The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8.แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องปริมาตรเเละความจุ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by miw_chaya, 2022-04-04 02:26:37

8.แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องปริมาตรเเละความจุ (1)

8.แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องปริมาตรเเละความจุ (1)

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรือ่ ง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงส่ีเหล่ยี มมุมฉาก

รหัสวชิ า ค 15101 ชอ่ื รายวชิ า คณิตศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 63 เรอื่ ง การเตรยี มความพร้อม ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5

วนั ท.่ี .............เดือน.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด

สาระท่ี การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวดั และ

นาไปใช้

ตัวชว้ี ดั
ค 2.1 ป.5/3 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญหาเกย่ี วกับปรมิ าตรของทรงสี่เหล่ยี มมุมฉากและความจุ
ของถาชนะทรงสีเ่ หล่ียมมมุ ฉาก

สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
ปรซิ มึ เปน็ รูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตัน มหี นา้ ตัดหรือฐาน 2 หน้า อยบู่ นระนาบทข่ี นานกนั และหนา้

ตัดหรอื ฐานเป็นรปู หลายเหลี่ยม ทเ่ี ทา่ กนั ทกุ ประการ หนา้ ขา้ งเปน็ รูปสเ่ี หล่ียมดา้ นขนาน

สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ดา้ นความรู้
บอกชนิดของรปู ท่ีกาหนดให้ไดว้ า่ เปน็ รปู เรขาคณิตสองมิติชนิดใด (K)
ด้านทกั ษะกระบวนการ
สามารถให้เหตุผลได้วา่ รปู ท่ีกาหนดใหเ้ ปน็ รูปเรขาคณติ สองมิติชนิดใดได้อย่างเหมาะสม (P)
ด้านคุณลกั ษณะ
มีวินยั ในตนเอง (A)

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวินัยในตนเอง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
ความสามารถในการคิด
1. ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
ความสามารถในการแก้ปัญหา
1. ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ
ความสามารถการส่ือสาร
1. ความสามารถในการรับและสง่ สาร
2. มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครูกล่าวทกั ทายพร้อมท้ังทบทวน และแจ้งจุดประสงค์และจดุ มุ่งหมายของการเรียนบทที่ 8 เรือ่ ง

ปริมาตรและความจขุ องทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ว่าเม่อื จบบทนี้แล้วนกั เรียนจะต้องเรยี นรูอ้ ะไรบา้ งอย่างไรดงั น้ี
บอกลักษณะและสว่ นตา่ งๆของปรซิ มึ ได้,หาปรมิ าตรและความจุของทรงสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉากได้,บอกความสมั พันธ์
ระหว่างหนว่ ยปรมิ าตรและความจุได้, และแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก
ได้

ขัน้ ที่ 2 ขน้ั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความรู้เก่ียวกับรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติโดยให้
นักเรียนร่วมกันตอบคาถามตอไปนี้ว่าแต่ละรูปท่ีครู
กาหนดให้มีชอ่ื เรยี กว่าอะไรบา้ ง

2. กิจกรรมเตรียมความพร้อม หน้า 134 เป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการเรียน
บทน้ี ถา้ พบวา่ นกั เรยี นยงั มีความรพู้ ืน้ ฐานไม่เพยี งพอควรทบทวนก่อน แลว้ ใหท้ าแบบฝึกหัด 8.1 เป็นรายบุคคล

ขั้นที่ 3 ข้ันสรปุ
นักเรียนแต่ละคนร่วมกันสรุปจนสรุปได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติ เรียกชื่อตามจานวนด้านและจานวน
เหลี่ยมของรูปเรขาคณติ น้ันน้ัน เชน่ รูปส่เี หลี่ยม มมี ุม 4 มุม มี ด้าน 4 ต้าน เปน็ ตน้

ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้
- หนงั สือแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชิน้ งาน

- กจิ กรรมเตรยี มความพร้อมในหนังสอื เรยี นหน้า 134

การวัดและการประเมนิ ผล

การวัดผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน
ผา่ นเกณฑ์ระดับดีขน้ึ ไป
ด้านความรู้ (K) ตรวจผลการทา แบบฝกึ ทักษะ
ผ่านเกณฑ์ระดบั ดีขึ้นไป
บอกชนิดของรูปที่กาหนดให้ แบบฝกึ หัด
ผ่านเกณฑร์ ะดับดีข้นึ ไป
ได้วา่ เป็นรปู เรขาคณติ สองมิติชนดิ

ใด

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ตรวจผลการทา แบบฝึกทักษะ

สามารถใหเ้ หตผุ ลไดว้ ่ารูปที่ แบบฝึกหดั

กาหนดให้เป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ

ชนดิ ใดได้อย่างเหมาะสม

ด้านคณุ ลักษณะ (A) สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต

มวี นิ ยั ในตนเอง พฤติกรรม

การประเมินผล

ประเดน็ การ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
4 32 1
(ดีมาก) (ตอ้ งปรับปรุง)
(ด)ี (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝกึ หัดได้อยา่ ง
ถกู ต้องต่ากว่าร้อยละ
1. บอกชนิด ทาแบบฝึกหัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ 60

ของรปู ท่ี อยา่ งถูกต้องร้อยละ อยา่ งถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ นักเรียนไมส่ ามารถให้
เหตผุ ลได้ว่ารปู ท่ี
กาหนดใหไ้ ด้ 90 ขึ้นไป 80 - 89 60 - 79 กาหนดให้เปน็ รปู

ว่าเปน็ รูป

เรขาคณิตสอง

มติ ิชนดิ ใด

2. สามารถให้ นักเรยี นสามารถให้ นักเรยี นสามารถให้ นกั เรยี นสามารถให้
เหตผุ ลไดว้ ่ารูปท่ี เหตผุ ลได้ว่ารูปท่ี
เหตุผลไดว้ า่ รูป เหตผุ ลได้ว่ารปู ที่ กาหนดให้เป็นรูป กาหนดให้เป็นรปู
เรขาคณิตสองมิติ
ที่กาหนดให้ กาหนดใหเ้ ปน็ รูป

เป็นรปู เรขาคณติ สองมิติ

ประเด็นการ ระดบั คุณภาพ
ประเมิน
4 32 1
(ดมี าก) (ต้องปรบั ปรุง)
(ดี) (กาลงั พัฒนา) เรขาคณิตสองมิตชิ นิด
ใดได้ได้
เรขาคณิตสอง ชนิดใดได้อย่าง ชนดิ ใดได้อย่าง เรขาคณิตสองมิติ
นักเรียนเข้าเรียนสาย
มิตชิ นดิ ใดได้ ถกู ต้องและ ถกู ต้องและ ชนิดใดได้ได้ เกนิ 10 นาที

อยา่ งเหมาะสม เหมาะสมครบถ้วน เหมาะสม

3. มีวินยั ใน นักเรยี นเขา้ เรียน นกั เรยี นเขา้ เรียน นกั เรียนเข้าเรยี น

ตนเอง ตรงเวลา สายแต่ไม่เกนิ 5 สายเกิน 5 นาที แต่

นาที ไม่เกนิ 10 นาที

บนั ทึกหลังการสอน

สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรยี นจานวน ................................................... คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรยี นมีความสามารถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรยี นมคี วามรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรยี นมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตาแหน่ง ครูผู้สอน

ความคดิ เหน็ ของฝา่ ยวชิ าการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ .......................................................... หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าด)ี

ความคิดเห็นของผู้อานวยการ
 เหมาะสม เน้ือหาครบถว้ น
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงช่อื ..........................................................
(นายพริ ชั วิชช์ อุคต)

รกั ษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผูอ้ านวนการโรงเรียนบา้ นศรีทองสามัคคี

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 เร่ือง ปริมาตรและความจขุ องทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉาก

รหัสวิชา ค 15101 ชอ่ื รายวชิ า คณติ ศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 64 เร่อื ง รปู เรขาคณิตสองมติ ิและรปู เรขาคณิตสามมติ ิช้ันประถมศึกษาปีที่ 5

วันท่.ี .............เดือน.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด

สาระท่ี การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกย่ี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ีต้องการวัด และ

นาไปใช้

ตัวชว้ี ดั
ค 2.1 ป.5/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจุ
ของถาชนะทรงส่เี หลี่ยมมุมฉาก

สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ปริซึมเปน็ รูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตัน มหี นา้ ตัดหรือฐาน 2 หนา้ อย่บู นระนาบที่ขนานกัน และหน้า

ตัดหรือฐานเปน็ รูปหลายเหล่ียม ท่ีเทา่ กันทุกประการ หน้าข้างเปน็ รูปสี่เหล่ียมด้านขนาน

