The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by plannaraed2, 2022-06-08 22:50:03

O10แผน2565_merged

O10แผน2565_merged

95

2. จานวน ครูสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต้นแบบ จานวน 67 คน
3. จานวน นวัตกรรมครสู อนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน 30 ผลงาน

2.4 เชิงคุณภาพ
1. ครูผู้สอนมที ักษะในการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21
ผ่านการเรียนรู้เชงิ รุก ( Active Learning )
2. ครูผู้สอน มกี ารเขียนแผนการสอนหนา้ เดยี ว และจดั การเรียนรู้ดว้ ยวิธกี ารสอนเชงิ รกุ ( Active
Learning) อย่างเป็นรปู ธรรม และมปี ระสิทธภิ าพ
3. ครผู ู้สอนมีนวัตกรรมครสู อนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21 ผ่านการเรยี นรู้
เชิงรุก ( Active Learning )
4. โรงเรยี นมที มี นิเทศจิตอาสาประจาโรงเรียนสามารถมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสอนและพัฒนาการสอน
ใหม้ ีประสิทธภิ าพยิ่งขนึ้
5. นกั เรียน มกี ารทางานเปน็ กลุ่ม/ทมี มีทกั ษะในการคิด แก้ปญั หาไดด้ ้วยตนเอง
กล้าแสดงออกและมคี วามรบั ผิดชอบในการเรียนรมู้ ากขึ้น

2.5 ผลผลิต ผลลพั ธ์ และดัชนชี วี้ ัดความสาเร็จ
2.5.1 ผลผลติ (Output)
ครูผสู้ อนยุคใหม่มีทักษะการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ทต่ี อบสนองต่อความต้องการของ

ประเทศ ( ปรมิ าณ /คุณภาพ )

2.5.2 ผลลพั ธ์ (Outcome)
ผ้เู รยี นทุกคนในประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนต้นได้มสี มรรถนะ

ท่สี อดคล้องกับมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสตู ร อยู่ในระดบั ดี
2.6 ดชั นีชวี้ ัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.6.1 เชิงปริมาณ
1) ร้อยละ 95 ของผู้เรยี นทุกคนในประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น

ได้มสี มรรถนะท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานและตวั ชี้วดั ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ 2560) เตม็ ตามศกั ยภาพ

2) ร้อยละ 95 ของครผู สู้ อนสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21
ผา่ นการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ ( Active Learning ) ท่ตี อบสนองต่อความต้องการของประเทศ

2.6.2 เชิงคณุ ภาพ
1) ผเู้ รียนทุกคนในประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้มสี มรรถนะ

ทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของหลกั สตู ร อยใู่ นระดับดี
2) ครูผู้สอนยุคใหม่มที ักษะการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ทีต่ อบสนอง

ต่อความต้องการของประเทศ ( ปริมาณ /คณุ ภาพ )

2.7 ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ

96

1. ผ้บู รหิ ารมกี ารนิเทศ ตดิ ตามการเรียนรู้เชงิ รุก ( Active learning ) และนาผลจากการสังเกต
การสอนของครมู าพฒั นาการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

2. ครู มคี วามรู้ ความเข้าใจ และมีทกั ษะการเรียนรู้ดว้ ยวธิ กี ารสอน Active Learning
ที่สอดคลอ้ งกับศตวรรษท่ี 21

3. ครผู สู้ อน มกี ารเขยี นแผนการสอนหน้าเดียวและจดั การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning อยา่ ง
เป็นรูปธรรม และมีประสิทธภิ าพ

4. ครูผู้สอนมีนวัตกรรมวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21 ผา่ นการเรียนรู้
เชิงรุก ( Active Learning )

5. นกั เรยี นมีการทางานเปน็ กลุม่ /ทีม มที ักษะในการคดิ วิเคราะห์ แก้ปญั หาได้ด้วยตนเอง กล้า
แสดงออก และมีความรบั ผิดชอบในการเรยี นรู้มากข้นึ

2.8 กลุ่มเปา้ หมายผู้ไดร้ บั ผลประโยชน์
1) ครผู ู้สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
2) นกั เรยี นระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา ทุกคน

2.9 ระยะเวลาดาเนินโครงการ มีนาคม 2565 – กันยายน 2565
2.10 แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ

วงเงินงบประมาณท่ดี าเนินการ 54,050 บาท

แผนการปฏิบตั งิ าน แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ รวม
(กิจกรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 900
1. เสนออนมุ ัตโิ ครงการ 1,050
2. แต่งตงั้ คณะดาเนินงาน 900 5,600
1,050 14,000
กจิ กรรมท่ี ๑
3. ประชุม/ชีแ้ จงคณะกรรมการจัดทาเอกสาร - - 5,600 -
ประกอบการพัฒนาฯ และเครอ่ื งมือการนิเทศฯ - - 14,000 -
- ค่าอาหารว่างและเครือ่ งดื่ม 15 คน X 30 บาทX
2 มือ้
- ค่าอาหารกลางวัน 15 คน X 70 บาท X 1 มอื้

กจิ กรรมที่ 2
4. พฒั นานวตั กรรมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21ผา่ นการเรยี นรู้เชิงรุก
(Active Learning)
- คา่ อาหารว่างและเครื่องดม่ื 70 คน X 30 บาทX
4 ม้อื
- ค่าอาหารกลางวัน 70 คน X 70 บาท X 2 มือ้

97

แผนการปฏิบัตงิ าน แผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
(กิจกรรม) ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี -
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
กจิ กรรมที่ 3 30,000
5. ใช้รูปแบบการ นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนรู้ ----
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ่านการเรียนรูเ้ ชงิ รุก
ในศตวรรษท่ี 21ผ่านการเรียนรูเ้ ชิงรุก -- - 30,000
(Active Learning)

กิจกรรมท่ี 4
6. คดั เลือกนวัตกรรมการสอนของครวู ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยใี นศตวรรษท่ี 21ผา่ นการเรียนรเู้ ชิง
รกุ (Active Learning) จานวน 20 รางวลั
- คา่ ตอบแทนนวัตกรรมและจัดทาคลปิ วดี โี อการ
สอน จานวน 20 คน x 1500 บาท

กจิ กรรมท่ี 5 750 2,500
7. สะทอ้ นผลการจดั การและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ใน 1,750
การเผยแพร่ผลงาน จานวน 20 ผลงาน
- คลิปวดี โี อการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในศตวรรษท่ี 21 ผา่ นการเรียนร้เู ชิงรุก ( Active
Learning )
- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดืม่ 25 คน X 30 บาทX
2 มื้อ
- ค่าอาหารกลางวนั 25 คน X 70 บาท X 1 มอื้

รวม - 1,950 19,600 32,500 54,050

หมายเหตุ สามารถถัวจ่ายทุกรายการ

98

โครงการ การพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยเพื่อความลดความเหล่ือมล้าระหวา่ งบคุ คล

แผนงานโครงการ พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ผตู้ ิดต่อประสานงาน (contact person)
ชื่อ – นามสกลุ นางสาวธิตมิ า เรอื งสกุล โทรศัพท์ 0849659629
โทรสาร.....................-............................................................ E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2
ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 3 การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพผเู้ รยี น ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งยั่งยนื
เปา้ ประสงค์รวม 3 ผู้เรียนเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ และสร้างสรรค์นวตั กรรมและความก้าวหน้าตามหลกั สตู ร

4 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณตาม
มาตรฐาน วชิ าชีพ

สว่ นท่ี 1 ความเชื่อมโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั ตามนยั ยะของมติคณะรัฐมนตรี
เม่อื วันที่ 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ที่ 1)
1) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
(1) เปา้ หมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ พร้อมสาหรบั วิถีชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21
(2) ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ทีต่ อบสนองตอ่ การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษ
ท่ี 21
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ การพัฒนาการเรยี นการสอนปฐมวัย ให้

ความสาคญั กับการจดั การเรยี นรู้ท่ีสอดคล้อง กบั พัฒนาการทางสมอง และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพื่อให้เด็ก
ปฐมวัยได้รับพฒั นาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา รวมถึงการปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม
เพื่อใหม้ ีความพร้อมท่จี ะเรียนรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ โดยการกาหนดหลักการ คุณภาพ ขอบขา่ ยของการจัดการเรียนรู้ และกลไกท่ี
จะกากบั ดูแล สง่ เสริมอย่างใกลช้ ดิ มกี ารสง่ เสรมิ สนับสนนุ บทบาทของสถาบันครอบครัว ในการอบรมเลีย้ งดู การพัฒนา
องค์ความรู้ และกระบวนทัศน์ใหม่ ให้แกผ่ ู้บรหิ ารโรงเรียนและครูปฐมวยั ทุกคน รวมท้งั ศึกษานิเทศก์ เพอ่ื ใหก้ าร
สนบั สนนุ การจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตามเปา้ หมายอย่างจรงิ จงั สอดคล้องกบั หลักการจดั การศึกษาตามหลกั สูตร
การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศึกษา
เพ่ือพัฒนาศักยภาพของเด็กปฐมวัย โดยนาวิธีการใหม่ ๆ ซ่ึงเป็นข้อค้นพบเก่ียวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
มานาเสนอสาหรับครูปฐมวัย ผู้บริหารโรงเรียนและศึกษานิเทศก์ สามารถนามาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์และ
กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในทุกๆ ด้าน โดยในการดาเนินการมีเป้าหมายที่สาคัญคือโรงเรียนศูนย์
เด็กปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนศูนย์เดก็ ปฐมวยั ต้นแบบเครอื ข่าย โรงเรียนทว่ั ไป โรงเรียนท่ีต้องผ่านการรับรองคุณภาพจาก
สมศ.รอบสาม และตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการพัฒนาเด็กจะต้องเน้นการมีส่วนร่วมของโรงเรียน พ่อแม่
ผู้ปกครองและชุมชน องค์กรเอกชน ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังน้ันจึงได้จัดให้มีโครงการจัดการศึกษา
ปฐมวยั ข้นึ

99

(โปรดระบวุ า่ โครงการของท่านสามารถสง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติได้อย่างไร
บ้าง)
1.2 แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู้
แผนยอ่ ย12.1 ปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21
เป้าหมายแผนย่อย คนไทยได้รับการศึกษาทม่ี คี ุรภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรยี นรแู้ ละ
ทักษะท่ีจาเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดขี ้ึน
องค์ประกอบของแผน ผ้สู อน (คร/ู อาจารย์)
ปจั จยั ผู้สอนยุคใหมท่ ี่มที ักษะการจดั การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความต้องการ
ของประเทศ
แนวทางการพฒั นาภายใต้แผนย่อย เปลยี่ นโฉมบทบทครู ใหเ้ ปน็ ครูยุคใหม่
เป้าหมายของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มี
ทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ ดีขึ้น

 อธบิ ายความสอดคลอ้ งของโครงการกับยุทธศาสตรท์ ีท่ า่ นเลือก
การพฒั นาการเรยี นการสอนปฐมวยั ให้ความสาคญั กับการจดั การเรยี นร้ทู ส่ี อดคล้อง กับพฒั นาการ
ทางสมอง และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือให้เด็กปฐมวัยได้รบั พัฒนาการทง้ั ดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม
และสติปัญญา รวมถึงการปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม เพ่ือให้มคี วามพร้อมทจี่ ะเรียนรสู้ ่งิ ต่าง ๆ โดยการกาหนดหลักการ
คณุ ภาพ ขอบข่ายของการจัดการเรยี นรู้ และกลไกท่ีจะกากับดูแล สง่ เสรมิ อย่างใกล้ชดิ มีการส่งเสรมิ สนับสนนุ บทบาท
ของสถาบนั ครอบครัว ในการอบรมเล้ียงดู การพฒั นาองค์ความรู้ และกระบวนทัศน์ใหม่ ให้แกผ่ ู้บริหารโรงเรยี นและครู
ปฐมวัยทกุ คน รวมทัง้ ศึกษานเิ ทศก์ เพอื่ ใหก้ ารสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาปฐมวัยบรรลุตามเปา้ หมายอย่างจรงิ จัง
สอดคล้องกับหลกั การจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กปฐมวัย โดยนาวิธีการใหม่ ๆ ซ่ึงเป็นข้อค้นพบเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
มานาเสนอสาหรับครูปฐมวัย ผู้บริหารโรงเรียนและศึกษานิเทศก์ สามารถนามาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์และ
กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในทุกๆ ด้าน โดยในการดาเนินการมีเป้าหมายที่สาคัญคือโรงเรียนศูนย์
เดก็ ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนศนู ย์เด็กปฐมวัยต้นแบบเครือข่าย โรงเรียนท่ัวไป โรงเรียนท่ีต้องผ่านการรับรองคุณภาพจาก
สมศ.รอบสาม และตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการพัฒนาเด็กจะต้องเน้นการมีส่วนร่วมของโรงเรียน พ่อแม่
ผู้ปกครองและชุมชน องค์กรเอกชน ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ดังนั้นจึงได้จัดให้มีโครงการจัดการศึกษา
ปฐมวยั ข้นึ
1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)

1) แผนการปฏริ ูปดา้ น……การศกึ ษา…
- เปา้ หมายรวม มโี อกาสอันทัดเทยี มกนั เพื่อขจัดความเหล่อื มล้า

ส่วนที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลกั การและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ระบุแนวการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา ๒๒-๒๔ หมวด

๔ โดยเฉพาะ ในมาตรา ๒๒ ระบุว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองไดแ้ ละถือว่าผูเ้ รียนเปน็ บคุ คลที่สาคญั ที่สุด กระบวนการจดั การศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา

100

ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” การพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพดังกล่าว มีความจาเป็นที่จะต้องได้รับการ
พัฒนาต้ังแต่วัยต้นของชีวิต โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัยซ่ึงเป็นช่วงที่การเจริญ เติบโตและพัฒนาการทุกด้านกาลังเป็นไป
อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสมองของเดก็ ในวยั นี้เจรญิ เตบิ โตถึงร้อยละ ๘๐ ของผู้ใหญ่ หากเด็กในวัยนี้ได้รับการพัฒนาและ
ส่งเสริมความสามารถอย่างเต็มศักยภาพทุก ๆ ด้านแล้ว ก็จะเป็นพื้นฐานในการสร้างพลังสมองและพลังของชีวิตที่จะ
เจรญิ เติบโตเป็นกาลงั สาคญั ของชาติในอนาคต

กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงความสาคัญต่อการจัดการศึกษาปฐมวัย มีการสนับสนุน ทุกด้านอย่าง
สม่าเสมอ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย ให้ความสาคัญกับการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้อง กับ
พัฒนาการทางสมอง และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-
จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ โดยการ
กาหนดหลักการ คุณภาพ ขอบข่ายของการจัดการเรียนรู้ และกลไกท่ีจะกากับดูแล ส่งเสริมอย่างใกล้ชิด มีการส่งเสริม
สนับสนุนบทบาทของสถาบันครอบครัว ในการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาองค์ความรู้ และกระบวนทัศน์ใหม่ ให้แก่
ผู้บริหารโรงเรียนและครูปฐมวัยทุกคน รวมท้ังศึกษานิเทศก์ เพื่อให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตาม
เปา้ หมายอย่างจริงจัง สอดคลอ้ งกับหลักการจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศึกษา
เพ่ือพัฒนาศักยภาพของเด็กปฐมวัย โดยนาวิธีการใหม่ ๆ ซ่ึงเป็นข้อค้นพบเก่ียวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
มานาเสนอสาหรับครูปฐมวัย ผู้บริหารโรงเรียนและศึกษานิเทศก์ สามารถนามาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์และ
กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในทุกๆ ด้าน โดยในการดาเนินการมีเป้าหมายที่สาคัญคือโรงเรียนศูนย์
เด็กปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนศนู ย์เดก็ ปฐมวยั ต้นแบบเครอื ขา่ ย โรงเรยี นทั่วไป โรงเรียนที่ต้องผ่านการรับรองคุณภาพจาก
สมศ.รอบสาม และตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการพัฒนาเด็กจะต้องเน้นการมีส่วนร่วมของโรงเรียน พ่อแม่
ผู้ปกครองและชุมชน องค์กรเอกชน ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังน้ันจึงได้จัดให้มีโครงการจัดการศึกษา
ปฐมวยั ขน้ึ

2.2 วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ครปู ฐมวยั ในเขตพน้ื ท่ีการศึกษามีความเขา้ ใจหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย

พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สามารถจดั ประสบการณส์ าหรบั เด็กปฐมวยั สู่การปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษาได้อย่างสมบูรณ์
2. เพอ่ื ให้ครูปฐมวยั มีหลักการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ในระดบั

สพป.นราธิวาส เขต 2
2.3 เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
1. ครรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย จานวน 3 โรงเรียน
2. ครูระดับปฐมวยั ทุกคน จานวน 117 โรงเรยี น
3. เดก็ ปฐมวยั ทุกคนท่ีสังกดั สพป.นธ 2
เชงิ คณุ ภาพ
1. ครูผู้สอนระดบั ปฐมวัยมีความรูค้ วามเข้าใจในการจัดประสบการณแ์ ละสามารถจดั กิจกรรมท่สี อดคล้อง

กบั เด็กระดบั ปฐมวยั ได้
2. ครูผ้สู อนปฐมวยั ผูป้ กครอง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
3. เดก็ ปฐมวยั มีพฒั นาการตามวยั และมีคุณภาพตามมาตรฐานปฐมวัย

