The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by plannaraed2, 2022-06-08 22:50:03

O10แผน2565_merged

O10แผน2565_merged

บทที่ 4
งบประมาณ/โครงการ

46

1. งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2565

ในปีงบประมาณ 2565 สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ไดจ้ ัดสรรงบประมาณ เพื่อ
เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารสานักงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดารโรงเรียนในสังกัด และการ
ดาเนินงานตามภารกจิ กลมุ่ เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา รวมจานวน 5,000,000 บาท

2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ได้ดาเนินการจัดทาแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

โดยแบง่ เปน็ งบบรหิ ารจัดการสานักงาน ดาเนินงานตามภารกจิ กลมุ่ เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา และพัฒนาคุณภาพ

การศกึ ษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 แยกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี

1. งบบรหิ ารสานักงาน จานวน 3,000,000 บาท

2. งบเฉพาะกิจ จานวน 314,800 บาท

2. งบตามภารกจิ กล่มุ เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จานวน 1,685,200 บาท

3. รายละเอียดแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

จากแผนการใช้จ่ายงบประมาณ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ได้จัดทา
รายละเอยี ดการใช้จ่ายงบประมาณ รวมงบประมาณจานวน 5,000,000 ดงั น้ี

ท่ี รายการ งบประมาณ หมายเหคุ

1 คา่ อาหารทาการนอกเวลา 50,000
2 ค่าเบ้ียเล้ียงทพี่ ักและพาหนะ 200,000
3 ค่าซอ่ มแซมยานพาหนะและขนสง่ 150,000
4 คา่ ซ่อมแซมครภุ ณั ฑ์ 100,000
5 ค่าซ่อมแซมสิ่งก่อสรา้ ง 100,000
6 วสั ดุสานักงาน 312,745
7 วัสดุเชอ้ื เพลิงและหลอ่ ลืน่ 720,000
8 คาทา พรบ.และกรมธรรมป์ ระกนั ภยั 45,100
9 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบารุงรักษะเครอื่ งปรับอากาศ 60,000
10 ค่าจ้างถ่ายเอกสาร 60,000
11 คา่ เช่าพื้นทีโ่ ฮมเพจ 15,000
12 คา่ ไฟฟ้า 720,000
13 ค่าน้าประปา 60,000
14 ค่าโทรศพั ท์ 24,000
15 คา่ ไปรษณยี โ์ ทรเลข 60,000
16 คา่ เช่าอินเทอรเ์ นต็ 155,155
17 คา่ จ้าง รปภ.เขต 2 คน 168,000

18 งบเฉพาะกจิ 314,800
18 งบตามภารกิจกลุ่มเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1,685,200
5,000,000
รวมท้ังส้นิ

47

4. สรุปโครงการตามภารกิจกลุ่มเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กลมุ่ ต่าง ๆ ไดเ้ สนอโครงการรวมจานวน 25 โครงการ รวมงบประมาณจานวน
1,680,800 บาท สรปุ ได้ดังนี้

1. สรปุ งบประมาณและจานวนโครงการแยกเป็นรายกล่มุ รวมงบประมาณจานวน 5,000,000 สรปุ ได้ดงั นี้

ที่ กลมุ่ งบประมาณ จานวนโครงการ หมายเหตุ
1. อานวยการ 219,780
309,720 4
2. สง่ เสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 205,450
51,160 3
4. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 241,700
5. สง่ เสริมการจดั การศกึ ษา 657,390 2
6. นโยบายและแผน 2
7. นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา 1,685,200 1
13
รวม 25

2. สรุปช่ือโครงการและงบประมาณแยกเปน็ รายกล่มุ รวมงบประมาณจานวน 1,680,800 สรุปไดด้ งั น้ี

ท่ี กลมุ่ /โครงการ งบประมาณ รวมงบท่เี สนอขอ
147,350
1. กลมุ่ อานวยการ จานวน 4 โครงการ 22,500 219,780

1. เสรมิ สร้างความรู้ความเขา้ ใจแกผ่ ู้บรหิ ารสถานศึกษา ข้าราชการครู และ 30,000
บุคลากรทางการศกึ ษา 19,930

2. พฒั นาสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามีการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาทม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพมีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ บริหารจดั การ
ตามหลักธรรมาภิบาล

3. สรา้ งการรับรู้ความเขา้ ใจสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา

4. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ My Office 2565

2. สง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร จาวน 3 โครงการ 309,720

1. การอบรมพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการจดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษาปี 40,320

การศึกษา 2565

2. พัฒนาประสิทธิภาพดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา 168,540

3. พัฒนาระบบสนับสนุนการบรหิ ารจัดการของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา 100,860

และระบบสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา

3. กลุ่มพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 205,450

1.พัฒนาศกั ยภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ี 134,700
การศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2 70,750

2. พัฒนาศักยภาพผ้บู รหิ ารทางการศึกษา ในสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2

48

4. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา จานวน 13 โครงการ 657,390

1. พฒั นาเครอื ขา่ ยความร่วมมือการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศ 67,870 51,160
241,700
การศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา

ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2

2. การสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี เพ่อื พัฒนาทักษะการจดั การเรยี นรู้ 30,000

เชงิ รุกของครภู าษาไทย สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา

นราธิวาส เขต 2

3. การพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาวิถีใหม่วิถคี ุณภาพดว้ ยการเรยี นร้แู บบองค์ 22,800

รวมสาหรับครผู สู้ อนภาษาองั กฤษในสงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

4. พัฒนานวัตกรรมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21ผา่ น 54,050

การเรยี นรู้เชิงรุก ( Active Learning ) เพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาของ

โรงเรยี น ในสงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2

5. โครงการพฒั นาระบบการประเมินมาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพ 124,120

การศกึ ษา

6. การพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวยั เพอื่ ความลดความเลอื่ มลา้ ระหว่างบคุ คล 18,570

7. โครงการนิเทศ ตดิ ตามการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 52,300

สพป.นธ.2

8. พัฒนาศกั ยภาพครผู สู้ อน ในการจัดการเรยี นรเู้ พ่อื เตรียมรบั การประเมิน 52,400

สมรรถนะนักเรยี นมาตรฐานสากล (Program for International Assessment

หรือ PISA) สาหรับนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในโรงเรยี นขยายโอกาส

9. โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาการคานวณ และสะ 65,000

เตม็ ศึกษา

10. พฒั นาด้านการวัดผลและประเมินผลสถานศึกษา 45,000

11. คณิตคดิ สร้างสรรค์ 70,000

12. สง่ เสริม สนบั สนนุ การพฒั นาดิจิทลั แพลตฟอร์มสาหรบั การเรยี นรู้ดว้ ย 40,280

เทคโนโลยี

13. การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาเรยี นรวม 15,000

5. กลุม่ ส่งเสริมการจดั การศึกษา จานวน 2 โครงการ 26,200
24,960
1. โครงการจดั งานเนื่องในวนั สาคญั ทางลกู เสือ เนตรนารแี ละยุวกาชาด
2. งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ท่ี 70 ปีการศกึ ษา 2565

6 กล่มุ นโยบายและแผน จานวน 1 โครงการ 241,700

1. การบรหิ ารจดั การกลุ่มนโยบายและแผน

49

5. สรปุ โครงการและงบประมาตามประเด็นกลยุทธ์

ประเด็นกลยุทธ์ โครงการ งบประมาณ
26,200
1. การจดั การศึกษาเพ่ือ 1. จัดงานเนอื่ งในวันสาคญั ทางการลกู เสอื เนตรนารีและยุวกาชาด

ความมั่นคงของชาติ

2. การพฒั นาคุณภาพ 1. งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ท่ี 70 (ระดับเขตพื้นท่ี) 24,960
ผ้เู รียน เพือ่ สรา้ งขีด
ความสามารถทีส่ อดคลอ้ ง
กบั พหุปัญญา

3. การสง่ เสริมศักยภาพ 1. พฒั นาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่ 134,700
ผู้เรียน ผบู้ รหิ าร ครูและ การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 147,350
บคุ ลากรทางการศึกษา 30,000
อย่างย่ังยนื 2. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแกผ่ ู้บรหิ ารสถานศึกษา ข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษา 70,750
22,800
3. การสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี เพื่อพฒั นาทกั ษะการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทย สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา 54,050
ประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2
18,570
4. พฒั นาศกั ยภาพผู้บรหิ ารทางการศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ี 52,400
การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2
65,000
5. การพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาวิถีใหมว่ ิถีคณุ ภาพดว้ ยการเรียนรแู้ บบ 45,000
องคร์ วมสาหรับครูผูส้ อนภาษาองั กฤษในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา 70,000
ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2

6. พัฒนานวัตกรรมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21
ผา่ นการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ( Active Learning ) เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
ของโรงเรียน ในสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส
เขต 2

7. การพฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวยั เพื่อความลดความเลื่อมลา้ ระหวา่ ง
บุคคล

8. พัฒนาศักยภาพครผู ู้สอน ในการจัดการเรียนรู้เพอื่ เตรยี มรบั การประเมิน
สมรรถนะนกั เรยี นมาตรฐานสากล (Program for International
Assessment หรอื PISA) สาหรับนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ใน
โรงเรยี นขยายโอกาส

9. โครงการพฒั นาศักยภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาการคานวณ และ
สะเต็มศึกษา

10. พัฒนาด้านการวัดผลและประเมินผลสถานศึกษา

11. คณติ คิดสรา้ งสรรค์

50

4. การสร้างโอกาสและ 12. สง่ เสรมิ สนบั สนุน การพัฒนาดจิ ิทลั แพลตฟอร์มสาหรับการเรียนร้ดู ว้ ย 40,280
ความเสมอภาคทาง เทคโนโลยี 15,000
การศกึ ษาภาคบังคบั
1. การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียนรวม

.5. การจดั การศึกษาเพื่อ รอการจดั สรรจาก สพฐ. จาก สพฐ.
เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิตที่
เป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม

6. การพฒั นาระบบ 1. การบริหารจัดการกลุ่มนโยบายและแผน 241,700
บรหิ ารจัดการเสริมสร้าง 40,320
การมสี ่วนร่วมและใช้ 2. การอบรมพัฒนาบคุ ลากรด้านการจดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษาปี
เทคโนโลยีในการบริหาร การศกึ ษา 2565 67,870
จดั การศึกษา 3. พัฒนาเครือขา่ ยความรว่ มมอื การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศ
การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ของสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา 168,540
ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 22,500

4. พฒั นาประสิทธภิ าพด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 100,860
5. พัฒนาสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามกี ารบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมี
ประสิทธภิ าพมีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ บรหิ าร 30,000
จัดการตามหลักธรรมาภิบาล 19,930
124,120
6. พัฒนาระบบสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการของสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
และระบบสนบั สนุนการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 52,300

7. สรา้ งการรับร้คู วามเข้าใจสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

8. ประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ My Office 2565

9. โครงการพฒั นาระบบการประเมนิ มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา

10. โครงการนิเทศ ติดตามการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สพป.นธ.2

รวมทัง้ สน้ิ 1,685,200

6. รายละเอียดโครงการ

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2 ไดจ้ ัดทาแผนการ
ใช้จา่ ยงบประมาณโดยเปน็ งบดาเนินงานตามภารกจิ กลุ่มเพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษา และพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ของเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 จานวน 25 โครงการรวมเป็นเงนิ งบประมาณจานวน 1,680,800
บาท โดยมีรายละเอยี ดของโครงการ ดังนี้

51

โครงการ “จดั งานเนื่องในวนั สาคัญทางการลกู เสอื เนตรนารแี ละยุวกาชาด”

แผนงาน พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
หน่วยงานรับผดิ ชอบ สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผตู้ ดิ ตอ่ ประสานงาน (contact person)
ชื่อ – นามสกลุ นางสาวธัญญาภรณ์ แก้วฉาย โทรศพั ท์ 0824371963
โทรสาร 073 530792 E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเดน็ กลยุทธ์ที่ 1. การจดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคงของชาติ
เป้าประสงค์รวม 1. ผูเ้ รยี นมีความรักในสถาบนั หลักของชาตยิ ึดมัน่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มที ัศนคตทิ ี่ดีต่อ บ้านเมอื ง มหี ลักคดิ ที่ถกู ต้อง เปน็ พลเมืองที่ดีของชาติ
มีคุณธรรมจริยธรรม มีคา่ นยิ มทีพ่ ึงประสงค์ มจี ติ สาธารณะ จติ อาสา สามารถรับมือกบั ภัยคกุ คามทกุ รปู แบบดารงชีวิต
ในสังคมพหุวฒั นธรรมอยา่ งสันตสิ ขุ

สว่ นที่ 1 ความเช่ือมโยง ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดบั ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ 1)
1) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพมนุษย์
(1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรบั วิถีชวี ติ ในศตวรรษที่ 21
(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1. การปรับเปล่ียนคา่ นิยมและวัฒนธรรม 1.2 การบูรณาการเรื่องความ

ซอื่ สัตย์ วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา
(3) การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โครงการไดม้ กี ารนาลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

ครูและบุคลากรทางการศึกษาเขา้ ร่วมโครงการ โดยส่งผลให้ผูเ้ ข้าร่วมโครงการไดม้ ีการปรับเปล่ียนค่านิยมและ
วฒั นธรรม ได้นอ้ มราลึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัก พระผู้
พระราชทานกาเนดิ ลูกเสอื ไทย ประมุขของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ และนอ้ มราลึกถงึ พระมหากรณุ าธคิ ุณของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าบริพัตรสุขมุ กรมนครสวรรค์ -วรพนิ ติ ผูก้ อ่ ต้ังกิจการยุวกาชาดไทย
มกี ารบรู ณาการกจิ กรรมกบั เรื่องความซื่อสัตย์สจุ รติ มวี นิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ น
การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษาได้

(โปรดระบุวา่ โครงการของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ชาติได้อย่างไร
บ้าง)
2) ยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ น...................................(รอง)................................................... (ถ้ามี)
(1) เปา้ หมาย ....................................................................................................................
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์.....................................................................................................
(3) การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ .....................................................................
(โปรดระบวุ ่าโครงการของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง)
1.2 แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การปรับเปลย่ี นค่านิยมและวัฒนธรรม

52

แผนยอ่ ย การปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และการเสริมสรา้ งจติ สาธารณะและการเป็น
พลเมืองที่ดี

เปา้ หมายแผนย่อย คนไทยเป็นมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ มคี วามพร้อมในทุกมิตติ ามมาตรฐานและสมดุล
ท้ังดา้ นสติปัญญา คุณธรรมจริยธรรม มีจิตวญิ ญาณท่ดี ี เข้าใจในการปฏบิ ตั ิตนปรบั ตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมดีขนึ้

องคป์ ระกอบของแผน สถานศึกษาและแหลง่ เรียนรูท้ เ่ี สรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรมและ
สตปิ ัญญา

ปจั จยั กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม
แนวทางการพัฒนาภายใตแ้ ผนย่อย บูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์ วินยั คุณธรรม จริยธรรม และ
ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ในการจัดการเรยี นการสอนในและนอกสถานศกึ ษา จดั ใหม้ กี ารเรียนการสอนตามพระราชดาริ และ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา จัดใหม้ ีการเรยี นร้ทู างศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรมของชาติ และภูมิปัญญา
ท้องถนิ่ รวมท้งั การตระหนักรู้ และการมสี ว่ นรว่ มดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมใหร้ องรับการเปลย่ี นแปลงทง้ั
ในประเทศและตา่ งประเทศ
เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ คนไทยเป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ มคี วามพร้อมในทุก
มติ ติ ามมาตรฐานและสมดลุ ท้ังด้านสติปญั ญา คุณธรรมจรยิ ธรรม มจี ติ วญิ ญาณท่ดี ี เข้าใจในการปฏิบัติตนปรบั ตวั เขา้ กับ
สภาพแวดล้อมดีขน้ึ
อธบิ ายความสอดคล้องของโครงการกับยทุ ธศาสตรท์ ่ีทา่ นเลอื ก
โครงการได้มีการนาลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเขา้ รว่ มโครงการ
โดยสง่ ผลใหผ้ เู้ ข้าร่วมโครงการได้มีการปรบั เปล่ียนค่านยิ มและวฒั นธรรม ได้นอ้ มราลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ
พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หกั พระผู้พระราชทานกาเนิดลกู เสือไทย ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และ
น้อมราลึกถึงพระมหากรณุ าธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าบริพตั รสุขุม กรมนครสวรรค์-วรพนิ ิต ผู้
กอ่ ตัง้ กิจการยวุ กาชาดไทย มีความรักและภูมใิ จในความเป็นไทยมากข้นึ มีการบรู ณาการกจิ กรรมกับเรอ่ื งความซ่ือสตั ย์
สุจรติ มีวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษาได้
อธบิ ายความสอดคล้องของโครงการกับเปา้ หมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาตร์ชาติ
โครงการมกี ารสอดแทรกและปลูกฝังด้านคณุ ธรรม จริยธรรม การยึดมน่ั ในสถานบันหลัก ความรัก
ความภูมใิ จในความเป็นชาติ และการเสรมิ สร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองดเี ขา้ ไปในกิจกรรม ชว่ ยเสริมสรา้ งให้
ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามเข้มแขง็ มศี ักยภาพและความพร้อมในการหล่อหลอม บม่ เพาะ ปลกู ฝังค่านยิ มและวฒั นธรรมทดี่ ี
ไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรมผ่านกิจกรรม มกี ารทากจิ กรรมจิตอาสาซงึ่ สง่ เสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่
สว่ นรวม ทาให้คนไทยเป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ มีความพรอ้ มในทุกมติ ิตามมาตรฐานและสมดุลทางด้านสตปิ ญั ญา คุณธรรม
จรยิ ธรรม มจี ิตวิญญาณท่ีดี เข้าใจในการปฏบิ ัตติ นปรับตวั เข้ากับสภาพแวดล้อมดีขน้ึ
ประชากรอายุ 13 ปี ขน้ึ ไป มีกจิ กรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น (ร้อย
ละต่อปี)
1.3 แผนการปฏิรูปประเทศ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนการปฏริ ปู ด้าน ดา้ นการศกึ ษา
- เปา้ หมายรวม 2. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม เพือ่ เปน็ คนดีของสงั คม มวี นิ ัยและ
ภมู ใิ จในชาติ
- เร่อื งและประเดน็ การปฏิรูป 5. การปฏิรูปการจดั การเรียนการสอนเพอื่ ตอบสนองการ
เปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12

53

1) เปา้ หมายรวมท่ี 1. คนไทยมคี ณุ ลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์
2) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์

(2.1) เป้าหมายระดบั ยุทธศาสตร์ที่ 1 คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทดั ฐานท่ดี ี
ของสังคม

(2.2) แนวทางการพัฒนาที่ 1. ปรับเปล่ียนค่านยิ มคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีวินยั จิต
สาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกวา่ 1 วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมายรวม/ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา/เป้าหมายระดับ
ยุทธศาสตร์/แนวทางการพฒั นา

1.5 นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยความม่ันคงแห่งชาติ
1) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ .............................................................................................

