดังน้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มีสขุ นิสยั และรักการออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

4

5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทม่ี งุ่ ทำประโยชน์และสรา้ งสิง่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ

2. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสือ่ สาร ท่มี ีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอื่ นำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชญิ ได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และก าร
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสนิ ใจท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวให้
ทันกบั การเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ
ต่อตนเองและผูอ้ ่ืน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ
อยูร่ ่วมกับผอู้ ่ืนในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซือ่ สัตย์สุจรติ
3. มีวินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง

5

6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

4. วิสัยทศั นข์ องโรงเรียน

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เป็นโรงเรยี นส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ เพ่อื พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้
คู่คณุ ธรรม บนพื้นฐานความเปน็ ไทยและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกจิ

1) จัดการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
2) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
3) การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
4) พัฒนาชุมชน สงั คม ธำรงสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เปา้ ประสงค์
1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทนบุญคุณ

บิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพ่ือนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกส่ิงช่ัว
ประพฤตติ ัวดี มนี ้ำใจ ให้เกยี รตกิ นั และมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตร

2) ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการสบื สาน อนุรักษ์ ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3) ผู้เรยี นนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการดำเนินชีวติ
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สรา้ งสรรค์ และร่วมกนั รับผดิ ชอบสงั คม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศักยภาพ
7) ครแู ละบุคลากรมคี วามรู้และจรยิ ธรรม มศี ักยภาพในหน้าท่ขี องตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดล้อมและการบรกิ ารทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้
9) สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอ่ืนๆทเ่ี กี่ยวข้อง เนน้ การมีส่วนรว่ มของผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยในการพัฒนาโรงเรยี น

6

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธิบายรายวิชา

โครงการสอนรายวชิ า
รหัสวิชา ว21102 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 2
จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วดั (แกนกลาง)
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลื่อนทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
เสียง แสง และคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
สง่ิ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม

คำอธิบายรายวชิ า (ดรู ายละเอียดจากหลักสูตร)
ศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามรอ้ นกับการเปลย่ี นแปลงของสสาร การถา่ ยโอนความรอ้ น ลมฟา้ อากาศรอบตวั

มนุษย์กับการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ ท้ังน้ีโดยใช้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายและ
วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อ ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นนำเสนอแนว
ทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ท่ี
เกิดขึ้น พร้อมท้ังหำแนวทางการปรับปรุงแก้ไข เพ่ือแก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ
ปลอดภยั

เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงทีเ่ รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ
การแกป้ ัญหา การนำความรูไ้ ปใช้ในชีวิตประจำวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคำ่ นยิ มที่เหมาะสม

7

มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอยี ดจากหลกั สตู ร)
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่อื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ
เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อ
ส่ิงมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม

ตัวช้ีวัด หรอื ผลการเรียนรู้
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
รวมตัวชี้วัด 16 ตวั ชี้วัด

6. ตารางโครงสรา้ งรายวิชา

ลำดับ ชื่อหน่วยการ ตวั ช้ีวดั หรอื สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
(ช่วั โมง) คะแนน
ท่ี เรยี น ผลการเรียนรู้

1 พลงั งานความ ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 พลงั งานความร้อนกับการเปล่ียน 33 30

รอ้ น ว 2.3 ม.1/1 สถานะของสสาร

ว 2.3 ม.1/2 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความดัน

ว 2.3 ม.1/3 อากาศกับความสูงจากพืน้ โลก

ว 2.3 ม.1/4 คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้

ว 2.3 ม.1/5 สสารเปล่ียนอุณหภูมแิ ละ

ว 2.3 ม.1/6 เปลีย่ นสถานะ โดยใชส้ มการQ

ว 2.3 ม.1/7 = mcΔt และ Q = mL

การขยายตวั หรือหดตวั ของสสาร

การนำความร้อน การพาความ

ร้อน การแผร่ งั สคี วามร้อน

8

สอบกลางภาค 1 20
30
2 กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 การแบง่ ช้นั บรรยากาศ และ 27
20
เปลีย่ นแปลง ว 3.2 ม.1/2 เปรยี บเทยี บประโยชนข์ อง -
100
ลมฟา้ อากาศ ว 3.2 ม.1/3 บรรยากาศแต่ละช้ัน

ว 3.2 ม.1/4 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการเปล่ียนแปลง

ว 3.2 ม.1/5 องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ

ว 3.2 ม.1/6 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุ

ว 3.2 ม.1/7 ฝนฟ้าคะนองและพายหุ มนุ เขต

ร้อน

การพยากรณ์อากาศ

สอบปลายภาค 1

จติ พสิ ยั -
รวม 60

อตั ราสว่ นคะแนน

คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …-..

รวม 100 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คุณลกั ษณะ / จติ พสิ ยั = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20. คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น

สัปดาห/์ หน่วยการเรยี นร/ู้ เน้ือหา ตัวชว้ี ัด/ กจิ กรรม / เวลา
แผนการ ผลการเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
เรยี นรูท้ ี่
19
1-4 หนว่ ยพลงั งานความร้อน ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ความร้อน -แบบจำลองอนุภาคของ ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 -การสร้างแบบจำลอง
กบั การ สสาร ,1/3 ,1/4 ,1/5 -การทดลอง
เปล่ยี นแปลง -ความรอ้ นกับการ -การคดิ คำนวณ

9

ของสสาร เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ ว 2.3 ม.1/5 ,1/6 -การจำแนกประเภท 14
สสาร 1/7 20
-ความร้อนกับการขยายตวั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
หรอื หดตวั ของสสาร -การสรา้ งแบบจำลอง 7
ความร้อนกับการเปลี่ยน -การทดลอง
สถานะของสสาร -การคดิ คำนวณ
-การจำแนกประเภท
5-7 หน่วยพลังงานความร้อน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การถา่ ยโอน -การถ่ายโอนความร้อนใน -การสร้างแบบจำลอง
ความรอ้ น ชวี ติ ประจำวัน -การทดลอง
-การหาความสัมพนั ธ์
-สมดุลความรอ้ น -การจำแนกประเภท
-การคดิ คำนวณ
8-14 หนว่ ย กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 ,1/2,
ลมฟา้ เปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ 1/3,1/4 , 1/5 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อากาศ -บรรยากาศ -การสร้างแบบจำลอง
รอบตัว -อุณหภมู อิ ากาศ ว 3.2 ม.1/3,1/6 , -การทดลอง
1/7 -การหาความสมั พนั ธ์
-ความกดอากาศและลม -การจำแนกประเภท
-ความชื้น -การคดิ คำนวณ
-เมฆและฝน
-การพยากรณ์อากาศ

15-16 หนว่ ย กระบวนการ
มนษุ ยแ์ ละ เปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ

การ -พายุ
เปล่ียนแปลง -การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ

ลมฟ้า โลก
อากาศ

8. แผนการวัดผลและภาระงาน

แนวการวดั ผล อัตราสว่ น คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

อตั ราส่วน คะแนน K : P : A = 40 : 60 : .....-.......

10

แผนการวดั ผล คะแนน วิธวี ดั ชนิดของเครอ่ื งมือ ตวั ช้ีวัด/ผลการ เวลาทใี่ ช้
การประเมนิ เรียนร้ขู ้อที่ (นาที/คร้งั )
30 สืบค้นขอ้ มลู
กอ่ นกลางภาค อภปิ รายกลุ่ม ชดุ กจิ กรรม ว 2.1 ม.1/10 50 นาท/ี ครง้ั

พลังงานความร้อน ว 2.3 ม.1/1 ,

1/2 ,1/3 ,1/4

,1/5 , 1/6 1,7

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิ ว 2.1 ม.1/10 60 นาที/คร้ัง

ว 2.2 ม.1/1

ว 2.3 ม.1/1 ,

1/2 ,1/3 ,1/4

,1/5 ,1/5 1/6

1,7

หลังกลางภาค 30 สบื คน้ ขอ้ มูล ชุดกิจกรรม ว 3.2 ม.1/1 50 นาท/ี ครง้ั
อภิปรายกลมุ่
กระบวนการ ,1/2, 1/3 1/4 ,

เปลี่ยนแปลงลมฟ้า 1/5 1/6 , 1/7

อากาศ

คณุ ลกั ษณะ / -- -- ตลอด
จติ พสิ ัย 20 สอบ
ปลายภาค ภาคเรียน

แบบวัดผลสัมฤทธ์ิ ว 3.2 ม.1/1 60 นาท/ี ครงั้

,1/2, 1/3 1/4 ,

1/5 1/6 , 1/7

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรยี น

ในการเรยี นรายวิชา วิทยาศาสตร์ 1 ได้กำหนดใหน้ ักเรยี นทำกจิ กรรม/ ปฏบิ ัติงาน(ชิ้นงาน) 5 ชน้ิ ดังน้ี

ที่ ช่ืองาน ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรขู้ ้อที่ ประเภทงาน กำหนดสง่
กลมุ่ เดย่ี ว วัน/เดือน/ปี

1 รายงานกจิ กรรมท่ี 5.1 ว 2.1 ม.1/9, ม.1/10 √ ธ.ค 63

แบบจำลองอนุภาคของสสาร

ในแตล่ ะสถานะเป็นอย่างไร

2 รายงานกจิ กรรม 5.2 ปัจจยั ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √ ธ.ค 63

ใดบ้างทีม่ ผี ลต่อการ √ 11
เปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิ √
ของสสาร √ ธ.ค 63
3 รายงานกจิ กรรมที่ 5.3 ความ ว 2.3 ม.1/3 ม.1/4 √ ธ.ค 63
ร้อนส่งผลต่อสารแต่ละ ม.ค 64
สถานะอย่างไร √ ม.ค 64
4 รายงานกิจกรรมที่ 5.4 ความ ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √
ร้อนทำให้สสารเปลี่ยน √ ม.ค 64
สถานะได้อยา่ งไร √ ก.พ 64
5 รายงานกิจกรรมท่ี 5.5 ความ ว 2.3 ม.1/6 √ ก.พ 64
ร้อนถ่ายโอนผา่ นของแขง็ ได้ √ ก.พ 64
อย่างไร √ ก.พ 64
6 รายงานกิจกรรมท่ี 5.6 การ ว 2.3 ม.1/6 ก.พ 64
ถา่ ยโอนความร้อนของ ก.พ 64
ของเหลวและแก๊สเป็น
อยา่ งไร
7 รายงานกิจกรรมท่ี 5.7 การ ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7
ถา่ ยโอนความร้อน
8 รายงานกิจกรรมท่ี 6.1 ว 3.2 ม.1/1
บรรยากาศของโลกเปน็
อย่างไร
9 รายงานกิจกรรมที่ 6.2 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
อุณหภมู ิอากาศเปล่ยี นแปลง
อยา่ งไร
10 รายงานกิจกรรมที่ 6.3 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
อากาศมีแรงกระทำต่อวตั ถุ
อย่างไร
11 รายงานกจิ กรรมที่ 6.4 เหตุ ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
ใดลมจงึ เคล่ือนทีเ่ รว็ ต่างกัน
12 รายงานกิจกรรมที่ 6.5 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อความชน้ื
สัมพัทธม์ ีอะไรบา้ ง
13 รายงานกจิ กรรมท่ี 6.7 การ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5