2.4 ผลผลิต ผลลัพธ์ และดัชนีชี้วัดความสาเร็จ
2.4.1 ผลผลิต (Output)

101

เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนามพี ฒั นาการท่ดี ที ้ัง 4 ดา้ น
2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)

เดก็ ปฐมวัยทกุ คนมีพฒั นาการทด่ี ที ้ัง 4 ด้าน และมคี วามพร้อมเรียนในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี
1

2.5 ดชั นชี ี้วดั ความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชิงปริมาณ
1) ครูผสู้ อนปฐมวยั ในโรงเรียนอนบุ าลประจาเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2

จานวน 8 คน ครูโรงเรยี นแกนนา 2 โรงเรยี น จานวน 6 คน รวม 14 คน
2) เด็กปฐมวยั ทกุ คนมีพฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น เต็มตามศกั ยภาพ
3) ครูปฐมวัยทุกคนมีความรคู้ วามสามารถในการจดั ประสบการณแ์ ละการประเมนิ พัฒนาการเด็ก

ปฐมวยั
2.5.2 เชิงคณุ ภาพ
1) เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการที่เต็มตามศักยภาพและมีพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ นอยใู่ นระดับดี
2) ครูปฐมวยั มคี วามรู้ความสามารในการจัดประสบการณแ์ ละการประเมินพฒั นาการทสี่ อดคล้อง

กบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
3) ครูผสู้ อนปฐมวัยท่ีไดร้ ับการพฒั นา จัดทาแผนการจัดประสบการณ์และจดั ประสบการณ์

พฒั นาการคิดเชงิ คานวณสาหรบั เดก็ ปฐมวัยท่ีเป็นต้นแบบ
2.6 ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1) ผเู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาให้มีคุณภาพตามหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาปฐมวัย
2) ผ้เู รยี นได้รบั การพัฒนาให้มีคณุ ภาพตามทักษะวทิ ยาศาสตร์ในหลักสูตรการจดั การศกึ ษาปฐมวัย
3) ครูผสู้ อนจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
4) ครผู ู้สอนจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ทักษะการคดิ แก้ปัญหาไดส้ อดคลอ้ งตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
2.7 กลุ่มเป้าหมายผ้ไู ดร้ บั ผลประโยชน์
2.7.1 ครูผสู้ อนระดับปฐมวัย
2.7.2 เดก็ ปฐมวัยทุกคน
2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ธันวาคม 2564 – ตลุ าคม 2565
2.9 แผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ
วงเงินงบประมาณท่ดี าเนนิ การ 18,570 บาท

แผนการปฏบิ ัตงิ าน แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
(กิจกรรม) ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ 16,250
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
1. ประชุมชีแ้ จงคณะทางาน
2. ประชุมชีแ้ จงการใชแ้ บบประเมนิ -
พฒั นาการเด็กระดบั ปฐมวัยและแบบเตรยี ม
ความพร้อมขน้ึ ป. 1 ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ 117 -
คน คณะทางาน 8 คน รวม 125 คน
1) อาหารว่าง ม้ือละ 30 บาท 2 ม้ือ 125 คน

102

แผนการปฏบิ ตั งิ าน แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 รวม
1. ประชุมช้ีแจงคณะทางาน 2,320
(30 x 2 x 125) -
2) ค่าอาหารกลางวัน 70 บาท 1 มือ้ 125 คน 7,500 18,570
(70 x 1 x 125)
8,750

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ
(กจิ กรรม)
ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่
3. อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารครผู ูส้ อนปฐมวยั ใน 1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
โรงเรยี นอนบุ าลประจาเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 เรอื่ ง 16,250 840
coaching จานวน 8 คน ครโู รงเรียนแกนนา
2 โรงเรียน จานวน 6 คน รวม 14 คน 980
1) อาหารว่าง มื้อละ 30 บาท 2 ม้อื 500
(30x2x14) 2,320
2) ค่าอาหารกลางวัน 70 บาท 1 มอ้ื
(70x1x14)
3) คา่ เอกสารในการดาเนินงาน

รวม

หมายเหตุ สามารถถวั จา่ ยทุกรายการ

103

โครงการ “พฒั นาศกั ยภาพครผู ู้สอน ในการจดั การเรียนรู้เพ่ือเตรยี มรบั การประเมนิ สมรรถนะนกั เรียน
มาตรฐานสากล (Program for International Assessment หรือ PISA) สาหรบั นักเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา
ตอนต้น ในโรงเรยี นขยายโอกาส”

แผนงานโครงการ พน้ื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
รบั ผิดชอบ กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพป.นราธิวาส เขต 2
ผู้ตดิ ตอ่ ประสานงาน (contact person)
ช่อื – นามสกลุ นางสาวฟาดีละฮ์ ศรัทธาสภุ คั กลุ โทรศัพท์ 0847504983
โทรสาร................................................................................. E-mail sattha113@gmail .com

นโยบายของ สพป.นธ.2
นโยบายของ สพป.นธ 2 ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาศักยภาพและคุณภาพให้มีความก้าวหน้าและพฒั นา

ศกั ยภาพและคุณภาพผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชีพ
เปา้ ประสงคร์ วม ผู้เรียนเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ ละสร้างสรรคน์ วตั กรรมและ
ความก้าวหนา้ ตามหลักสตู ร

สว่ นที่ 1 ความเช่อื มโยง ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดบั ตามนยั ยะของมตคิ ณะรฐั มนตรี
เม่อื วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับท่ี 1)
1) ยุทธศาสตรช์ าติ ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
(1) เป้าหมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพ พร้อมสาหรบั วิถชี ีวติ ในศตวรรษที่ 21
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี

21
(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ผลสมั ฤทธิท์ างการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
2) ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
(1) เป้าหมาย คนไทยมกี ารศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพม่ิ ขนึ้ มีทักษะที่จาเปน็ ของโลก

ศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ญั หา ปรบั ตัว ส่อื สาร และทางานร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้อย่างมีประสทิ ธิผลเพ่มิ ข้ึน มนี ิสยั ใฝ่
เรยี นร้อู ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต

(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการพัฒนาการเรียนรู้
(3) การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

(3.1) คะแนน PISA ดา้ นการอา่ น คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (คะแนนเฉลี่ย)
(3.2) อันดับขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศดา้ นการศึกษา
1.2 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น ดา้ นการพัฒนาการเรียนรู้
(1) เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทฯ

 เปา้ หมายท่ี 1 คนไทยมีการศึกษาที่มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพม่ิ ข้ึน มที ักษะท่ี
จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตวั สื่อสาร และทางานร่วมกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีประสทิ ธผิ ล
เพิ่มขึ้น มีนิสยั ใฝเ่ รยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ

 การบรรลุเปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ

 คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (คะแนนเฉล่ยี )

104

 อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษา
(2) แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน
ศตวรรษท่ี 21

 แนวทางการพฒั นา พฒั นาระบบการเรียนร้เู ชงิ บรู ณาการทเ่ี นน้ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ มีการ
สะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสรา้ งทักษะชีวติ และสามารถนาไปใชต้ ่อยอดในการ
ประกอบอาชีพได้

 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยไดร้ บั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ
เรยี นรู้ และทักษะทีจ่ าเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิตดีขน้ึ

 การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ อัตราความบแตกตา่ งของคะแนน
PISA ในแต่ละกล่มุ โรงเรยี นลดลง

1.3 แผนการปฏิรปู ประเทศ (แผนระดบั ที่ 2)
1) เรอื่ ง/ประเด็นการปฏริ ปู การปฏิรปู การจดั การเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงใน

ศตวรรษท่ี 21
2) ข้ันตอนการดาเนนิ งาน พัฒนาครูใหส้ ามารถจดั การเรียนรู้เชิงรกุ ท่สี ง่ เสริมให้ ผู้เรยี น สรา้ งความรู้ ความ

เขา้ ใจจากการมีสว่ นร่วมในกระบวนการคดิ การปฏิบตั ิ การนาความรไู้ ปใช้ การถอดบทเรียน การสะท้อน ความคดิ
รวมทง้ั การปฏิสมั พันธ์ การทางาน และการแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั ผอู้ น่ื

3) กิจกรรม พัฒนาครูในการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก และการวดั ประเมินผล เพ่ือพัฒนาผเู้ รียน รวมทั้งการพฒั นา
ความรแู้ ละสมรรถนะดา้ นเนื้อหาสาระทส่ี อน ด้านศาสตร์การสอน ด้านการใชส้ ือ่ และเทคโนโลยใี นการเรียนรู้ และการสอน
ด้านการพฒั นาทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 และดา้ นบทบาทของครูในยุคใหม่

4) เปา้ หมายกิจกรรม การจดั การศึกษาทุกระดับใช้หลักสตู รที่เป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะ และแนวทาง
การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี น

1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) วตั ถปุ ระสงค์ท่ี 1 เพอื่ วางรากฐานใหค้ นไทยเป็นคนทส่ี มบรู ณ์ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีระเบียบวนิ ัย

คา่ นิยมทดี่ ี มีจิตสาธารณะ และมคี วามสุข โดยมสี ขุ ภาวะและสุขภาพทด่ี ี ครอบครวั อบอ่นุ ตลอดจนเปน็ คนเกง่ ท่มี ีทักษะ
ความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างต่อเน่ือง

2) เปา้ หมายรวมท่ี 1 คนไทยมคี ณุ ลกั ษณะเปน็ คนไทยท่ีสมบรู ณ์ มีวนิ ยั มที ศั นคติและพฤติกรรมตาม
บรรทดั ฐานท่ดี ขี องสงั คม มีความเป็นพลเมืองตน่ื รู้ มีความสามารถในการปรับตวั ได้อยา่ งรู้ทันสถานการณ์ มีความ
รบั ผดิ ชอบและทาประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม มีสขุ ภาพกายและใจทดี่ ี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มวี ิถีชวี ติ ที่
พอเพียง และมคี วามเปน็ ไทย

3) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์
(3.1) เป้าหมายระดบั ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 คนไทยมกี ารศกึ ษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมี

ความสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง
(3.2) แนวทางการพฒั นาที่ 2 พฒั นาศักยภาพคนใหม้ ีทักษะความรู้ และความสามารถในการ

ดารงชีวติ อย่างมีคณุ ค่า
(3.3) แนวทางการพัฒนาที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ

ส่วนท่ี 2 รายละเอยี ดโครงการ

105

2.1 หลักการและเหตผุ ล

นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้ความสาคัญกับศักยภาพและ

คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ เน่ืองจาก “ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคล่ือนสาคัญในการยกระดับ การพัฒนาประเทศใน

ทุกมิติไปสู่เป้าหมายการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศ” ดังน้ันการพัฒนา

ศักยภาพและคุณภาพผู้เรียน จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องดาเนินการให้สอดคล้องกัน โดยเน้นพัฒนาทักษะในการ

จัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด

แกป้ ญั หาซึ่งเปน็ สงิ่ จาเปน็ สาหรบั สถานการณ์โลกในปจั จบุ ัน ร่วมทั้งเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาชาติ

ให้แก่ผู้เรียน ประกอบกับประเทศไทยได้เข้าร่วมโปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for

International Assessment หรือ PISA) ริเร่ิมโดยองค์การเพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for

Economic Co-operation and Development หรือ OECD) มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินคุณภาพของระบบการศึกษา ใน

การเตรียมความพรอ้ มให้เยาวชนมศี กั ยภาพหรอื ความสามารถพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตในโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลง ซ่ึง

จะประเมินนักเรียนอายุ 15 ปี มรี อบการประเมินทุก ๆ 3 ปี เนน้ การประเมินสมรรถนะของนักเรียนเก่ียวกับการใช้ความรู้และ

ทักษะในชวี ติ จรงิ หรือทีเ่ รยี กวา่ “ความฉลาดรู้” (Literacy) ไดแ้ ก่ ความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy) ความฉลาดรู้

ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) โดยการประเมินจะวัด

ความฉลาดรู้ท้ัง 3 ด้าน ไปพร้อม ๆ กัน แต่จะเน้นหนักด้านใดด้านหน่ึงในแต่ละรอบการประเมิน ซึ่งในรอบการประเมินในปี

2565 นี้ ท่ีจะถึงนเ้ี นน้ สมรรถนะการอ่านข้ันสูง และความฉลาดรู้ดา้ นคณิตศาสตร์

ดังนั้น สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จึงได้กาหนดโครงการพัฒนาศักยภาพ

ครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมรับการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for International

Assessment หรือ PISA) สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนขยายโอกาส เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการจัดการ

เรียนการสอนเชงิ กระบวนการให้แก่ครู และเปน็ การเตรียมความพร้อมรับการประเมินระดับนานาชาติ (PISA) ใหแ้ กผ่ เู้ รียน

2.2 วตั ถุประสงค์

2.2.1 เพ่ือสรา้ งความรู้ ความเข้าใจการจัดการเรียนร้เู พือ่ เตรียมรับการประเมินสมรรถนะนักเรยี น

มาตรฐานสากล (Program for International Assessment หรอื PISA) ใหค้ รผู ู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน

กระบวนการจดั การเรียนรู้

2.2.2 เพือ่ ส่งเสริมใหค้ รูผู้สอนใชส้ ื่อ หรือเครื่องมือส่งเสริมสมรรถนะการอา่ นข้นั สูง ในการพฒั นาความ

ฉลาดรดู้ ้านการอ่าน ดา้ นคณิตศาสตร์ และดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ก่นักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2.2.3

เพ่อื พัฒนาครูผสู้ อนให้สามารถนานกั เรยี นเข้าใชร้ ะบบ PISA-style Online Testing

2.3 เป้าหมาย

2.3.1 ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ

โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จานวน 18 โรงเรียน มี

ความรู้ ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for

International Assessment หรอื PISA) ให้ครูผสู้ อนสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นรู้

2.3.2 ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ
โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จานวน 18 โรงเรียน
สามารถใช้สื่อ หรือเครื่องมือส่งเสริมสมรรถนะการอ่านขั้นสูง ในการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ด้าน
คณิตศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์แกน่ ักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

106

2.3.3 ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ
โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จานวน 18 โรงเรียน
สามารถนานกั เรยี นเขา้ ใชร้ ะบบ PISA-style Online Testing

2.4 ผลผลติ ผลลัพธ์ และดัชนีช้ีวัดความสาเรจ็
2.4.1 ผลผลิต (Output)
1) ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษา

ตอนตน้
2) ส่ือ/เครื่องมือส่งเสริมสมรรถนะการอ่านข้ันสูง ในการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านการอ่าน

ด้านคณติ ศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์แก่นกั เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
3) ระบบ PISA-style Online Testing

2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นมีความรู้ ความเข้าใจการจัดการ

เรียนรู้เพื่อเตรียมรับการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for International Assessment
หรือ PISA)

2) ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น สามารถใช้ส่ือ/เครื่องมือส่งเสริมสมรรถนะการอ่านขั้นสูง ในการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ด้าน
คณิตศาสตร์ และดา้ นวิทยาศาสตรแ์ กน่ กั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

3) ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้ สามารถนานักเรยี นเข้าใช้ระบบ PISA-style Online Testing

2.5 ดัชนชี ี้วัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชิงปริมาณ
1) รอ้ ยละ 100 ของครผู ู้สอนระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มีความรู้ ความ

เขา้ ใจการจดั การเรียนรู้เพือ่ เตรียมรบั การประเมนิ สมรรถนะนกั เรียนมาตรฐานสากล (Program for International
Assessment หรือ PISA)

2) ร้อยละ 100 ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น สามารถใช้สื่อ/เคร่ืองมือส่งเสริมสมรรถนะการอ่านขั้นสูง ในการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านการ
อ่าน ดา้ นคณิตศาสตร์ และดา้ นวทิ ยาศาสตร์แก่นักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

3) ร้อยละ 100 ของครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สามารถนานกั เรียนเข้าใชร้ ะบบ PISA-style Online Testing

2.5.2 เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโรงเรียนขยาย

โอกาสในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จานวน 18 โรงเรียน สามารถจัดการ
เรียนรู้เพื่อเตรียมรับการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for International Assessment
หรอื PISA) ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

2.6 ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั

107

2.6.1 ผู้บริหารและครูผู้สอน มีความตระหนักในความสาคัญของการจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับการ
ประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Program for International Assessment หรอื PISA)

2.6.2 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีคู่มือ/แนวทางการเตรียมความพร้อมรับการประเมินระดับ
นานาชาติ (PISA) สาหรับใหส้ ถานศึกษานาไปใช้ในการดาเนินงาน

2.6.3 สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ กิจกรรม มาตรการหรือแนวทางในการจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับ
การประเมินสมรรถนะนักเรยี นมาตรฐานสากล (Program for International Assessment หรอื PISA)

2.6.4 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดพัฒนาสมรรถนะการอ่านข้ันสูงผ่านการเรียนรู้ด้วยระบบ
PISA-style Online Testing

2.7 กลุ่มเป้าหมายผไู้ ด้รับผลประโยชน์
2.7.1 ผ้บู ริหารและครูผู้สอน
2.7.2 นกั เรยี น
2.7.3 สถานศกึ ษา
2.7.4 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ตลุ าคม 2564 – กันยายน 2565
2.9 แผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ
วงเงนิ งบประมาณท่ีดาเนนิ การ 52,400 บาท

