The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2024-05-19 22:42:09

prawatsard-ebook

prawatsard-ebook

Keywords: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 199 ซ้้ายแม่่น้้ำโขงมาตั้้�งถิ่่�นฐานฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงจนเกิิดการตั้้�ง เมืืองขึ้้�นในภาคอีีสานเป็็นจำนวนมาก แม้้การขยายอำนาจ ของศููนย์์กลางอำนาจบริิเวณที่ร ่� าบลุ่่มแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยาจะมีี มาตั้้�งแต่่สมััยอยุธุยา ธนบุรีีุ และรัตันโกสิินทร์ต์ามลำดัับ แต่่ การควบคุุมคนและกำหนดให้้แต่่ละเมืืองทำหน้้าที่ ่� ส่่งส่่วย ให้้ส่่วนกลางยัังไม่่มีีประสิิทธิิภาพนััก กรุุงเทพฯกำหนดให้้ คณะอาญาสี่่�ควบคุุมคนในเมืืองแบ่่งเป็็น ๔ กองได้้แก่่ กอง เจ้้าเมืือง กองอุุปราช กองราชวงศ์์ และกองราชบุุตร เพื่่�อ สะดวกในการควบคุุมผู้้�คนที่่�เพิ่่�มขึ้้�น เพื่่�อสะดวกต่่อการ เกณฑ์์แรงงาน รวมถึึงการเก็็บภาษีีหรืือส่่วยให้้แก่่เจ้้าเมืือง กรมการเมืือง และส่่งให้้กรุุงเทพฯ กำหนดการควบคุุมคน ของแต่่ละกอง ดัังนี้้� กองเจ้้าเมืืองควบคุุมเลก-ไพร่่ ๕๐๐ คนขึ้้�นไปไม่่มีีกำหนด กองอุุปราชควบคุุมเลก-ไพร่่ ๕๐๐- ๑,๐๐๐ คน กองราชวงศ์์ควบคุุมเลก-ไพร่่ ๔๐๐-๕๐๐ คน กองราชบุุตรควบคุุมเลก-ไพร่่ ๓๐๐-๔๐๐ คน แต่่ละกองมีี นายกอง ๑ คน ปลััดกอง ๑ คน คอยดููแลกำลัังพล1 จนถึึง พ.ศ. ๒๓๖๗ ปีีแรกของการขึ้้�นครองราชย์์ของรััชกาลที่่� ๓ จึึง กำหนดให้้มีีการตั้้�งกองสัักเลกขึ้้�นในภาคอีีสานเป็็นครั้้�งแรกที่ ่� เมืืองกาฬสิินธุ์์ เมืืองร้้อยเอ็็ด และเมืืองสุุวรรณภููมิิ การสััก เลกมีีจุุดประสงค์์สำคััญเพื่่�อการเก็็บส่่วย การสัักเลกแต่่ละ ครั้้�งใช้้เวลานานเพราะต้้องแจ้้งให้้เจ้้าเมืือง กรมการเมืือง ให้้มีีคำสั่่�งต่่อลงไปตามลำดัับทั้้�งในตััวเมืืองไปจนถึึงหมู่่บ้้าน ในเมืืองนายกองนำคนในสัังกััดมาทำทะเบีียน ในหมู่่บ้้าน กำนัันนำลููกบ้้านทั้้�งหมดมาที่่�กองสัักเลกเพื่่�อทำทะเบีียน แยกประเภทของไพร่่ คัดัเฉพาะชายฉกรรจ์ที่์ มีี่� ความสููงจาก 1 บุุญช่่วย อััตถากร, ประวััติิศาสตร์์ภาคอีีสานและเมืืองมหาสารคาม, พิิมพ์์เนื่่�องในงานพระราชทานเพลิิงศพนางอารีีรััตน์์ อััตถากร ณ เมรุุวััด มกุุฏกษััตริิยาราม วัันที่่� ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖, หน้้า ๓๖-๓๘. 