พยากรณ์อากาศทำได้ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5 √ 12
อย่างไร ก.พ 64
14 รายงานกจิ กรรมที่ 6.8 คำ ม.ี ค 64
พยากรณอ์ ากาศมีประโยชน์ ม.ี ค 64
อยา่ งไร

15 รายงานกิจกรรมที่ 6.9 พายุ ว 3.2 ม.1/3 √
ฝนฟ้าคะนองและพายหุ มนุ ว 3.2 ม.1/6 ม.1/7 √
เขตร้อนเกิดขนึ้ ได้อย่างไร

16 รายงานกจิ กรรมที่ 6.10
ภมู ิอากาศเปลี่ยนแปลงได้
หรอื ไม่

หากนักเรียนขาดส่งงาน 4 ชิ้น จะไดร้ ับผลการเรยี น “ร” ในรายวชิ านี้

ลงช่อื ........................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นายสุรจักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..) (..นางรพีพร คำบญุ มา..)
หัวหน้างานนเิ ทศ
รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชือ่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

คำนำ

แผนการจัดการเรียนร้เู ลม่ นี้ จัดทำขน้ึ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรายวชิ ารายวิชา
พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 รหัสวิชา ว21102 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2563 ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระ
และมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบด้วยหนว่ ยการเรียนรู้ จำนวน 2 หน่วย
คือ หน่วยที่ 1 พลังงานความร้อน หน่วยท่ี 2 กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ แผนการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เน้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนเชื่อมโยง
ความรู้ทัง้ ในและตา่ งกลุ่มสาระการเรียนร้ใู นเชิงบูรณาการด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย สร้างสถานการณก์ ารเรียนรู้
ท้ังในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าท่ีในการเอ้ืออำนวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมี
คุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำคัญและ
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลกั สูตรกำหนด เพื่อให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทย
และสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผู้เรียนมี
คณุ ภาพ และสถานศกึ ษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาอย่างแทจ้ รงิ

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม. 1 เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของนักเรยี นต่อไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น)์

สารบัญ

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 พลังงานความรอ้ น หน้า
 แผนการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความร้อนกับการเปลยี่ นแปลงของสสาร (ตอนท่ี 1) 1 - 41
 แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความร้อนกบั การเปลย่ี นแปลงของสสาร (ตอนที่ 2)
 แผนการเรียนรู้ที่ 3 ความรอ้ นกับการเปลย่ี นแปลงของสสาร (ตอนท่ี 3) 1
 แผนการเรียนรทู้ ี่ 4 ความรอ้ นกบั การเปล่ียนแปลงของสสาร (ตอนที่ 4) 8
 แผนการเรียนรทู้ ี่ 5 การถา่ ยโอนความรอ้ นในชีวติ ประจำวนั (ตอนท่ี 1) 15
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 6 การถ่ายโอนความรอ้ นในชวี ติ ประจำวนั (ตอนที่ 2) 21
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี 7 สมดลุ ความร้อน 28
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 34
 แผนการเรียนรู้ท่ี 8 กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 41
 แผนการเรียนรทู้ ี่ 9 ลมฟ้าอากาศรอบตวั (ตอนท่ี 1) 47 - 97
 แผนการเรียนรู้ที่ 10 ลมฟา้ อากาศรอบตัว (ตอนที่ 2) 47
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 11 ลมฟ้าอากาศรอบตวั (ตอนที่ 3) 54
 แผนการเรยี นรทู้ ี่ 12 ลมฟา้ อากาศรอบตวั (ตอนที่ 4) 61
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 13 ลมฟา้ อากาศรอบตวั (ตอนท่ี 5) 67
 แผนการเรียนรู้ท่ี 14 ลมฟ้าอากาศรอบตวั (ตอนที่ 6) 73
 แผนการเรยี นรู้ที่ 15 ลมฟ้าอากาศรอบตัว (ตอนท่ี 7) 79
 แผนการเรยี นรทู้ ี่ 16 มนษุ ยแ์ ละการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ (ตอนที่1) 85
เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล มนุษยแ์ ละการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ (ตอนที่2) 91
97
103 - 108

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี…1 พลังงานความรอ้ น..เรอ่ื ง..ความรอ้ นกับการเปลยี่ นแปลงของสสาร (ตอนท่ี 1)...
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร…์ …..2.......รหสั วชิ า…......ว 21102 ..............ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่.ี ...1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา... 2563...ภาคเรียนที่..2..เวลา...4...ช่วั โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ดั ที่ใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้เขยี นเป็นแบบความเรยี ง)
สสารทกุ ชนิดประกอบด้วยอนุภาค ซง่ึ อาจเป็นอะตอม โมเลกลุ หรือไอออน โดยสสารชนิดเดียวกันท่ี

มีสถานะของแข็งของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนท่ีของ

อนุภาคแตกต่างกัน ซ่ึงมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน สสารอาจ
เกดิ การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิ ขนาด หรือสถานะของสสาร
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• สสารทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ยอนภุ าค โดยสารชนิดเดียวกันทมี่ ีสถานะของแขง็ ของเหลว แกส๊ จะมีการ

จดั เรยี งอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกตา่ งกนั ซงึ่ มผี ลต่อรูปร่างและ

ปรมิ าตรของสสาร
• อนุภาคของของแขง็ เรียงชิดกนั มีแรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาคมากทีส่ ดุ อนภุ าคสั่นอยู่กบั ท่ี ทำให้มี

รปู ร่างและปริมาตรคงที่
• อนภุ าคของของเหลวอยใู่ กลก้ ัน มแี รงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาคนอ้ ยกว่าของแขง็ แตม่ ากกวา่ แก๊ส

อนภุ าคเคลื่อนที่ไดแ้ ต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้มรี ูปร่างไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงท่ี
• อนุภาคของแก๊สอยูห่ า่ งกนั มาก มแี รงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาคน้อยทส่ี ุด อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่าง

อิสระทุกทิศทาง ทำใหม้ รี ปู ร่างและปรมิ าตรไม่คงท่ี
3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลักสตู รท้องถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. รวบรวมข้อมลู และสร้างแบบจำลองเพ่ืออธิบายการจดั เรียงอนุภาคแรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนภุ าค
และการเคล่ือนท่ีของอนุภาคของสสารในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ (K)

2. เปรียบเทยี บการจดั เรยี งอนุภาค แรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค และการเคลอื่ นที่ของอนุภาคของ

สสารในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ (P)

3. ต้ังใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนรูน้ )ี้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

1

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซื่อสัตย์สุจริต

 3. มวี ินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบัติ , นกั เรยี นเกดิ ความ
ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงท่ีเรยี นรู้

3. หลักภูมิคุ้มกนั : ใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นกั เรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอยา่ งระมัดระวัง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยันทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทส่ี ุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/9, ม. -รายงานกิจกรรมท่ี 1 แบบจำลอง - การอภิปรายเปรียบเทียบการจัดเรียง

1/10 อนภุ าคของสสารในแตล่ ะสถานะเปน็ ของอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

2

อยา่ งไร อนุภาค และการเคล่ือนที่ของอนุภาค
ของสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง
ของเหลวและแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลอง

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผา่ น 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรยี นรู้น้ี)

สงิ่ ที่ต้องการวัด วิธวี ดั ผล เครือ่ งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- นกั เรียนได้คะแนน
1. ความรู้เกี่ยวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนข้นึ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
- การจัดเรียงอนุภาค แรงยึด ความคิดเหน็ อธิบาย อภปิ รายแสดงความ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค และการ และเปรียบเทยี บการ คดิ เหน็ - นักเรียนไดค้ ะแนน
จัดเรียงของอนภุ าค - แบบประเมนิ การ ประเมนิ ผลงาน
เคลอื่ นที่ของอนภุ าคของสสาร แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ ง ตรวจผลงานผเู้ รียน 13 คะแนนขึ้นไป
ชนดิ เดียวกันในสถานะของแข็ง อนภุ าค และการ หรอื รอ้ ยละ 80
ของเหลว และแก๊ส เคลือ่ นที่ของอนภุ าค ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ของสารชนดิ เดียวกัน -นักเรียนไดค้ ะแนน
12 คะแนนข้ึนไป
ในสถานะของแขง็ หรือรอ้ ยละ 80 ถือวา่
ผ่านเกณฑ์
ของเหลวและแกส๊
3
โดยใช้แบบจำลองได้

อย่างถูกต้อง

-การตรวจผลงาน

นกั เรยี น

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ

ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เห็นระบุ อภิปรายแสดงความ

ทักษะกระบวน คดิ เหน็

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน

ได้ปฏบิ ตั จิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ - สงั เกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรียนได้คะแนน
ประเมนิ คุณลักษณะ
และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ คณุ ลกั ษณะอนั พึง อันพงึ ประสงค์
26 คะแนนข้ึนไป
- มวี นิ ยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ หรอื ร้อยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมิน - นักเรียนไดค้ ะแนน
การประเมินสมรรถนะ
ของการทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืนและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน 29 คะแนนข้ึนไป
หรอื รอ้ ยละ 80
การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เก่ยี วกบั ผลการ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เหน็ ซ่ึงกัน ทดลอง

และกนั มีความเสยี สละและ

อดทน

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชัว่ โมงท่ี 1-2
1. ขัน้ ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูเกริ่นนำว่าสสารสามารถเปลี่ยนจากสถานะหน่ึงเป็นอีกสถานะหน่ึงได้ เม่ือได้รับหรือ

สญู เสยี ความร้อน และ เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามว่าพลังงานความร้อนเก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลง
อนื่ ๆ ของสสารอีกหรอื ไม่ อยา่ งไร

ให้นักเรียนสงั เกตภาพนำหนว่ ยในชดุ กิจกรรมเกี่ยวกบั การหลอมแก้ว หรอื ภาพ วีดิทศั น์ หรอื สื่อ
อนื่ ๆ เพิ่มเติมเก่ียวกับการผลิตผลิตภัณฑ์จากแก้ว พร้อมทั้งอ่านเน้ือหานำหนว่ ย และร่วมกันอภิปรายโดยอาจ
ใชค้ ำถามดงั ตอ่ ไปนี้