แผนการปฏบิ ัติงาน แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี
1/2565 2/2565 3/2565 4/2565
กิจกรรมท่ี 1
1. จดั ทาโครงการ 1,200
2. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งาน 1,400
กิจกรรมที่ 2
การจดั การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ 21,600
1.การประชุมเตรียมการจัดการ 7,200
อบรมเชิงปฏิบัติการ 8,400

- ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม (20
คน X ๓0 บาท X 2 ม้อื )

- ค่าอาหารกลางวัน (20 คน X
70 บาท X ๑ ม้อื )

2. การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
- ค่าตอบแทนวิทยากร (600

บาท x 6 ชวั่ โมง x 3 คน x 2 วนั )
- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม (60

คน X ๓0 บาท X 4 มื้อ)
- ค่าอาหารกลางวัน (60 คน X

70 บาท X 2 มือ้ )

108

แผนการปฏิบตั งิ าน แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ ไตรมาสท่ี รวม
(กิจกรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี 4/2565 52,400
1/2565 2/2565 3/2565
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม
60 เล่ม X 150 บาท 9,000
กิจกรรมที่ 3
นิเทศ ติดตาม เก็บข้อมูล สรุปและ 1,200
รายงานโครงการ 1,400
1. ประชุมคณะทางานเตรียมการ
นเิ ทศและจดั ทาเครอ่ื งมือนิเทศ 2,600 46,200 1,000
3,600
- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม
(20 คน X ๓0 บาท X 2 ม้ือ)

- ค่าอาหารกลางวัน (20 คน X
70 บาท X ๑ มือ้ )
2. สรุปและจัดทารายงานผลการ
ดาเนนิ งานโครงการ

- ค่าถ่ายเอกสารและเข้าเล่ม
รายงาน (5 เลม่ X 200 บาท)

รวม

109

โครงการ “โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา”

แผนงาน พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ กล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

ประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผู้ติดตอ่ ประสานงาน (contact person)
นางสาวฟาดลี ะฮ์ ศรัทธาสุภัคกุล

นโยบายของ สพป.นธ 2 ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 3 การส่งเสริมศกั ยภาพผ้เู รยี น ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาอย่างย่งั ยนื

เป้าประสงค์รวม ผ้เู รยี นเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ ละสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมและ

ความกา้ วหนา้ ตามหลักสูตร

โทรสาร - E-mail [email protected]

สว่ นที่ 1 ความเช่อื มโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมตคิ ณะรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 1)

1) ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

(1) เปา้ หมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พร้อมสาหรับวิถชี วี ิตในศตวรรษที่ 21

(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี

21

(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตรช์ าติ ผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

2) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

(1) เป้าหมาย คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพม่ิ ขน้ึ มีทักษะทจ่ี าเปน็ ของโลก

ศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตัว สอื่ สาร และทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีประสทิ ธผิ ลเพ่มิ ขนึ้ มนี ิสยั ใฝ่

เรียนรูอ้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต

(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาการเรียนรู้

(3) การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

(3.1) คะแนน PISA ดา้ นการอ่าน คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลย่ี )

(3.2) อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศดา้ นการศึกษา

1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ 2)

1) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ ดา้ นการพัฒนาการเรียนรู้

(1) เป้าหมายระดับประเดน็ ของแผนแม่บทฯ

 เป้าหมายท่ี 1 คนไทยมกี ารศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพมิ่ ขนึ้ มที ักษะท่ี

จาเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตัว สอื่ สาร และทางานร่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างมีประสิทธิผล

เพิ่มข้ึน มีนสิ ัยใฝเ่ รียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ

 คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลย่ี )

110

 อนั ดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศด้านการศึกษา
(2) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏิรูปกระบวนการเรียนร้ทู ี่ตอบสนองต่อการเปล่ยี นแปลงใน
ศตวรรษที่ 21

 แนวทางการพฒั นา พัฒนาระบบการเรียนรเู้ ชิงบรู ณาการที่เน้นการลงมือปฏบิ ตั ิ มีการ
สะท้อนความคดิ /ทบทวนไตรต่ รอง โดยเนน้ การเรยี นการสอนทเ่ี สริมสรา้ งทกั ษะชีวติ และสามารถนาไปใช้ต่อยอดในการ
ประกอบอาชีพได้

 เปา้ หมายของแผนย่อย คนไทยได้รบั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ
เรยี นรู้ และทักษะที่จาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ ดีขึ้น

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ อัตราความบแตกตา่ งของคะแนน
PISA ในแตล่ ะกลมุ่ โรงเรยี นลดลง

1.3 แผนการปฏิรปู ประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) เร่ือง/ประเดน็ การปฏริ ปู การปฏิรปู การจดั การเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงใน

ศตวรรษท่ี 21
2) ขัน้ ตอนการดาเนินงาน พฒั นาครใู หส้ ามารถจดั การเรียนรู้เชิงรกุ ที่ส่งเสรมิ ให้ ผ้เู รยี น สรา้ งความรู้ ความ

เข้าใจจากการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการคดิ การปฏบิ ตั ิ การนาความรูไ้ ปใช้ การถอดบทเรียน การสะท้อน ความคิด
รวมทงั้ การปฏสิ มั พันธ์ การทางาน และการแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ับผ้อู น่ื

3) กจิ กรรม พัฒนาครใู นการจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ และการวดั ประเมินผล เพ่ือพฒั นาผู้เรยี น รวมท้ังการพฒั นา
ความรแู้ ละสมรรถนะดา้ นเนื้อหาสาระท่สี อน ดา้ นศาสตร์การสอน ดา้ นการใช้สอ่ื และเทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ และการสอน
ดา้ นการพัฒนาทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และดา้ นบทบาทของครูในยุคใหม่

4) เป้าหมายกิจกรรม การจัดการศึกษาทุกระดับใช้หลกั สตู รที่เปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ และแนวทาง
การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกและการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผ้เู รียน

1.4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
1) วตั ถปุ ระสงค์ที่ 1 เพ่ือวางรากฐานใหค้ นไทยเปน็ คนท่ีสมบรู ณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินยั

ค่านยิ มทีด่ ี มจี ิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสขุ ภาวะและสขุ ภาพท่ีดี ครอบครวั อบอุน่ ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะ
ความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างต่อเนื่อง

2) เปา้ หมายรวมที่ 1 คนไทยมคี ณุ ลกั ษณะเป็นคนไทยท่สี มบรู ณ์ มวี นิ ยั มที ัศนคติและพฤติกรรมตาม
บรรทัดฐานทดี่ ขี องสังคม มคี วามเปน็ พลเมืองตนื่ รู้ มีความสามารถในการปรบั ตัวได้อยา่ งรู้ทนั สถานการณ์ มีความ
รบั ผดิ ชอบและทาประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม มสี ขุ ภาพกายและใจที่ดี มีความเจรญิ งอกงามทางจติ วิญญาณ มวี ถิ ีชีวิตที่
พอเพยี ง และมีความเป็นไทย

3) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ย์
(3.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตรท์ ่ี 2 คนไทยมกี ารศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลและมี

ความสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง
(3.2) แนวทางการพัฒนาที่ 2 พฒั นาศักยภาพคนใหม้ ที ักษะความรู้ และความสามารถในการ

ดารงชีวิตอย่างมีคณุ ค่า
(3.3) แนวทางการพฒั นาท่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

1.5 นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ดว้ ยความมั่นคงแหง่ ชาติ
1) นโยบายความมัน่ คงแหง่ ชาตทิ ่ี 1 การเสริมสร้างความม่ันคงของมนุษย์

111

2) แผนระดับชาตวิ า่ ด้วยความมน่ั คงแห่งชาติ รองรับนโยบายท่ี 3 การใหค้ วามสาคัญกบั ความม่นั คงแบบ
องค์รวม

3) เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์ ประชาชนมีความสามัคคี มีความปลอดภัยในการดารงชีวติ มีส่วนร่วม และมี
ความพร้อมเผชญิ ปญั หาและรับมือกับภัยคกุ คามและปัญหาด้านความมั่นคง

4) ตวั ชวี้ ดั ระดับการเสรมิ สร้างความสามคั คขี องคนในชาติ
5) กลยุทธ์ ส่งเสริมการเรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ปลูกฝังวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ค่านยิ มที่ดงี าม
ความภมู ิใจในชาติ การจดั การความขัดแย้งโดยสนั ตวิ ธิ ี โดยการเรียนการสอน ทั้งในระบบและนอกระบบสถานศึกษา
เพ่ือสนบั สนนุ กิจกรรมในด้านความม่นั คง

ส่วนที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลักการและเหตุผล
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.)ได้ประกาศใช้หลักสูตรวิทยาการคานวณ เป็นวิชาบังคับ ต้ังแต่ระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยในหลักสูตรมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1. วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ 3. การรู้เร่ืองดิจิทัล เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตจริง
หรือพัฒนานวัตกรรม ส่วนการสอนแบบสะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถ
บูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงและ
แกป้ ัญหาในชีวิตจรงิ ซง่ึ การเรยี นโค้ดดิง้ เปน็ ส่วนหน่งึ ของหลักสูตรวิทยาการคานวณ
การขับเคลื่อนการเรียนการสอนวิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา ครูเป็นหัวใจสาคัญ จากการเริ่มใช้
หลักสูตรดงั กล่าวตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ้ มูลจากการสารวจ พบว่า ครูทุกระดับชั้นส่วนใหญ่สอนวิชาวิทยาการคานวณไม่
ครบทุกเนื้อหา เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และแนวทางในการจัดการเรียนรู้สาระ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) อกี ท้ังมีความต้องการในการพัฒนาความรู้ในด้านนี้ ดังนั้น หากจะขับเคลื่อนการเตรียมคน
ไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ให้มีทักษะแห่งอนาคตในโลกดิจิทัล โดยใช้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ
การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนการศึกษา เพ่ือดาเนินโครงการร่วมกันในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็น
ผู้นาทางการศึกษาวิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา การพัฒนาครูให้มีขีดความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาการ
คานวณ และสะเต็มศึกษา และการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นต่อการบริหารจัดการ
นิเทศติดตาม และส่งเสริมประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา ในสถานศึกษาระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะช่วยยกระดับการศึกษาของประเทศ และพัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ดารงชีวิต
อยไู่ ด้อยา่ งมีคุณภาพในศตวรรษท่ี ๒๑
ดงั นั้น สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ได้กาหนดโครงการพัฒนาศักยภาพการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา เพ่ือตอบสนองนโยบายในการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรวิทยาการคานวณ เป็นวิชาบังคับ
ตัง้ แต่ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพอ่ื ให้เด็กมีความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงหรือพัฒนา
นวัตกรรม
2.2 วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อเพิ่มพนู ศักยภาพแก่ครูผู้สอนสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศกึ ษา

2. เพอื่ สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคานวณ และสะเตม็ ศึกษา
3. เพือ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการฯ

112

4. เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใหส้ งู ข้ึน 2.3
เป้าหมาย

2.3.1. ครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 117 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 คน รวม
117 คน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และ สะเต็มศึกษา และนาไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการ
จดั การเรียนรู้

2.4 ผลผลิต ผลลัพธ์ และดัชนีช้ีวดั ความสาเรจ็
2.4.1 ผลผลิต (Output)
1) ครูผ้สู อนสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทส่ี งู ข้ึน
3) รปู แบบวธิ ปี ฏิบัติที่ดใี นการจัดการเรียนรู้
2.4.2 ผลลพั ธ์ (Outcome)
1) ครูผู้สอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ

เรยี นรู้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษาและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้
2) ผ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ที่สงู ข้นึ
3) โรงเรียนมีรูปแบบวิธีปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2.5 ดชั นชี ี้วดั ความสาเร็จ (KPIs)
2.5.1 เชงิ ปริมาณ
1) รอ้ ยละ 100 ของครผู ้สู อนสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเข้าร่วมโครงการมี

ความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการ
จดั การเรยี นรู้

2) ร้อยละ 70 ของผู้เรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทสี่ ูงขึ้น

3) ร้อยละ 70 ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการวิธีปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้วิทยาการ
คานวณ และสะเต็มศึกษา

2.5.2 เชิงคณุ ภาพ
1) ครูผู้สอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการ

จดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณ และสะเตม็ ศกึ ษาและสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ ในระดับดี
2) ผเู้ รียนของโรงเรียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทีส่ งู ข้ึน
2.6 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
2.6.1 ครผู ู้สอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความตระหนักในความสาคญั ของการ

จดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณ และสะเต็มศึกษา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.6.2 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี สาหรับให้สถานศกึ ษานาไปใชใ้ นการดาเนนิ งาน
2.6.3 นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีส่ งู ขึน้

2.7 กลุ่มเปา้ หมายผู้ไดร้ ับผลประโยชน์
2.7.1 ครผู สู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

113

2.7.2 ผูเ้ รยี น
2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ธนั วาคม 2564 – กนั ยายน 2565
2.9 แผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ
วงเงนิ งบประมาณท่ดี าเนนิ การ 65,000 บาท

แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

ที่ ชือ่ กิจกรรม ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ รวม
1,300
1/2565 2/2565 3/2565 4/2565 61,200

๑ กจิ กรรมท่ี 1

จัดทาโครงการ

แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน

รวม

2 กจิ กรรมท่ี 2

ประชุมเตรียมการจดั การอบรมเชงิ

ปฏิบัตกิ าร

- (ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 x 10

คน x 2 ม้อื ) 600

- (ค่าอาหารกลางวัน 70 x 10 คน x 1

ม้ือ) 700

รวม 1,300

3 กจิ กรรมท่ี 3

การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร

- คา่ ตอบแทนวิทยากรหลกั สูตรการ

จัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาการคานวณ (2 คน x

600 บาท x 6 ช่วั โมง x 2 วนั ) 14,400

- (ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม 30 บาท

x 130 คน x 4 มอ้ื ) 15,600

- (ค่าอาหารกลางวัน 70 บาท x 130

คน x 2 ม้ือ) 18,200

- ค่าเอกสารประกอบการอบรม (100

บาท X 130 คน) 13,000

รวม 61,200

4 กิจกรรมที่ 4

ประชมุ ตดิ ตามผลและเก็บข้อมลู สรปุ

และรายงานผลการจดั การอบรม

- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่มื (30 บาท

x 10 คน x 2 มื้อ) 600

114

- ค่าอาหารกลางวนั (70 บาท x 10 คน

x 1 ม้อื ) 700

- คา่ ถา่ ยเอกสารและเข้าเลม่ รายงาน (5

เลม่ x 240 บาท) 1,200

รวม - - 2,500 - 2,500

รวมทั้งสนิ้ - 62,500 2,500 - 65,000

115

โครงการ “พัฒนาด้านการวดั ผลและประเมินผลสถานศกึ ษา”

แผนงานโครงการ พนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

หน่วยงานรับผิดชอบ กองสานักงานเชตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กรม คณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน

พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ผตู้ ดิ ตอ่ ประสานงาน (contact person)

ช่อื - นามสกลุ ......นางสาว อาไพพร นาคแกว้ โทรศพั ท.์ . 0954392423

โทรสาร - E-mail address [email protected]

นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ 3. พัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพใหม้ ีความกา้ วหนา้ และพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้บรหิ าร

ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ

เป้าประสงค์รวม 3. การส่งเสรมิ ศกั ยภาพผู้เรียน ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างย่ังยืน

4. ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มีความรแู้ ละ

จรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี

สว่ นท่ี 1 ความเชื่อมโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี

เมอื่ วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ท่ี 1)

1) ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนุษย์

(1) เปา้ หมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พรอ้ มสาหรบั วถิ ชี วี ิตในศตวรรษที่ 21

(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรด์ ้านยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนษุ ย์

- การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ

- ช่วงวัยเรียน / วัยรุ่น

1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 2)

1) แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้

แผนยอ่ ย 12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21

เปา้ หมายแผนย่อยคนไทยไดร้ ับการศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะ

ท่ีจาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิตดขี ึ้น

องค์ประกอบของแผน การบริหารจัดการระบบการเรียนรู้

ปัจจยั การติดตาม วดั และประเมนิ ผลทางการศึกษา

แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนย่อย พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา

รวมถึงจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษท่ี 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเน้ือหาและ

วิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเน้ือหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยี

เพ่อื การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ควรมีคณุ ลักษณะทมี่ ชี ีวติ มีพลวัต มปี ฏสิ มั พันธ์ การเชอ่ื มตอ่ และมสี ่วนร่วม

เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาการเรียนรู้

 อธิบายความสอดคลอ้ งของโครงการกบั ยุทธศาสตร์ท่ีทา่ นเลอื ก คนไทยมีการศึกษาที่มี
คุณภาพตามมารตฐานสากลเพมิ่ ขน้ึ มีทกั ษะทีจ่ าเปน็ ของโลกในศตวรรษที่ 21 สามารถใน
การแกป้ ัญหา ปรบั ตวั ส่ือกสารและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเพ่ิมข้นึ มี
นิสยั ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียนอย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ

116

 อธิบายความสอดคล้องของโครงการกบั เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาตร์ชาติ คน
ไทยได้รับการศึกษาทม่ี ีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเรียนรู้ และทกั ษะทจี่ าเปน็ ของ
โลกศตวรรษที่ 21สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิตดีข้นึ