2 ธีีรชััย บุุญมาธรรม, ประวััติิศาสตร์์สัังคมอีีสานตอนบน พ.ศ.๒๓๑๘-๒๔๕๐, มหาสารคาม: วิิทยาลััยครููมหาสารคาม ๒๕๓๖, หน้้า ๑๔๔-๑๔๖. เท้้าถึึงไหล่่ ๒ ศอก ๑ คืืบ (ส่่วนสููงตั้้�งแต่่ ๑๒๕ เซนติิเมตร ขึ้้�นไป) มาลงทะเบีียนเลกและสัักเลกที่่�แขน อย่่างไรก็ต็าม มีี ข้้อยกเว้้นให้้กลุ่่มคนที่่�ไม่ต้้่องถููกสัักเป็็นเลก ได้แ้ก่่ พระภิิกษุุ สามเณร ผู้้�หญิิง เด็็ก คนชราอายุุ ๗๐ ปีีขึ้้�นไป ขุุนนาง ท้้าว เพีีย คนพิิการ คนบ้้า คนใบ้้ และข้้าพระ ทาส เชลย การตั้้�งกองสัักเลกในภาคอีีสานมีีอย่่างต่่อเนื่่�อง รััชกาลที่่� ๓ ประกาศตั้้�งกองสัักเลก อีีก ๕ ครั้้�ง ใน พ.ศ.๒๓๗๒ พ.ศ. ๒๓๘๐ พ.ศ. ๒๓๘๙ พ.ศ. ๒๓๙๐ พ.ศ. ๒๓๙๒ ต่่อมาสมััยรััชกาลที่่� ๔ โปรดเกล้้าฯ ให้้พระราชวริินทรา ลัักษณ์์เป็็นข้้าหลวงมาชำระเร่่งรััดส่่วยหััวเมืืองลาวตะวััน ออกและเขมรป่่าดง ในพ.ศ. ๒๓๙๖ พร้้อมทั้้�งกำหนดอัตรัา ให้้เจ้้าเมืืองกรมการเมืืองต้้องจ่่ายค่่าธรรมเนีียมให้้ข้้าหลวง ที่่�มาเร่่งรััดส่่วยด้้วย การสัักเลกครั้้�งใหญ่่ในภาคอีีสาน คืือ พ.ศ. ๒๔๐๒-๒๔๐๗ รััชกาลที่่� ๕ โปรดเกล้้าฯ ให้้เจ้้าพระยา กำแหงสงคราม (แก้้ว) เจ้้าเมืืองนครราชสีีมาเป็็นแม่่กองสััก เลก ทำให้้ได้้เลกเพิ่่�มขึ้้�นเป็็นจำนวนมาก2 เลกหรืือไพร่่ เป็็นกลุ่่มคนที่ ่�มีีจำนวนมากที่ ่� สุุดใน ภาคอีีสาน แบ่่งเป็็น ๕ ประเภท ได้้แก่่ ไพร่่ส่่วยหรืือเลก ส่่วย เลกทนายหรืือเลกยกคงเมืืองหรืือเลกคงเมืือง เลก นอกกอง เลกลาดตระเวน และเลกเขยสู่่หรืือเลกเขยซูู เลก แต่่ละประเภทมีีความสำคััญและทำหน้้าที่่�แตกต่่างกัันดัังนี้้� ไพร่่ส่่วยหรืือเลกส่่วย คืือ ไพร่่ที่ ่�ต้้องเสีียส่่วยให้้ กรุุงเทพฯตามที่่�กรุุงเทพฯ กำหนด ปกติิแล้้วจะให้้ส่่งเป็็น สิ่่�งของปีีละ ๑ ครั้้�ง การกำหนดเลกที่ต้้่� องส่่งส่่วยให้้รััฐ หมาย ถึึง เฉพาะชายฉกรรจ์์ที่ ่�มีีความสููงเสมอไหล่่ ๒ ศอก ๑ คืืบ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 200 จนถึึงอายุุ ๗๐ ปีี การกำหนดสิ่่�งของหรืือส่่วยที่ ่�ต้้องส่่งให้้ กรุุงเทพฯ กำหนดตั้้�งแต่่เริ่่�มแรกตั้้�งเมืืองที่่�แต่่ละเมืืองต้้อง ระบุุส่่วยที่่�จะส่่งให้้กรุุงเทพฯ เมืืองในอีีสานแต่่ละเมืืองเสีีย ส่่วยมากกว่่า ๑ ชนิิด ไพร่่จะถููกกำหนดให้้เสีียส่่วยคนละ ๑ ชนิิด หากไม่่สามารถเสีียส่่วยชนิิดหนึ่่�งก็็สามารถเสีียอีีก ชนิดิหนึ่่�งแทนได้ หากไ ้ม่มีี่จริิง ๆ สามารถจ่่ายเป็็นเงิินได้ แ้ต่่ เงิินที่จ่ ่� ่ายแทนส่่วยแต่่ละชนิดิไม่่เท่่ากััน ไพร่ส่่ ่วยแบ่่งเป็็น ๔ กอง คืือ กองเจ้้าเมืือง กองอุุปราช กองราชวงศ์์ และกอง ราชบุุตร เพื่่�อให้้การส่่งส่่วยมีีประสิิทธิิภาพและสะดวกต่่อ การทำบััญชีี แต่่ละกองมีีนายกอง ปลัดักองเป็็นผู้้�ควบคุุมดููแล เก็็บส่่วยชนิิดเดีียวกััน ไพร่่จะนำส่่วยมาส่่งที่่�กองที่ ่� สัังกััดใน ตััวเมืือง เจ้้าหน้้าที่่�กองทำหน้้าที่ร ่� วบรวมเก็็บในยุ้้�งฉาง เมื่่�อ ถึึงกำหนดเจ้้าเมืืองจะมอบหมายให้้ราชวงศ์์หรืือราชบุุตร เป็็นหััวหน้้านำส่่วยทั้้�งหมดของเมืืองนั้้�น ๆ ส่่งไปกรุุงเทพฯ เลกทนายหรืือเลกยกคงเมืืองหรืือเลกคงเมืือง เป็็น ไพร่่ที่่�กรุุงเทพฯยกให้้เป็็นผลประโยชน์์ของเจ้้าเมืืองกรม การเมืือง ผู้้�ปกครองท้้องถิ่่�นสามารถใช้้แรงงานไพร่่กลุ่่มนี้้� ในงานต่่าง ๆ หรืือเก็็บเงิินหรืือข้้าวหรืือส่่วยจากเลกคงเมืือง จำนวนเลกคงเมืืองที่่�กรุุงเทพฯยกให้้เจ้้าเมืืองกรมการเมืือง ไม่่แน่่นอน ส่่วนเลกกองนอก ได้้แก่่ ไพร่่ที่่�อยู่่นอกตััวเมืือง เจ้้าเมืืองจะเลืือกผู้้�ปกครองในท้้องถิ่่�น เช่่น ท้้าวฝ่่าย กำนััน จ่่าบ้้าน เป็็นนายกองนอก ดููแลไพร่่เหล่่านั้้�น เนื่่�องจากเลก กองนอกมีีหลายกอง เจ้้าเมืือง อุุปฮาด ราชวงศ์์ ราชบุตรจึึุง แบ่่งกัันคุุมเพื่่�อจะได้้ดููแลได้้ทั่่�วถึึง เลกกองนอกจัดัเป็็นไพร่ที่่ ่� ต้้องส่่งส่่วยให้้ส่่วนกลางเหมืือนไพร่ส่่ ่วย เมืืองในภาคอีีสาน หลายเมืืองเกิดิจากที่่�นายกองที่ดูู ่� แลเลกกองนอกขอตั้้�งเป็็น 1 ไพฑููรย์์ มีีกุุศล, “สภาพสัังคมและเศรษฐกิิจอีีสานก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� ๒,” วารสารประวััติิศาสตร์์ ปีีที่่� ๘ ฉบัับที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม พ.ศ.