The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมคำสั่งนายทะเบียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chanatip Chaisorn, 2019-11-20 22:09:46

หนังสือรวมคำสั่งนายทะเบียน

หนังสือรวมคำสั่งนายทะเบียน

94

แจ้งให้บริษัททราบผ่านแอพพลิเคช่ันสำหรับการแจ้งอุบัติเหตุรถยนต์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและ
ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือแอพพลิเคช่ันที่บริษัทเป็นผู้พัฒนาข้ึน ซึ่งได้เชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับ
แอพพลิเคช่ันของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย และมีรายละเอียด
ตามทส่ี ำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธรุ กจิ ประกันภัยกำหนด

บริษัทมีสิทธิเข้าดำเนินการในนามของผู้เอาประกันภัยเกี่ยวกับอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นได้หากความเสียหายที่
เกดิ ขึ้นนั้นอยภู่ ายใตค้ วามคุ้มครองในกรมธรรมป์ ระกันภัย

ความคมุ้ ครองของบริษทั จะเกิดขึน้ เม่ือผ้เู อาประกันภยั หรอื ผูข้ ับข่ดี ำเนนิ การโดยสจุ รติ

ขอ้ 5. ความรับผดิ ของบริษัทเมอ่ื มกี ารปฏเิ สธการจา่ ยคา่ สินไหมทดแทน20
เมื่อมีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนต่อบริษัท และหากบริษัทปฏิเสธความรับผิดไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม

จ น เป็ น เห ตุ ให้ ผู้ เอ า ป ร ะ กั น ภั ย ห รื อ ผู้ เสี ย ห า ย น ำ ค ดี ข้ึ น สู่ ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง ศ า ล ห รื อ เส น อ ข้ อ พิ พ า ท
ต่ออนุญาโตตุลาการ หากศาลพิพากษาหรืออนุญาโตตุลาการช้ีขาดให้บริษัทแพ้คดี บริษัทจะต้องรับผิดต่อ
ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เสียหายน้ัน โดยชดใช้ค่าเสียหายตามคำพิพากษา หรือคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
พร้อมดอกเบย้ี ผดิ นัดในอัตรารอ้ ยละ 15 ต่อปี นบั แต่วันผิดนัด

ข้อ 6. การแก้ไข สัญญาคุ้มครองและเง่ือนไขแห่งกรมธรรม์ประกันภัยนี้ จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้โดย
เอกสารแนบท้ายของบริษัทเท่านัน้

ขอ้ 7. การลดเบ้ยี ประกันภยั ประวตั ิดี
7.1 ในกรณีผู้เอาประกันภัยมีรถยนต์เอาประกันภัยไว้กับบริษัท บริษัทจะลดเบ้ียประกันภัยให้แก่ผู้

เอาประกันภยั เป็นลำดับข้นั ดังน้ี
ข้นั ที่ 1 20% ของเบี้ยประกันภัยในปีท่ีต่ออายุ สำหรับรถยนต์คันที่ไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหายต่อ

บรษิ ัท ในการประกนั ภยั ปแี รก
ข้ันท่ี 2 30% ของเบ้ียประกันภัยในปีที่ต่ออายุ สำหรับรถยนต์คันที่ไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหายต่อ

บริษัท ในการประกันภัย 2 ปีตดิ ต่อกนั
ขนั้ ที่ 3 40% ของเบ้ียประกันภัยในปีที่ต่ออายุ สำหรับรถยนต์คันที่ไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหายต่อ

บริษทั ในการประกันภยั 3 ปตี ดิ ตอ่ กัน
ขนั้ ที่ 4 50% ของเบ้ียประกันภัยในปีที่ต่ออายุ สำหรับรถยนต์คันท่ีไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหายต่อ

บรษิ ทั ในการประกนั ภยั 4 ปีติดต่อกนั หรือกวา่ นนั้
ทั้งนี้ บริษทั จะลดเบยี้ ประกันภยั ให้ตอ่ เมื่อผู้เอาประกันภัยไดต้ ่ออายุการประกันภัยกับบรษิ ัท และเฉพาะ

ขอ้ ตกลงค้มุ ครองท่ีตอ่ อายุเท่าน้นั
คำว่า “รถยนต์คันที่ไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหาย” ให้หมายความรวมถึงรถยนต์คันท่ีมีการเรียกร้อง

คา่ เสยี หาย แต่ค่าเสียหายนนั้ เกดิ จากความประมาทของบคุ คลภายนอก และรูต้ วั ผตู้ ้องรบั ผิดตามกฎหมาย ซึง่ มี
ผลทำใหบ้ ริษัทมสี ทิ ธิท่จี ะเรียกค่าเสียหายทีบ่ รษิ ทั ไดจ้ า่ ยไปคืนจากบุคคลภายนอกได้

หากในระหว่างปีกรมธรรม์ประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยได้รับส่วนลดเบี้ยประกัน ภัยประวัติดีมีการ
เรียกร้องค่าเสียหายต่อบริษัทแล้ว ในการต่ออายุการประกันภัยปีต่อไป บริษัทจะลดเบ้ียประกันภัยให้แก่ผู้
เอาประกนั ภยั ดงั น้ี

20 คำสั่งนายทะเบยี นที่ 28/2552 เร่อื ง ให้แก้ไข แบบขอ้ ความกรมธรรมป์ ระกนั ภยั คุ้มครองผู้ประสบภยั จากรถ กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ และ
กรมธรรมป์ ระกันภยั รถยนต์รวมความคมุ้ ครองผู้ประสบภัยจากรถ สั่ง ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 หนา้ 4

95

(ก) ลดลงหน่ึงลำดับข้ันจากเดิม หากการเรียกร้องน้ันเกิดจากความประมาทของรถยนต์คันเอา
ประกันภยั หรือผ้เู อาประกนั ภัยไม่สามารถแจง้ ให้บริษทั ทราบถึงคูก่ รณีอีกฝ่ายหนึง่ ได้

(ข) ลดลงสองลำดับขั้นจากเดิมแต่ไม่เกินอัตราปกติ หากมีการเรียกร้องที่รถยนต์คันเอาประกันภัยเป็น
ฝ่ายประมาท หรอื ไม่สามารถแจ้งใหบ้ ริษัททราบถึงคกู่ รณีอกี ฝ่ายหน่งึ ได้ตง้ั แต่ 2 คร้งั ข้นึ ไป รวมกันมีจำนวนเงิน
เกนิ 200% ของเบีย้ ประกันภยั

7.2 กรณีผู้เอาประกันภัยทำประกันภัยกับผู้รับประกันภัยอ่ืน และมาต่ออายุการประกันภัยกับบริษัท
บริษัทจะนำความใน 7.1 มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลมก็ได้

ขอ้ 8. การเพม่ิ เบ้ยี ประกนั ภัยประวัติไม่ดี
ในกรณีผู้เอาประกันภัยมีรถยนต์เอาประกันภัยไว้กับบริษัท และมีการเรียกร้องค่าเสียหายระหว่างปีท่ี

เอาประกันภัยท่ีเกิดจากอุบัติเหตุ ซ่ึงรถยนต์คันท่ีเอาประกันภัยเป็นฝ่ายประมาทหรือไม่สามารถแจ้งให้บริษัท
ทราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้ อย่างน้อยตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปรวมกันมีจำนวนเงินเกิน 200% ของเบ้ียประกันภัย
บริษทั จะเพม่ิ เบย้ี ประกนั ภยั เป็นขัน้ ๆ ดังน้ี

ขน้ั ท่ี 1 20% ของอัตราเบ้ียประกนั ภัยในปที ี่ตอ่ อายุ
ขั้นที่ 2 30% ของอัตราเบี้ยประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมีค่าเสียหายดังกล่าวเกิดข้ึนต่อบริษัท 2ปี
ติดต่อกัน
ขน้ั ที่ 3 40% ของอัตราเบ้ียประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมคี ่าเสียหายดังกล่าวเกิดข้ึนต่อบริษัท 3 ปี
ตดิ ตอ่ กนั
ข้นั ที่ 4 50% ของอัตราเบ้ียประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมคี ่าเสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นต่อบริษัท 4 ปี
ติดต่อกนั หรือกว่านน้ั
ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยถูกเพิ่มเบี้ยประกันภัยประวัติไม่ดีไม่ว่าลำดับขั้นใด และในปีกรมธรรม์
ประกันภัยนั้น มีการเรียกร้องค่าเสียหาย ที่รถยนต์คันเอาประกันภัยเป็นฝ่ายประมาท หรือไม่สามารถแจ้ง
ให้บริษัททราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงได้ไม่ถึง 2 ครั้ง หรือถึง 2 ครั้ง แต่มีค่าเสียหายไม่เกิน 200% ของเบี้ย
ประกันภัยแล้ว ในการต่ออายุการประกันภัย บริษัทจะใช้เบ้ียประกันภัยในลำดับข้ันเดิม เช่น ในปีท่ีผ่านมา
แต่หากไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหาย หรือมีการเรียกร้องค่าเสียหาย แต่ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นน้ัน มิได้เกิดจาก
ความประมาทของรถยนต์คันเอาประกันภัย และผู้เอาประกันภัยสามารถแจ้งให้บริษัททราบถึงคู่กรณีอีกฝ่าย
หนึง่ ไดแ้ ลว้ ในการตอ่ อายกุ ารประกันภยั ในปตี ่อไป บรษิ ทั จะใช้เบย้ี ประกันภยั ในอัตราปกติ

ขอ้ 9. การโอนรถยนต์
เมื่อผู้เอาประกันภัยได้โอนรถให้แก่ผู้อน่ื ให้ถือว่าผู้รับโอนเป็นผเู้ อาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัยน้ี

และบริษัทตอ้ งรับผดิ ตามกรมธรรม์ประกันภยั ต่อไปตลอดอายกุ รมธรรม์ประกันภยั ทีเ่ หลอื อยู่
อยา่ งไรก็ตาม ในกรณีทท่ี ำประกนั ภยั ประเภทระบุช่อื ผู้ขบั ขี่ ผเู้ อาประกันภัยจะต้องแจ้งการเปล่ียนแปลง

ผู้ขับข่ีให้บริษัททราบ เพื่อจะได้มีการปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยตามสภาพความเส่ียงภัยที่เปล่ียนแปลงไป
มิฉะนั้นผู้เอาประกันภัยอาจจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรกเองตามเงือ่ นไขความคุ้มครองท่ีปรากฏ
ในกรมธรรม์ประกนั ภยั น้ี

ข้อ 10. การระงับข้อพพิ าทโดยอนญุ าโตตุลาการ
ในกรณีที่มีข้อพิพาท ข้อขัดแย้ง หรือข้อเรียกร้องใดๆ ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยฉบับน้ีระหว่าง

ผู้มีสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยกับบริษัท และหากผู้มีสิทธิเรียกร้องประสงค์ และเห็นควรยุติ
ข้อพิพาทน้ันโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ บริษัทตกลงยินยอม และให้ทำการวินิจฉัยช้ีขาดโดย

96

อนญุ าโตตุลาการ ตามข้อบังคับสำนกั งานคณะกรรมการกำกับและสง่ เสริมการประกอบธรุ กิจประกันภัยว่าดว้ ย
อนุญาโตตุลาการ

ข้อ 11. การตคี วามกรมธรรม์ประกนั ภัย
ข้อความท่ีปรากฏในกรมธรรม์ประกันภัยน้ี รวมท้ังเอกสารแนบท้าย และเอกสารประกอบให้ตีความ

ตามคมู่ ือการตคี วามที่นายทะเบียน ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบไว้

ข้อ 12. การส้ินผลบงั คบั ของกรมธรรม์ประกันภยั กรมธรรม์ประกันภยั น้จี ะสน้ิ ผลบงั คับเม่ือ
12.1 วนั ท่ี เวลา ท่รี ะบุไวใ้ นตาราง
12.2 มกี ารบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย
12.2.1 บริษัทเป็นผู้บอกเลิก: บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยน้ีได้ด้วยการส่งหนังสือ

บอกกล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้เอาประกันภัยตามท่ีอยู่คร้ังสุดท้ายท่ี
แจง้ ใหบ้ รษิ ัททราบ ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภยั สิ้นผลบงั คบั ณ วนั พ้นกำหนดดงั กล่าว

ในกรณีน้ีบริษัทจะคืนเบ้ียประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบ้ียประกันภัยสำหรับ
ระยะเวลาที่กรมธรรมป์ ระกันภยั ได้ใชบ้ ังคับมาแล้วออกตามสว่ น

12.2.2 ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้บอกเลิก: ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้
โดยแจ้งให้บริษทั ทราบเปน็ ลายลักษณ์อักษร ซงึ่ จะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภยั สิ้นผลบังคับ ณ วันที่บริษัทได้รับ
หนังสือบอกเลิก หรือวันทร่ี ะบุไว้ในหนังสือบอกเลกิ แล้วแตว่ า่ วนั ใดเป็นวันหลงั สุด

ในกรณีนี้ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับเบี้ยประกันภัยคืน ตามอัตราการคืนเบ้ียประกันภัยท่ีระบุ
ไวข้ ้างลา่ ง

อัตราคนื เบีย้ ประกนั ภยั

จำนวนวัน ร้อยละ ของเบีย้ จำนวนวนั รอ้ ยละ ของเบย้ี จำนวนวนั รอ้ ยละ ของเบยี้
ประกันภัย ประกันภัยเตม็ ปี ประกันภัย ประกนั ภัยเต็มปี ประกันภัย ประกนั ภยั เต็มปี

1-9 72 120-129 44 240-249 20
10-19 68 130-139 41 250-259 18
20-29 65 140-149 39 260-269 16
30-39 63 150-159 37 270-279 15
40-49 61 160-169 35 280-289 13
50-59 59 170-179 32 290-299 12
60-69 56 180-189 30 300-309 10
70-79 54 190-199 29 310-319 8
80-89 52 200-209 27 320-329 6
90-99 50 210-219 25 330-339 4
100-109 48 220-229 23 340-349 3
110-119 46 230-239 22 350-359 1
360-366 0

97

หมวดการคุ้มครองความรับผิดต่อบุคคลภายนอก

ข้อ 1. ข้อตกลงคมุ้ ครอง21
บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความสูญเสีย หรือความเสียหายอย่างใดๆ อันเกิดแก่

บุคคลภายนอก ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากรถยนต์ท่ีใช้
หรืออยู่ในทาง หรือส่ิงท่ีบรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้น ในระหว่างระยะเวลาประกันภัย ในนามผู้เอา
ประกนั ภัย ดังน้ี

1.1 ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย บริษัทจะรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความ
เสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย ของบุคคลภายนอก ตามความเสียหายที่แท้จรงิ ที่ผู้เอาประกันภัยจะต้อง
รับผดิ ชอบตามกฎหมายต่อบคุ คลภายนอกน้นั

กรณบี ุคคลภายนอกเสียชีวิต บรษิ ัทจะชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนไม่น้อยกว่า 100,000 บาทตอ่ คน แตห่ าก
การเสียชีวิตนั้นทำให้มีผู้ขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อการเสียชีวิตของ
บคุ คลภายนอกน้นั ไมน่ อ้ ยกวา่ 300,000 บาทต่อคน

กรณีบคุ คลภายนอกทพุ พลภาพถาวร บรษิ ทั จะชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทนไมน่ ้อยกวา่ 300,000 บาทตอ่ คน
ในกรณีท่ีบุคคลภายนอกน้ันมีสิทธิได้รับการชดใช้จากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์
ประกันภัย บริษัทจะร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่าๆกัน อย่างไรก็ตาม ความรับผิดของบริษัทต่อคนจะมีไม่เกินจำนวนเงิน
เอาประกันภัยต่อคนท่ีระบุไว้ในตาราง และความรับผิดของบริษัทต่อคร้ังในกรณีมากกว่าหน่ึงคน จะมีไม่เกิน
จำนวนเงนิ เอาประกนั ภัยต่อคร้งั ทีร่ ะบุไวใ้ นตาราง
ทุพพลภาพถาวร ในที่นี้ หมายถึง ทุพพลภาพถึงขนาดไม่สามารถประกอบหน้าที่การงานใดๆ ในอาชีพ
ประจำ และอาชีพอ่นื ๆ ไดโ้ ดยสนิ้ เชงิ ตลอดไป
บุคคลภายนอกท่ีได้รับความคุ้มครองตาม 1.1 น้ี ไม่รวมถึงผู้ขับขี่ท่ีเป็นฝ่ายท่ีจะต้องรับผิดตามกฎหมาย
ตลอดจนลูกจา้ งในทางการที่จา้ ง คู่สมรส บิดา มารดา บุตรของผูข้ บั ข่ีนน้ั
1.2 ความเสียหายตอ่ ทรัพยส์ ิน22 บริษัทจะรับผิดชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนเพ่ือความเสียหายต่อทรพั ย์สิน
ของบุคคลภายนอก ซ่ึงผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย และความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกิน
จำนวนเงนิ เอาประกันภัยท่ีระบุไวใ้ นตาราง
กรณีเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก และมีการเรียกค่าเสียหายอันเกิดจากการขาด
การใช้ประโยชน์รถยนต์ บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจริง ท้ังน้ี สำหรับรถยนต์ที่มีท่ีน่ังไม่เกิน 7 คน
หรือรถยนต์บรรทุกผู้โดยสารรวมท้ังผู้ขับข่ีไม่เกิน 7 คน ในอัตราไม่น้อยกว่าวันละ 500 บาท รถยนต์รับจ้าง
สาธารณะท่ีมที ่ีนั่งไมเ่ กนิ 7 คน ในอัตราไม่น้อยกว่าวนั ละ 700 บาท และรถยนตท์ ี่มที ีน่ ั่งเกิน 7 คน หรอื รถยนต์
บรรทกุ ผูโ้ ดยสารรวมท้งั ผู้ขบั ขี่เกนิ 7 คน ในอัตราไม่นอ้ ยกว่าวันละ 1,000 บาท
ในกรณีบุคคลภายนอกน้ันมีสิทธิได้รับการชดใช้จากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์
ประกันภยั บรษิ ทั จะเฉลย่ี จา่ ยเท่าๆ กนั

21 คำสงั่ นายทะเบยี นที่ 27/2554 เร่ือง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ข้อความกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ กรมธรรม์ประกนั ภยั รถยนตร์ วมการคมุ้ ครองผปู้ ระสบภยั
จากรถ สัง่ ณ วันท่ี 27 พฤษภาคม 2554 หนา้ 1
22 คำส่ังนายทะเบยี นที่ 70/2561 เรื่อง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ข้อความกรมธรรมป์ ระกันภยั รถยนต์ และเอกสารแนบทา้ ยกรมธรรมป์ ระกันภยั รถยนต์ ส่ัง ณ
วันท่ี 17 ธนั วาคม 2561 หนา้ 2

98

ความเสยี หายต่อทรพั ยส์ ินดงั ต่อไปนี้ จะไมไ่ ดร้ ับความคุ้มครอง
(ก) ทรัพย์สินท่ีผู้เอาประกันภัย ผู้ขับขี่ท่ีเป็นฝ่ายต้องรับผิดตามกฎหมาย คู่สมรส บิดา มารดา บุตร

ของผูเ้ อาประกันภยั หรือผ้ขู บั ขน่ี ั้นเป็นเจ้าของ หรือเป็นผูเ้ ก็บรักษา ควบคมุ หรอื ครอบครอง
(ข) เคร่ืองชั่ง สะพานรถ สะพานรถไฟ ถนน ทางวิ่ง ทางเดิน สนาม หรือส่ิงหน่ึงส่ิงใดที่อยู่ใต้สิ่ง

ดงั กล่าว อันเกดิ จากการสัน่ สะเทือน หรือจากนำ้ หนักรถยนต์ หรอื นำ้ หนกั บรรทุกของรถยนต์
(ค) สัมภาระหรือทรัพย์สินอ่ืนใดท่ีนำติดตัวขึ้นบนรถยนต์ หรือทรัพย์สินที่ บรรทุกอยู่ในรถยนต์ หรือ

กำลังยกขึ้น หรือกำลงั ยกลง จากรถยนต์ หรอื ทรพั ย์สินท่รี ถยนต์กำลังยกจากทห่ี น่ึงไปยงั อกี ท่หี นงึ่
(ง) ทรพั ย์สินที่ได้รับความเสียหายจากการร่ัวไหลของสารเคมีหรอื วัตถุอันตรายที่บรรทุกอยู่ในรถยนต์

เวน้ แต่การรั่วไหลนั้นเกดิ จากอบุ ัตเิ หตุจากรถยนต์ หรอื การร่ัวไหลของแก๊สหรอื เชื้อเพลิงเพอ่ื การเดินเครอ่ื งของ
รถยนต์

ข้อ 2. ความเสียหายสว่ นแรก
ผู้เอาประกนั ภัยจะต้องรบั ผิดชอบเองต่ออบุ ตั ิเหตแุ ต่ละคร้ัง ดงั น้ี
(ก) 2,000 บาทแรก ของความเสียหายต่อทรัพย์สิน ในกรณีท่ีใช้รถยนต์ในเวลาเกิดอุบัติเหตุ

นอกเหนือจากทไ่ี ดร้ ะบุไว้ในตาราง
(ข) ตามจำนวนเงินส่วนแรกของความเสียหาย ดงั ระบุไวใ้ นตาราง
(ค) 2,000 บาทแรก ของความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ในกรณีเป็นการประกันภัย

ประเภทระบุชื่อผู้ขับข่ี หากความเสียหายน้ันเป็นความรับผิดชอบของผู้ขับขี่รถยนต์คันเอาประกันภัยซ่ึงมิใช่
ผูข้ ับขท่ี ี่ระบุช่ือในกรมธรรม์ประกนั ภยั

ในกรณีท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรก เกินหนึ่งข้อ ให้ถือว่าความ
รบั ผดิ ชอบแตล่ ะข้อเป็นความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น

ในกรณีที่ผู้เอาประกันภยั ต้องรบั ผิดชอบคา่ เสียหายสว่ นแรกเอง ตาม (ก) (ข) และ (ค) บริษทั จะจ่ายแทน
ผเู้ อาประกันภัยไปก่อน เมื่อบรษิ ัทไดจ้ ่ายเงินที่ผ้เู อาประกนั ภัยต้องรับผดิ ชอบไปแลว้ ผู้เอาประกันภัยต้องใช้คืน
ให้บริษทั ภายใน 7 วัน นับแต่ได้รับหนงั สือเรียกรอ้ งจากบรษิ ัท

ขอ้ 3. คา่ ใชจ้ า่ ยในการต่อสู้คดี
ถ้าผู้เอาประกันภัยถูกฟ้องศาลให้ใช้ค่าสินไหมทดแทนซงึ่ การประกนั ภัยนี้มีการคุ้มครองบริษัทจะตอ่ สูค้ ดี

ในนามของผู้เอาประกันภัยโดยค่าใช้จ่ายของบริษัท เว้นแต่บริษัทได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงิน
ความคุม้ ครองก่อนมีการฟ้องร้องแล้ว

ขอ้ 4. การคมุ้ ครองความรับผิดของผขู้ ับข่ี
บริษัทจะถือว่าบุคคลใดซ่ึงขับข่ีรถยนต์ โดยได้รบั ความยินยอมจากผู้เอาประกันภัยเสมือนหนึ่งเป็นผู้เอา

ประกนั ภยั เอง แต่มีเง่ือนไขวา่
4.1 บุคคลน้ันต้องปฏิบัติตนเสมือนหนึ่งเป็นผู้เอาประกันภัยเอง และอยู่ภายใต้ข้อกำหนดตามกรมธรรม์

ประกนั ภัยนี้
4.2 บุคคลนั้นไม่ได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยอ่ืน หรือได้รับแต่ไม่เพียงพอ

บริษทั จงึ จะรบั ผิดชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนเฉพาะส่วนท่ีเกนิ เท่านน้ั

99

ขอ้ 5. การคุ้มครองความรับผิดของผโู้ ดยสาร
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีให้ความคุ้มครองความรับผิดของผู้โดยสาร เมื่อผู้โดยสารน้ันจะต้องรับผดิ จาก

รถยนต์ท่ีใช้ หรืออยู่ในทาง หรือส่ิงที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้น ท้ังนี้เฉพาะเท่าที่มีการประกันภัยไว้
โดยมีเงื่อนไขว่า บคุ คลนั้นไมไ่ ด้รับการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกนั ภัยอ่ืน หรือได้รับแต่ไม่
เพยี งพอบริษัทจึงจะรบั ผดิ ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนทเี่ กินเท่าน้ัน

ขอ้ 6. การคุม้ ครองนายจา้ ง
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีให้ความคุ้มครองถึงนายจ้างซ่ึงไม่ใช่ผู้เอาประกันภัย เม่ือนายจ้างจะต้องรับผิดจาก

การใชร้ ถยนตค์ ันเอาประกันภยั โดยลูกจ้างในทางการที่จ้าง ท้ังนเี้ ฉพาะเท่าทม่ี ีการประกนั ภัยไว้ แตม่ เี งอื่ นไขวา่
6.1 นายจา้ งตอ้ งปฏบิ ตั ติ นอยู่ภายใต้ขอ้ กำหนดของกรมธรรม์ประกันภยั น้ี
6.2 นายจ้างไม่ได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยอ่ืน เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนท่ี

ได้รับชดใช้นน้ั ไม่เพยี งพอ บริษทั จึงจะรบั ผิดชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนเฉพาะส่วนที่เกนิ เท่านั้น
6.3 การคมุ้ ครองนีไ้ ม่เพ่มิ จำนวนเงินจำกดั ความรับผิดของบริษัท

ข้อ 7. การยกเว้นท่วั ไป การประกันภยั ตามหมวดนี้ ไมค่ ุ้มครองความรบั ผิดอนั เกดิ จาก
7.1 การใช้รถยนต์นอกอาณาเขตคุม้ ครอง
7.2 การใช้รถยนต์ในทางผิดกฎหมาย เช่น ใช้รถยนต์ไปปล้นทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือใช้ขนยาเสพติด