1.3 แผนการปฏิรูปประเทศ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนการปฏิรูปดา้ น ดา้ นการศกึ ษา
- เปา้ หมายรวม ยกระดับคณุ ภาพของการจัดการศึกษา
- เรอื่ งและประเด็นการปฏริ ปู . การปฏริ ูปการจดั การเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการ
เปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
1.4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) เป้าหมายรวมที่ คนไทยมีลักษณะเป็นคนไทยท่สี มบรู ณ์
2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การสเรมิ สร้างและพัฒนาสักยภาพทนุ มนษุ ย์
(2.1) เปา้ หมายระดบั ยุทธศาสตร์ที่ 2 คนในสงั คมไทยทุกชว่ งวัย มีทักษะความรู้ และ

ความสามารถเพม่ิ ขนึ้
(2.2) แนวทางการพัฒนาที่ 2 พฒั นาศกั ยภาพคนใหม้ ีทักษะความรูแ้ ละความสามารถในการ

ดารงชีวิตอยา่ งมีคณุ ค่า
(2.3) แนวทางการพัฒนาท่ี พัฒนาเดก็ วัยเรียนวัยร่นุ ใหม้ ที ักษะการคิดวเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบมี

ความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะการทางานมีการใช้ชีวติ ที่พร้อมเขา้ สตู่ ลาดงาน

ส่วนที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลักการและเหตผุ ล
การวัดผลและประเมินผล มีความจาเป็นและมีประโยชน์ต่อผู้เรียนมาก แต่ที่ผ่านมาการวัดผล

ประเมินผลในระดบั ชน้ั เรียน ส่วนใหญ่นักเรียนจะได้คะแนนมาก แต่เมื่อทาการทดสอบระดับชาตินักเรียนได้คะแนน
น้อย ท้ังนี้เนื่องจากข้อสอบในระดับชั้นเรียนมักจะไม่ครอบคลุมมาตรฐานตัวช้ีวัด และมีความง่ายกว่าข้อส อบ
ระดับชาติ ซ่ึงสอดคล้องกับ บุญชม ศรีสะอาด (2540) และ เยาวดี วิบูลย์ศรี (2540) ที่พบว่าความคลาดเคล่ือนที่
เกิดข้ึนจากการวัดผลส่วนหนึ่ง เกิดจากเครื่องมือที่ใช้วัดขาดความสมบูรณ์ (imperfect Measuring Instrument)
เช่น เคร่ืองมือไม่มีความเที่ยงตรงในการวัดไม่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด หรือไม่ครอบคลุมพฤติกรรมทางการศึกษาท่ี
ประสงค์จะวัด โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่มีครูไม่ครบชั้น ไม่ครบสาระ การท่ีจะสร้างข้อสอบให้มีคุณภาพน้ัน
นับว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก เน่ืองจากมีภาระในการจัดการเรียนการสอนหลายขั้นเรียน หลายวิชาสานักทดสอ บ
ทางการศึกษา (2561) ได้รายงานผลการติดตามและตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบที่ใช้ในการวัดและประเมินผลใน
ชน้ั เรยี นของสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พบว่า โรงเรียนท่ีมีผลการทดสอบทาง
การศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ในระดับต่า การจัดทาแบบทดสอบยังไม่เป็นไปตามหลักวิชาการ ครู
ไม่สามารถสร้างข้อสอบท่ีมีคุณภาพได้ ข้อสอบบางส่วนวัดไม่ตรงมาตรฐานตัวชี้วัด ข้อสอบส่วนใหญ่วัดพฤติกรรม
ระดับเข้าใจมากที่สุด รองลงมาวัดพฤติกรรมระดับความจา ขาดงบประมาณสนับสนุนการสร้างข้อสอบ และจัดทา
คลังข้อสอบไม่มีสถานท่ีและอุปกรณ์จัดทาคลังข้อสอบ ขาดผู้เชี่ยวชาญ ครูไม่เพียงพอ มีภาระงานในหน้าที่
นอกเหนือจากการสอนมาก ส่งผลให้การจัดทาข้อสอบท่ีมีคุณภาพเป็นไปได้ยากในกระบวนการสร้างข้อสอบ การ
วิเคราะหข์ ้อสอบเพอื่ ให้ไดข้ ้อสอบทีด่ ีเกบ็ ไว้ใช้งานนั้นยังเป็นเร่ืองยุ่งยากสาหรับครู-อาจารย์ โดยท่ัวไปมักเสียเวลาใน
การสร้าง การจดั เก็บและการนาข้อสอบออกมาใช้งาน โดยต้องเริ่มกระบวนการใหม่ทุกคร้ังและมักไม่มีโอกาสพัฒนา
ให้ดีขึ้นได้อย่างชัดเจน การมีระบบคลังข้อสอบที่ดีสามารถเอื้ออานวยความสะดวกในการจัดการเรียนเกี่ยวกับ

117

ข้อสอบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถจัดเก็บและสะสมข้อสอบได้สะดวก สามารถนาข้อสอบออกมาไปใช้งาน

วัดผลการเรียนการสอนตามจุดมุ่งหมายในโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย และได้แบบทดสอบท่ีมี

คุณภาพ การพัฒนาคณุ ภาพขอ้ สอบเปน็ ระบบ ทาได้ง่าย ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการการเรียนการสอน ครูมี

เวลาท่ีจะสร้างสรรค์คุณภาพด้านการเรียนการสอนได้มากย่ิงข้ึน จากปัญหาเร่ืองการวัดผลและประเมินผลของ

โรงเรียนยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้เนื่องจากขาดเครื่องมือวัดที่เป็นมาตฐาน และความ

เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยกี ารส่อื สารการพัฒนาคลังข้อสอบและระบบการสอบออนไลน์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อสอบ

มาตรฐานไว้บนระบบออนไลน์ โดยแยกเป็นหมวดหมู่ ตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวดั ให้ครูผู้สอนสามารถเข้าถึงข้อสอบได้

สะดวก สามารถนาไปใชใ้ นการวดั ผลระเมินผลในหอ้ งเรยี นได้ ตลอดจนใช้เป็นแนวทางการจัดทาข้อสอบคู่ขนานตาม

มาตรฐานตัวขี้วัด นอกจากน้ีระบบการสอบออนไลน์ยังช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทาข้อสอบตรงตามมาตฐานตัวชีวัด

สามารถฝึกสอบได้ทุกท่ีทุกเวลา ทราบผลการสอบทันที สามารถทาการสอบได้ไม่จากัดจานวนคร้ัง และครูผู้สอน

สามารถตดิ ตามคะแนนของนักเรยี นเพ่ือประโยชน์ในการปรับปรงุ การเรียนการสอนและให้การช่วยเหลือนักเรียนเป็น

รายบุคคล สอดคล้องกับการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนได้ฝึกการเรียนรู้ และรู้จักประเมินตนเอง อันจะ

ส่งผลทาใหก้ ารเรียนการสอนและการวัดผลประเมนิ ผลตรงตามมาตรฐานการเรียนรขู้ องหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และฉบับปรับปรุง 2560 สูงขึ้น พร้อมทั้งส่งผลให้การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ

เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2 สูงขนึ้ ตามเปา้ ท่วี างไว้ จึงเลง็ เห็นถึงความสาคัญจึงจัดทา

โครงการพัฒนาศักยภาพดา้ นการวัดผลและประเมินผล และดาเนนิ การขับเคลื่อนอยา่ งเปน็ ระบบ

2.2 วัตถปุ ระสงค์

2.2.1 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และครู มคี วามรู้ความเข้าใจในการวดั และประเมินผล เร่อื งการประเมนิ สภาพ

จรงิ และการประเมินสมรรถนะผู้เรยี น

2.2.2 ครูมีทกั ษะในการออกข้อสอบตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัด

2.2.3 ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET, NT โรงเรยี นในสังกดั เพ่ิมขน้ึ

2.2.4 เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นโรงเรยี นในสงั กัดให้สูงขึ้น

2.2.5 เพ่ือเสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้แกบ่ ุคลากรสถานศึกษา เกย่ี วกบั งานวัดผล

2.2.6 เขตพื้นที่มรี ะบบคลงั ข้อสอบเพื่อการพัฒนานักเรียนในสงั กดั ตามมาตรฐานตัวชี้วัด

2.3 เป้าหมาย

2.3.1 โรงเรียนทกุ โรงเรียนในสังกดั สาพป.นราธวิ าส เขต 2 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้

สงู ขึน้ จากปีการศึกษา 2563

2.3.2 โรงเรยี นทกุ โรงเรียนในเขตพ้นื ท่ีการศึกษาไดร้ บั การนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การเรียนรู้

2.3.3 ครูผ้สู อนมแี บะประเมินสภาพจรงิ ที่มีคุณภาพ

2.3.4 ครมู คี ลงั ขอ้ สอบในการวดั ประเมนิ ผลตามความต้องการตามมารตฐานตวั ชว้ี ัด

2.4 ผลผลติ ผลลัพธ์ และดัชนชี ว้ี ัดความสาเร็จ
2.4.1 ผลผลิต (Output)
1.โรงเรยี นทกุ โรงเรียนในสังกัด สพป.นราธวิ าส เขต 2 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทุกกลมุ่ สาระการ

เรยี นรูส้ งู ข้ึนจากปีการศึกษา 2653
2. โรงเรยี นทุกโรงเรียนในเขตพ้ืนที่การศกึ ษาได้รับการนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจัดการ

เรยี นรู้
3. ครผู สู้ อนมีแบบประเมินสภาพจริงทม่ี ีคุณภาพ

118

4. ครมู ีคลังข้อสอบในการวัดประเมนิ ผลตามความต้องการตามมารตฐานตัวช้วี ัด
2.4.2 ผลลพั ธ์ (Outcome)

1. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา และครู มีความรู้ความเข้าใจในการวดั และประเมนิ ผล
เรอื่ งการประเมินสภาพจริงชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรสั โคโรนา 2019

2 ครมู ีทักษะในการออกข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัดพรอ้ มนาขอ้ สอบจากระบบ
คลังข้อสอบสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ไปใช้อยา่ งมีคุณภาพ

3 ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET, NT ของโรงเรียนในสังกดั เพิ่มขึ้น
4 เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นโรงเรียนในสังกดั ให้สงู ข้ึน
5 สำนกั งำนเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 มคี ลงั ข้อสอบออนไลนพ์ ร้อมให้บรกิ ารแก่

สถานศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ
6 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาการประเมนิ ผเู้ รียนโดยการใชข้ ้อสอบมาตรฐานกลางแกน่ ักเรยี นระดับชั้น

ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา ปีการศึกษา 2565

2.5 ดัชนชี ้ีวัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชงิ ปริมาณ
1.โรงเรยี นทุกโรงเรยี นในสงั กัด สพป.นราธิวาส เขต 2 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้

สงู ขนึ้ จากปกี ารศึกษา 2563
2. โรงเรยี นทุกโรงเรียนในเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาได้รับการนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
2.5.2 เชิงคณุ ภาพ
1. ครผู ู้สอนมีแบบประเมินสภาพจรงิ ทมี่ ีคณุ ภาพ
2. ครูมคี ลังข้อสอบในการวัดประเมนิ ผลตามความต้องการตามมารตฐานตัวช้ีวดั
3. ครูและผูท้ เี่ ก่ียวข้อง ใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายในการวัดและประเมินผล และนาผลการวัดและ ประเมนิ ผล

ไปพัฒนาศกั ยภาพของผูเ้ รียนแตล่ ะบคุ คล
4. สถานศกึ ษามีการวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษาทถี่ ูกต้อง และมคี ณุ ภาพ
5. สานกั งานเขตพน้ื ท่มี ีคลงั เครื่องมือวดั และประเมินผลระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษาทส่ี อดคล้องกับความ

ต้องการ ของสถานศึกษา
2.6 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ

2.6.1. โรงเรียนทกุ โรงเรยี นในสังกดั สพป.นราธิวาส เขต 2 มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้สูงขึน้ อยา่ งน้อย ร้อยละ 2

2.6.2. โรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพน้ื ท่ีการศึกษาได้รับการนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การเรียนรู้
2.6.3. ครูผ้สู อนมีแบบประเมินสภาพจริงที่มคี ุณภาพ
2.6.4. ครมู ีคลังข้อสอบในการวดั ประเมนิ ผลตามความต้องการตามมารตฐานตัวช้วี ดั

2.6.5. สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามีคลงั ข้อสอบมาตรฐานการศกึ ษาระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และมี
ขอ้ มลู คุณภาพการศึกษาของผู้เรียน

2.7 กลุ่มเป้าหมายผู้ไดร้ บั ผลประโยชน์
2.7.1 ครูผ้สู อนในสังกัด สพป.นราธวิ าส เขต 2
2.7.2 นกั เรียน สพป.นราธวิ าส เขต 2

119

2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ 01 ธันวาคม 2564 – 01 กันยายน 2565

2.9 แผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ

วงเงินงบประมาณที่ดาเนนิ การ 45,000 บาท

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ รวม
(กิจกรรม) 20,000
ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 15,000

กจิ กรรมที่ 1 พัฒนาครูผู้สอนเรอื่ งการวัดและ 20,000

ประเมินผลสภาพจรงิ (อบรมออนไลน)์

พฒั นาครูจานวน 600 คน ระยะเวลา 3 วัน

-ค่าอาหารว่างและเครื่องด่มื 15x30x6=2,700

-ค่าอาหารกลางวนั 15x70x3=3,150

-ค่าวิทยากร 18 ชั่วโมง 18x600=10,800

-คา่ เอกสารการอบรม 240= 3,350

กิจกรรมที่ 2 การจัดทาระเบียบการวัดและ 15,000

พฒั นาเคร่ืองมือวดั และประเมินผล

3.1 เครื่องมือวดั และประเมนิ ผลตามกลมุ่ สาระ

การเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ

3.2 เคร่ืองมือวัดผลและประเมินผลตามประเภท

ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

3.3 เครื่องมือวดั ผลและประเมินผลตามสภาพ

จรงิ

3.4 เคร่ืองมือวดั ผลและประเมินผลคณุ ลักษณะ

ที่พึงประสงค์

3.5 เครือ่ งมือวัดผลและประเมนิ ผล

ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละการ

เขียนส่ือความชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาด

ของโรคติดเชื่อไวรสั โคโรนา 2019

คณะทางานร่วมสรา้ งเครอื่ งมือ จานวน 30 คน

ระยะเวลา 3 วนั

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดมื่ 30x30x6=5,400

-ค่าอาหารกลางวนั 30x70x3=6,300

-ค่าเอกสารการอบรม 120 ชดุ = 3,300

120

แผนการปฏบิ ัตงิ าน แผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) 10,000
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 45,000

กิจกรรมที่ 3 การจัดทาและการนาคลงั ข้อสอบไป 10,000

ใช้ประเมินผู้เรยี นพร้อมจัดทาด้วยข้อสอบ

มาตรฐานกลางสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา

ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2

คณะทางานร่วมสรา้ งชดุ ข้อสอบมาตรฐานกลาง

สพป.นราธวิ าสเขต 2 ระดบั ชน้ั ป.1-ม.3 ช้นั ละ

5 คน รวมจานวน 45 คน ระยะเวลา 2 วัน

-ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื 36x30x4=4,320

-คา่ อาหารกลางวัน 36x70x2=5,040

-คา่ กระดาษจดั ทารา่ งชุดข้อสอบ = 640

รวม 20,000 25,000

121

โครงการ “คณิตคดิ สรา้ งสรรค์”

แผนงาน พ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

หน่วยงานรับผิดชอบ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2

ผตู้ ิดตอ่ ประสานงาน (contact person)

ชือ่ – นามสกุล นางสาวอาไพพร นาคแก้ว โทรศัพท์ 09๕-๔๓๙๒๔๒๓

โทรสาร................................................................................. E-mail [email protected]

แผนงานโครงการ พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
หน่วยงานรับผดิ ชอบ กองสานกั งานเชตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กรม คณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ผูต้ ดิ ต่อประสานงาน (contact person)
ช่ือ - นามสกลุ ......นางสาว อาไพพร นาคแก้ว โทรศพั ท.์ . 0954392423
โทรสาร - E-mail address [email protected]

นโยบายของ สพป.นธ.2
นโยบายของ สพป.นธ 2 ประเดน็ กลยุทธ์ท่ี 3 การส่งเสริมศกั ยภาพผ้เู รียน ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาอย่างยั่งยนื
เปา้ ประสงค์รวม ท่ี 4. ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ มี
ความรู้และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี

สว่ นที่ 1 ความเช่ือมโยง ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรฐั มนตรี
เม่อื วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 1)
1) ยุทธศาสตรช์ าติ ด้านยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์

(1) เป้าหมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรบั วถิ ชี ีวติ ในศตวรรษท่ี 21
(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรด์ ้านยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์

- การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ
- ชว่ งวัยเรยี น / วยั รุน่

1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ที่ 2)
1) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้
แผนย่อย 12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
เป้าหมายแผนย่อยคนไทยไดร้ ับการศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะ

ท่ีจาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21สามารถเข้าถงึ การเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิตดขี ึ้น
องค์ประกอบของแผน ผ้สู อน (ครู/อาจารย์)
ปจั จัย ผู้สอนยคุ ใหมท่ ี่มีทกั ษะการเรียนรูใ้ รศตวรรษท่ี 21 ทตี่ อบสนองต่อความต้องการของ

ประเทศ(ปริมาณ/คณุ ภาพ)
แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนย่อยผสู้ อนยคุ ใหมม่ ีทักษะระดบั การศกึ ษารวมถงึ การจัดกิจกรรม