ชนิดของปริซึม จาแนกตามรูปหลายเหล่ียมท่ีเปน็ หน้าตดั หรือฐาน

ปริซมึ ส่เี หล่ียม ท่ีมหี น้าทุกหน้าเป็นรูปสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก เรยี กว่า ทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก

ปริซมึ ส่เี หลย่ี มหรอื ทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก ทมี่ ีหนา้ ทุกหนา้ เป็นรปู ส่เี หลี่ยมจตั ุรัส เรียกว่า ลกู บาศก์

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ด้านความรู้

บอกลักษณะและส่วนตา่ ง ๆ ของปริซึม (K)
ด้านทกั ษะกระบวนการ

สามารถให้เหตผุ ลไดว้ ่ารูปท่ีกาหนดใหเ้ ป็นรปู เรขาคณิตสองมติ ิหรอื รปู เรขาคณติ สามมติ ิได้
อย่างเหมาะสม (P)
ด้านคุณลักษณะ

มีวินัยในตนเอง (A)

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ยั ในตนเอง

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
ความสามารถในการคิด
1. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์
2. การคดิ สงั เคราะห์
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการส่ือสาร
1. ความสามารถในการรับและส่งสาร
2. มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครูนาภาพของรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละรปู เรขาคณติ สามมิติ ให้นักเรียนพจิ ารณาและรว่ มกนั แสดง

ความคดิ เหน็ เก่ียวกับ ความแตกตา่ งระหว่างรปู เรขาคณติ สองมิติกับรปู เรขาคณิตสามมิติ
ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั กิจกรรมการเรยี นรู้

2. ครูแนะนาว่า ความสูงของรูปเรขาคณิตสามมิติ ในบางกรณีอาจเรียกว่า
ความลึก หรอื ความหนา เช่น กระจกหนา 5 มลิ ลิเมตร บ่อน้าบาดาลลกึ 12 เมตร

3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันทากิจกรรมหน้า 136 โดย
ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนตอบคาถามในแต่ละข้อ พร้อม
ทั้งบอกเหตผุ ลประกอบ

4. ครูใช้แบบจาลองของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ประกอบการ อธิบาย และควรเปิดโอกาสใหน้ ักเรียน
ไดส้ ัมผัสกบั แบบจาลอง เหล่าน้นั

5. ครูแนะนารูปเรขาคณิตสามมิติท่ีเป็นทรงตัน พร้อม ยกตัวอย่างส่ิงที่อยู่
รอบตัวที่มีลักษณะเป็นทรงตัน เช่น ยางลบ ลูกเหล็ก ชอล์ค จากนั้นครูควรใช้คาถาม
เพอ่ื ใหน้ ักเรียนบอก ลักษณะสาคัญของรูปเรขาคณิตสามมติ ิแตล่ ะชนดิ

6. ครูให้นักเรียนสารวจสง่ิ ของในห้องเรียนวา่ มีสิ่งใดบ้างท่ีเป็นเรขาคณิตสาม
มิติ พร้อมทั้งให้นักเรียนออกมานาเสนอส่ิงที่ตนเองสารวจได้ พร้อมทั้งบอกเหตุผล
ประกอบ

ขัน้ ท่ี 3 ข้นั สรุป
นักเรยี นแต่ละคนรว่ มกันสรปุ จนสรุปได้ว่าปริซมึ เป็นรูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตนั มหี น้าตดั หรอื ฐาน 2
หน้า อยบู่ นระนาบท่ขี นานกัน และหน้าตดั หรอื ฐานเปน็ รูปหลายเหลยี่ ม ทเ่ี ท่ากนั ทุกประการ หนา้ ข้างเป็นรปู
สี่เหล่ียมด้านขนาน ชนดิ ของปรซิ ึม จาแนกตามรูปหลายเหลี่ยมทเ่ี ปน็ หนา้ ตดั หรือฐาน ปริซึมสีเ่ หลีย่ ม ที่มีหน้า
ทกุ หน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เรียกวา่ ทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก และปริซึมสเี่ หลย่ี มหรือทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ที่มี
หนา้ ทุกหนา้ เป็นรูปสเ่ี หลย่ี มจัตุรัส เรยี กว่า ลกู บาศก์

สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
- หนังสือแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชน้ิ งาน
- กิจกรรมเตรียมความพร้อมในหนังสอื เรยี นหน้า 136

การวัดและการประเมนิ ผล วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
การวัดผล ตรวจผลการทา
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบบฝกึ ทักษะ ผา่ นเกณฑร์ ะดับดีขน้ึ ไป
แบบฝึกหัด
ด้านความรู้ (K) แบบฝกึ ทักษะ ผ่านเกณฑร์ ะดับดีข้นึ ไป
บอกลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ตรวจผลการทา
แบบฝึกหดั แบบสังเกต ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีข้นึ ไป
ของปรซิ ึม พฤติกรรม
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรม

สามารถใหเ้ หตผุ ลได้ว่ารูปที่
กาหนดใหเ้ ปน็ รปู เรขาคณิตสองมิติ
หรอื รูปเรขาคณิตสามมิตไิ ด้
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)

มวี นิ ยั ในตนเอง

การประเมนิ ผล

ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ
ประเมิน
4 32 1
(ดมี าก) (ตอ้ งปรับปรุง)
(ดี) (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝกึ หัดได้อยา่ ง
ถกู ต้องตา่ กว่ารอ้ ยละ
1. บอก ทาแบบฝกึ หดั ได้ ทาแบบฝึกหัดได้ ทาแบบฝึกหดั ได้ 60

ลกั ษณะและ อย่างถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ อย่างถูกต้องร้อยละ นักเรยี นไม่สามารถให้
เหตุผลได้ว่ารูปที่
ส่วนต่าง ๆ 90 ขนึ้ ไป 80 - 89 60 - 79 กาหนดให้เป็นรูป
เรขาคณติ สองมิติหรอื
ของปรซิ ึม รูปเรขาคณติ สามมิติ
ได้
2. สามารถให้ นักเรียนสามารถให้ นักเรยี นสามารถให้ นักเรียนสามารถให้
เหตผุ ลไดว้ ่ารูปที่ เหตผุ ลได้วา่ รปู ที่ นักเรียนเข้าเรยี นสาย
เหตุผลได้วา่ รปู เหตุผลได้วา่ รูปท่ี กาหนดใหเ้ ปน็ รูป กาหนดให้เป็นรปู เกนิ 10 นาที
เรขาคณติ สองมิติ เรขาคณติ สองมิติ
ที่กาหนดให้ กาหนดให้เปน็ รปู หรอื รูปเรขาคณติ หรอื รูปเรขาคณติ
สามมิตไิ ด้อยา่ ง สามมิติได้
เปน็ รูป เรขาคณิตสองมิติ ถกู ต้องและ
เหมาะสม นักเรียนเขา้ เรยี น
เรขาคณติ สอง หรือรูปเรขาคณติ นกั เรยี นเขา้ เรียน สายเกนิ 5 นาที แต่
ไมเ่ กิน 10 นาที
มิตหิ รอื รปู สามมิติได้อย่าง สายแตไ่ มเ่ กนิ 5

เรขาคณิตสาม ถกู ต้องและ นาที

มิตไิ ด้ เหมาะสมครบถ้วน

3. มีวนิ ัยใน นกั เรียนเขา้ เรียน

ตนเอง ตรงเวลา

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจานวน ................................................... คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีความสามารถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วามรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตาแหนง่ ครูผสู้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝ่ายวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถ้วน
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นายพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผอู้ านวนการโรงเรยี นบ้านศรีทองสามัคคี

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 เร่อื ง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก

รหสั วชิ า ค 15101 ชื่อรายวิชา คณติ ศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 65 เรื่อง ลักษณะและส่วนตา่ ง ๆ ของปรซิ ึม ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

วนั ท่.ี .............เดอื น.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั

สาระที่ การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง

รูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ตวั ชี้วัด

ค 2.1 ป.5/4 บอกลกั ษณะของปริซึม

สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ปรซิ ึมเปน็ รปู เรขาคณติ สามมิติ ทรงตัน มหี นา้ ตัดหรือฐาน 2 หนา้ อยบู่ นระนาบทขี่ นานกัน และหน้า

ตัดหรอื ฐานเปน็ รูปหลายเหล่ียม ทเี่ ท่ากนั ทกุ ประการ หนา้ ข้างเป็นรปู สเี่ หลย่ี มด้านขนาน

ชนดิ ของปริซึม จาแนกตามรูปหลายเหลีย่ มทเ่ี ป็นหน้าตดั หรอื ฐาน

ปรซิ มึ สี่เหลย่ี ม ท่ีมีหนา้ ทุกหน้าเป็นรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก เรียกวา่ ทรงสีเ่ หลยี่ มมุมฉาก