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ/แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ/
เปา้ หมาย/กลยทุ ธ์

1.6 แผนระดับที่ 3 (ระบุชอ่ื )
1) ความสอดคลอ้ งกับนโยบายหลักที่
สรา้ งการตระหนักรู้ เผยแพร่ และปลกู ฝังให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถกู ต้องและเป็นจรงิ
เก่ียวกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ์และพระราชกรณียกจิ เพื่อประชาชน ตลอดจนพระมหากรุณาธคิ ุณ
ของพระมหากษัตริยท์ ุกพระองค์
2) ความสอดคล้องกับนโยบายเรง่ ด่วนของรัฐบาล
ประเดน็ ความสอดคลอ้ งท่ี การเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21

กฎหมายที่เกีย่ วขอ้ ง(ถา้ มี)...............................................................................................................
มติคณะรฐั มนตรีทีเ่ ก่ียวข้อง(ถ้ามี)....................................................................................................

ส่วนที่ 2 รายละเอียดโครงการ

2.1 หลักการและเหตุผล
สืบเนื่องจากสานักงานลูกเสือแห่งชาติ และสานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน

ได้กาหนดจัดงาน “วนั สมเดจ็ พระมหาธีรราชเจ้า” ในวันท่ี 25 พฤศจิกายน วนั คล้ายวนั สถาปนายวุ กาชาดไทย ในวันท่ี
27 มกราคม และวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ในวนั ที่ 1 กรกฎาคม ของทุกปี โดยได้มอบหมายสานักงาน
เขตพืน้ ที่การศึกษาฯ ทุกเขต จัดกิจกรรมวันสาคัญดังกลา่ ว ซง่ึ เป็นวันคล้ายวันสวรรคต
แห่งพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั พระผู้พระราชทานกาเนดิ ลูกเสือไทย เพื่อน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
และแสดงความจงรักภักดตี ่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 จึงได้จัดทาโครงการนี้ข้ึนเพ่ือให้ลูกเสือ เนตรนารี ร่วมกิจกรรมเพื่อสร้างความมีระเบยี บ
วินยั มีความเสียสละ มีความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ

2.2 วัตถปุ ระสงค์
2.2.1 เพ่ือเป็นการน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระผู้พระราชทานกาเนิดลูกเสือไทย และแสดงความจงรักภักดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือ
แหง่ ชาติ
2.2.2 เพ่อื ราลกึ พระกรุณาธคิ ณุ ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ บริพัตรสขุ ุมพนั ธ์ กรมพระนครสวรรค์-
วรพินติ ผู้ก่อตงั้ กิจการยวุ กาชาดขนึ้ ในประเทศไทย

54

2.3 เป้าหมาย
2.3.1 ลกู เสอื เนตรนารี และผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือ ในสงั กัด สพป.นราธวิ าส เขต 2 ,

สพม.15 โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก , วิทยาลัยการอาชีพสุไหงโก-ลก , ลูกเสือชาวบ้าน. และ
หน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ร่วมประกอบพธิ ีฯ และแต่งเคร่ืองแบบออกปฏบิ ัติกจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ตาม
สถานทสี่ าธารณะ โดยพร้อมเพรยี งกัน จานวนกวา่ 500 คน

2.3.2 ลูกเสอื เนตรนารี และผบู้ ังคบั บญั ชา ได้ราลึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของ
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั และยวุ กาชาดได้ราลึกพระกรุณาธิคณุ ของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
เจา้ ฟ้าบรพิ ัตรสุขมุ พนั ธ์ กรมพระนครสวรรค์-วรพนิ ิต ผูก้ อ่ ตั้งกจิ การยุวกาชาดขึ้นในประเทศไทย

2.3.3 ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมโี อกาสได้เข้ารว่ มงานพธิ ีต่าง ๆ ของลกู เสือ
เนตรนารี ยุวกาชาด ทาใหม้ คี วามเข้าใจในกระบวนการของลกู เสอื ยุวกาชาดได้อยา่ งถูกต้องและได้รบั ประสบการณ์
เพอื่ เปน็ แนวทางในการพัฒนาตนเองและกิจการลกู เสือ ยวุ กาชาด ใหร้ ุ่งเรืองต่อไป

2.4 ผลผลิต ผลลัพธ์ และดชั นีชีว้ ดั ความสาเร็จ
2.4.1 ผลผลติ (Output)

ลูกเสือ เนตรนารี และผบู้ งั คบั บัญชาลูกเสอื ในสงั กัด สพป.นราธิวาส เขต ๒ , สพม.15
โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก , วิทยาลัยการอาชีพสไุ หงโก-ลก , ลูกเสือชาวบ้านและหนว่ ยงานอื่น ๆ ที่
เก่ียวข้อง ร่วมประกอบพธิ ฯี และแตง่ เคร่อื งแบบออกปฏิบัตกิ จิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์ตามสถานที่สาธารณะ โดย
พร้อมเพรยี งกนั จานวนกว่า 500 คน

2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ลูกเสอื เนตรนารี และผู้บังคับบัญชา ไดร้ าลกึ ในพระมหากรุณาธิคุณของ

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู ัว และยวุ กาชาดได้ราลกึ พระกรุณาธิคณุ ของสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ
เจา้ ฟา้ บรพิ ัตรสขุ ุมพนั ธ์ กรมพระนครสวรรค์-วรพินิต ผู้ก่อต้ังกิจการยวุ กาชาดขึ้นในประเทศไทย

2) ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีโอกาสได้เข้ารว่ มงานพธิ ีตา่ ง ๆ
ของลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ทาให้มคี วามเขา้ ใจในกระบวนการของลูกเสอื ยวุ กาชาดได้อย่างถูกต้องและได้รับ
ประสบการณ์ เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและกิจการลกู เสอื ยุวกาชาด ให้ร่งุ เรืองต่อไป

2.5 ดชั นชี ้ีวัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชงิ ปริมาณ
1) ร้อยละร้อยของลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด มีพฤติกรรมท่แี สดงออกถึงความรกั ในสถาบัน

หลกั ของชาติ ยึดมน่ั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2) ร้อยละรอ้ ยของลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด มพี ฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทศั นคติทดี่ ตี ่อ

บ้านเมือง มีหลกั คดิ ทถี่ ูกตอ้ ง เปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ มีคุณธรรม มจี ิตอาสา
มีวินัย

2.5.2 เชงิ คุณภาพ
1) ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความรักในสถานบนั หลักของชาติ

ยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2) ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด มพี ฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทศั นคตทิ ่ีดตี ่อบา้ นเมือง มี

หลักคิดท่ีถูกต้อง เปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มคี า่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ มีคุณธรรม มจี ิตาสา มีวนิ ัย

55

2.6 ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั

2.6.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด มพี ฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถานบันหลัก

ของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

2.6.2 ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด มพี ฤติกรรมที่แสดงออกถงึ การมีทศั นคตทิ ดี่ ีต่อบา้ นเมือง

มีหลักคิดท่ถี ูกต้อง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ มีคุณธรรม มีจติ าสา

มวี นิ ยั

2.7 กลุ่มเปา้ หมายผูไ้ ดร้ บั ผลประโยชน์

2.7.1 ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

2.7.2 ผูบ้ งั คับบัญชาลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด

2.7.3 ลูกเสือชาวบ้าน

2.8 ระยะเวลาดาเนินโครงการ ตุลาคม 2564 – กนั ยายน 2565

2.9 แผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ

วงเงนิ งบประมาณทดี่ าเนินการ 26,200 บาท

แผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ

ท่ี กจิ กรรม/รายการ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม

1/2565 2/2565 3/2565 4/2565

จดั งาน “วนั สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า”

ประจาปี 2564

กิจกรรมที่ 1 ประชมุ คณะทางาน

และผู้เกี่ยวข้อง 600 600

1.1 คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม

(20 คน * 1 มอ้ื * 30 บาท)

กิจกรรมท่ี 2 ดาเนินการจัดกิจกรรม 3,000 3,000
2.1 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม 7,000 7,000
1,000 1,000
(100 คน * 1 มอื้ * 30 บาท)

2.2 ค่าอาหารกลางวนั
(100 คน * 1 มือ้ * 70 บาท)

2.3 ค่าตอบแทน (เครอ่ื งเสียง)

รวม 11,600 11,600

56

แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ รวม

ที่ กจิ กรรม/รายการ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 1,200
1/2565 2/2565 3/2565 4/2565 2,800
4,000
2. จดั ส่งตวั แทนยุวกาชาดในสงั กัดเข้ารว่ มงาน 600
วันคลา้ ยวนั สถาปนายวุ กาชาดไทย
ประจาปี 2565

กจิ กรรมที่ 1 ดาเนนิ การจดั กิจกรรม 1,200
2.1 ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 2,800
4,000
(40 คน * 1 ม้อื * 30 บาท)

2.2 คา่ อาหารกลางวัน
(40 คน * 1 มอ้ื * 70 บาท)

รวม

3. จัดงานวันคลา้ ยวันสถาปนาคณะลูกเสือ 600
แห่งชาติ ประจาปี 2565
กจิ กรรมที่ 1 ประชมุ คณะทางาน และ
ผู้เกีย่ วขอ้ ง
1.1 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม
(20 คน * 1 มื้อ * 30 บาท)

กิจกรรมที่ 2 ดาเนนิ การจดั กิจกรรม 7,500 7,500
2.1 คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม 1,000 1,000

(250 คน * 1 ม้อื * 30 บาท)

2.2 คา่ ตอบแทน (วงโยธวาฑติ /ค่าเคร่อื งเสียง)

2.3 ค่าสถานที่ 1,500 1,500

รวม 16,000 4,000 600 10,000 26,200

57

โครงการ “งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 70 (ระดบั เขตพื้นที)่ ”

แผนงานโครงการ พนื้ ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผูต้ ิดตอ่ ประสานงาน (contact person)
ชอื่ – นามสกุล นายทวีศกั ด์ิ สรุ ินทร์ โทรศัพท์ 0807165029
โทรสาร 073 530792 E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเดน็ กลยุทธท์ ี่ 2. การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น เพื่อสร้างขีดความสามารถทีส่ อดคล้องกับพหุปัญญา
เป้าประสงคร์ วม 2. สง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนทีม่ ีความสามารถพิเศษตามพหุปญั ญา

สว่ นท่ี 1 ความเชอ่ื มโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 1)
1) ยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

(1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ พรอ้ มสาหรับวิถีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21
ตระหนกั ถึงพหปุ ัญญาของมนุษยท์ ีห่ ลากหลาย

(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ตระหนกั ถึงพหปุ ัญญาของมนุษย์ทีห่ ลากหลาย
(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว
ระบบสถานศึกษา สภาพแวดลอ้ ม รวมทั้งสอื่ ตัง้ แต่ระดบั ปฐมวัย
(โปรดระบวุ า่ โครงการของท่านสามารถสง่ ผลต่อการบรรลเุ ป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติได้อย่างไร
บา้ ง)
1.2 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ที่ 2)
1) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้
แผนยอ่ ย ประเทศไทยมรี ะบบข้อมลู เพื่อการส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพตามพหปุ ญั ญา เพอ่ื
ประโยชนใ์ นการพัฒนาและการสง่ ต่อการพัฒนาใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพเพิ่มขนึ้
เปา้ หมายแผนย่อย หลกั สูตรการจัดการศกึ ษา เวทใี นการแสดงความสามารถสาหรับผมู้ ี
ความสามารถพิเศษ
องค์ประกอบของแผน ด้วยการพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา
สภาพแวดล้อม รวมท้ังสื่อ โดยพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกลไกการคดั กรองและการสง่ ต่อเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาคนไทย
ตามพหปุ ัญญาใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ ส่งเสริมสนับสนนุ ครอบครัวในการเสริมสร้างความสามารถพิเศษตามความถนัดและ
ศักยภาพ ท้ังดานกีฬา ภาษา และวรรณกรรม สุนทรียศลิ ป์ ส่งเสรมิ สนับสนุนระบบสถานศึกษาและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ตอ่ การสร้างและพฒั นาเดก็ และเยาวชนทีม่ ีความสามารถพเิ ศษบนฐานพหปุ ัญญา
ปจั จยั เวทใี นการแสดงความสามารถสาหรบั ผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ
แนวทางการพฒั นาภายใต้แผนย่อย พฒั นาและสง่ เสรมิ พหุปัญญา โดยพฒั นาระบบบริหาร
จดั การกลไกการคัดกรองและการส่งต่อเพ่ือสง่ เสริมการพฒั นาคนไทยตามพหุปัญญาใหเ้ ต็มตามศักยภาพ ส่งเสริม
สนับสนุนครอบครวั ในการเสริมสร้างความสามารถพเิ ศษตามความถนัดและศักยภาพทง้ั ดา้ นกีฬา ภาษาและ
วรรณกรรม สนุ ทรียศิลป์สง่ เสรมิ สนบั สนุนระบบสถานศึกษาและสภาพแวดล้อมท่เี อื้อตอ่ การสร้างและพฒั นาเด็กและ

58

เยาวชนท่ีมีความสามารถพเิ ศษบนฐานพหปุ ญั ญา และสง่ เสริมสนับสนุนมาตรการจงู ใจแก่ภาคเอกชน และส่ือในการมี
ส่วนรว่ มและผลักดันให้ผ้มู ีความสามารถพิเศษ มบี ทบาทเด่นในระดับนานาชาติ

(โปรดระบวุ า่ โครงการของทา่ นสามารถสง่ ผลต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับประเด็นของ
แผนแม่บทฯ ท่วี ดั ผลสัมฤทธโ์ิ ดยตัวช้วี ัดท่ีกาหนดไวใ้ นแต่ละเปา้ หมายอย่างไร และ (ถ้ามี)
คิดเป็นสดั สว่ นหรือรอ้ ยละเทา่ ไหรข่ องค่าเปา้ หมายต่าง ๆ)

1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนการปฏิรปู ดา้ น ดา้ นการศกึ ษา
- เป้าหมาย รวมเพือ่ บุกเบิกนวัตกรรมการจดั การศึกษา ระดบั โรงเรยี น กลุม่ โรงเรยี น หรือการ

จัดการระดับพื้นที่ โดยให้โรงเรยี นเป็นศนู ยก์ ลางของการยกระดบั คุณภาพของการศึกษา ผ่านการขับเคล่ือน
เรอื่ งสถานศกึ ษาทมี่ ีความเปน็ อิสระในการบรหิ ารจัดการและระบบนเิ วศทีส่ นบั สนุนการดาเนนิ การของ
สถานศกึ ษา เพื่อให้สามารถพัฒนาและขยายผลการจดั การเรียนการสอนท่เี หมาะสมกับบริบทตา่ ง ๆ

- เรื่องและประเด็นการปฏริ ปู 6. การปรบั โครงสรา้ งของหนว่ ยงานในระบบการศกึ ษา เพ่ือบรรลุ
เปา้ หมายในการปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนและยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษา

1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) เปา้ หมายรวมที่ ................................................................................................................
2) ยุทธศาสตร์ท่ี ..................................................................................................................

(2.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตรท์ ี่ .....................................................................................
(2.2) แนวทางการพัฒนาที่ ..................................................................................................
(2.3) แนวทางการพัฒนาที่ ..................................................................................................

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกวา่ 1 วตั ถุประสงค์/เป้าหมายรวม/ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา/เป้าหมายระดบั
ยทุ ธศาสตร์/แนวทางการพฒั นา

1.5 นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ด้วยความมนั่ คงแหง่ ชาติ
1) นโยบายความม่ันคงแห่งชาตทิ ่ี .............................................................................................

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ/แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ/
เป้าหมาย/กลยุทธ์

1.6 แผนระดับที่ 3 (ระบุช่อื )
1) ความสอดคลอ้ งกับนโยบายหลัก
ประเด็นสอดคลอ้ งที่............................................................................................................
2) ความสอดคล้องกบั นโยบายเร่งดว่ นของรฐั บาล
ประเด็นความสอดคลอ้ งท่ี..............................................…………………………………………….

กฎหมายที่เกยี่ วข้อง(ถา้ มี)...............................................................................................................
มติคณะรฐั มนตรีทเี่ กย่ี วข้อง(ถ้าม)ี ....................................................................................................