• จากเรอื่ งท่ีอา่ น กลา่ วถึงวัสดชุ นดิ ใด (แกว้ )
• การทำผลิตภัณฑ์จากแกว้ ใหม้ ีรูปทรงตา่ ง ๆ เกยี่ วข้องกบั พลังงานความรอ้ นหรอื ไม่ อย่างไร
(นักเรียนตอบได้โดยใช้สำนวนภาษาของตนเองเช่น การทำผลิตภัณฑ์จากแก้วเก่ียวข้องกับพลังงานความร้อน
โดยให้ความร้อนกับแก้วในเตาหลอม ความรอ้ นจะทำใหแ้ ก้วหลอมเหลวจากนัน้ จึงข้นึ รูป แลว้ นำแก้วที่ผ่านการ
ขนึ้ รูปไปอบเพื่อปรับลดอณุ หภมู ลิ งอยา่ งชา้ ๆ จนกระทัง่ ถงึ อณุ หภูมิปกติ)
1.2 ให้นักเรียนสังเกตภาพนำบทในชุดกิจกรรมหรือภาพ วีดิทัศน์ หรือส่ืออื่น ๆ เพ่ิมเติมเก่ียวกับ
การผลติ เหรียญกษาปณ์ พรอ้ มทง้ั ใหน้ ักเรียนอ่านเน้อื หานำบท และร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั ขนั้ ตอนการผลติ
เหรยี ญกษาปณว์ ่าเกี่ยวขอ้ งกับพลงั งานความร้อนอยา่ งไร โดยอาจใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้

• ขั้นตอนการผลติ เหรยี ญกษาปณ์มกี ารเปลยี่ นสถานะของโลหะอยา่ งไรบ้าง (โลหะเกดิ การ
หลอมเหลว โดยโลหะได้รบั ความร้อน ทำให้เปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวและโลหะเกิดการแข็งตัว
โดยโลหะท่ีอย่ใู นแม่พิมพส์ ญู เสยี ความร้อน ทำให้เปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง)

1.3 ให้นักเรียนสังเกตภาพ การระเหิดของไอโอดีนอ่านเน้ือหานำเรื่อง และรู้จักคำสำคัญ ทำ
กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนเพื่อประเมนิ ความรพู้ ืน้ ฐานของนักเรียนเก่ยี วกับสสารและสถานะของสสาร

4

1.4 ครูนำสนทนา ซักถาม เกี่ยวกับ ว่าสสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก ซ่ึงไม่
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เคยจินตนาการหรือไม่ว่าอนุภาคเล็ก ๆ เหล่านี้ประกอบเข้าด้วยกันจนเป็น
สสารในสถานะต่าง ๆ ได้อย่างไร และทราบหรือไม่ว่า การจัดเรียงอนุภาคส่งผลต่อรูปร่างและปริมาตรของ
สสารในแต่ละสถานะอย่างไรเพ่ือโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็น
อย่างไร

2. ขนั้ สืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้

• กจิ กรรมน้ีเกีย่ วกบั เรือ่ งอะไร (แบบจำลองอนภุ าคของสสารในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ )
• กจิ กรรมน้ีมจี ดุ ประสงคอ์ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธดี ำเนินกจิ กรรมมีขน้ั ตอนโดยสรุปอย่างไร (คาดคะเนและสรา้ งแบบจำลองอนภุ าคตามที่คาด
คะเน รวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับแบบจำลองอนุภาค วิเคราะห์ข้อมลู ท่รี วบรวมได้และปรับแก้แบบจำลองอนุภาคท่ี
สร้างไว้ และนำเสนอแบบจำลองอนุภาคทปี่ รับแกแ้ ล้ว)
• ข้อควรระวังในการรวบรวมข้อมูลมีอะไรบ้าง (นักเรียนควรรวบรวมข้อมูลจากส่ือบนอินเทอร์เน็ต
หรือแหล่งเรียนรูอ้ ่นื ๆท่ีน่าเชือ่ ถือ)
• นักเรียนต้องรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (นักเรียนต้องรวบรวมข้อมูล ทั้งการจัดเรียงอนุภาค แรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคล่ือนท่ีของอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ เพื่อนำมาปรับแก้แบบจำลอง
อนุภาคท่ีคาดคะเนไว้ให้ถกู ตอ้ ง)
2.2 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำกิจกรรม โดยครูเดินสังเกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้คำแนะนำในการ
สร้างแบบจำลองอนุภาคแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิด แบบจำลองอาจเป็นรูปวาด ช้ินงาน หรือบทบาทสมมติ โดย
เนน้ ให้นักเรยี นทุกคนได้มโี อกาส
ช่ัวโมงที่ 3-4
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการทำกจิ กรรม
3.2 จากนั้นร่วมกนั อภิปรายผลการทำกิจกรรมและเปรยี บเทียบผลการทำกจิ กรรมของกลุ่มอ่ืนกบั ของ
กลุ่มตนเอง รวมทง้ั วิเคราะห์จุดเด่นและจุดด้อยแบบจำลองของแตล่ ะกลุ่ม
4. ขั้นการสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบรว่ มกันเพ่ือให้ได้ขอ้ สรปุ วา่
อนุภาคของของแข็งจะสั่นอยู่กับท่แี ละเรียงชิดกัน โดยมแี รงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าคมากกว่าของเหลวและ
แกส๊ อนภุ าคของของเหลวอยู่ใกลก้ นั โดยมแี รงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยกว่าของแขง็ แต่มากกว่าแกส๊
อนภุ าคของของเหลวจึงเคล่ือนทไี่ ด้ แต่ไมเ่ ปน็ อสิ ระ โดยจะเคลอื่ นท่รี อบ ๆ อนุภาคใกล้เคยี ง อนุภาคของแกส๊
อยหู่ ่างกนั มาก โดยมีแรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาคน้อยมาก อนภุ าคจึงเคล่ือนท่ีได้อย่างอสิ ระทุกทิศทาง
5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
นักเรียนร่วมกันนำผลงานแบบจำลองอนุภาคโดยอาจติดผลการทำกิจกรรมรอบผนังห้องเรียนหรือ
จัดแสดงทโ่ี ต๊ะและนกั เรียนทกุ คนเดนิ ศกึ ษา (gallery walk) หากผลการทำกิจกรรมของนักเรียนบางกลุ่มไม่
สอดคล้องกับทฤษฎีหรือแนวการสรุป ครูอาจถามคำถามเพ่ิมเติมเช่น นักเรียนคิดว่าเหตุใดผลการทำกิจกรรม
ของนักเรียนจึงได้ข้อสรุปแตกต่างจากกลุ่มอ่ืน นักเรียนคิดว่ามีปัจจัยใดส่งผลต่อผลการทำกิจกรรมดังกล่าว
เป็นต้น โดยสาเหตุท่ีทำให้ผลการทำกิจกรรมแตกต่างจากแนวการสรุปอาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น การ
รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ข้อมูลท่แี ตกต่างกัน เปน็ ต้น

5

13. ส่ือการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

13.1สือ่ การเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์

2) หนังสอื แบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- การจัดเรยี งอนภุ าค แรงยึดเหน่ียวระหว่าง ......................................................................................
อนภุ าค และการเคล่ือนที่ของอนภุ าคของสาร ......................................................................................
ชนดิ เดียวกนั ในสถานะของแข็ง ของเหลว ......................................................................................
......................................................................................
และแกส๊ .....................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อย่อู ย่างพอเพยี ง ......................................................................................
- รักความเป็นไทย ......................................................................................
......................................................................................
4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี ก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

6

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...........................................หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน.์ .) (นายสรุ จักร์ิ แก้วมว่ ง.)

ลงช่ือ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..) (..นางรพีพร คำบุญมา..)
หัวหน้างานนิเทศ
รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

7

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่…1 พลังงานความรอ้ น..เร่อื ง..ความร้อนกบั การเปล่ียนแปลงของสสาร(ตอนที่ 2)...
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร…์ …..2.......รหัสวชิ า…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่.ี ...1.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา... 2563...ภาคเรยี นท.่ี .2...เวลา...4...ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด
รายวชิ าเพิม่ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10

ว 2.3 ม.1/1 , 1/2

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดทีใ่ ชใ้ นหน่วยการเรยี นร้นู ีเ้ ขียนเป็นแบบความเรยี ง)
สสารทุกชนดิ ประกอบดว้ ยอนุภาค ซง่ึ อาจเป็นอะตอม โมเลกุล หรอื ไอออน โดยสสารชนิดเดียวกันท่ี

มีสถานะของแข็งของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนท่ีของ
อนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร เม่ือสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน สสารอาจ
เกิดการเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิ ขนาด หรือสถานะของสสาร

ความร้อนอาจทำให้สสารเปล่ียนสถานะ เม่ือสสารได้รับความร้อน อนุภาคจะเคล่ือนที่เร็วขึ้นและ
เคล่ือนที่ออกห่างกนั มากขึน้ แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคจะลดลง จนสสารเปลยี่ นสถานะ ในทางกลบั กัน เมื่อ
สสารสูญเสียความร้อน อนุภาคจะเคลื่อนที่ช้าลงและเข้าใกล้กันมากขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคจะ
เพม่ิ ข้ึน จนสสารเปลี่ยนสถานะ ขณะทส่ี สารเปลี่ยนสถานะ ความร้อนทั้งหมดจะถกู ใชใ้ นการเปล่ียนสถานะโดย
ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิ
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพิม่ เติม (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ความร้อนมีผลตอ่ การเปล่ียนสถานะของสสาร เมอ่ื ใหค้ วามร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะ

มีพลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลววา่ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว และ
อณุ หภมู ิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ี เรียกอุณหภูมนิ ้วี ่า จุดหลอมเหลว

• เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับ
หน่ึง ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนท่ีใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปล่ียนสถานะ จะคงท่ี เรียก
อณุ หภมู ิน้ีวา่ จุดเดือด

• เมอ่ื ทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถงึ ระดับหนง่ึ แก๊สจะเปลย่ี นสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภูมนิ ้ี
ว่า จดุ ควบแนน่ ซ่ึงมอี ณุ หภมู เิ ดยี วกับจุดเดือดของของเหลวนั้น

• เมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียก
อุณหภมู ิน้ีวา่ จุดเยือกแขง็ ซึง่ มีอณุ หภูมเิ ดียวกบั จดุ หลอมเหลวของของแขง็ นน้ั

8

• เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระทำตอ่ วัตถุในทกุ ทศิ ทาง แรงที่อากาศกระทำต่อวัตถุข้ึนอยู่
กบั ขนาดพน้ื ทข่ี องวตั ถุน้นั แรงทอี่ ากาศกระทำตงั้ ฉากกบั ผิววัตถตุ อ่ หน่ึงหนว่ ยพืน้ ที่เรียกว่า ความดนั อากาศ

• ความดันอากาศมีความสมั พันธ์กับความสูงจากพื้นโลก โดยบริเวณท่ีสูงจากพนื้ โลกขน้ึ ไป อากาศเบา
บางลง มวลอากาศน้อยลง ความดันอากาศกจ็ ะลดลง

• เม่ือสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปล่ียนสถานะ หรือเปล่ียน
รปู ร่าง

• ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิขึ้นกับมวล ความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิที่
เปล่ยี นไป

• ปริมาณความร้อนท่ีทำให้สสารเปล่ียนสถานะข้ึนกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะท่ีสสาร
เปลี่ยนสถานะ อณุ หภมู จิ ะไม่เปลย่ี นแปลง

3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลกั สตู รท้องถิ่นให้ใสล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งมวลความร้อนจำเพาะและอุณหภูมิทเี่ ปลยี่ นไปของสสารกับปรมิ าณ