เสรมิ ทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะสาหรบั ศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเขา้ กับเนื้อหา
เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติการพัฒนาการเรียนรู้

122

 อธบิ ายความสอดคล้องของโครงการกับยุทธศาสตรท์ ที่ ่านเลือก คนไทยมีการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพตามมารตฐานสากลเพ่ิมขน้ึ มีทกั ษะทีจ่ าเป็นของโลกในศตวรรษท่ี 21 สามารถใน
การแก้ปัญหา ปรบั ตัว สอ่ื กสารและทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเพ่ิมขน้ึ มี
นิสยั ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี นอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิต

 อธิบายความสอดคลอ้ งของโครงการกบั เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาตรช์ าติ คน
ไทยได้รับการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเรียนรู้ และทกั ษะทจี่ าเป็นของ
โลกศตวรรษท่ี 21สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตดขี ึน้

1.3 แผนการปฏริ ูปประเทศ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนการปฏริ ปู ดา้ น ดา้ นการศกึ ษา

- เปา้ หมายรวม ยกระดับคุณภาพของการจดั การศึกษา
- เรอ่ื งและประเด็นการปฏริ ปู . การปฏริ ปู การจัดการเรยี นการสอนเพ่ือตอบสนองการ
เปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21

1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
1) เปา้ หมายรวมที่ คนไทยมีลกั ษณะเปน้ คนไทยทสี่ มบรู ณ์
2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การสเริมสรา้ งและพัฒนาสักยภาพทุนมนุษย์

(2.1) เปา้ หมายระดบั ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 คนในสังคมไทยทกุ ช่วงวัย มีทกั ษะความรู้ และ
ความสามารถเพ่มิ ข้นึ

(2.2) แนวทางการพัฒนาที่ 2 พัฒนาศกั ยภาพคนให้มีทักษะความร้แู ละความสามารถในการ
ดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า

(2.3) แนวทางการพฒั นาที่ พฒั นาเด็กวยั เรยี นวยั รุน่ ใหม้ ีทกั ษะการคิดวเิ คราะห์อยา่ งเปน็ ระบบมี
ความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทักษะการทางานมีการใชช้ ีวติ ทีพ่ ร้อมเข้าสตู่ ลาดงาน

ส่วนที่ 2 รายละเอียดโครงการ

2.1 หลักการและเหตุผล
การศกึ ษาเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจรญิ งอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้การ
ฝึก การอบรม การสบื สานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิด
จากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเก้ือหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เป้าหมายของ
การจัดการศกึ ษาจะตอ้ งมุง่ สร้างสรรคส์ งั คม ให้เอื้อต่อการพัฒนาประเทศโดยรวมและมุ่งสร้าง “คน” หรือ “ผู้เรียน” ซ่ึง
เป็นผลผลติ โดยตรง ให้มีคณุ ลักษณะ มศี กั ยภาพ และความสามารถท่จี ะพัฒนาตนเองและสังคมไปสคู่ วามสาเร็จได้ดังน้ัน
วิธีสาคัญที่จะสามารถสร้างและพัฒนาคน หรือผู้เรียนให้เกิดคุณลักษณะต่าง ๆ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะกระบวนการคิดขั้นสูง เช่น การคิด
วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และการคิดแก้ปัญหา การศึกษาวิชาคณิตศาสตร์เป็นกระบวนการช่วยพัฒนาความคิดของ
ผู้เรียน ช่วยฝึกให้ ผู้เรียนคิดเป็นขั้นตอนอย่างละเอียดถี่ถ้วน ฝึกการใช้เหตุผลเพื่อประกอบการตัดสินใจส่งผลให้
กระบวนการคิด และปฏิบัติเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไข
เพิ่มเติม [ฉบับท่ี 2] 2545, 2545) คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนศาสตร์
อืน่ ๆ ที่เกยี่ วข้อง จงึ มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน (กรมวิชาการ,2544) คณิตศาสตร์
ชว่ ยพัฒนาใหแ้ ตล่ ะบุคคลเปน็ คนทีส่ มบรู ณ์ เปน็ พลเมืองดีชว่ ยเสรมิ สรา้ งความมีเหตผุ ลเปน็ คนชา่ งคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มี

123

ระบบระเบยี บในการคิด มีการวางแผนในการทางาน มคี วามสามารถในการ ตัดสนิ ใจ มคี วามรับผิดชอบต่อกิจการสอนท่ี
ได้รับมอบหมาย (สิริพร ทิพย์คง, 2545) จึงกล่าวได้ว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อการ
ดารงชีวติ ของมนุษย์ เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ (กรมวชิ าการ, 2533)

การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ครูควรคา นึงถึงความรู้พื้นฐานของ
นักเรียน ควรเลือกใช้รูปแบบของการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ส่วนในการจัดและการประเมินผล ควร
ประเมินอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมายในการ
เรยี นรู้ใชเ้ ครื่องมอื ทหี่ ลากหลาย เช่น การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์การทาโครงงาน การสร้างสรรค์ผลงานด้วย
การลงมือปฏิบัติจริง เป็นต้น เพ่ือพัฒนานักเรียนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มศักยภาพ (กรม
วชิ าการ, 2545)

ในสภาพปัจจุบันการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนยังไม่ประสบผลสา เร็จตามจุดประสงค์ของ
หลกั สตู ร ดงั จะเห็นได้จากรายงานผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดบั ชาติ O-NET, NT ปีทผ่ี า่ น ๆ มา ของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท 3 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉล่ียต่ากว่า
ระดับประเทศ รวมทั้งผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศึกษาในทุกระดับช้ันเรียนต่ารายวิชาอื่น ๆ สาเหตุท่ีทาให้ผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควรนั้น เน่ืองมาจากด้านหลักสูตรซ่ึงเน้ือหาวิชา
คณิตศาสตร์เปน็ นามธรรมเข้าใจยาก (วีระ แพงวงศ์, 2547) การจัดการเรียนการสอนเน้นเพียงเพื่อให้นักเรียนมีทักษะใน
การคิดคานวณเป็นหลัก เป็นการสอนท่ีพิจารณาตัวอย่าง อธิบายและให้ทาแบบฝึกหัด ครูจะเข้มงวดคาตอบเพียง
คาตอบเดียว ไม่เน้นกระบวนการคิด และความสามารถทางคณิตศาสตร์ เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา การคิด
อยา่ งมีเหตผุ ลและแสดงความคดิ ออกมาอยา่ งมรี ะบบ การการคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นต้น (สานักงานคณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแหง่ ชาติ, 2541) ครูควรจะตอ้ งออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้ เหมาะกับวัยของผู้เรียนและเนื้อหา
ซ่งึ จะต้องมีการใชส้ ือ่ การเรยี นรู้และวธิ ีการท่ีหลากหลาย ให้นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริงและสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วย
ตนเอง เนน้ นักเรียนเป็นสาคัญ (ชัยฤทธิ์, 2545)

การคิดทางคณิตศาสตร์ในประเทศไทย เป็นส่ิงที่ถูกเน้นในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2551 ซ่ึงใน
ช่วงแรกหลักสูตรการศึกษาของไทย ยังไม่สามารถท่ีจะนิยามการคิดทางคณิตศาสตร์ได้อย่างชัดเจน แนวคิดทั่วไปของ
การคิดทางคณิตศาสตร์ถูกเชื่อมโยงเข้ากับความสามารถในการคานวณ การคิดคานวณในใจ การท่องจา กฎ สูตร และ
ทฤษฎี (Loipha & Inprasitha,2006) จึงทาให้ครูคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นการเรียนรู้
เน้ือหาคณิตศาสตร์โดยการท่องจา กฎ สูตร หรือทฤษฎีเท่าน้ัน ซึ่งวัฒนธรรมการสอนแบบไทยดังกล่าว พบว่า บทบาท
ของครูท่ีแสดงออกมาในช้ันเรียนนั้นจะไปยับย้ังการแสดงออกเกี่ยวกับการคิดทางคณิตศาสตร์อย่างมีอิสระของผู้เรียน
เพราะวฒั นธรรมการสอนในปัจจุบนั ครูยงั คงใหค้ วามสาคญั กับการถ่ายทอดเนื้อหาจนลืมให้ความสาคัญกับแนวคิดที่เป็น
ของผู้เรียน ซึ่งแนวคิดของผู้เรียนเป็นตัวสะท้อนให้เห็นทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน แต่วัฒนธรรม
การสอนในลักษณะดังกล่าว ทาให้ครูไม่สามารถส่งเสริมแนวคิดของนักเรียนได้ตามศักยภาพของนักเรียน ท่ีมีอยู่
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2545 ) ส่งผลให้การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนไม่มี
ประสิทธิภาพเท่าท่ีควร แตกต่างจากการที่ผู้เรียนได้คิดแก้ปัญหาด้วยตนเองในแง่มุมที่ตนเองเข้าใจ ( ไมตรีอินทร์
ประสิทธ์ิและคณะ , 2544 ) ดังนั้นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างย่ิงท่ีจะช่วยให้นักเรียนแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
น่ันคือการเรียนรู้เก่ียวกับวิธีการหรือกระบวนการคิดของตนเองอย่างสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ความคิด
สรา้ งสรรค์ คอื กระบวนการคดิ ของสมองซ่งึ มีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถ
นาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้นและสร้างสิ่งท่ีแปลกใหม่
หรือรูปแบบความคิดใหม่ นอกจากลักษณะการคิดสร้างสรรค์ดังกล่าวน้ีแล้ว ยังสามารถมองความคิดสร้างสรรค์ในแง่ที่
เป็นกระบวนการคิดมากกว่าเนื้อหาการคิด โดยท่ีสามารถใช้ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในมิติที่กว้างขึ้น เช่นการมี

124

ความคิดสร้างสรรค์ในการทางาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ด้วย อย่าง เช่น การออกแบบ
การสร้างสูตรคณิตศาสตร์ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรอื การการออกแบบการคิดคานวน การผลิตเน้ือหาเพื่อสรุป
ความรู้ต่าง ๆ เพื่อการเรยี นการให้หลากหลายไมซ่ ้าแบบเดิม เปน็ ตน้ ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะการคิดสร้างสรรค์ใน
เชิงวิชาการ แต่อย่างไรก็ตาม ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ที่กล่าวน้ันต่างก็อยู่บนพ้ืนฐานของความคิดสร้างสรรค์
โดยที่บุคคลสามารถเชื่อมโยงนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ดี ซ่ึงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ได้กาหนดมาตรฐานตัวช้ีวัดด้านความคิดสร้างสรรค์ไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีไว้
หลายประการ ซึ่งความคดิ สร้างสรรค์

การที่คนเราจะมีความคิดสร้างสรรค์ ได้ตามลักษณะท่ีกล่าวมาน้ัน ขึ้นอยู่กับศักยภาพการทางาน และการ
พัฒนาของสมอง ซ่งึ สมองของคนเรามี 2 ซีก มีการทางานท่ีแตกต่างกัน สมองซีกซ้าย ทาหน้าท่ีในส่วนของการตัดสินใจ
การใช้เหตุผล สมองซีกขวา ทาหน้าที่ในส่วนของการสร้างสรรค์ แม้สมองจะทางานต่างกัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว
สมองทง้ั สองซกี จะทางานเชอ่ื มโยงไปพร้อมกัน ในแทบทุกกิจกรรมทางการคิด โดยการคิดสลับกันไปมา อย่างเช่น การ
อ่านหนังสอื สมองซกี ซ้ายจะทาความเข้าใจ ตวั เลข โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ ขณะเดยี วกนั สมองซีกขวาก็จะทา
ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับลลี าการดาเนนิ เรอ่ื ง อารมณ์ท่ซี อ่ นอยู่ในข้อเขียน ดังนั้น เราจึงจาเป็นต้องพัฒนาสมองทั้งสองซีกไป
พร้อม ๆ กัน ไม่สามารถแยกพัฒนาในแต่ละด้านได้ การค้นพบหน้าท่ีแตกต่างกันของสมองท้ังสองส่วน ช่วยให้สามารถ
ใช้ประโยชนจ์ ากไดม้ ากขึ้น

ในการพัฒนาสมองของผู้เรียน ให้ใช้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ผ่านการจัดการเรียนการสอนน้ัน ควรจัดอย่าง
สมดุล ให้มีการพัฒนาสมองท้ังสองซีกไปด้วยกัน ในเวลาเดียวกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสมดุลในการคิด และคิดได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เอนเอียงไปในหลักการเหตุผล มากเสียจนติดอยู่ในกรอบ ของความคิดแบบเดิม และไม่ใช่การ
คิดด้วยการใช้จินตนาการเพ้อฝันมากเกินไป จนไม่มีความสัมพันธ์กัน ระหว่างความฝัน กับความสมเหตุสมผล ซึ่งจะทา
ให้ไม่สมารถนามาปฏบิ ตั ิให้เป็นจรงิ ได้ ฉะนนั้ จะเหน็ ได้ว่า การคิดสร้างสรรค์ จึงพ่ึงพาทงั้ สมองซกี ซ้าย และขวาควบคู่กัน
ไป ซ่ึงมีผลต่อการพัฒนาการสอนคณิตศาสตร์และพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียน โดยเน้น
กระบวนการแก้ปัญหาท่ีมีลักษณะเป็นปัญหาปลายเปิด เป็นส่ือในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และทักษะการคิดของ
ผเู้ รยี น เปา้ หมายของการสอนด้วยวิธีการสอนแบบคิดสร้างสรรค์ คือ มุ่งให้ผู้เรียนทุกคนเรียนคณิตศาสตร์ด้วยพลังและ
ความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาหรือสร้างและพัฒนาผลงานทางคณิตศาสตร์ และ
กระบวนการเรียนของตนเองอย่างมีคุณภาพ ครูจึงจาเป็นท่ีจะต้องพยายามทาความเข้าใจแนวคิดของผู้เรียนให้มาก
ท่ีสุดเท่าท่ีจะมากได้ เพ่ือเป็นแนวทางให้ครูได้กระตุ้น สนับสนุน และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนพัฒนาการ
เรยี นรู้ของผเู้ รียนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ ดงั นนั้ เพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ในลักษณะดังกล่าวจึงจาเป็นต้อง
อาศัยแนวคิดเรื่องการปรับปรุงและพัฒนาการสอนคณิตศาสตร์เพื่อนาความาคิดสร้าสรรค์ที่ได้นาพาในการส่งเสริมการ
เรยี นการสอนคณิตศาสตร์ในรปู แบบทหี่ ลากลายมากยง่ิ ขน้ึ

ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2
จึงจัดทาโครงการคณิตศาสตร์สร้างสรรค์ ตามมาตรฐานตัวช้ีวัดเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนกลุ่มสาระการ
เรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ให้สงู ขึ้นตอ่ ไป

2.2 วตั ถปุ ระสงค์
2.2.1 เพ่อื สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ รูผสู้ อนคณิตศำสตรไ์ ดพ้ ฒั นำศกั ยภำพทำงวชิ ำกำร รวมทงั้ แลกเปลย่ี นแนวคดิ

ประสบกำรณส์ กู่ ำรพฒั นำสคู่ รูมอื อำชีพ

2.2.2 เปิดโอกำสใหค้ รูนำเทคนคิ และวธิ ีกำรสอนใหม่ ๆ พฒั นำตนเองและผเู้ รยี น

125

2.2.3 เพ่อื พฒั นำจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนในชนั้ เรยี นของครูอยำ่ งหลำกหลำยสอดคลอ้ งกบั ทกั ษะกำรเรยี นรูใ้ น

ศตวรรษท่ี 21 และสถำนกำรณก์ ำรแพรเ่ ชือ้ ของโรคไวรสั ดโคโรนำ 2019 (โควดิ -19)

2.2.4 เพ่อื พฒั นำผเู้ รยี นใหเ้ กิดทกั ษะกำรคดิ วิเครำะหแ์ ละคดิ สงั เครำะหแ์ ละคดิ สรำ้ งสรรคด์ ำ้ นคณิตศำสตร์

2.2.5 เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมสี มรรถนะทีจ่ ำเป็นดำ้ นคณิตศำสตรต์ ำมทส่ี ถำนศกึ ษำกำหนด

2.3 เปา้ หมาย
1. ครผู ูส้ อนคณติ ศาสตร์ทกุ คนได้รับการพัฒนาศกั ยภาพทหี่ ลากหลาย ตามความต้องการและได้รับการ

นิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรยี น
2. ครูผู้สอนทุกระดับช้ันจานวน 117 โรงเรียน ได้รับการพัฒนากระบวนการสอนคณิตศาสตร์อย่าง

หลากหลายและได้รบั การพัฒนาสรา้ งสรรคส์ ่ือทามือ
3. ครผู ้สู อนคณิตศาสตรข์ องโรงเรยี นในสงั กัดได้รบั การพฒั นาให้สามารถใชท้ ักษะการสอน

คณติ ศาสตร์อย่างหลากหลายและมคี ุณภาพสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และสถานการณ์การแพร่
เชอ้ื ของโรคไวรสั ดโคโรนา 2019 (โควิด -19)

4. ผู้เรียนจาก 117 โรงเรยี นร่วมนาเสนอผลงานกจิ กรรมสร้างสรรค์คณิตศาสตร์
5. ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะด้านคณิตศาสตรต์ ามท่ีกาหนดในหลักสูตร
6. โรงเรียนในเขตพ้ืนที่การศกึ ษามผี ลการสอบระดบั ชาติ O-NET ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 และ
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรส์ ูงข้นึ จากปีการศกึ ษาท่ผี า่ นมา