๒๕๒๖ หน้้า ๓๐-๓๑. เมืืองใหม่่ ในขณะที่ ่� เลกกองด่่าน เป็็นไพร่่ที่ ่�มีีหน้้าที่่�ลาด ตระเวนตรวจการชายแดนเมืืองของตน มีีเจ้้าหมู่่กองด่่าน เป็็นผู้้�ควบคุุมดููแล เลกกลุ่่มสุุดท้้าย คืือ เลกเขยสู่่หรืือเลก เขยซู เูป็็นไพร่ที่่ ่�ไปแต่่งงานกัับภรรยาที่่�อยู่่เมืืองอื่่�น เป็็นไพร่่ ที่ค้้่� างชำระส่่วยมากกว่่าไพร่ส่่ ่วยและมีีปััญหาในการเก็็บส่่วย มากเพราะอยู่่ต่่างเมืืองไกลจากเมืืองเดิิม แต่่ตามกฎหมาย ระบุุให้้ขึ้้�นบััญชีีกัับกองเมืืองเดิิมต้้องเสีียส่่วยให้้กัับเมืืองเดิิม เมืืองเดิิมต้้องตามไปเก็็บส่่วย กำลัังคนมีีความสำคััญต่่อกรุุงเทพฯเป็็นอย่่างมาก กฎหมายกำหนดให้้ชายฉกรรจ์์ต้้องทำงานโยธาให้้ราชการ คนละ ๓ เดืือนต่่อปีี ใน พ.ศ.๒๔๑๒ ทางกรุุงเทพฯ สั่่�งให้้ ชายฉกรรจ์์จาก ๒๔ เมืืองในภาคอีีสานไปก่่ออิิฐทำกำแพง และที่ ่� พัักที่่�เมืืองปราจีีนบุุรีีเพื่่�อให้้เป็็นที่ ่� พัักอาศััยของเจ้้า เมืืองกรมการเมืืองที่่�มาจากหััวเมืืองตะวัันออกรวมถึึงจาก เมืืองพระตะบอง เสีียมราฐ ศรีีโสภณ และพนมศััก ได้้พััก ช้้าง ม้้า และผู้้�คนก่่อนเดิินทางเข้้าเฝ้้าและนำเงิินส่่วยถวาย ยัังราชสำนััก เมืืองใดที่่�ชายฉกรรจ์์ไปก่่ออิิฐ สร้้างกำแพง ไม่่ครบจำนวนต้้องเรีียกเก็็บเงิินแรงงานเป็็นเงิิน ๔ บาท ส่่งไปกรุุงเทพฯ นอกจากนี้้�เจ้้าเมืืองกรมการเมืืองยัังเกณฑ์์ แรงงานเลกเพื่่�อใช้้งานโยธาต่่าง ๆ เช่่น เมืืองนครราชสีีมา เกณฑ์์แรงงานชายฉกรรจ์์ ๓,๐๐๐ คน ขุุดลอกคููคลองเพื่่�อ ระบายน้้ำออกจากตััวเมืืองนครราชสีีมา และนำดิินไปถม พื้้�นที่่�เขตกำแพงเมืืองให้้สููงขึ้้�น1 จึึงกล่่าวได้้ว่่า ไพร่่หรืือเลกมีีความสำคััญต่่อผู้้� ปกครองท้้องถิ่่�นในอีีสานและส่่วนกลางเป็็นอย่่างมาก ไพร่่ ถืือเป็็นแหล่่งผลประโยชน์์ของเจ้้าเมืือง กรมการเมืือง ทั้้�ง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 201 ในฐานะแรงงานด้้านต่่าง ๆ และที่่�มาของรายได้้ที่่�ไพร่่จะ ส่่งเป็็นตััวเงิินหรืือสิ่่�งของ เนื่่�องด้้วยส่่วนกลางไม่่ได้้จ่่ายเงิิน เดืือนหรืือเบี้้�ยหวััดให้้เจ้้าเมืืองกรมการเมืือง การตั้้�งกองสััก เลกในอีีสาน ก่่อน พ.ศ.๒๔๐๒ ไม่่มีีการนำเลกกองนอกมา รวมด้้วย แต่่เมื่่�อมีีการตั้้�งกองสัักเลก พ.