ความรอ้ นท่ีใชใ้ นการเปลีย่ นอุณหภมู ขิ องสสาร (K)
2. คำนวณปรมิ าณความรอ้ นทีใ่ ชใ้ นการเปลี่ยนอุณหภมู ิและปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องไดจ้ ากข้อมลู

ทก่ี ำหนดให้ วดั อณุ หภูมขิ องสสารโดยใชเ้ ทอร์มอมเิ ตอร์ได้อย่างถูกตอ้ ง (P)
3. ตัง้ ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกดิ ในหน่วยการเรยี นรู้นี)้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรูน้ ้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

9

 ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media
Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
9. บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ให้เหมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นกั เรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสิ่งทเี่ รียนรู้

3. หลักภูมคิ ุ้มกนั : ใหน้ กั เรียนเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นักเรยี นรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบคุ คล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอยา่ งระมัดระวัง

5. เง่อื นไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่สี ดุ , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชีว้ ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 -รายงานกิจกรรม 2 ปัจจยั ใดบ้างทีม่ ี -คำนวณปริมาณความร้อนท่ใี ช้ในการ

ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงอุณหภูมิ เปล่ยี นอณุ หภูมิและปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี

ของสสาร เกย่ี วขอ้ งไดจ้ ากข้อมูลที่กำหนดให้

-คำนวณพลงั งานความร้อนโดยใช้
สมการQ = mcΔt

11. การวดั ประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบัติ
11.1การวดั และประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวัดประเมนิ การปฏิบัติ
วิธีการ
1.การสงั เกตการณ์ 10
2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้
เครอ่ื งมือ
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
เกณฑ์
1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1
รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง
หนว่ ยการเรียนรู้น)ี้

ส่งิ ทีต่ ้องการวัด วิธีวดั ผล เคร่ืองมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- นักเรยี นได้คะแนน
1. ความร้เู กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนขึน้ ไป
หรือร้อยละ 80
- การเปลยี่ นอุณหภูมขิ องสสาร ความคดิ เหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
การเปลีย่ นอณุ หภูมิ คดิ เหน็ - นกั เรยี นได้คะแนน
เน่ืองจากไดร้ ับหรือสญู เสยี ของสสารเนื่องจาก - แบบประเมินการ ประเมนิ ผลงาน
ความร้อน ได้รบั หรือสญู เสยี ตรวจผลงานผ้เู รยี น 13 คะแนนขนึ้ ไป
-การคำนวณพลังงานความร้อน ความร้อน หรอื รอ้ ยละ 80
โดยใช้สมการQ = mcΔt -ยกตวั อย่างเหตุการณ์ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ในชีวิตประจำวันท่ี -นักเรยี นไดค้ ะแนน
12 คะแนนขนึ้ ไป
ความรอ้ นทำให้สสาร หรือร้อยละ 80 ถือว่า
ผา่ นเกณฑ์
เปล่ียนอุณหภมู ขิ นาด
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
หรอื สถานะ ประเมินคุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์
-การตรวจผลงาน 26 คะแนนข้นึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
นักเรยี น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- นกั เรียนได้คะแนน
2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขึน้ ไป
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80
ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ทกั ษะกระบวน คดิ เหน็

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี - แบบประเมิน

ไดป้ ฏบิ ัตจิ ากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ - สังเกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื คณุ ลักษณะอันพงึ

- มีวินยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคัญของ ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ

การทำงานร่วมกับผ้อู ื่นและการ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน

ทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเก่ยี วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กนั ทดลอง

และกันมีความเสยี สละและ

อดทน

11

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 5-7
1. ขัน้ ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูให้นักเรียนสังเกตภาพ การใช้เทอร์มอคัปเปิลวัดอุณหภูมิของอาหาร (อธิบายการใช้เทอร์

มอมเิ ตอร์แบบที่เรยี กวา่ เทอรม์ อคัปเปิลวดั อณุ หภูมิของสสาร ในที่นคี้ อื อาหารบนเตายา่ ง)
1.2 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับการใช้

เทอร์มอมิเตอร์ หากพบว่านักเรียนยังมีความรู้พื้นฐานไม่ถูกต้อง ครูทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของ
นกั เรียน เพ่ือให้นักเรียนมี ความร้พู ้ืนฐานท่ีถูกตอ้ งและเพียงพอท่จี ะเรยี นเรอื่ งความร้อนกับการเปลย่ี นอณุ หภูมิ
ของสสารตอ่ ไป

1.3 ครูนำสนทนา ร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าการสั่นและการเคลื่อนที่ของอนุภาคทำให้เกิด
พลังงานความร้อนในสสาร ซึง่ เราไม่สามารถวดั ได้โดยตรง แต่เราสามารถวัดระดับพลงั งานความร้อนของสสาร
ไดด้ ้วยการวัดอณุ หภูมิโดยใชเ้ ทอร์มอมิเตอร์

2. ขนั้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ เพ่ือนำสู่กิจกรรมท่ี 2 ปัจจัยใดบ้างท่ีมีผลต่อ
การเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ขิ องสสาร ดังต่อไปน้ี

• กิจกรรมน้ีเกย่ี วกับเร่ืองอะไร (ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงอุณหภูมขิ องน้ำและสารอน่ื ๆ)
• กิจกรรมนมี้ ีจดุ ประสงคอ์ ย่างไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• การทำกิจกรรม ตอนที่ 1 ต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์ใดบ้าง (นักเรียนตอบตามรายการวัสดุอุปกรณ์
ครูแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการใช้ และข้อควรระวังในการใช้เทียนไขและเทอร์มอมิเตอร์ การควบคุมตัวแปร
เพ่ือให้ผลการทดลองน่าเชื่อถือ เช่น เทียนไขท่ีใช้เป็นแหล่งพลังงานความร้อนต้องเป็นเทียนไขชนิดเดียวกัน มี
ขนาดและความสูงเทา่ กนั )
• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมีวิธีบันทึกผลอย่างไร (นักเรียนต้องสังเกต
และบนั ทึกอณุ หภมู ิของนำ้ ในบกี เกอร์ ทุก ๆ 30 วินาที เปน็ เวลา 3 นาที)
• นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าน้ำที่ใส่ในบีกเกอร์มีมวล 60 กรัม (เนื่องจากน้ำปริมาตร 1 ลูกบาศก์
เซนติเมตร มมี วล 1 กรมั ดังน้นั ตอ้ งใสน่ ้ำให้มีปริมาตร 60 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร)
2.2 ร่วมกนั ระบปุ ัญหา สมมติฐาน และตัวแปรทเี่ กีย่ วขอ้ งของการทดลอง
2.3 ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ปริมาณความร้อนที่น้ำได้รับส่งผล
ต่อการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำในบีกเกอร์ท่ีได้รับความร้อนจากเทียนไข 2 เล่ม มีอุณหภูมิสูงข้ึน
มากกวา่ ในบีกเกอร์ที่ได้รับความรอ้ นจากเทียนไข 1 เล่ม
2.4 ให้นกั เรียนอา่ นวิธีการดำเนนิ กิจกรรมตอนที่ 2 และร่วมกนั อภปิ รายในประเด็นดังตอ่ ไปนี้
• การทำกิจกรรม ตอนท่ี 2 ต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์ใดบ้าง (นักเรียนตอบตามรายการวัสดุอุปกรณ์
ครูควรแนะนำวิธีและข้อควรระวังในการใช้ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์และเทอรม์ อมิเตอร์ การควบคุมตัวแปรเพื่อ
ให้ผลการทดลองน่าเชื่อถือ เช่น ควรใช้ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ชุดเดียวกันเป็นแหล่งความร้อนให้กับน้ำท้ัง 2
บีกเกอร์)
• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมีวิธีบันทึกผลอย่างไร (นักเรียนต้องสังเกต
และบันทึกอณุ หภมู ิของนำ้ ในบกี เกอร์ ทุก ๆ 1 นาที เป็นเวลา 5 นาที)
2.5 รว่ มกันระบปุ ัญหา สมมติฐาน และตวั แปรท่ีเกยี่ วขอ้ งของการทดลองนี้

12

2.6 ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพ่ือให้ได้ข้อสรุปได้ว่า มวลของน้ำมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำมวล 75 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าน้ำมวล 150 กรัม เม่ือได้รับความ
รอ้ นปรมิ าณเท่ากัน

2.7 ครูนำอภิปรายว่า จากการทดลองตอนท่ี 1 และ 2 นักเรียนทราบแล้ววา่ ปรมิ าณความร้อนท่ีน้ำได้รับ
และมวลของน้ำมีผลต่อการเปล่ียนแปลงอุณภูมิของน้ำ นักเรียนคิดว่าชนิดของสสารมีผลต่อการเปล่ียนแปลง
อุณหภูมิของสสารหรือไม่ อย่างไร (มี สสารแต่ละชนิดมีการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิแตกต่างกัน เม่ือได้รับความ
รอ้ นเทา่ กนั ) เพ่ือนำไปส่กู ารออกแบบการทดลองให้นักเรยี นอ่านวธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรมตอนท่ี 3

2.8 รว่ มกนั ระบุปัญหา สมมตฐิ าน และตัวแปรท่เี ก่ียวขอ้ งของการทดลองนี้
2.9 ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพ่ือให้ได้ข้อสรุปได้ว่า ชนิดของสสารมีผลต่อการ
เปล่ยี นแปลงอุณหภูมิ โดยเมอ่ื เวลาผา่ นไป กลเี ซอรอลหรอื นำ้ มันพชื มีอณุ หภมู ิเพมิ่ ข้ึนมากกวา่ นำ้

ชัว่ โมงที่ 8

3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรยี นตอบคำถามระหวา่ งเรยี น เพ่อื ประเมินความเขา้ ใจเก่ียวกับปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลง

อุณหภูมิของสสาร

3.2 ครแู นะนำการคำนวณปริมาณความรอ้ นที่ทำให้อุณหภูมขิ องสสารเปล่ยี นแปลงและปริมาณอ่ืน ๆ ท่ี

เกีย่ วขอ้ ง ครอู าจให้นักเรยี นสืบคน้ จากแหลง่ เรียนรู้อ่นื ๆ เพมิ่ เตมิ ได้อีกด้วย จากน้ันครูและนักเรยี นร่วมกนั

อภิปรายเพ่ือตอบคำถามชวนคิด

4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรยี นนำเสนอกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างอุณหภูมกิ ับเวลา ของการทดลองทงั้ 3 ตอน

5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

นักเรยี นร่วมกันเฉลย กจิ กรรม ร่วม กนั คดิ 2

13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

13.1 สื่อการเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) สื่อเพาเวอรพ์ อยต์

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- อธบิ ายการเปลีย่ นอุณหภูมขิ องสสาร ......................................................................................