2.4 ผลผลติ ผลลพั ธ์ และดัชนีช้วี ดั ความสาเร็จ
2.4.1 ผลผลติ (Output)
1) ครผู ู้สอนคณิตศาสตร์ทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพที่หลากหลาย ตามความต้องการ

และได้รับการนิเทศตดิ ตามการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในช้นั เรยี น
2) ครผู ้สู อนทุกระดับชัน้ จานวน 117 โรงเรียน ไดร้ ับการพัฒนากระบวนการสอน

คณติ ศาสตร์อย่างหลากหลาย
3) ผเู้ รยี นจาก 117 โรงเรยี นรว่ มนาเสนอผลงานกิจกรรมสรา้ งสรรคค์ ณิตศาสตร์

2.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1) ครูผู้สอนคณติ ศาสตรข์ องโรงเรยี นในสังกัดได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้ทกั ษะการสอน

คณิตศาสตร์อย่างหลากหลายและมีคุณภาพ
2) ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะดา้ นคณิตศาสตรต์ ามที่กาหนดในหลักสตู ร
3) โรงเรียนในเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามีผลการสอบระดับชาติ O-NET ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

และมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรส์ ูงข้ึนจากปกี ารศึกษา 2563
2.5 ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ (KPIs)

2.5.1 เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนคณิตศาสตรท์ ุกคนไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพท่ีหลากหลาย ตามความต้องการ

และไดร้ บั การนเิ ทศตดิ ตามการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน
2) ครผู ้สู อนทุกระดบั ชั้นจานวน 117 โรงเรียน ได้รบั การพัฒนากระบวนการสอน

คณติ ศาสตร์อย่างหลากหลายสอดคล้องกบั ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 และสถานการณ์การแพรเ่ ชื้อ
ของโรคไวรสั ดโคโรนา 2019 (โควดิ -19)

126

3) ผ้เู รยี นจาก 117 โรงเรียนร่วมนาเสนอผลงานกจิ กรรมสรา้ งสรรคค์ ณติ ศาสตร์

2.5.2 เชิงคุณภาพ

1) โรงเรยี นทุกโรงในเขตพน้ื ที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

สงู ขึ้นจากปกี ารศกึ ษา 2563

2) โรงเรยี นทุกโรงในเขตพืน้ ที่ไดร้ บั การนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรยี นรู้

3) นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถด้านคณิตศาสตร์

2.6 ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั

1. ครูผู้สอนและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทกุ โรงเรียนมีความรู้ และมีทักษะทางคณิตศาสตร์สู่

หอ้ งเรยี นแหง่ การเรียนรทู้ ส่ี ร้างสรรค์

2. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 มีครูและนักเรียนท่ีผ่านการจัดกิจกรรม

เพื่อการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี

3. โรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนตามเกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอก

ของสถานศกึ ษาอยรู่ ะดับดีขนึ้ ไป และมีพัฒนาการดขี ึ้น

4. ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในเขตพ้ืนที่ได้รับการ พัฒนาให้สามารถใช้

กระบวนการและทกั ษะทางคณติ ศาสตร์มีคุณภาพสงู ขึน้

2.7 กลุ่มเปา้ หมายผไู้ ด้รับผลประโยชน์

2.7.1 .ครูผ้สู อนคณิตศาสตร์

2.7.2 ผบู้ ริหารโรงเรียน 117 โรงเรยี น

2.7.3 นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี - มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา

นราธวิ าสเขต 2

2.8 ระยะเวลาดาเนินโครงการ มกราคม – กันยายน 2565

2.9 แผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ

วงเงินงบประมาณท่ดี าเนนิ การ ………65,000….บาท

แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
(กิจกรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี รวม
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565

1. ส่งเสริมกระบวนการจดั การเรยี นรู้ 4,500 4,500
พัฒนาครผู สู้ อนคณติ ศาสตร์ตาม 5,250 5,250
สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 10,800 10,800
ครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษา
ปีท่ี 1 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จานวน702 คน
จานวน 3 วนั วิทยากร 14 คน
ศึกษานิเทศก์ 11 คน รวม 743 คน
- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 25 คน
30X25X6
- คา่ อาหารกลางวนั 25 คน 70X25X3
- ค่าวทิ ยากร 18ชว่ั โมง ๆละ 600 บาท

127

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ
(กิจกรรม)
ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ รวม
รวมกิจกรรมท่ี 1 1/2564 2/2565 3/2565 4/2565 20,550
2. การสรา้ งสื่อการสอนคณิตศาสตร์ สื่อ
ทามอื แก่ครผู ู้สอนคณิตศาสตร1์ 17 คน - 20,550 - - 16,200
วทิ ยากร 7 คน ศึกษานเิ ทศก์ 11 คน 18,900
รวม 135 คน 16,200 - 7,200
- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื 18,900 2,150
30X135X4 7,200 44,450
- ค่าอาหารกลางวัน 70X135X2 2,150
- คา่ วิทยากร 12 ชวั่ โมงๆ ละ 600 บาท -
-ค่ากระดาษ และหมกึ ปริ้น - 44,450 -
รวมกิจกรรมที่ 2 5,000
3. การนาขอ้ สอบจากคลงั ข้อสอบไปใชส้ ู่ -- - - 5,000
ชัน้ เรยี นใหเ้ กดิ คณุ ภาพใหแ้ ก่ครุผสู้ อน 70,000
คณิตศาสตร์ 117 โรงเรยี น (ตามความ -- 5,000 -
สนใจ) ไมม่ ีงบประมาณในการ
ดาเนินการพฒั นา -- 5,000 -
รวมกจิ กรรมท่ี 3
4.การประกวดส่ือการสอนคณิตศาสตร์ - 70,000 - -
ช่วงสถานการณ์ COVIC -19
โลร่ างวัล5 รางวัล รางวลั ละ 1,000
บาท
รวมกจิ กรรมที่ 4
รวม

128

โครงการ สง่ เสริม สนับสนนุ การพัฒนาดิจิทลั แพลตฟอร์มสาหรบั การเรยี นรู้ ด้วยเทคโนโลยี

แผนงาน พ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและส่งเสรมิ ศกั ยภาพมนุษย์

นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 3 พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพใหม้ คี วามก้าวหน้าและพฒั นาศักยภาพและคุณภาพผ้บู รหิ าร ครู

และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ

เป้าประสงค์รวม 3 การสง่ เสริมศักยภาพผู้เรยี น ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งย่งั ยืน

4 ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มีความร้แู ละ

จรรยาบรรณตามมาตรฐาน วชิ าชพี

ผู้ติดตอ่ ประสานงาน (contact person)

ชอ่ื – นามสกลุ นางพาขวัญ จนั ทรแ์ ก้วแร่ โทรศัพท์ 089-1455663

โทรสาร................................................................................. E-mail pakwan.j@ obec.moe.go.th

สว่ นท่ี 1 ความเชอ่ื มโยง ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับท่ี 1)
1) ยุทธศาสตรช์ าติ ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

(1) เปา้ หมาย
1.1 คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพพร้อมสาหรบั วิถชี ีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
1.2 สงั คมไทยมีสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อและสนับสนุนตอ่ การพัฒนาคนตลอดชว่ งชีวติ

(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
2.1 การปรบั เปลย่ี นค่านิยมและวฒั นธรรม
2.2 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต
2.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

2.4 การสรา้ งสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
2.5 การตระหนักถึงพหุปญั ญาของมนุษย์ท่หี ลากหลาย

1.2 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
แผนย่อย12.1 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูท้ ตี่ อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21
เป้าหมายแผนย่อย คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเรยี นร้แู ละ

ทกั ษะที่จาเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ ดีขึ้น
องคป์ ระกอบของแผน ผสู้ อน (ครู/อาจารย)์
ปัจจยั ผ้สู อนยคุ ใหมท่ ่ีมีทักษะการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ท่ีตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ

ของประเทศ
แนวทางการพัฒนาภายใตแ้ ผนย่อย เปลย่ี นโฉมบทบทครู ให้เปน็ ครูยคุ ใหม่

เป้าหมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ คนไทยได้รบั การศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มี
ทักษะการเรยี นรู้ และทักษะท่ีจาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ ดีขน้ึ

3. เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ

129

คนไทยมีการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพตามาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ มีทักษะทีจ่ าเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถ
ในการแก้ปญั หา ปรับตวั สอื่ สาร และทางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลเพ่ิมขนึ้

ความสอดคล้องกบั นโยบาย
1. มงุ่ เน้นการพัฒนาโรงเรยี นควบคู่กับการพัฒนาครู
2. พัฒนาแฟลตฟอร์มการเรียนรู้ผา่ นระบบดิจิทลั

สว่ นที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ
2.1 หลกั การและเหตุผล
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศนโยบายและจดุ เน้น โดยให้ความสาคัญกับประเดน็

คณุ ภาพในทกุ มติ ิ ทัง้ ผเู้ รยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงการสรา้ งสงั คมคุณภาพดว้ ยเทคโนโลยี คือการพฒั นา
ประเทศที่ประชาชนทุกกล่มุ อาชีพสามารถเขา้ ถึงและใชป้ ระโยชน์จากบริการต่างๆผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทัล โดยมีการ
รวบรวมและแปลงข้อมลู องค์ความรู้ตา่ งๆให้อย่ใู นรูปแบบดิจิทัลที่ทกุ คนสามารถเข้าถึงและนาไปใช้ประโยชน์ได้โดยงา่ ย
และสะดวก โดยทุกคนมีความร้เู ท่าทันข้อมลู ข่าวสาร และมีทักษะในการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลอยา่ งมีความ
รับผิดชอบต่อสังคม สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ได้เห็นถึงความสาคัญดังกล่าวจึงมี
แนวคิดทจ่ี ะส่งเสริม สนบั สนุน การพฒั นาดิจทิ ัลแฟลตฟอรม์ สาหรับการเรียนรดู้ ว้ ยเทคโนโลยี โดยสร้างองค์ความร้ใู น
ระดับสถานศึกษา ตลอดจนพัฒนาเพอื่ ใหเ้ กดิ การบริการ Digital Textbook ตามเนอื้ หาหลักสตู รท่กี าหนดและสง่ เสริม
การผลิตส่อื คลังสอื่ สาระออนไลน์ เพื่อการศึกษาเรยี นรู้ รวมถึงการพฒั นาครผู สู้ อนใหม้ ีทักษะด้านการผลิตสื่อออนไลน์
เพ่ือให้เกดิ การต่อยอดการผลิตส่ือการเรยี นรู้ทั้งในระบบ และนอกระบบการศึกษาและขับเคลอ่ื นการนาแฟตฟอร์มเพื่อ
การศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ เลศิ ที่พฒั นาโดยกระทรวงศึกษาธิการ ใหโ้ รงเรยี นในสงั กัดใชจ้ ัดการเรยี นการสอนให้เกดิ สงู สดุ ต่อ
ผเู้ รียน

2.2 วัตถุประสงค์
1.เพ่ือส่งเสริมการสอนพัฒนาดจิ ทิ ลั แฟลตฟอร์มสาหรับรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ความสามารถใน

ระดบั สถานศึกษา
2. เพ่ือสง่ เสรมิ ผลิตสือ่ และคลงั ส่ือสาระออนไลน์ content obec center เพื่อการศกึ ษาเรยี นรู้ ใน

ระดับโรงเรียนและระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
3. เพ่ือพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถนาดิจิทัลแฟลตฟอรม์ มาใช้ในการ

จัดการเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการ
4. เพ่อื ขับเคลือ่ นการนาแฟลตฟอรม์ ดา้ นการศึกษาเพื่อความเปน็ เลิศ Digital Education

Excellence
2.3 เป้าหมายเชิงผลผลิต
1. สร้างองค์ความร้ใู นการพัฒนาดิจิทัลแฟลตฟอร์มสาหรับรวบรวมขอ้ มลู องค์ความรูค้ วามสามารถ

ให้กับโรงเรยี นในสังกัด ทุกโรงเรียน
2. ส่งเสริมให้ครู/โรงเรียนผลิตส่ือและคลังสื่อออนไลน์ content obec center เพื่อการศึกษาเรียนรู้

ทุกโรงเรียน
3. ครนู ักเรียนในสังกัดทุกคนใช้แฟลตฟอร์มดา้ นการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ Digital Education

Excellence platform เป็นแฟลตฟอรใ์ นการจดั การเรยี นการสอน

2.4 เป้าหมายเชงิ ผลลัพธ์

130

1. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถนาดิจิทลั แฟลตฟอร์มมาใชใ้ นการจัดการเรยี น
การสอนและบริหารจัดการได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประโยชนต์ ่อผูเ้ รียน

2. สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 มคี ลังสอ่ื ออนไลน์ content obec
center ท่พี ฒั นาการสือ่ โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร ขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา อยา่ งถูกต้องและมี
ประสทิ ธิภาพ

3. ครู นักเรียนในสังกดั ทุกคนใช้แฟลตฟอร์มดา้ นการศึกษาเพ่ือความเปน็ เลศิ Digital Education
Excellence Platform เป็นแฟลตฟอร์มในการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

2.5 ดชั นชี วี้ ัดความสาเร็จ
เชงิ ปริมาณ

1. ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา นาดิจิทลั แฟลตฟอร์มมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและ
บรหิ ารจัดการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประโยชน์ต่อผู้เรียน

2. คร/ู โรงเรยี น ผลติ สอ่ื และคลงั สือ่ สาระออนไลน์ content obec center เพ่อื การศกึ ษาเรียนรู้ทกุ
โรงเรียน

3. โรงเรยี นในสงั กดั ทกุ คนใชแ้ ฟลตฟอรม์ ด้านการศึกษาเพอ่ื ความเป็นเลิศ Digital Education
Excellence Platform เป็นแฟลตฟอร์มในการจดั การเรยี นการสอน

เชงิ คุณภาพ
1. ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหส้ ามารถนาดิจิทลั แพลตฟอร์มมาใช้ในการจัดการเรยี น
การสอนและบรหิ ารจดั การได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี น
2. สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามีคลงั ส่อื สาระออนไลน์(แหล่งเรยี นรู้ออนไลน)์ ที่พัฒนาสือ่ โดย
ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งถกู ต้อง มลี ิขสทิ ธิ์ และมปี ระสทิ ธิภาพ
3. ครู นกั เรยี นในสังกัดทุกคนใช้แพลตฟอร์มด้านการศกึ ษาเพื่อความเป็นเลิศ Digital Education
Excellence Platform เปน็ แพลตฟอร์มในการจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

2.6 กลมุ่ เป้หมาย/ผู้ทไ่ี ดร้ ับประโยชน์
1. ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนในสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 จานวน 154 คน

2.7 พ้นื ท่ีดาเนินการ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 อาเภอ สุไหงโกลก

2.8 กจิ กรรม / วธิ กี ารดาเนินงาน

ท่ี กิจกรรม/วิธีการดาเนนิ งาน ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ
ดาเนนิ งาน
1. แตง่ ต้ัง และประชมุ คณะทางาน สร้างความ น.ส. พาขวญั จันทรแ์ ก้ว
ตระหนัก และกาหนดรูปแบบแนวทางในการ ธันวาคม แร่
พัฒนาดิจทิ ัล แพลตฟอร์มในระดบั สถานศกึ ษา 2564

2. อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการรการพฒั นาส่อื การเรยี นการ มกราคม
สอน และการนาสือ่ ไปใช้ในการจดั การเรียนการ 2565
สอน ใน รูปแบบดิจทิ ลั

131

3. นิเทศ ตดิ ตาม ผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการ มกราคม
ศกึ ษา ในการนาดิจิทลั แพลตฟอรม์ มาใช้ในการ กนั ยายน
จัดการเรยี นการสอนและการบริหารจัดการ 2565

2.9 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ
จากแผนการปฏบิ ัติงานและแผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณวงเงินงบประมาณทด่ี าเนินการ
40,280 บาท (ถ่วั จ่ายทกุ รายการ)

แผนการปฏิบัติงาน แผนการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ 30,800
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
1. 1.แตง่ ต้ังกรรมการ และประชมุ
คณะทางาน สร้างความตระหนกั และกาหนด -
รปู แบบแนวทางในการพัฒนาดิจิทัล
แพลตฟอรม์ ในระดบั สถานศึกษา 540
คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม 1,260
30x1x18
ค่าอาหารกลางวัน 4,620
70x1x18 10,780
2. 2.อบรมเชงิ ปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการ
เรียนการสอน และการนาสื่อไปใชใ้ นการ
จัดการเรยี นการสอน ใน รูปแบบดจิ ทิ ลั
รุ่นที่ 1
คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม
มื้อละ30 บาท 2 มอ้ื 77 คน
(30x2x77)
ค่าอาหารกลางวนั
มอื้ ละ70 บาท 2 มื้อ 77 คน

รุน่ ที่ 2 4,620
คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 10,780
มือ้ ละ30 บาท 2 มื้อ 77 คน
(30x2x77)
คา่ อาหารกลางวัน
มือ้ ละ70 บาท 2 ม้ือ 77 คน