ส่วนที่ 2 รายละเอียดโครงการ

2.1 หลักการและเหตุผล
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในฐานะหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสาหรับเด็ก
และเยาวชนให้เป็นผู้ท่ีถึงพร้อมด้วยคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ โดยได้นาพระราชปณิธานของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๖ ท่ีทรงริเร่ิมการจัดงาน มาสืบสานถ่ายทอดสู่
อนุชนรุ่นหลงั ประวตั ิศาสตรท์ ่ยี าวนานกว่า ๑๐๐ ปี ของการจัดงานมีวัฒนาการทั้งรูปแบบ วิธีการและเน้ือหาในการ
จัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย สิ่งสาคัญท่ีสุดที่คณะกรรมการจัดงานใส่ใจและให้

59

ความสาคัญ คือการยึดมั่นในพระปณิธานของล้นเกลา้ รชั กาลที่๖ ทีม่ ีจุดมงุ่ หมายเพอื่ จะแนะนาชักจูงใหเ้ ด็กชาย-หญิง
ในสมัยน้ันได้เอาใจใส่ฝึกหัดศิลปหัตถกรรมซึ่งเป็นทางเล้ียงอาชีพต่าง ๆ เพื่อจะกันการที่เด็กทั้งหลายพากันนิยมใน
การเปน็ เสมียนหรือเขา้ ทาราชการใหน้ ้อยลง และสานต่อเจตนารมณ์ของการจดั การศึกษาท่มี งุ่ ให้ การจดั งานมหกรรม
ความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยขี องนักเรยี นมีต่อไป
2.2 วตั ถุประสงค์

2.2.1 เพ่อื สง่ เสรมิ สนับสนุนใหน้ กั เรียนได้แสดงออกถงึ ความสามารถศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน
ครงั้ ท่ี 70 ดว้ ยการประกวดและแข่งขนั ทักษะทางวิชการระดับชาติ (ภาคใต้)

2.2.2 เพอื่ เผยแผรแ่ ละนาเสนอผลงานของโรงเรียน นักเรียน ปรากฏต่อสาธารณชน
2.3 เปา้ หมาย
2.3.1 นกั เรียนและบคุ ลากรทางการศึกษามีโอกาส เข้ารว่ มกจิ กรรมแขง่ ขันทกั ษะความสามารถทาง
วิชาการและศิลปหัตถกรรม ร้อยละ ๑๐๐

2.3.2 นกั เรยี นมโี อกาสเข้ารว่ มแข่งขนั ทักษะความสามารถทางวิชาการในระดบั ภาคร้อยละ ๙๐
2.3.3 ครูและผบู้ ริหารมโี อกาสนาเสนอแนวคดิ ผลงานและนวตั กรรมทางวิชาการรัอยละ ๑๐๐
2.4 ผลผลติ ผลลัพธ์ และดัชนชี วี้ ัดความสาเรจ็
2.4.1 ผลผลติ (Output)

1) จานวยโรงเรียนที่เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั
2) จานวนบคุ ลากร ครูผู้สอนทเี่ ข้าชมงานแลกเปล่ียนเรียนรู้
3) จานวนนักเรียนที่เขา้ ชมและรว่ มกจิ กรรม ฯ

2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ความรู้ความเขา้ ใจของบุคลากรในการนาแนวคิด รูปแบบของผลงานนวัตกรรมและ

กจิ กรรมไปประยุกต์ใช้ พฒั นาการการเรยี นการสอน
2) ความหลากหลายของรปู แบบและการนาเสนอผลงานนวัตกรรมของโรงเรียน
3) ความร่วมมือ ความสนใจของบุคลากรประชาชนผู้สนใจ ในการเข้าชมงาน

2.5 ดัชนีชี้วดั ความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชิงปริมาณ
1) นกั เรียนและบุคลากรทางการศึกษามโี อกาส เขา้ ร่วมกจิ กรรมแข่งขนั ทักษะความสามารถ

ทางวชิ าการและศลิ ปหัตถกรรม ร้อยละ ๑๐๐
2) นักเรียนมีโอกาสเขา้ ร่วมแข่งขนั ทักษะความสามารถทางวชิ าการในระดับภาคร้อยละ ๙๐
3) ครูและผู้บริหารมโี อกาสนาเสนอแนวคิด ผลงานและนวัตกรรมทางวชิ าการรัอยละ ๑๐๐

2.5.2 เชิงคุณภาพ
1) บุคลากรในสงั กดั มีความรู้ความเขา้ ใจ ในการนาแนวคิด องค์ความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ชแ้ ละพฒั นา
คุณภาพการจัดการสอน

2) นกั เรียนมโี อกาสในการแสดงออกและเรยี นร้รู ว่ มกนั เพ่อื พฒั นาความรู้ความสามารถ
ทักษะและเจตคตจิ ากการเข้ารว่ มกิจกรรม

3) โรงเรยี น หนว่ ยงานและชุมชนให้ความรว่ มมอื สนใจในการเข้าร่วมและชมงานมหกรรม
วิชาการ

60

2.6 ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั

2.6.1 บุคลากรโรงเรยี น / หนว่ ยงานทางการศึกษาได้นาหลักการแนวคดิ ท่ไี ด้รับจากการจดั งานไป

ประยุกตใ์ ช้เพอื่ วางแผนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาได้อย่างมคี ุณภาพ 2.6.2 เปน็ การสร้าง

ขวญั กาลังใจในการปฏบิ ัตงิ าน นามาซงึ่ ความภาคภมู ใิ จของบคุ ลากรในโรงเรียน และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

2.6.3 ชุมชนเห็นความสาคัญและมีความตระหนักในการเข้ามามสี ว่ นรว่ ม สง่ เสริมสนับสนุนการจดั

กากรศึกษาตลอดจนเป็นการสรา้ งความเขา้ ใจร่วมกัน ในการจดั การศึกษาตามแนวทางการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้

ระหว่างโรงเรยี นและชุมชน

2.7 กลุ่มเป้าหมายผู้ไดร้ ับผลประโยชน์

2.7.1 บุคลากรโรงเรียนในสงั กัดทุกโรง

2.7.2 โรงเรียน ชมุ ชน และหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง

2.8 ระยะเวลาดาเนินโครงการ ตุลาคม ๒๕๖๔ – กนั ยายน ๒๕๖๕

2.9 แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ

วงเงินงบประมาณที่ดาเนนิ การ 24,960 บาท

แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี
1/256X 2/256X 3/256X 4/256X

กิจกรรมท่ี ๑

คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปประชุม

-ค่าเบยี้ เล้ียง 3x240x3 2,160 2,160
-ค่าทีพ่ ัก ๒ หอ้ ง ๆ ละ 800 บาท 2 คนื 3,200 3,200
-คา่ น้ามนั เชอื้ เพลิง 3 วัน ๆ ละ 1000 บาท 3,000 3,000

กิจกรรมที่ ๒ 4,980 4980
ค่าใช้จ่ายในการประชมุ คณะกรรมการและ 11,620 11,620
คณะทางาน
-ค่าอาหารว่าง 166x30 24,960 24,960
-ค่าอาหาร 166x70

รวม

61

โครงการ “พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
นราธวิ าส เขต 2 ”

แผนงาน พื้นฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ กล่มุ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

ผตู้ ดิ ต่อประสานงาน (contact person)

ชอื่ – นามสกลุ นางชินลักษณ์ พันธโ์ ภชน์ โทรศพั ท์ 089-8705824

โทรสาร 073-530790 E-mail [email protected]

นโยบายของสพป.นธ.2

ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 3. การสง่ เสริมศักยภาพผู้เรียน ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งย่ังยืน

เป้าประสงคร์ วม ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มคี วามรู้และ

จรรยาบรรณตาม มาตรฐานวิชาชพี

ส่วนท่ี 1 ความเช่อื มโยง ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมตคิ ณะรัฐมนตรี

เม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ 1)

1) ยุทธศาสตร์ชาติ ดา้ น 3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

(1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพพร้อมสาหรบั วิถีชีวติ ในศตวรรษที่ 21

(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ปฏริ ปู กระบวนการเรียนร้ทู ีต่ อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงใน

ศตวรรษที่ ๒๑

(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ คนไทยในอนาคต มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติ

ปญั หา มที ักษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21

(โปรดระบุวา่ โครงการของทา่ นสามารถส่งผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติได้อยา่ งไร
บา้ ง)
1.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ (Y2)
(1) เป้าหมายระดับประเดน็ ของแผนแมบ่ ทฯ

 เป้าหมายท่ี 1 คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพมิ่ ข้ึน มีทักษะที่
จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถช่วยในการแกป้ ัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้อย่างมี
ประสิทธผิ ลเพิ่มขนึ้ มนี ิสัยใฝเ่ รยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ คนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน และ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาที่ดีขึ้น

(โปรดระบวุ า่ โครงการของทา่ นสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับประเด็นของ
แผนแม่บทฯ ท่ีวัดผลสัมฤทธิ์โดยตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในแต่ละเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้า
มี) คดิ เปน็ สดั ส่วนหรือร้อยละเทา่ ไหรข่ องค่าเปา้ หมายต่าง ๆ)
(2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูท้ ี่ตอบสนองต่อการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

62

 แนวทางการพฒั นา ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่าง
ต่อเนื่อง ครอบคลมุ ทั้งเงินเดือน สายอาชพี และระบบสนับสนนุ อื่นๆ

 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยได้รบั การศกึ ษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะที่
จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถเข้าถงึ การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ ดีข้นึ

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน มีทักษะที่จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางาน
ร่วมกับผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิผลเพม่ิ ขนึ้ มีนิสัยใฝเ่ รยี นรู้อย่างต่อเน่อื งตลอดชีวติ

(โปรดระบุว่าโครงการของทา่ นสามารถสง่ ผลต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับแผนยอ่ ยของแผน
แมบ่ ทฯ ทวี่ ดั ผลสัมฤทธโิ์ ดยตวั ช้วี ัดทก่ี าหนดไวใ้ นแตล่ ะเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้ามี) คดิ เปน็
สดั สว่ นหรือร้อยละเทา่ ไหรข่ องค่าเป้าหมายต่าง ๆ)
1.3 แผนการปฏริ ูปประเทศ (แผนระดบั ที่ 2)
1) เรื่อง/ประเด็นการปฏิรปู ที่ 3 การปฏริ ูปเพ่ือลดความเลอื่ มล่าทางการศึกษา
2) ขัน้ ตอนการดาเนินงาน การดาเนนิ การเพื่อลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา
3) กจิ กรรมเรื่อง ส่งเสริมการพฒั นาคณุ ภาพและประสิทธิภาพครู
4) เป้าหมายกิจกรรม เสริมสร้างพัฒนาครูและสถานศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและคุณภาพ ตลอดจนวิจัย
พฒั นาองค์ความรู้ทน่ี าไปใช้ได้จริง เพื่อยกระดับความสามรถของคนไทยได้ยัง่ ยนื
1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) วัตถปุ ระสงค์ที่ 1.1 เพื่อวางรากฐานใหค้ นไทยเป็นคนทสี่ มบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบยี บวินยั
คา่ นิยมท่ีดี มีจิตสาธารณะ และความสขุ โดยมีสุขภาวะและสขุ ภาพที่ดี ครอบครวั อบอนุ่ ตลอดจนเป็นคนเกง่ ท่ีมีทักษะ
ความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิต
2) เป้าหมายรวมท่ี คนไทยมคี ุณลกั ษณะเป็นคนไทยทส่ี มบรู ณ์ มนี ิสัย มที ศั คตแิ ละพฤติกรรมตามบรรทดั
ฐานท่ดี ีของสังคม มีความเป็นพลเมืองตน่ื รู้ มคี วามสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทนั สถานการณ์ มีความรบั ผิดชอบ
และทาประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม มสี ขุ ภาพกายและใจท่ดี ี มคี วามเจรญิ งอกงามทางจิตวิญญาณมวี ถิ ชี ีวติ ท่พี อเพียง และมี
ความเปน็ ไทย
3) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์
(3.1) เปา้ หมายระดบั ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 คนไทยส่วนใหญ่มีทัศคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดี
ของสังคม
(3.2) แนวทางการพัฒนาท่ี (1) ปรับเปลย่ี นค่านิยมคนไทยให้มคี ุณธรรม จริยธรรม มวี ินัย จติ
สาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพ่ึงประสงค์
(3.3) แนวทางการพฒั นาที่ (2) พัฒนาศกั ยภาพคนใหม้ ีทักษะความรู้ และความสามารถในการ
ดารงชวี ติ อย่างมีคณุ ค่า
หมายเหตุ : สามารถสอดคลอ้ งได้มากกว่า 1 วตั ถุประสงค์/เปา้ หมายรวม/ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา/เปา้ หมาย
ระดบั ยทุ ธศาสตร์/แนวทางการพฒั นา
1.5 นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยความมั่นคงแห่งชาติ
1) นโยบายความมัน่ คงแหง่ ชาตทิ ่ี 2 สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความ
สมานฉันทใ์ นชาตริ องรบั วัตถุประสงค์ 3.4.3 เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนการสร้างความปรองดอง ความเป็นธรรม และ
ความสมานฉนั ท์ในชาติเพ่ือลดการเผชญิ หนา้ และการใช้ความรุนแรงในทุกรปู แบบ
2) แผนระดบั ชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ รองรับทุกนโยบายความม่นั คงแห่งชาติ

63

3) เป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ ประชาชนมคี วามสามัคคี มีความปลอดภยั ในการดารงชีวติ มีสว่ น
รว่ มและมคี วามพร้อมเผชญิ ปัญหาและรบั มือกับภยั คกุ คามและปัญหาด้านความม่นั คง

4) ตัวชวี้ ดั ระดับการเสริมสรา้ งความสามัคคขี องคนในชาติ
5) กลยุทธ์ สง่ เสริมให้คนไทยมคี วามสามัคคี สังคมมีความสงบสุข และประเทศมกี ารพฒั นา
อย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง โดยผนึกกาลังทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับชุมชน ตาบล หมู่บ้าน จังหวัด
ภาค และประเทศชาติ ให้เป็นเครอื ขา่ ยสนับสนนุ งานดา้ นความมน่ั คงและให้ตระหนกั ถึงความรบั ผิดชอบต่อผลประโยชน์
ส่วนรวมของประเทศชาติ
หมายเหตุ : สามารถสอดคลอ้ งไดม้ ากกว่า 1 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ/แผนระดับชาติว่าด้วยความ
มน่ั คงแหง่ ชาต/ิ เปา้ หมาย/กลยุทธ์
1.6 แผนระดับที่ 3 (ระบุช่อื )
1) ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายหลัก

ประเด็นสอดคล้องที่ 3 พัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
2) ความสอดคล้องกบั นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล

ประเด็นความสอดคล้องท่ี 7 การพัฒนาสรา้ งความเข้มแข็งจากฐานราก
สว่ นที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในยุคของสังคมโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง การยอมรับการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรบุคคลภาครัฐจึงมี

ความสาคัญ บนพ้ืนฐานของความคุ่มค่าต่อต้นทุนการผลิตของรัฐ ท่ีสนับสนุนให้มีการนาเคร่ืองมือสร้างชุมชนแห่งการ
เรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC) มาใช้ในการพฒั นาสมรรถนะทรัพยากรบคุ คลเพือ่ ใหส้ ามารถพฒั นางานให้เกิดประสิทธิผล เป็น
การประยกุ ตแ์ นวคิดองค์กรแหง่ การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการรวมตัวกัน สร้างปฏิสัมพันธ์ ลดความโดดเดี่ยว โดยคานึงถึง
การสร้างคุณภาพงานให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ การร่วมมือกัน แนะนา ให้กาลังใจกันบน
พ้ืนฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรอย่างมีความสุข สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส
เขต ๒ ซึ่งเป็นองค์กรหลักมีภารกิจพัฒนาและ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียน
ทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลท่ีมีความรู้ คู่คุณธรรม มีความสามารถตาม
มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การดาเนินงานตามภารกิจดังกล่าวต้องอาศัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้าง และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องภายในองค์การที่มีความรู้ความสามารถ และมีผลงานใน
เชิงประจักษ์ สร้างความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะเป็นพลังที่ขับเคลื่อนภารกิจของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐานให้บรรลุ เป้าหมายท่ีเน้นประโยชน์สุขของประชาชนอันสอดคล้องกับแนวนโยบาย ของสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ได้คานึงถึงการสร้างคุณภาพงานให้เกิด
ประสิทธิภาพ ตามขบวนการสร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ PLC โดยการจัดอบรมตามข้ันตอนของการเรียนรู้ทางวิชาชีพซึ่ง
เป็นกระบวนการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กร มีความกระตือรือร้นในการศึกษา ค้นหาความรู้มีความสอดคล้อง
เหมาะสมชัดเจนและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบอย่างต่อเนื่องจนบรรลุตามเป้าหมาย นอกจากนี้ยังได้เห็น
ความสาคัญของการสง่ เสริมให้บคุ ลากรในสงั กัดตระหนกั ถงึ คณุ ค่าอนั มีเกียรติและศักด์ิศรี เป็นแบบอย่างท่ีดี มีผลงานใน
เชงิ ประจกั ษ์ สมควรได้รับรางวัลอันทรงเกียรติของหน่วยงาน ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา ซึ่งเป็นผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความอุตสาหะ ทุ่มเท เสียสละ จนทาให้เกิดผลดีแก่ทางราชการและมี

64

ผลงานเป็นท่ีประจักษ์เข้ารับรางวัลประจาปีที่ทรงคุณค่าของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒
ต่อไป
วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรในสานักงานเขตพื้นท่ี นากระบวนการวจิ ยั /ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพในการ
พัฒนางาน

2. ศกึ ษาความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารต่อขัน้ ตอนการพฒั นางานผา่ นกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ าง
วิชาชีพของกลุ่มงานพัฒนาครูฯ

3. เพอ่ื เสริมสรา้ งประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิหน้าที่ของสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน
สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต ๒ ได้รบั รางวลั และเป็นแบบอยา่ งท่ีดี

4. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้เพ่ิมพูนความรู้และเสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ เตรียมพร้อมให้ผู้บริหาร
สถานศึกษามีคณุ ภาพพร้อมวถิ ชี ีวิตในศตวรรษท่ี 21

5. เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในการจดั ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA)
เปา้ หมาย