ปริซึมส่เี หล่ยี มหรอื ทรงสเี่ หลีย่ มมมุ ฉาก ทมี่ ีหนา้ ทุกหน้าเปน็ รูปส่เี หล่ยี มจตั รุ สั เรยี กวา่ ลกู บาศก์

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ดา้ นความรู้

บอกลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ของปรซิ ึมได้ (K)
ดา้ นทักษะกระบวนการ

สามารถให้เหตุผลไดว้ า่ รปู ทกี่ าหนดใหเ้ ป็นปริซมึ ชนดิ ใดได้อย่างเหมาะสม (P)
ด้านคุณลักษณะ

มีวินัยในตนเอง (A)

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินัยในตนเอง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคดิ
1. ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
2. การคิดสงั เคราะห์
ความสามารถในการแก้ปัญหา
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการสื่อสาร
1. ความสามารถในการรับและส่งสาร
2. มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนเร่อื งของรปู เรขาคณิตสองมิติและ สามมติ ิ โดยนาภาพของรูปเรขาคณติ สองมิตแิ ละรูป

เรขาคณิตสามมิติ ให้นักเรยี นพิจารณาและรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับ ความแตกต่างระหวา่ งรปู
เรขาคณติ สองมิติกบั รูปเรขาคณติ สามมติ ิ

ข้ันที่ 2 ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้

2. ครูนาแบบจาลองของปริซึมหรือส่ิงที่มีลักษณะคล้าย ปริซึมชนิดต่าง ๆ เช่น
กล่องบรรจุภัณฑ์ ให้นักเรียนสังเกต ลักษณะท่ีเหมือนกันและต่างกัน เพื่อสร้างความคิด
รวบยอด เก่ียวกับลักษณะของปริซึม ซ่ึงควรจะได้ว่า ปริซึมจะมี รูปเรขาคณิตสองมิติ 2
รูป อยู่ตรงข้ามกัน มีรูปร่าง เหมือนกันและขนาดเท่ากัน มีด้านข้างเป็นรูปสี่เหลย่ี ม ด้าน
ขนาน

3. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมสร้างโครงสร้างของ
ปริซึมชนิดต่างๆโดยใช้หลอดดูดและลวดกามะหย่ี เพ่ือให้นักเรียนได้เข้าใจ
ลกั ษณะของปรซิ ึมมากข้ึน

4. ครูแนะนาลักษณะของปริซึมสามเหล่ียมและ ปรึซึมส่ีเหล่ียม หน้า 139
พร้อมใชแ้ บบจาลองประกอบ การอธบิ าย แล้วรว่ มกันสรุปใหไ้ ด้วา่

1) ปริซึมที่มีหน้าตัดหรือฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม และมีหน้าข้างเป็นรูปส่ีเหล่ียมด้านขนาน
เรยี กว่า ปรซิ มึ สามเหลี่ยม

2) ปริซมึ ท่ีมหี น้าตดั หรือฐานเป็นรูปสีเ่ หล่ียม และมหี นา้ ข้างเป็นรูปสเ่ี หล่ียมดา้ นขนาน
เรียกว่า ปริซึมสเ่ี หล่ียม

3) ปรซิ มึ เป็นรปู เรขาคณิตสามมติ ิ ทรงตัน มหี นา้ ตดั หรือฐาน 2 หน้า อยบู่ นระนาบที่ขนาน
กัน และหน้าตัดหรือฐาน เปน็ รปู หลายเหลี่ยมทเี่ ท่ากันทกุ ประการ หนา้ ข้าง เป็นรูปสเี่ หล่ยี ม
ดา้ นขนาน

4) ชนิดของปริซมึ จาแนกตามรปู หลายเหล่ียม ทเี่ ป็นหน้าตัดหรอื ฐาน

5. ครูและนักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถามหน้า 139 แล้วรว่ มกนั ทากิจกรรมหนา้ 140

6. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัด 8.3 เปน็ รายบคุ คล

ข้ันท่ี 3 ข้นั สรปุ

นกั เรียนแตล่ ะคนรว่ มกนั สรปุ จนสรุปไดว้ า่ ปริซึมเปน็ รปู เรขาคณิตสามมติ ิ ทรงตัน มีหนา้ ตดั หรือฐาน 2
หนา้ อยู่บนระนาบที่ขนานกัน และหนา้ ตัดหรอื ฐานเปน็ รปู หลายเหลี่ยม ทเ่ี ทา่ กนั ทุกประการ หนา้ ขา้ งเปน็ รูป
สเี่ หล่ียมด้านขนาน ชนดิ ของปริซึม จาแนกตามรูปหลายเหล่ียมที่เป็นหนา้ ตดั หรอื ฐาน ปรซิ มึ ส่เี หลย่ี ม ที่มีหนา้
ทกุ หน้าเป็นรปู สเ่ี หล่ียมมุมฉาก เรยี กว่า ทรงสเี่ หล่ียมมุมฉาก และปริซึมสเ่ี หล่ียมหรือทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก ที่มี
หนา้ ทุกหนา้ เป็นรูปสเ่ี หล่ียมจัตุรสั เรยี กว่า ลกู บาศก์

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้
- หนงั สือแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชน้ิ งาน
- แบบฝกึ หัด 8.3

การวัดและการประเมนิ ผล วิธีการวัดผล เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ
การวัดผล ตรวจผลการทา
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ แบบฝกึ ทกั ษะ ผ่านเกณฑร์ ะดับดีขึน้ ไป
แบบฝกึ หัด
ด้านความรู้ (K) แบบฝึกทกั ษะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดีข้ึนไป
บอกลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ตรวจผลการทา

ของปริซึม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

สามารถให้เหตุผลได้ว่ารูปท่ี แบบฝึกหัด

กาหนดใหเ้ ป็นปรซิ ึมชนดิ ใดได้อย่าง

เหมาะสม

ด้านคุณลักษณะ (A) สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์ระดับดีขน้ึ ไป
พฤติกรรม
มวี ินัยในตนเอง

การประเมนิ ผล

ประเดน็ การ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) 32 (ต้องปรับปรุง)
(ด)ี (กาลงั พัฒนา)

1. บอก ทาแบบฝกึ หดั ได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ ทาแบบฝกึ หดั ได้ ทาแบบฝึกหัดได้อยา่ ง

ลักษณะและ อย่างถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องร้อยละ อยา่ งถูกต้องรอ้ ยละ ถูกต้องต่ากว่ารอ้ ยละ

ส่วนตา่ ง ๆ 90 ขึ้นไป 80 - 89 60 - 79 60

ของปริซึม

2. สามารถให้ นกั เรียนสามารถให้ นักเรยี นสามารถให้ นักเรียนสามารถให้ นักเรยี นไม่สามารถให้

เหตผุ ลได้วา่ รปู เหตุผลไดว้ ่ารูปที่ เหตผุ ลได้วา่ รูปท่ี เหตผุ ลได้ว่ารปู ท่ี เหตุผลได้วา่ รูปท่ี

ท่ีกาหนดให้ กาหนดใหเ้ ปน็ ปริซึม กาหนดใหเ้ ปน็ ปริซึม กาหนดให้เป็นปรซิ ึม กาหนดใหเ้ ป็นปริซึม

เป็นปริซึมชนิด ชนิดใดไดอ้ ย่าง ชนิดใดไดอ้ ย่าง ชนดิ ใดได้ ชนดิ ใดได้

ใดได้อย่าง ถูกต้องและ ถกู ต้องและ

เหมาะสม เหมาะสมครบถ้วน เหมาะสม

3. มวี นิ ยั ใน นกั เรียนเขา้ เรียน นักเรยี นเข้าเรยี น นักเรียนเขา้ เรียน นักเรยี นเข้าเรียนสาย

ตนเอง ตรงเวลา สายแตไ่ ม่เกนิ 5 สายเกนิ 5 นาที แต่ เกิน 10 นาที

นาที ไม่เกนิ 10 นาที

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจานวน ................................................... คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีความสามารถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วามรู้เกิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อุ่นเรือน)
ตาแหนง่ ครูผูส้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝ่ายวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถ้วน
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นายพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผอู้ านวนการโรงเรยี นบ้านศรีทองสามัคคี

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 8 เร่ือง ปรมิ าตรและความจุของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก

รหัสวชิ า ค 15101 ช่ือรายวิชา คณติ ศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 66 เรอื่ ง ทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

วนั ที.่ .............เดอื น.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด

สาระที่ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณิตความสัมพันธ์ระหวา่ ง รูป

เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาไปใช้

ตัวชี้วดั

ค 2.1 ป.5/4 สรา้ งรูปส่ีเหลี่ยม ชนิดตา่ งๆเมื่อกาหนดความยาวของดา้ นและขนาดของมุมหรอื เม่ือ
กาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม

สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ปรซิ ึมสี่เหลี่ยม ท่มี ีหนา้ ทุกหน้าเป็นรปู สี่เหลีย่ มมุมฉาก เรียกวา่ ทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก

ปริซึมสเี่ หล่ยี มหรอื ทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก ทม่ี ีหน้าทกุ หน้าเป็นรูปสี่เหลีย่ มจตั ุรสั เรยี กว่า ลกู บาศก์

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ด้านความรู้

สามารถสร้างปรซิ มึ สเี่ หล่ยี มหรือทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉากในกระดาษจไุ อโซเมตรกิ ได้ (K)
ด้านทกั ษะกระบวนการ

สามารถสรา้ งปริซมึ สเ่ี หลี่ยมหรือทรงสีเ่ หลย่ี มมุมฉากในกระดาษจไุ อโซเมตรกิ ได้อย่าง
เหมาะสม (P)
ดา้ นคุณลกั ษณะ

ความซ่อื สัตย์ (A)

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความซอ่ื สัตย์

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน
ความสามารถในการคดิ
1. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
ความสามารถในการแกป้ ญั หา
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการสื่อสาร
1. ความสามารถในการรบั และส่งสาร
2. มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครทู บทวนเรอื่ งปริซึมชนดิ ตา่ งๆและปริซมึ ส่ีเหลยี่ ม ที่มีหนา้ ทกุ หนา้ เป็นรูปสเี่ หลย่ี มมุม

ฉาก เรียกว่า ทรงสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก ปริซมึ สเ่ี หล่ียมหรือทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ทม่ี หี น้าทกุ หน้าเป็นรปู ส่ีเหลยี่ ม
จตั รุ สั เรยี กว่า ลกู บาศก์

ขนั้ ท่ี 2 ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้

2. ครูแนะนาการเขียนรูปของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดไอโซ
เมตริก หน้า 142-143 ครูควรเตรียมกระดาษจุดไอโซเมตริกให้เพียงพอกับจานวน
นักเรียนโดยสามารถดาวน์โหลดได้จาก QR code หน้า 143 ให้นักเรียนสังเกต
ลักษณะการเรียงจุดบนกระดาษ แล้วทดลองเขียนส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุด 2 จุดที่
อยู่ใกล้กัน 3 ทิศทางดังภาพแรกหน้า 142 แล้วตรวจสอบความยาวของส่วนของ
เส้นตรงแต่ละเส้น ซ่ึงจะพบว่ามีความยาวเท่ากัน และให้พิจารณาการเขียนส่วนของ

เส้นตรงให้มีความยาว 3 หน่วย และ 5 หน่วย จากภาพ
ถัด มาในหน้า 142 ครูควรให้นักเรียนเขียนส่วนของ
เส้นตรงที่มีความยาวอ่ืนๆเพ่ิมเติมบนกระดาษจุดไอโซเมตริก เช่น 4 หน่วย 6
หน่วย 7 หนว่ ย 8 หนว่ ย แล้วร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

3. ครูสาธิตประกอบการอธิบายการเขียนรูปของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากบน
กระดาษจุดไอโซเมตริกหน้า 143 และให้นักเรียนปฏิบัติตามทีละข้ันพร้อมแนะนา
ความกว้าง ความยาว และความสูงของรูป ครูควรให้นักเรียนเขียนรูปของทรง
สเ่ี หลย่ี มมุมฉากอนื่ เพม่ิ เตมิ โดยกาหนดความกวา้ ง ความยาว และความสูง

4. การเขยี นรปู ของทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุด หน้า 144 ครคู วร
เตรียมกระดาษจุดให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน โดยสามารถดาวน์โหลดได้จาก
QR code หน้า 144 ให้นักเรียนสังเกตลักษณะการเรียงจุดบนกระดาษจุด
เปรียบเทียบกับการเรียงจุดบนกระดาษจุดไอโซเมตริก จากน้ันทดลองเขียนส่วน
ของเส้นตรงเช่อื มจดุ 2 จดุ ทีอ่ ยใู่ กลก้ นั 3 ทิศทาง บนกระดาษจดุ พรอ้ มตรวจสอบ
ความยาวของส่วนของเส้นตรงแต่ละเส้น ซึ่งจะพบว่า ส่วนของเส้นตรงที่อยู่ใน
แนวตั้งกับแนวนอน จะมคี วามยาวเทา่ กัน

5. ครูแนะนาว่าการเขียนรูปของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดเป็น
การเขียนรูปอย่างคร่าวๆ ซ่ึงควรคานึงถึง ความสมเหตุสมผลของการเขียนส่วนของเส้นตรงแทน ความกว้าง
ความยาว และความสูง ครูสาธิตประกอบการอธิบายการเขียนรูปของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดหน้า
144 และให้นักเรียนปฏิบัติตามทีละข้ัน พร้อมแนะนาความกว้าง ความยาว และความสูงของรูป ครูควรให้
นกั เรียนเขยี นรูปของทรงสีเ่ หล่ียมมุมฉากอ่ืนเพ่ิมเติม โดยกาหนดความกวา้ ง ความยาว และความสูง

6. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด 8.4 เป็นรายบุคคล

ขนั้ ท่ี 3 ขัน้ สรปุ

นกั เรียนแตล่ ะคนร่วมกันสรปุ จนสรปุ ได้ว่าปริซมึ เปน็ รปู เรขาคณติ สามมติ ิทรงตัน มีหน้าตัดหรือฐาน 2
หนา้ อยู่บนระนาบทข่ี นานกนั และหนา้ ตดั หรอื ฐานเปน็ รปู หลายเหล่ยี มท่ีเทา่ กันทุกประการ หน้าขา้ งเป็นรปู
สเี่ หลยี่ มด้านขนาน ชนดิ ของปรซิ มึ จาแนกตามรูปหลายเหล่ียมท่เี ป็นหนา้ ตัดหรือฐาน ปริซมึ สีเ่ หลีย่ มทีม่ หี น้าทกุ
หนา้ เป็นรูปสเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก เรียกว่า ทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก และปริซมึ ส่เี หลยี่ มหรอื ทรงสี่เหล่ยี มมมุ ฉากท่ีมีหน้า
ทกุ หน้าเปน็ รูปสเี่ หลย่ี มจตั ุรสั เรยี กว่า ลูกบาศก์

ส่ือและแหล่งเรยี นรู้
- หนงั สือแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชนิ้ งาน
- แบบฝึกหดั 8.4

การวดั และการประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน
การวดั ผล ตรวจผลการทา
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบบฝกึ ทักษะ ผ่านเกณฑร์ ะดับดีข้ึนไป
แบบฝกึ หัด
ด้านความรู้ (K) แบบฝกึ ทกั ษะ ผ่านเกณฑร์ ะดับดีขน้ึ ไป
สามารถสร้างปริซมึ สี่เหล่ียม ตรวจผลการทา
แบบฝกึ หัด แบบสงั เกต ผ่านเกณฑร์ ะดบั ดีขน้ึ ไป
หรือทรงสเี่ หล่ียมมุมฉากใน พฤติกรรม
กระดาษจุไอโซเมตริกได้ สังเกตพฤติกรรม
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

สามารถสร้างปริซึมส่เี หลย่ี ม
หรือทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากใน
กระดาษจุไอโซเมตริกได้อย่าง
เหมาะสม
ด้านคุณลักษณะ (A)

ความซื่อสตั ย์

การประเมินผล

ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมนิ
4 32 1
(ดมี าก) (ต้องปรบั ปรุง)
(ด)ี (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝกึ หดั ได้อย่าง
ถกู ต้องตา่ กวา่ ร้อยละ
1. สามารถ ทาแบบฝึกหดั ได้ ทาแบบฝึกหดั ได้ ทาแบบฝกึ หดั ได้ 60

สรา้ งปริซึม อยา่ งถูกต้องร้อยละ อยา่ งถูกต้องร้อยละ อยา่ งถูกต้องรอ้ ยละ นกั เรียนไม่สามารถ
สรา้ งปรซิ ึมสเี่ หล่ยี ม
ส่เี หลีย่ มหรือ 90 ขึน้ ไป 80 - 89 60 - 79 มุมฉากในกระดาษไอ
โซเมตริกได้
ทรงส่ีเหลย่ี ม

มมุ ฉากใน

กระดาษจุไอโซ

เมตรกิ ได้

2. สามารถ นักเรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ
สรา้ งปริซมึ สี่เหล่ยี ม สรา้ งปริซมึ สี่เหลยี่ ม
สรา้ งปริซมึ สร้างปริซมึ ส่เี หลยี่ ม มุมฉากในกระดาษ มมุ ฉากในกระดาษ
ไอโซเมตริกได้ ไอโซเมตริกได้
สี่เหล่ียมหรือ มุมฉากในกระดาษ ถกู ต้อง

ทรงสเี่ หลยี่ ม ไอโซเมตริกได้

มุมฉากใน เรียบรอ้ ย ถกู ต้อง

กระดาษจไุ อโซ และเหมาะสม

ประเดน็ การ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมิน (ดมี าก) 32 (ต้องปรับปรุง)
(ด)ี (กาลังพัฒนา)
มกี ารคัดลอกการบ้าน
เมตรกิ ได้อยา่ ง บา้ งเลก็ นอ้ ย

เหมาะสม

3. มีความ นกั เรยี นไม่คัดลอก นกั เรยี นไม่คดั ลอก นกั เรยี นไม่คดั ลอก
งานหรือการบ้าน งานหรือการบ้าน
ซ่ือสัตย์ งานหรอื การบ้าน พร้อมท้ังทางานได้
อยา่ งเรยี บร้อย
พรอ้ มทง้ั ทางานได้

อยา่ งเรียบร้อย

ครบถว้ น

บันทึกหลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นักเรียนจานวน ................................................... คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ................... คน คิดเป็นร้อยละ ...............................

ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............... คน คดิ เปน็ ร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรยี นมีความสามารถพเิ ศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรยี นมีความร้เู กดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรียนมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อนุ่ เรือน)
ตาแหนง่ ครูผู้สอน

ความคดิ เหน็ ของฝา่ ยวชิ าการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ .......................................................... หัวหน้าฝา่ ยวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าด)ี

ความคิดเห็นของผู้อานวยการ
 เหมาะสม เน้ือหาครบถว้ น
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงช่อื ..........................................................
(นายพริ ชั วิชช์ อุคต)

รกั ษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผูอ้ านวนการโรงเรยี นบา้ นศรีทองสามัคคี

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 8 เร่อื ง ปรมิ าตรและความจุของทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก

รหัสวชิ า ค 15101 ช่ือรายวิชา คณติ ศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 67 เรื่อง ปริมาตรและความจุ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5

วนั ท่.ี .............เดอื น.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั

สาระที่ การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงที่ตอ้ งการวัดและ

นาไปใช้

ตวั ชว้ี ดั

ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับปริมาตรของทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉากและความ
จขุ องภาชนะทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก

สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
 ลูกบาศก์ทีเ่ ป็นทรงตนั ท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 หน่วย
มีปริมาตร 1 ลกู บาศก์หน่วย
 ลกู บาศก์ที่เปน็ ทรงตันท่มี ีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนติเมตร
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร
 ลกู บาศก์ท่ีเป็นทรงตัน ท่มี คี วามกวา้ ง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร
มีปรมิ าตร 1 ลูกบาศกเ์ มตร
 ปรมิ าตรของทรงสเ่ี หล่ียมมมุ ฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสงู
หรือปริมาตรของทรงสเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก = พืน้ ทีฐ่ าน × ความสูง
 การหาความจขุ องภาชนะทรงส่เี หลีย่ มมมุ ฉากเปน็ การหาปริมาตรภายในของภาชนะนัน้

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ดา้ นความรู้

สามารถหาปริมาตรและความจุของทรงสเี่ หลย่ี มได้ (K)

ดา้ นทักษะกระบวนการ
สามารถส่อื สารหนว่ ยของลกู บาศก์โดยใชส้ ญั ลักษณ์ ซม.3 หรือ cm3 ไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)

ด้านคุณลกั ษณะ
ความซือ่ สัตย์ (A)

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความซื่อสตั ย์

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
ความสามารถในการคิด
1. ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
1. ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ
ความสามารถการส่ือสาร
1. ความสามารถในการรับและส่งสาร
2. มวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครทู บทวนเรือ่ งปริซึมชนิดตา่ งๆและปริซมึ สี่เหล่ยี ม ท่มี ีหนา้ ทุกหน้าเป็นรูปสีเ่ หลี่ยมมุม

ฉาก เรยี กวา่ ทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก ปริซมึ ส่เี หลย่ี มหรือทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก ทีม่ ีหนา้ ทุกหน้าเป็นรปู สี่เหลี่ยม
จัตรุ สั เรยี กวา่ ลูกบาศก์

ขน้ั ที่ 2 ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้

2. ครูแนะนาปรมิ าตร 1 ลกู บาศก์หนว่ ย โดยใช้ส่อื ประกอบการ
อธิบายหน้า 146 ครูอาจเรียงลูกบาศก์ เพิ่มเติม แลว้ ใหน้ ักเรียนหาปริมาตร

และตรวจสอบโดยการนบั จากนนั้ รว่ มกนั
ทากิจกรรมหนา้ 147
ขอ้ ควรระวัง ทรงส่ีเหล่ยี มมุมฉากที่มี
ความยาวด้านละ 1 หนว่ ย มีปรมิ าตร 1
ลกู บาศกห์ น่วย แต่ทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก ท่ี
มีปริมาตร 1 ลกู บาศก์หนว่ ย ไม่
จาเป็นตอ้ งมีความยาวดา้ นละ 1 หนว่ ย
เช่น ทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉากท่ีมี ความกวา้ ง 1
หน่วย ความยาว 2 หน่วย และความสูง 0.5 หนว่ ย มีปรมิ าตร 1 × 2 × 0.5
= 1 ลกู บาศกห์ นว่ ย
3. ครแู นะนาปรมิ าตร 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร โดยใช้สอ่ื ประกอบการอธิบาย
หนา้ 148 และแนะนาการ ใช้อกั ษรย่อของลกู บาศก์เซนตเิ มตร
• ซม.3 หรอื cm3 อ่านวา่ เซนตเิ มตรยกกาลังสาม
• cc อ่านว่า ซซี ี ย่อมาจาก Cubic Centimeter จากนนั้ รว่ มกันปฏิบัติ
กจิ กรรม เพื่อให้นักเรยี นเกิดความรู้สึกเชิงปรภิ มู ิ (Spatial Sense) เกี่ยวกบั 1 ลกู บาศก์
เซนตเิ มตรจากของจรงิ
4. ครูแนะนาปรมิ าตร 1 ลูกบาศก์เมตร โดยใช้สอ่ื ประกอบการอธิบายหน้า
149 และแนะนาการใช้ อักษรยอ่ ของลกู บาศกเ์ มตร เขยี นแทนดว้ ย ม.3 หรือ m3 อา่ น
วา่ เมตรยกกาลังสาม
ขนั้ ที่ 3 ขั้นสรุป

นักเรียนแตล่ ะคนรว่ มกนั สรปุ จนสรุปไดว้ ่า
 ลูกบาศก์ทีเ่ ปน็ ทรงตนั ท่ีมีความกวา้ ง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หนว่ ย
มีปรมิ าตร 1 ลกู บาศก์หน่วย
 ลกู บาศก์ท่เี ป็นทรงตันท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนติเมตร
มีปริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

สือ่ และแหลง่ เรียนรู้
- หนงั สอื แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชิ้นงาน
- แบบฝกึ หดั 8.5

การวัดและการประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
การวดั ผล ตรวจผลการทา
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบบฝกึ ทกั ษะ ผ่านเกณฑ์ระดับดีข้นึ ไป
แบบฝึกหดั
ดา้ นความรู้ (K) แบบฝกึ ทกั ษะ ผ่านเกณฑ์ระดบั ดีขึน้ ไป
สามารถหาปริมาตรและความ ตรวจผลการทา
แบบฝกึ หัด แบบสังเกต ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีข้นึ ไป
จุของทรงสเ่ี หล่ยี มได้ พฤติกรรม
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) สังเกตพฤตกิ รรม

สามารถส่อื สารหน่วยของ
ลกู บาศกโ์ ดยใชส้ ัญลกั ษณ์ ซม.3
หรือ cm3 ไดอ้ ย่างเหมาะสม
ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)

ความซื่อสัตย์

การประเมนิ ผล

ประเดน็ การ ระดับคณุ ภาพ
ประเมนิ
4 32 1
(ดมี าก) (ตอ้ งปรบั ปรุง)
(ด)ี (กาลังพัฒนา) ทาแบบฝึกหัดได้อยา่ ง
ถกู ต้องตา่ กวา่ ร้อยละ
1. สามารถหา ทาแบบฝึกหัดได้ ทาแบบฝึกหดั ได้ ทาแบบฝึกหดั ได้ 60

ปรมิ าตรและ อย่างถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ นักเรียนไมส่ ามารถ
สือ่ สารหนว่ ยของ
ความจุของ 90 ขนึ้ ไป 80 - 89 60 - 79 ลูกบาศกโ์ ดยใช้
สัญลกั ษณ์ ซม.3 หรือ
ทรงสเ่ี หลี่ยมได้ cm3 ได้

2. สามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ
สอ่ื สารหน่วยของ สือ่ สารหน่วยของ
สอ่ื สารหนว่ ย สอื่ สารหน่วยของ ลกู บาศกโ์ ดยใช้ ลกู บาศกโ์ ดยใช้
สญั ลักษณ์ ซม.3 สญั ลกั ษณ์ ซม.3
ของลูกบาศก์ ลกู บาศกโ์ ดยใช้ หรือ cm3 ไดอ้ ย่าง หรือ cm3 ได้
ถูกต้อง
โดยใช้ สัญลกั ษณ์ ซม.3

สญั ลักษณ์ ซม. หรอื cm3 ไดอ้ ย่าง

3 หรือ cm3 ได้ ถูกต้องและ

อย่างเหมาะสม เหมาะสม

ประเดน็ การ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดมี าก) 32 (ต้องปรับปรุง)
นักเรยี นไม่คดั ลอก (ด)ี (กาลงั พัฒนา) มกี ารคดั ลอกการบ้าน
3. มีความ งานหรือการบ้าน นักเรียนไม่คัดลอก นกั เรยี นไม่คดั ลอก
ซอ่ื สตั ย์ พร้อมท้ังทางานได้ งานหรอื การบ้าน งานหรือการบ้าน บ้างเลก็ นอ้ ย
อย่างเรียบร้อย พรอ้ มทงั้ ทางานได้
ครบถว้ น อย่างเรยี บร้อย

บันทึกหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรยี นจานวน ................................................... คน

ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............................

ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมคี วามสามารถพเิ ศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรียนมีความรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อนุ่ เรือน)
ตาแหน่ง ครูผสู้ อน

ความคดิ เหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคิดเห็นของผู้อานวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถว้ น
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นายพริ ัชวชิ ช์ อุคต)

รกั ษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผ้อู านวนการโรงเรยี นบ้านศรีทองสามัคคี

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 8 เร่อื ง ปริมาตรและความจขุ องทรงส่ีเหล่ยี มมุมฉาก

รหสั วชิ า ค 15101 ชอ่ื รายวชิ า คณติ ศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 68 เร่ือง ปริมาตรของทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5

วนั ที่..............เดือน.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด

สาระท่ี การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกีย่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีต้องการวดั และ

นาไปใช้

ตวั ช้วี ดั

ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรของทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉากและความ
จุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
 ลูกบาศก์ทเี่ ป็นทรงตนั ท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย
มปี รมิ าตร 1 ลูกบาศกห์ นว่ ย
 ลกู บาศก์ท่เี ปน็ ทรงตันทมี่ ีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนตเิ มตร
มีปรมิ าตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
 ลูกบาศก์ท่เี ปน็ ทรงตนั ท่มี คี วามกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 เมตร
มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร
 ปริมาตรของทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง
หรือปริมาตรของทรงสี่เหลยี่ มมุมฉาก = พนื้ ทฐี่ าน × ความสงู
 การหาความจุของภาชนะทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉากเป็นการหาปริมาตรภายในของภาชนะน้ัน

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ดา้ นความรู้

สามารถหาปริมาตรของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉุ ากได้ (K)

ด้านทักษะกระบวนการ
สามารถสอ่ื สารหน่วยของลกู บาศก์โดยใชส้ ัญลกั ษณ์ ซม.3 หรือ cm3 ได้อย่างเหมาะสม (P)

ดา้ นคุณลกั ษณะ
ความซอื่ สัตย์ (A)

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความซื่อสัตย์

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคดิ
1. ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
ความสามารถในการแก้ปัญหา
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการสื่อสาร
1. ความสามารถในการรบั และสง่ สาร
2. มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นท่ี 1 ข้ันนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนเรอื่ งทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มคี วามยาวด้านละ 1 หน่วย มปี ริมาตร 1 ลูกบาศกห์ นว่ ย แต่

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ท่ีมีปรมิ าตร 1 ลกู บาศกห์ น่วย ไม่จาเป็นต้องมีความยาวด้านละ 1 หนว่ ย และอักษรย่อ
ของลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

• ซม.3 หรือ cm3 อ่านวา่ เซนตเิ มตรยกกาลงั สาม
• cc อา่ นว่า ซีซี ยอ่ มาจาก Cubic Centimeter

ข้ันท่ี 2 ขั้นกจิ กรรมการเรียนรู้

2. ครูใชล้ ูกบาศก์เรยี งให้เปน็ ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ดงั หนา้ 151-152 แลว้ ใชก้ ารถาม-ตอบประกอบการ
อธิบายเก่ียวกับการหาปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก โดยการนับจานวน

ลูกบาศกอ์ ย่างเป็นระบบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การ
หาปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากโดยการใช้
สูตร ครูควรจัดเรียงลูกบาศก์ให้เป็นทรง
ส่ีเหลี่ยมมุมฉากท่ีมีขนาดอื่นเพิ่มเติม หรืออาจ
ใช้สือดิจิทัลจาก QR code หน้า 152 ให้
นั ก เ รี ย น ห า ป ริ ม า ต ร โ ด ย ก า ร นั บ จ า น ว น
ลูกบาศก์ ท้ังน้ีให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์
ระหว่างความกวา้ ง ความยาว และความสูงกับ ปริมาตรท่ีได้ในแต่ละข้อ แลว้
ร่วมกันอภิปรายเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับสูตรการหาปริมาตรของทรง
ส่ีเหลี่ยมมุมฉาก หน้า 153 ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง
หน้า 153-154 แล้วรว่ มกันทากจิ กรรมหนา้ 154
3. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัด 8.6 เป็นรายบุคคล
ขั้นที่ 3 ขนั้ สรปุ

นักเรียนแต่ละคนรว่ มกนั สรปุ จนสรปุ ไดว้ ่า
 ลูกบาศก์ท่ีเป็นทรงตันทมี่ ีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย
มีปรมิ าตร 1 ลูกบาศกห์ น่วย
 ลกู บาศก์ท่ีเป็นทรงตนั ที่มีความกวา้ ง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 เซนติเมตร
มีปรมิ าตร 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
 ลกู บาศก์ที่เปน็ ทรงตัน ท่มี ีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 เมตร
มีปริมาตร 1 ลกู บาศกเ์ มตร

สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
- หนงั สอื แบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ชิน้ งาน
- แบบฝกึ หัด 8.6

การวัดและการประเมินผล วิธกี ารวัดผล เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
การวัดผล ตรวจผลการทา
จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ ผ่านเกณฑร์ ะดบั ดีขนึ้ ไป
แบบฝกึ หดั
ด้านความรู้ (K) แบบฝกึ ทักษะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดีขึน้ ไป
สามารถหาปริมาตรของทรง ตรวจผลการทา
แบบฝึกหดั แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ระดบั ดีขึ้นไป
สเ่ี หลีย่ มมุมฉุ ากได้ พฤติกรรม
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรม

สามารถสอื่ สารหน่วยของ
ลกู บาศกโ์ ดยใชส้ ัญลักษณ์ ซม.3
หรอื cm3 ไดอ้ ย่างเหมาะสม
ด้านคุณลักษณะ (A)

ความซื่อสัตย์

การประเมินผล

ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน
4 32 1
(ดีมาก) (ตอ้ งปรับปรุง)
(ด)ี (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝึกหดั ได้อย่าง
ถูกต้องตา่ กว่าร้อยละ
1. สามารถหา ทาแบบฝกึ หัดได้ ทาแบบฝึกหดั ได้ ทาแบบฝกึ หดั ได้ 60

ปรมิ าตรของ อย่างถูกต้องร้อยละ อย่างถูกต้องร้อยละ อยา่ งถูกต้องรอ้ ยละ นักเรียนไมส่ ามารถ
สอื่ สารหน่วยของ
ทรงส่เี หลี่ยมมุ 90 ข้ึนไป 80 - 89 60 - 79 ลกู บาศก์โดยใช้
สญั ลกั ษณ์ ซม.3 หรือ
มฉุ ากได้ cm3 ได้

2. สามารถ นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ มีการคัดลอกการบ้าน
สอื่ สารหน่วยของ สือ่ สารหน่วยของ บ้างเลก็ น้อย
สื่อสารหน่วย สือ่ สารหนว่ ยของ ลกู บาศก์โดยใช้ ลูกบาศก์โดยใช้
สญั ลักษณ์ ซม.3 สัญลักษณ์ ซม.3
ของลูกบาศก์ ลูกบาศกโ์ ดยใช้ หรือ cm3 ไดอ้ ย่าง หรือ cm3 ได้
ถกู ต้อง
โดยใช้ สญั ลกั ษณ์ ซม.3

สัญลกั ษณ์ ซม. หรือ cm3 ได้อย่าง

3 หรือ cm3 ได้ ถูกต้องและ

อย่างเหมาะสม เหมาะสม

3. มีความ นกั เรยี นไม่คดั ลอก นักเรยี นไม่คดั ลอก นกั เรียนไม่คัดลอก
งานหรือการบ้าน งานหรอื การบ้าน
ซอ่ื สัตย์ งานหรือการบ้าน พร้อมท้งั ทางานได้
อย่างเรียบร้อย
พร้อมท้ังทางานได้

ประเดน็ การ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดมี าก) 32 (ตอ้ งปรบั ปรุง)
อย่างเรียบร้อย (ดี) (กาลังพัฒนา)

ครบถ้วน

บนั ทกึ หลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรยี นจานวน ................................................... คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ...............................

ไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ............... คน คดิ เปน็ ร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีความสามารถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กิดทกั ษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรยี นมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตาแหนง่ ครผู ้สู อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถ้วน
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นายพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผอู้ านวนการโรงเรียนบ้านศรที องสามัคคี

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 8 เร่อื ง ปริมาตรและความจขุ องทรงส่ีเหล่ยี มมุมฉาก

รหสั วชิ า ค 15101 ชอ่ื รายวชิ า คณติ ศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 69 เร่ือง ปริมาตรของทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5

วนั ที่..............เดือน.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด

สาระท่ี การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกีย่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีต้องการวดั และ

นาไปใช้

ตวั ช้วี ดั

ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรของทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉากและความ
จุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
 ลูกบาศก์ทเี่ ป็นทรงตนั ท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย
มปี รมิ าตร 1 ลูกบาศกห์ นว่ ย
 ลกู บาศก์ท่เี ปน็ ทรงตันทมี่ ีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนตเิ มตร
มีปรมิ าตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
 ลูกบาศก์ท่เี ปน็ ทรงตนั ท่มี คี วามกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 เมตร
มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร
 ปริมาตรของทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง
หรือปริมาตรของทรงสี่เหลยี่ มมุมฉาก = พนื้ ทฐี่ าน × ความสงู
 การหาความจุของภาชนะทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉากเป็นการหาปริมาตรภายในของภาชนะน้ัน

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ดา้ นความรู้

สามารถหาปริมาตรของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉุ ากได้ (K)

ด้านทักษะกระบวนการ
สามารถสอ่ื สารหน่วยของลกู บาศก์โดยใชส้ ัญลกั ษณ์ ซม.3 หรือ cm3 ได้อย่างเหมาะสม (P)

ดา้ นคุณลกั ษณะ
ความซอื่ สัตย์ (A)

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความซื่อสัตย์

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคดิ
1. ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
ความสามารถในการแก้ปัญหา
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการสื่อสาร
1. ความสามารถในการรบั และสง่ สาร
2. มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นท่ี 1 ข้ันนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนเรอื่ งทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มคี วามยาวด้านละ 1 หน่วย มปี ริมาตร 1 ลูกบาศกห์ นว่ ย แต่

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ท่ีมีปรมิ าตร 1 ลกู บาศกห์ น่วย ไม่จาเป็นต้องมีความยาวด้านละ 1 หนว่ ย และอักษรย่อ
ของลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

• ซม.3 หรือ cm3 อ่านวา่ เซนตเิ มตรยกกาลงั สาม
• cc อา่ นว่า ซีซี ยอ่ มาจาก Cubic Centimeter

ข้ันที่ 2 ขน้ั กจิ กรรมการเรียนรู้

2. ครใู หน้ ักเรยี นพจิ ารณาการหาปริมาตรของทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก หน้า 155
แล้วใช้การถาม - ตอบ เพ่ือเช่ือมโยงไปยังสูตรการหาปริมาตร
ของทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ว่าสามารถหาได้จากความกว้าง ×
ความยาว × ความสูงหรือพื้นท่ีฐาน × ความสูง จากนั้นใช้การ
ถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตัวอย่าง
หน้า 155 แล้วร่วมกันทากิจกรรม หน้า
156

3. ครใู ห้ทาแบบฝึกหัด 8.7 เปน็ รายบคุ คล
ขนั้ ที่ 3 ขนั้ สรปุ

นกั เรยี นแตล่ ะคนร่วมกนั สรุปจนสรุปได้วา่
 ลกู บาศก์ที่เปน็ ทรงตนั ทีม่ ีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศกห์ นว่ ย
 ลูกบาศก์ทเ่ี ป็นทรงตนั ทมี่ ีความกวา้ ง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนตเิ มตร
มปี ริมาตร 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
 ลกู บาศก์ทเี่ ปน็ ทรงตัน ท่มี ีความกวา้ ง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร
มีปรมิ าตร 1 ลูกบาศก์เมตร
 ปริมาตรของทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง
หรือปรมิ าตรของทรงสเี่ หล่ียมมมุ ฉาก = พ้ืนทีฐ่ าน × ความสูง

ส่อื และแหลง่ เรียนรู้
- หนงั สือแบบฝกึ หัดคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ช้นิ งาน
- แบบฝึกหดั 8.7

การวัดและการประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
การวัดผล ตรวจผลการทา
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบบฝกึ ทักษะ ผา่ นเกณฑ์ระดับดีข้ึนไป
แบบฝกึ หดั
ดา้ นความรู้ (K)
สามารถหาปรมิ าตรของทรง

สเี่ หลย่ี มมุมฉากได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ตรวจผลการทา แบบฝกึ ทกั ษะ ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีขึน้ ไป
สามารถสอ่ื สารหนว่ ยของ แบบฝึกหดั
แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ระดับดีข้นึ ไป
ลกู บาศกโ์ ดยใชส้ ัญลักษณ์ ซม.3 สงั เกตพฤติกรรม พฤติกรรม
หรือ cm3 ได้อย่างเหมาะสม
ด้านคุณลักษณะ (A)

ความซื่อสัตย์

การประเมนิ ผล

ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมนิ
4 32 1
(ดมี าก) (ต้องปรับปรุง)
(ดี) (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝึกหัดได้อยา่ ง
ถูกต้องตา่ กว่ารอ้ ยละ
1. สามารถหา ทาแบบฝึกหัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ 60

ปรมิ าตรของ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ นกั เรียนไมส่ ามารถ
สอื่ สารหนว่ ยของ
ทรงสเ่ี หลย่ี มมุ 90 ขนึ้ ไป 80 - 89 60 - 79 ลกู บาศก์โดยใช้
สัญลกั ษณ์ ซม.3 หรอื
มฉุ ากได้ cm3 ได้

2. สามารถ นักเรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ มีการคดั ลอกการบา้ น
สื่อสารหนว่ ยของ สอ่ื สารหนว่ ยของ บา้ งเลก็ นอ้ ย
ส่อื สารหนว่ ย สื่อสารหน่วยของ ลกู บาศก์โดยใช้ ลูกบาศกโ์ ดยใช้
สัญลักษณ์ ซม.3 สญั ลักษณ์ ซม.3
ของลกู บาศก์ ลกู บาศกโ์ ดยใช้ หรอื cm3 ไดอ้ ย่าง หรือ cm3 ได้
ถูกต้อง
โดยใช้ สัญลักษณ์ ซม.3

สญั ลักษณ์ ซม. หรอื cm3 ไดอ้ ย่าง

3 หรอื cm3 ได้ ถูกต้องและ

อย่างเหมาะสม เหมาะสม

3. มคี วาม นักเรียนไม่คัดลอก นกั เรยี นไม่คดั ลอก นกั เรียนไม่คัดลอก
งานหรอื การบ้าน งานหรือการบ้าน
ซื่อสตั ย์ งานหรอื การบ้าน พรอ้ มทั้งทางานได้
อย่างเรยี บร้อย
พรอ้ มทั้งทางานได้

อย่างเรียบร้อย

ครบถว้ น

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจานวน ................................................... คน

ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ...............................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นักเรียนมีความสามารถพเิ ศษได้แก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมีความรู้ความเข้าใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อ่นุ เรอื น)
ตาแหนง่ ครผู ูส้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝ่ายวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถ้วน
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงช่อื ..........................................................
(นายพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผอู้ านวนการโรงเรยี นบ้านศรีทองสามคั คี

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 8 เรือ่ ง ปริมาตรและความจขุ องทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก

รหสั วิชา ค 15101 ชอ่ื รายวชิ า คณิตศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 70 เรื่อง ความจุของภาชนะทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5

วันท่.ี .............เดือน.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด

สาระที่ การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตอ้ งการวดั และ

นาไปใช้

ตวั ชี้วดั

ค 2.1 ป.5/3 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตรของทรงสเ่ี หลี่ยมมมุ ฉากและความ
จขุ องภาชนะทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก

สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
 ลกู บาศก์ทเ่ี ป็นทรงตันทม่ี ีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย
มีปริมาตร 1 ลกู บาศก์หนว่ ย
 ลกู บาศก์ท่เี ปน็ ทรงตนั ทมี่ ีความกวา้ ง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 เซนติเมตร
มปี รมิ าตร 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
 ลูกบาศก์ท่เี ปน็ ทรงตัน ทมี่ ีความกว้าง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ มตร
 ปริมาตรของทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง
หรือปริมาตรของทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก = พื้นที่ฐาน × ความสูง
 การหาความจขุ องภาชนะทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉากเปน็ การหาปริมาตรภายในของภาชนะนน้ั

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ด้านความรู้

สามารถหาความจุของภาชนะทรงสเ่ี หล่ยี มมุมุฉากได้ (K)

ดา้ นทักษะกระบวนการ
สามารถสื่อสารหนว่ ยของลกู บาศกโ์ ดยใชส้ ัญลกั ษณ์ ซม.3 หรือ cm3 ได้อย่างเหมาะสม (P)

ดา้ นคุณลกั ษณะ
ความซื่อสตั ย์ (A)

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความซอ่ื สตั ย์

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
1. ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
2. การคดิ สังเคราะห์
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ความสามารถการสื่อสาร
1. ความสามารถในการรับและสง่ สาร
2. มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 ขั้นนาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนเรื่องทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉากที่มคี วามยาวดา้ นละ 1 หนว่ ย มปี ริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย แต่

ทรงสี่เหลีย่ มมุมฉาก ท่ีมีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หนว่ ย ไมจ่ าเป็นต้องมีความยาวด้านละ
1 หนว่ ย และอักษรย่อของลูกบาศก์เซนติเมตร

• ซม.3 หรือ cm3 อ่านว่า เซนติเมตรยกกาลงั สาม
• cc อา่ นว่า ซซี ี ย่อมาจาก Cubic Centimeter

ขัน้ ท่ี 2 ขั้นกิจกรรมการเรยี นรู้

2. ครูใช้สถานการณ์หน้า 157 ประกอบการอธิบาย ความหมายของความจุ
ของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก “ความจขุ องภาชนะทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากเปน็ การหา
ปริมาตรภายในของภาชนะน้นั ”

3. ครูอธิบายจนนักเรียนร่วมกันอธิบายได้ว่า สูตรการหาความจุของทรง
ส่ีเหลี่ยมมุมฉากหาได้จาก ความกว้าง x ความยาว x ความสูง หรือ ความจุของ
ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก = พื้นท่ีฐาน x ความสูง แล้วใช้การถาม-ตอบประกอบการ
อธิบายตัวอยา่ งหนา้ 158 แลว้ รว่ มกนั ทากจิ กรรม

4. ครใู ห้ทาแบบฝึกหัด 8.8 เป็นรายบคุ คล

ขน้ั ที่ 3 ขัน้ สรปุ

นกั เรยี นแต่ละคนร่วมกันสรปุ จนสรปุ ได้วา่
 ลกู บาศก์ที่เปน็ ทรงตันท่มี ีความกวา้ ง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 หนว่ ย
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศก์หนว่ ย
 ลูกบาศก์ที่เปน็ ทรงตันที่มีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เซนตเิ มตร
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร
 ลกู บาศก์ทเี่ ปน็ ทรงตนั ทม่ี คี วามกว้าง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร
มปี ริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร
 ปริมาตรของทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสูง
หรอื ปริมาตรของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก = พ้ืนทฐ่ี าน × ความสูง

สือ่ และแหล่งเรียนรู้
- หนงั สือแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 2

ภาระงาน/ช้ินงาน
- แบบฝึกหัด 8.8

การวดั และการประเมินผล วธิ ีการวัดผล เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมนิ
การวัดผล ตรวจผลการทา
จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบฝกึ ทักษะ ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีข้ึนไป
แบบฝึกหัด
ดา้ นความรู้ (K)
สามารถหาความจุของภาชนะ

ทรงส่ีเหลยี่ มมมุ ฉากได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ตรวจผลการทา แบบฝกึ ทกั ษะ ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีขึน้ ไป
สามารถสอ่ื สารหนว่ ยของ แบบฝึกหดั
แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ระดับดีข้นึ ไป
ลกู บาศกโ์ ดยใชส้ ัญลักษณ์ ซม.3 สงั เกตพฤติกรรม พฤติกรรม
หรือ cm3 ได้อย่างเหมาะสม
ด้านคุณลักษณะ (A)

ความซื่อสัตย์

การประเมนิ ผล

ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมนิ
4 32 1
(ดมี าก) (ต้องปรับปรุง)
(ดี) (กาลงั พัฒนา) ทาแบบฝึกหัดได้อยา่ ง
ถูกต้องตา่ กว่ารอ้ ยละ
1. สามารถหา ทาแบบฝึกหัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ ทาแบบฝกึ หัดได้ 60

ปรมิ าตรของ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ อย่างถูกต้องรอ้ ยละ นกั เรียนไมส่ ามารถ
สอื่ สารหนว่ ยของ
ทรงสเ่ี หลย่ี มมุ 90 ขนึ้ ไป 80 - 89 60 - 79 ลกู บาศก์โดยใช้
สัญลกั ษณ์ ซม.3 หรอื
มฉุ ากได้ cm3 ได้

2. สามารถ นักเรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ มีการคดั ลอกการบา้ น
สื่อสารหนว่ ยของ สอ่ื สารหนว่ ยของ บา้ งเลก็ นอ้ ย
ส่อื สารหนว่ ย สื่อสารหน่วยของ ลกู บาศก์โดยใช้ ลูกบาศกโ์ ดยใช้
สัญลักษณ์ ซม.3 สญั ลกั ษณ์ ซม.3
ของลกู บาศก์ ลกู บาศกโ์ ดยใช้ หรอื cm3 ไดอ้ ย่าง หรือ cm3 ได้
ถูกต้อง
โดยใช้ สัญลักษณ์ ซม.3

สญั ลักษณ์ ซม. หรอื cm3 ไดอ้ ย่าง

3 หรอื cm3 ได้ ถูกต้องและ

อย่างเหมาะสม เหมาะสม

3. มคี วาม นักเรียนไม่คัดลอก นกั เรยี นไม่คดั ลอก นกั เรียนไม่คัดลอก
งานหรอื การบ้าน งานหรือการบ้าน
ซื่อสตั ย์ งานหรอื การบ้าน พรอ้ มทั้งทางานได้
อย่างเรยี บร้อย
พรอ้ มทั้งทางานได้

อย่างเรียบร้อย

ครบถว้ น

บนั ทกึ หลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน

1. นักเรียนจานวน ................................................... คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ................... คน คดิ เปน็ ร้อยละ ...............................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............... คน คิดเป็นร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีความสามารถพเิ ศษได้แก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรยี นมคี วามรู้เกิดทกั ษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ......................................................
(นางสาวชยาภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตาแหน่ง ครูผูส้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนา้ ฝ่ายวชิ าการ
(นางสาวเบญจรตั น์ สลี าดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมาะสม เนื้อหาครบถ้วน
 ไม่เหมาะสม เพราะ ....................................................................................................................

ลงช่อื ..........................................................
(นายพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษาการในตาแหน่งตาแหนง่ ผอู้ านวนการโรงเรยี นบ้านศรีทองสามคั คี

แผนการจดั การเรียนรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 เรอื่ ง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก

รหสั วชิ า ค 15101 ช่อื รายวชิ า คณติ ศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 72 เรอื่ ง ความสมั พันธร์ ะหว่างหนว่ ยปริมาตร ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5

หรือหนว่ ยความจุ

วันท.่ี .............เดอื น.......................... พ.ศ. .......................... เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง

___________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั

สาระท่ี การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีตอ้ งการวัดและ

นาไปใช้

ตัวช้ีวัด

ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกย่ี วกับปริมาตรของทรงส่เี หลี่ยมมุมฉากและความ
จุของภาชนะทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก

สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
1 ลิตร เท่ากบั 1,000 มลิ ลิลิตร
1 ลติ ร เทา่ กบั 1,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร
1 ลกู บาศก์เซนติเมตร เทา่ กับ 1 มิลลิลติ ร
1 ลกู บาศกเ์ มตร เท่ากบั 1,000 ลติ ร

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ดา้ นความรู้

สามารถบอกความสัมพันธร์ ะหว่างหนว่ ยปริมาตรหรือความจุได้ (K)
ดา้ นทักษะกระบวนการ

สามารถสอ่ื สารหน่วยของลกู บาศกโ์ ดยใช้สัญลกั ษณ์ ซม.3 หรือ cm3 หรอื หน่วยอน่ื ๆไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม (P)
ด้านคุณลกั ษณะ

ความซอ่ื สตั ย์ (A)


Click to View FlipBook Version