132

แผนการปฏบิ ัติงาน แผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
(กจิ กรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ 4,680
1/2564 2/2565 3/2565 4/2565
3. เอกสารประกอบการอบรม สี 117 x 40 3,000
4,680
4.นิเทศ ติดตาม ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากร 40,280
ทางการ ศึกษา ในการนาดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ 3,000
มาใช้ในการ จดั การเรียนการสอนและการ
บริหารจดั การ 37,280 3,000
5.จัดทาเครอ่ื งมือการประเมินและคดั เลือกฯ
ดาเนนิ การคดั เลือก best ในการขับเคล่ือน
การนาแพลตฟอรม์ การจดั การเรยี นการสอน
- สรปุ ผลการคดั เลือก ประกาศผลการ
คดั เลือกสถานศึกษา มอบโล่เกียรติคุณและ
เกยี รติบตั ร

รวม

3. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
3.1 ผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา นาดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์มมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน และการ

บริหารจัดการ ได้อยา่ งอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน
3.2 ครู/โรงเรียน ผลิตสือ่ และมคี ลงั ส่ือสาระออนไลน์ เพื่อการศกึ ษาเรียนรู้
3.3 โรงเรยี นในสงั กัดทุกโรงเรียนมีรูปแบบ ดิจทิ ลั แพลตฟอรม์ นามาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน และการ

บรหิ ารจดั การโดยที่จดั เวทีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนเกดิ วิธีปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ
3.4 โรงเรียนในสังกดั ทกุ โรงเรียนใชแ้ พลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเปน็ เลศิ Digital Education

Excellence Platform เปน็ แพลตฟอรม์ ในการจัดการเรยี นการสอน

133

โครงการ “การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาเรียนรวม”

แผนงานโครงการ พ้ืนฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้าง ศักยภาพคน ผลผลิต : เด็กพิการไดร้ ับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
และการพฒั นาสมรรถภาพ กิจกรรมยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ
หน่วยงานรบั ผิดชอบ กองสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2 สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ผู้ติดตอ่ ประสานงาน (contact person)
ชอ่ื – นามสกลุ นางรดา ธรรมพนู พสิ ยั โทรศัพท์ 089-9751144
โทรสาร.073-530790 E-mail [email protected]
นโยบายของ สพป.นธ.2

ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาภาคบงั คับ
เป้าประสงค์รวมที่ 5 ประชากรวยั เรียนในเขตบริการทกุ คนได้รบั การศกึ ษาอย่างทั่วถึงและเหมาะสมจนจบ
หลกั สตู รตามเวลาทกี่ าหนด

ส่วนที่ 1 ความเชอ่ื มโยง ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมติคณะรฐั มนตรี
เม่ือวนั ที่ 4 ธันวาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดบั ท่ี 1)
1) ยุทธศาสตร์ ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพมนษุ ย์
(1) เปา้ หมาย สงั คมไทยมสี ภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพฒั นาคนตลอดช่วงชีวิต
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ การปฏริ ปู การเรยี นรู้แบบพลิกโฉม
- การเพ่ิมประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศึกษาในทุกระดบั ทุกประเภท
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาและพฒั นาคุณภาพ การศึกษา

แกส่ ถานศึกษาในสงั กดั เพอ่ื ใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษาในสงั กัด สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ
ระบบบรหิ ารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท

2) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคณุ ภาพเพิ่มขน้ึ ได้รับการพัฒนาอยา่ งสมดลุ ทั้งด้าน ร่างกาย

สตปิ ญั ญาและคุณธรรม จริยธรรม เป็นผูท้ ี่มีความร้แู ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการเรียนรอู้ ยา่ ง ต่อเน่ืองตลอดชีวติ
แผนย่อย แผนย่อยการพัฒนาช่วงวัยเรยี น วยั รนุ่
เป้าหมายแผนยอ่ ย วัยเรยี น วยั ร่นุ มีความรแู้ ละทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จกั คิดวเิ คราะห์

รักการเรียนรู้ มสี านกึ พลเมือง มีความกลา้ หาญทางจรยิ ธรรม มคี วามสามารถในการปรบั ตัว การสอ่ื สาร และทางาน
ร่วมกับผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธผิ ล ตลอดชีวิตดขี นึ้

องค์ประกอบของแผน ผูถ้ ่ายทอดความรู้
ปัจจยั ความรู้ ความเขา้ ใจและเห็นคุณค่าความแตกต่างของแตล่ ะบคุ คล
แนวทางพัฒนาภายใตแ้ ผนย่อย จัดให้มีการพฒั นาทกั ษะทีส่ อดรบั กบั ทักษะในศตวรรษ ท่ี 21
โดยเฉพาะทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแกป้ ัญหาท่ีซบั ซ้อน ความคิดสร้างสรรคก์ าร
ทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืน

134

เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ คนไทยทุกช่วงวยั มีคณุ ภาพเพ่มิ ข้นึ ได้รับการ
พฒั นาอยา่ งสมดุล ทง้ั ด้านรา่ งกาย สตปิ ัญญาและคุณธรรม จริยธรรม เปน็ ผูท้ ี่มคี วามรแู้ ละทกั ษะในศตวรรษที่ 21
รกั การเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต

อธบิ ายความสอดคลอ้ งของโครงการกับยทุ ธศาสตรท์ ที่ ่านเลือก
การจดั การเรยี นรวม เป็นการจัดการศึกษาใหน้ ักเรียนทั่วไปและนักเรียนทม่ี ีความต้องการจาเป็น
พิเศษทางการศึกษาทุกคนได้รับสทิ ธแิ ละโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศึกษาอย่างท่วั ถึงและมีคณุ ภาพเท่าเทียมกบั
เด็กปกติทัว่ ไป ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาจึงต้องมีความรู้เร่อื งการคดั กรองเด็กพิการในวยั เรียน(เด็กทม่ี ีความต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ) เพื่อการคดั แยกเบ้ืองตน้ โดยไดร้ ับการนเิ ทศ ติดดามการดาเนินการจากสานกั งานเขตพื้นที่และเครอื ข่ายท่ี
เกี่ยวข้อง
อธิบายความสอดคล้องของโครงการกบั ยุทธศาสตรท์ ี่ทา่ นเลอื ก
เด็กพิการในวัยเรยี น วยั รุ่น รักการเรียนรู้ มีความสามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตัว การสือ่ สาร และ
ทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมปี ระสิทธผิ ล ตลอดชีวิตดขี ้นึ
1.2 แผนการปฏิรปู ประเทศ (แผนระดับท่ี 2)
1) แผนการปฏิรูปประเทศ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา
เปา้ หมายรวม ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา
เร่ืองและประเดน็ การปฏิรปู การจัดการศกึ ษาสาหรับบุคคลพกิ าร บุคคลท่ีต้องการดแู ลเป็นพิเศษ
ความสอดคล้องของโครงการกบั เป้าหมายของแผนย่อย เดก็ พิการในวยั เรียน วยั รุ่น รักการ
เรยี นรู้ มคี วามสามรถในการแก้ปญั หา ปรับตวั การส่ือสาร และทางานร่วมกับผอู้ นื่ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล ตลอดชีวติ ดีขึ้น

ส่วนที่ 2 รายละเอยี ดโครงการ

2.1 หลกั การและเหตุผล

การวัดและประเมินผลการเรียนรสู้ าหรับนกั เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ทางการ ศึกษา ต้อง
ดาเนนิ การให้สอดคลอ้ งกบั แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551ซ่งึ กาหนดใหผ้ ู้สอนจะต้องประเมนิ นกั เรียนใน 4 องค์ประกอบ ได้แก่การประเมินผล การเรียนร้ตู าม
กลุ่มสาระการเรียนรู้การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน และการ
ประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยกาหนดตวั ช้วี ดั ของมาตรฐานการเรียนร้ใู นแต่ละกล่มุ สาระการเรยี นรู้ไว้ ใหเ้ ปน็
เป้าหมาย เพื่อการจัดการเรยี นร้ซู ่งึ เป็นการกาหนดมาตรฐานสาหรับเดก็ ปกติทว่ั ไปยงั ไมเ่ หมาะกับนกั เรียนที่มคี วาม
ต้องการจาเปน็ พเิ ศษทางการศึกษาทเี่ รียนรวมอยู่ด้วย ปญั หาทพ่ี บไดแ้ ก่ความไมย่ ืดหยนุ่ ของมาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตวั ชีว้ ัด การจดั กิจกรรมการเรียนรู้การวดั และประเมินผล ยงั ไม่สอดคลอ้ งกับพัฒนาการและศักยภาพ ของนกั เรียนท่มี ี
ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษทางการศึกษา

เพ่อื ใหส้ ถานศึกษามีการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรยี นรสู้ าหรับนักเรียนที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ
ทางการศกึ ษา เป็นไปอยา่ งมีคุณภาพและประสิทธิภาพ มีผลการประเมินตรงตามสภาพความรคู้ วามสามารถที่แทจ้ ริง
ตามศักยภาพของนักเรยี นรายบคุ คล สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศกึ ษาจงึ ควรกาหนดหลกั การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
สาหรบั นักเรยี นท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษทางการศกึ ษา เพ่อื เป็นแนวทางในการตัดสินใจการวัดและประเมินผล การ
เรยี นรู้ทสี่ อดคล้องตามหลักสตู รสถานศึกษา ดงั น้ี 1. สถานศึกษาเป็นผูร้ ับผิดชอบการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ของนักเรียนทม่ี ีความต้องการจาเป็น พิเศษทางการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผูท้ ีเ่ ก่ียวข้องมสี ว่ นร่วม 2. การวัดและการ

135

ประเมนิ ผลการเรยี นร้สู าหรับนักเรยี นทีม่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษทางการศึกษา มีจุดมงุ่ หมายเพือ่ ประเมินระดับ
ความสามารถและความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ปรบั ปรุงพัฒนานักเรียน และตดั สิน ผลการเรยี น 3. การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรสู้ าหรบั นกั เรียนท่มี ีความต้องการจาเป็นพิเศษทางการศึกษา ควรอย่บู น พื้นฐานท่ีสอดคลอ้ งและ
ตอบสนองกับความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษทางการศึกษาของนกั เรยี น โดยใชแ้ ผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP)
เปน็ เครื่องมอื ในการดาเนินการ เชือ่ มโยงกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 รวมทง้ั ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนา
ผูเ้ รยี น 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการจดั การเรียนการสอนตอ้ งดาเนนิ การ ดว้ ย
วิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการจาเป็นพเิ ศษทางการศึกษาและศักยภาพของนักเรยี น โดย
การสง่ เสริมสนับสนนุ ให้สามารถเข้าถึงกจิ กรรมหรอื รปู แบบวิธีการวัดและประเมินผล มแี นวทาง ดังนี้ 4.1. การ
ชว่ ยเหลือและอานวยความสะดวกด้านการนาเสนอ เปน็ การชว่ ยเหลอื ให้นักเรยี นทมี่ คี วาม ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษทาง
การศึกษา ไดเ้ รียนร้เู น้ือหาและทกั ษะต่างๆ รวมทัง้ การวดั และประเมนิ ผลด้วยวิธกี ารทีเ่ หมาะสม กับสภาพปญั หาความ
พิการหรือบกพรอ่ ง 4.2. การช่วยเหลือและอานวยความสะดวกด้านการตอบสนอง เป็นการใหน้ ักเรียนทมี่ ีความต้องการ
จาเปน็ พิเศษทางการศึกษา ได้ตอบสนองหรือแสดงออกในรูปแบบวิธีการทเี่ หมาะสมกบั สภาพปญั หาความพกิ ารหรือ
บกพร่อง 4.3. การชว่ ยเหลือและอานวยความสะดวกดา้ นการจัดสภาพแวดล้อม เป็นการปรับสภาพแวดล้อม สถานท่ี
รวมท้ังรปู แบบของการสอบหรือการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายทเี่ หมาะสมกบั สภาพปัญหาความพิการหรอื

2.2 วตั ถปุ ระสงค์
2.2.1 เพือ่ จัดทาแนวทางการวัด ประเมนิ ผลการเรียนร้สู าหรับเดก็ ท่มี ีความต้องการพิเศษ
2.2.2 เพ่ือนิเทศ ติดตามการนาแนวทางการวัด ประเมินผลการเรียนร้สู าหรับเด็กทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษ ไปใช้
2.3 เปา้ หมาย
2.3.1 โรงเรียนจดั การเรยี นรวม จานวน 80 โรง
2.3.2 ครูผสู้ อน/ครวู ิชาการ/ บคุ ลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเรยี นรวม จานวน 20 คน
2.3.3 คณะทางาน / จานวน 5 คน
2.4 ผลผลิต ผลลัพธ์ และดัชนีชี้วดั ความสาเรจ็
2.4.1 ผลผลติ (Output)
4) โรงเรยี นจดั การเรียนรวม 80 โรง มแี นวทางการวดั และประเมนิ ผลเดก็ พิการ(เด็กที่มคี วามตอ้ งการ

พิเศษ)
5) โรงเรียนจดั การเรยี นรวมจานวน 80 โรงเรียน ได้รบั การนิเทศ ติดตามการจดั ทาและการนาแนว

ทางการวดั และประเมินผลเด็กพิการ(เด็กทมี่ ีความต้องการพเิ ศษ)
2.4.2 ผลลพั ธ์ (Outcome)
1. โรงเรียนที่จัดการเรียนรวมมีแนวทางการวัด ประเมินผลการเรียนรู้สาหรบั เด็กที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ
2. นักเรียนทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ได้รบั การวดั ประเมินผลการจดั การศึกษา บนพนื้ ฐานท่ีสอดคล้องและ
ตอบสนองกบั ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษทางการศึกษาของนกั เรียน โดยใชแ้ ผนการจัด การศกึ ษาเฉพาะ
บคุ คล (IEP) เปน็ เคร่ืองมือในการดาเนินการ

2.5 ดชั นีช้ีวัดความสาเรจ็ (KPIs)
2.5.1 เชิงปริมาณ
3) รอ้ ยละ80 ของโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาเรยี นรวม มแี นวทางการวดั ประเมินผลการเรียนรู้สาหรบั เด็ก

ทมี่ ีความต้องการพเิ ศษ

136

4) รอ้ ยละ80 ของครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนจัดการเรียนรวม มีแนวทางการวดั

ประเมนิ ผลการเรียนรูส้ าหรับเดก็ ทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ

2.5.2 เชิงคณุ ภาพ

ครู บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนจดั การเรียนรวม มี และใช้ แนวทางการวัด ประเมนิ ผลการเรยี นรู้

สาหรับเดก็ ทมี่ ีความต้องการพิเศษ บนพื้นฐานการกาหนดการเรียนรตู้ ามแผน IEP

2.6 ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ

2.6.1 ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี นจัดการเรียนรวม มแี นวทางการวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้

สาหรับเด็กท่มี ีความต้องการพิเศษ

2.6.2 นกั เรียนทีม่ คี วามต้องการพิเศษ ไดร้ ับการวดั ประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ว้ ยวิธีการทีเ่ หมาะสม ตามทีร่ ะบุ

ไวใ้ นแผน IEP

2.7 กลมุ่ เปา้ หมายผูร้ ับผลประโยชน์

2.7.1 โรงเรียนจดั การเรยี นรวม จานวน 80 โรง

2.7.2 นกั เรียนทม่ี คี วามต้องการพิเศษ จานวน 1,030 คน

2.8 ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ธันวาคม 2564 – กนั ยายน 2565

2.9 แผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ วงเงินงบประมาณท่ีดาเนินการ 17,250 บาท

แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ

แผนการปฏิบตั งิ าน (กิจกรรม) ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี รวม

1/2564 2/2564 3/2564 4/2564

1. เสนอโครงการเพอื่ ขออนมุ ัติ ธันวาคม - - - -

2. ประชมุ คณะทางาน เพื่อจัดทา

แนวทางการวดั ประเมนิ ผลการ

เรยี นรสู้ าหรบั เด็กทีม่ ีความตอ้ งการ

พิเศษ 1, 500 - - - 1, 500

- ค่าอาหารว่างและเครื่องด่มื 1, 750 - - - 1, 750
(25 คน×30 บาท×2 มื้อ)

- คา่ อาหารกลางวัน

(25 คน×70 บาท×1 ม้ือ)

3. ปฏิบตั ิการจัดทา แนวทางการ มกราคม

วดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้สาหรบั

เดก็ ทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ 6, 000 - 6, 000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องด่มื 7, 000 - 7, 000
(25 คน×30 บาท×8 ม้ือ) - -
- คา่ อาหารกลางวัน - -
(25 คน×70 บาท×4 มื้อ
-

137

แผนการปฏิบัติงาน (กจิ กรรม) แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ไตรมาสที่ รวม
ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี ไตรมาสท่ี 4/2564 17,250
4. นิเทศ ติดตาม การจดั ทาแนว 1/2564 2/2564 3/2564
ทางการวัด ประเมนิ ผลการเรียนรู้ -
สาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการพิเศษ มนี าคม
1,000
รวม
3,250 13,000 1,000
หมายเหตุ ขอถัวเฉลี่ยจา่ ยทุกรายการ

138

โครงการ การบรหิ ารจัดการกลุม่ นโยบายและแผน

แผนงาน แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

นโยบายสพป.นธ. 2กลยทุ ธ์ท่ี 6. การพฒั นาระบบบริหารจัดการเสริมสร้างการมีส่วนรว่ มและใช้เทคโนโลยใี น

การบริหารจดั การศกึ ษา

เป้าประสงคร์ วม ที่ 8 สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สถานศึกษา แลเครอื ข่ายบรหิ ารจัดการเชงิ บูรณาการ

จากภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ น ยึดหลกั ธรรมาภิบาล

นโยบาย สพฐ.