เปน็ ต้น
7.3 การใชใ้ นการแขง่ ขนั ความเร็ว
7.4 การใช้ลากจูงหรือผลักดัน เว้นแต่รถท่ีถูกลากจูงหรือถูกผลักดันได้ประกันภัยไว้กับบริษัทด้วย

หรอื เปน็ รถลากจงู โดยสภาพ หรอื รถท่ีมรี ะบบหา้ มล้อเช่ือมโยงถึงกัน
7.5 ความรับผิดซึ่งเกิดจากสัญญาท่ีผู้ขับขี่ทำขึ้น ซ่งึ ถ้าไม่มีสัญญานั้นแล้ว ความรบั ผิดของผู้ขับขี่จะ

ไมเ่ กดิ ขึน้
7.6 การขับข่ีโดยบุคคลซ่ึงในขณะขับขี่มีปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกินกว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์

ซึ่งเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 16 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.
2522 กำหนดใหถ้ อื ว่าเมาสรุ า23

ข้อ 8. ข้อสัญญาพิเศษ ภายใต้จำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตาราง บริษัทจะไม่ยกเอาความไม่
สมบูรณ์แห่งกรมธรรม์ประกันภัย หรือความประมาทเลินเล่ออยา่ งร้ายแรงของผู้เอาประกันภัย หรือข้อ 7.1 7.2
7.3 7.4 7.5 หรือเงื่อนไขทั่วไป เว้นแต่ข้อ 3 ของหมวดเง่ือนไขท่ัวไป เป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก เพ่ือปฏิเสธ
ความรับผิดตาม 1.1 ในหมวดน้ี

ส่วนเงื่อนไข 7.6 บริษัทจะไม่นำมาเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก เพ่ือปฏิเสธความรับผิดท้ังตาม 1.1 และ
1.2 ในหมวดน้ี

ในกรณีท่ีบริษัทไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย หรือรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยน้ีต่อผู้เอาประกันภัย
แต่บริษทั ได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้วตามวรรคหนึง่ และวรรคสองในความรบั ผิดที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับ
ผิดต่อบุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้เอาประกันภัยต้องใช้จำนวนเงินที่บริษัทได้จ่ายไปนั้นคืนให้บริษัทภายใน 7 วัน
นับแตไ่ ด้รับหนงั สือเรยี กร้องจากบรษิ ัท

23 คำสง่ั นายทะเบยี นท่ี 11/2560 เรือ่ ง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ข้อความกรมธรรม์ประกนั ภยั รถยนต์ และเอกสารแนบทา้ ยกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ ส่ัง ณ
วนั ที่ 16 มนี าคม 2560 หนา้ 2

100

หมวดการคุ้มครองรถยนตส์ ูญหาย ไฟไหม้

ขอ้ 1. ข้อตกลงคุ้มครอง
รถยนต์สูญหาย บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อรถยนต์หรือส่วนหน่ึงส่วนใดของรถยนต์ รวมทั้ง

อุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง หรือสิ่งท่ีติดประจำอยู่กับตัวรถยนต์ตามมาตรฐานที่ติดตั้งมากับรถยนต์โดยโรงงาน
ประกอบรถยนต์หรือศูนย์จำหน่ายรถยนต์ และให้รวมถึงอุปกรณ์เคร่ืองตกแต่งที่ได้ทำเพ่ิมขึ้น และผู้เอา
ประกันภัยได้แจ้งให้บริษัททราบด้วยแล้ว สูญหายไป อันเกิดจากการกระทำความผิดเฉพาะฐานลักทรัพย์
ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ หรอื เกิดความเสียหายต่อรถยนต์อันเกิดจากการกระทำความผิด หรือการ
พยายามกระทำความผดิ เชน่ วา่ นัน้

รถยนต์ไฟไหม้บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เม่ือรถยนต์เกิดความเสียหายจากไฟไหม้ ไม่ว่าจะเป็น
การไหมโ้ ดยตวั ของมันเอง หรือเปน็ การไหม้ที่เป็นผลสบื เน่ืองจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม

ข้อ 2. การชดใช้ความเสียหายหรอื สูญหายต่อรถยนต์
2.1 ในกรณีรถยนต์สญู หาย อันเกิดจากการลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ และยักยอกทรพั ย์ บรษิ ัทจะ

จา่ ยค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงนิ เอาประกันภัย ท่ีระบุไว้ในตาราง โดยผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์
แล้วแต่กรณีต้องโอนกรรมสิทธ์ิรถยนต์ให้แก่บริษัททันที โดยค่าใช้จ่ายของบริษัท และให้ถือว่าการคุ้มครอง
รถยนต์นน้ั เปน็ อนั สน้ิ สดุ

ในกรณีที่บริษัทได้รับรถยนต์คืนมาแล้ว บริษัทต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้เอาประกันภัยทราบทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนภายใน 7 วันนับแต่วันท่ีได้รับรถยนต์คืนมา ตามที่อยู่คร้ังสุดท้ายที่ผู้เอาประกันภัยแจ้งให้บริษัท
ทราบและบริษัทยนิ ยอมใหผ้ ้เู อาประกนั ภยั ใช้สิทธิ

2.1.1 ขอรับรถยนต์คืน โดยผู้เอาประกันภัยต้องคืนเงินที่ได้รับชดใช้ไปท้ังหมดให้แก่บริษัท ถ้า
รถยนตน์ ั้นเกดิ ความเสียหายบริษัทตอ้ งจดั ซอ่ มใหโ้ ดยค่าใชจ้ า่ ยของบริษัทก่อนคืน

2.1.2 สละสทิ ธไิ ม่ขอรบั รถยนตค์ นื
ทั้งน้ีผู้เอาประกันภัยจะต้องแจ้งการใช้สิทธิให้บริษัททราบภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีได้รับหนังสือแจ้ง
จากบริษัท ถา้ ผู้เอาประกันภัยไม่แจ้งขอใช้สิทธิภายในกำหนดเวลาดงั กล่าว ให้ถือว่าผู้เอาประกันภัยไม่ประสงค์
จะขอรับรถยนต์คนื
2.2 ในกรณีรถยนต์เสียหายสิน้ เชิง บริษทั จะจ่ายค่าสนิ ไหมทดแทนเต็มจำนวนเงินเอาประกนั ภยั ท่รี ะบุ
ไวใ้ นตาราง
รถยนต์เสียหายสิ้นเชิง หมายถึง รถยนต์ได้รับความเสียหายจนไม่อาจซ่อมให้อยู่ในสภาพเดิมได้ หรือ
เสยี หายไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 ของมูลค่ารถยนต์ในขณะเกดิ ความเสียหาย
ในกรณีที่เอาประกันภัยไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่ารถยนต์ในขณะท่ีเอาประกันภัย ผู้เอา
ประกนั ภัยหรือผู้รับประโยชน์แล้วแต่กรณี ต้องโอนกรรมสิทธร์ิ ถยนต์ใหแ้ กบ่ ริษัททันที โดยค่าใช้จ่ายของบรษิ ัท
และให้ถอื วา่ การคุม้ ครองรถยนตน์ น้ั เปน็ อนั สนิ้ สุด
2.3 ในกรณรี ถยนต์ไดร้ ับความเสียหาย แตไ่ มถ่ งึ กบั เสยี หายส้ินเชิง หรือสญู หายบางส่วน บรษิ ทั และ
ผู้เอาประกันภัยอาจตกลงกันให้มีการซ่อม หรือเปล่ียนรถยนต์ซึ่งมีสภาพเดียวกันแทนได้ ท้ังน้ีรวมท้ังอุปกรณ์
ของรถยนตน์ นั้ หรอื จะชดใชเ้ งนิ เพือ่ ทดแทนความเสยี หายหรือสญู หายน้นั ก็ได้

101

ในการซ่อมรถยนต์ หรือในการกำหนดจำนวนเงินชดใช้หากตกลงกันไม่ได้ ให้จัดซ่อมโดยอู่กลางการ
ประกันภยั ที่สำนกั งานคณะกรรมการกำกับและสง่ เสรมิ การประกอบธุรกิจประกนั ภัยแตง่ ต้ัง

ขอ้ จำกัดความรับผดิ ของบริษทั
ในกรณีท่ีมคี วามจำเปน็ ตอ้ งสัง่ อะไหลจ่ ากตา่ งประเทศ บรษิ ทั รบั ผดิ ไมเ่ กนิ กว่าราคานำเข้าทส่ี ง่ มาทางเรือ

ข้อ 3. การดแู ลขนย้าย
เมอื่ มีความเสียหายต่อรถยนต์ที่เกิดจากไฟไหม้ บริษัทจะจ่ายค่าดูแลรกั ษารถยนต์ และค่าขนย้ายรถยนต์

ทัง้ หมดนับแตว่ ันเกิดเหตุจนกว่าการซ่อมแซม หรือการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจะเสรจ็ ส้ินตามจำนวนที่จา่ ยไป
จรงิ แตไ่ ม่เกนิ ร้อยละย่ีสิบของคา่ ซอ่ มแซม

ข้อ 4. การสละสิทธิ
ในกรณีที่มีความเสียหายหรอื สูญหายต่อรถยนต์ เม่อื บุคคลอ่นื เป็นผู้ใช้รถยนต์โดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจาก

ผู้เอาประกันภัย บริษัทสละสิทธิในการไล่เบี้ยจากผู้ใช้รถยนต์นั้น เว้นแต่การใช้โดยบุคคลของสถานให้บริการ
เก่ียวกับการซ่อมแซมรถ การทำความสะอาดรถ การบำรงุ รกั ษารถ หรอื การติดต้ังอปุ กรณ์เพ่ิมเตมิ เมอื่ รถยนต์
ได้สง่ มอบให้เพื่อรบั บริการน้ัน

ขอ้ 5. การยกเว้นรถยนตส์ ญู หาย ไฟไหม้ การประกันภัยนี้ไม่คุม้ ครองความสูญหาย หรอื ไฟไหม้อันเกิดจาก
5.1 ความเสียหายหรือสูญหายอันเกิดจากการลักทรัพย์ หรือยักยอกทรัพย์ โดยบุคคลได้รับ

มอบหมาย หรือครอบครองรถยนต์ตามสัญญาเช่า สัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจำนำ หรือโดยบุคคลที่จะ
กระทำสัญญาดังกลา่ วข้างตน้

5.2 การใช้รถยนตน์ อกอาณาเขตทีค่ ้มุ ครอง

102

เอกสารแนบท้าย
กรมธรรม์ประกันภยั รถยนต์

แบบคุม้ ครองเฉพาะภัย

103

เอกสารแนบท้ายความคุ้มครองความเสียหายต่อรถยนตเ์ นื่องจากการชนกับยานพาหนะทางบก (ร.ย.ภ.10)

ข้อ 1. ข้อตกลงคุ้มครอง
บริษัทจะชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนความเสยี หายท่เี กดิ ข้ึนระหว่างระยะเวลาประกันภยั ตอ่ รถยนต์รวมทั้ง

อุปกรณ์เครื่องตกแต่ง หรือส่ิงท่ีติดประจำอยู่กับตัวรถยนต์ตามท่ีระบุไว้ในตาราง อันมีสาเหตุมาจากการชนกับ
ยานพาหนะทางบก ทั้งนี้ความเสียหายดังกล่าวให้รวมถงึ ความเสียหายที่เกดิ จากไฟไหม้อันมีสาเหตุโดยตรงจาก
การชนกับยานพาหนะทางบก ไม่ว่าจะเกิดจากความประมาทของรถยนต์คันท่ีเอาประกันภัยหรือคู่กรณี และผู้
เอาประกันภัยสามารถแจง้ ใหบ้ รษิ ัททราบถงึ คู่กรณีอีกฝ่ายหน่งึ ได้

ยานพาหนะทางบกตามกรมธรรม์ประกันภัยน้ี ให้หมายถึงเฉพาะรถท่ีเดินด้วยกำลังเครื่องยนต์ โดยใช้
พลงั งานเชอื้ เพลงิ เช่น นำ้ มนั ก๊าซ หรอื กำลงั ไฟฟา้ และรวมถงึ รถพ่วง รถไฟ รถราง

ความรับผิดชอบของบริษัท จะมีไมเ่ กินจำนวนเงินเอาประกันภยั ทีร่ ะบไุ วใ้ นตาราง

ข้อ 2. การชดใช้ความเสยี หายตอ่ รถยนต์
2.1 ในกรณีรถยนต์เสียหายสิ้นเชิง บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงินเอาประกันภัยที่

ระบุไว้ในตาราง
ในกรณีที่ทุนประกันภัยที่ระบุไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่าของรถยนต์ในขณะท่ีเอาประกันภัย

ผูเ้ อาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ต้องโอนกรรมสิทธ์ิใหแ้ ก่บรษิ ัททันทโี ดยค่าใชจ้ ่ายของบริษัท และให้ถือว่าการ
คมุ้ ครองนน้ั เปน็ อันสน้ิ สดุ

รถยนต์เสียหายสิ้นเชิง ในท่ีนี้หมายถึง รถยนต์ได้รับความเสียหายจนไม่อาจซ่อมให้อยู่ในสภาพเดิมได้
หรอื เสียหายไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 ของมลู ค่ารถยนตใ์ นขณะเกิดความเสียหาย

2.2 ในกรณีรถยนตไ์ ด้รบั ความเสียหาย แต่ไมถ่ ึงกับเสยี หายสิ้นเชิง บรษิ ัทและผู้เอาประกันภัยอาจตก
ลงกันให้มีการซ่อม หรือเปล่ียนรถยนต์ซึ่งมีสภาพเดียวกันแทนได้ ทั้งนี้รวมทั้งอุปกรณ์ของรถยนต์น้ัน หรือจะ
ชดใช้เงินเพ่ือทดแทนความเสียหายน้ันก็ได้ ท้ังนี้ไม่เกินกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้ในตาราง ในการ
ซ่อมรถยนต์หรือในการกำหนดเงินชดใช้หากตกลงกันไม่ได้ ให้จัดซ่อมโดยอู่กลางการประกันภัยท่ีสำนักงาน
คณะกรรมการกำกบั และสง่ เสรมิ การประกอบธุรกิจประกันภัยออกใบแตง่ ตงั้ ให้

ขอ้ จำกดั ความรับผดิ ของบรษิ ทั
ในกรณที ี่มคี วามจำเป็นต้องส่งั อะไหลจ่ ากต่างประเทศ บรษิ ัทรบั ผิดไม่เกินกวา่ ราคานำเข้าท่ีส่งมาทางเรือ

ข้อ 3. ความเสียหายสว่ นแรก
ผเู้ อาประกนั ภัยต้องรับผิดชอบเองต่ออุบัติเหตุแตล่ ะคร้ัง คอื 2,000 บาทแรกของความเสียหายอันเกิด

จากการชน ในกรณีที่ผู้ขับข่ีหรือผู้เอาประกันภัยเป็นฝ่ายที่ต้องรับผิดตามกฎหมาย โดยบริษัทจะจ่ายแทนผู้เอา
ประกันภัยไปก่อน เม่ือบริษัทได้จ่ายเงินท่ีผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบไปแล้ว ผู้เอาประกันภัยต้องใช้คืนให้
บริษทั ภายใน 7 วนั นับแตไ่ ด้รับหนงั สอื เรยี กร้องจากบรษิ ัท

ข้อ 4. การดแู ลขนย้าย
เม่ือรถยนต์เกิดความเสียหายซึ่งมีการคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยน้ี บริษัทจะจ่ายค่าดูแลรักษา

รถยนต์และค่าขนย้ายรถยนต์ทั้งหมดนับแต่วนั เกดิ เหตุ จนกว่าการซอ่ มแซม หรือการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจะ
เสรจ็ ส้นิ ตามจำนวนทจี่ ่ายไปจริง แตไ่ ม่เกินรอ้ ยละยี่สิบของคา่ ซ่อมแซม

104

ขอ้ 5. การรักษารถยนต์
ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบเอง เม่ือเกิดความเสียหายเพิ่มขึ้น หรือต้องประสบอุบัติเหตุอื่น

เน่ืองจากการใช้รถยนต์ก่อนที่จะมีการซ่อมแซมตามที่จำเป็น หรือไม่ได้จัดให้มีการดูแลเม่ือรถยนต์เกิดอุบัติเหตุ
หรอื เครื่องเสยี

ขอ้ 6. การสละสิทธิ
ในกรณีที่มีความเสียหายต่อรถยนต์ เมื่อบุคคลอื่นเป็นผู้ใช้รถยนต์โดยได้รับความยินยอมจากผู้เอา

ประกันภัย บรษิ ัทสละสิทธิในการไลเ่ บี้ยจากผใู้ ช้รถยนตน์ ั้น เวน้ แต่การใช้โดยบุคคลของสถานให้บรกิ ารเกี่ยวกับ
การซ่อมแซมรถ การทำความสะอาดรถ การบำรุงรักษารถ หรอื การติดต้ังอปุ กรณ์เพิ่มเตมิ เมอ่ื รถยนต์ไดส้ ง่ มอบ
ใหเ้ พือ่ รับบรกิ ารนน้ั

ขอ้ 7. การยกเวน้ ความเสยี หายตอ่ รถยนต์ การประกันภยั นไี้ ม่ค้มุ ครอง
7.1 การเส่ือมราคา หรอื การสึกหรอของรถยนต์
7.2 การแตกหักของเคร่ืองจักรกลไกของรถยนต์ หรือการเสีย หรือการหยุดเดินของเคร่ืองจักรกลไก

หรอื เคร่อื งไฟฟา้ ของรถยนต์อนั มิไดเ้ กดิ จากอบุ ตั เิ หตุ
7.3 ความเสียหายโดยตรงต่อรถยนต์ อันเกิดจากการบรรทุกน้ำหนัก หรือจำนวนผู้โดยสารเกินกว่าท่ี

ได้รบั อนญุ าตอนั มไิ ดเ้ กดิ จากอบุ ัตเิ หตุ
7.4 ความเสียหายต่อยางรถยนต์ อันเกิดจากการฉีกขาด หรือการระเบิด เว้นแต่กรณีมีความเสียหาย

เกิดขนึ้ ต่อส่วนอน่ื ของรถยนตใ์ นเวลาเดยี วกนั
7.5 ความเสียหายอนั เกดิ จากการขาดการใชร้ ถยนต์ เว้นแต่การขาดใช้รถยนตน์ ั้นเกดิ จากบรษิ ัทประวิง

การซอ่ ม หรือซ่อมล่าชา้ เกินกวา่ ทีค่ วรจะเปน็ โดยไมม่ เี หตุอันสมควร

ข้อ 8. การยกเว้นการใช้ การประกนั ภัยน้ีไม่คุ้มครอง
8.1 การใชร้ ถยนตน์ อกอาณาเขตท่คี ุ้มครอง
8.2 การใชร้ ถยนตใ์ นทางผดิ กฎหมาย เชน่ ใชร้ ถยนต์ไปปลน้ ทรัพย์ ชงิ ทรัพย์ หรอื ใช้ขนยาเสพติด เป็นต้น
8.3 การใชใ้ นการแขง่ ขนั ความเรว็

ขอ้ 9. การยกเว้นการใช้อนื่ ๆ การประกันภยั นไี้ มค่ ุ้มครอง
9.1 การใช้ลากจูง หรือผลักดัน เว้นแต่รถที่ถูกลากจูง หรือถูกผลักดันได้ประกันภัยไว้กับบริษัทด้วย

หรือเปน็ รถลากจูงโดยสภาพ หรือรถทม่ี ีระบบหา้ มลอ้ เชอ่ื มโยงถงึ กนั
9.2 การใช้รถยนตน์ อกเหนอื จากที่ระบุไว้ในตารางในขณะเกิดอุบตั เิ หตุ
9.3 การขับขี่โดยบุคคลซ่ึงในขณะขับข่ีมีปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกินกว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์

ซึ่งเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 16 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
กำหนดใหถ้ ือว่าเมาสรุ า24

9.4 การขับข่ีโดยบุคคลที่ไม่เคยได้รับใบอนุญาตขับข่ีใดๆ หรือเคยได้รับแต่ถูกตัดสิทธิตามกฎหมาย
หรือใชใ้ บขบั ข่รี ถจักรยานยนต์ไปขับขรี่ ถยนต์

24 คำส่ังนายทะเบยี นท่ี 11/2560 เรอ่ื ง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ข้อความกรมธรรม์ประกนั ภัย และเอกสารแนบทา้ ยของกรมธรรมป์ ระกันภยั สั่ง ณ วันท่ี 16
มีนาคม 2560 หน้า 2

105

การยกเว้นตามข้อ 9.1 9.2 9.3 9.4 จะไม่นำมาใช้ในกรณีท่ีมีความเสียหายต่อรถยนต์ที่เกิดข้ึน และ
มใิ ชค่ วามประมาทของผู้ขบั ข่ีท่เี อาประกันภยั ตามกรมธรรมป์ ระกันภัยน้ี

แต่ในกรณีท่ีเป็นการประกนั ภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่ การยกเว้นตามขอ้ 9.4 จะไม่นำมาใช้บังคับ หาก
ผูข้ บั ข่ใี นขณะเกิดความเสยี หาย เป็นผูข้ ับขี่ทถี่ กู ระบุชือ่ ในกรมธรรม์ประกนั ภัย

เง่ือนไข: การขยายเพิ่มเติมตามเอกสารแนบท้ายนี้ อยู่ภายใต้บังคับของเงื่อนไขและการยกเว้นแห่งกรมธรรม์
ประกันภัยท่ีปรากฏในสัญญาหมวดเงื่อนไขท่ัวไป ยกเว้นเงื่อนไขข้อ 7 การลดเบี้ยประกันภัยประวัติดี และ
ขอ้ 8 การเพมิ่ เบี้ยประกนั ภัยประวัติไม่ดี จะไมน่ ำมาบังคับใช้

106

เอกสารแนบทา้ ยความคุ้มครองเพิ่มเตมิ
การประกันภยั อุบตั ิเหตุสว่ นบุคคล (ร.ย.01)

เมอื่ ใช้ในเอกสารแนบทา้ ยน้ี ผูข้ ับขีแ่ ละ/หรือผูโ้ ดยสารตามจำนวนท่ีระบุในตาราง ซึ่งอยู่ในหรือกำลงั
ผไู้ ดร้ บั ความคุ้มครอง หมายถงึ ขับข่ี หรือกำลังขึ้นหรือกำลงั ลงจากรถยนต์
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันจากปัจจัยภายนอกร่างกายและทำให้
อุบัตเิ หตุ หมายถึง เกิดผลที่ผู้ได้รับความคุ้มครองมิได้เจตนาหรือมุ่งหวังและให้หมายความ
รวมถงึ การถูกฆาตกรรมด้วย
การสญู เสียโดยถาวรส้ินเชงิ ใหร้ วมถึงการสูญเสียสมรรถภาพในการใชง้ านของอวัยวะนัน้ โดยถาวร
สิ้นเชิง
การสูญเสียสายตา หมายถึง ตาบอดสนทิ และไม่มีทางรักษาใหห้ ายได้ตลอดไป
ทุพพลภาพถาวร หมายถงึ ทุพพลภาพถึงขนาดที่ไม่สามารถประกอบอาชีพใดหรือทำงานใดเพ่ือ
สินจา้ งได้โดยสิน้ เชงิ และตลอดไป
ทุพพลภาพชั่วคราว หมายถงึ ทุพพลภาพถงึ ขนาดที่ไม่สามารถประกอบหน้าท่ีการงานในอาชีพประจำ
ตามปกตไิ ดโ้ ดยสนิ้ เชงิ ในชั่วระยะเวลาหนึ่ง

เปน็ ที่ตกลงกนั ว่า กรมธรรม์ประกนั ภยั ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ได้มกี ารขยายเพิ่มเติมดังต่อไปน้ี
บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความสูญเสียอันเกิดจากความบาดเจ็บขอ งผู้ได้รับความคุ้มครองโดย
อบุ ัติเหตุ ซ่งึ ทำใหเ้ กดิ ผลดงั ต่อไปนี้

การคมุ้ ครองข้อ 1: เสยี ชีวิต
ถา้ ความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองเสียชีวิตใน 180 วัน นับแต่วันเกิดอุบัติเหตุก็ดี หรือ

ความบาดเจ็บที่ได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันในโรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และ
เสียชีวิตเพราะเหตุบาดเจ็บน้ันก็ดี บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้ตามจำนวนเงินเอาประกันภัยท่ีระบุไว้ใน
ตาราง ใหแ้ ก่ทายาทของผไู้ ด้รบั ความคุ้มครอง

การคมุ้ ครองข้อ 2 : สญู เสยี มือ เท้า สายตา
ถ้าความบาดเจ็บที่ได้รับไม่มีผลทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องเสียชีวิตภายใน 180 วัน นับแต่วันเกิด

อุบัติเหตุแต่มีผลทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองได้รับการสูญเสียโดยถาวรสิ้นเชิง ภายใน 180 วัน นับแต่วันเกิด
อุบัติเหตกุ ็ดี หรือความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันในโรงพยาบาลในฐานะ
คนไข้ใน และเป็นเหตุให้ผู้ได้รับความคุ้มครองได้รับการสูญเสียโดยถาวรส้ินเชิงดังกำหนดข้างล่างน้ี บริษัทจะ
จา่ ยคา่ สนิ ไหมทดแทนให้แก่ผู้ไดร้ ับความคุ้มครองดงั นี้

100% ของจำนวนเงินเอาประกันภยั สำหรบั มือสองขา้ ง ต้ังแต่ข้อมอื หรอื เท้าสองข้าง ตั้งแต่
ขอ้ เทา้ หรอื สายตาสองข้าง

100% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย สำหรับมือหน่ึงข้าง ตั้งแต่ข้อมือ และเท้าหน่ึงข้าง ต้ังแต่
ขอ้ เทา้

100% ของจำนวนเงินเอาประกนั ภัย สำหรับมือหนึ่งข้าง ต้งั แต่ข้อมือ และสายตาหนึ่งข้าง
100% ของจำนวนเงนิ เอาประกันภัย สำหรบั เทา้ หนึง่ ขา้ ง ตง้ั แต่ข้อเท้า และสายตาหนงึ่ ข้าง

107

60% ของจำนวนเงนิ เอาประกนั ภยั สำหรับมือหนง่ึ ข้าง ต้ังแต่ขอ้ มือ
60% ของจำนวนเงินเอาประกนั ภยั สำหรับเท้าหนงึ่ ขา้ ง ตัง้ แตข่ ้อเทา้
60% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย สำหรบั ตาหนงึ่ ข้าง
บรษิ ัทจะจา่ ยค่าทดแทนตามข้อน้เี พยี งรายการท่สี งู สุดรายการเดยี วเทา่ นนั้

การคมุ้ ครองข้อ 3: ทุพพลภาพถาวร
ถ้าความบาดเจบ็ มผี ลภายใน 12 เดอื น นับแต่วนั เกิดอบุ ัติเหตุทำให้ผ้ไู ดร้ ับความคุม้ ครองเกดิ ทพุ พลภาพ

ถาวรและทุพพลภาพถาวรนั้นได้เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 12 เดือน หรือมีข้อบ่งช้ีทางการแพทย์ ว่าผู้ได้รับ
ความคุ้มครองน้ันตกเป็นบุคคลทุพพลภาพถาวร บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ตามจำนวนเงินเอาประกันภัย
ดังระบุไว้ในตาราง หักด้วยจำนวนเงินที่ใช้ หรือต้องใช้ตามความคุ้มครองข้อ 1 หรือ ข้อ 2 ให้แก่ผู้ได้รับความ
คุม้ ครอง

การคุ้มครองข้อ 4: ทพุ พลภาพชว่ั คราว
ถ้าความบาดเจ็บที่ได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองตกเป็นบุคคลทุพพลภาพช่ัวคราวภายใน 180 วัน นับแต่

วันที่เกิดอุบัติเหตุ หรือความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันในโรงพยาบาลใน
ฐานะคนไข้ใน และเป็นเหตุให้ผู้ได้รับความคุ้มครองตกเป็นบุคคลทุพพลภาพช่ัวคราว บริษัทจะจ่ายค่าสินไหม
ทดแทนให้แก่ผู้ได้รับความคุ้มครองเป็นระยะๆ ตลอดเวลาท่ียังทุพพลภาพอยู่ตามจำนวนเงินที่ระบุไว้ในตาราง
แตไ่ มเ่ กนิ 52 สปั ดาห์ ต่ออบุ ตั ิเหตแุ ตล่ ะครั้ง

บริษัทจะไม่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความคุ้มครองนี้ หากอุบัติเหตุมีผลทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครอง
เกิดความสูญเสยี ตามการคุม้ ครองตามข้อ 1 หรือข้อ 2 หากความสูญเสียมีผลทำให้มีทุพพลภาพถาวรเกิดขึ้นต่อ
ผู้ได้รับความคุ้มครองตามการคุ้มครอง ข้อ 3 ค่าสินไหมทดแทนที่บริษัทใช้ตามการคุ้มครองข้อนี้ จะมีการหัก
จากจำนวนเงนิ เอาประกนั ภัยทบี่ ริษทั ตอ้ งใช้ตามการคุ้มครอง ขอ้ 3

การยกเว้น: การขยายเพ่ิมเติมน้ีไม่คุม้ ครองการเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือการทุพพลภาพ อันเกิดข้ึนเป็น
ผลโดยตรงหรือโดยอ้อมทั้งหมดหรือบางส่วนจากการกระทำผิดอาชญากรรมสถานหนักโดยผู้ได้รับความ
คุม้ ครองน้นั

เงอื่ นไขอื่น: การขยายเพ่ิมเติมตามเอกสารแนบท้ายน้ี อยูภ่ ายใตบ้ ังคับของเงอื่ นไขและการยกเว้นแห่งกรมธรรม์
ประกนั ภยั ทีป่ รากฏในสัญญาหมวดเงือ่ นไขทวั่ ไป

หมายเหตุ แบบฟอร์มนี้ใช้ในกรณีออกพร้อมกรมธรรมป์ ระกันภยั

108

เอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพ่ิมเตมิ
การประกันภัยคา่ รกั ษาพยาบาล (ร.ย.02)

เปน็ ที่ตกลงกนั วา่ กรมธรรมป์ ระกันภัยดังกล่าวขา้ งตน้ ไดม้ ีการขยายเพ่ิมเติม ดังต่อไปนี้
บริษัทจะใช้ค่ารักษาพยาบาล คา่ บรกิ ารทางการแพทย์ คา่ ผ่าตดั และคา่ บริการอื่นๆ ตามท่ีจา่ ยจริง ซ่ึง
ได้เกิดข้ึนภายใน 12 เดือน นับแต่วันเกิดอุบัติเหตุเพื่อบุคคลใด ซึ่งได้รับความบาดเจ็บทางร่างกาย เนื่องจาก
อุบัติเหตุในขณะอย่ใู น หรอื กำลงั ขึน้ หรอื กำลังลงจากรถยนต์

ความรบั ผดิ ชอบของบรษิ ัทต่อคนในแต่ละครั้งจะไม่เกินจำนวนเงนิ เอาประกันภยั ท่ีระบุไวใ้ นตาราง
การขยายเพม่ิ เติมน้มี ีผลบังคบั เฉพาะตอ่ รถยนตท์ ีร่ ะบุไวใ้ นตาราง

เงื่อนไขอื่น: การขยายเพ่ิมเติมตามเอกสารแนบท้ายนี้ อยู่ภายใต้บังคับของเง่ือนไขและการยกเว้นแห่งกรมธรรม์
ประกนั ภัยทป่ี รากฏในสญั ญาหมวดเง่ือนไขทัว่ ไป

หมายเหตุ แบบฟอร์มน้ใี ช้ในกรณอี อกพร้อมกรมธรรม์ประกนั ภัย

109

เอกสารแนบทา้ ยความคุ้มครองเพ่ิมเติม
การประกันตัวผูข้ ับข่ี (ร.ย.03)

เป็นทต่ี กลงกนั ว่า กรมธรรม์ประกันภยั ดังกล่าวขา้ งต้นได้มกี ารขยายเพิ่มเติม ดังต่อไปน้ี
บริษัทจะประกันตัวผู้เอาประกันภัย หรือบุคคลใดซ่ึงขับข่ีรถยนต์โดยได้รับความยินยอมจากผู้เอา
ประกนั ภยั ในกรณรี ถยนต์ที่ระบไุ ว้ในตารางเกดิ อุบัติเหตุ เปน็ ตน้ เหตุใหบ้ ุคคลดงั กล่าวถกู ควบคมุ ตวั ในคดีอาญา
การประกันตัวบุคคลดังกล่าว บริษัทจะดำเนินการโดยไม่ชักช้าตามจำนวนเงินที่พนักงานสอบสวน
พนักงานอัยการหรอื ศาลกำหนดจนกว่าคดีจะถึงทีส่ ดุ

เงื่อนไขอื่น: การขยายเพ่ิมเติมตามเอกสารแนบท้ายน้ี อยู่ภายใต้บังคับของเงื่อนไขและการยกเว้นแห่งกรมธรรม์
ประกันภัยท่ปี รากฏในสญั ญาหมวดเง่ือนไขท่วั ไป

หมายเหตุ แบบฟอร์มนี้ใช้ในกรณีออกพร้อมกรมธรรมป์ ระกันภัย

110

เอกสารแนบทา้ ย
ขอ้ ยกเว้นภัยกอ่ การร้าย (ร.ย.30)

ถ้าข้อความใดในเอกสารน้ีขัดหรือแย้งกับข้อความท่ีปรากฏในกรมธรรม์ประกันภัย หรือสลักหลังใดๆ ให้
เป็นที่ตกลงกันว่า กรมธรรม์ประกันภัยน้ีไม่คุ้มครองความสูญเสีย ความเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายใดๆ ก็ตามไม่ว่าจะ
เป็นสาเหตุโดยตรงหรือโดยอ้อม เป็นผลมาจากหรือเกี่ยวเน่ืองมาจากการกระทำก่อการร้าย ไม่วา่ จะเกิดจากสาเหตุ
หรือเหตกุ ารณ์ ซง่ึ ส่งผลกระทบอย่างต่อเนือ่ ง หรอื มลี ำดบั เหตกุ ารณเ์ ปน็ อย่างไรสำหรับความสูญเสียนนั้

โดยจุดประสงค์ของข้อยกเว้นนี้ การกระทำก่อการร้ายให้หมายความรวมถึงการกระทำ ซ่ึงใช้กำลังหรือ
ความรุนแรง และ/หรือมีการข่มขู่โดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใด ไม่ว่าจะเป็นการกระทำเพียงลำพัง การกระทำการแทน
หรือที่เกี่ยวเนื่องกับองค์กรใด หรือรัฐบาลใด ซ่ึงกระทำเพ่ือผลทางการเมือง ศาสนา ลัทธินิยม หรือจุดประสงค์ที่
คล้ายคลึงกัน รวมทง้ั เพ่ือต้องการส่งผลให้รฐั บาล และหรือสาธารณชนหรอื ส่วนหนึง่ สว่ นใดของสาธารณชนตกอยใู่ น
ภาวะตื่นตระหนก หวาดกลวั

ขอ้ ยกเวน้ นี้ไม่คุ้มครองความสูญเสยี ความเสียหาย ค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุโดยตรงหรือโดยอ้อม
เป็นผลมาจากหรือมีส่วนเกี่ยวเนื่องกบั การกระทำใดๆ ที่ต้องกระทำขึ้นเพื่อควบคุม ป้องกัน หยุดย้ัง ไม่ว่าจะรูปแบบ
ใด ซง่ึ เกีย่ วเน่อื งกับการกระทำกอ่ การร้าย

ในกรณที ีส่ ่วนหนงึ่ สว่ นใดของข้อยกเว้นนไ้ี มส่ ามารถนำมาใชบ้ ังคับไดใ้ ห้ถือวา่ ส่วนทเ่ี หลือยงั คงมผี ลบงั คบั

เอกสารแนบท้ายการแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงกรมธรรมป์ ระกันภัยรถยนตแ์ บบคมุ้ ครองเฉพาะภัย ร.ย.ภ.00

รหสั บรษิ ัท : ….............… เอกสารแนบท้ายเลขท่ี………………………….....................…….. เปน็ ส่วนหนึ่งของกรมธรรมป์ ระกนั ภัยเลขท่ี………………………

รายการท่ี 1. ผ้เู อาประกนั ภัย ช่ือ…………………………………..............................…………………. อาชีพ……………………………………………………
ที่อย…ู่ ……………………………………………………......................................….………………………………………………

รายการที่ 2. ผขู้ บั ข่ี ผขู้ ับขี่ 1 : ……………………………………………………................................……………………………………………………...........
ผขู้ บั ขี่ 2 : ………………………………………………………….………………………………………………..........................................

รายการท่ี 3. ผู้รับประโยชน์ ……………………………………………………................................……………………………………………………...................

รายการท่ี 4. ระยะเวลาประกันภัย : เริ่มตน้ วนั ท่ี………………………..……..……….…… สนิ้ สดุ วนั ที่…………..………………………………… เวลา 16:30 น.

รายการท่ี 5. รายการรถยนตท์ ี่เอาประกนั ภัย

ลำดบั รหสั ชื่อรถยนต์/รุน่ เลขทะเบยี น เลขตัวถัง ปี รุ่น แบบตัวถงั จำนวนท่นี งั่ /ขนาด/นำ้ หนกั

รายการที่ 5. จำนวนเงินเอาประกันภยั : กรมธรรม์ประกันภยั นีใ้ หก้ ารคุม้ ครองเฉพาะข้อตกลงคมุ้ ครองทม่ี ีจำนวนเงนิ เอาประกันภยั ระบุไวเ้ ท่าน้นั

ความคมุ้ ครองหลกั (1) ความค้มุ ครองความเสยี หายต่อตวั รถยนต์ตาม ความคมุ้ ครองอ่ืนๆ ตามเอกสารแนบทา้ ย
เอกสารแนบทา้ ยแบบคุม้ ครองเฉพาะภยั (2) และเอกสารแนบทา้ ยแบบคมุ้ ครองเฉพาะภัย (3)

1) ความคุม้ ครองความรบั ผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก 1) ความคุ้มครองความเสียหายต่อรถยนต์ 1) (ระบชุ อ่ื ความคมุ้ ครองตาม ร.ย. หรือ ร.ย.ภ.)

1.1) ความเสยี หายตอ่ ชวี ิต รา่ งกาย หรืออนามยั เนอื่ งจากการชนกบั ยานพาหนะทางบก (ร.ย.ภ.10) ............................................... บาท/ครง้ั

เฉพาะสว่ นเกินวงเงินสงู สุดตาม พ.ร.บ. ............................................... บาท/คร้งั 2) (ระบชุ อ่ื ความค้มุ ครองตาม ร.ย. หรอื ร.ย.ภ.)

.........................................บาท/คน ความเสยี หายสว่ นแรกกรณเี ป็นฝา่ ยผดิ ............................................... บาท/คร้งั

.........................................บาท/ครั้ง ........................2,000………... บาท/ครง้ั 3) (ระบชุ อื่ ความคุม้ ครองตาม ร.ย. หรอื ร.ย.ภ)
1.2) ความเสยี หายตอ่ ทรพั ยส์ นิ 2) (ระบุชอื่ ความค้มุ ครองตาม ร.ย.ภ.) ............................................... บาท/คร้งั

.........................................บาท/ครั้ง ............................................... บาท/ครง้ั 4) (ระบุชอื่ ความคุม้ ครองตาม ร.ย. หรอื ร.ย.ภ)

1.2.1) ความเสยี หายสว่ นแรก 3) (ระบชุ อื่ ความคุ้มครองตาม ร.ย.ภ) ............................................... บาท/คร้งั

.........................................บาท/คร้งั ............................................... บาท/คร้งั (ระบเุ ฉพาะความคมุ้ ครองทรี่ ับประกนั ภัย)

2) ความคมุ้ ครองความเสยี หายต่อตวั รถยนต์ 4) (ระบุชอ่ื ความคมุ้ ครองตาม ร.ย.ภ)
2.1) รถยนต์สญู หาย/ไฟไหม้ ............................................... บาท/ครงั้

..........................................บาท (ระบุเฉพาะความคุ้มครองท่ีรบั ประกนั ภยั )

รายการที่ 7. เบ้ยี ประกนั ภยั

เบย้ี ประกันภยั ตามความคุ้มครอง (1) และ (3) ........................................บาท (เบีย้ ประกนั ภัยน้ไี ด้หกั ส่วนลดกรณรี ะบุชอ่ื ผู้ขับขีแ่ ล้ว)

สว่ นลด/ส่วนเพ่มิ ตาม ความเสียหายสว่ นแรก.......................บาท สว่ นลดกลมุ่ ................. บาท ประวตั ิดี.................บาท รวมส่วนลด..................บาท

ความคมุ้ ครอง (1) และ (3) ประวตั เิ พ่ิม........................................บาท

เบีย้ ประกันภยั ตามความคุ้มครอง (2) ...................................บาท

สว่ นลดอ่ืนๆ.......................................บาท

รายการท่ี 8. การใช้รถยนต์

รายการที่ 9. อาณาเขตค้มุ ครอง

การปรบั เบีย้ ประกันภยั (บาท)
เบีย้ ประกันภยั คืน……………....เพ่มิ …......……..………อากร………………… ภาษีมลู คา่ เพ่ิม………………………. รวม...........……......……………..บาท

วันทีม่ ผี ลบังคับ วันทำเอกสาร

เปน็ ทต่ี กลงกันวา่ ณ วันที่มีผลบงั คับดังทีร่ ะบุไวใ้ นเอกสารแนบทา้ ยน้ี กรมธรรม์ประกันภัยดังกลา่ วข้างต้นได้มีการเปลย่ี นแปลงแก้ไขดังน้ี

1. .....................................................................................................................................................................................................

2. .....................................................................................................................................................................................................

3. .....................................................................................................................................................................................................

เงอ่ื นไขและสัญญาประกันภยั ขอ้ อื่นๆ ไมเ่ ปลีย่ นแปลง
เพ่ือเป็นหลกั ฐาน บรษิ ัทโดยบคุ คลผ้มู อี ำนาจได้ลงลายมือชือ่ และประทับตราของบริษทั ไว้เปน็ สำคัญ ณ สำนักงานของบริษัท

………………………………………………. ……………………..........……………….. ….............……………………………… ผ้รู บั มอบอำนาจ
กรรมการ กรรมการ

หมายเหตุ แบบฟอรม์ นใี้ ชใ้ นกรณแี กไ้ ขกรมธรรม์ประกนั ภัยและเอกสารแนบท้ายภายหลงั การออกกรมธรรม์ประกนั ภยั

เอกสารแนบทา้ ยการเลิกกรมธรรมป์ ระกันภยั แบบคุ้มครองเฉพาะภัย ร.ย.ภ.01

รหัสบริษทั : ….............… เอกสารแนบทา้ ยเลขท่ี………………………….....................…….. เปน็ ส่วนหนงึ่ ของกรมธรรม์ประกนั ภยั เลขท่ี………………………
รายการท่ี 1. ผเู้ อาประกันภยั ชื่อ…………………………………..............................…………………. อาชพี ……………………………………………………

ทีอ่ ย…ู่ ……………………………………………………......................................….………………………………………………

รายการท่ี 2. ผขู้ บั ขี่ ผขู้ ับขี่ 1 : ……………………………………………………................................……………………………………………………...........
ผขู้ ับขี่ 2 : ………………………………………………………….………………………………………………..........................................

รายการที่ 3. ผรู้ ับประโยชน์ ……………………………………………………................................……………………………………………………...................

รายการที่ 4. ระยะเวลาประกนั ภัย : เร่มิ ต้นวนั ท่ี………………………..……..……….…… ส้ินสดุ วนั ท่ี…………..………………………………… เวลา 16:30 น.

รายการท่ี 5. รายการรถยนต์ทเ่ี อาประกนั ภยั

ลำดับ รหัส ชื่อรถยนต์/ร่นุ เลขทะเบยี น เลขตัวถงั ปี รุน่ แบบตัวถงั จำนวนทน่ี ่ัง/ขนาด/นำ้ หนกั

รายการท่ี 6. จำนวนเงินเอาประกันภัย: กรมธรรม์ประกันภยั นใ้ี หก้ ารคมุ้ ครองเฉพาะขอ้ ตกลงค้มุ ครองท่ีมีจำนวนเงนิ เอาประกนั ภยั ระบไุ วเ้ ท่าน้ัน

ความคมุ้ ครองหลกั (1) ความคมุ้ ครองความเสียหายตอ่ ตัวรถยนตต์ าม ความคุ้มครองอนื่ ๆ ตามเอกสารแนบทา้ ย
เอกสารแนบทา้ ยแบบค้มุ ครองเฉพาะภยั (2) และเอกสารแนบทา้ ยแบบคุ้มครองเฉพาะภยั (3)
1) ความคุ้มครองความรบั ผิดต่อบคุ คลภายนอก
1.2) ความเสยี หายตอ่ ชวี ิต รา่ งกาย หรอื อนามยั 1) ความคมุ้ ครองความเสยี หายต่อรถยนต์ 1) (ระบชุ อ่ื ความค้มุ ครองตาม ร.ย. หรือ ร.ย.ภ.)
เฉพาะสว่ นเกนิ วงเงนิ สงู สดุ ตาม พ.ร.บ. เน่อื งจากการชน กบั ยานพาหนะทางบก (ร.ย.ภ.10) ............................................... บาท/ครงั้
.........................................บาท/คน ............................................... บาท/คร้งั
.........................................บาท/ครั้ง ความเสยี หายสว่ นแรกกรณเี ปน็ ฝา่ ยผิด 2) (ระบุชอื่ ความคมุ้ ครองตาม ร.ย. หรอื ร.ย.ภ.)
1.2) ความเสียหายตอ่ ทรัพย์สนิ ........................2,000………… บาท/ครงั้ ............................................... บาท/คร้งั
.........................................บาท/ครั้ง
1.2.1) ความเสยี หายส่วนแรก 2) (ระบชุ อื่ ความค้มุ ครองตาม ร.ย.ภ.) 3) (ระบุชอ่ื ความคุม้ ครองตาม ร.ย. หรอื ร.ย.ภ)
.........................................บาท/คร้งั ............................................... บาท/คร้งั ............................................... บาท/คร้งั

2) ความค้มุ ครองความเสยี หายตอ่ ตวั รถยนต์ 3) (ระบุชอ่ื ความคมุ้ ครองตาม ร.ย.ภ) 4) (ระบชุ อ่ื ความคุ้มครองตาม ร.ย. หรือ ร.ย.ภ)
2.1) รถยนต์สญู หาย/ไฟไหม้ ............................................... บาท/ครง้ั ............................................... บาท/ครง้ั
..........................................บาท (ระบเุ ฉพาะความค้มุ ครองที่รบั ประกนั ภยั )
4) (ระบุชอ่ื ความคมุ้ ครองตาม ร.ย.ภ)
............................................... บาท/ครง้ั
(ระบเุ ฉพาะความคมุ้ ครองทรี่ บั ประกนั ภยั )

รายการท่ี 7. เบย้ี ประกนั ภยั

เบย้ี ประกันภยั ตามความคุ้มครอง (1) และ (3) ........................................บาท (เบ้ียประกนั ภัยนี้ไดห้ กั สว่ นลดกรณรี ะบุชอื่ ผู้ขบั ขี่แลว้ )

สว่ นลด/สว่ นเพม่ิ ตาม ความเสียหายส่วนแรก.......................บาท สว่ นลดกล่มุ ................. บาท ประวตั ิดี.................บาท รวมส่วนลด..................บาท

ความคุม้ ครอง (1) และ (3) ประวัตเิ พ่มิ ........................................บาท

เบี้ยประกนั ภัยตามความคมุ้ ครอง (2) ...................................บาท

ส่วนลดอน่ื ๆ.......................................บาท

รายการที่ 8. การใช้รถยนต์

รายการที่ 9. อาณาเขตคมุ้ ครอง

การปรบั เบ้ียประกันภยั (บาท)
เบี้ยประกันภัย คืน……………....เพมิ่ …......……..………อากร………………… ภาษีมูลคา่ เพิ่ม………………………. รวม...........……......……………..บาท

วนั ทม่ี ผี ลบงั คับ วันทำเอกสาร

เป็นทีต่ กลงกันวา่ ณ วันท่มี ผี ลบังคบั ดงั ทีร่ ะบุไว้ในเอกสารแนบทา้ ยนี้ กรมธรรมป์ ระกันภยั ดังกลา่ วขา้ งต้นได้มีการยกเลิกไป

................................................................ .............................................................. ............................................................
กรรมการ
กรรมการ ผูร้ ับมอบอำนาจ

113

แบบ ขอ้ ความกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
รวมการคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ

114

แบบ ขอ้ ความกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์รวมการคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ

บริษทั ประกนั ภยั ต้องออกเอกสารเพื่อเปน็ หลกั ฐานในการรับประกันภัย ดงั น้ี
1. กรมธรรมป์ ระกนั ภัยประเภท 1 ประกอบด้วย
1.1 ใบเสรจ็ รับเงนิ /ใบกำกบั ภาษี หรอื ใบเสรจ็ รบั เงนิ /ใบกำกบั ภาษีอยา่ งย่อ
1.2 หลักฐานแสดงการประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเพื่อใช้

สำหรบั ขอจดทะเบยี นรถใหมห่ รือขอเสยี ภาษีรถยนตป์ ระจำปีต่อนายทะเบียนขนส่ง
1.3 คำขอเอาประกันภัย
1.4 ตารางกรมธรรมป์ ระกันภยั รถยนต์
1.5 เงื่อนไขความคุ้มครอง ได้แก่ หมวดเง่ือนไขทั่วไป หมวดการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

หมวดการคุม้ ครองความรบั ผิดต่อบคุ คลภายนอก หมวดการคมุ้ ครองรถยนต์สูญหายและไฟไหม้ หมวด
การค้มุ ครองความเสยี หายตอ่ รถยนต์ และเง่ือนไขเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่ม

2. กรมธรรม์ประกนั ภัยประเภท 2 ประกอบดว้ ย
2.1 ใบเสรจ็ รบั เงิน/ใบกำกับภาษี หรือใบเสรจ็ รบั เงิน/ใบกำกบั ภาษีอย่างยอ่
2.2 หลักฐานแสดงการประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

เพ่อื ใช้สำหรบั ขอจดทะเบียนรถใหมห่ รือขอเสียภาษรี ถยนต์ประจำปีต่อนายทะเบียนขนส่ง
2.3 คำขอเอาประกันภยั
2.4 ตารางกรมธรรม์ประกันภยั รถยนต์
2.5 เง่ือนไขความคุ้มครอง ได้แก่ หมวดเงื่อนไขทั่วไป หมวดการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

หมวดการคุ้มครองความรับผิดต่อบุคคลภายนอก หมวดการคุ้มครองรถยนต์สูญหายและไฟไหม้ และ
เงอื่ นไขเอกสารแนบทา้ ยความคมุ้ ครองเพิม่

3. กรมธรรมป์ ระกันภัยประเภท 3 ประกอบดว้ ย
3.1 ใบเสรจ็ รบั เงิน/ใบกำกับภาษี หรือใบเสร็จรบั เงิน/ใบกำกบั ภาษีอยา่ งยอ่
3.2 หลักฐานแสดงการประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

เพ่อื ใชส้ ำหรับขอจดทะเบียนรถใหม่หรือขอเสยี ภาษรี ถยนต์ประจำปตี ่อนายทะเบยี นขนส่ง
3.3 คำขอเอาประกันภัย
3.4 ตารางกรมธรรม์ประกันภยั รถยนต์
3.5 เงื่อนไขความคุ้มครอง ได้แก่ หมวดเงื่อนไขทั่วไป หมวดการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

หมวดการคุ้มครองความรบั ผดิ ต่อบุคคลภายนอก และเงอ่ื นไขเอกสารแนบทา้ ยความคมุ้ ครองเพิ่ม

ชื่อ - ที่อยู่ บรษิ ทั ประกนั ภยั เลม่ ท.ี่ ............... เลขท่ี....................
วนั ท.่ี .......................................................