เนอื่ งจากได้รับหรือสูญเสยี ความร้อน ......................................................................................
-การคำนวณพลงั งานความร้อนโดยใชส้ มการ ......................................................................................
....................................................................................
Q = mcΔt ......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

13

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม .................................................................................... ..
......................................................................................
3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินยั ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยูอ่ ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................
......................................................................................
4. ปัญหาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธีแก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...........................................หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นายสรุ จักริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..นายศิวาวุฒิ รัตนะ..) (..นางรพีพร คำบุญมา..)
หวั หนา้ งานนิเทศ
รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี…1 พลังงานความรอ้ น..เรอื่ ง........ความรอ้ นกับการเปล่ยี นแปลงของสสาร. (ตอนท่ี 3)...........
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร…์ …..2.......รหัสวชิ า…......ว 21102 ..............ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา... 2563... ภาคเรียนท่ี..2...เวลา...4...ชว่ั โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
รายวิชาเพิ่มเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด
ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 ,1/3 ,1/4

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ีเขียนเป็นแบบความเรยี ง)
ความร้อนทำให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิ เมื่อสสารได้รับความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึน

ในทางตรงกนั ข้ามเมอื่ สสารสญู เสียความร้อนอาจทำใหส้ สารมีอุณหภมู ิลดลง

โดยท่ัวไปเมื่อสสารได้รับความร้อน สสารจะขยายตัว เนื่องจากความร้อนทำให้อนุภาคเคล่ือนท่ีเร็ว
ข้ึนและระยะห่างระหว่างอนุภาคมากข้ึน ในทางกลับกัน เม่ือสสารสูญเสียความร้อน สสารจะหดตัว เนื่องจาก
ความร้อนทำใหอ้ นภุ าคเคลือ่ นทชี่ ้าลงและระยะหา่ งระหว่างอนภุ าคลดลง
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พมิ่ เติม (รายวชิ าเพ่มิ เติม)
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
• ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้ เน่ืองจากเม่ือสสารได้รับความร้อนจะทำให้อนุภาค

เคลื่อนที่เร็วขึ้น ทำให้เกิดการขยายตัวแต่เม่ือสสารคายความร้อนจะทำให้อนุภาคเคล่ือนที่ช้าลง ทำให้เกิดการ
หดตวั

• ความรู้เรื่องการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความร้อนนำไปใช้ประโยชน์ได้ด้านต่าง ๆ เช่น
การสรา้ งถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมเิ ตอร์

3.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพูดถึงหลักสูตรท้องถ่นิ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายการขยายตวั หรอื หดตัวของสสารเนือ่ งจากได้รับหรอื สญู เสียความร้อน (K)
2. อธิบายตวั อย่างเหตกุ ารณ์การขยายตัวหรือหดตวั ของสสารเนอ่ื งจากความร้อนพร้อมท้ังเสนอแนะ

แนวทางการปอ้ งกนั หรือแก้ไขปญั หาทเี่ กดิ จากการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร (P)
3. ต้ังใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรียนรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นร้นู ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซือ่ สตั ย์สจุ ริต

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้

15

 5. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  6. มุ่งม่ันในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

7. ด้านคุณลกั ษณะของผู้เรียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media
Literacy)

 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ ักเรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรยี นเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ทีเ่ รยี นรู้

3. หลกั ภูมคิ มุ้ กนั : ให้นกั เรียนเกดิ ทักษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสุด , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/3 ม.1/4 - รายงานกิจกรรมท่ี 3 ความร้อนส่งผล -ยกตัวอยา่ งเหตุการณ์การขยายตัวหรือ

ต่อสารแต่ละสถานะอยา่ งไร หดตวั ของสสารเนอื่ งจากความรอ้ น
พรอ้ มทง้ั เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั

หรือแก้ไขปัญหาทเี่ กิดจากการขยายตัว

หรือหดตวั ของสสาร

-สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการขยายตัว

16

หรือหดตวั ของสสารเนื่องจากไดร้ บั หรือ
สญู เสียความรอ้ น

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวดั ประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรียนรู้น)ี้

สิ่งที่ต้องการวดั วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
- นักเรียนได้คะแนน
1. ความร้เู กีย่ วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรือร้อยละ 80
- การขยายตัวหรอื หดตัวของ ความคดิ เหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
สสารเนอ่ื งจากได้รับหรือสญู เสยี เหตกุ ารณ์การขยาย คดิ เห็น - นกั เรยี นได้คะแนน
ตวั หรอื หดตวั ของ - แบบประเมนิ การ ประเมนิ ผลงาน
ความรอ้ น สสารเน่ืองจากความ ตรวจผลงานผู้เรียน 13 คะแนนขึ้นไป
หรือร้อยละ 80
รอ้ นพร้อมทั้งเสนอ ถือว่าผ่านเกณฑ์

แนะแนวทางการ -นักเรียนไดค้ ะแนน
12 คะแนนขนึ้ ไป
ป้องกันหรือแกไ้ ข หรือร้อยละ 80 ถือวา่
ผ่านเกณฑ์
ปัญหาที่เกิดจากการ

ขยายตวั หรือหดตวั

ของสสารไดอ้ ยา่ ง

ถูกต้อง

-การตรวจผลงาน

นกั เรียน

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ

ทักษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ

ทักษะกระบวน คดิ เหน็

การทางวิทยาศาสตรท์ ่ี - แบบประเมนิ

17

ได้ปฏบิ ตั จิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกล่มุ

3. คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ - สงั เกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
ประเมนิ คุณลกั ษณะ
และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื คุณลกั ษณะอันพงึ อันพึงประสงค์
26 คะแนนข้นึ ไป
- มีวนิ ัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
การประเมนิ สมรรถนะ
ของการทำงานรว่ มกับผูอ้ ืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผ้เู รียน 29 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื ร้อยละ 80
การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกีย่ วกับผลการ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซึง่ กนั ทดลอง

และกนั มีความเสยี สละและ

อดทน

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่ 9
1. ข้นั ตัง้ ประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูให้นักเรียนดูภาพ การยกตัวของถนน (ซ่ึงสามารถอธิบายได้ โดยหลักการทางวิทยาศาสตร์

เกยี่ วกับการขยายตัวของสสารเมอื่ ได้รับความร้อน โดยถนนท่ีสร้างข้ึนได้ออกแบบช่องวา่ งทรี่ องรับการขยายตัว
น้อยเกินไป นอกจากน้ี ชาวบ้านยังมีความเชื่ออื่น ๆ ในเชิงปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติเช่น เป็นการกระทำ
ของพญานาคหรือสงิ่ ศกั ดส์ิ ิทธิ์

1.2 ครใู หน้ ักเรียนทำกจิ กรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับ
การเปลยี่ นแปลงของสสารเม่ือได้รับหรือสูญเสียความร้อน หากพบว่านกั เรียนยังมีความรู้พื้นฐานไม่ถูกต้อง ครู
ควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานท่ีถูกต้องและเพียงพอท่ีจะ
เรียนเร่อื งความรอ้ นกับการขยายตัวหรือหดตวั ของสสารต่อไป

1.3 ครูนำเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3 ความร้อนส่งผลต่อสสารแต่ละสถานะอย่างไร โดยร่วมกันอภิปรายใน
ประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้

• กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ผลของความร้อนต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของอากาศ น้ำ และ
เหล็ก)

• หลังการทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะรู้อะไร (อธิบายผลของความร้อนต่อการเปล่ียนแปลงขนาด
ของอากาศ น้ำ และ เหล็ก)

ชั่วโมงที่ 10-12
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูควรมอบหมายให้แต่ละกลุ่มศึกษาผลของความร้อนตอ่ การเปล่ยี นแปลงขนาดของสสารทแ่ี ตกต่าง

กัน ดังน้ี
• กลุ่มที่ 1 และ 2 ทำกจิ กรรมตอนที่ 1 ศึกษาผลของความร้อนต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของอากาศ

18

• กลุ่มที่ 3 และ 4 ทำกจิ กรรมตอนที่ 2 ศึกษาผลของความรอ้ นต่อการเปลยี่ นแปลงขนาดของนำ้
• กลุ่มท่ี 5 และ 6 ทำกิจกรรมตอนท่ี 3 ศกึ ษาผลของความร้อนต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของเหลก็
2.2 ให้นักเรียนอ่านวัสดุ อุปกรณ์ วิธีดำเนินกิจกรรม จากนั้นครูอภิปรายวิธีการทำกิจกรรม พร้อมอาจ
แสดงหรือแนะนำอุปกรณ์ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครูใช้คำถามถามนกั เรียนเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการ
อา่ นดงั น้ี
• การทำกิจกรรมต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามรายการวัสดุและอุปกรณ์ ครูควร
แนะนำวิธีและข้อควรระวังในการใชช้ ุดตะเกียงแอลกอฮอล์)
• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมีวิธีบันทึกผลอย่างไร (ตอนท่ี 1 ให้นักเรียนสังเกต
การเปล่ียนแปลงของลูกโป่ง พร้อมท้ังบันทกึ ผลซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบการเขียนบรรยายวาดภาพหรือบนั ทึกคลิป
วิดีทัศน์ส้ัน ๆ ตอนที่ 2 ให้นักเรียนสังเกตและวัดระดับของน้ำสีในหลอดนำแก๊ส พรอ้ มทั้งบันทึกผลเป็นตัวเลข
และอาจให้นักเรียน เขียนบรรยาย วาดภาพหรือบันทึกคลิปวิดีทัศน์สั้น ๆ ตอนที่ 3 ให้นักเรียนสังเกตการ
เคลื่อนที่ของลูกกลมเหล็กผ่านวงแหวนเหล็ก พร้อมทั้งบันทึกผลซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบการเขียนบรรยาย วาด
ภาพหรอื บนั ทกึ คลปิ วิดที ศั นส์ ้ัน ๆ)
3. ข้นั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนในแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากน้ันนำเสนอและ
เปรยี บเทยี บผลการทำกิจกรรมกับกล่มุ อน่ื ๆ หากมขี อ้ มลู ใดคลาดเคล่อื นครนู ำอภิปรายแก้ไขให้ถกู ต้อง
3.2 นักเรียนอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เม่ืออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กได้รับความร้อนจะมีปริมาตร
เพิ่มขึ้นและขยายตัว ในทางตรงกันข้ามเมื่ออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กสูญเสียความร้อนจะมีปริมาตรลดลง
และหดตวั ซ่ึงการเปลยี่ นแปลงที่เกิดขนึ้ เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับอนุภาคของสสาร
3.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปส่ิงที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเร่ืองโครงสร้างอะตอม
โดยใช้คำถาม เช่น อะตอมประกอบด้วยอนภุ าคอะไรบา้ ง อะตอมของแตล่ ะธาตเุ หมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร
นวิ เคลียสประกอบดว้ ยอนภุ าคอะไรบา้ ง ครูอาจวาดแบบจำลองอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้นักเรียนระบชุ นิด
และจำนวนของอนภุ าคในแบบจำลอง
3.4 นักเรียนตอบคำถามระหว่างเรียน เพ่ือประเมินความเข้าใจเก่ยี วกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร
เมอื่ ได้รบั หรอื สูญเสยี ความร้อน
4. ขน้ั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายโดยอาจใชค้ ำถามดงั น้ี
• มเี หตุการณใ์ ดบา้ งทเี่ กดิ จากการขยายตัวหรอื หดตัวของสสารอันเน่ืองมาจากความร้อน
• เราสามารถใช้ประโยชน์จากการขยายตัวหรือหดตวั ของสสารอนั เนอื่ งมาจากความรอ้ นได้อยา่ งไรบ้าง
• การขยายตัวหรือหดตัวของสสารอันเน่ืองมาจากความร้อนมีโทษหรือสร้างความเสียหายต่อชีวิตและ
ทรัพย์สนิ ได้อยา่ งไร และจะมีทางป้องกันหรือแกป้ ญั หาเหลา่ นี้ได้อย่างไร
5. ขัน้ การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 จากสถานการณถ์ นนยกตัวข้ึนเน่ืองจากความร้อน ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มทำแผ่นพับเพื่ออธิบาย
สาเหตุของการยกตวั ของถนน พร้อมทงั้ เสนอแนะแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นเพ่ือสื่อสารให้
คนในชมุ ชนเขา้ ใจเหตุการณด์ ังกล่าว โดยนักเรียนต้องใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายและใช้แบบจำลองอนภุ าคของสสาร
ประกอบการอธิบาย
13. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้
13.1ส่อื การเรียนรู้

19

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมดุ

14. บันทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- อธิบายการขยายตวั หรือหดตวั ของ ......................................................................................
สสารเนื่องจากไดร้ ับหรอื สูญเสยี ......................................................................................