ศ. ๒๔๐๒-๒๔๐๗ เจ้้าเมืืองนครราชสีีมาให้้นำเลกกองนอกมาขึ้้�นทะเบีียนและ ส่่งส่่วนกลางทั้้�งหมดทำให้้จำนวนเลกแต่่ละเมืืองเพิ่่�มขึ้้�นกว่่า การตั้้�งกองสัักเลกในครั้้�งที่ ่� ผ่่านมา ขณะเดีียวกัันไพร่่ยัังมีีความสำคััญทางเศรษฐกิิจ ต่่อส่่วนกลางในฐานะผู้้�ทำหน้้าที่ ่� ส่่งส่่วยให้้กรุุงเทพฯ การ ขอตั้้�งเมืืองใหม่่ต้้องระบุุจำนวนประชากรของเมืืองซึ่่�งหาก คุุมกำลัังคนเพีียง ๑๐๐-๒๐๐ คนก็็สามารถทำเรื่่�องขอตั้้�ง เป็็นเมืืองใหม่่ได้ เ้มื่่�อพระมหากษัตริัย์ิที่์ ่�กรุุงเทพฯมีีพระบรม ราชโองการแต่่งตั้้�งเจ้้าเมืืองหรืือเมืืองขึ้้�นแล้้ว ส่่วนกลางได้้ ประโยชน์์จากการตั้้�งเมืืองในเรื่่�องส่่วยที่่�เจ้้าเมืืองคนใหม่่ จะถวายให้้เป็็นประจำทุุกปีี ส่่วยที่ ่� ส่่งจากเมืืองในอีีสาน ส่่วนใหญ่่เป็็นส่่วยของป่่าสะท้้อนถึึงความอุุดมสมบููรณ์์ ด้้านทรััพยากรในพื้้�นที่่� เมืืองใหญ่่ที่ ่�มีีขนาดพื้้�นที่่�เมืืองมาก จะส่่งส่่วยได้้หลายประเภท ตััวอย่่างส่่วยที่่�เมืืองในอีีสาน ส่่งให้้กรุุงเทพฯ เนื่่�องด้้วยหาได้้ในท้้องถิ่่�นและเป็็นส่่วยที่ ่� กรุุงเทพฯ ต้้องการ ได้้แก่่ ผลเร่่ว ทองคำผุุย เงิิน กระวาน ขี้้�ผึ้้�ง ผ้้าขาว น้้ำรััก ป่่าน ควาย เป็็นต้้น หากมีีการค้้างส่่วย เกิิดขึ้้�น กรุุงเทพฯ จะมีีใบบอกเร่่งรััดเมืืองต่่าง ๆ ที่ ่�ค้้างส่่วย ให้้จััดส่่งส่่วยให้้ครบกำหนดและให้้ดำเนิินการจััดหาส่่วยส่่ง ให้้กรุุงเทพฯ ภายในเดืือนอ้้าย (ธัันวาคม) หรืือให้้ทัันหน้้าลม มรสุุม สะท้้อนให้้เห็็นความสำคััญของเงิินส่่วยและส่่วยจาก 1 อิินทิิรา ซาฮีีร์์ และคณะ, รายงานวิิจััยเรื่่�องโครงการการขัับเคลื่่�อนศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อการพััฒนาเชิิงพื้้นที่่� อำเภอเขมราฐ จัังหวััด อุุบลราชธานีี, กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.) หน้้า ๖๗. เมืืองต่่าง ๆ ต่่อเศรษฐกิิจของกรุุงเทพฯ เนื่่�องด้้วยเงิินส่่วย จะนำไปใช้้จ่่ายราชการแผ่่นดิิน ส่่วนส่่วยประเภทต่่าง ๆ บาง ส่่วนใช้้เป็็นสิินค้้าขายให้้กัับพ่่อค้้าต่่างชาติิที่่�เข้้ามาค้้าขาย ที่่�กรุุงเทพฯ หรืือใช้้เป็็นของตอบแทนสลุุบกำปั่่�นพ่่อค้้า ต่่างประเทศ1 เมืืองในอีีสานที่ ่�มีีพื้้�นที่่�ขนาดใหญ่่ มีีป่่าอุุดม สมบููรณ์์ มีีจำนวนคนมาก มัักจะเสีียส่่วยหลายประเภท หาก ไพร่่ไม่่สามารจััดหาส่่วยประเภทหนึ่่�งได้้ก็็สามารถทดแทน ด้้วยส่่วยอีีกประเภทได้้ดัังนั้้�น ปริิมาณส่่วยที่่�เพิ่่�มจำนวน มากสะท้้อนถึึงจำนวนแรงงานในการผลิิตและหาสิ่่�งของส่่ง เป็็นส่่วยว่่ามีีจำนวนมากตามไปด้้วย