กลุ่มที่รับผิดชอบโครงการ กลมุ่ นโยบายและแผน

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 1. น.ส.อรสา อาลี

2. นางณฐั ชยา ทองรมย์

3. นางไอณี กาปงซัน

ลักษณะโครงการ ตอ่ เนือ่ ง

ระยะเวลาดาเนินการ มกราคม – มีนาคม 2564

สว่ นที่ 1 ความเช่ือมโยง ความสอดคลอ้ งกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมตคิ ณะรฐั มนตรี
เม่อื วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560

1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ 1)
1) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้าน...............................................(หลกั ).................................................
(1) เป้าหมาย......................................................................................................................
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์......................................................................................................
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ.......................................................................
(โปรดระบุว่าโครงการของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติได้
อย่างไรบา้ ง)
2) ยุทธศาสตรช์ าติ ด้าน...................................(รอง)................................................... (ถ้ามี)
(1) เป้าหมาย ....................................................................................................................
(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์.....................................................................................................
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ .....................................................................
............................................................................................................................. ......................
(โปรดระบุว่าโครงการของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติได้
อย่างไรบ้าง)

1.2 แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น .............................(หลกั )...............................
(1) เปา้ หมายระดบั ประเดน็ ของแผนแม่บทฯ

 เปา้ หมายท่.ี ..........................................................................................................

 การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนแม่บทฯ…………………………………...……………..………
............................................................................................................................

139

(โปรดระบวุ ่าโครงการของทา่ นสามารถส่งผลตอ่ การบรรลุเป้าหมายในระดับประเด็นของแผนแม่บท
ฯ ท่ีวัดผลสัมฤทธิ์โดยตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ในแต่ละเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้ามี) คิดเป็นสัดส่วนหรือ
ร้อยละเทา่ ไหรข่ องค่าเป้าหมายต่าง ๆ)

(2) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ ..........................................................................................

 แนวทางการพัฒนา ………………………………………………………………………..………..

 เปา้ หมายของแผนย่อย………………………………………………………………………………

 การบรรลุเปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ ……………………………….........

(โปรดระบุวา่ โครงการของท่านสามารถสง่ ผลต่อการบรรลเุ ป้าหมายในระดบั แผนยอ่ ยของแผนแม่บท
ฯ ท่ีวัดผลสัมฤทธ์ิโดยตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในแต่ละเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้ามี) คิดเป็นสัดส่วนหรือ
ร้อยละเทา่ ไหรข่ องคา่ เปา้ หมายต่าง ๆ)

2) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ .........................(รอง).......................... (ถ้าม)ี
(1) เปา้ หมายระดับประเดน็ ของแผนแม่บทฯ

 เป้าหมายท่.ี ..........................................................................................................

 เป้าหมายท่.ี ..............(กรณีท่แี ผนแมบ่ ทฯ มีมากกวา่ 1 เปา้ หมาย)......................

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ…………………………..………………………………
............................................................................................................................
............................................................................................................................. .........

(โปรดระบุวา่ โครงการของทา่ นสามารถส่งผลต่อการบรรลุเปา้ หมายในระดับประเดน็ ของแผนแม่บทฯ
ทวี่ ัดผลสมั ฤทธโ์ิ ดยตัวชวี้ ดั ท่ีกาหนดไวใ้ นแต่ละเปา้ หมายอย่างไร และ (ถ้ามี) คิดเป็นสัดส่วนหรือร้อย
ละเท่าไหร่ของคา่ เป้าหมายตา่ ง ๆ)

(2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ ..........................................................................................

 แนวทางการพัฒนา ………………………………..………………………..……………………...

 เป้าหมายของแผนย่อย………………………………………………………………………………

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ ……………………………………….

(โปรดระบวุ า่ โครงการของทา่ นสามารถส่งผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมายในระดับแผนย่อยของแผนแม่บท
ฯ ท่ีวัดผลสัมฤทธ์ิโดยตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในแต่ละเป้าหมายอย่างไร และ (ถ้ามี) คิดเป็นสัดส่วนหรือ
ร้อยละเท่าไหรข่ องค่าเปา้ หมายตา่ ง ๆ)

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 ประเด็นแผนแม่บทฯ/แผนย่อยของแผนแม่บทฯ
/เป้าหมาย

1.3 แผนการปฏิรูปประเทศ (แผนระดบั ท่ี 2)
1) เรอ่ื ง/ประเด็นการปฏิรูป………………………………………………………………….……..…………………

2) ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน…………………………………………………………………………………..…………
………………………………………………..…………………………………………………………….……….…………
3) กจิ กรรม………………………………………………………………………….……………………………………..
………………………………………………..…………………………………………………………….……….…………
4) เป้าหมายกจิ กรรม……………………………………………………………………………………………..…….
………………………………………………..…………………………………………………………….……….…………
1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12
1) วัตถุประสงคท์ ่ี ....................................................................................................................

140

2) เป้าหมายรวมที่ ...................................................................................................................
3) ยทุ ธศาสตร์ท่ี ..............................................(หลัก)...............................................................

(3.1) เปา้ หมายระดับยุทธศาสตร์ท่ี .....................................................................................
(3.2) แนวทางการพฒั นาที่ ..................................................................................................
(3.3) แนวทางการพัฒนาที่ ..................................................................................................
(3.X) แนวทางการพัฒนาที่ .................................................................................................
X) ยุทธศาสตรท์ ่.ี ............................................ (รอง).................................................................
(X.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ที่......................................................................................
(X.2) แนวทางการพฒั นาที่..................................................................................................
(X.X) แนวทางการพฒั นาที่..................................................................................................

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 วัตถุประสงค์/เป้าหมายรวม/ยุทธศาสตร์การพัฒนา/เป้าหมายระดับ
ยุทธศาสตร์/แนวทางการพัฒนา

1.5 นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าด้วยความมนั่ คงแหง่ ชาติ
1) นโยบายความมัน่ คงแหง่ ชาตทิ ี่ .............................................................................................
2) แผนระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยความม่นั คงแห่งชาติ รองรบั นโยบายท่ี ..............................................
………………………………………………………………………………………………………..…………………….....
3) เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์…………………………………………………..………………………………………
4) ตัวชี้วดั …………………………………………………………………...……………………………..……………….
5) กลยทุ ธ์………………………………………………………………………………………………..………………….

หมายเหตุ : สามารถสอดคล้องได้มากกว่า 1 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ/แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ/
เป้าหมาย/กลยทุ ธ์

1.6 แผนระดับที่ 3 (ระบุช่อื )
1)............................................................................................................................... ..............
2)..............................................……………………………………………………………………………………..
3)..............................................……………………………………………………………………………………..

141

ส่วนท่ี 2 รายละเอยี ดโครงการ
1. หลกั การและเหตผุ ล
รัฐบาลได้มีการจัดทายุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ทใ่ี ช้กาหนดกรอบและแนวทางการพฒั นาให้หนว่ ยงานของรัฐ

ทกุ ภาคส่วนตอ้ งทาตาม เพื่อใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั น์ ประเทศไทยมคี วามม่ันคง มัง่ คง่ั ยง่ั ยนื เป็นประเทศท่พี ฒั นาแลว้ ด้วย
การพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื ตามคติพจน์ "มัน่ คง มัง่ คัง่ ยั่งยืน" โดยมรี ะยะเวลาบังคบั นานถึง
20 ปี ต้งั แตป่ ี 2560-2579 ตามมาตรา 65 รฐั พึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเปา้ หมายการพัฒนาประเทศอย่างยงั่ ยนื
ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพื่อใช้เปน็ กรอบในการจดั ทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการรว่ มกนั เพ่ือใหเ้ กดิ เปน็ พลัง
ผลักดนั ไปสู่เปา้ หมายและยังได้กาหนดแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การพฒั นาการเรยี นรู้ ซง้ึ ได้กาหนด
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ทีเ่ นน้ ทง้ั การแก้ไขปญั หาในปัจจุบัน และการเสรมิ สรา้ ง ยกระดบั การพฒั นาการศึกษาและการ
เรยี นร้ทู ั้ง การศึกษาในระบบ นอกระบบ และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรทู้ ่ตี อบสนองต่อการ
เปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้
มีสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ทาหนา้ ที่บริหารจดั การศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษาและพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ าร
ราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 ได้กาหนดให้สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามอี านาจหนา้ ทีใ่ นการบริหารและ
การจดั การศึกษาและพัฒนาสาระของหลกั สูตรการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การพัฒนางานดา้ นวชิ าการและจัดใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาร่วมกับสถานศึกษา รับผดิ ชอบในการพจิ ารณาแบ่งสว่ นราชการภายในสถานศกึ ษาของสถานศึกษาและ
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาและปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อ่ืนตามท่กี ฎหมายกาหนด ต้งั แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นตน้ มา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานซึง่ เป็น องค์กรหลักในการจดั ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาขัน้
พนื้ ฐาน ไดด้ าเนินการตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา
เพ่ือให้สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ทาหนา้ ที่กากับ ประสาน และสง่ เสรมิ การจดั การศึกษา และให้สถานศึกษาขนั้
พื้นฐานเปน็ หน่วยปฏบิ ัตกิ ารในการจดั การศกึ ษาให้มีประสิทธภิ าพสอดคล้องกับนโยบายของ สพฐ. และเพ่ือนาข้อมลู มา
ใช้ในการวางแผนการบรหิ ารจัดการ และปรับปรุงนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานให้เหมาะสม
ยิ่งขึ้น ทง้ั น้ี สพฐ. ดาเนินงานตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการดาเนนิ การขบั เคลือ่ นนโยบายตามกลยทุ ธ์ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปน็ ประจาทกุ ปี โดยดาเนนิ การตดิ ตามกลยทุ ธ์ตามเป้าหมายของ สพฐ. ท่ไี ดว้ างไว้
ทั้งนี้ สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ยังตอ้ งรายงานผลการดาเนินงานตอ่ ผตู้ รวจราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการและผูต้ รวจราชการสานกั นายกรัฐมนตรี สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ผู้ตรวจ
ราชการ และเผยแพร่ต่อสาธารณชนให้รบั ทราบถึงผลการดาเนินงานและเพื่อใหส้ านักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 นาผลการดาเนนิ งานไปปรบั ปรงุ แผนกลยทุ ธแ์ ละพฒั นาแผนการดาเนนิ งานในปตี ่อไป

ด้วยเหตผุ ลดังท่ีกลา่ วมาข้างต้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จึงได้จดั ทา
โครงการรายงานผลการดาเนินงานจดั การศึกษาปีงบประมาณ 2564 ขึ้นเพ่ือเตรยี มการรองรบั การติดตามผลการ
ดาเนินงานจากหน่วยงานตา่ ง ๆ ดงั กลา่ ว

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1. เพื่อจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งานจัดการศึกษาประจาปีงบประมาณ 2564 ของ

สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2
2.. เพือ่ รายงานโครงการในระบบ eMENSCR

3. เปา้ หมาย

142

เชิงปริมาณ
1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานเพ่ือสรุปผลการดาเนินงานประจาปี 2564 โดยมีผู้เข้าร่วม

ประชุม จานวน 25 คน
2. จดั ทาเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งานจัดการศกึ ษาประจาปี 2564 ของสานกั งานเขตพื้นที่

การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จานวน 30 เลม่
3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการบคุ ลากร สพป.นราธวิ าส เขต 2 เพอ่ื การวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระบบ

eMENSCR โดยมผี ู้เข้าร่วมประชุม จานวน 57 คน
เชงิ คุณภาพ
1. สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 มรี ายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี

งบประมาณ 2564 เพ่อื เผยแพร่ประชาสมั พันธ์หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องท้ังในรูปแบบเอกสาร และรปู แบบ QR-code
2. สพป. ได้ทราบถึงผลการดาเนนิ งานในปีปจั จุบนั เปรยี บเทยี บกับเป้าหมายท่กี าหนดและใชเ้ ปน็

หลกั ฐานขอ้ มูลในการปรบั ปรุงพัฒนาและจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาในปตี ่อไป
3. สพป.นราธิวาส เขต 2 มขี ้อมลู เพอื่ รายงานในระบบ eMENSCR อย่างสมบูรณแ์ ละถูกตอ้ ง

ผลผลิต ผลลัพธ์ และดชั นชี ้ีวัดความสาเร็จ
ผลผลติ

สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 มรี ายงานผลการดาเนนิ งานจัดการศึกษา
ประจาปี พ.ศ. 2564 จานวน 30 เลม่ (เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในสานกั งาน) และQR-code เอกสารรายงานผลการจัด
การศกึ ษาฯ (เพ่อื ใชส้ ่งไปยงั หนว่ ยงานต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง) และเขา้ ใจการใชง้ าน การรายงานในระบบ eMENSCR ที่
ถูกต้อง

ผลลพั ธ์
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 มรี ายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อแจกจา่ ยไปยังหนว่ ยงานต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง เปน็ การประชาสมั พันธ์ถึงการดาเนินงานใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพอ่ื ใช้เป็นข้อมลู นามาเปรียบเทียบในการพัฒนาในปีต่อไป และ สพป.นราธวิ าส เขต 2 มี
รายงานในระบบ eMENSCR อยา่ งสมบูรณ์ท่สี อดคลอ้ งกนั ตามแผนตา่ ง ๆ

ตัวช้วี ัดความสาเรจ็
เชิงปริมาณ
สพป.นราธวิ าส เขต 2 มีรายงานผลเปน็ รูปเล่ม จานวน 30 เลม่
เชงิ คุณภาพ
1. สพป.นราธิวาส เขต 2 มเี อกสารรายงานผลการจดั การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อใช้

ในการบริหารจัดการ และเพือ่ เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ผลการดาเนินงานของหน่วยงาน ไปยังหนว่ ยงานต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
เพ่ือทราบ

2. สพป.นราธวิ าส เขต 2 รายงานข้อมลู ในระบบระบบ eMENSCR ครบทุกโครงการและสอดคล้องกบั
แผนตา่ ง ๆ

143

ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 มีรายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี

งบประมาณ 2564 ทาใหท้ ราบถึงข้อมูลผลการดาเนนิ งานในปีปัจจุบนั เปรยี บเทียบกบั เป้าหมายความสาเรจ็ ท่ีกาหนด
และใชเ้ ปน็ หลักฐานข้อมลู ในการปรบั ปรงุ พฒั นาและการจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาในปีต่อไป ทั้งยังเป็น
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ถึงผลงานต่าง ๆ ท่ี สพป .ได้ดาเนนิ งานในแตล่ ะปีงบประมาณ และบุคลากรใน สพป.
นราธิวาส เขต 2 เข้าใจระบบ eMENSCR รายงานข้อมูลโครงการในระบบ eMENSCR อยา่ งสมบูรณพ์ ร้อมทงั้ ไดร้ ับการ
อนมุ ัตโิ ครงการทุกโครงการ
กล่มุ เปา้ หมายผไู้ ดร้ ับผลประโยชน์

ผ้รู ับผิดชอบโครงการทกุ คนใน สพป.นราธวิ าส เขต 2
ระยะเวลาดาเนินโครงการ

มกราคม 2565 – มนี าคม 2565
แผนการปฏบิ ัติงานและแผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ

วงเงนิ งบประมาณท่ดี าเนนิ การ 237,300 บาท

แผนการปฏิบตั ิงาน(กิจกรรม) แผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ รวม
ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
กิจกรรมที่ 1 1/2563 1/2564 1/2564 1/2564
1. แตง่ ตง้ั คาส่ังคณะทางาน
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางาน 3,000
เพื่อสรปุ ผลการดาเนนิ งานประจาปี
2564 3,500
9,000
- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม
จานวน 25 คน ๆ ละ 4 ม้ือ ๆ ละ
30 บาท

- คา่ อาหารกลางวนั จานวน
25 คน มอื้ ละ 70 บาท/คน จานวน
2 มอ้ื
กิจกรรมท่ี 2
1.จดั ทาเอกสารรายงานผลการ
ดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2564
จานวน 30 เลม่ ๆ ละ 300 บาท
2. จดั ทา QR-code เอกสารรายงานผล
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กิจกรรมท่ี 3 การวิเคราะห์ความ 11,400 144
สอดคลอ้ งระบบ eMenscr 237,300
34,200
- ค่าอาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม
จานวน 57 คน ๆ ละ 4 มอ้ื ๆ ละ 34,200
50 บาท
67,200
- ค่าอาหารกลางวัน จานวน
57 คน มือ้ ละ 300 บาท/คน จานวน 2,400
2 ม้ือ
28,000
- คา่ อาหารเยน็ จานวน 57 10,000
คน มอื้ ละ 300 บาท/คน จานวน 2 14,400
มื้อ 5,000
15,000
- ค่าท่ีพัก 237,300
- บคุ ลากร สพป.นธ. 2

จานวน 56 คน ๆ ละ 600 บาท
จานวน 2 คนื

- วทิ ยากร จานวน 1 คน
1,200 บาท/คนื จานวน 2 คืน

- คา่ พาหนะ
- บคุ ลากร สพป.นธ. 2

จานวน 56 คน คนละ 500 บาท
- วทิ ยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ
600 บาท จานวน 3 วนั รวม 24 ชม.

- คา่ วสั ดุอปุ กรณ์
- คา่ ชดเชยนา้ มันเชื้อเพลิง

รวม

หมายเหตุ ถัวจ่ายทุกรายการ


Click to View FlipBook Version