ความรอ้ น

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ยา่ งพอเพียง ......................................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแก้ปญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ้สู อน ลงชอื่ ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นายสรุ จกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..นายศิวาวฒุ ิ รัตนะ..) (..นางรพพี ร คำบญุ มา..)
หวั หนา้ งานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุม่ บริหารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

20

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี…1 พลังงานความรอ้ น..เร่ือง........ความรอ้ นกบั การเปลยี่ นแปลงของสสาร. (ตอนที่ 4)...........
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร…์ …..2.......รหัสวชิ า…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปที ่.ี ...1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2563... ภาคเรียนที่..2...เวลา...7...ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพน้ื ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
รายวิชาเพ่มิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั
ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 ,1/3 ,1/4

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชว้ี ัดท่ีใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้เี ขียนเป็นแบบความเรียง)
ความร้อนทำให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิ เม่ือสสารได้รับความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพ่ิมขึ้น

ในทางตรงกันข้ามเม่อื สสารสญู เสียความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภมู ลิ ดลง
โดยท่ัวไปเมื่อสสารได้รับความร้อน สสารจะขยายตัว เน่ืองจากความร้อนทำให้อนุภาคเคล่ือนที่เร็ว

ข้ึนและระยะห่างระหว่างอนุภาคมากข้ึน ในทางกลับกัน เมื่อสสารสูญเสียความร้อน สสารจะหดตัว เน่ืองจาก
ความร้อนทำใหอ้ นภุ าคเคลอ่ื นที่ช้าลงและระยะหา่ งระหวา่ งอนภุ าคลดลง
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม (รายวิชาเพิม่ เติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรอื หดตัวได้ เน่ืองจากเม่ือสสารไดร้ บั ความร้อนจะทำให้อนภุ าค

เคลอื่ นท่เี รว็ ข้ึน ทำใหเ้ กิดการขยายตวั แตเ่ ม่ือสสารคายความรอ้ นจะทำให้อนภุ าคเคลื่อนทชี่ า้ ลง ทำให้เกิดการ
หดตัว

• ความรูเ้ รอ่ื งการหดและขยายตัวของสสารเนือ่ งจากความรอ้ นนำไปใช้ประโยชน์ไดด้ า้ นตา่ ง ๆ เช่น
การสรา้ งถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมเิ ตอร์

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสตู รทอ้ งถน่ิ ให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
นักเรียนสามารถ
1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความร้อนกับการเปล่ยี นสถานะของสสารโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

และแบบจำลองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (K)
2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมวลและความร้อนแฝงจำเพาะของสารกับปริมาณความร้อนที่ใช้ใน

การเปลี่ยนสถานะของสสาร (K)
3. คำนวณปริมาณความร้อนท่ีใช้ในการเปลี่ยนสถานะและปริมาณต่าง ๆท่ีเกี่ยวข้องได้จากข้อมูลที่

กำหนดให้วดั อณุ หภูมิของสสารโดยใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ได้อยา่ งถูกต้อง (P)
4. ยกตัวอย่างเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจำวันที่ความรอ้ นทำใหส้ สารเปลี่ยนอณุ หภูมขิ นาด หรอื สถานะ (K)
5. อธบิ ายความร้อนจำเพาะของน้ำทมี่ ีต่อสิง่ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม (K)
6. ตัง้ ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)

21

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสัตยส์ จุ ริต

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ด้านคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสงั คมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media
Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
9. บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสิง่ ทเ่ี รยี นรู้

3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบคุ คล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดีท่ีสุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

22

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ภาระงาน
ตัวช้วี ดั ชิ้นงาน -วเิ คราะห์สถานการณ์ แปลความหมาย

ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 - รายงานกจิ กรรมที่ 4 ความร้อนทำให้ ขอ้ มูลและคำนวณปรมิ าณความรอ้ นทที่ ำ
สสารเปลย่ี นสถานะไดอ้ ย่างไร
ใหส้ สารเปลย่ี นสถานะ
- คำนวณปริมาณความร้อนที่ใชใ้ นการ

เปลี่ยนสถานะและปรมิ าณตา่ ง ๆท่ี

เกยี่ วขอ้ งไดจ้ ากข้อมูลทกี่ ำหนดให้โดยใช้

สมการ Q = mL

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรู้น)้ี

ส่งิ ทต่ี ้องการวัด วธิ วี ดั ผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- แบบประเมินการ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
1. ความรู้เก่ยี วกับ -การคำนวณปริมาณ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป
คิดเห็น หรอื ร้อยละ 80
- ความสัมพันธ์ระหวา่ งความ ความร้อนท่ีทำให้ - แบบประเมินการ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
รอ้ นกับการเปลี่ยนสถานะของ สสารเปลีย่ นอุณหภมู ิ ตรวจผลงานผเู้ รยี น - นกั เรียนได้คะแนน
และเปลีย่ นสถานะ ประเมนิ ผลงาน
สสาร โดยใชส้ มการ - แบบประเมนิ การ 13 คะแนนข้ึนไป
อภิปรายแสดงความ หรอื ร้อยละ 80
Q = mcΔt และ ถือว่าผ่านเกณฑ์

Q = mL -นักเรยี นได้คะแนน
12 คะแนนข้นึ ไป
-การตรวจผลงาน
23
นกั เรยี น

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง

ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเหน็ ระบุ

ทักษะกระบวน คิดเห็น หรอื ร้อยละ 80 ถอื ว่า
ผา่ นเกณฑ์
การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ
- นกั เรียนได้คะแนน
ได้ปฏิบตั จิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ ประเมนิ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม 26 คะแนนข้ึนไป
หรือร้อยละ 80
ทำงานกลุ่ม ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรยี นได้คะแนน
3. คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ - สังเกตคา่ นยิ มในการ - แบบประเมิน การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขึ้นไป
และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ คุณลักษณะอันพึง หรอื รอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- มีวินัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผูอ้ นื่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกย่ี วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเห็นซ่งึ กนั ทดลอง

และกนั มีความเสียสละและ

อดทน

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงที่ 13-14
1. ขั้นตงั้ ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู หน้ กั เรียนดูภาพ ธารนำ้ แขง็ โคลัมเบยี ในรฐั อะแลสกา ประเทศสหรฐั อเมริกา อา่ นเนื้อหา

จากนน้ั ร่วมกนั อภปิ รายโดยอาจใชค้ ำถาม ดังน้ี
• จากภาพ พบการเปลีย่ นแปลงของสสารชนิดใดสสารชนิดดงั กลา่ วเกิดการเปลย่ี นแปลงอย่างไร

(จากภาพ พบการเปล่ยี นแปลงของน้ำแข็งโดยนำ้ แข็งเปลี่ยนสถานะเป็นนำ้ หรือนำ้ แข็งหลอมเหลวเปน็ นำ้ )
• ปรากฏการณด์ งั กล่าวน้ีเกย่ี วขอ้ งกบั ความรอ้ นและการเปล่ียนสถานะอย่างไร (ธารน้ำแข็งโคลมั เบีย ใน

รฐั อะแลสกา ประเทศสหรัฐอเมรกิ า จากภาพพบวา่ นำ้ แขง็ หลอมเหลวเปน็ นำ้ ซ่ึงจะเชื่อมโยงเพือ่ เรยี นรู้ต่อไปว่า
ความรอ้ นเก่ียวขอ้ งกบั การเปลี่ยนสถานะของสสารอย่างไร รวมถงึ เป็นภาพท่ีชว่ ยสร้างความตระหนักเร่อื ง
ภาวะโลกรอ้ น)

1.2 ครใู หน้ กั เรียนทำกจิ กรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน เพ่อื ประเมินความรู้พ้นื ฐานของนกั เรยี นเกย่ี วกับ
การเปลีย่ นแปลงของสสารเมื่อไดร้ ับหรือสญู เสียความร้อน หากพบวา่ นกั เรยี นยงั มีความรู้พ้ืนฐานไม่ถูกต้อง ครู
ควรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเข้าใจผิดของนักเรยี น เพ่ือให้นักเรียนมคี วามร้พู ืน้ ฐานทถี่ ูกตอ้ งและเพยี งพอทจี่ ะ
เรียนเรอื่ งการเปลีย่ นสถานะของสสารในระดับอนุภาคต่อไป

1.3 ครนู ำเขา้ สกู่ จิ กรรมท่ี 4 ความร้อนทำให้สสารเปลีย่ นสถานะได้อยา่ งไร โดยอาจใชค้ ำถามวา่ ความ
ร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสารอย่างไร ขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ สสารมกี ารเปลยี่ นแปลงอุณหภมู ิ
หรอื ไม่ อย่างไร
2. ขนั้ สืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครใู หน้ ักเรยี นอา่ นวิธีการดำเนินกิจกรรมในชุดกจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปนี้
• กิจกรรมน้ีเกี่ยวกบั เร่อื งอะไร (การเปลย่ี นสถานะของน้ำเน่ืองจากความร้อน)

24

• กจิ กรรมน้ีมีจุดประสงคอ์ ย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)

• วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ใส่น้ำแข็งก้อนเล็กปริมาณ 2 ใน 3 ของบีกเกอร์ ให้ความ

ร้อน แล้วใช้แท่งแก้วคนตลอดเวลา สังเกตและบันทึกสิ่งท่ีพบในบีกเกอร์และอุณหภูมิของน้ำแข็งในบีกเกอร์

ทุก ๆ 1 นาที จนสิ่งท่ีอยู่ในบีกเกอรเ์ ดือด และได้รับความร้อนต่อไปอีก 3 นาที เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์

ระหว่างอณุ หภูมิกับเวลาต้ังแตเ่ ริม่ ตน้ จนสน้ิ สุดการทำกิจกรรม)

• ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีอะไรบ้าง (นักเรียนควรระวังการใช้ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์และเทอร์มอ

มิเตอร์)

• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (นักเรียนควรสังเกตและบันทึกส่ิงท่ีพบในบีกเกอร์และ

อณุ หภมู ขิ องน้ำแข็งในบีกเกอร์ ทุก ๆ 1 นาที จนส่งิ ทอ่ี ยใู่ นบกี เกอรเ์ ดอื ด และได้รบั ความรอ้ นตอ่ ไปอกี 3 นาที)

2.2 ให้นักเรียนอ่านวัสดุ อุปกรณ์ วิธีดำเนินกิจกรรม จากน้ันครูอภิปรายวิธีการทำกิจกรรม พร้อมอาจ

แสดงหรอื แนะนำอุปกรณ์ใหน้ ักเรยี นทราบ จากน้ันครูใช้คำถามถามนักเรียนเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ

ชัว่ โมงท่ี 15-19

3. ข้นั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลท่ีได้ไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลา

ต้ังแต่เริ่มวัดอุณหภูมิของน้ำแข็งจนสิ้นสุดการทำกิจกรรมโดยใช้กระดาษกราฟ หรือครูอาจให้นักเรียนเขียน

กราฟโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปนำเสนอผลการทำกิจกรรม และกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง

อณุ หภูมิกับเวลา จากน้ันร่วมกนั อภิปรายผลการทำกิจกรรมและเปรยี บเทียบผลการทำกิจกรรมของกลุ่มอ่ืนกับ

ของกล่มุ ตนเอง

3.2 นักเรียนอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เม่ือให้ความร้อนแก่น้ำจนน้ำเปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็น

ของเหลว และของเหลวเปน็ แกส๊ อุณหภูมขิ องนำ้ ขณะเปลย่ี นสถานะจะคงที่

3.3 นักเรียนสามารถอธิบายปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร ได้แก่ ปริมาณความร้อนท่ี

สสารไดร้ ับหรือสูญเสยี มวล และความรอ้ นแฝงจำเพาะของสาร

3.4 นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียน เพื่อให้นกั เรียนเรยี นรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการคำนวณปริมาณความ

ร้อนที่สสารได้รับหรือสูญเสียเม่ือสสารมีการเปลี่ยนสถานะและปริมาณอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง จากนั้นครูและ

นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเพื่อตอบคำถามชวนคิด

4. ขนั้ การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรียนรว่ มกันเขียนผังมโนทัศนใ์ นบทเรียนเร่ืองความรอ้ นกบั การเปล่ยี นแปลงของสสาร

4.2 ครูและนักเรียนอภิปรายสรุปองคค์ วามรูท้ ี่ได้จากบทเรียนร่วมกนั

5. ข้ันการบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 เช่อื มโยงความร้เู รื่องความรอ้ นจำเพาะของสารไปส่ผู ลของค่าความร้อนจำเพาะของน้ำท่ีมีผลต่อ

ส่งิ มชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ มแลกเปลยี่ นความรกู้ นั ในชน้ั เรียน

13. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1สื่อการเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมดุ

25

14. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้ รายละเอียด
ผลการสอน
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- ความสัมพนั ธ์ระหว่างความร้อนกบั การ ......................................................................................
เปลย่ี นสถานะของสสาร ......................................................................................
- การคำนวณปริมาณความร้อนท่ที ำให้ ......................................................................................
สสารเปลีย่ นอณุ หภูมแิ ละเปล่ียนสถานะ ......................................................................................
โดยใชส้ มการ ......................................................................................
......................................................................................
Q = mcΔt และ ......................................................................................
Q = mL ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการคิด ................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................
......................................................................................
3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ :
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................
- อย่อู ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
.................................................................................... ..
......................................................................................

26

4. ปญั หาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วธิ ีแก้ปัญหา ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
.......................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู ้สู อน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์..) (นายสรุ จกั ริ์ แกว้ มว่ ง.)

ลงช่ือ........................................... ลงช่ือ...........................................
(..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..) (..นางรพพี ร คำบุญมา..)
หวั หนา้ งานนิเทศ
รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

27

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี…1 พลงั งานความร้อน..เรือ่ ง...การถา่ ยโอนความร้อนในชีวติ ประจำวัน (ตอนท่ี 1)..........

รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร…์ …..2.......รหสั วชิ า…......ว 21102 ..............ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่....1.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2563... ภาคเรยี นท.่ี .2...เวลา...4...ชวั่ โมง……

ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................
1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ัด
รายวิชาเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั
ว 2.3 ม.1/6 ,1/7

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดท่ใี ชใ้ นหนว่ ยการเรียนร้นู เี้ ขยี นเป็นแบบความเรยี ง)
การถา่ ยโอนความรอ้ นมี 3 วิธี คือ การนำความรอ้ น การพาความร้อนและการแผร่ ังสีความร้อน การ

นำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยท่ีอนุภาคของตัวกลางไม่เคลื่อนที่ แต่ส่ัน
ต่อเนื่องกันไป การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนซึ่งอาศัยตัวกลางที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยที่
อนุภาคของตัวกลางเคล่ือนท่ีไปพร้อมกับพาความร้อนไปด้วย การแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อน
ทไ่ี มต่ ้องอาศยั ตวั กลาง แต่ความรอ้ นสง่ ผ่านโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรูเ้ พิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม)
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน

การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่เคลื่อนที่ การพาความร้อนเป็น
การถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยท่ีตัวกลางเคลื่อนท่ีไปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่าย
โอนความรอ้ นทไี่ มต่ ้องอาศัยตวั กลาง

• ความร้เู ก่ียวกบั การถ่ายโอนความร้อนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันได้ เชน่ การเลือกใช้
วสั ดุเพอื่ นำมาทำภาชนะบรรจุอาหาร เพอ่ื เกบ็ ความร้อน หรือการออ

3.2 สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถนิ่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถึงหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความแตกต่างของการถา่ ยโอนความร้อนวธิ ตี ่างๆได้ (K)

2. สรา้ งแบบจำลองเพื่ออธบิ ายการถา่ ยโอนความร้อนวิธีต่าง ๆได้ (P)

3. ต้ังใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกดิ ในหน่วยการเรียนร้นู ้)ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรู้น้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซื่อสตั ย์สจุ ริต
 3. มีวนิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

28

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ

7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในหอ้ งเรยี นคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสง่ิ ท่ีเรยี นรู้

3. หลักภูมคิ ุ้มกัน : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีทสี่ ดุ , มวี ินัยในการ

ทำงาน

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ภาระงาน
ตวั ช้วี ดั ช้ินงาน -สรา้ งแบบจำลองเพอื่ อธิบายการถา่ ยโอน
ผา่ นของแขง็
ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 - รายงานกจิ กรรมท่ี 1 ความรอ้ นถ่ายโอน -ออกแบบ เลอื กใช้ และสรา้ งอปุ กรณเ์ พ่ือ
แกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวันโดยใชค้ วามรู้
ผ่านของแข็งได้อยา่ งไร
เก่ียวข้องกบั การถ่ายโอนความรอ้ น

29

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เคร่อื งมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

11.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรู้นี้)

สงิ่ ทตี่ ้องการวดั วิธวี ดั ผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
1. ความรู้เกีย่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - นักเรียนไดค้ ะแนน
- การถา่ ยโอนความร้อนโดยวิธนี ำ ความคิดเหน็ อธบิ าย - แบบประเมินการ 12 คะแนนขน้ึ ไป
การถา่ ยโอนความร้อน อภิปรายแสดงความ หรือรอ้ ยละ 80
ความร้อน คดิ เหน็ ถือว่าผ่านเกณฑ์
โดยวิธีนำความรอ้ น - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน
ตรวจผลงานผู้เรียน ประเมนิ ผลงาน
-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขนึ้ ไป
นกั เรยี น หรอื ร้อยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนได้คะแนน
12 คะแนนขึ้นไป
ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ หรอื ร้อยละ 80 ถือว่า
ผา่ นเกณฑ์
ทกั ษะกระบวน คิดเห็น
- นักเรียนไดค้ ะแนน
การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน ประเมนิ คุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์
ได้ปฏบิ ัติจากกิจกรรม พฤติกรรมการ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรือร้อยละ 80
- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลมุ่ 30

3. คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ - สงั เกตคา่ นยิ มในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานร่วมกับผู้อืน่ คณุ ลกั ษณะอนั พึง

- มีวินยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน

ของการทำงานร่วมกับผู้อ่นื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เก่ียวกบั ผลการ

- ยอมรบั ความคิดเห็นซงึ่ กนั ทดลอง - นกั เรยี นได้คะแนน
และกันมีความเสยี สละและ การประเมนิ สมรรถนะ
อดทน 29 คะแนนข้ึนไป
หรอื รอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 1
1. ขนั้ ตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 กระตุ้นความสนใจโดยให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวีดิทัศน์ หรือส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวกับการทำ

ประมงในทะเลนำ้ ลึก พร้อมท้งั ใหน้ ักเรียนอา่ นเน้ือหานำบทจากนน้ั ครูและนกั เรียนอภปิ รายถึงวิธีการทชี่ าว
ประมงเก็บรักษาสัตว์ทะเลท่จี ับได้ใหย้ ังคงความสดไม่เน่าเสียจากแบคทีเรยี ท่ีเจริญเตบิ โตในอุณหภมู ิ
สูงได้อย่างไร การป้องกันการเน่าเสียของสัตว์ทะเลเก่ียวข้องกับการถ่ายโอนความร้อนอย่างไร(ภาพนำบท คือ
ภาพแสดงเรือประมงท่ีออกจับสัตว์ทะเลน้ำลึกห่างไกลจากชายฝั่ง เป็นระยะเวลานานหลายเดือนหรือบางครั้ง
อาจจะนานมากกว่าคร่ึงปีสัตว์ทะเลท่ีจับข้ึนมาได้ต้องเก็บไว้ในห้องเย็นเพ่ือลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียท่ี
ทำให้สตั ว์ทะเลเนา่ เสยี ระหว่างการขนสง่ ไปจนถึงผบู้ ริโภคได้

1.2 กระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับเรื่องการถ่ายโอนความร้อนวิธีต่าง ๆ โดยอาจใช้ภาพในหนังสือเรียน วีดิ
ทศั น์ หรอื ส่อื อื่น ๆ ท่แี สดงถงึ การประกอบอาหารด้วยความรอ้ นวิธีต่าง ๆ นักเรียนอ่านเน้อื หานำเรื่อง จากนน้ั
ครูอาจใช้คำถามเพอื่ อภิปรายดงั น้ี