เชิงปริมาณ
1. บุคลากรในสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒ จานวน 90 คน
2. สถานศึกษา ทุกโรงในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒
3. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ทุกโรงในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒
4. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ทกุ โรงในสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒
5. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จานวน 117 โรง
6. ครูผูส้ อน จานวน จานวน 117 โรง
เชิงคุณภาพ
1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ได้เข้ารบั การพัฒนาเป็นนักจดั การมืออาชพี ที่สามารถนาองค์กรสคู่ วามเป็น
เลิศ ร้จู ักการนาเสนอทศิ ทาง และขนั้ ตอนการทางานโดยนาเทคโนโลยีใหมๆ่ มาจัดการเรียนรู้แกไ้ ขพฒั นางานใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพ
2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีผลงานดเี ด่นทป่ี ระสบความสาเรจ็ เป็นท่ปี ระจักษต์ ามเกณฑ์ ไดร้ บั การยกยอ่ ง
เชดิ ชูเกยี รติ มผี ลงานทไ่ี ดร้ ับรางวัลในระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
ผลผลิต ผลลัพธ์ และดชั นีชี้วดั ความสาเร็จ
ผลผลติ (Output)
1) บคุ ลากรในสานักงานเขตพน้ื ทีท่ ุกคน ไดร้ ับการพัฒนา โดยใชก้ ระบวนการ PLC จานวน 90 คน
2) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเป็นนักจัดการมืออาชีพท่ีสามารถนา
องค์กรสคู่ วามเป็นเลิศมคี ณุ ภาพพรอ้ มวถิ ีชวี ิตในศตวรรษที่ 21
ผลลพั ธ์ (Outcome)
1) บุคลากรในสานักงานเขตพน้ื ที่ทุกคน ได้รับการพฒั นามีแนวคดิ วธิ ีการ ทีน่ ามาปรบั ปรงุ วิธกี ารปฏบิ ตั ิงานให้
มีประสิทธภิ าพเพิม่ ขึ้น
2) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนามีประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตหิ นา้ ทีไ่ ด้
อยา่ งมีคุณภาพ

65

3) ผู้บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนา
งาน (PA)

ดัชนีช้ีวดั ความสาเร็จ (KPIs)
เชิงปรมิ าณ

1) รอ้ ยละของบคุ ลากรทเ่ี ขา้ รับการอบรม รอ้ ยละ 80 ได้เข้าอบรม
2) รอ้ ยละของสถานศึกษา ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเขา้ รับการศึกษา ร้อยละ 80
3) ร้อยละของผ้บู ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับความรูเ้ ก่ยี วกบั การจัดทาข้อตกลงในการพฒั นา
งาน (PA) รอ้ ยละ 80
เชงิ คณุ ภาพ
1) รอ้ ยละของบุคลากรท่ีเขา้ อบรมเข้าใจตามหลกั สูตร
2) ร้อยละของสถานศึกษา ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เขา้ รับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัล
3) รอ้ ยละของสถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั ความรู้เกย่ี วกับการจัดทาขอ้ ตกลงใน
การพัฒนางาน (PA)
ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ
1) ทรัพยากรบคุ คลในสานักงานมคี วามเป็นนักจัดการความรมู้ ืออาชพี มคี วามคดิ เชงิ บวก มีระบบที่
มุ่งมั่นสบื เสาะ สบื ค้น นาสิง่ ที่ได้รบั สูก่ ารทบทวน ปรบั ปรุงพฒั นาใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ
2) เพ่ือการสรา้ งทีมงานคณุ ภาพ ที่สามารถระดมสรรพกาลงั แนวคิด เทคนิควธิ ีการใหมๆ่ ในการสร้าง
คุณภาพงานให้เกดิ ประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของผใู้ ชบ้ ริการได้
3) ทาให้บุคลากรมีความตระหนักเห็นคุณค่าความสาคญั ของตนเองในการเปน็ ส่วนสาคัญขององคก์ ร
ที่จะผลกั ดนั ใหบ้ ทบาทหนา้ ท่ีขององค์กรสาเร็จบรรลตุ ามเป้าหมาย
4) ครมู ขี วญั กาลงั ใจที่จะพฒั นาตนเองและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้นึ
5) ผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การจัดทาข้อตกลงในการพฒั นางาน
(PA) มากยิง่ ข้ึน
กลมุ่ เปา้ หมายผูไ้ ด้รับผลประโยชน์
1) ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นมืออาชีพ
2) สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒ มีมาตรฐาน/คุณภาพ
3) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ คู่คุณธรรม มีความสามารถตามมาตรฐาน
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ไดต้ ระหนักถึงคณุ ค่าอันมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีดี ประพฤติปฏิบัติตน
ตามรอยพระยคุ ลบาท มีจรรยาบรรณวิชาชพี ต่อผ้เู รยี น ตอ่ ตนเอง และตอ่ สังคมได้
ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ตลุ าคม 2564 – 30 กนั ยายน 2565
แผนการปฏบิ ัติงานและแผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ

66

วงเงินงบประมาณท่ีดาเนินการ 134,700 บาท

กิจกรรมท่ี 1 การพฒั นาชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี เพอ่ื พัฒนางาน พัฒนาคน (PLC)

แผนการปฏิบตั ิงาน แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
(กจิ กรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี รวม

1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 5,400
6,300
1) ประชุมชี้แจงโครงการ
5,400
2) ดาเนนิ การจดั โครงการการ 6,300
23,400
- ประชมุ ชแ้ี จงโครงการ
รวม
- คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม 5,400
3,000
(90คน×30 บาท×2 มื้อ) 3,500
30,000
- ค่าอาหารกลางวนั 6,300 50,000

(90คน×70 บาท×1 มอื้ )

กิจกรรมท่ี 2.1 กจิ กรรมระดับกลุ่ม

กิจกรรมที่ 2.2 แลกเปลยี่ นเรียนรู้ใน

สานกั งานเขตพ้นื ที่

- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื 5,400

(90คน×30 บาท×2 มื้อ)

- คา่ อาหารกลางวนั 6,300

(90คน×70 บาท×1 มือ้ )

รวม

(ขอถัวจ่ายทกุ รายการ)

กิจกรรมท่ี 2 การคัดเลอื กสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เพื่อรับรางวัลระดับเขตพืน้ ท่ี

“นรา 2 AWARDS”

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ
(กจิ กรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่
1) ประชุมช้ีแจงโครงการ 1/2564 4/2565
2) ดาเนนิ การประชมุ 2/2565 3/2565
2.1 ประชุมครง้ั ท่ี 1
3,000
- คา่ อาหารว่าง/เครื่องด่ืม 3,500
(50คน × 30บาท × 2มื้อ)
30,000
- ค่าอาหารกลางวัน 50,000
(50คน × 70บาท × 1มื้อ)
2.2 ออกประเมิน

- คา่ เบ้ียเลีย้ ง
(50คน × 120บาท × 5 วัน)

- คา่ พาหนะ

67

(50คน × 200บาท × 5 วัน)

2.3 สรปุ ผลการดาเนนิ การ

- คา่ อาหารว่าง/เคร่ืองดื่ม 3,000 3,000

(50คน × 30บาท × 2มอ้ื )

- ค่าอาหารกลางวนั 3,500 3,500

(50คน × 70บาท × 1มอื้ )

รวม 93,000

(ขอถวั จา่ ยทุกรายการ)

กจิ กรรมท่ี 3 การจัดทาข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ รวม
(กจิ กรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565

1) ประชุมชีแ้ จงโครงการ

2) ดาเนินการประชมุ ปฏิบตั กิ ารการจดั ทา

ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรบั

ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

- ค่าตอบแทนวทิ ยากร 2 วัน 14,400 14,400

ใช้วลา 12 ชม. (12 ชม. × 1,200 บาท)

- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื 1,800 1,800

(15 คน × 30 บาท × 4 ม้ือ)

- ค่าอาหารกลางวนั 2,100 2,100

(15 คน × 70 บาท × 4 มื้อ)

รวม 18,300

การประเมินผล วธิ ีการประเมิน เคร่อื งมอื ที่ใช้
ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ สอบถาม สมั ภาษณ์ แบบสอบถาม
แบบสมั ภาษณ์
- รอ้ ยละ ๗๕ บุคลากรในเขตพ้ืนที่ มที ักษะการพัฒนางาน ประเมินผลงาน
ผา่ นกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ ประเมนิ
สอบถาม สัมภาษณ์
- ร้อยละ ๗๕ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มผี ลงาน ประเมินผลงาน แบบสอบถาม
ดเี ดน่ ทปี่ ระสบความสาเรจ็ เป็นที่ประจกั ษ์ตามเกณฑ์ ไดร้ ับ แบบสัมภาษณ์
การยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ และมีผลงานท่ไี ด้รับรางวัลใน สอบถาม สมั ภาษณ์
ระดับชาติขึ้นไป ประเมินผลงาน ประเมิน
- รอ้ ยละ ๗๕ ผ้บู รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการจดั ทาข้อตกลงในการ แบบสอบถาม
พฒั นางาน (PA) มากยิง่ ขึ้น แบบสัมภาษณ์

ประเมนิ

68

โครงการ “เสรมิ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแกผ่ ู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา”

แผนงานโครงการ พื้นฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
หน่วยงานรบั ผิดชอบ สพป.นราธวิ าส เขต 2 กลุ่มอานวยการ
ผ้ตู ดิ ต่อประสานงาน (contact person)
ช่อื – นามสกลุ 1. นางรชั นี มณรี ตั นโชติ โทรศพั ท์ 073 - 532792

2. นางอรนลิน จันทรท์ อง โทรศัพท์ 073 - 532792
โทรสาร 073 - 532790 E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเดน็ กลยุทธท์ ี่ 3 การส่งเสริมศักยภาพผูเ้ รยี น ผู้บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอยา่ งยั่งยืน
เป้าประสงคร์ วม 4 ผู้บริหารครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มคี วามรู้และจรรยาบรรณ
ตามมาตรฐานวชิ าชพี

สว่ นท่ี 1 ความเชอื่ มโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมตคิ ณะรัฐมนตรี
เม่อื วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับท่ี 1)
1) ยุทธศาสตร์ชาติ ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั
(1) เปา้ หมาย ภาครัฐมีวฒั นธรรมการทางานที่มุง่ ผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชนส์ ่วนรวม

ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส
(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ บุคลากรภาครัฐเปน็ คนดีและเก่ง ยดึ หลกั คณุ ธรรม จริยธรรม มีจติ สานกึ มี

ความสามารถสงู มุ่งมั่น และเปน็ มืออาชีพ
5.2 บคุ ลากรภาครฐั ยดึ คา่ นิยมในการทางานเพอื่ ประชาชน มคี ุณธรรม และการพฒั นาตาม

เส้นทางความกา้ วหนา้ ในอาชีพ
(3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

การพฒั นาขดี ความสามารถบุคลากรภาครัฐและวางมาตรการท่เี หมาะสมกบั เสน้ ทางความกา้ วหนา้ สาย
อาชพี ปรับเปล่ยี นวฒั นธรรมการทางานและสร้างคา่ นิยมในการปฏิบตั งิ านเพื่อประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม
สามารถบรู ณาการการทางานรว่ มกบั ภาคสว่ นอนื่ ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม โดยการสรา้ งผู้นาทางยทุ ธศาสตร์ในหนว่ ยงาน
ภาครัฐทุกระดับอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบเพ่ือรองรับการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรร์ ะยะยาว

1.2 แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ที่ 2)
1) แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั
แผนยอ่ ย การสร้างและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ
เปา้ หมายแผนยอ่ ย บุคลากรภาครัฐยึดค่านยิ มในการทางานเพ่ือประโยชน์ ยึดหลกั คุณธรรม

จรยิ ธรรม มจี ติ สานึก มีความสามารถสงู มุ่งมัน่ และเปน็ มืออาชีพ
องคป์ ระกอบของแผน ภาวะผู้นาของผูน้ าของผูบ้ ริหารส่วนสราชการทุกระดบั (200501V03)
ปัจจัย ความสามารถในการสร้างการเปล่ียนแปลงและการเป็นแบบอย่างที่ดี (200501F0304)
แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนย่อย 4) สรา้ งผูน้ าทางยุทธศาสตรใ์ นหนว่ ยงานภาครัฐทุกระดับ

อยา่ งต่อเน่อื งและเป็นระบบ เพ่ือให้ผู้นาและผ้บู รหิ ารภาครัฐมคี วามคดิ เชิงกลยทุ ธ์ มีความเข้าใจสภาพเศรษฐกจิ สังคม
และวฒั นธรรมทัง้ ระดับท้องถ่ิน ระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลก มีความสามารถในการนาหนว่ ยงาน และมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการบริหารงานเพื่อประโยชนส์ ่วนรวม เป็นทง้ั ผนู้ าทางความรแู้ ละความคิด ผลักดนั ภารกิจ นา

69

การเปลีย่ นแปลง พฒั นานโยบายและยทุ ธศาสตร์ เปน็ แบบอย่างทีด่ ีตอ่ ผู้รว่ มงานและต่อสังคม เพอื่ รองรบั การขบั เคลื่อน
ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะยาว โดยตอ้ งได้รบั การปรบั เปลยี่ นกระบวนการทางความคิดให้ตนเอง มีความเปน็ ผ้ปู ระกอบการ
สาธารณะ เพิ่มทกั ษะให้มีสมรรถนะทจ่ี าเป็นและเปล่ยี นแปลงพฤติกรรม อันจะชว่ ยทาให้สามารถแสดงบทบาทของการ
เป็นผ้นู าการเปลี่ยนแปลง เพ่ือสรา้ งคุณค่าและประโยชนส์ ุขใหแ้ ก่ประชาชน

เป้าหมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 1. บรกิ ารของรฐั มีประสทิ ธภิ าพและมคี ุณภาพ
เปน็ ที่ยอมรับของผู้ใชบ้ รกิ าร

 อธบิ ายความสอดคลอ้ งของโครงการกับยุทธศาสตรท์ ี่ทา่ นเลือก
การพัฒนาขดี ความสามารถบคุ ลากรภาครฐั และวางมาตรการทเี่ หมาะสมกบั เสน้ ทาง

ความกา้ วหนา้ สายอาชีพ ปรับเปลย่ี นวฒั นธรรมการทางานและสรา้ งคา่ นิยมในการปฏบิ ัตงิ านเพือ่ ประชาชนและ
ประโยชนส์ ว่ นรวม สามารถบูรณาการการทางานรว่ มกับภาคส่วนอืน่ ได้อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยการสร้างผนู้ าทาง
ยทุ ธศาสตรใ์ นหน่วยงานภาครัฐทกุ ระดับอยา่ งต่อเน่ืองและเปน็ ระบบเพื่อรองรบั การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ระยะยาว

 อธบิ ายความสอดคลอ้ งของโครงการกับเปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
บุคลากรในหนว่ ยงานมีความรู้ความสามารถทกุ ด้าน สามารถขับเคล่ือนการบริหารจดั

การศกึ ษาให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์จุดเน้นของรฐั บาล กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดบั ที่ 2)
1) แผนการปฏิรปู ดา้ น การศึกษา
- เป้าหมายรวม 1. ยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษา
- เร่ืองและประเดน็ การปฏริ ูป 6. การปรบั โครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือ
บรรลเุ ปา้ หมายในการปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนและยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษา
ประเดน็ ปฏิรูป 6.1 สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจดั การศึกษา
เป้าหมายรวม สถานศึกษาของรัฐมีความเปน็ อิสระและธรรมาภิบาลในการบริหาร
และจดั การศึกษา ครอบคลุมดา้ นการบรหิ ารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการ
บริหารงานบุคลากร ดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป และมคี วามรบั ผิดชอบต่อคุณภาพของการจดั
การศึกษา

สว่ นท่ี 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลักการและเหตผุ ล
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 เป็นหน่วยงานการศึกษาท่ีจัดตั้งขึ้นตาม

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา
และพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่โรงเรียนในพ้ืนท่ี 5 อาเภอ จานวน 117 โรงเรียน และได้จัดต้ังศูนย์เครือข่าย
สถานศกึ ษา 16 ศนู ย์ และศูนย์เครือข่ายอาเภอ 5 อาเภอ เพ่ือให้ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสามารถขับเคลื่อนแลละ
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสานักงาน
เขตพืน้ ท่ีการศึกษา ซง่ึ เป็นกลยุทธท์ ่สี าคัญอีกประการหนึง่ ที่จะขับเคลื่อนการจัดการศึกษาให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาได้
มีโอกาสรับทราบนโยบายของหน่วยงานตน้ สังกดั ความเคลือ่ นไหวทางด้านการจัดการศึกษาและการแลกเปล่ียนเรียนรู้
ระหว่างโรงเรียนในสังกัดด้วย ซึ่งจะเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการศึกษาได้

70

อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซ่ึงจากเหตุผลดังกล่าว กลุ่มอานวยการได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ จึงได้ดาเนินการจัดทาโครงการ
เสริมสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแก่ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษานราธิวาส เขต 2 ขึ้น

2.2 วตั ถปุ ระสงค์
2.2.1 เพอื่ ให้ผบู้ ริหารการศึกษา ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับทราบ

นโยบายตา่ ง ๆ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและความคืบหน้าของการจดั การศกึ ษาเพื่อขับเคล่ือนและพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา

2.2.2 เพ่ือให้เกดิ การบูรณาการในการปฏิบัตงิ านและเสรมิ สร้างความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ในการ
ปฏิบตั งิ านและเปน็ สื่อกลางในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพอ่ื นาไปสู่การพัฒนาการศึกษา รวมทง้ั เสริมสรา้ ง
กระบวนการการทางานเป็นทีม

2.2.3 เพือ่ แลกเปล่ยี นเรยี นรงู้ านพัฒนาดา้ นวชิ าการของโรงเรียนในสังกัดทุกโรง
2.3 เปา้ หมาย
2.3.1 เชงิ ปริมาณ