ทะเบียนเลขท่ี ใบเสร็จรับเงนิ /ใบกำกบั ภำษี
เลขประจำตวั ผเู้ สียภำษีอำกร ชอ่ื และทอี่ ยู่ผเู้ อำประกนั ภยั

อำชพี ………………………………………………………………..………………….………...… เบ้ยี ประกนั ภยั บำท
อำกรแสตมป์ บำท
บำท
รวมเงิน บำท
ภำษีมูลคำ่ เพมิ่ บำท
รวมเป็ นเงิน

กรมธรรมป์ ระกนั ภยั เลขท่ี เลขทะเบียน เลขตวั ถงั จำนวนทนี่ งั่ /ขนำด/น้ำหนกั
รหสั ชอื่ รถยนต์

ระยะเวลำเอำประกนั ภยั : เริ่มตน้ วนั ที่ ................................. สิ้นสุดวนั ที่ ........................................ เวลำ 16.30 น.

ประเภทกำรประกนั ภยั พ.ร.บ. ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ................

จำนวนเงินเอำประกนั ภยั …….........................................บำท (รถยนตร์ วมอปุ กรณ์ตกแตง่ เพมิ่ เตมิ )

อปุ กรณ์ตกแตง่ เพมิ่ เตมิ ................................................................................................รำคำ...............................................บำท

ไม่ระบชุ อื่ ผขู้ บั ขี่

ระบชุ อื่ ผขู้ บั ขี่ 1)..................................... วนั เดือน ปี เกิด...................อำชีพ..................เลขประจำตวั ประชำชน..............................

2)..................................... วนั เดอื น ปี เกิด...................อำชีพ..................เลขประจำตวั ประชำชน.............................

กำรใชร้ ถยนต.์ ........................................................................................................................................................................................

วนั ทำสญั ญำประกนั ภยั ..............................................................................................

เพอ่ื เป็ นกำรตอบแทนเบ้ียประกนั ภยั ท่ีผเู้ อำประกนั ภยั ไดช้ ำระตำมจำนวนขำ้ งตน้ บริษทั ตกลงให้ควำมคุม้ ครองผเู้ อำประกนั ภยั โดยมรี ำยละเอียดควำมคมุ้ ครอง

เงื่อนไข ขอ้ ยกเวน้ ตำมกรมธรรมป์ ระกนั ภยั

........................................... ........................................ ..........................................

กรรมกำร กรรมกำร ผรู้ บั เงิน

ช่ือ - ที่อยู่ บรษิ ทั ประกนั ภัย เลม่ ท.่ี ............... เลขที่....................
วนั ท.ี่ .......................................................

ทะเบียนเลขที่ ใบเสร็จรับเงนิ /ใบกำกบั ภำษอี ย่ำงย่อ
เลขประจำตวั ผเู้ สียภำษีอำกร ชอื่ และทอ่ี ยู่ผเู้ อำประกนั ภยั

อำชีพ………………………………………………………………..………………….………...… เบ้ยี ประกนั ภยั บำท
อำกรแสตมป์ บำท
บำท
รวมเงิน บำท
ภำษีมูลคำ่ เพมิ่ บำท
รวมเป็ นเงิน

กรมธรรมป์ ระกนั ภยั เลขท่ี เลขทะเบียน เลขตวั ถงั จำนวนทนี่ งั่ /ขนำด/น้ำหนกั
รหสั ชอ่ื รถยนต์

ระยะเวลำเอำประกนั ภยั : เริ่มตน้ วนั ท่ี ................................. สิ้นสุดวนั ท่ี ........................................ เวลำ 16.30 น.

ประเภทกำรประกนั ภยั พ.ร.บ. ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ................

จำนวนเงินเอำประกนั ภยั …….........................................บำท (รถยนตร์ วมอปุ กรณ์ตกแตง่ เพมิ่ เตมิ )

อปุ กรณ์ตกแตง่ เพมิ่ เตมิ ................................................................................................รำคำ...............................................บำท

ไม่ระบชุ อื่ ผขู้ บั ขี่

ระบชุ อ่ื ผขู้ บั ขี่ 1)..................................... วนั เดือน ปี เกิด...................อำชีพ..................เลขประจำตวั ประชำชน..............................

2)..................................... วนั เดอื น ปี เกิด...................อำชพี ..................เลขประจำตวั ประชำชน.............................

กำรใชร้ ถยนต.์ ........................................................................................................................................................................................

วนั ทำสญั ญำประกนั ภยั ..............................................................................................

เพอ่ื เป็ นกำรตอบแทนเบ้ียประกนั ภยั ท่ีผเู้ อำประกนั ภยั ไดช้ ำระตำมจำนวนขำ้ งตน้ บริษทั ตกลงใหค้ วำมคุม้ ครองผเู้ อำประกนั ภยั โดยมรี ำยละเอียดควำมคุม้ ครอง

เง่ือนไข ขอ้ ยกเวน้ ตำมกรมธรรมป์ ระกนั ภยั

........................................... ........................................ ..........................................

กรรมกำร กรรมกำร ผรู้ บั เงิน

ชื่อ - ทอ่ี ยู่ บริษทั ประกนั ภยั เลม่ ท.ี่ ............... เลขที่....................

วนั ท.่ี .......................................................

ทะเบียนเลขท่ี หลกั ฐำนแสดงกำรประกนั ภยั ตำมพระรำชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผปู้ ระสบภยั จำกรถ

เลขประจำตวั ผเู้ สียภำษีอำกร เพอื่ ใชส้ ำหรบั กำรจดทะเบยี นใหม่หรือขอเสียภำษีประจำปี ตอ่ นำยทะเบยี นขนส่ง

ชอื่ และทอี่ ยผู่ เู้ อำประกนั ภยั เบ้ยี ประกนั ภยั บำท

อำกรแสตมป์ บำท

รวมเงิน บำท

ภำษีมูลคำ่ เพม่ิ บำท

อำชพี ………………………………………………………………..………………….………...… รวมเป็ นเงิน บำท

กรมธรรมป์ ระกนั ภยั เลขท่ี เลขทะเบียน เลขตวั ถงั จำนวนทนี่ ง่ั /ขนำด/น้ำหนกั
รหสั ชอ่ื รถยนต์

ระยะเวลำเอำประกนั ภยั : เร่ิมตน้ วนั ที่ ................................. สิ้นสุดวนั ที่ ........................................ เวลำ 16.30 น.

ประเภทกำรประกนั ภยั พ.ร.บ. ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ................

จำนวนเงินเอำประกนั ภยั …….........................................บำท (รถยนตร์ วมอปุ กรณ์ตกแตง่ เพม่ิ เตมิ )

อปุ กรณ์ตกแตง่ เพม่ิ เตมิ ................................................................................................รำคำ...............................................บำท

ไม่ระบชุ อ่ื ผขู้ บั ขี่

ระบชุ อื่ ผขู้ บั ขี่ 1)..................................... วนั เดอื น ปี เกดิ ...................อำชีพ..................เลขประจำตวั ประชำชน..............................

2)..................................... วนั เดือน ปี เกดิ ...................อำชีพ..................เลขประจำตวั ประชำชน.............................

กำรใชร้ ถยนต.์ ........................................................................................................................................................................................

วนั ทำสญั ญำประกนั ภยั ..............................................................................................

เอกสารน้ีใหไ้ วเ้ พื่อแสดงวา่ รถยนตท์ ่ีระบุไวข้ า้ งตน้ ไดท้ าประกนั ภยั ตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผปู้ ระสบภยั จากรถ พ.ศ.2535 แลว้

........................................... ........................................ ..........................................
กรรมกำร กรรมกำร ผรู้ บั เงิน

คำขอเอำประกนั ภัยรถยนตร์ วมกำรคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจำกรถ

ผ้เู อาประกนั ภัย ช่ือ ……………………………………. อาชีพ …………………………..

ทีอ่ ยู่ ………………………………………………………………………………..

ประเภทการประกนั ภัยทีต่ อ้ งการ ไมร่ ะบุชื่อผูข้ ับข่ี

ระบุช่ือผู้ขับขี่ คอื 1 .......................................... วนั /เดอื น/ปีเกดิ ………………อาชีพ…………………

คอื 2 ............................................... วัน/เดอื น/ปีเกิด…………อ…า…ชีพ…............……

(โปรดแนบสาเนาบัตรประจาตวั ประชาชน ใบอนุญาตขบั ข)ี่

ระยะเวลาประกันภัย : เริ่มตน้ วนั ที่ ………………………………… ส้ินสุดวันที่ ………………………….

การใช้รถยนต์....................................................................................................................................................................................................

ผรู้ ับประโยชน์………………………………………………………………………………………

รายการรถยนตท์ ีเ่ อาประกนั ภัย

ลาดบั รหัส ช่ือรถยนต/์ รุ่น เลขทะเบียน เลขตวั ถัง ปี รุ่น แบบตวั ถัง จานวนท่ีนั่ง/ขนาด/น้าหนัก มลู คา่ เตม็ รวมตกแตง่

รายการตกแตง่ เปลยี่ นแปลงรถยนตเ์ พมิ่ เตมิ (โปรดระบุรายละเอยี ด)

.............................................................................................................................................................................................................

จานวนเงนิ เอาประกนั ภัย : กรมธรรมป์ ระกันภัยนี้ให้การคมุ้ ครองเฉพาะข้อตกลงคมุ้ ครองทมี่ จี านวนเงนิ เอาประกันภัยระบุไวเ้ ท่านั้น

ความคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถและความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก รถยนตเ์ สยี หาย สูญหาย ไฟไหม้ ความคมุ้ ครองตามเอกสารแนบท้าย

1) จานวนเงนิ คมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ (การประกนั ภัยตามพ.ร.บ.) 1) ความเสยี หายตอ่ รถยนต์ 1) อบุ ัตเิ หตสุ ว่ นุบคคล

80,000 บาทตอ่ หนึ่งคน สาหรับความเสียหายตอ่ ร่างกายหรืออนามยั .…………………………บาท/ครั้ง 1.1 เสียชีวิต สูญเสยี อวัยวะ ทุพพลภาพถาวร

300,000 บาทตอ่ หนึ่งคน สาหรับการเสยี ชีวติ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร 1.1 ความเสยี หายส่วนแรก ก) ผูข้ ับข่ี 1 คน ……………บาท

200,000-300,000 บาทตอ่ หน่ึงคน กรณสี ูญเสยี อวยั วะตามเงื่อนไขกรมธรรม์ …….…………………บาท/ครั้ง ข) ผโู้ ดยสาร…คน ……………บาท/คน

และ 200 บาทตอ่ วนั รวมกนั ไมเ่ กนิ 20 วนั สาหรับการชดเชยรายวัน 2) รถยนตส์ ูญหาย/ไฟไหม้ 1.2 ทุพพลภาพช่ัวคราว

กรณเี ข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน ………….…………………บาท ก) ผขู้ ับขี่ 1 คน .…..…บาท/สัปดาห์
รวมไมเ่ กิน 304,000 บาทตอ่ คน ....................บาทตอ่ อบุ ัตเิ หตแุ ตล่ ะครั้ง ข) ผโู้ ดยสาร .... คน …….บาท/คน/สัปดาห์

จานวนเงนิ คา่ เสียหายเบอื้ งตน้ เป็นไปตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง 2) คา่ รักษาพยาบาล
ผปู้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ……………………….….…บาท/คน
2) จานวนเงนิ คมุ้ ครองความรับผิดตอ่ บุคคลภายนอก
2.1 ความเสียหายตอ่ ชีวิตร่างกายหรืออนามยั ส่วนเกนิ จาก 1) 3) การประกนั ตวั ผู้ขับข่ี
…...……...……….....……..…บาท/คร้ัง
………………….………………..บาท/คน

…....…………...….…………….. บาท/ครั้ง
2.2 ความเสยี หายตอ่ ทรัพย์สนิ

……..……………..…………….. บาท/คร้ัง เบยี้ ประกนั ภัยเอกสารแนบท้ายตาม 1) - 3)........บาท
ก) ความเสียหายสว่ นแรก

……...…...….…………….. บาท/ครั้ง
เบ้ียประกันภัยตามความคมุ้ ครองหลกั ………………………..บาท

เบย้ี ประกันภัยความคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ........................................บาท

ข้าพเจ้าขอรับรองวา่ คาบอกกล่าวตามรายการข้างบนเป็นความจริงและให้ถือเป็นส่วนหน่ึงของสญั ญาระหว่างข้าพเจ้ากบั บริษัท โดยข้าพเจ้ามคี วามประสงค์
ให้กรมธรรมป์ ระกันภัยมผี ลบังคบั ตง้ั แตว่ นั ที่ ………………………………………. เป็นตน้ ไป

ลงช่ือผเู้ ขียนหรือผพู้ มิ พ์ : ลายมอื ชื่อผ้ขู อเอาประกนั ภัย ……………………………………………………
วนั ท่ี ……… เดอื น ……………….. พ.ศ. …………

คาเตอื นของสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธรุ กิจประกันภัย
ให้ตอบคาถามข้างตน้ ตามความเป็นจริงทุกข้อ มฉิ ะนั้นบริษัทอาจถือเป็นเหตปุ ฎิเสธความรับผดิ ตามสญั ญาประกนั ภัยได้ ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์มาตรา 865

ชื่อ-ทอ่ี ยูบ่ ริษทั

ท่ีอยู่ เลขทป่ี ระจาตวั ผ้เู สยี ภาษี

รหัสบริษัท ตำรำงกรมธรรม์ประกนั ภัยรถยนตร์ วมกำรคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจำกรถ

กรมธรรมป์ ระกนั ภัยเลขที่ อาณาเขตคมุ้ ครอง ประเทศไทย

ผ้เู อาประกันภัย ชื่อ........................................................................................................................ อาชีพ .......................................................................

ทอี่ ยู่.........................................................................................................................................................................................................

ผูข้ ับข่ี 1............................................................................................................ว..ัน.../..เ.ด...อื...น.../..ป...ีเกดิ ......................................................................อ...า..ช..ี.พ...............................................................

ผู้ขับขี่ 2............................................................................................................ว..นั.../..เ.ด...อื. น/ปีเกิด......................................................................อ...า..ช..ี.พ.................................................................

ผู้รับประโยชน์.........................................................................................................

ระยะเวลาประกันภัย : เร่ิมตน้ วนั ท่ี ...................................................................... สนิ้ สุดวันท่ี ......................................................................เวลา 16.30 น.

รายการรถยนตท์ ่ีเอาประกนั ภัย

รหัสรถ ช่ือรถยนต/์ รุ่น เลขทะเบียน เลขตวั ถัง ปี รุ่น แบบตวั ถัง จานวนที่น่ัง / ขนาด / น้าหนัก

จานวนเงนิ เอาประกนั ภัย : กรมธรรมป์ ระกนั ภัยนี้ให้การคมุ้ ครองเฉพาะข้อตกลงคมุ้ ครองท่มี จี านวนเงนิ เอาประกันภัยระบุไวเ้ ท่าน้ัน

ความคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถและความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก รถยนตเ์ สียหาย สญู หาย ไฟไหม้ ความคมุ้ ครองตามเอกสารแนบท้าย
1) อบุ ัตเิ หตสุ ่วนุบคคล
1) จานวนเงนิ คมุ้ ครองผ้ปู ระสบภัยจากรถ (การประกนั ภัยตามพ.ร.บ.) 1) ความเสียหายตอ่ รถยนต์

80,000 บาทตอ่ หน่ึงคน สาหรับความเสียหายตอ่ ร่างกายหรืออนามยั ….…………………………บาท/ครั้ง 1.1 เสยี ชีวิต สญู เสยี อวยั วะ ทุพพลภาพถาวร

300,000 บาทตอ่ หนึ่งคน สาหรับการเสียชีวติ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร 1.1 ความเสียหายส่วนแรก ก) ผู้ขับขี่ 1 คน ……………บาท

200,000-300,000 บาทตอ่ หน่ึงคน กรณสี ูญเสียอวยั วะตามเง่ือนไขกรมธรรม์ ………….…………………บาท/คร้ัง ข) ผู้โดยสาร…คน ……………บาท/คน

และ 200 บาทตอ่ วัน รวมกนั ไมเ่ กนิ 20 วนั สาหรับการชดเชยรายวนั

กรณเี ข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน 2) รถยนตส์ ญู หาย/ไฟไหม้ 1.2 ทุพพลภาพชั่วคราว
รวมไมเ่ กิน 304,000 บาทตอ่ คน ....................บาทตอ่ อบุ ัตเิ หตแุ ตล่ ะครั้ง ………….…………………บาท ก) ผู้ขับข่ี 1 คน .………..…บาท/สัปดาห์
จำนวนเงินคำ่ เสยี หำยเบอื้ งตน้ เปน็ ไปตำมพระรำชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง ข) ผูโ้ ดยสาร .... คน .…….บาท/คน/สปั ดาห์
ผปู้ ระสบภัยจำกรถ พ.ศ. 2535 2) คา่ รักษาพยาบาล
2) จานวนเงนิ คมุ้ ครองความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก
2.1 ความเสียหายต่อชีวิตรา่ งกายหรอื อนามัย ส่วนเกินจาก 1) ……………………….….…บาท/คน

………………….………………..บาท/คน 3) การประกันตวั ผ้ขู ับขี่

…....…………...….…………….. บาท/ครั้ง …...……...……….....……..…บาท/คร้ัง
2.2 ความเสียหายตอ่ ทรัพย์สนิ

……..……………..…………….. บาท/คร้ัง

ก) ความเสียหายส่วนแรก

………………...….…………….. บาท/ครั้ง

รายการเอกสารแนบท้ายที่แนบ.......................................................................................................................................................................

รายการเบีย้ ประกันภัย

รวม ภาคส ัมครใจ พ.ร.บ.ฯ เบี้ยประกนั ภัย…………………….บาท สว่ นลดเบ้ยี ประกนั ภัยโดยตรง.............................บาท

เบ้ยี ประกันภัยสทุ ธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ........................บาท รวม..................................บาท

เบีย้ ประกันภัยตามความคมุ้ ครองหลกั ………………………..บาท(หักส่วนลดกรณรี ะบุช่ือผขู้ ับขี่………บาทแล้ว) เบ้ยี ประกนั ภัยตามเอกสารแนบท้าย………บาท

สว่ นลด ความเสียหายส่วนแรก.……...บาท สว่ นลดกลมุ่ …...…... บาท ประวตั ดิ …ี ……………….บาท อื่นๆ…………….บาท รวมส่วนลด………...…….บาท

สว่ นเพมิ่ ประวตั เิ พมิ่ …………………บาท

เบยี้ ประกนั ภัยสุทธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ........................บาท รวม..................................บาท

เบ้ยี ประกนั ภัยสทุ ธิ อากรแสตมป์ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รวม

การใช้รถยนต์..............................................................................................................................................................................................

ตวั แทนประกนั ภัยรายน้ี.................................................. นายหน้าประกนั ภัยรายนี้ ………………………………….…… ใบอนุญาตเลขที่ ……………………………

วันทาสัญญาประกันภัย ………………………………………………… วันทากรมธรรมป์ ระกนั ภัย ……………………………………….

เพอ่ื เป็นหลกั ฐาน บริษทั โดยบุคคลผมู้ อี านาจไดล้ งลายมอื ช่ือและประทับตราของบริษัทไว้เป็นสาคญั ณ สานักงานของบริษัท

Director Director Authorized Signature
........./........./..........

120
กรมธรรม์ประกนั ภัยรถยนตร์ วมการคุ้มครองผปู้ ระสบภัยจากรถ

หมวดเงอื่ นไขท่ัวไป

ภายใต้การคุ้มครอง เง่ือนไข และข้อยกเว้นแห่งกรมธรรม์ประกันภัยและเอกสารแนบท้ายกรมธรรม์
ประกนั ภัยน้ี บริษทั ใหส้ ญั ญาต่อผ้เู อาประกนั ภยั ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1. กรมธรรม์ประกนั ภัยน้ีมผี ลใช้บังคับทนั ที เมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยชำระเบยี้ ประกนั ภัยแลว้
การชำระเบ้ียประกันภัยให้แก่ ตัวแทนประกันภัย พนักงานและนายหน้าประกันภัยผไู้ ด้รับมอบอำนาจ

ให้รับชำระเบ้ียประกันภัย ตลอดจนบุคคลหรือนิติบุคคลที่บริษัทยอมรับการกระทำของบุคคล หรือนิติบุคคล
ดงั กล่าวเสมอื นตวั แทนของบริษัท ใหถ้ อื วา่ เป็นการชำระเบ้ียประกันภยั แกบ่ รษิ ทั โดยถูกต้อง

ขอ้ 2. นิยามศัพท์ กรมธรรมป์ ระกนั ภัยหรือเอกสารแนบท้ายกรมธรรมป์ ระกันภยั นี้

“บริษทั ” หมายความว่า บริษัททอ่ี อกกรมธรรมป์ ระกันภยั นี้

“ผู้เอาประกันภยั ” หมายความวา่ บคุ คลทร่ี ะบุชื่อเปน็ ผเู้ อาประกันภัยในตาราง

“ผ้ปู ระสบภยั ” หมายความวา่ ผูซ้ ่ึงได้รบั อันตรายต่อชวี ิต รา่ งกาย หรืออนามัย เนื่องจาก

รถที่ใช้หรืออยู่ในทาง หรือเน่ืองจากสิ่งท่ีบรรทุก หรือ

ติดต้ังในรถน้ัน และหมายความรวมถึงทายาทโดยธรรม

ของผ้ปู ระสบภยั ซึง่ ถงึ แกค่ วามตายดว้ ย

“พ.ร.บ.” หมายความวา่ พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

“นายทะเบยี น” หมายความวา่ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบ

ธุรกิจประกันภัย หรือผู้ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการกำกับ

และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยมอบหมายโดย

ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

“ตาราง” หมายความวา่ ตารางแห่งกรมธรรม์ประกันภัยนี้

“รถ” หมายความวา่ รถทีเ่ อาประกนั ภยั ซ่ึงมีรายการทร่ี ะบไุ วใ้ นตาราง

“รถยนต์” หมายความว่า รถทีเ่ อาประกันภยั ซึ่งมรี ายการทีร่ ะบุไว้ในตาราง

“อุบตั เิ หตแุ ต่ละครง้ั ” หมายความว่า เหตุการณ์หนง่ึ หรือหลายเหตุการณ์สืบเนอื่ งกันซ่ึงเกิดจาก

สาเหตุอันเดียวกนั

“ความเสยี หายสว่ นแรก” หมายความวา่ ส่วนแรกของความรับผิด หรือความเสียหายอันมีการ

คุ้มครองตามข้อสัญญา หรือเอกสารแนบท้ายแห่งกรมธรรม์

ประกันภัยนีท้ ผ่ี ู้เอาประกันภยั ต้องรับผิดชอบเอง

121

ข้อ 3. ข้อยกเวน้ การประกนั ภยั ไมค่ ้มุ ครองความรับผดิ อันเกิดจาก
3.1 สงคราม การรุกราน การกระทำของชาติศัตรู การสู้รบ หรือการปฏบิ ัตกิ ารท่ีมีลกั ษณะเป็นการ

ทำสงคราม (จะได้ประกาศสงครามหรือไมก่ ็ตาม)
3.2 สงครามกลางเมือง การแข็งข้อของทหาร การกบฏ การปฏิวัติ การต่อต้านรัฐบาล การยึด

อำนาจการปกครองโดยกำลงั ทหารหรือโดยประการอนื่ ประชาชนก่อความวุน่ วายถงึ ขนาดหรอื เท่ากับการ
ลุกฮือตอ่ ตา้ นรฐั บาล

3.3 วตั ถุอาวุธปรมาณู
3.4 การแตกตัวของประจุ การแผ่รังสี การกระทบกับกัมมันตภาพรังสีจากเชื้อเพลิงปรมาณู หรือ
จากกากปรมาณูอันเกิดจากการเผาไหม้เช้ือเพลิงปรมาณู และสำหรับจุดประสงค์ข้อสัญญาน้ีการเผาไหม้
น้นั รวมถงึ กรรมวิธีใดๆ แห่งการแตกแยกปรมาณู ซึ่งดำเนนิ ตอ่ ไปดว้ ยตัวของมันเอง

ข้อ 4. การจัดการเรยี กร้องเมอ่ื เกดิ ความเสยี หาย25
เม่ือมีความเสียหาย หรือความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยเกิดขึ้น ผู้เอาประกันภัย หรือผู้ขับข่ีจะต้อง

แจ้งให้บริษทั ทราบโดยไม่ชกั ช้า และดำเนนิ การอันจำเป็นเพ่ือรกั ษาสทิ ธิตามกฎหมาย ทงั้ น้ผี ้เู อาประกันภยั อาจ
แจ้งให้บริษัททราบผ่านแอพพลิเคชั่นสำหรับการแจ้งอุบัติเหตุรถยนต์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและ
ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือแอพพลิเคช่ันท่ีบริษัทเป็นผู้พัฒนาข้ึน ซ่ึงได้เชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับ
แอพพลิเคช่ันของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยและมีรายละเอียด
ตามทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการกำกบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยกำหนด

บริษัทมีสิทธิเข้าดำเนนิ การในนามของผเู้ อาประกนั ภัยเกี่ยวกับอบุ ัติเหตทุ เี่ กิดข้ึนได้หากความเสียหายที่
เกิดข้นึ นน้ั อยู่ภายใต้ความคุ้มครองในกรมธรรม์ประกนั ภัย