- ในภาพแสดงวิธีการทำอาหารอะไรบา้ ง (การย่าง การทอด)
- การประกอบอาหารแต่ละวธิ ี มกี ารถ่ายโอนความร้อนหรอื ไม่ อยา่ งไร
1.3 ให้นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนเพอ่ื ประเมนิ ความรพู้ น้ื ฐานของนักเรียน เก่ียวกบั
ความหมายของการถ่ายโอนความร้อนและการจัดเรียงอนุภาค การเคลื่อนท่ีของอนุภาคของสสารในแต่ละ
สถานะ หากพบว่านักเรียนยังมีความรู้พ้ืนฐานไม่ถกู ต้อง ครคู วรทบทวนหรือแก้ไขความเขา้ ใจ
ผดิ ของนกั เรียนเพอ่ื ใหม้ คี วามร้พู ื้นฐานเพียงพอในการเรยี นต่อไป
ชั่วโมงท่ี 2-3
2. ขนั้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1กระตุ้นความสนใจโดยใชภ้ าพแสดงแทง่ เหล็กทม่ี ีลกู ช้นิ เสียบไว้หลายลูก ปลายดา้ นหนงึ่ ของแทง่ เหลก็
ได้รบั ความร้อนครูกระตุ้นใหน้ ักเรยี นคิดวา่ มีการถา่ ยโอนความร้อนอย่างไร ลูกช้ินทีต่ ำแหน่งใดจะสุกก่อน เพ่ือ
เชื่อมโยงเขา้ ส่กู ิจกรรมท่ี 1 ความรอ้ นถ่ายโอนผ่านของแข็งไดอ้ ยา่ งไร
2.2 ใหน้ ักเรียนอา่ นวธิ ดี ำเนินกิจกรรม จากน้นั ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภิปรายจดุ ประสงค์ของกิจกรรม
และวิธี ดำเนิน กิจกรรมในชุดกจิ กรรม โดยอาจใชค้ ำถามดงั น้ี
• กจิ กรรมน้ีเกี่ยวกบั เร่ืองอะไร (เร่อื งการถา่ ยโอนความร้อนของแผ่นอะลูมิเนยี ม)
• การทำกจิ กรรมมีขน้ั ตอนโดยสรุปอยา่ งไร (เตรยี มอุปกรณ์ตามภาพในหนงั สือเรียน แลว้ ทำกิจกรรมเพ่ือ
สังเกตการเปล่ยี นแปลงของชิ้นเทยี นไขซ่ึงวางบนแผน่ อะลูมิเนียมทีไ่ ด้รับความร้อน จากนั้นสร้างแบบจำลอง
การถา่ ยโอนความร้อนของของแขง็ และสืบค้นข้อมูลแบบจำลองการถ่ายโอนความรอ้ นของของแขง็ จากแหล่ง
ที่เช่ือถือได้ เพอ่ื นำมาปรบั ปรุงแบบจำลองของตนเอง และนำเสนอ)

31

2.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับข้ันตอนการทำกิจกรรมท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ จากน้ันครูและ

นักเรยี นร่วมอภิปรายเพ่ือแก้ไขสิ่งท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ เน้นย้ำเก่ียวกับวิธกี ารบันทึกผล ข้อควรระวังในการทำ

กจิ กรรม โดยอาจใชค้ ำถามดงั น้ี

• ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมนี้มีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ แต่ครูควรกำชับให้นักเรียน

ระวงั การใช้มือสัมผสั กับแผ่นอะลูมเิ นียมท่ีไดร้ ับความร้อน)

• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมวี ิธบี ันทึกผลอย่างไร (สังเกตการเปลี่ยนแปลงของ

ช้ินเทียนไขเมื่อให้ความรอ้ นแก่แผ่นอะลูมิเนียม บันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นและบันทึกผลการสังเกตอย่างละเอียด หรือ

อาจใชก้ ล้องบันทกึ ภาพนงิ่ หรอื ภาพเคลือ่ นไหว)

2.4 ให้นกั เรยี นร่วมกันทำกิจกรรมตามวธิ กี ารในหนงั สอื เรียน สงั เกตการเปลีย่ นแปลงที่เกดิ ขึ้น

2.5 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อวาดแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนผ่านของแข็ง โดย

แสดงถึงการจดั เรยี ง

อนุภาคของของแข็งเมือ่ ได้รบั ความร้อน จากนน้ั นำเสนอแบบจำลองท่ีสรา้ งข้นึ ตามความคดิ ของตนเอง

ชั่วโมงที่ 4

3. ข้ันสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลการถ่ายโอนความร้อนผ่านของแข็งจากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือได้

เช่น หนังสือ หรือเว็บไซต์โดยให้นักเรียนระบุแหล่งท่ีมาของข้อมูล นักเรียนนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาปรรับแก้

แบบจำ ลองของตนเอง พร้อมทงั้ อธิบายแนวทางในการปรับแก้แบบจำลองอีกครงั้

3.2 ใหน้ ักเรียนใชข้ ้อมลู ท่ีไดจ้ ากการอภิปรายร่วมกนั มาใช้ตอบคำถามท้ายกจิ กรรม

4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ร่วมกันอภิปรายถึงสถานการณท์ ี่ครูได้เคยถามนกั เรยี นก่อนนำเข้าส่กู จิ กรรมวา่ การนำลกู ช้ินหลาย

ลูกเสียบกับแท่งเหล็กแล้วนำ ปลายด้านหน่ึงของแท่งเหล็กไปให้ความร้อน จะเกิดการถ่ายโอนความร้อน

อย่างไร และลูกชิ้นที่ตำแหน่งใดจะสุกก่อน เพราะเหตุใด (นักเรียนควรตอบได้ว่าเกิดจากการนำความรอ้ นจาก

ปลายแท่งเหล็กท่ีได้รับความร้อนต่อเนื่องไปยังบริเวณอ่ืนที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าซ่ึงอยู่ข้างเคียง มีผลทำให้ลูกช้ินท่ี

เสียบไว้ใกลก้ ับปลายแท่งเหลก็ ดา้ นท่ไี ดร้ บั ความร้อนสุกก่อนลูกที่อยถู่ ัดไป)

4.2 ครแู ละนักเรียนอภิปรายสรปุ องค์ความรู้ที่ได้จากบทเรยี นร่วมกนั

5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ร่วมกันอภิปรายโดยใช้การถามตอบเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การนำความร้อนเป็นการถา่ ยโอนความ

ร้อนโดยการส่ันของอนุภาค เมื่ออนุภาคซึ่งเป็นตัวกลางได้รับความร้อน อนุภาคน้ันจะส่ันมากข้ึน มีอุณหภูมิ

เพิม่ ขึน้ และไปชนกับอนุภาคทอี่ ยู่ข้างเคียง ทำใหอ้ นุภาคท่ีอยู่ข้างเคียงส่ันมากขึ้น และมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึนตามไป

ดว้ ย ความร้อนจะถา่ ยโอนจากบริเวณทีอ่ ยู่ใกล้แหล่งพลังงานความรอ้ นไปยังบริเวณที่ห่างออกไป การนำความ

ร้อนเกิดขึ้นกับสสารได้ทุกสถานะ สสารแต่ละชนิดจะนำความร้อนได้แตกต่างกัน ดังนั้นเราสามารถนำความรู้

เกยี่ วกับการนำความร้อนไปใช้ในการเลอื กวสั ดุใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน

5.2 ใหน้ ักเรียนเขียนสรุปสิง่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ตามความเขา้ ใจของตนเองลงในสมุดบนั ทึก และอาจให้

นักเรียนยกตวั อย่างการนำความรเู้ ก่ียวกบั เรื่องการนำความร้อนไปใชใ้ นกิจกรรมอืน่ ๆ นอกเหนอื จากใน

หนงั สอื เรยี น

13. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1 ส่ือการเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอรพ์ อยต์

32

13.2 แหล่งเรียนรู้ 2) ห้องสมดุ
1) อนิ เตอรเ์ นต็
รายละเอยี ด
14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................
......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ................................................................................
- การถา่ ยโอนความรอ้ นโดยวธิ นี ำความรอ้ น

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อยา่ งพอเพียง ...............................................................................
- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
.......................................................................
......................................................................................
5. วธิ ีแก้ปญั หา ......................................................................................
.......................................................................
.......................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์..) (นายสุรจกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(..นายศิวาวุฒิ รัตนะ..) (..นางรพพี ร คำบุญมา..)
หวั หน้างานนิเทศ
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

33

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี…1 พลงั งานความรอ้ น..เร่อื ง...การถ่ายโอนความร้อนในชวี ติ ประจำวัน (ตอนท่ี 2)..........

รายวิชา……......วิทยาศาสตร…์ …..2.......รหัสวชิ า…......ว 21102 ..............ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท.่ี ...1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2563... ภาคเรียนท่.ี .2...เวลา...3..ชวั่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด
รายวิชาเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั
ว 2.3 ม.1/6 ,1/7

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวัดที่ใชใ้ นหน่วยการเรียนร้นู เ้ี ขียนเป็นแบบความเรียง)
การถา่ ยโอนความรอ้ นมี 3 วิธี คือ การนำความรอ้ น การพาความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน การ

นำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่อนุภาคของตัวกลางไม่เคล่ือนท่ี แต่ส่ั น
ต่อเนื่องกันไป การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนซึ่งอาศัยตัวกลางท่ีเป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยท่ี
อนุภาคของตัวกลางเคล่ือนท่ีไปพร้อมกับพาความร้อนไปด้วย การแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อน
ที่ไม่ตอ้ งอาศยั ตวั กลาง แต่ความร้อนสง่ ผ่านโดยคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พ่มิ เตมิ (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ )
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน

การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่เคลื่อนท่ี การพาความร้อนเป็น
การถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยท่ีตัวกลางเคล่ือนที่ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่าย
โอนความรอ้ นท่ไี ม่ต้องอาศัยตัวกลาง

• ความรเู้ ก่ียวกับการถ่ายโอนความร้อนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั ได้ เช่นการเลือกใช้

วสั ดเุ พื่อนำมาทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพื่อเก็บความร้อน หรือการออ

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมายของการถ่ายโอนความร้อนของของเหลวและแกส๊ (K)

2. รวบรวมข้อมูลและสรา้ งแบบจำลองเพื่ออธบิ ายการถ่ายโอนความร้อนของของเหลวและแกส๊ (P)

3. ตงั้ ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กดิ ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น)้ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซือ่ สัตยส์ ุจรติ

 3. มีวนิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้ 34

 5. อยู่อย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)
 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)
 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ให้นกั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ
ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสง่ิ ทีเ่ รียนรู้

3. หลักภมู คิ มุ้ กนั : ให้นักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบคุ คล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวัง
5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาได้ดที ่ีสดุ , มีวินยั ในการ
ทำงาน
10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 - รายงานกจิ กรรมท่ี 2 การถา่ ยโอนความ -สรา้ งแบบจำลองเพื่ออธบิ ายการถ่ายโอน

รอ้ นของของเหลวและแกส๊ เป็นอย่างไร ความร้อนของของเหลวและแก๊ส

- รายงานกิจกรรมท่ี 3 การถ่ายโอนความ -ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ งอปุ กรณเ์ พ่ือ

ร้อนโดยไม่อาศยั ตวั กลางเปน็ อย่างไร แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวันโดยใชค้ วามรู้

เกี่ยวขอ้ งกบั การถ่ายโอนความรอ้ น

35


Click to View FlipBook Version