(1) ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกดั จานวน 117 คน
(2) ประธานศนู ย์อาเภอ / ประธานศนู ย์เครือขา่ ยสถานศึกษา จานวน 21 คน
(3) ผอ.สพป. / รอง ผอ.สพป. / ผอ.กลุ่มทุกกลมุ่ จานวน 14 คน
(4) บคุ ลากรใน สพป.นราธวิ าส เขต2 จานวน 91 คน
2.3.2 เชิงคณุ ภาพ
ผู้บรหิ ารการศึกษา ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ประธานศนู ย์อาเภอ ประธานศูนย์เครือขา่ ยสถานศกึ ษา
ขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ไดร้ บั ทราบนโยบาย
กฎหมาย ระเบียบแนวปฏิบัติและข้อราชการอ่นื ๆ ท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ การบริหารการศึกษาและนาไปสู่การปฏบิ ัติงานที่
ถกู ต้อง รวดเร็ว และเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน
2.4 ผลผลติ ผลลพั ธ์ และดัชนีชว้ี ดั ความสาเรจ็
2.4.1 ผลผลติ (Output)
1) ผ้บู รหิ ารการศึกษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั ทราบ

นโยบายต่าง ๆ และข้อกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องและความคบื หน้าของการจดั การศกึ ษาเพอื่
ขบั เคลอ่ื นและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
2) เกิดการบรู ณาการในการปฏิบัติงานและเสริมสร้างความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ในการ
ปฏิบตั ิงานและเปน็ สื่อกลางในการแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ เพื่อนาไปสู่การพัฒนา
การศกึ ษา รวมทงั้ เสริมสร้างกระบวนการการทางานเป็นทีม
3) เกิดการแลกเปล่ียนเรยี นรงู้ านพัฒนาด้านวิชาการของโรงเรียนในสงั กัดทุกโรง
2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถ
ขบั เคลือ่ นและพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2.5 ดชั นชี ี้วัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชิงปริมาณ
1) ผ้บู รหิ ารการศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาเข้ารว่ มประชมุ
ร้อยละ100

71

2.5.2 เชงิ คณุ ภาพ

1) ผู้บรหิ ารการศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ประธานศนู ย์อาเภอ ประธานศนู ย์เครือข่าย

สถานศกึ ษา ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด รับทราบนโยบาย ขอ้ ราชการ

ขอ้ กฎหมายตา่ ง ๆ และสามารถบรู ณาการการปฏบิ ัตงิ านเพอื่ นาไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาของโรงเรียนในสงั กัด

2.6 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ

2.6.1 ผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ประธานศนู ย์อาเภอ ประธานศูนยเ์ ครือข่ายสถานศกึ ษา

ขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ไดร้ ับทราบนโยบาย

ข้อกฎหมายตา่ ง ๆ และความคืบหน้าของการจดั การศึกษาและสามารถบูรณาการการปฏิบัติงานและเปน็ ส่ือกลางในการ

แลกเปล่ียนความคิดเหน็ ในการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื นาไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขต

พืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ตอ่ ไป

2.7 กลุ่มเปา้ หมายผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์

2.7.1 ผอ./รอง ผอ.สพป.นราธวิ าส เขต 2 และบคุ ลากรใน สพป.นราธวิ าส เขต 2

2.7.2 ผอู้ านวยการโรงเรียนในสงั กดั

2.7.3 ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ 1 ตลุ าคม 2564 – 30 กันยายน 2565

2.9 แผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ

วงเงนิ งบประมาณที่ดาเนนิ การ 147,350 บาท

แผนการปฏิบัตงิ าน แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม)
ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่
1/2565 2/2565 3/2565 4/2565

1. ประชุมประจาเดือนผู้บริหาร 18,200 18,200 18,200 18,200 72,800

สถานศกึ ษาในสังกัด

ผู้เข้าร่วมประชุม 140 คน กาหนด

ประชมุ 4 คร้งั โดยมีคา่ ใช้จ่ายดังน้ี

1.1 คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 8

มือ้ ๆ ละ 30 บาท 140 คน

1.2 ค่าอาหารกลางวัน 4 มื้อๆ ละ

70 บาท 140 คน

2. ประชุมประธานศนู ย์อาเภอและ 4,550 4,550 4,550 13,650

ประธานศูนยเ์ ครือข่ายสถานศกึ ษา

ในสังกัด

ผู้เข้ารว่ มประชมุ 35 คน กาหนด

ประชุม 3 คร้งั โดยมีค่าใช้จ่ายดงั นี้

2.1 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื 6

มื้อๆ ละ 30 บาท 35 คน

2.2 ค่าอาหารกลางวัน 3 มื้อๆ ละ

70 บาท 35 คน

72

แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี 21,600
1/2565 2/2565 3/2565 4/2565 27,300
3. ประชุม รองผอ.สพป./ผอ.กลุ่ม
ประจาสปั ดาห์ 5,400 5,400 5,400 5,400 12,000
ผ้เู ขา้ ร่วมประชุม 15 คน กาหนด
ประชุมเดือนละ 4 ครง้ั รวมเปน็ 9,100 9,100 9,100 147,350
จานวน 48 ครั้ง คา่ ใชจ้ า่ ยดังน้ี
12,000
3.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม
48 ม้อื ๆ ละ 30 บาท 15 คน 23,600 37,250 49,250 37,250
4. ประชุมผบู้ ริหารการศกึ ษาและ
บุคลากรใน สพป.นราธิวาสเขต 2
ผู้เข้าร่วมประชุม 91 คน กาหนด
ประชุม 3 ครั้ง โดยมคี า่ ใช้จ่ายดังน้ี

2.1 ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื 3
มือ้ ๆ ละ 30 บาท 91 คน

2.2 ค่าอาหารกลางวัน 3 มื้อๆ ละ
70 บาท 91 คน
5. ประชุมชีแ้ จงนโยบายการศกึ ษา
และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กบั หัวหนา้
สว่ นราชการในพน้ื ท่ีอาเภอสุไหงโก-
ลก
ผู้ร่วมประชุม จานวน 80 คน โดยมี
คา่ ใช้จา่ ย ดงั นี้
- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม
จานวน 1 มอ้ื ๆ ละ 30 บาท 80 คน
- ค่าอาหารกลางวัน จานวน 1 มื้อๆ
ละ 120 บาท 80 คน

รวม

73

ชือ่ โครงการ การสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี เพื่อพฒั นาทักษะการจัดการเรยี นรู้
เชิงรกุ ของครูภาษาไทย สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
นราธวิ าส เขต 2

แผนงานโครงการ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2
ผู้ติดต่อประสานงาน นางวราภรณ์ แกว้ สขี าว โทร 092-5975333

โทรสาร 073-530790 E-mail: [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ 2 ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 3 การสง่ เสริมศกั ยภาพผเู้ รยี น ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาอยา่ งยงั่ ยนื
เปา้ ประสงคร์ วม ผ้เู รยี นเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ ละสร้างสรรคน์ วตั กรรมและ
ความกา้ วหนา้ ตามหลักสูตร

ส่วนที่ 1 ความเชื่อมโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี 4
ธนั วาคม 2560
1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ที่ 1)
1) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
(1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสาหรบั วิถีชีวติ ในศตวรรษที่ 21
(๒) ปฏิรปู รปู กระบวนการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21
1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ ท่ี 12 การพัฒนาการเรยี นรู้
แผนย่อย 12.1 การปฏริ ูปกระบวนการเรียนร้ทู ่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21
เป้าหมายแผนย่อย คนไทยได้รบั การศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานมีทกั ษะการเรียนรู้และทักษะท่ี

จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิตดีขึน้
องค์ประกอบของแผน การบรหิ ารจัดการระบบการเรียนรู้
ปัจจยั ความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับทกั ษะในศตวรรษที่ 21
แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนย่อย จัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับเพ่ือผล สัมฤทธิ์

ทางการเรียนทีส่ งู ข้ึนมกี ารกาหนดมาตรฐานข้ันตา่ ของโรงเรียนในทกุ ระดับ
เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้นได้รับ การ

พัฒนาอย่างสมดุลท้ังด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการ
เรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต

* อธบิ ายความสอดคล้องของโครงการกบั ยุทธศาสตรท์ ี่ท่านเลือก
ยุทธศาสตร์ชาติได้กาหนดเป้าหมายการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปในอนาคต ซึ่ง
ทรัพยากร มนุษย์เป็นปัจจัยสาคัญในขับเคล่ือนการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมายเพ่ือให้ประเทศไทย
บรรลุตามวสิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความมน่ั คง มัง่ คง่ั ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง”ตามที่ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์มีเป้าหมายการ
พัฒนา ทสี่ าคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยใหเ้ ป็นคนดี เก่ง มีคุณภาพพร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21
ภายใต้แผนแม่บทยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ที่ 12 การพัฒนา การเรียนรู้ แผนย่อยที่ 12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่
ตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21

74

* อธบิ ายความสอดคล้องของโครงการกับเป้าหมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ
การพัฒนาการเรียนรู้แห่งศตวรรษท่ี 21 เพ่ือพัฒนานักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ให้อ่านออก
เขยี นได้ นกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6 ใหอ้ า่ นคลอ่ งเขียนคล่อง และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ให้
มีสมรรถนะการอ่านข้ันสูง และส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนปรับเปล่ียนรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนอง
ความเปล่ียนแปลงของสังคมเทคโนโลยี และเปล่ียนบทบาทเป็นครูยุคใหม่จาก “ผู้สอน” เป็น “โค้ช” หรือ
“ผู้อานวยการเรียนรู้” เป็นผู้ให้ความรู้และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ในห้องเรียน ส่วนผู้เรียนก็
เปล่ียนบทบาทจาก “ผฟู้ งั หรือผู้รบั ฝ่ายเดยี ว” (Passive Learning) แตจ่ ะเปน็ “ผู้ลงมอื ปฏิบัติและ การแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง” (Active Learning) ท้ังนี้เพ่ือพัฒนาให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรียนร้ภู าษาไทยให้สูงข้นึ ต่อไป
1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)

1) แผนการปฏิรูปด้านการศกึ ษา
- เป้าหมายรวม ยกระดับคณุ ภาพของการจดั การศึกษา

สว่ นท่ี 2 รายละเอียดของโครงการ
2.1 หลักการและเหตุผล
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูปประเทศ ได้ประกาศยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ซ่ึงต้องนาไปสู่การ

ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ยกระดบั การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ กาหนดให้มีการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เพ่ือศตวรรษท่ี
21 โดยปฏริ ูปกระบวนการเรียนรเู้ พื่อเตรยี มประชากรสู่การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 รวมท้งั ตระหนกั ถึงพหุปัญญาของมนุษย์
ที่หลากหลาย มเี ปา้ หมายให้ผเู้ รียนได้รับการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะท่ีจาเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา
ร้เู ทา่ ทนั สอื่ ปรับตัว สื่อสาร และทางานรว่ มกับผ้อู ่นื ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็น
พลเมืองดี รู้สิทธหิ นา้ ที่ มีความรบั ผิดชอบและมีจิตสาธารณะ ซึ่งเปน็ กลไกสาคัญของการศึกษาขั้นพืน้ ฐานของการสร้างการเรียนรู้
แหง่ ศตวรรษที่ 21

จากการสังเคราะห์เอกสารข้อมูลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี
การศึกษา 2561-2563 พบว่า ด้านภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยต่ากว่าร้อยละ 50 และจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-Net) ปีการศกึ ษา 2561-2563 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบว่า มีค่าเฉล่ียต่ากว่าร้อยละ 50 ทั้งนี้ปัจจัยหนึ่งมา
จากตัวครูผู้สอน เช่น ครูขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่
สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ดั มกี ารนาส่อื การเรยี นรมู้ าใชป้ ระกอบการจัดการเรยี นรู้น้อย และท่ีสาคัญคือการจัดการเรียนรู้ เน้นให้
นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงหรือการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองน้อย ตลอดจนเครื่องมือท่ีนามาใช้ในการวัดและประเมินผลไม่
สอดคล้องกับตวั ช้วี ัด เป็นตน้

นอกจากนี้ สภาพการจดั การศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2
ปัญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ การขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา ความไม่มั่นใจในความ
ปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ นิ ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสืบเนื่องมาจากปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่
จังหวดั นราธวิ าส อนั มีผลกระทบต่อการจัดการศกึ ษา ข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี งานวิจัยต่างๆ โดยการมุ่งเน้น
ไป ในเรื่องการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เพราะการจัดการเรียนรู้เป็นกระบวน การสาคัญในการ นาหลักสูตรสู่การ
ปฏบิ ตั ิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ มสี มรรถนะและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นเป้าหมายท่ีสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน
ดังน้ันครูผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม
สอดคล้องและทันกับสถานการณ์ ในยุคศตวรรษท่ี 21 ที่เป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร โดยครูผู้สอนจึงจาเป็นต้อง

75

ปรบั เปลย่ี นรูปแบบวิธกี ารจัดการเรียนรใู้ หต้ อบสนองความเปลย่ี นแปลงของสังคมเทคโนโลยี และเปลี่ยนบทบาทเป็นครู
ยุคใหม่จาก “ผู้สอน” เป็น “โค้ช” หรือ “ผู้อานวยการเรียนรู้” เป็นผู้ให้ความรู้และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเก่ียวกับ
กิจกรรมตา่ งๆ ในหอ้ งเรียน ส่วนผู้เรยี นก็เปล่ยี นบทบาทจาก “ผู้ฟังหรอื ผู้รบั ฝา่ ยเดียว” (Passive Learning) แต่จะเป็น
“ผ้ลู งมือปฏิบัตแิ ละ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง” (Active Learning) ซึ่งหากผู้เรียนจะได้ลงมือปฏิบัติจริงบ่อยๆ จะทา
ให้ผู้เรียน มีทักษะการคิด ที่เกิดจากผู้เรียน โดยจะมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมในห้องเรียนทุกขั้นตอน คือ ร่วมวางแผน
รว่ มปฏบิ ตั ิ รว่ มวิเคราะห์ รว่ มรายงานผล ร่วมประเมิน ร่วมปรับปรุงแก้ไข และร่วมรับผิดชอบ และมีครูคอยออกแบบการ
เรียนรูเ้ พ่อื ช่วยให้ผเู้ รียนใหบ้ รรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้

จากเหตุผลดงั กลา่ วขา้ งต้น ผ้รู ับผิดชอบจึงไดจ้ ดั ทาโครงการ : การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนา
ทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของครูภาษาไทย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถม ศึกษา
นราธิวาส เขต 2 โดยเห็นว่า หากครูได้รับการพัฒนาทักษะการสอนที่ดี โดยเฉพาะการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี เพือ่ พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทย ก็จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และทาให้คุณภาพ
การจัดการเรียนร้กู ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสูงข้ึน

2.2 วตั ถปุ ระสงค์
2.2.1 เพื่อพัฒนาครูภาษาไทย เรื่อง การสร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพเพอื่ พัฒนาทักษะการจัดการ

เรยี นรูเ้ ชิงรกุ
2.2.2 เพือ่ จดั ทาคมู่ ือการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) สาหรบั ครูภาษาไทย
2.2.3 เพอื่ นิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ของครูภาษาไทย
2.2.4 เพ่ือสอบถามความพึงพอใจของครูภาษาไทยเกีย่ วกับกระบวนการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรทู้ าง

วชิ าชีพ
2.3 เปา้ หมาย
2.3.1 ดา้ นปรมิ าณ
1) ครภู าษาไทย จานวน 117 โรงเรียน
2) ครูภาษาไทยมีคู่มือการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) จานวน 117

โรงเรยี น
2.3.2 ดา้ นคณุ ภาพ
1) ครภู าษาไทยมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) ไดอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพ
2) ครภู าษาไทยมีเครือขา่ ยการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ รุก (Active Learning)

2.4 ผลผลิต ผลลัพธ์ และดชั นีชี้วดั ความสาเร็จ
2.4.1 ผลผลิต (Output)
1) ครภู าษาไทยมีทักษะการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ครภู าษาไทยมีเครือขา่ ยการแลกเปลยี่ นเรียนรู้การจัดการเรียนรู้เชงิ รุกรุก (Active Learning)
2) ครภู าษาไทยมคี วามพงึ พอใจในกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ

2.5 ดชั นชี ีว้ ดั ความสาเรจ็
2.5.1 เชงิ ปริมาณ

76

1) ร้อยละ 80 ครูภาษาไทยมีทักษะการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
2) ร้อยละ 80 ครูภาษาไทยมีเครอื ข่ายการแลกเปล่ียนเรยี นร้กู ารจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุกรุก (Active
Learning)
3) ร้อยละ 80 ครภู าษาไทยมคี วามพึงพอใจในกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ
2.5.2 เชิงคุณภาพ
1) ครูภาษาไทยมีทกั ษะการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
2) ครภู าษาไทยมีค่มู ือการจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) เพือ่ เป็นแนวทางในการพฒั นาการ
จดั การเรยี นรภู้ าษาไทยใหม้ ีประสิทธิภาพ
2.6 ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
1) ผลการประเมินผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยสงู ขึ้น
2) ครูภาษาไทยมที กั ษะและแนวทางการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning)

2.7 กลมุ่ เปา้ หมายผไู้ ดร้ บั ผลประโยชน์
1) ครภู าษาไทย จานวน 117 โรงเรียน ได้รบั การส่งเสริมและพฒั นาตนเอง เรอ่ื ง การสร้างชมุ ชนแห่งการ

เรียนรทู้ างวิชาชพี เพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)
2) สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามนี วตั กรรมสาหรับการพฒั นาการจัดการเรยี นร้ภู าษาไทยไวส้ นับ สนนุ โรง

เรียนในสงั กัด

2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ พฤศจิกายน 2564 – กันยายน 2565

2.9 แผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ
งบประมาณจานวน 30,000 บาท จากแผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง

ศกั ยภาพทรพั ยากร

ไตรมาสที่ แผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
1/2565
แผนการปฏบิ ตั งิ าน (กจิ กรรม) (ตค.-ธค.) ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่
2/2565 3/2565 4/2565
(มค.-ม.ี ค) (เม.ย.-ม.ิ ย) (ก.ค.-ก.ย)

1. เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ พฤศจิกายน - - --
-7,800 - 7,800
2. จัดประชมุ ปฏิบัตกิ ารคณะทางาน
มกราคม - - 7,200
จดั ทาค่มู ือการจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ 7,200 - - 10,000