ความคุ้มครองของบริษทั จะเกดิ ขึน้ เม่ือผู้เอาประกนั ภยั หรือผขู้ บั ขด่ี ำเนนิ การโดยสุจริต

ขอ้ 5. ความรบั ผิดของบริษัทเมื่อมกี ารปฏเิ สธการจ่ายคา่ สินไหมทดแทน
เม่ือมีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนต่อบริษัท และหากบริษัทปฏิเสธความรับผิดไม่ว่าด้วยเหตุใดก็

ตาม จนเป็นเหตุให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้เสียหายนำคดีขึ้นสู่การพิจารณาของศาลหรือเสนอข้อพิพาทต่อ
อนุญาโตตุลาการ หากศาลพิพากษาหรืออนุญาโตตุลาการช้ีขาดให้บริษัทแพ้คดี บริษัทจะต้องรับผิดต่อผู้เอา
ประกันภัย หรือผู้เสียหายน้ัน โดยชดใช้ค่าเสียหายตามคำพิพากษา หรือคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ พร้อม
ดอกเบยี้ ผิดนดั ตามท่กี ฎหมายกำหนด นับตัง้ แต่วันท่ผี ดิ นัด

ขอ้ 6. การลดเบี้ยประกนั ภยั ประวตั ิดี
ให้ใช้สำหรับการประกันภัยรถยนต์หมวดการคุ้มครองความรับผิดต่อบุคคลภายนอก หมวดการ

คุ้มครองความเสียหายต่อรถยนต์ หมวดการคุ้มครองรถยนต์สูญหายและไฟไหม้ และความคุ้มครองตาม
เอกสารแนบทา้ ยกรมธรรม์ประกันภัย

ผเู้ อาประกันภัยอาจได้รับส่วนลดเบย้ี ประกันภยั จากอตั ราเบีย้ ประกนั ภัยปกติในกรณดี งั ต่อไปนี้
6.1 ในกรณีผู้เอาประกันภัยได้ต่ออายุการประกันภัยกับบริษัท บริษัทจะลดเบ้ียประกันภัยให้แก่ผู้เอา
ประกันภยั เปน็ ลำดบั ขน้ั ดังน้ี

25 คำสง่ั นายทะเบยี นที่ 12/2562 เรอื่ ง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ข้อความกรมธรรม์ประกันภยั และอตั ราเบย้ี ประกนั ภยั สงั่ ณ วนั ท่ี 20 มีนาคม 2562 หนา้ 2

122

ขนั้ ท่ี 1 20% ของเบี้ยประกนั ภัยในปีท่ีต่ออายุ สำหรับรถยนต์คันที่ไม่มีการเรยี กรอ้ งค่าเสยี หาย
ตอ่ บริษทั ในการประกนั ภัยปแี รก

ขั้นที่ 2 30% ของเบ้ียประกันภัยในปีท่ตี ่ออายุ สำหรับรถยนต์คนั ท่ีไม่มีการเรียกร้องคา่ เสียหาย
ต่อบรษิ ัท ในการประกนั ภยั 2 ปีติดตอ่ กัน

ขนั้ ที่ 3 40% ของเบ้ียประกนั ภยั ในปีท่ีตอ่ อายุ สำหรบั รถยนตค์ ันที่ไม่มีการเรยี กร้องค่าเสียหาย
ต่อบรษิ ัท ในการประกันภัย 3 ปีติดตอ่ กัน

ขั้นที่ 4 50% ของเบี้ยประกันภัยในปีที่ต่ออายุ สำหรับรถยนต์คนั ที่ไม่มีการเรียกร้องคา่ เสียหาย
ตอ่ บรษิ ัท ในการประกันภยั 4 ปีติดตอ่ กัน หรือกว่านั้น

ทั้งน้ี บริษัทจะลดเบี้ยประกันภัยให้ต่อเมื่อผู้เอาประกันภัยได้ต่ออายุการประกันภัยกับบริษัท และ
เฉพาะขอ้ ตกลงคุ้มครองทีต่ ่ออายเุ ท่านนั้

คำว่า “รถยนต์คันที่ไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหาย” ให้หมายความรวมถึงรถยนต์คันท่ีมีการเรียกร้อง
คา่ เสียหาย แต่ค่าเสียหายนนั้ เกิดจากความประมาทของบคุ คลภายนอกและร้ตู ัวผู้ต้องรบั ผดิ ตามกฎหมาย ซึ่งมี
ผลทำให้บรษิ ทั มสี ทิ ธิท่ีจะเรยี กคา่ เสียหายท่บี ริษทั ไดจ้ า่ ยไปคืนจากบุคคลภายนอกได้

หากในระหว่างปีกรมธรรม์ท่ีผู้เอาประกันภัยได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยประวัติดีมีการเรียกร้อง
คา่ เสียหายต่อบริษัทแล้ว ในการตอ่ อายุการประกันภัยปีต่อมา บรษิ ทั จะลดเบ้ียประกันภยั ให้แก่ผเู้ อาประกันภัย
ดงั น้ี

(ก) ลดลงหน่ึงลำดับข้ันจากเดิม หากการเรียกร้องน้ันเกิดจากความประมาทของรถยนต์ คันเอา
ประกันภยั หรอื ผ้เู อาประกันภยั ไมส่ ามารถแจ้งใหบ้ รษิ ัททราบถึงคู่กรณอี ีกฝา่ ยหน่งึ ได้

(ข) ลดลงสองลำดับข้ันจากเดิม แต่ไม่เกินอัตราปกติ หากมีการเรียกร้องท่ีรถยนต์คันเอาประกันภัย
เป็นฝ่ายประมาท หรือไม่สามารถแจ้งให้บริษัททราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้ต้ังแต่ 2 คร้ังข้ึนไป รวมกันมี
จำนวนเกิน 200% ของเบย้ี ประกนั ภัย

6.2 กรณีผู้เอาประกันภัยทำประกันภัยกับผู้รับประกันภัยอ่ืน และมาต่ออายุการประกันภัยกับบริษัท
บรษิ ทั จะนำความใน 6.1 มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลมก็ได้

ข้อ 7. การเพ่ิมเบีย้ ประกันภัยประวัติไม่ดี
ใช้สำหรับการประกันภัยรถยนต์หมวดการคุ้มครองความรับผิดต่อบุคคลภายนอก หมวดการคุ้มครอง

ความเสียหายต่อรถยนต์ หมวดการคุ้มครองรถยนต์สูญหายและไฟไหม้ และความคุ้มครองตาม
เอกสารแนบทา้ ยกรมธรรม์ประกันภยั

ผูเ้ อาประกนั ภัยอาจถูกเพม่ิ เบ้ยี ประกันภยั จากอัตราเบยี้ ประกันภยั ปกตใิ นกรณีดงั ต่อไปนี้
ในกรณีผู้เอาประกันภัยมีรถยนต์เอาประกันภัยไว้กบั บริษัท และมีการเรียกร้องค่าเสียหายระหว่างปีที่
เอาประกันภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ ซ่ึงรถยนต์คันที่เอาประกันภัยเป็นฝ่ายประมาทหรือไม่สามารถแจ้งให้บริษัท
ทราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงได้ อยา่ งน้อยตั้งแต่ 2 คร้ังขึ้นไปรวมกันมีจำนวนเงินเกิน 200% ของเบี้ยประกันภัย
บริษทั จะเพ่มิ เบย้ี ประกนั ภัยเปน็ ข้ัน ๆ ดงั น้ี
ขั้นท่ี 1 20% ของอตั ราเบี้ยประกันภัยในปีท่ตี ่ออายุ
ขน้ั ท่ี 2 30% ของอัตราเบี้ยประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมีค่าเสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นต่อบริษัท
2 ปีติดตอ่ กัน

123

ขน้ั ท่ี 3 40% ของอัตราเบี้ยประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมีค่าเสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นต่อบริษัท
3 ปีติดตอ่ กัน

ขั้นที่ 4 50% ของอัตราเบี้ยประกันภัยในปีที่ต่ออายุ ในกรณีมีค่าเสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นต่อบริษัท
4 ปีติดตอ่ กัน หรือกว่านั้น

ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยถูกเพิ่มเบี้ยประกันภัยประวัติไม่ดีไม่ว่าลำดับขั้นใด และในปีกรมธรรม์
ประกันภัยนั้น มีการเรียกร้องค่าเสียหายที่รถยนต์คันเอาประกันภัยเป็นฝ่ายประมาท หรือไม่สามารถแจ้งให้
บริษัททราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้ไม่ถึง 2 คร้ัง หรือถึง 2 ครั้ง แต่มีค่าเสียหายไม่เกิน 200% ของเบี้ยประกันภัย
แล้ว ในการต่ออายุการประกันภัยบริษัทจะใช้เบ้ียประกันภัยในลำดบั ข้ันเดิม เช่น ในปีท่ีผ่านมาแต่หากไม่มีการ
เรียกรอ้ งค่าเสียหาย หรือมีการเรียกร้องค่าเสียหาย แต่ค่าเสียหายท่ีเกิดขึ้นนั้น มิได้เกิดจากความประมาทของ
รถยนต์คันเอาประกันภัย และผู้เอาประกันภัยสามารถแจ้งให้บริษัททราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงได้แล้ว ในการ
ตอ่ อายุการประกนั ภัยในปตี อ่ ไป บรษิ ทั จะใชเ้ บยี้ ประกันภัยในอัตราปกติ

ข้อ 8. ค่าใช้จ่ายตอ่ สคู้ ดี
ถ้าผู้เอาประกันภัย ถูกฟ้องศาลให้ใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งการประกันภัยนี้มีการคุ้มครองบริษัทจะ

ตอ่ สูค้ ดีในนามของผู้เอาประกันภัย โดยค่าใชจ้ ่ายของบรษิ ัท เวน้ แต่บรษิ ัทไดช้ ดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนเต็มจำนวน
เงินความคุ้มครองก่อนมีการฟ้องร้องแลว้

ข้อ 9. การโอนรถยนต์
เมอื่ ผเู้ อาประกันภัยได้โอนรถให้แก่ผ้อู ่ืน ใหถ้ อื ว่าผรู้ ับโอนเป็นผ้เู อาประกันภัยตามกรมธรรมป์ ระกันภัย

นี้ และบรษิ ทั ตอ้ งรับผดิ ตามกรมธรรมป์ ระกันภัยตอ่ ไปตลอดอายกุ รมธรรมป์ ระกนั ภัยทเ่ี หลืออยู่
อย่างไรก็ตาม ในกรณีท่ีทำประกันภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับข่ี ผู้ เอาประกันภัยจะต้องแจ้งการ

เปล่ียนแปลงผู้ขับขี่ให้บริษัททราบ เพ่ือจะได้มีการปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยตามสภาพความเสี่ยงภัยที่
เปล่ียนแปลงไป มิฉะนั้นผู้เอาประกันภัยอาจจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรกเองตามเงื่อนไขความ
คุ้มครองท่ปี รากฏในกรมธรรมป์ ระกันภัยน้ี

ขอ้ 10. การสนิ้ ผลบงั คบั ของกรมธรรมป์ ระกันภัย
กรมธรรม์ประกันภัยน้จี ะสิ้นผลบังคับเม่ือ
10.1 ณ วนั ที่ เวลา ที่ระบไุ วใ้ นตาราง
10.2 มีการบอกเลกิ กรมธรรมป์ ระกนั ภัย
10.2.1 บริษัทเป็นผู้บอกเลิก: บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยการส่งหนังสือ

บอกกล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้เอาประกันภัยตามท่ีอยู่ครั้งสุดท้ายที่
แจง้ ใหบ้ รษิ ัททราบ ซึ่งจะมีผลใหก้ รมธรรมป์ ระกันภัยสิ้นผลบังคบั ณ วนั พน้ กำหนดดงั กล่าว

ในกรณีน้ีบริษัทจะคืนเบ้ียประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบ้ียประกันภัยสำหรับ
ระยะเวลาทก่ี รมธรรม์ประกนั ภัยได้ใช้บงั คบั มาแลว้ ออกตามสว่ น

10.2.2 ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้บอกเลิก: ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลกิ กรมธรรม์ประกันภัยน้ีได้ โดย
แจ้งให้บริษัททราบเป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยส้ินผลบังคับ ณ วันท่ีบริษัทได้รับ
หนงั สือบอกเลกิ หรือวันที่ระบไุ ว้ในหนงั สอื บอกเลิก แลว้ แตว่ ่าวนั ใดเปน็ วนั หลงั สุด

124

ในกรณนี ้ีผูเ้ อาประกนั ภยั มีสิทธไิ ด้รับเบย้ี ประกนั ภัยคืน ตามอัตราการคนื เบ้ยี ประกันภยั ทร่ี ะบไุ ว้
ข้างลา่ ง

(ก) อัตราคนื เบี้ยประกนั ภยั ความคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ

จำนวนเดือนท่คี ้มุ ครอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
เบ้ียประกนั ภยั คืนรอ้ ยละ 80 70 60 50 40 30 20 15 10 0 0 0

(ข) อัตราคนื เบ้ียประกันภยั ความคุ้มครองอนื่ นอกจาก (ก)

จำนวนวัน ร้อยละของ จำนวนวัน ร้อยละของ จำนวนวนั รอ้ ยละของ
ประกนั ภัย เบ้ยี ประกนั ภัย ประกันภยั เบยี้ ประกันภยั ประกนั ภัย เบย้ี ประกนั ภยั

เต็มปี เต็มปี เตม็ ปี

1-9 72 120-129 44 240-249 20
10-19 68 130-139 41 250-259 18
20-29 65 140-149 39 260-269 16
30-39 63 150-159 37 270-279 15
40-49 61 160-169 35 280-289 13
50-59 59 170-179 32 290-299 12
60-69 56 180-189 30 300-309 10
70-79 54 190-199 29 310-319 8
80-89 52 200-209 27 320-329 6
90-99 50 210-219 25 330-339 4
100-109 48 220-229 23 340-349 3
110-119 46 230-239 22 350-359 1
0
360-366

ข้อ 11. การระงับขอ้ พิพาทโดยอนญุ าโตตลุ าการ
ในกรณีที่มีข้อพิพาท ข้อขัดแย้ง หรือข้อเรียกร้องใดๆ ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้ ระหว่างผู้มี

สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยกับบริษัท และหากผู้มีสิทธิเรียกร้องประสงค์และเห็นควรยุติข้อพิพาท
น้ันโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ บริษัทตกลงยินยอมและให้ทำการวินิจฉัยชี้ขาดโดยอนุญาโตตุลาการตาม
ข้อบังคับสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั วา่ ด้วยอนญุ าโตตุลาการ

ขอ้ 12. การตคี วามกรมธรรมป์ ระกนั ภัย
ความหมายและเจตนารมณ์ของข้อความท่ีปรากฏในกรมธรรม์ประกันภัยนี้ รวมทั้งเอกสารแนบท้าย

และเอกสารประกอบใหต้ ีความตามทีน่ ายทะเบยี นได้ให้ความเห็นชอบไว้

ข้อ 13. การแก้ไข
สัญญาคุ้มครองและเงื่อนไขแห่งกรมธรรม์ประกันภัยนี้ จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้โดยเอกสารแนบท้าย

ของบริษทั เทา่ นนั้

125

หมวดการคุม้ ครองผู้ประสบภยั จากรถ

ขอ้ 1. การคมุ้ ครองผู้ประสบภัย26
ภายใต้บังคับข้อ 4 บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความเสียหายต่อชีวิตร่างกาย หรืออนามัย

ของผู้ประสบภัยในนามผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายต่อผู้ประสบภัย
เน่ืองจากรถที่ใช้หรืออยู่ในทาง หรือเนื่องจากสิ่งท่ีบรรทุก หรือติดตั้งในรถน้ัน ในระหว่างระยะเวลาประกันภัย
ดงั นี้

1.1 ผูป้ ระสบภัย
1.1.1 ในกรณีได้รับความเสยี หายต่อร่างกาย หรืออนามัย แต่ไม่ถึงกับสูญเสียอวัยวะ หรอื ทุพพล

ภาพอย่างถาวร ตามข้อ 1.1.2 บริษัทจะจ่ายค่ารักษาพยาบาล และค่าเสียหายอย่างอื่นท่ีผู้ประสบภัยสามารถ
เรยี กร้องไดต้ ามมลู ละเมิด ตามความเสียหายทีแ่ ท้จรงิ แต่ไมเ่ กิน 80,000 บาทต่อหนงึ่ คน

1.1.2 ในกรณีได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย ในกรณีใดกรณีหนึ่ง บริษัทจะจ่าย
จำนวนเงินคมุ้ ครอง ดังน้ี

(1) กรณีทพุ พลภาพอย่างถาวร บริษัทจะจ่ายค่าสนิ ไหมทดแทน 300,000 บาท ต่อหนง่ึ คน
(2) กรณีสูญเสียมือสองข้างตั้งแต่ข้อมือ หรือแขนสองข้าง หรือเท้าสองข้างต้ังแต่ข้อเท้า
หรือขาสองขา้ ง หรอื สายตาสองขา้ ง(ตาบอด) บริษทั จะจา่ ยคา่ สินไหมทดแทน 300,000 บาท ต่อหนึง่ คน
(3) กรณีสญู เสยี มือหนึ่งข้างตง้ั แต่ขอ้ มือ แขนหนึ่งข้าง เทา้ หน่ึงขา้ งตงั้ แต่ข้อเทา้ ขาหนึ่ง
ขา้ ง สายตาหนง่ึ ขา้ ง(ตาบอด) ตงั้ แต่ 2 กรณีขึ้นไป บริษทั จะจา่ ยค่าสินไหมทดแทน 300,000 บาท ตอ่ หนึ่งคน
(4) กรณีสูญเสียมือหนงึ่ ข้างตั้งแต่ขอ้ มือ หรือแขนหนึ่งข้าง หรือเท้าหน่ึงข้างต้งั แต่ข้อเท้า
หรือขาหน่ึงข้าง หรือสายตาหนึ่งข้าง (ตาบอด) กรณีใดกรณีหน่ึง บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน 250,000
บาท ต่อหน่งึ คน
(5) กรณีหูหนวก เป็นใบ้หรือเสียความสามารถในการพูดหรือล้ินขาด สูญเสียอวัยวะ
สืบพันธุ์หรือความสามารถสืบพันธ์ุ จิตพิการอย่างติดตัว หรือเสียอวัยวะอ่ืนใด บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน
250,000 บาท ตอ่ หน่ึงคน
(6) กรณีสูญเสียนิ้วต้ังแต่ข้อนิ้วขึ้นไป ไม่ว่านิ้วเดียวหรือหลายน้ิว บริษัทจะจ่ายค่า
สินไหมทดแทน 200,000 บาท ตอ่ หนงึ่ คน
กรณีได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยหลายกรณี บริษัทจะจ่ายจำนวนเงิน
คมุ้ ครองเฉพาะกรณีที่มจี ำนวนเงนิ คุ้มครองทส่ี ูงกว่า
1.1.3 ในกรณีเสียชวี ิต บริษทั จะชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน 300,000 บาทต่อหนงึ่ คน
1.1.4 ในกรณีได้รับความเสียหายตามข้อ 1.1.1 และต่อมาได้รับความเสียหายตามข้อ 1.1.2 บริษัท
จะจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามข้อ 1.1.2 แต่หากเป็นกรณีได้รับความเสียหายตามข้อ 1.1.1 และต่อมาได้รับ
ความเสียหายตามข้อ 1.1.3 หรือทัง้ ข้อ 1.1.2 และข้อ 1.1.3 บรษิ ัทจะจ่าย 300,000 บาทต่อคน
1.1.5 ในกรณีท่ีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน บริษัทจะจ่าย
ค่าชดเชยรายวัน วันละ 200 บาท จำนวนรวมกันไม่เกิน 20 วนั เป็นค่าเสียหายท่ีเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากความ
คุ้มครองที่ระบใุ นขอ้ 1.1.1 ข้อ 1.1.2 ข้อ 1.1.3 และขอ้ 1.1.4

26 คำสั่งนายทะเบยี นท่ี 15/2559 เรือ่ ง ให้ใชแ้ บบ ขอ้ ความกรมธรรม์ประกันภยั ค้มุ ครองผู้ประสบภยั จากรถ และกรมธรรม์ประกนั ภัยรถยนตร์ วม
การค้มุ ครองผปู้ ระสบภยั จากรถ ส่ัง ณ วันท่ี 11 มีนาคม 2559 หนา้ 3

126

1.1.6 กรณีผู้ประสบภัยเป็นผู้เอาประกันภัย หรือบุคคลในครอบครัวของผู้เอาประกันภัย ซ่ึงมิใช่
ผู้ขับข่ี ทั้งน้ีในกรณีผู้ขับข่ีเป็นฝ่ายท่ีต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ ให้นำความในข้อ 1.1.1 ข้อ 1.1.2 ข้อ 1.1.3 ข้อ
1.1.4 และข้อ 1.1.5 มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม

1.1.7 กรณีผู้ประสบภัย เป็นผู้ขับข่ีรถคันที่เอาประกันภัย และเป็นฝ่ายท่ีต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุ
หรือไม่มีผู้ใดต้องรับผิดตามกฎหมายต่อผู้ขับขี่ที่เป็นผู้ประสบภัย บริษัทจะรับผิดจ่ายค่าสินไหมทดแทนไม่เกิน
ค่าเสียหายเบอื้ งตน้ เท่านัน้

ท้ังน้ี บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น ไม่เกินจำนวนคุ้มครองสูงสุดต่อหน่ึงคน
และรวมกันแล้วไมเ่ กนิ จำนวนเงินคมุ้ ครองสงู สุดต่ออุบัติเหตแุ ต่ละคร้ัง

ขอ้ 2. ค่าเสียหายเบ้ืองตน้ 27
ภายใต้บังคับข้อ 4 บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายเบ้ืองต้นให้แก่ผู้ประสบภัยที่ได้รับความเสียหายต่อชีวิต

ร่างกาย โดยไม่ต้องรอการพิสูจน์ความรับผิดให้เสร็จสิ้นภายใน 7 วัน นับแต่วันท่ีบริษัทได้รับการร้องขอ โดย
จา่ ยเป็นคา่ เสยี หายเบือ้ งตน้ ดังต่อไปน้ี

2.1 กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกาย บรษิ ัทจะจ่ายคา่ รกั ษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอัน
จำเป็นเกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาลของผู้ประสบภยั ตามจำนวนท่จี า่ ยไปจริง แตไ่ มเ่ กิน 30,000 บาท ต่อหน่งึ คน

2.2 กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกายอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ บริษัทจะจ่าย
ค่าเสยี หายเบอื้ งตน้ จำนวน 35,000 บาทต่อหน่ึงคน

(ก) ตาบอด
(ข) หหู นวก
(ค) เป็นใบห้ รือเสยี ความสามารถในการพดู หรือลิ้นขาด
(ง) สญู เสยี อวัยวะสบื พันธ์ุ
(จ) เสียแขน ขา มือ เท้า นว้ิ
(ฉ) เสียอวัยวะอ่นื ใด
(ช) จิตพิการอยา่ งตดิ ตัว
(ซ) ทพุ พลภาพอย่างถาวร
2.3 กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อชีวิต บริษัทจะจ่ายค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็น
เกยี่ วกบั การจดั การศพของผู้ประสบภยั ตามจำนวนเงินค่าเสียหายเบื้องต้น 35,000 บาทต่อหนึ่งคน
2.4 จำนวนตาม 2.1 และ 2.2 รวมกัน หรือจำนวน 2.1 และ 2.3 แต่หากผู้ประสบภัยได้รับความ
เสียหายตามข้อ 2.1 2.2 และ 2.3 หรือได้รับความเสียหายตามข้อ 2.2 และ 2.3 ให้ได้รับค่าเสียหายเบ้ืองต้น
รวมกนั ไม่เกินจำนวน 65,000 บาท
2.5 กรณีรถตั้งแต่สองคันขึ้นไป ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ประสบภัย บริษัทจะจ่ายค่าเสียหาย
เบ้ืองต้นตาม 2.1 2.2 2.3 หรือ 2.4 แล้วแตก่ รณี ให้แก่ผู้ประสบภัยซึ่งอยู่ในรถท่ีเอาประกันภัยไว้กับบริษัท แต่
ถ้าผู้ประสบภัยมิใช่เป็นผู้ซง่ึ อยู่ในรถท่ีก่อให้เกดิ ความเสียหายดงั กล่าวข้างต้น บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น
ใหแ้ ก่ผปู้ ระสบภยั ในอตั ราส่วนทเ่ี ทา่ กนั
ความเสียหายเบ้อื งต้นท้งั หมดนเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของการจา่ ยค่าสนิ ไหมทดแทนตามท่ีกำหนดไวใ้ นขอ้ 1

27 คำส่ังนายทะเบยี นท่ี 1/2558 เรื่อง ให้แก้ไขแบบ ข้อความกรมธรรม์ประกนั ภยั คุ้มครองผู้ประสบภยั จากรถ และกรมธรรม์ประกันภัยรถยนตร์ วม
การคุ้มครองผปู้ ระสบภยั จากรถ ส่ัง ณ วนั ท่ี 27 มกราคม 2558 หนา้ 2

127

ข้อ 3. การขอรับค่าเสียหายเบื้องต้น28 ผู้ประสบภัยต้องร้องขอค่าเสียหายเบื้องต้นต่อบริษัทภายใน 180 วัน
นับแตว่ นั ท่มี คี วามเสียหายเกดิ ขน้ึ และต้องมหี ลักฐานดงั นี้

3.1 ความเสียหายตอ่ รา่ งกาย
3.1.1 ใบเสร็จรับเงินจากโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล หรือหลักฐานการแจ้งหน้ีเกี่ยวกับการ

รักษาพยาบาล
3.1.2 สำเนาบัตรประจำตัว หรือสำเนาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทาง

หรือหลักฐานอ่ืนใดที่ทางราชการเป็นผู้ออกให้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ผู้ที่มีช่ือในหลักฐานน้ันเป็นผู้ประสบภัย
แล้วแตก่ รณี

ในกรณีท่ีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกายอย่างหนึ่งอย่างใดตามข้อ 2.2 นอกจากต้อง
ยื่นหลักฐานตาม 3.1.1 และ 3.1.2 แล้ว ให้ยื่นใบรับรองแพทย์หรือความเห็นแพทย์ หรือหลักฐานอื่นใดที่ระบุ
ว่าเป็นผู้ประสบภัยซึ่งได้รับความเสียหายต่อร่างกายดังกล่าว พร้อมทั้งสำเนาบันทึกประจำวันของพนักงาน
สอบสวนหรือหลกั ฐานอ่นื ทแ่ี สดงว่าผู้นั้นได้รับความเสียหายจากการประสบภัยจากรถ เพิ่มเตมิ ด้วย

3.2 ความเสยี หายต่อชีวิต
3.2.1 สำเนามรณบัตร หรอื หลกั ฐานอืน่ ใดท่นี ายทะเบียนประกาศกำหนดซึ่งสามารถพิสูจน์ไดว้ ่าผู้

ทีม่ ชี อ่ื ในหลักฐานน้ันเป็นผปู้ ระสบภัย
3.2.2 สำเนาบันทึกประจำวันในคดีของพนักงานสอบสวนหรือหลักฐานอ่ืนท่ีแสดงว่าผู้นั้นถึงแก่

ความตาย เพราะการประสบภยั จากรถ
3.2.3 การร้องขอรับค่าเสียหายเบื้องตน้ ตาม 3.1 และ 3.2 รวมกันให้มีหลกั ฐานตาม 3.1 และ 3.2

ขอ้ 4. การสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าชดเชยรายวัน และค่าปลงศพ29 ในกรณีรถท่ีเอา
ประกันภัยไว้กับบริษัทประสบอุบัติเหตุชนกับรถอื่น ซ่ึงมีการประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครอง
ผูป้ ระสบภัยจากรถด้วย เปน็ เหตุให้ผปู้ ระสบภัยได้รับอนั ตรายต่อชีวติ ร่างกาย บริษัทตกลงจะสำรองจา่ ยให้แก่
ผูป้ ระสบภัยซึ่งโดยสารมาในรถ หรอื กำลงั ข้นึ หรือกำลงั ลงจากรถทเ่ี อาประกันภยั ไวก้ ับบรษิ ัท ดงั น้ี

4.1 ค่ารักษาพยาบาลตามใบเสร็จรับเงิน ไม่เกิน 80,000 บาท ต่อหน่ึงคน สำหรับกรณีได้รับ
บาดเจบ็

4.2 ค่าทดแทน กรณีสูญเสียอวัยวะจำนวนเงินตามข้อ 3.1.2 ค่าปลงศพกรณีเสียชีวิต หรือ
คา่ ทดแทนกรณีทุพพลภาพอยา่ งถาวร เป็นเงนิ จำนวน 300,000 บาท ตอ่ หน่ึงคน

4.3 ค่าชดเชยรายวันกรณีเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน วันละ 200 บาท
รวมไม่เกนิ 20 วัน

4.4 ข้อ 4.1 และขอ้ 4.2 จำนวนเงนิ ตามขอ้ 1.1.4
สำหรับผู้ประสบภัยท่ีเป็นบุคคลภายนอกรถ บริษัทและผู้รับประกันภัยรถอ่ืนจะร่วมกันสำรอง
จ่ายค่ารกั ษาพยาบาล คา่ ทดแทน คา่ ชดเชยรายวนั หรอื ค่าปลงศพตามวรรคตน้ โดยเฉล่ยี ฝา่ ยละเท่าๆ กัน
เมอ่ื มีการสำรองจา่ ยคา่ รักษาพยาบาล คา่ ทดแทน ค่าชดเชยรายวัน หรือค่าปลงศพตามเง่ือนไขน้ี
แล้ว หากปรากฏว่าอุบัติเหตุนั้นเกิดจากความประมาทของผู้อ่ืน มิใช่ผู้ขับขี่หรือผู้โดยสารรถท่ีเอาประกันภัยไว้

28 คำส่ังนายทะเบยี นท่ี 27/2552 เรือ่ ง ให้แกไ้ ขแบบ ขอ้ ความกรมธรรม์ประกันภยั คมุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ และกรมธรรม์ประกันภยั รถยนต์รวม
ความคมุ้ ครองผู้ประสบภัยจากรถ สงั่ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2552 หน้า 2
29 คำสั่งนายทะเบยี นท่ี 15/2559 เร่ือง ใหใ้ ช้แบบ ขอ้ ความกรมธรรมป์ ระกนั ภยั คมุ้ ครองผปู้ ระสบภยั จากรถ และกรมธรรมป์ ระกันภัยรถยนตร์ วม
การค้มุ ครองผู้ประสบภัยจากรถ สงั่ ณ วนั ท่ี 11 มนี าคม 2559 หนา้ 4

128

กับบริษัทแล้ว บริษัทมีสิทธิที่จะไล่เบ้ียเอาค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าชดเชยรายวัน หรือค่าปลงศพที่
บรษิ ทั ได้สำรองจ่ายไปคนื จากบริษทั ผ้รู ับประกันภัยรถทีเ่ ป็นฝา่ ยต้องรับผิดตามกฎหมายน้ัน

ในทางกลับกันหากบริษัทผู้รับประกันภัยรถอื่น ได้สำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน
คา่ ชดเชยรายวัน หรือค่าปลงศพให้แก่ผู้ประสบภัยหรือทายาทผู้ประสบภัยท่ีโดยสารมา หรือกำลงั ขึ้นหรอื กำลัง
ลงจากรถที่ตนรับประกันภัยไว้ หรือผู้ประสบภัยท่ีอยู่นอกรถแล้ว และปรากฏว่าอุบัติเหตุนั้นเกิดจากความ
ประมาทของผู้ขบั ขี่ หรือผู้โดยสารรถคันท่ีเอาประกันภัยไว้กับบริษทั แล้ว บริษัทตกลงจ่ายเงนิ คา่ รักษาพยาบาล
ค่าทดแทน ค่าชดเชยรายวัน หรือค่าปลงศพคืนแก่บริษัทผู้รับประกันภัยรถอื่นซึ่งได้สำรองจ่ายค่าสินไหม
ทดแทนภายในกำหนด 30 วัน นับแต่วนั ทไ่ี ด้รับการรอ้ งขอ

ขอ้ 5. การคุ้มครองผูข้ ับขี่
บริษัทจะถือว่าบุคคลใด ซ่ึงขับข่ีรถโดยได้รับความยินยอมจากผู้เอาประกันภัยเสมือนหน่ึงเป็นผู้เอา

ประกันภัยเอง และบุคคลนั้นต้องปฏิบัติตนเสมือนหนึ่งเป็นผู้เอาประกันภัยเอง และอยู่ภายใต้ข้อกำหนดตาม
กรมธรรม์ประกันภัยนี้

ขอ้ 6. การคมุ้ ครองความรบั ผิดของผูโ้ ดยสาร
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีให้ความคุ้มครอง เม่ือผู้โดยสารนั้นจะต้องรับผิดจากรถที่ใช้ หรืออยู่ในทางหรือ

สง่ิ ทบ่ี รรทุก หรอื ตดิ ต้งั ในรถน้นั

ข้อ 7. การใช้รถ
กรณีรถที่ทำประกันภัยลักษณะการใช้ส่วนบุคคล ในเวลาท่ีเกิดอุบัติเหตุนำรถไปใช้รับจ้าง หรือให้เช่า

ทำให้การเสี่ยงภัยเพิ่มข้ึน ผู้เอาประกันภัยต้องชดใช้ค่าเสียหายคืนให้บริษัทตามจำนวนที่บริษัทได้จ่ายไปแต่ไม่
เกนิ 2,000 บาท

ขอ้ 8. ข้อยกเวน้ การประกนั ภัยไม่คุม้ ครองความรับผิดอันเกดิ จาก
8.1 ความเสียหายท่ีเกิดจากรถที่ถูกยักยอก ฉ้อโกง กรรโชก ลักทรัพย์ รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือ

ปลน้ ทรัพย์
8.2 การใชน้ อกประเทศไทย
8.3 การใช้ในทางทผี่ ิดกฎหมาย ไดแ้ ก่ ใช้รถไปปลน้ ทรัพย์ ชงิ ทรพั ย์ หรอื ใช้ขนยาเสพติดเป็นต้น
8.4 การใชใ้ นการแข่งขันความเร็ว

ขอ้ 9. ขอ้ สญั ญาพิเศษ
ภายใต้จำนวนเงินคุ้มครองผู้ประสบภัยที่ระบุไว้ในตาราง บริษัทจะไม่ยกเอาความไม่สมบูรณ์แห่ง

กรมธรรม์ประกันภัย หรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของผู้เอาประกันภัย หรือเง่ือนไขแห่งกรมธรรม์
ประกันภัยน้ี เว้นแต่เง่ือนไขทั่วไป และข้อ 8.1 และ 8.2 เป็นข้อต่อสู้ผู้ประสบภัยเพ่ือปฏิเสธความรับผิดตาม
กรมธรรม์ประกันภัยน้ี เม่ือบริษัทได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว แต่บริษัทไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย หรือตาม
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีต่อผู้เอาประกันภัย เพราะกรณีดังกล่าวข้างต้นนั้นซ่ึงผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดต่อ
ผู้ประสบภยั ผู้เอาประกนั ภัยต้องใช้จำนวนเงินท่บี ริษทั ได้จ่ายไปนน้ั คืนให้บรษิ ัทภายใน 7 วนั

129

หมวดการคุ้มครองความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก

ขอ้ 1. ข้อตกลงคุ้มครอง30
บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความสูญเสีย หรือความเสียหายอย่างใดๆ อันเกิดแก่

บุคคลภายนอก ซ่ึงผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากรถยนต์ที่ใช้
หรืออยู่ในทาง หรือส่ิงท่ีบรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้น ในระหว่างระยะเวลาประกันภัย ในนามผู้เอา
ประกนั ภัย ดงั น้ี

1.1 ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย บริษัทจะรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความ
เสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของบุคคลภายนอก ตามความเสียหายท่ีแท้จริงที่ผู้เอาประกันภัยจะต้อง
รบั ผิดชอบตามกฎหมายตอ่ บคุ คลภายนอกน้ัน

กรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่น้อยกว่า 100,000 บาทต่อคน แต่หาก
การเสียชีวิตน้ันทำให้มีผู้ขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อการเสียชีวิตของ
บุคคลภายนอกนนั้ ไมน่ ้อยกว่า 300,000 บาทต่อคน

กรณบี คุ คลภายนอกทุพพลภาพถาวร บริษัทจะชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนไม่น้อยกว่า 300,000 บาทต่อคน
ในกรณีที่บุคคลภายนอกน้ันมีสิทธิได้รับการชดใช้จากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1
กรมธรรม์ประกันภัย บริษัทจะร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่าๆ กัน อย่างไรก็ตาม ความรับผิดของบริษัทต่อคนจะไม่เกิน
จำนวนเงินเอาประกนั ภัยตอ่ คนท่ีระบุไว้ในตาราง และความรับผิดของบริษทั ต่อครั้งในกรณีมากกว่าหนงึ่ คน จะ
มไี ม่เกนิ จำนวนเงินเอาประกนั ภยั ตอ่ ครั้งที่ระบุไวใ้ นตาราง
ทุพพลภาพถาวร ในท่ีน้ีหมายถึง ทุพพลภาพถึงขนาดไม่สามารถประกอบหน้าท่ีการงานใดๆ ในอาชีพ
ประจำ และอาชพี อนื่ ๆ ไดโ้ ดยสิ้นเชงิ ตลอดไป
บุคคลภายนอกที่ได้รับความคุ้มครองตาม 1.1 น้ี ไม่รวมถึงผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายท่ีจะต้องรับผิดตาม
กฎหมาย ตลอดจนลูกจ้างในทางการท่จี ้าง คสู่ มรส บดิ า มารดา บุตรของผขู้ ับขีน่ ั้น

1.2 ความเสียหายต่อทรัพย์สิน31 บริษัทจะรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายต่อ
ทรัพย์สิน ของบคุ คลภายนอก ซึง่ ผู้เอาประกนั ภัยจะตอ้ งรบั ผิดชอบตามกฎหมาย และความรับผิดของบรษิ ัทจะ
มไี ม่เกนิ จำนวนเงนิ เอาประกันภยั ท่รี ะบุไว้ในตาราง

กรณีเกิดความเสียหายต่อทรพั ย์สินของบุคคลภายนอก และมีการเรียกคา่ เสียหายอันเกิดจากการขาด
การใช้ประโยชน์รถยนต์ บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจริง ทั้งน้ี สำหรับรถยนต์ที่มีท่ีนั่งไม่เกิน 7 คน
หรือรถยนต์บรรทุกผู้โดยสารรวมทั้งผู้ขับขี่ไม่เกิน 7 คน ในอัตราไม่น้อยกว่าวันละ 500 บาท รถยนต์รับจ้าง
สาธารณะท่ีมีท่นี ่ังไม่เกิน 7 คน ในอตั ราไม่น้อยกวา่ วนั ละ 700 บาท และรถยนต์ท่ีมีท่ีน่ังเกิน 7 คนหรอื รถยนต์
บรรทกุ ผ้โู ดยสารรวมทั้งผขู้ บั ขเ่ี กิน 7 คน ในอตั ราไมน่ ้อยกว่าวนั ละ 1,000 บาท

ในกรณีบุคคลภายนอกน้ันมีสิทธิได้รบั การชดใช้จากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์
ประกนั ภยั บรษิ ัทจะเฉลย่ี จ่ายเทา่ ๆ กนั

ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ดังตอ่ ไปนี้ จะไม่ไดร้ ับความคุ้มครอง

30 คำส่งั นายทะเบยี นท่ี 27/2554 เร่อื ง ให้แกไ้ ข แบบ ขอ้ ความกรมธรรมป์ ระกันภัยรถยนต์ กรมธรรมป์ ระกนั ภยั รถยนตร์ วมการคมุ้ ครอง
ผูป้ ระสบภยั จากรถ และพกิ ัดอัตราเบย้ี ประกนั ภยั รถยนต์ ส่งั ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2554 หนา้ 1
31 คำส่ังนายทะเบยี นท่ี 70/2561 เรือ่ ง ใหแ้ กไ้ ขแบบ ขอ้ ความกรรมธรรม์ประกนั ภัย และเอกสารแนบท้ายกรมธรรม์ประกนั ภัย ส่งั ณ วนั ที่ 17
ธันวาคม 2561 หนา้ 2

130

ทรัพย์สินท่ีผู้เอาประกันภัย ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายต้องรับผิดตามกฎหมาย คู่สมรส บิดา มารดา บุตรของผู้เอา
ประกนั ภัยหรอื ผูข้ บั ข่ีนนั้ เป็นเจ้าของ หรอื เป็นผเู้ ก็บรักษา ควบคมุ หรือครอบครอง

(ก) เคร่อื งชั่ง สะพานรถ สะพานรถไฟ ถนน ทางวิง่ ทางเดนิ สนามหรือสิ่งหนึ่งส่ิงใดท่อี ยใู่ ตส้ ่ิงดังกลา่ ว
อันเกิดจากการส่นั สะเทือน หรือจากน้ำหนักรถยนต์ หรอื น้ำหนกั บรรทุกของรถยนต์

(ข) สัมภาระหรือทรัพย์สินอื่นใดท่ีนำติดตัวข้ึนบนรถยนต์ หรือทรัพย์สินท่ีบรรทุกอยู่ในรถยนต์ หรือ
กำลงั ยกขน้ึ หรือกำลงั ยกลง จากรถยนต์ หรอื ทรัพย์สนิ ท่ีรถยนต์กำลังยกจากที่หนงึ่ ไปยังอกี ท่ีหน่ึง

(ค) ทรัพย์สินทไ่ี ด้รับความเสียหายจากการรั่วไหลของสารเคมีหรือวตั ถุอันตรายท่ีบรรทุกอยู่ในรถยนต์
เวน้ แต่การร่ัวไหลน้ันเกิดจากอุบัตเิ หตุจากรถยนต์ หรือการร่ัวไหลของแก๊สหรือเชื้อเพลิงเพื่อการเดนิ เครือ่ งของ
รถยนต์

ขอ้ 2. ความเสียหายส่วนแรก ผู้เอาประกนั ภัยจะต้องรบั ผดิ ชอบเองต่ออบุ ัตเิ หตุแตล่ ะครั้ง ดงั นี้
(ก) 2,000 บาทแรกของความเสียหายต่อทรัพย์สิน ในกรณีท่ีใช้รถยนต์ในเวลาเกิดอุบัติเหตุ

นอกเหนือจากที่ไดร้ ะบุไว้ในตาราง
(ข) ตามจำนวนเงินสว่ นแรกของความเสียหาย ดังระบไุ ว้ในตาราง
(ค) 2,000 บาทแรกของความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ในกรณีเป็นการประกันภัย

ประเภทระบุช่ือผู้ขับขี่ หากความเสียหายน้ันเป็นความรับผิดชอบของผู้ขับขี่รถยนต์คันเอาประกันภัยซึ่งมิใช่ผู้
ขับข่ที ร่ี ะบชุ ื่อในกรมธรรม์ประกันภยั

ในกรณีท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรกเกินหน่ึงข้อ ให้ถือว่าความ
รบั ผิดชอบแตล่ ะข้อเปน็ ความรับผดิ ชอบที่เพม่ิ ขึ้น

ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบค่าเสียหายส่วนแรกเอง ตาม (ก) (ข) และ (ค) บริษัทจะจ่าย
แทนผู้เอาประกันภัยไปก่อน เม่อื บริษัทได้จ่ายเงินที่ผเู้ อาประกันภัยต้องรับผดิ ชอบไปแล้ว ผู้เอาประกันภัยต้อง
ใช้คนื ให้บรษิ ัทภายในวัน นบั แตไ่ ดร้ บั หนังสอื เรียกรอ้ งจากบริษัท

ขอ้ 3. การค้มุ ครองความรับผดิ ของผ้ขู ับขี่
บรษิ ทั จะถือว่าบุคคลใดซ่ึงขบั ขร่ี ถยนต์ โดยได้รับความยินยอมจากผเู้ อาประกันภยั เสมือนหนึ่งเป็นผู้

เอาประกนั ภยั เอง แต่มีเง่ือนไขว่า
3.1 บุคคลนั้นต้องปฏิบัติตนเสมือนหน่ึงเป็นผู้เอาประกันภัยเอง และอยู่ภายใต้ข้อกำหนดตาม

กรมธรรม์ประกันภัยน้ี
3.2 บุคคลนั้นไม่ได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยอ่ืน หรือได้รับแต่ไม่

เพยี งพอ บริษทั จงึ จะรับผิดชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนเฉพาะส่วนท่ีเกินเท่านั้น

ขอ้ 4. การคุม้ ครองความรับผดิ ของผโู้ ดยสาร
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีให้ความคุ้มครองความรับผิดของผู้โดยสาร เมื่อผู้โดยสารนั้นจะต้องรับผิดจาก

รถยนต์ที่ใช้ หรอื อยู่ในทาง หรอื ส่ิงทบี่ รรทุก หรือติดตั้งในรถยนตน์ ้ัน ท้ังนเ้ี ฉพาะเท่าทีม่ ีการประกันภยั ไว้ โดยมี
เงื่อนไขว่า บุคคลน้ันไม่ได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยอื่น หรอื ได้รับแต่ไม่เพียงพอ
บริษัทจึงจะรบั ผิดชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเฉพาะสว่ นทเี่ กินเทา่ น้ัน

131

ขอ้ 5. การคมุ้ ครองนายจ้าง
กรมธรรม์ประกันภัยน้ีให้ความคุ้มครองถึงนายจ้างซึ่งไม่ใช่ผู้เอาประกันภัย เม่ือนายจ้างจะต้องรับผิด

จากการใชร้ ถยนต์คันเอาประกันภยั โดยลกู จ้างในทางการท่ีจา้ ง ท้ังนเ้ี ฉพาะเท่าทีม่ ีการประกันภัยไว้ แต่มเี งือ่ นไขว่า
5.1 นายจ้างต้องปฏบิ ัตติ นอยู่ภายใต้ขอ้ กำหนดของกรมธรรมป์ ระกนั ภัยนี้
5.2 นายจา้ งไม่ไดร้ บั การชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกนั ภยั อ่ืน เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทน

ทไ่ี ดร้ ับชดใชน้ ั้นไมเ่ พียงพอ บริษทั จึงจะรบั ผิดชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนเฉพาะส่วนท่ีเกินเท่าน้นั
5.3 การคุ้มครองนีไ้ มเ่ พมิ่ จำนวนเงนิ จำกัดความรบั ผิดของบรษิ ัท

ขอ้ 6. การยกเว้นทั่วไป
การประกนั ภัยตามหมวดน้ี ไมค่ มุ้ ครองความรับผดิ อันเกดิ จาก
6.1 การใชร้ ถยนตน์ อกอาณาเขตคมุ้ ครอง
6.2 การใชร้ ถยนต์ในทางผิดกฎหมาย เช่น ใช้รถยนตไ์ ปปล้นทรัพย์ ชงิ ทรพั ย์ หรอื ใช้ขนยาเสพติด เปน็ ตน้
6.3 การใช้ในการแขง่ ขนั ความเรว็
6.4 การใชล้ ากจงู หรอื ผลักดนั เวน้ แต่รถทีถ่ ูกลากจูงหรอื ถูกผลกั ดันได้ประกนั ภัยไวก้ บั บริษัทด้วย หรือ

เปน็ รถลากจงู โดยสภาพ หรอื รถที่มรี ะบบหา้ มล้อเช่ือมโยงถงึ กนั
6.5 ความรับผิดซ่ึงเกิดจากสัญญาท่ีผู้ขับขี่ทำขึน้ ซงึ่ ถ้าไม่มีสัญญาน้ันแล้ว ความรับผิดของผขู้ ับข่ีจะไม่

เกิดขึ้น
6.6 การขับขี่โดยบุคคลซ่ึงในขณะขับข่ีมีปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกินกว่า 50 มลิ ลิกรัมเปอร์เซ็นต์ซ่ึง

เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 16 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
กำหนดให้ถือวา่ เมาสรุ า32

ขอ้ 7. ขอ้ สญั ญาพิเศษ
ภายใต้จำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตาราง บริษัท จะไม่ยกเอาความไม่สมบูรณ์แห่ง

กรมธรรม์ประกันภัย หรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของผู้เอาประกันภัย หรือข้อ 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
หรือเง่ือนไขท่ัวไป เว้นแต่ข้อ 3 ของหมวดเงื่อนไขท่ัวไป เป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก เพ่ือปฏิเสธความรับผิดตาม
1.1 ในหมวดน้ี

สว่ นเงื่อนไข 6.6 บริษทั จะไม่นำมาเปน็ ขอ้ ตอ่ สู้บุคคลภายนอก เพอ่ื ปฏิเสธความรบั ผดิ ทงั้ ตาม 1.1 และ
1.2 ในหมวดน้ี

ในกรณีท่ีบริษัทไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย หรือรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยน้ีต่อผู้เอาประกันภัย
แตบ่ รษิ ัทไดช้ ดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนไปแล้วตามวรรคหนึง่ และวรรคสอง ในความรับผิดท่ีผู้เอาประกันภัยต้องรับ
ผิดต่อบุคคลภายนอกไปแล้ว ผู้เอาประกันภัยต้องใช้จำนวนเงินท่ีบริษัทได้จ่ายไปน้ันคืนให้บริษัทภายใน 7 วัน
นับแต่ได้รับหนงั สือเรียกร้องจากบริษทั

32 คำส่ังนายทะเบยี นที่ 11/2560 เรือ่ ง ให้แกไ้ ขแบบ ขอ้ ความกรมธรรม์ประกนั ภัย และเอกสารแนบทา้ ยของกรมธรรม์ประกนั ภยั สงั่ ณ วันที่ 16
มนี าคม 2560 หนา้ 2

132

หมวดการคุ้มครองรถยนต์สูญหาย ไฟไหม้

ข้อ 1. ขอ้ ตกลงคมุ้ ครอง
รถยนต์สูญหาย บริษัทจะชดใช้คา่ สินไหมทดแทน เม่ือรถยนต์หรือส่วนหน่ึงส่วนใดของรถยนต์ รวมท้ัง

อุปกรณ์ เคร่ืองตกแต่ง หรือสิ่งที่ติดประจำอยู่กับตัวรถยนต์ตามมาตรฐานท่ีติดตั้งมากับรถยนต์โดยโรงงาน
ประกอบรถยนต์หรือศูนย์จำหน่ายรถยนต์ และให้รวมถึงอุปกรณ์เคร่ืองตกแต่งที่ได้ทำเพ่ิมขึ้นและผู้เอา
ประกันภัยได้แจ้งให้บริษัททราบด้วยแล้ว สูญหายไป อันเกิดจากการกระทำความผิดเฉพาะฐานลักทรัพย์ ชิง
ทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ หรือเกิดความเสียหายต่อรถยนต์อันเกิดจากการกระทำความผิด หรือการ
พยายามกระทำความผิดเช่นวา่ นัน้

รถยนต์ไฟไหม้บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เม่ือรถยนต์เกิดความเสียหายจากไฟไหม้ ไม่ว่าจะเป็น
การไหมโ้ ดยตัวของมนั เอง หรือเปน็ การไหม้ที่เป็นผลสืบเนื่องจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม

ขอ้ 2. การชดใช้ความเสียหายหรือสญู หายต่อรถยนต์
2.1 ในกรณีรถยนต์สญู หาย อันเกดิ จากการลกั ทรัพย์ ชงิ ทรัพย์ ปล้นทรัพย์ และยักยอกทรพั ย์ บริษัท

จะจ่ายค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้ในตาราง โดยผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับ
ประโยชน์แล้วแต่กรณีต้องโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้แก่บริษัททันที โดยค่าใช้จ่ายของบริษัท และให้ถือว่าการ
คุ้มครองรถยนต์น้นั เปน็ อนั สนิ้ สุด

ในกรณีท่ีบริษัทไดร้ ับรถยนต์คืนมาแล้ว บริษัทต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้เอาประกันภัยทราบทางไปรษณีย์
ลงทะเบยี นภายใน 7 วนั นับแต่วันท่ีได้รบั รถยนต์คนื มา ตามทอี่ ยูค่ ร้ังสุดท้ายท่ีผู้เอาประกันภยั แจง้ ให้บริษทั ทราบ
และบรษิ ทั ยินยอมให้ผู้เอาประกนั ภยั ใชส้ ทิ ธิ

2.1.1 ขอรับรถยนต์คืน โดยผู้เอาประกันภัยต้องคืนเงินที่ได้รับชดใช้ไปทั้งหมดให้แก่บริษัท ถ้ารถยนต์
นั้นเกดิ ความเสียหายบรษิ ัทต้องจัดซ่อมให้โดยค่าใชจ้ ่ายของบรษิ ัทก่อนคืน

2.1.2 สละสิทธิไม่ขอรับรถยนตค์ ืน
ทงั้ นี้ผู้เอาประกันภัยจะต้องแจ้งการใช้สิทธิให้บริษัททราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง
จากบรษิ ัท ถ้าผ้เู อาประกนั ภัยไม่แจ้งขอใช้สิทธิภายในกำหนดเวลาดงั กล่าว ให้ถือว่าผู้เอาประกันภัยไมป่ ระสงค์
จะขอรับรถยนตค์ ืน
2.2 ในกรณีรถยนต์เสียหายสิ้นเชิง บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงินเอาประกันภัย ที่
ระบุไว้ในตาราง
รถยนต์เสียหายส้ินเชิง หมายถึง รถยนต์ได้รับความเสียหายจนไม่อาจซ่อมให้อยู่ในสภาพเดิมได้ หรือ
เสียหายไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของมูลค่ารถยนตใ์ นขณะเกดิ ความเสียหาย
ในกรณีท่ีเอาประกันภัยไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่ารถยนต์ในขณะที่เอาประกันภัย ผู้เอา
ประกนั ภยั หรือผู้รับประโยชน์แลว้ แต่กรณี ต้องโอนกรรมสิทธ์ริ ถยนต์ให้แก่บริษทั ทนั ที โดยค่าใช้จ่ายของบริษัท
และให้ถือว่าการคุม้ ครองรถยนต์น้นั เป็นอันสิ้นสดุ
2.3 ในกรณีรถยนต์ได้รับความเสียหาย แต่ไม่ถึงกับเสียหายสิ้นเชิง หรือสูญหายบางส่วน บริษัท
และผู้เอาประกันภัยอาจตกลงกันให้มีการซ่อม หรอื เปลี่ยนรถยนต์ซึง่ มีสภาพเดียวกันแทนได้ ท้ังน้ีรวมทั้งอุปกรณ์
ของรถยนตน์ นั้ หรอื จะชดใชเ้ งนิ เพอ่ื ทดแทนความเสยี หายหรอื สญู หายน้นั ก็ได้

ในการซ่อมรถยนต์หรือในการกำหนดจำนวนเงินชดใช้หากตกลงกันไม่ได้ ให้จัดซ่อมโดยอู่กลางการ
ประกนั ภัยท่ีสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธรุ กจิ ประกันภัยแต่งต้ัง

133

ขอ้ จำกดั ความรับผดิ ของบริษทั
ในกรณีท่ีมีความจำเป็นต้องสั่งอะไหล่จากต่างประเทศ บริษัทรับผิดไม่เกินกว่าราคานำเข้าท่ีส่งมา
ทางเรือ

ขอ้ 3. การดูแลขนย้าย
เมื่อมีความเสียหายต่อรถยนต์ท่ีเกิดจากไฟไหม้ บริษัทจะจ่ายค่าดูแลรักษารถยนต์ และค่าขนย้าย

รถยนต์ทั้งหมดนับแต่วันเกิดเหตุ จนกว่าการซ่อมแซมหรือการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจะเสร็จส้ินตามจำนวนที่
จ่ายไปจรงิ แตไ่ ม่เกินร้อยละย่ีสบิ ของคา่ ซอ่ มแซม

ข้อ 4. การสละสทิ ธิ
ในกรณีที่มีความเสียหายหรือสูญหายต่อรถยนต์ เม่ือบุคคลอ่ืนเป็นผู้ใช้รถยนต์โดยได้รับความยินยอม

จากผู้เอาประกันภัย บริษัทสละสิทธิในการไล่เบี้ยจากผู้ใช้รถยนต์น้ัน เว้นแต่การใช้โดยบุคคลของสถาน
ให้บริการเก่ียวกับการซ่อมแซมรถ การทำความสะอาดรถ การบำรุงรกั ษารถ หรือการติดต้งั อุปกรณ์เพ่ิมเติม
เมอื่ รถยนตไ์ ดส้ ่งมอบให้เพ่ือรบั บรกิ ารนัน้

ขอ้ 5. การยกเว้นรถยนต์สูญหาย ไฟไหม้ การประกันภัยน้ีไม่คุ้มครองความสูญหาย หรือไฟไหม้
อนั เกดิ จาก

5.1 ความเสียหายหรือสูญหายอันเกิดจากการลักทรัพย์ หรือยักยอกทรัพย์ โดยบุคคลได้รับ
มอบหมาย หรือครอบครองรถยนต์ตามสัญญาเช่า สัญญาเช่าซ้ือ หรือสัญญาจำนำ หรือโดยบุคคลท่ีจะ
กระทำสัญญาดงั กล่าวขา้ งต้น

5.2 การใชร้ ถยนต์นอกอาณาเขตทคี่ ุ้มครอง

134

หมวดการคุ้มครองความเสยี หายต่อรถยนต์

ขอ้ 1. ขอ้ ตกลงคุ้มครอง
ความเสียหายต่อรถยนต์ บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้นระหว่าง

ระยะเวลาประกันภัย ต่อรถยนต์รวมท้งั อุปกรณ์ เครอ่ื งตกแต่ง หรือสิง่ ที่ติดประจำอยู่กบั ตัวรถยนตม์ าตรฐานที่
ติดต้ังมากบั รถยนต์โดยโรงงานประกอบรถยนตห์ รือศูนย์จำหนา่ ยรถยนต์ และให้รวมถึงอุปกรณเ์ คร่ืองตกแต่งที่
ได้ทำเพ่มิ ขึ้นและผูเ้ อาประกนั ภยั ได้แจ้งให้บริษทั ทราบดว้ ยแล้ว แตไ่ ม่รวมถึงความเสยี หายที่เกดิ จากไฟไหม้

ความรบั ผดิ ชอบของบรษิ ัทจะมไี ม่เกินจำนวนเงินเอาประกนั ภัยท่รี ะบุไวใ้ นตาราง
ไฟไหม้ ในที่น้ีหมายถึง ความเสียหายต่อรถยนต์ที่เป็นผลมาจากไฟไหม้ ไม่ว่าจะเป็นการไหม้โดยตัว
ของมันเอง หรอื เปน็ การไหมท้ ่เี ปน็ ผลสืบเนอื่ งมาจากสาเหตุอ่ืนใด

ขอ้ 2. การชดใชค้ วามเสยี หายต่อรถยนต์
2.1 ในกรณีรถยนต์เสียหายส้ินเชิง บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวนเงินเอาประกันภัย ที่

ระบไุ วใ้ นตาราง
ในกรณีที่เอาประกันภัยไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่ารถยนต์ในขณะท่ีเอาประกันภัย ผู้เอาประกันภัย

หรอื ผู้รับประโยชน์แล้วแต่กรณีต้องโอนกรรมสิทธริ์ ถยนต์ให้แก่บริษัททันที โดยค่าใช้จ่ายของบริษัท และให้ถือว่า
การค้มุ ครองรถยนต์นน้ั เป็นอนั สนิ้ สดุ

รถยนต์เสียหายส้ินเชิง ในท่ีนี้หมายถึง รถยนต์ได้รับความเสียหายจนไม่อาจซ่อมให้อยู่ในสภาพเดิมได้
หรือเสยี หายไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70 ของมลู ค่ารถยนต์ในขณะเกิดความเสียหาย

2.2 ในกรณรี ถยนต์ไดร้ ับความเสียหาย แต่ไม่ถงึ กับเสียหายสิ้นเชิง บริษัทและผูเ้ อาประกันภัยอาจตก
ลงกันให้มีการซ่อม หรือเปลี่ยนรถยนต์ซึ่งมีสภาพเดียวกันแทนได้ ท้ังนี้รวมท้ังอุปกรณ์ของรถยนต์น้ัน หรือจะ
ชดใช้เงนิ เพื่อทดแทนความเสยี หายน้นั กไ็ ด้

ในการซ่อมรถยนต์ หรือในการกำหนดจำนวนเงินชดใช้หากตกลงกันไม่ได้ ให้จัดซ่อมโดยอู่กลางการ
ประกนั ภยั ทีส่ ำนักงานคณะกรรมการกำกับและสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กิจประกนั ภัยแต่งตง้ั

ข้อจำกดั ความรับผิดของบริษทั
ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องสง่ั อะไหลจ่ ากตา่ งประเทศ บรษิ ัทรับผดิ ไมเ่ กินกว่าราคานำเข้าที่สง่ มาทางเรือ

ขอ้ 3. การดูแลขนย้าย เม่ือรถยนต์เกิดความเสียหายซึ่งมีการคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้ บริษัทจะ
จ่ายค่าดูแลรักษารถยนต์ และค่าขนย้ายรถยนต์ทั้งหมดนับแต่วันเกิดเหตุ จนกว่าการซ่อมแซม หรือการชดใช้
คา่ สินไหมทดแทนจะเสรจ็ สิ้นตามจำนวนท่ีจา่ ยไปจริง แตไ่ มเ่ กินร้อยละยี่สิบของคา่ ซ่อมแซม

ขอ้ 4. ความเสยี หายส่วนแรก ผเู้ อาประกันภยั ต้องรบั ผิดชอบเองต่ออบุ ัติเหตุแตล่ ะครง้ั ดงั น้ี
(ก) 1,000 บาทแรกของความเสียหายอันมิได้เกิดจากการชนหรือคว่ำ หรือกรณีที่เกิดจากการชนแต่

ผู้เอาประกนั ภยั ไม่สามารถแจง้ ให้บริษทั ทราบถึงคู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงได้
(ข) ตามจำนวนเงินสว่ นแรกของความเสียหายดังระบุไวใ้ นตาราง
(ค) 6,000 บาทแรกของความเสียหายต่อรถยนต์ทเี่ กิดจากการชน การคว่ำ ในกรณเี ปน็ การประกันภยั

ประเภทระบชุ ื่อผ้ขู บั ข่ี หากผู้ขบั ข่รี ถยนต์คนั เอาประกันภัยในขณะเกิดอบุ ัติเหตุ มิใช่ผู้ขับข่ีทรี่ ะบุช่ือใน
กรมธรรมป์ ระกันภัย

135

ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบตามข้อต่างๆ ดังกล่าวเกินกว่าหน่ึงข้อ ให้ถือว่าความ
รบั ผดิ ชอบแตล่ ะข้อเป็นความรับผิดชอบทีเ่ พิม่ ข้นึ

ผู้เอาประกันภัยไม่ต้องรับผิดในความเสียหายส่วนแรกตาม (ข) (ค) หากความเสียหายน้ัน เกิดขึ้นจาก
การกระทำของบุคคลภายนอกและรู้ตัวผู้ต้องรับผิดตามกฎหมาย ซึ่งมีผลทำให้บริษัทมีสิทธิท่ีจะเรียก
คา่ เสียหายท่ีบรษิ ทั ได้จ่ายไปคนื จากบคุ คลภายนอกได้

ในกรณีท่ีผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบค่าเสียหายส่วนแรกเอง ตาม (ก) (ข) และ (ค) บริษัทจะจ่าย
แทนผู้เอาประกันภัยไปก่อน เม่ือบริษัทได้จ่ายเงินท่ีผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบไปแล้ว ผเู้ อาประกันภัยต้องใช้
คืนให้บรษิ ัทภายใน 7 วนั นบั แตไ่ ดร้ บั หนงั สอื เรยี กรอ้ งจากบรษิ ทั

ขอ้ 5. การรักษารถยนต์ ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบเอง เม่ือเกิดความเสียหายเพ่ิมข้ึน หรือต้อง
ประสบอบุ ัติเหตุอื่น เนอื่ งจากการใชร้ ถยนต์กอ่ นที่จะมีการซ่อมแซมตามท่ีจำเป็น หรือไมไ่ ดจ้ ัดให้มีการดูแลเม่ือ
รถยนต์เกิดอุบตั ิเหตหุ รอื เครื่องเสยี

ขอ้ 6. การสละสิทธิ ในกรณีที่มีความเสียหายต่อรถยนต์ เมื่อบุคคลอ่ืนเป็นผู้ใช้รถยนต์โดยได้รับความ
ยนิ ยอมจากผ้เู อาประกันภัย บริษัทสละสิทธิในการไล่เบ้ียจากผูใ้ ชร้ ถยนต์น้ัน เว้นแต่การใช้โดยบุคคลของสถาน
ให้บริการเกี่ยวกับการซ่อมแซมรถ การทำความสะอาดรถ การบำรุงรักษารถ หรือการติดต้ังอุปกรณ์เพิ่มเติม
เมือ่ รถยนต์ไดส้ ่งมอบให้เพ่ือรบั บริการนน้ั

ข้อ 7. การยกเวน้ ความเสียหายต่อรถยนต์ การประกันภยั นี้ไม่คมุ้ ครอง
7.1 การเส่อื มราคา หรอื การสึกหรอของรถยนต์
7.2 การแตกหักของเครื่องจักรกลไกของรถยนต์ หรือการเสียหรือการหยุดเดินของเครื่องจักรกลไก

หรือเครอื่ งไฟฟ้าของรถยนต์อนั มิได้เกิดจากอบุ ัติเหตุ
7.3 ความเสียหายโดยตรงต่อรถยนต์ อันเกิดจากการบรรทุกน้ำหนัก หรือจำนวนผู้โดยสารเกินกว่าท่ี

ไดร้ ับอนญุ าต อันมิได้เกิดจากอุบตั ิเหตุ
7.4 ความเสียหายต่อยางรถยนต์ อันเกิดจากการฉีกขาด หรือการระเบิด เว้นแต่กรณีมีความเสียหาย

เกิดข้ึนต่อส่วนอ่นื ของรถยนตใ์ นเวลาเดียวกัน
7.5 ความเสียหายอันเกิดจากการขาดการใช้รถยนต์ เว้นแต่การขาดการใช้รถยนต์น้ันเกิดจากบริษัท

ประวิงการซอ่ ม หรือซอ่ มล่าช้าเกนิ กว่าทค่ี วรจะเป็น โดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร

ขอ้ 8. การยกเวน้ การใช้ การประกันภยั น้ีไมค่ มุ้ ครอง
8.1 การใชร้ ถยนตน์ อกอาณาเขตท่ีคมุ้ ครอง
8.2 การใช้รถยนต์ไปในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น ใช้รถยนต์ไปปล้นทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือใช้ขนยาเสพติด

เปน็ ตน้
8.3 การใช้ในการแขง่ ขนั ความเร็ว

ขอ้ 9. การยกเวน้ การใช้อ่ืนๆ การประกันภัยน้ีไมค่ ุ้มครอง
9.1 การใช้ลากจูง หรือผลักดัน เว้นแต่รถทถี่ ูกลากจูง หรอื ถกู ผลกั ดนั ไดป้ ระกนั ภยั ไวก้ ับบรษิ ัทดว้ ย

หรอื เป็นรถลากจูงโดยสภาพ หรอื รถท่ีมีระบบห้ามลอ้ เช่อื มโยงถงึ กัน

136
9.2 การใช้รถยนตน์ อกเหนือจากที่ระบไุ วใ้ นตารางในขณะเกดิ อุบตั ิเหตุ
9.3 การขับขี่โดยบุคคลซึ่งในขณะขับขี่มีปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกินกว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ซึ่งเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 16 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
กำหนดให้ถอื วา่ เมาสรุ า33
9.4 การขบั ข่โี ดยบคุ คลทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั ใบอนุญาตขับข่ีใดๆ หรอื เคยได้รับ แต่ถกู ตดั สิทธติ ามกฎหมาย
หรอื ใช้ใบขบั ขร่ี ถจักรยานยนตไ์ ปขับข่ีรถยนต์
การยกเว้นตามข้อ 9.1 9.2 9.3 9.4 จะไมน่ ำมาใช้ในกรณีท่ีมคี วามเสียหายตอ่ รถยนต์ที่เกดิ ขน้ึ และ
มใิ ชค่ วามประมาทของผู้ขับข่รี ถยนตท์ ี่เอาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกนั ภยั น้ี
แต่ในกรณีท่ีเป็นการประกันภัยประเภทระบุช่ือผู้ขับขี่ การยกเว้นตาม 9.4 จะไม่นำมาใช้บังคับ หากผู้
ขบั ขี่ในขณะเกิดความเสยี หาย เปน็ ผขู้ ับข่ีทถี่ กู ระบุชือ่ ในกรมธรรมป์ ระกันภัย

33 คำสั่งนายทะเบยี นที่ 11/2560 เรอื่ ง ให้แก้ไขแบบ ขอ้ ความกรมธรรมป์ ระกนั ภยั และเอกสารแนบท้ายของกรมธรรมป์ ระกนั ภยั สง่ั ณ วนั ที่ 16
มีนาคม 2560 หนา้ 2

137

เอกสารแนบท้าย
กรมธรรม์ประกนั ภยั รถยนต์
รวมการคุม้ ครองผู้ประสบภัยจากรถ

รหัสบริษัท การประกนั ภัยอบุ ัตเิ หตสุ ว่ นบุคคล ร.ย.01

เอกสารแนบท้ายที่ : เป็นส่วนหน่ึงของกรมธรรมป์ ระกันภัยเลขท่ี

ผู้เอาประกนั ภัย ชื่อ................................................................................... อาชีพ ………………………..........…....................................

ที่อยู่......................................................................................................................................................................................................................

ผ้ขู ับข่ี 1 …………………………………………………………………………. วนั /เดอื น/ปีเกิด……………............................… อาชีพ………………………………………….

ผู้ขับข่ี 2 …………………………………………………………………………. วัน/เดอื น/ปีเกดิ …………….............................… อาชีพ………………………………………….

ผู้รับประโยชน์……………………........…………………..………………………………………………

ระยะเวลาประกันภัย : เร่ิมตน้ วนั ที่ ……...............…....................………………………… สนิ้ สุดวันท่ี ………….....................……...................…………. เวลา 16.30 น.

รายการรถยนตท์ ี่เอาประกนั ภัย

รหัสรถ ช่ือรถยนต/์ รุ่น เลขทะเบียน เลขตวั ถัง ปี รุ่น แบบตวั ถัง จานวนที่นั่ง / ขนาด / น้าหนัก

จานวนเงนิ เอาประกนั ภัย : กรมธรรมป์ ระกนั ภัยน้ีให้การคมุ้ ครองเฉพาะข้อตกลงคมุ้ ครองทมี่ จี านวนเงนิ เอาประกันภัยระบุไว้เท่าน้ัน

ความคมุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถและความรับผิดตอ่ บุคคลภายนอก รถยนตเ์ สยี หาย สูญหาย ไฟไหม้ ความคมุ้ ครองตามเอกสารแนบท้าย
1) อุบัตเิ หตสุ ่วนุบคคล
1) จานวนเงนิ คมุ้ ครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกนั ภัยตามพ.ร.บ.) 1) ความเสยี หายตอ่ รถยนต์
1.1 เสียชีวติ สูญเสียอวยั วะ ทุพพลภาพถาวร
80,000 บาทตอ่ หน่ึงคน สาหรับความเสยี หายตอ่ ร่างกายหรืออนามยั ….…………………………บาท/คร้ัง ก) ผู้ขับขี่ 1 คน ……………บาท
ข) ผู้โดยสาร…คน ……………บาท/คน
300,000 บาทตอ่ หนึ่งคน สาหรับการเสยี ชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร 1.1 ความเสยี หายส่วนแรก
1.2 ทุพพลภาพชั่วคราว
200,000-300,000 บาทตอ่ หนึ่งคน กรณสี ญู เสยี อวัยวะตามเง่ือนไขกรมธรรม์ ………….…………………บาท/ครั้ง ก) ผขู้ ับข่ี 1 คน .………..…บาท/สัปดาห์
ข) ผู้โดยสาร .... คน .…….บาท/คน/สปั ดาห์
และ 200 บาทตอ่ วนั รวมกันไมเ่ กนิ 20 วนั สาหรับการชดเชยรายวัน 2) คา่ รักษาพยาบาล

กรณเี ข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน ……………………….….…บาท/คน

รวมไมเ่ กนิ 304,000 บาทตอ่ คน ....................บาทตอ่ อุบัตเิ หตแุ ตล่ ะคร้ัง 2) รถยนตส์ ูญหาย/ไฟไหม้

จานวนเงินคา่ เสยี หายเบอ้ื งตน้ เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง ………….…………………บาท

ผปู้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

2) จานวนเงนิ คมุ้ ครองความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก

2.1 ความเสียหายต่อชีวิตรา่ งกายหรอื อนามัย ส่วนเกินจาก 1)

………………….………………..บาท/คน 3) การประกนั ตวั ผ้ขู ับขี่

…....…………...….…………….. บาท/ครั้ง …...……...……….....……..…บาท/คร้ัง
2.2 ความเสยี หายตอ่ ทรัพย์สิน

……..……………..…………….. บาท/ครั้ง

ก) ความเสยี หายสว่ นแรก

………………...….…………….. บาท/ครั้ง
รายการเอกสารแนบท้ายที่แนบ...........................................................................................................................................................................................................................