(Active Learning) สาหรบั ครู มกราคม
10,000
ภาษาไทย

3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้าง -

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ

พัฒนาทักษะการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก

4. จัดทาเอกสารประกอบการ -

อบรมการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก

(Active Learning)

77

5. จัดทาเครือ่ งมือการนเิ ทศ ติดตาม - มกราคม - - 1,000
การจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active 1,000
Learning) ของครูภาษาไทย
ไตรมาสท่ี แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
แผนการปฏบิ ตั ิงาน (กิจกรรม) 1/2564 3,000
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี
6. นิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนรู้ - 2/2564 3/2564 4/2564
เชงิ รุก (Active Learning)
ของครูภาษาไทย (กพ.-ม.ี ค) (เม.ย.-มิ.ย) (ก.ค.-ก.ย)
7. สรุปและรายงานผลการดาเนนิ 1,000 1,000 1,000
โครงการ
- - - กันยายน 1,000
รวม 1,000

- 27,000 1,000 2,000 30,000

หมายเหตุ : ขอถวั เฉลย่ี จา่ ยทุกรายการ

รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ จานวน 30,000 บาท มีรายละเอียดการใชจ้ ่าย ดังน้ี

ท่ี ขัน้ ตอนดาเนินงาน/กิจกรรม หมวดรายจา่ ย รวม
คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วสั ดุ 3,600

1 จดั ประชุมปฏิบัติการคณะทางานจัดทาคูม่ ือการ - 3,600 - 4,200
7,200
จดั การเรียนร้เู ชิงรกุ (Active Learning) สาหรบั ครู
10,000
ภาษาไทย มีรายละเอียดดงั นี้ 1,000

- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดม่ื 6 ม้อื ๆ ละ 30 บาท

จานวน 20 คน (6×20×30 = 3,600 บาท)

- ค่าอาหารกลางวนั จานวน 3 มอื้ ๆ ละ 70 บาท - 4,200 -

จานวน 20 คน (3×20×70 = 4,200 บาท)

2 จัดประชุมปฏบิ ตั ิการคณะทางานจัดทาคมู่ ือการ 7,200 - -

จัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) สาหรบั

ครูภาษาไทย จานวน 2 วัน

- ค่าวิทยากร จานวน 12 ช่ัวโมงๆ ละ 600 บาท

เปน็ เงนิ 7,200 บาท

3 จัดทาเอกสารประกอบการอบรมการจดั การเรียนรู้ - - 10,000

เชิงรกุ (Active Learning) จานวน 125 เลม่

เล่มละ 80 บาท เป็นเงนิ 10,000 บาท

4 จัดทาเคร่ืองมือการนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี นรู้ - - 1,000

เชิงรุก (Active Learning) ของครภู าษาไทย

78

ที่ ข้ันตอนดาเนนิ งาน/กจิ กรรม หมวดรายจา่ ย รวม
คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วัสดุ 3,000
5 นิเทศ ติดตาม การจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ
(Active Learning) ของครภู าษาไทย - 3,000 - 1,000
30,000
3 สรุปและรายงานผลการดาเนินโครงการ - - 1,000
รวม 7,200 10,800 12,000

หมายเหตุ : ขอถวั เฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

79

โครงการ “พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการศกึ ษาในสงั กัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต
2”

แผนงานโครงการ พัฒนาศกั ยภาพผู้บรหิ ารทางการศกึ ษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

ประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต ๒

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

ผู้ตดิ ต่อประสานงาน (contact person)

ช่อื – นามสกลุ นางชินลกั ษณ์ พันธ์โภชน์ โทรศพั ท์ 089-8705824

โทรสาร 073-530790 E-mail [email protected]

นโยบายของสพป.นธ.2

ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพใหม้ ีความก้าวหน้าและพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ

ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชพี

เป้าประสงค์รวม ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มคี วามร้แู ละ

จรรยาบรรณตาม มาตรฐานวชิ าชพี

ส่วนที่ 1 ความเชื่อมโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั ตามนยั ยะของมติคณะรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ 1)

1) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ น 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

(1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพพร้อมสาหรบั วิถชี ีวติ ในศตวรรษที่ 21

(2) ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ปฏิรปู กระบวนการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองต่อการเปล่ยี นแปลงใน

ศตวรรษที่ ๒๑

(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ คนไทยในอนาคต มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติ

ปญั หา มที ักษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษท่ี 21

(โปรดระบุว่าโครงการของท่านสามารถสง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติไดอ้ ย่างไร
บา้ ง)
1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น 12 การพัฒนาการเรยี นรู้ (Y2)
(1) เปา้ หมายระดับประเดน็ ของแผนแมบ่ ทฯ

 เปา้ หมายที่ 1 คนไทยมีการศึกษาที่มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขึ้น มีทักษะท่ี
จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถชว่ ยในการแก้ปญั หา ปรับตวั สื่อสาร และทางานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมี
ประสิทธผิ ลเพ่มิ ข้นึ มนี ิสัยใฝเ่ รยี นรอู้ ย่างต่อเน่อื ง

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ คนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขนึ้ และ
ผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาทีด่ ีข้ึน

(โปรดระบุวา่ โครงการของท่านสามารถส่งผลตอ่ การบรรลุเป้าหมายในระดับประเด็นของ
แผนแม่บทฯ ท่ีวัดผลสัมฤทธิ์โดยตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในแต่ละเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้า
มี) คิดเป็นสัดส่วนหรอื ร้อยละเทา่ ไหร่ของคา่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ)

80

(2) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ 12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรูท้ ีต่ อบสนองต่อการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

 แนวทางการพฒั นา สง่ เสรมิ สนับสนุนระบบการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถนะครูอย่าง
ตอ่ เนื่อง ครอบคลุมท้ังเงนิ เดือน สายอาชีพและระบบสนบั สนนุ อื่นๆ

 เปา้ หมายของแผนย่อย คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะท่ี
จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิตดีข้ึน

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสากลเพ่ิมข้ึน มีทักษะท่ีจาเป็นของโลกศตวรรษที่ ๒๑ สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางาน
ร่วมกับผอู้ นื่ ได้อย่างมีประสิทธิผลเพ่มิ ขึน้ มีนิสัยใฝ่เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต

(โปรดระบุว่าโครงการของท่านสามารถสง่ ผลต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับแผนยอ่ ยของแผน
แม่บทฯ ที่วัดผลสัมฤทธิ์โดยตวั ชว้ี ดั ทก่ี าหนดไวใ้ นแต่ละเปา้ หมายอย่างไร และ (ถา้ มี) คดิ เป็น
สดั ส่วนหรอื ร้อยละเทา่ ไหรข่ องค่าเป้าหมายตา่ ง ๆ)
1.3 แผนการปฏิรูปประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) เรอ่ื ง/ประเดน็ การปฏิรูป ท่ี 3 การปฏิรปู เพื่อลดความเลอื่ มล่าทางการศึกษา
2) ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน การดาเนินการเพ่อื ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา
3) กิจกรรมเรอ่ื ง สง่ เสริมการพฒั นาคุณภาพและประสิทธภิ าพครู
4) เป้าหมายกิจกรรม เสรมิ สร้างพฒั นาครูและสถานศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพและคุณภาพ ตลอดจนวจิ ยั
พฒั นาองค์ความรู้ทีน่ าไปใชไ้ ด้จรงิ เพ่อื ยกระดับความสามรถของคนไทยไดย้ ่งั ยนื
1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
1) วัตถุประสงค์ที่ 1.1 เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่สี มบรู ณ์ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบียบวนิ ยั
คา่ นิยมท่ดี ี มจี ิตสาธารณะ และความสขุ โดยมีสขุ ภาวะและสขุ ภาพทด่ี ี ครอบครวั อบอนุ่ ตลอดจนเปน็ คนเก่งที่มีทักษะ
ความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิต
2) เป้าหมายรวมท่ี คนไทยมีคุณลกั ษณะเปน็ คนไทยที่สมบูรณ์ มีนิสยั มที ัศคติและพฤตกิ รรมตามบรรทดั
ฐานที่ดีของสังคม มีความเปน็ พลเมอื งตื่นรู้ มคี วามสามารถในการปรบั ตวั ได้อย่างรเู้ ท่าทันสถานการณ์ มีความรบั ผดิ ชอบ
และทาประโยชน์ต่อสว่ นรวม มสี ุขภาพกายและใจท่ดี ี มีความเจริญงอกงามทางจติ วญิ ญาณมีวถิ ีชีวิตที่พอเพยี ง และมี
ความเป็นไทย
3) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์
(3.1) เปา้ หมายระดับยุทธศาสตรท์ ี่ 1 คนไทยสว่ นใหญ่มที ศั คติและพฤติกรรมตามบรรทดั ฐานที่ดี
ของสงั คม
(3.2) แนวทางการพฒั นาท่ี (1) ปรับเปล่ียนค่านยิ มคนไทยให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มวี ินัย จติ
สาธารณะ และพฤติกรรมที่พ่ึงประสงค์
(3.3) แนวทางการพัฒนาที่ (2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทกั ษะความรู้ และความสามารถในการ
ดารงชีวิตอยา่ งมีคุณค่า
หมายเหตุ : สามารถสอดคลอ้ งไดม้ ากกวา่ 1 วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมายรวม/ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา/เป้าหมาย
ระดับยทุ ธศาสตร์/แนวทางการพัฒนา
1.5 นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ
1) นโยบายความมั่นคงแห่งชาตทิ ่ี 2 สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความ

81

สมานฉนั ท์ในชาติรองรบั วตั ถุประสงค์ 3.4.3 เพ่ือสง่ เสริมและสนบั สนุนการสรา้ งความปรองดอง ความเปน็ ธรรม และ
ความสมานฉันท์ในชาติเพ่ือลดการเผชญิ หนา้ และการใช้ความรุนแรงในทุกรูปแบบ

2) แผนระดบั ชาตวิ ่าด้วยความมัน่ คงแห่งชาติ รองรับทุกนโยบายความม่ันคงแหง่ ชาติ
3) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ประชาชนมคี วามสามัคคี มีความปลอดภัยในการดารงชวี ติ มีสว่ น
รว่ มและมคี วามพร้อมเผชิญปัญหาและรบั มือกับภัยคกุ คามและปัญหาดา้ นความมน่ั คง
4) ตัวชี้วดั ระดบั การเสรมิ สร้างความสามคั คขี องคนในชาติ
5) กลยุทธ์ ส่งเสริมใหค้ นไทยมีความสามคั คี สงั คมมีความสงบสขุ และประเทศมีการพฒั นา
อย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง โดยผนึกกาลังทุกภาคส่วนตั้งแต่ระดับชุมชน ตาบล หมู่บ้าน จังหวัด
ภาค และประเทศชาติ ให้เป็นเครือข่ายสนบั สนุนงานดา้ นความมน่ั คงและให้ตระหนกั ถงึ ความรับผิดชอบต่อผลประโยชน์
ส่วนรวมของประเทศชาติ

หมายเหตุ : สามารถสอดคลอ้ งไดม้ ากกวา่ 1 นโยบายความมัน่ คงแห่งชาต/ิ แผนระดับชาติว่าด้วยความ
มัน่ คงแหง่ ชาต/ิ เปา้ หมาย/กลยุทธ์
1.6 แผนระดบั ที่ 3 (ระบุช่ือ)
1) ความสอดคล้องกับนโยบายหลกั

ประเด็นสอดคลอ้ งที่ 3 พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
2) ความสอดคล้องกับนโยบายเรง่ ด่วนของรฐั บาล

ประเด็นความสอดคล้องท่ี 7 การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
สว่ นท่ี 2 รายละเอยี ดโครงการ

หลกั การและเหตผุ ล
การพัฒนาศักยภาพของผูบ้ ริหารการศกึ ษาและขา้ ราชการครูท่ีรักษาการในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีความ

จาเปน็ ที่ต้องรู้จักใช้ทักษะและองค์ความรู้ที่มีอยู่ประกอบกับการวิเคราะห์จากข้อมูลท่ีแท้จริง มาปรับใช้พัฒนาการเรียน
การสอนที่ให้ผลลัพธ์สูงสุด รวมถึงการสร้างแรงบันดาลใจและให้คาปรึกษาแก่ครูและนักเรียนในโรงเรียนได้ ควรได้รับ
การพฒั นาอบรมให้ความรู้ ทเี่ น้นการคดิ วเิ คราะห์อยา่ งมีวิจารญาณและการนาหลักปฏิบัติท่ีดีในการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือ
พัฒนาครูในโรงเรียน ซึ่งก่อให้เกิดเป็นชุมชน ครูผู้รักษาการในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเข้าใจแนวปฏิบัติใน
การจดั การเรยี นร้ทู ีส่ ามารถยกระดับความรู้และทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ให้กับครูผู้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน
จงึ มีการอบรมพฒั นาขา้ ราชการครู รกั ษาการในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งสามารถนาข้อมูลมาใช้คาดการณ์ และ
ระบุแนวโนม้ ทิศทางการพฒั นาโรงเรียน ตลอดจนสามารถใช้ขอ้ มลู ทม่ี ีมาวิเคราะห์และตัดสินใจวางแผนการทางานทั้ง ๔
ด้าน ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เพือ่ สามารถสร้างการเปล่ยี นแปลงทด่ี ใี ห้เกิดข้ึนได้จริงและสามารถนาไปปรับใช้ในโรงเรียนได้อย่าง
แท้จริง รวมทั้งการศึกษาดูงาน ซ่ึงเป็นการเรียนรู้จากตัวอย่างท่ีประสบความสาเร็จ โดยอาจเปรียบได้ว่าเป็นการเรียนรู้
ทางลัด คือการเรียนรู้จากผู้อื่น เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ศึกษาว่าคนเหล่านั้นเขาประสบความสาเร็จเพราะอะไร
หรือทาอะไรจึงล้มเหลว เพื่อจะไม่ต้องทาซ้ารอยใครและที่สาคัญไม่ต้องพลาดเอง เป็นการเรียนรู้จากประการณ์คนอื่น
ทาให้ประหยัดเวลาและลดความล้มเหลวให้เกิดน้อยที่สุด การศึกษาดูงานเป็นน “เครื่องมือ” หน่ึง ในการยกระดับ
สมรรถนะของคณะผบู้ ริหารการศึกษา ซ่งึ จะชว่ ยให้การทางานเปน็ ระบบ มีรูปแบบทถี่ ูกตอ้ งและจะทาให้มีการพัฒนาท่ีดี
ย่งิ ข้ึน

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ได้เห็นความสาคัญของผู้บริหารการศึกษาและครู
รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษา ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาให้เป็นบุคคลที่มี

82

คุณลักษณะท่ีพ่ึงประสงค์ มีภาวะผู้นาในงานบริหารงานทั่วไป งานวิชาการ งานบริหารบุคคลและงบประมาณ การ
จดั การในสถานศึกษา มคี วามยดื หย่นุ และ มีความพรอ้ มทจี่ ะพฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพอื่ ให้ผู้เข้ารบั การพฒั นามีอุดมการณ์วสิ ยั ทศั น์บุคลิกภาพ ความเปน็ ผนู้ าและพฤติกรรมเหมาะสมต่อการ

เป็น รกั ษาการในตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
2. เพ่ือผบู้ ริหารการศกึ ษาได้วิเคราะห์และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การปฏบิ ัตงิ าน ในสถานศึกษาอนั จานาไปสปู่ ระสอ

ทธิภาพ ประสิทธผิ ลในการพัฒนาสถานศึกษา
3. ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพฒั นาสามารถนาความรแู้ ละทักษะทีไ่ ดจ้ ากการพัฒนาไปพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน

การสอนภายในสถานศกึ ษา
4. เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้ผู้บริหารการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาการศึกษาสร้างเครือข่าย

ระหวา่ งผู้บริหารและพฒั นาความรว่ มมอื ระหว่าง สพป. ให้เขม้ แข็ง มากยิ่งข้นึ
5. เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้บริหารเครือข่ายได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันระหว่าง สพป. รวมท้ังแลกเปล่ียน

เรยี นรู้ Best Practice ของแตล่ ะ สพป.

เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
ผู้บริหารการศึกษาและขา้ ราชการครู ท่ีไดร้ บั การแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รักษาการในตาแหนง่ ผบู้ รหิ าร

สถานศกึ ษา จานวน 19 คน
เชิงคุณภาพ
1. ผ้บู ริหารการศกึ ษาและข้าราชการครู ท่ีไดร้ บั การแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่ง รกั ษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร

สถานศกึ ษา ได้รับการพัฒนาภาวะผนู้ าทางวิชาการ การบริหารและการจดั การในสถานศึกษา
2. ผู้บริหารการศึกษาและขา้ ราชการครู ท่ีไดร้ ับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ รกั ษาการในตาแหนง่ ผบู้ รหิ าร

สถานศกึ ษา ได้รับการพฒั นาให้มอี งค์ความรู้ ความเขา้ ใจ ในด้านคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

ผลผลติ ผลลัพธ์ และดัชนีชี้วัดความสาเรจ็
ผลผลติ (Output)
1) ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ที่ได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร

สถานศกึ ษา ได้รับการพฒั นาโดยใชก้ ระบวนการ PLC จานวน 19 คน
2) ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ที่ได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร

สถานศึกษา ได้รับการพัฒนาเป็นนักจัดการมืออาชีพท่ีสามารถนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศมีคุณภาพพร้อมวิถีชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21

ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ผบู้ ริหารการศกึ ษาและข้าราชการครู ทไี่ ดร้ ับการแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ รักษาการในตาแหนง่ ผูบ้ รหิ าร
สถานศกึ ษา ได้รบั การพฒั นามแี นวคิด วธิ กี าร ท่นี ามาปรบั ปรุงวิธีการปฏบิ ัติงานให้มีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ข้ึน
2) ผบู้ ริหารการศกึ ษาและข้าราชการครู ทีไ่ ด้รบั การแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รักษาการในตาแหนง่ ผบู้ รหิ าร
สถานศึกษา ได้รบั การพฒั นามีประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติหน้าทไี่ ด้อยา่ งมีคุณภาพ
ดชั นีชีว้ ดั ความสาเร็จ (KPIs)

83

เชิงปรมิ าณ
รอ้ ยละของผู้บรหิ ารการศึกษาและขา้ ราชการครู ที่ได้รับการแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รักษาการในตาแหนง่

ผ้บู ริหารสถานศึกษา ทเ่ี ขา้ รับการอบรม ร้อยละ 90 ไดเ้ ข้าอบรม
เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละของผบู้ รหิ ารการศกึ ษาและขา้ ราชการครู ที่ไดร้ ับการแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ที่เขา้ อบรมเข้าใจตามหลกั สูตร

ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ
1. ผบู้ ริหารการศกึ ษาและข้าราชการครู ท่ไี ดร้ บั การแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ รักษาการในตาแหนง่ ผบู้ ริหาร

สถานศกึ ษา มีอุดมการณ์วิสยั ทศั นบ์ คุ ลกิ ภาพ ความเปน็ ผู้นาและพฤติกรรมเหมาะสมต่อการเป็น รกั ษาการในตาแหนง่
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

2. ผ้บู ริหารการศกึ ษาและข้าราชการครู ที่ได้รบั การแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผูบ้ ริหาร
สถานศกึ ษา มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การปฏบิ ัติงาน ในสถานศกึ ษาอนั จานาไปสปู่ ระสอทธิภาพ ประสิทธิผลในการ
พฒั นาสถานศึกษา

3. ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ที่ได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร
สถานศึกษา สามารถนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนาไปพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนภายใน
สถานศึกษา

4. ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ท่ีได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร
สถานศกึ ษา สามารถเปิดโลกทศั น์ใหผ้ ู้บรหิ ารการศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาการศึกษาสร้างเครือข่าย
ระหว่างผูบ้ ริหารและพฒั นาความร่วมมอื ระหวา่ ง สพป. ใหเ้ ขม้ แข็ง มากยงิ่ ขึน้

5. ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ท่ีได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร
สถานศึกษา มีวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

กลุ่มเปา้ หมายผ้ไู ดร้ ับผลประโยชน์
ผู้บริหารการศึกษาและข้าราชการครู ท่ีได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่ง ผู้บริหาร

สถานศึกษา มีความรู้ คู่คุณธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ตระหนักถึงคุณค่าอันมีเกียรติ
และศักด์ศิ รขี องความเปน็ เจ้าหน้าท่ีของรฐั ที่ดี ประพฤติปฏบิ ัติตนตามรอยพระยุคลบาท มีจรรยาบรรณวิชาชีพต่อผู้เรียน
ตอ่ ตนเอง และตอ่ สงั คมได้

ระยะเวลาดาเนินโครงการ ตลุ าคม 2564 – 30 กนั ยายน 2565
แผนการปฏิบตั งิ านและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ

วงเงินงบประมาณที่ดาเนนิ การ 70,750 บาท

84

กจิ กรรมที่ 1 อบรมข้าราชการครทู ไี่ ด้รับแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งรกั ษาการผู้อานวยการสถานศึกษา

แผนการปฏบิ ัติงาน แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ไตรมาสที่ รวม
(กิจกรรม) 4/2565
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี 1,500
1/2564 2/2565 3/2565 1,750
3,250
1) ประชมุ ช้ีแจงโครงการ

2) ดาเนินการจัดโครงการ ณ ห้อง

ประชมุ สพป. นราธวิ าส เขต ๒

- วันท่ี 23 พฤศจิกายน 2564

- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม 1,500

(25 คน × 30 บาท × 2 มอ้ื )

- ค่าอาหารกลางวนั 1,750

(25 คน × 70 บาท×1 ม้อื )

รวม

(ขอถวั จา่ ยทุกรายการ)

กจิ กรรมที่ 2 ศกึ ษาดูงาน ณ สพป. บงึ กาฬ/สพป. อดุ รธานี

แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ รวม
(กิจกรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่
1) ประชมุ ชแ้ี จงโครงการ 1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
2) ดาเนินการจดั โครงการ จานวน 6 วนั
- ศกึ ษาดูงานจานวน 4 คน 32,000 32,000
ระหว่างวันที่ 9 – 14 พฤศจิกายน 2564
- ค่าเครื่องบนิ ไป - กลบั จานวน 4 คน 17,500 17,500
- คา่ จ้างเหมารถตู้ จานวน 5 วัน 18,000 18,000
(5 วนั × 3,500 บาท)
- ค่าที่พัก (3 ห้อง× 1,200 บาท × 5 คืน) 67,500
รวม
(ขอถวั จา่ ยทกุ รายการ)
การประเมนิ ผล

ตวั ชี้วัดความสาเร็จ วิธกี ารประเมิน เครอื่ งมือทใ่ี ช้

- รอ้ ยละ 100 ของขา้ ราชการครรู กั ษาในตาแหน่งผู้บรหิ าร สอบถาม สัมภาษณ์ แบบสอบถาม
สถานศกึ ษา ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการฯ สามารถนาความรู้ ประเมนิ ผลงาน แบบสมั ภาษณ์
ประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับปรุงพัฒนากับงานให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพและสรา้ งความพงึ พอใจต่อผู้มาใชบ้ ริการ ประเมนิ

85

โครงการ “การพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาวถิ ีใหม่วิถีคุณภาพดว้ ยการเรียนรแู้ บบ
องค์รวมสาหรบั ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษในสงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒”

แผนงาน พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

หน่วยงานรับผิดชอบ กองสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

กรมสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผตู้ ดิ ตามประสานงาน (Contact Person)

ชอื่ – สกลุ นางฮาซานะห์ บนิ มะองุ

โทรศพั ย์ 0945815558 โทรสาร 073530790

E-mail : [email protected]

นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3. การสง่ เสรมิ ศักยภาพผู้เรยี น ผ้บู ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอย่างยั่งยนื

เปา้ ประสงคร์ วมท่ี 4 ผูบ้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ มีความรูแ้ ละ

จรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ

ส่วนที่ 1 ความเชื่อมโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมติคณะรฐั มนตรี

เมือ่ วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ 1)

1) ยุทธศาสตรช์ าติ ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศัยภภาพทรพั ยากรมนุษย์

(1) เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษท่ี 21

(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์. ปฎิรูปกระบวนการเรยี นรูท้ ่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่

21

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ

การพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์โควิคของครูผ้สู อนวิชาภาษาอังกฤษ

แบบองคร์ วมในเปน็ รูปแบบการบูรณาทักษะท่ีสาคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ ดว้ ยการพฒั นาทักษะเพ่ือการส่ือสาร

ภาษาองั กฤษทีเ่ ป็นภาษาสากล ด้วยระบบออนไลนท์ ีใ่ ช้ทักษะด้าน ICT ในการพัฒนาตนเองและเรยี นรู้ตามพลวตั ของ

โลกปจั จบุ นั สาหรับครูผ้สู อนภาษาองั กฤษมีความจาเปน็ ในการพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active

Learning) เปลย่ี นแปลงบทบาทครูและนักเรยี นเป็นผูร้ ่วมสรา้ งองค์ความรรู้ ่วมกนั เปน็ การสง่ เสริมทกั ษะการแกป้ ญั หา

และการส่ือสารที่เน้นสภาพจริง ทพ่ี ฒั นาทักษะท้งั 4 ด้าน (ฟัง พูด อา่ น และเขียน) ในการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ ผ่าน

กจิ กรรมบทบาทสมมุติ เพลง เกมส์ และสื่อ ICT ด้วยรปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบออนไลน์ ออนไซต์ ออนแอร์ ออนดี

มานด์ และแบบผสมผสาน สามารถสร้างเสริมความรู้อย่างคงทนใหก้ บั ครผู ู้ร่วมพัฒนาได้อันจะสง่ ผลตอ่ คุณภาพผู้เรียน

ส่งผลให้นักเรยี นเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พร้อมสาหรบั วิถชี ิวิตในศตวรรษที่ 21 และการจัดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

สาหรบั คนทุกช่วงวยั โดยครูผู้สอนได้เรยี นร้รู ะหวา่ งกนั และส่งเสริมผู้เรียนและผู้ปกครองหรือคนในชุมชนเปน็ พลเมือง

และพลโลกที่มคี ณุ ภาพ

2) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ น...................................(รอง)................................................... (ถ้าม)ี

(1) เปา้ หมาย ....................................................................................................................

(2) ประเด็นยุทธศาสตร์.....................................................................................................

86

(3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ .....................................................................
(โปรดระบุว่าโครงการของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติได้
อยา่ งไรบ้าง)
1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ที่ 2)
1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้
แผนย่อย การปฎิรปู กระบวนการเรียนรู้ท่ตี อบสนองตอ่ การเปล่ียนในศตวรรษที่ 21
เป้าหมายแผนย่อย คนไทยได้รับการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทกั ษะการเรียนรู้และ
ทกั ษะทีจ่ าเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรียนร้อู ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิตดีข้ึน
องคป์ ระกอบของแผน ผ้สู อน (ครู/อาจารย์)
ปัจจัย ผู้สอนยคุ ใหมท่ ่ีมที ักษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทีต่ อบสนองต่อความต้องการ
ของประเทศ
แนวทางการพฒั นาภายใตแ้ ผนย่อย เปลยี่ นโฉมบทบาท “ครู” ให้เปน็ ครยู คุ ใหม่
เป้าหมายของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ คนไทยได้รบั การศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
มีทักษะการเรยี นรู้ และทักษะที่จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิตดขี ึน้

 อธิบายความสอดคล้องของโครงการกบั ยุทธศาสตรท์ ี่ทา่ นเลือก
การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนภายใตส้ ถานการณ์โควิคของครูผ้สู อนวิชาภาษาองั กฤษ

แบบองค์รวมในเปน็ รูปแบบการบรู ณาทกั ษะที่สาคัญในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยการพัฒนาทักษะเพ่ือการส่ือสารภาษาอังกฤษที่
เป็นภาษาสากล ด้วยระบบออนไลน์ทใ่ี ชท้ ักษะดา้ น ICT เปล่ียนแปลงบทบาทครแู ละนักเรียนเปน็ ผรู้ ่วมสรา้ งองค์ความรู้
ร่วมกันเป็นการสง่ เสรมิ ทักษะการแก้ปัญหา และการสื่อสารทีเ่ นน้ สภาพจริง สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็น
การพฒั นาการเรยี นรู้ 1) คนไทยมกี ารศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมข้นึ มที ักษะทีจ่ าเปน็ ของโลกศตรรษท่ี 21
สามารถในการแก้ปัญหาปรับตวั สอื่ สาร และทางานรว่ มกันกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธผิ ลเพมิ่ ขน้ึ มนี สิ ยั ใฝ่เรยี นรู้อย่าง
ต่อเนอื่ งตลอดชีวิต และ 2) คนไทยไดร้ บั การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนดั และความสามารถของพหุปญั ญาดีขนึ้
และยุทธศาสตร์ชาติ (11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต แผนยอ่ ยการพัฒนาช่วงวยั เรียน/วัยรุน่ การ
พฒั นาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยที สี่ อดคล้องกบั ความสามารถ ความถนดั และความ
สนใจ

1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนการปฏริ ปู ด้าน………การศึกษา.……..…………………
- เปา้ หมายรวม……มีโอกาสอันทัดเทียมกนั เพ่ือขจดั ความเหล่อื มล้า.…………
- เร่ืองและประเดน็ การปฏิรูป
การพัฒนาการจัดการเรียนรการสอนสกู่ ารเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการ

เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
การปฏิรูปกลไก และระบบผลิตและพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน

1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) เป้าหมายรวมท่ี ................................................................................................................
2) ยทุ ธศาสตร์ที่ ..................................................................................................................

(2.1) เปา้ หมายระดับยุทธศาสตรท์ ่ี .....................................................................................
(2.2) แนวทางการพัฒนาที่ ..................................................................................................
(2.3) แนวทางการพฒั นาที่ ..................................................................................................

87

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 วัตถุประสงค์/เป้าหมายรวม/ยุทธศาสตร์การพัฒนา/เป้าหมายระดับ
ยุทธศาสตร์/แนวทางการพฒั นา

1.5 นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความมั่นคงแห่งชาติ
1) นโยบายความม่นั คงแหง่ ชาติที่ .............................................................................................

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ/แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ/
เป้าหมาย/กลยุทธ์

1.6 แผนระดบั ที่ 3 (ระบุช่ือ)
1) ความสอดคลอ้ งกับนโยบายหลกั
ประเด็นสอดคล้องท่ี............................................................................................................
2) ความสอดคล้องกบั นโยบายเร่งด่วนของรฐั บาล
ประเดน็ ความสอดคลอ้ งที่..............................................…………………………………………….

กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง(ถา้ มี)...............................................................................................................
มติคณะรฐั มนตรีที่เกีย่ วข้อง(ถ้าม)ี ....................................................................................................

ส่วนท่ี 2 รายละเอียดโครงการ

2.1 หลกั การและเหตผุ ล

ความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช
2550 ในมาตรา 80 ซ่งึ เนน้ ความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้ทันต่อความกา้ วหนา้
ของโลกยคุ ดจิ ิทอล ตามที่ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และแผนการศึกษาชาติ (พ.ศ.2560-2580) ทเี่ นน้
คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศึกษาและเรียนรตู้ ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเปน็ สุข ตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 สาหรบั สมรรถนะสาคญั ของประชากรโลกในศตวรรษท่ี
21 เนน้ การจัดการศกึ ษาให้ผู้เรียนไดก้ ้าวทนั ต่อโลกแห่งการเปล่ียนแปลงปจั จุบันทก่ี ารส่ือสารเปน็ หน่ึงในทักษะสาคญั
ของพลโลก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการสือ่ สารด้วยภาษาองั กฤษทเ่ี ป็นภาษาสากล บคุ ลากรทางการศึกษาและครูผูส้ อนจึงมี
ความจาเปน็ ที่ต้องมีทักษะภาษาสากลทส่ี นองความต้องการของชมุ ชนโลก ภมู ภิ าค และท้องถ่นิ อย่างเข้มแข็งเพื่อ
รองรบั นโยบาย และพลวตั รของกระแสโลกปจั จุบนั อีกทัง้ ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษตอ้ งพฒั นาศักยภาพของตนใหม้ ี
สมรรถนะทางด้านภาษาตามกรอบ CEFR: Common European Framework of Reference for Language เพ่ือ
เตรยี มผู้เรยี นใหม้ สี มรรถนะในการแขง่ ขัน เปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะ
ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑

การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนภายใตส้ ถานการณ์โควิคของครผู ู้สอนวชิ าภาษาองั กฤษแบบองคร์ วมใน
เป็นรปู แบบการบูรณาทกั ษะทสี่ าคญั ในศตวรรษที่ ๒๑ ดว้ ยการพฒั นาทกั ษะเพ่ือการสอ่ื สารภาษาอังกฤษที่เปน็
ภาษาสากล ดว้ ยระบบออนไลนท์ ีใ่ ชท้ กั ษะด้าน ICT ในการพัฒนาตนเองและเรยี นรตู้ ามพลวตั ของโลกปัจจบุ นั สาหรับ
ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษมีความจาเปน็ ในการพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) เปลีย่ นแปลง
บทบาทครูและนักเรยี นเปน็ ผ้รู ว่ มสรา้ งองค์ความร้รู ่วมกนั เปน็ การสง่ เสริมทักษะการแก้ปัญหา และการสื่อสารท่เี น้น
สภาพจรงิ ท่พี ัฒนาทักษะท้งั 4 ด้าน (ฟงั พูด อา่ น และเขยี น) ในการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษ ผ่านกิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ
เพลง เกมส์ และสือ่ ICT ด้วยรูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบออนไลน์ ออนไซต์ ออนแอร์ ออนดีมานด์ และแบบ
ผสมผสาน สามารถสร้างเสรมิ ความรูอ้ ย่างคงทนให้กบั ผ้รู ่วมพฒั นาได้อันจะส่งผลต่อคุณภาพผู้เรยี นต่อไป และชุมชน
แหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพเป็นกระบวนการพฒั นานวัตกรรมทางการจดั การเรียนการสอนของครูผู้สอนที่ได้รบั การ
ยอมรับในวงกว้าง

88

ด้วยหลักการและเหตุผลดงั กล่าว สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 จึง
จัดทา การพัฒนาทักษะการสอนภาษาอังกฤษวิถีใหมว่ ถิ ใี หม่วถิ ีคุณภาพด้วยการเรยี นร้แู บบองคร์ วมสาหรับบุคลากรใน
สังกดั สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ด้วยกจิ กรรม 3 กิจกรรมหลกั คือ 1) การพฒั นา
ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษแบบองคร์ วมภายใต้สถานการณ์โควคิ 2) ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ สาหรับครผู ูส้ อนวิชา
ภาษาอังกฤษในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบองคร์ วมภายใตส้ ถานการณ์โควิค และ 3) กจิ กรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรแู้ นวปฏบิ ตั หิ รือนวตั กรรม

2.2 วัตถปุ ระสงค์
2.2.1 เพื่อพัฒนาทักษะการสอนวชิ าภาษาอังกฤษแบบองค์รวมภายใต้สถานการณ์โควิค

สาหรับครผู สู้ อนภาษาอังกฤษในสังกดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2
2.2.2 เพ่อื พัฒนาชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี แบบ EPLC ดา้ นการจัดการเรียนรแู้ บบ

องค์รวมภายใต้สถานการณ์โควิคสาหรับครูผสู้ อนวชิ าภาษาอังกฤษในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

นราธวิ าส เขต 2

2.2.3 เพ่ือสง่ เสรมิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้แนวปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศในการจดั การเรยี นการสอนวิชา

ภาษาอังกฤษ 2.3

เปา้ หมาย

1. เชิงปริมาณ

1. ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ จานวน 60 คน

2. เชิงคุณภาพ

1..ครูผู้สอนวิชาภาษาองั กฤษในสังกัดสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา

นราธวิ าส เขต 2 มีทักษะในการสอนภาษาอังกฤษแบบองค์รวมภายใต้สถานการณโ์ ควิค

2. ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษกลมุ่ เป้าหมายมีชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพในการ

พัฒนานวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร

2.4 ผลผลติ ผลลัพธ์ และดัชนีชี้วัดความสาเร็จ

2.4.1 ผลผลติ (Output)

1. ทกั ษะการสอนวชิ าภาษาอังกฤษแบบองคร์ วมภายใตส้ ถานการณโ์ ควิคสาหรบั ครูผสู้ อน

ภาษาองั กฤษในสงั กดั สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒

2.. ครูผสู้ อนวิชาภาษาอังกฤษในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ า

เขต ๒ มีชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ

2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)

1. ครผู ู้สอนวชิ าภาษาอังกฤษมที กั ษะการจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษอยา่ งมี

ประสทิ ธภิ าพ

2. .ชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชีพแบบ EPLC ของครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษในสงั กดั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ เป็นเครือข่ายในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการ

สอนทีเ่ ปน็ แบบอย่างได้

2.5 ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ (KPIs)

2.5.1 เชงิ ปริมาณ

1..ร้อยละ 75 ของครมู ที กั ษะการสอนภาษาองั กฤษแบบองค์รวมภายใต้

89

สถานการณโ์ ควคิ -19
2 .ร้อยละ 100 ของครกู ลุ่มเปา้ หมายมีเครือข่ายชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพแบบ EPLC
2.5.2 เชิงคุณภาพ
1 การจัดการเรยี นการสอนของครูผ้สู อนวชิ าภาษาองั กฤษแบบองค์รวม

ภายใต้สถานการณ์โควิค-๑๙สง่ ผลต่อคุณภาพผ้เู รียนมากข้นึ
2. ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพของครผู ู้สอนวชิ าภาษาอังกฤษมี

นวตั กรรมทางการจดั การเรียนรู้เพอ่ื ผู้เรียนเพ่ิมข้นึ
2.6 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
2.6.1 ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษมที ักษะการสอนภาษาองั กฤษแบบองคร์ วมภายใต้สถานการณโ์ ควคิ
2.6.2. ครผู ูส้ อนวชิ าภาษาองั กฤษมีชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพแบบ EPLC ในการพฒั นา

นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนย่ิงขนึ้
2.6.3. การใช้ช่องทางออนไลน์และทักษะด้าน ICT ในการพัฒนาทักษะจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 และ

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ดา้ นการพฒั นาการจดั การสอนวิชาภาษาองั กฤษเพ่ิมขนึ้

2.7 กลมุ่ เป้าหมายผ้ไู ด้รบั ผลประโยชน์

2.7.1 ครูผูส้ อนภาษาอังกฤษ จานวน 60 คน

2.7.2 สถานศึกษา จานวน 60 โรงเรียน

2.7.3 นกั เรยี นในสถานศึกษาเปา้ หมาย จานวน 1,000 คน

2.8 ระยะเวลาดาเนินโครงการ พฤศจิกายน 2564 – ตุลาคม 2565

2.9 แผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ

วงเงินงบประมาณทดี่ าเนนิ การ 22,800 .บาท

แผนการปฏิบตั งิ าน ไตรมาสที่ แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
(กิจกรรม) 1/2565 6,200
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี
1. กิจกรรมที่ 1 6,200 2/2565 3/2565 4/2565 9,800
-จดั ทาโครงการ -
-แตง่ ตง้ั คณะการดาเนนิ งาน 9,800 - -
-ประชุมคณะกรรมการ - -
-จดั ทาเครื่องมอื อบรม
ออนไลน์

2. กจิ กรรมที่ 2
-อบรมทางออนไลน์

3. กิจกรรมท่ี 3
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี
EPLC

90

4. กิจกรรมที่ 4 7,800 7,800
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

รวม 6,200 9,800 - 22,800

กิจกรรมและการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนินงาน สถานท่ี ผู้รบั ผิดชอบ
คณะกรรมการ
ท่ี กจิ กรรม ธค. 2564 ห้องประชมุ สพป. ดาเนนิ งาน
1. กจิ กรรมรบั สมัคร
นราธิวาส เขต 2 คณะกรรมการ
กลุ่มเปา้ หมาย ดาเนินงาน
ธค..2564- สถานศึกษาเป้าหมาย
2.. กิจกรรมดาเนินการตาม กย.2565

๕. รายละเอียดการใชง้ บประมาณทง้ั สิ้น จานวน 22,800 .บาท ดงั น้ี

ท่ี กิจกรรม/รายการ ตอบแทน เงินงบประมาณ วัสดุ รวม
ใชส้ อย -
1.. กิจกรรมท่ี 1 1,200 - 1,200
1,400 1,400
ประชมุ คณะดาเนินงาน - 3,600
1,200
-คา่ อาหารวา่ ง ม้ือละ 1,200

30 บาท X 4 มอ้ื X 10 คน

-คา่ อาหารกลางวัน -

70 บาท X 2 มือ้ X 10 คน

-ค่าตอบแทนผทู้ รงคุณวฒุ ิ -

ตรวจสอบเคร่อื งมอื ฝึกอบรม

ออนไลน์ 1,200 บาท X 3

คน

กิจกรรมที่ 2 3,600

พัฒนาครูภาษาอังกฤษแบบ

. ออนไลน์ (คณะดาเนนิ งาน)

-ค่าอาหารว่าง ม้ือละ

30 บาท X 4 ม้ือ X 10 คน

-ค่าอาหารกลางวัน

70 บาท X 2 มื้อ X 10 คน

91

-ค่าตอบแทนวิทยากร 1,400 - 1,400
1 คน X 600 บาท X 12 - - 7,200
ชวั่ โมง - --

7,200 3,600 - 3,600
4,200 - 4,200
3 กิจกรรมที่ ๓
(ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู าง - เครอื่ งมอื ที่ใช้
วชิ าชีพ แบบ EPLC) -แบบทดสอบ
-แบบสอบถาม/สมั ภาษณ์
4. กจิ กรรมท่ี ๔ - -แบบบนั ทึกการนิเทศตดิ ตาม
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ -แบบประเมนิ การนาเสนอ
-คา่ อาหารว่าง ม้ือละ
30 บาท X 2 มือ้ X 60 คน
-คา่ อาหารกลางวัน
70 บาท X 1 มอ้ื X 60 คน

หมายเหตุ (ขอถวั จา่ ยทุกรายการ)

6. การประเมนิ ผล

ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ วธิ กี ารประเมนิ

1..รอ้ ยละ 75 ของครมู ีทักษะการ -ทดสอบ

สอนภาษาอังกฤษแบบองคร์ วม -สอบถาม/สัมภาษณ์

ภายใต้สถานการณ์โควิค-19 -สงั เกตชน้ั เรียน

2.ร้อยละ100ของครูกลุ่มเปา้ หมาย -นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล

มีชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ -สอบถาม/สัมภาษณ์

แบบ EPLC

3.ร้อยละ 100 ของครู

กลุ่มเป้าหมายมีเวทแี ลกเปลย่ี น

92

โครงการ พัฒนานวตั กรรมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21
ผา่ นการเรียนรเู้ ชงิ รุก ( Active Learning ) เพ่อื ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น
ในสงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2

แผนงาน พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผู้ติดตอ่ ประสานงาน (contact person)
ชื่อ – นามสกลุ นางศรสี ุดา รัตนพล โทรศพั ท์ 0872695055
โทรสาร................................................................................. E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2
ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพให้มีความกา้ วหนา้ และพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้บริหาร ครู และ
บคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมอื อาชีพ
เป้าประสงค์รวม 3. ผ้เู รยี นเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ และสร้างสรรคน์ วัตกรรมและความก้าวหนา้ ตามหลกั สูตร
ส่วนที่ 1 ความเช่อื มโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมติคณะรัฐมนตรี

เม่ือวันท่ี 4 ธนั วาคม 2560
1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ที่ 1)

1) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์
(1) เปา้ หมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พร้อมสาหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ใหเ้ อือ้ ต่อการพฒั นาทกั ษะสาหรับ

ศตวรรษท่ี 21
(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โครงการติดตามผลการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น

การเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning ) ของครูในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาที่จังหวัด
ภาคใต้ ให้ครูจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมท่ีเน้นการลงมือทาจากการจาลองสถานการณ์ ผู้เรียนมีบทบาทใน
การสแสวงหาความร้จู ากการมปี ฏิสมั พันธ์ร่วมกับผู้อื่น มีความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า
หรือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆและนาไปประยุกต์ใช้พัฒนาตนเองตามศักยภาพและความถนัด ซึ่งการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ Active Learning ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนให้คงทน โดย
สามารถเก็บและจดจาส่ิงที่เรียนรู้จากเพ่ือน ผู้สอน ส่ิงแวดล้อม การอภิปรายในประเด็นต่างๆ ไว้ในระบบ
ความจาระยะยาว ( Lorg Memory ) สอดคล้องกับการทดสอบ PISA ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ ในรายวิชา
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่าน และการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning ) มีผลการวิจยั ที่แสดงวา่ เป็นกระบวนการจดั การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพท้ังในและต่างประเทศ
โครงการจึงสามารถส่งผลต่อการยกระดับคะแนนเฉลี่ยการสอบ PISA และพัฒนาขีดความสามารถในการ
แขง่ ขนั ของประเทศดา้ นการศึกษาไดบ้ รรลเุ ป้าหมายได้ในอนาคต

93

1.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้
(1) เป้าหมายระดบั ประเด็นของแผนแม่บทฯ
 เป้าหมายท่ี 1 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน มีทักษะท่ี

จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล
เพิ่มข้นึ มีนสิ ัยใฝ่เรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ

(2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ท่ตี อบสนองต่อการ
เปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21

 แนวทางการพัฒนา 2) พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ทกุ ระดับการศึกษา รวมถงึ จดั กิจกรรม
เสริมทกั ษะ เพื่อพัฒนาทักษะสาหรบั ศตวรรษท่ี 21 มกี ารผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาการสอน โดยใชเ้ ทคโนโลยี
สนบั สนุนทฤษฎีการเรยี นรู้แบบใหม่ในการพฒั นาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21
ควรมีคณุ ลกั ษณะท่ีมีชวี ติ มีพลวตั การเชื่อมต่อละมีสว่ นรว่ ม

 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยไดร้ ับการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ
เรยี นรู้ และทกั ษะทีจ่ าเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ
ดีขึน้

 การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ สดั ส่วนครูผ่านการทดสอบสมรรถนะ
รายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติ อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรียนลดลง อตั รา
การเข้าเรียนสทุ ธริ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

1.3 แผนการปฏิรปู ประเทศ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนการปฏริ ูปดา้ น การศึกษา
- เป้าหมายรวมยกระดับคณุ ภาพของการจัดการศกึ ษา
โครงการตดิ ตามผลการจดั การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ

( Active Learning ) ของครใู นสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาพ้นื ทีจ่ ังหวัดภาคใต้ ให้ครู
ปรบั เปลี่ยนทักษะการสอน จาก “ ผู้สอน ” เป็นผู้ “ อานวยการสอน ” จงึ สง่ ผลใหค้ รจู าเปน็ ตอ้ งพฒั นาสมรรถนะของ
ตนเองรายสาขาในระดบั สงู ตามมาตรฐาน ตามที่กระทรวงกาหนดให้ครูในสงั กดั กระทรวงศึกษาผ่านการทดสอบ
สมรรถนะภายในปี 2566 ร้อนละ 100 ซง่ึ การปรับเปลี่ยนรปู แบบการสอนของครูสง่ ผลต่อระดบั ความสามารถผู้เรยี นใน
ภาคใตใ้ หม้ รี ะดบั ความแตกต่างคะแนน PISA ในแต่ละกล่มุ โรงเรยี นลดลงด้วย

ส่วนที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลักการและเหตผุ ล
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เป็นการพฒั นาคนให้มีคุณภาพ เป็นคนดี มสี ติปัญญา สามารถดารงชีวิตอยู่
ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข และภมู ิใจในความเปน็ คนไทย ตามจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 และฉบับปรบั ปรุง 2560 โดยท่ีผู้เรียนสามารถเชอื่ มโยงในความเป็นไทยส่สู ากลไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ ซ่ึง
เป็นสิ่งทีท่ กุ ฝา่ ยในสงั คมคาดหวัง การเรยี นรูแ้ บบใฝเ่ รยี นรู้ เปน็ การเรียนรทู้ ่ีพัฒนาทกั ษะความคดิ ระดบั สูงอย่างมี
ประสทิ ธิภาพช่วยใหผ้ เู้ รยี นวเิ คราะหส์ งั เคราะหแ์ ละประเมินข้อมูลในสถานการณ์ใหม่ได้ดใี นท่ีสดุ จะช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิด
แรงจูงใจจนสามารถช้ีนาตลอดชีวิตในฐานะผฝู้ ีกใฝ่การเรียนรู้ ธรรมชาติของการเรียนร้ดู ้วยวธิ กี ารสอน Active

94

Learning ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ คือ เปน็ การเรียนรู้ทม่ี ุ่งลดการถา่ ยทอดความรู้จากผู้สอนสผู่ ้เู รยี นให้นอ้ ยลงและ
พัฒนาทักษะใหเ้ กิดกับผ้เู รยี น ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในช้นั เรยี น โดยลงมือกระทามากกวา่ นั่งฟังเพยี งอย่างเดยี ว ผู้เรยี นมสี ่วน
รว่ มในกจิ กรรม เชน่ การอ่านอภปิ รายและเขียนเนน้ การสารวจเจตคติและคุณคา่ ที่มีอยูใ่ นชัน้ เรียน ผเู้ รยี นได้พฒั นาการ
คดิ ระดับสงู ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ผลการนาไปใช้ อีกท้ังผ้เู รยี นและครูผู้สอนรับข้อมูลป้อนกลับจาก
การสะท้อนความคดิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ การเรยี นร้แู บบใฝ่รู้ ถอื ได้วา่ เปน็ การเรยี นรูท้ ่ีต้องการกิจกรรมการเรยี นการสอนที่
หลากหลายท่ชี ว่ ยใหผ้ ้เู รยี นได้พัฒนาตนเองผ่านการจัดการตนเองให้ความรู้และชว่ ยพัฒนาเพ่ือนรว่ มชน้ั ซงึ่ จะก่อใหเ้ กิด
การสรา้ งสรรคพ์ ฒั นาความร้คู วามเขา้ ใจและเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมที กั ษะบูรณาการขอ้ มลู ข่าวสารหรือสารสนเทศและ
หลกั ความคดิ รวบยอด ผู้สอนจะเปน็ ผอู้ านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรเู้ พื่อใหผ้ ูเ้ รียนสรา้ งองค์ความรสู้ รา้ ง
ปฏสิ ัมพันธร์ ว่ มกนั ผู้เรยี นมีความรบั ผิดชอบรว่ มกนั มวี นิ ยั ในการทางานมีความรบั ผดิ ชอบทส่ี าคัญผู้เรียนสามารถพัฒนา
ศักยภาพทางสมองและมีทักษะการคิดขั้นสูง

ดังนนั้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 และการปรับตัวส่ยู ุคหลังโควิค
วถิ ใี หม่วถิ คี ุณภาพ สง่ ผลต่อการจัดการเรยี นรู้ให้ผเู้ รียนอยา่ งหลากหลายรปู แบบ อาทิ เชน่ On site, On hand, On
air, On demand และ On line ที่ยงั มขี ้อจากัดในแต่ละรูปแบบ การออกแบบการเรียนรู้ และการวัดและประเมนิ ผลท่ี
ยงั ไมส่ อดคลอ้ งสภาพจริงของผเู้ รียน ดงั นน้ั การเสริมสรา้ งศักยภาพการจดั การเรียนรู้ของครผู ู้สอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี มคี วามสาคัญและจาเปน็ ต่อการเตรยี มความพร้อมผเู้ รยี นภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 ให้เทา่ ทนั กระแสการเปล่ียนแปลงของโลกในยุคปจั จุบัน และไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะสาคัญใน
ศตวรรษท่ี 21ผา่ นกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรกุ ( Active Learning ) เพื่อใหผ้ ู้เรียนเปน็ พลเมอื งไทยของโลกอยา่ งมี
คุณภาพ ตอบสนองตอ่ ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ และสามารถปรบั ตัวใหเ้ ข้า
กับสถานการณแ์ ละทันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก จึงเป็นบทบาทของครผู ู้สอนทจี่ ะต้องปรับเปล่ียนวิธกี ารสอนโดยใช้
เทคนิคการสอนท่ีหลากหลายพัฒนาผู้เรียนให้สอคลอ้ งกบั ศตวรรษที่ 21 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษานราธิวาส เขต 2
เห็นความสาคัญจงึ ได้ทาโครงการนี้ขึ้น

2.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในศตวรรษท่ี 21 ผ่านการเรยี นรู้
เชงิ รกุ ( Active Learning )
2. เพอ่ื สร้างเอกสารประกอบการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใน
ศตวรรษที่ 21 ผา่ นการเรยี นรู้เชงิ รุก ( Active Learning )

3. เพื่อใชร้ ปู แบบการนิเทศจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21
ผา่ นการเรยี นรเู้ ชงิ รุก ( Active Learning )

4. เพ่อื คัดเลือกนวัตกรรมจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21
ผา่ นการเรยี นร้เู ชิงรุก ( Active Learning )

5. เพื่อใหไ้ ด้ครูตน้ แบบจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21
ผา่ นการเรียนรเู้ ชิงรุก ( Active Learning )

6. เพอ่ื จดั ทาส่อื คลิปวดี ีโอ จดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21
ผา่ นการเรียนร้เู ชงิ รุก ( Active Learning ) เผยแพร่ และประชาสมัพันธว์ ธิ ีการสอนทเ่ี ป็นแบบอยา่ ง

2.3 เชิงปริมาณ
1. จานวน ครสู อนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน 70 คน


Click to View FlipBook Version