รายการเบย้ี ประกันภัย

รวม ภาคส ัมครใจ พ.ร.บ.ฯ เบ้ียประกันภัย…………………….บาท ส่วนลดเบ้ียประกนั ภัยโดยตรง.............................บาท
เบีย้ ประกนั ภัยสุทธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ........................บาท รวม..................................บาท
เบีย้ ประกนั ภัยตามความคมุ้ ครองหลกั ………………………..บาท(หักส่วนลดกรณรี ะบุช่ือผูข้ ับขี่………บาทแลว้ ) เบีย้ ประกันภัยตามเอกสารแนบท้าย………บาท
สว่ นลด ความเสียหายส่วนแรก.……...บาท ส่วนลดกล่มุ …...…... บาท ประวัตดิ …ี ……………….บาท อน่ื ๆ…………….บาท รวมสว่ นลด………...…….บาท
สว่ นเพมิ่ ประวตั เิ พม่ิ …………………บาท
เบีย้ ประกนั ภัยสุทธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ........................บาท รวม..................................บาท

เบย้ี ประกนั ภัยสทุ ธิ อากรแสตมป์ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รวม

การใช้รถยนต์..............................................................................................................................................................................................
อาณาเขตคมุ้ ครอง

การปรับเบีย้ ประกนั ภัย : คนื ……………… เพม่ิ …………………. อากร …………………. ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ …………………. รวม ……………………….. บาท

วันทีม่ ผี ลบังคบั วนั ทาเอกสาร

เมอ่ื ใช้ในเอกสารแนบท้ายน้ี

ผูไ้ ดร้ ับความคมุ้ ครองหมายถึง ผ้ขู ับข่ีและ/หรือผู้โดยสารตามจานวนทีร่ ะบุในเอกสารแนบท้ายน้ี ซึ่งอยู่ในหรือกาลังขับขี่ หรือกาลังขึ้นหรือกาลงั ลงจากรถยนต์

อบุ ัตเิ หตุ หมายถึง เหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นอย่างฉับพลันจากปัจจัยภายนอกร่างกายและทาให้เกิดผลทีผ่ ้ไู ดร้ ับความคมุ้ ครองมไิ ดเ้ จตนาหรือมงุ่ หวัง

และให้หมายความรวมถึงการถูกฆาตกรรมดว้ ย

การสูญเสยี โดยถาวรส้นิ เชิง ให้รวมถึงการสูญเสยี สมรรถภาพในการใช้งานของอวยั วะนั้นโดยถาวรสิ้นเชิง

คำสงั่ นายทะเบียนที่ 15/2559 เรอื่ ง ให้ใชแ้ บบ ข้อความกรมธรรมป์ ระกันภยั คมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ และกรมธรรมป์ ระกนั ภยั รถยนต์รวมการ
คุม้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ สั่ง ณ วันท่ี 11 มนี าคม 2559

139

การสญู เสยี สายตา หมายถึง ตาบอดสนิท และไมม่ ที างรักษาให้หายไดต้ ลอดไป
ทุพพลภาพถาวร หมายถึง ทุพพลภาพถึงขนาดท่ีไมส่ ามารถประกอบอาชีพใดหรือทางานใดเพอื่ สินจ้างไดโ้ ดยสิ้นเชิงและตลอดไป
ทุพพลภาพชั่วคราว หมายถึง ทุพพลภาพถึงขนาดทไ่ี มส่ ามารถประกอบหน้าที่การงานในอาชีพประจาตามปกตไิ ดโ้ ดยส้ินเชิงในช่ัวระยะเวลาหน่ึง

เป็นที่ตกลงกนั ว่า กรมธรรมป์ ระกันภัยดงั กลา่ วข้างตน้ ไดม้ กี ารขยายเพม่ิ เตมิ ดงั ตอ่ ไปน้ี
บริษัทจะชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเพอื่ ความสญู เสยี อันเกิดจากความบาดเจ็บของผู้ใดร้ ับความคมุ้ ครองโดยอุบัตเิ หตุ ซึ่งทาให้เกดิ ผลดงั ตอ่ ไปนี้

การคมุ้ ครองข้อ 1 : เสยี ชีวิต
ถ้าความบาดเจ็บทไี่ ดร้ ับทาให้ผู้ไดร้ ับความคมุ้ ครองเสียชีวิตใน 180 วนั นับแตว่ ันเกิดอุบัตเิ หตกุ ็ดี หรือความบาดเจ็บท่ีไดร้ ับทาให้

ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองตอ้ งรักษาตวั ตดิ ตอ่ กนั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และเสียชีวติ เพราะเหตบุ าดเจ็บน้ันก็ดี บริษทั จะจ่ายคา่ สินไหมทดแทนให้ตาม
จานวนเงนิ เอาประกนั ภัยทรี่ ะบุไวใ้ นเอกสารแนบท้ายนี้ ให้แกท่ ายาทของผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครอง

การคมุ้ ครองข้อ 2 : สญู เสยี มือ เท้า สายตา
ถ้าความบาดเจ็บที่ไดร้ ับไมม่ ผี ลทาให้ผู้ไดร้ ับความคมุ้ ครองตอ้ งเสยี ชีวติ ภายใน 180 วัน นับแตว่ ันเกดิ อุบัตเิ หตแุ ตม่ ผี ลทาให้ผไู้ ดร้ ับ

ความคมุ้ ครองไดร้ ับการสญู เสยี โดยถาวรสนิ้ เชิง ภายใน 180 วัน นับแตว่ ันเกดิ อุบัตเิ หตกุ ด็ หี รือความบาดเจ็บท่ีไดร้ ับทาให้ผู้ไดร้ ับความคมุ้ ครองตอ้ งรักษาตวั
ตดิ ตอ่ กันในโรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และเป็นเหตใุ ห้ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองไดร้ ับการสญู เสียโดยถาวรส้ินเชิงดงั กาหนดข้างล่างนี้ บริษทั จะจ่ายคา่ สนิ ไหม
ทดแทนให้แกผ่ ไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองดงั น้ี

100% ของจานวนเงนิ เอาประกนั ภัย สาหรับมอื สองข้าง ตงั้ แตข่ ้อมอื หรือเท้าสองข้าง ตงั้ แตข่ ้อเท้า หรือสายตาสองข้าง
100 % ของจานวนเงนิ เอาประกันภัย สาหรับมอื หน่ึงข้าง ตงั้ แตข่ ้อมอื และเท้าหนึ่งข้าง ตง้ั แตข่ ้อเท้า
100 % ของจานวนเงนิ เอาประกันภัย สาหรับมอื หน่ึงข้าง ตง้ั แตข่ ้อมอื และสายตาหนึ่งข้าง
100 % ของจานวนเงนิ เอาประกันภัย สาหรับเท้าหน่ึงข้าง ตงั้ แตข่ ้อเท้า และสายตาหน่ึงข้าง
60 % ของจานวนเงนิ เอาประกนั ภัย สาหรับมอื หน่ึงข้าง ตงั้ แตข่ ้อมอื
60 % ของจานวนเงนิ เอาประกนั ภัย สาหรับเท้าหนึ่งข้าง ตงั้ แตข่ ้อเท้า
60 % ของจานวนเงนิ เอาประกนั ภัย สาหรับตาหนึ่งข้าง
บริษทั จะจ่ายคา่ ทดแทนตามข้อน้ีเพยี งรายการทสี่ งู สุดรายการเดยี วเท่านั้น

การคมุ้ ครองข้อ 3 : ทพุ พลภาพถาวร
ถ้าความบาดเจ็บมผี ลภายใน 12 เดอื น นับแตว่ นั เกิดอุบัตเิ หตทุ าให้ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองเกิดทุพพลภาพถาวรและทุพพลภาพถาวรนั้นไดเ้ ป็น

เวลาตดิ ตอ่ กนั ไมน่ ้อยกว่า 12 เดอื น หรือมขี ้อบ่งช้ีทางการแพทย์วา่ ผู้ไดร้ ับความคมุ้ ครองน้ันตกเป็นบุคคลทุพพลภาพถาวร บริษทั จะใช้คา่ สินไหมทดแทนให้
ตามจานวนเงนิ เอาประกนั ภัยดงั ระบุไวใ้ นเอกสารแนบท้ายน้ี หักดว้ ยจานวนเงนิ ที่ใช้ หรือตอ้ งใช้ตามความคมุ้ ครองข้อ 1. หรือ ข้อ 2. ให้แกผ่ ู้ไดร้ ับความคมุ้ ครอง

การคมุ้ ครองข้อ 4 : ทพุ พลภาพช่ัวคราว
ถ้าความบาดเจ็บที่ไดร้ ับทาให้ผ้ไู ดร้ ับความคมุ้ ครองตกเป็นบุคคลทุพพภาพชั่วคราวภายใน 180 วนั นับแตว่ นั ที่เกิดอบุ ัตเิ หตุ หรือความ

บาดเจ็บทีไ่ ดร้ ับทาให้ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองตอ้ งรักษาตวั ตดิ ตอ่ กนั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และเป็นเหตใุ ห้ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองตกเป็นบุคคลทุพพลภาพ
ชั่วคราว บริษทั จะจ่ายคา่ สินไหมทดแทนให้แกผ่ ู้ไดร้ ับความคมุ้ ครองเป็นระยะๆ ตลอดเวลาท่ยี ังทุพพลภาพอยู่ตามจานวนเงนิ ท่ีระบุไวใ้ นเอกสารแนบท้ายน้ี
แตไ่ มเ่ กิน 52 สปั ดาห์ ตอ่ อุบัตเิ หตแุ ตล่ ะครั้ง

บริษัทจะไมช่ ดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนตามความคมุ้ ครองนี้ หากอบุ ัตเิ หตมุ ผี ลทาให้ผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองเกิดความสูญเสยี ตามการคมุ้ ครอง
ตามข้อ 1 หรือข้อ 2 หากความสญู เสียมผี ลทาให้มที ุพพลภาพถาวรเกดิ ข้ึนตอ่ ผ้ไู ดร้ ับความคมุ้ ครองตามการคมุ้ ครอง ข้อ 3 คา่ สนิ ไหมทดแทนทบี่ ริษทั จะใช้
ตามการคมุ้ ครองข้อนี้ จะมกี ารหักจากจานวนเงนิ เอาประกันภัยทีบ่ ริษทั ตอ้ งใช้ตามการคมุ้ ครอง ข้อ 3

การยกเว้น : การขยายเพม่ิ เตมิ นไี้ ม่คมุ้ ครองการเสยี ชีวิต สญู เสยี อวัยวะ หรือการทุพพลภาพ อนั เกดิ ข้ึนเปน็ ผลโดยตรงหรือโดยออ้ มทงั้ หมดหรือบางสว่ น
จากการกระทาผดิ อาชญากรรมสถานหนกั โดยผไู้ ดร้ ับความคมุ้ ครองนนั้

เง่ือนไขอืน่ : การขยายเพม่ิ เตมิ ตามเอกสารแนบท้ายนี้ อยู่ภายใตบ้ ังคบั ของเงื่อนไขและการยกเว้นแห่งกรมธรรมป์ ระกนั ภัยทปี่ รากฏในสญั ญาหมวดเงื่อนไขทั่วไป

…………………………….. …………………………….. ……………………………..
กรรมการ กรรมการ ผูร้ ับมอบอานาจ

หมายเหตุ : แบบฟอร์มนใี้ ช้ในกรณีทาประกนั ภัยเพมิ่ หลงั จากทม่ี ีการออกกรมธรรม์ประกนั ภัยแลว้

ที่มา:คำสงั่ นายทะเบียนที่ 15/2559 เร่ือง ใหใ้ ชแ้ บบ ข้อความกรมธรรม์ประกนั ภัยคมุ้ ครองผ้ปู ระสบภยั จากรถ และกรมธรรม์ประกนั ภยั รถยนตร์ วมการ
คุ้มครองผปู้ ระสบภัยจากรถ ส่งั ณ วันท่ี 11 มนี าคม 2559

140

เอกสารแนบทา้ ยความคุ้มครองเพิ่มเติม
การประกันภัยอบุ ตั ิเหตุส่วนบุคคล (ร.ย.01)

เม่ือใช้ในเอกสารแนบทา้ ยนี้

ผ้ไู ดร้ บั ความคมุ้ ครอง หมายถงึ ผู้ขับข่ีและ/หรือผู้โดยสารตามจำนวนที่ระบุในตาราง ซ่ึงอยู่ในหรือ

กำลงั ขับข่ี หรอื กำลังข้นึ หรือกำลังลงจากรถยนต์

อบุ ตั ิเหตุ หมายถงึ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่างฉับพลันจากปัจจัยภายนอกร่างกายและทำ

ให้เกิดผลที่ผู้ได้รับความคุ้มครองมิได้เจตนาหรือมุ่งหวังและให้

หมายความรวมถึงการถูกฆาตกรรมด้วย

การสญู เสยี โดยถาวรส้นิ เชิง ใหร้ วมถงึ การสูญเสยี สมรรถภาพในการใชง้ านของอวัยวะนั้นโดยถาวรสน้ิ เชิง

การสญู เสยี สายตา หมายถึง ตาบอดสนทิ และไมม่ ที างรกั ษาใหห้ ายไดต้ ลอดไป

ทพุ พลภาพถาวร หมายถึง ทพุ พลภาพถึงขนาดท่ีไม่สามารถประกอบอาชีพใดหรือทำงานใดเพื่อ

สนิ จ้างได้โดยสิน้ เชงิ และตลอดไป

ทุพพลภาพชวั่ คราว หมายถงึ ทุพพลภาพถึงขนาดที่ไม่สามารถประกอบหน้าท่ีการงานในอาชีพ

ประจำตามปกติไดโ้ ดยส้นิ เชิงในชว่ั ระยะเวลาหนึ่ง

เปน็ ทีต่ กลงกันวา่ กรมธรรมป์ ระกนั ภยั ดังกล่าวขา้ งต้นได้มกี ารขยายเพิ่มเติมดังต่อไปนี้
บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือ ความสูญเสียอันเกิดจากความบาดเจ็บของผู้ใด้รับความคุ้มครองโดย
อุบตั ิเหตุ ซงึ่ ทำให้เกดิ ผลดังต่อไปนี้

การคุ้มครองข้อ 1 : เสียชวี ติ
ถา้ ความบาดเจ็บที่ไดร้ ับทำให้ผูไ้ ด้รับความคุ้มครองเสียชีวติ ใน 180 วัน นับแตว่ ันเกิดอุบัติเหตุก็ดี หรือ

ความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันในโรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และ
เสียชีวิตเพราะเหตุบาดเจ็บน้ันก็ดี บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้ตามจำนวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้ใน
ตาราง ให้แกท่ ายาทของผไู้ ด้รบั ความคุ้มครอง

การค้มุ ครองขอ้ 2 : สูญเสยี มือ เท้า สายตา
ถ้าความบาดเจ็บท่ีได้รับไม่มีผลทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องเสียชีวิตภายใน 180 วัน นับแต่วันเกิด

อุบัติเหตุแต่มีผลทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองได้รับการสูญเสียโดยถาวรสิ้นเชิง ภายใน 180 วัน นับแต่วันเกิด
อุบัติเหตกุ ็ดีหรือความบาดเจบ็ ที่ได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันในโรงพยาบาลในฐานะ
คนไข้ใน และเป็นเหตุให้ผู้ได้รับความคุ้มครองได้รับการสูญเสียโดยถาวรส้ินเชิงดังกำหนดข้างล่างน้ี บริษัทจะ
จ่ายคา่ สินไหมทดแทนใหแ้ ก่ผู้ไดร้ ับความคุ้มครองดังน้ี

100% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย สำหรับมือสองข้าง ตั้งแต่ข้อมือ หรือเท้าสองข้าง ตั้งแต่ข้อเท้า
หรือสายตาสองข้าง

100% ของจำนวนเงนิ เอาประกนั ภยั สำหรบั มอื หนงึ่ ขา้ ง ตั้งแต่ขอ้ มอื และเทา้ หน่ึงข้าง ตั้งแต่ข้อเทา้
100% ของจำนวนเงนิ เอาประกันภัย สำหรับมอื หน่ึงขา้ ง ต้งั แตข่ ้อมือ และสายตาหนง่ึ ข้าง
100% ของจำนวนเงินเอาประกนั ภัย สำหรับเทา้ หน่ึงข้าง ตงั้ แตข่ อ้ เท้า และสายตาหน่ึงขา้ ง
60% ของจำนวนเงนิ เอาประกันภัย สำหรบั มอื หนึ่งข้าง ตงั้ แต่ขอ้ มอื

141

60% ของจำนวนเงินเอาประกันภยั สำหรับเทา้ หนงึ่ ขา้ ง ตง้ั แตข่ ้อเท้า
60% ของจำนวนเงนิ เอาประกันภยั สำหรับตาหนึ่งขา้ ง
บริษทั จะจา่ ยคา่ ทดแทนตามข้อนี้เพยี งรายการทส่ี งู สุดรายการเดียวเท่านน้ั

การคุ้มครองข้อ 3 : ทพุ พลภาพถาวร
ถ้าความบาดเจ็บมีผลภายใน 12 เดือน นับแต่วันเกิดอุบัติเหตุทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองเกิดทุพพล

ภาพถาวรและทุพพลภาพถาวรนั้นได้เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 12 เดือน หรือมีข้อบ่งช้ีทางการแพทย์ว่า
ผู้ได้รับความคุ้มครองนั้นตกเป็นบุคคลทุพพลภาพถาวร บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ตามจำนวนเงินเอา
ประกันภัยดังระบุไว้ในตาราง หักด้วยจำนวนเงินที่ใช้ หรือต้องใช้ตามความคุ้มครองข้อ 1 หรือ ข้อ 2 ให้แก่
ผไู้ ดร้ ับความคุ้มครอง

การค้มุ ครองขอ้ 4 : ทุพพลภาพชั่วคราว
ถ้าความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองตกเป็นบุคคลทุพพลภาพช่ัวคราวภายใน 180 วัน

นับแต่วันที่เกิดอุบัติเหตุ หรือความบาดเจ็บท่ีได้รับทำให้ผู้ได้รับความคุ้มครองต้องรักษาตัวติดต่อกันใน
โรงพยาบาลในฐานะคนไข้ใน และเป็นเหตุให้ผู้ได้รบั ความคุ้มครองตกเป็นบุคคลทุพพลภาพชั่วคราว บริษัทจะ
จ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ได้รับความคุ้มครองเป็นระยะๆ ตลอดเวลาที่ยังทุพพลภาพอยู่ตามจำนวนเงินท่ี
ระบไุ วใ้ นตารางแต่ไมเ่ กนิ 52 สปั ดาห์ ตอ่ อุบตั ิเหตุแต่ละครง้ั

บริษัทจะไม่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความคมุ้ ครองนี้ หากอุบัติเหตุมีผลทำให้ผู้ไดร้ ับความคุ้มครอง
เกิดความสูญเสยี ตามการคุ้มครองตามข้อ 1 หรือขอ้ 2 หากความสูญเสียมผี ลทำให้มที ุพพลภาพถาวรเกิดขึน้ ต่อ
ผู้ได้รับความคุ้มครองตามการคุ้มครอง ข้อ 3 ค่าสินไหมทดแทนท่ีบริษัทใช้ตามการคุ้มครองข้อน้ี จะมีการหัก
จากจำนวนเงินเอาประกันภยั ทบี่ รษิ ทั ตอ้ งใช้ตามการคุ้มครอง ข้อ 3

การยกเว้น: การขยายเพ่ิมเติมนไ้ี ม่คมุ้ ครองการเสยี ชวี ิต สูญเสียอวัยวะ หรอื การทุพพลภาพ อันเกิดข้ึนเป็น
ผลโดยตรงหรือโดยอ้อมทั้งหมดหรือบางส่วนจากการกระทำผิดอาชญากรรมสถานหนักโดยผู้ ได้รับความ
คุม้ ครองนนั้

เงื่อนไขอ่ืน: การขยายเพิ่มเติมตามเอกสารแนบท้ายนี้ อยู่ภายใต้บังคับของเงื่อนไขและการยกเว้นแห่ง
กรมธรรมป์ ระกนั ภัยท่ปี รากฏในสัญญาหมวดเงอื่ นไขทว่ั ไป

หมายเหตุ : แบบฟอรม์ น้ใี ชใ้ นกรณอี อกพรอ้ มกรมธรรม์ประกันภัย

รหัสบริษทั การประกันภัยคา่ รักษาพยาบาล ร.ย.02

เอกสารแนบท้ายท่ี : เป็นส่วนหนึ่งของกรมธรรมป์ ระกนั ภัยเลขที่

ผู้เอาประกนั ภัย ช่ือ................................................................................... อาชีพ ………………………..........…....................................

ทอี่ ยู่......................................................................................................................................................................................................................

ผขู้ ับขี่ 1 …………………………………………………………………………. วนั /เดอื น/ปีเกิด……………............................… อาชีพ………………………………………….

ผขู้ ับขี่ 2 …………………………………………………………………………. วนั /เดอื น/ปีเกิด…………….............................… อาชีพ………………………………………….

ผู้รับประโยชน์……………………........…………………..………………………………………………

ระยะเวลาประกันภัย : เร่ิมตน้ วนั ที่ ……...............…....................………………………… สน้ิ สุดวนั ที่ ………….....................……...................…………. เวลา 16.30 น.

รายการรถยนตท์ ีเ่ อาประกันภัย

รหัสรถ ช่ือรถยนต/์ รุ่น เลขทะเบียน เลขตวั ถัง ปี รุ่น แบบตวั ถัง จานวนทนี่ ั่ง / ขนาด / น้าหนัก

จานวนเงนิ เอาประกันภัย : กรมธรรมป์ ระกนั ภัยน้ีให้การคมุ้ ครองเฉพาะข้อตกลงคมุ้ ครองทม่ี จี านวนเงนิ เอาประกนั ภัยระบุไวเ้ ท่านั้น

ความคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถและความรับผิดตอ่ บุคคลภายนอก รถยนตเ์ สยี หาย สญู หาย ไฟไหม้ ความคมุ้ ครองตามเอกสารแนบท้าย
1) อบุ ัตเิ หตสุ ่วนุบคคล
1) จานวนเงนิ คมุ้ ครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกนั ภัยตามพ.ร.บ.) 1) ความเสยี หายตอ่ รถยนต์
1.1 เสยี ชีวติ สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพถาวร
80,000 บาทตอ่ หนึ่งคน สาหรับความเสียหายตอ่ ร่างกายหรืออนามยั ….…………………………บาท/คร้ัง ก) ผู้ขับข่ี 1 คน ……………บาท
ข) ผโู้ ดยสาร…คน ……………บาท/คน
300,000 บาทตอ่ หน่ึงคน สาหรับการเสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร 1.1 ความเสยี หายส่วนแรก
1.2 ทุพพลภาพชั่วคราว
200,000-300,000 บาทตอ่ หน่ึงคน กรณสี ญู เสยี อวยั วะตามเงื่อนไขกรมธรรม์ ………….…………………บาท/ครั้ง ก) ผ้ขู ับข่ี 1 คน .………..…บาท/สปั ดาห์
ข) ผูโ้ ดยสาร .... คน .…….บาท/คน/สัปดาห์
และ 200 บาทตอ่ วัน รวมกนั ไมเ่ กนิ 20 วัน สาหรับการชดเชยรายวัน 2) คา่ รักษาพยาบาล

กรณเี ข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลในฐานะคนไข้ใน ……………………….….…บาท/คน

รวมไมเ่ กิน 304,000 บาทตอ่ คน ....................บาทตอ่ อุบัตเิ หตแุ ตล่ ะคร้ัง 2) รถยนตส์ ญู หาย/ไฟไหม้

จานวนเงินคา่ เสยี หายเบอื้ งตน้ เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง ………….…………………บาท

ผปู้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

2) จานวนเงนิ คมุ้ ครองความรับผดิ ตอ่ บุคคลภายนอก

2.1 ความเสียหายต่อชีวิตรา่ งกายหรอื อนามัย ส่วนเกินจาก 1)

………………….………………..บาท/คน 3) การประกันตวั ผู้ขับขี่

…....…………...….…………….. บาท/คร้ัง …...……...……….....……..…บาท/ครั้ง
2.2 ความเสยี หายตอ่ ทรัพย์สิน

……..……………..…………….. บาท/ครั้ง

ก) ความเสียหายส่วนแรก

………………...….…………….. บาท/คร้ัง
รายการเอกสารแนบท้ายทีแ่ นบ...........................................................................................................................................................................................................................

รายการเบี้ยประกนั ภัย

รวม ภาคส ัมครใจ พ.ร.บ.ฯ เบ้ียประกันภัย…………………….บาท ส่วนลดเบีย้ ประกันภัยโดยตรง.............................บาท
เบย้ี ประกันภัยสทุ ธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ........................บาท รวม..................................บาท

เบี้ยประกันภัยตามความคมุ้ ครองหลัก………………………..บาท(หักส่วนลดกรณรี ะบุชื่อผู้ขับขี่………บาทแลว้ ) เบี้ยประกันภัยตามเอกสารแนบท้าย………บาท

สว่ นลด ความเสียหายสว่ นแรก.……...บาท สว่ นลดกลุ่ม …...…... บาท ประวตั ดิ …ี ……………….บาท อื่นๆ…………….บาท รวมสว่ นลด………...…….บาท
สว่ นเพม่ิ ประวัตเิ พมิ่ …………………บาท

เบ้ียประกนั ภัยสทุ ธิ.....................................บาท อากรแสตมป์...............บาท ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ........................บาท รวม..................................บาท

เบ้ียประกนั ภัยสทุ ธิ อากรแสตมป์ ภาษีมลู คา่ เพมิ่ รวม

การใช้รถยนต์..............................................................................................................................................................................................
อาณาเขตคมุ้ ครอง

การปรับเบี้ยประกันภัย : คนื ……………… เพม่ิ …………………. อากร …………………. ภาษีมลู คา่ เพมิ่ …………………. รวม ……………………….. บาท

วันทม่ี ผี ลบังคบั วันทาเอกสาร

เป็นทต่ี กลงกนั วา่ กรมธรรมป์ ระกนั ภัยดงั กลา่ วข้างตน้ ไดม้ กี ารขยายเพมิ่ เตมิ ดงั ตอ่ ไปนี้ :-
บริษัทจะใช้คา่ รักษาพยาบาล คา่ บริการทางการแพทย์ คา่ ผ่าตดั และคา่ บริการอ่นื ๆ ตามทจี่ ่ายจริง ซ่ึงไดเ้ กิดข้ึนภายใน 12 เดอื นนับแตว่ นั เกิดอบุ ัตเิ หตเุ พอ่ื บุคคลใด
ซึ่งไดร้ ับความบาดเจ็บทางร่างกาย เน่ืองจากอบุ ัตเิ หตใุ นขณะอยู่ใน หรือกาลังขึ้น หรือกาลังลงจากรถยนต์
ความรับผดิ ชอบของบริษัทตอ่ คนในแตล่ ะครั้งจะไมเ่ กนิ จานวนเงนิ เอาประกันภัยท่รี ะบุไวใ้ นตาราง
การขยายเพมิ่ เตมิ นี้มผี ลบังคบั เฉพาะตอ่ รถยนตท์ ่ีระบุไว้ในตาราง

…………………………….. …………………………….. ……………………………..
กรรมการ กรรมการ ผรู้ ับมอบอานาจ

หมายเหตุ : แบบฟอร์มนใ้ี ช้ในกรณีทาประกนั ภัยเพมิ่ หลงั จากทม่ี ีการออกกรมธรรม์ประกนั ภัยแลว้

ที่มา:คำส่งั นายทะเบยี นท่ี 15/2559 เร่อื ง ใหใ้ ชแ้ บบ ข้อความกรมธรรม์ประกันภยั คุ้มครองผปู้ ระสบภัยจากรถ และกรมธรรมป์ ระกนั ภยั รถยนต์รวมการ
ค้มุ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ สง่ั ณ วันท่ี 11 มนี าคม 2559

143

เอกสารแนบทา้ ยความคุ้มครองเพ่ิมเตมิ
การประกันภยั คา่ รกั ษาพยาบาล (ร.ย.02)

เป็นทตี่ กลงกนั ว่า กรมธรรม์ประกนั ภัยดังกล่าวข้างตน้ ได้มีการขยายเพิ่มเตมิ ดงั ต่อไปน้ี
บรษิ ัทจะใช้คา่ รักษาพยาบาล ค่าบรกิ ารทางการแพทย์ ค่าผ่าตัด และค่าบริการอื่นๆ ตามท่ีจ่ายจรงิ ซึ่ง
ได้เกิดข้ึนภายใน 12 เดือน นับแต่วันเกิดอุบัติเหตุเพื่อบุคคลใดซึ่งได้รับความบาดเจ็บทางร่างกาย เนื่องจาก
อบุ ตั ิเหตุในขณะอย่ใู น หรอื กำลังขน้ึ หรือกำลังลงจากรถยนต์

ความรบั ผิดชอบของบรษิ ัทต่อคนในแตล่ ะคร้ังจะไม่เกินจำนวนเงนิ เอาประกันภัยทีร่ ะบุไวใ้ นตารางการ
ขยายเพิ่มเตมิ น้ีมีผลบังคับเฉพาะตอ่ รถยนต์ทีร่ ะบไุ ว้ในตาราง

หมายเหตุ แบบฟอรม์ น้ใี ช้ในกรณอี อกพรอ้ มกรมธรรม์ประกนั ภัย


Click to View FlipBook Version