และแสดงถึึงการตั้้�ง เมืืองที่่�เพิ่่�มขึ้้�นในภาคอีีสานด้้วยเช่่นเดีียวกััน การส่่งส่่วยจากเมืืองในอีีสาน ไพร่่ส่่วยไม่่ต้้องนำ ส่่วยมาส่่งที่ ่� ส่่วยกลางแต่่นำส่่งที่่�นายกองที่ ่� สัังกััดปีีละครั้้�ง ตามจำนวนที่ ่� ส่่วนกลางกำหนด พาหนะที่่�ใช้้ขนส่่งขึ้้�นอยู่่ว่่า เมืืองนั้้�นตั้้�งอยู่่ส่่วนใด ถ้้าตั้้�งอยู่่ใกล้้แม่่น้้ำมููลหรืือริิมแม่่น้้ำ โขง จะใช้้เรืือกระแซงเป็็นพาหนะบรรทุุกส่่วยมาจนถึึงท่่าช้้าง เมืืองนครราชสีีมาจากนั้้�นเจ้้าเมืืองนครราชสีีมาจะจัดัเกวีียน หรืือโคต่่างและเสบีียงอาหารไปรัับแพส่่วยจากเรืือกระแซง ใส่่เกวีียนหรืือวััวต่่าง ซึ่่�งวััว ๑ ตััวแขวนกระทอ ๒ กระทอ ด้้านข้้างวััวด้้านละ ๑ กระทอแล้้วเดิินทางจากท่่าช้้าง ไปกรุุงเทพฯ ใช้้เส้้นทาง ๒ เส้้นทาง เส้้นทางแรกไปทาง ปัักธงชััยไปถึึงเมืืองกบิินทร์์บุุรีีซึ่่�งเป็็นเมืืองศููนย์์กลางการ ขนส่่วยในภาคตะวัันออก ส่่วยจากเมืืองต่่าง ๆ ของเขมรซึ่่�ง ขณะนั้้�นเป็็นประเทศราชของสยามกัับเมืืองลาวที่่�อยู่่ใต้้แก่่ง หลี่ ่�ผีี เช่่น เมืืองแสนปาง ศรีีทัันดร เชีียงแตง (สตึึงเตรง) จะ ส่่งส่่วยผ่่านเมืืองกบิินทร์บุ์ รีีุเช่่นกััน ที่่�เมืืองกบิินทร์บุ์ รีีุเจ้้าเมืือง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 202 จะจัดัเรืือและเสบีียงอาหารให้้กองคาราวานส่่วย ขนส่่วยจาก กบิินทร์บุ์ รีีุไปตามแม่น้้ ่ ำบางประกง เข้้าคลองแสนแสบไปถึึง กรุุงเทพฯ อีีกทางหนึ่่�งจากนครราชสีีมาผ่่านดงพระยาไฟ (ต่่อ มาเปลี่่�ยนชื่่�อเป็็นดงพระยาเย็็น) ผ่่านสีีคิ้้�ว ปากช่่อง มวกเหล็็ก แก่่งคอย สระบุรีีุที่่�เมืืองสระบุรีีุเจ้้าเมืืองจะจัดัเรืือและเสบีียง อาหารให้้กองคาราวานส่่วยซึ่่�งจะใช้้เรืือล่่องไปตามแม่น้้ ่ ำป่่าสััก ไปเข้้าแม่่น้้ำเจ้้าพระยาที่่�กรุุงเก่่า ล่่องไปจนถึึงกรุุงเทพฯ หากเป็็นส่่วยที่ ่� ส่่งจากเมืืองแถบลุ่่มแม่่น้้ำชีี แม่่น้้ำสงคราม ใช้้เกวีียนหรืือโคต่่างจากเมืืองของตรงมาที่่�นครราชสีีมาเพื่่�อ รัับเสบีียงและพัักก่่อนเดิินทางไปถึึงเมืืองสระบุรีีจึึุงขนส่่วยลง เรืือ1 ยกตััวอย่่าง การส่่งเงิินส่่วยผลเร่่วหรืือส่่วยประเภทต่่าง ๆ จากเมืืองเขมราฐเริ่่�มต้้นจากกรมการเมืืองเขมราฐรวบรวม แล้้วนำส่่งเข้้าเมืืองอุุบล จากนั้้�นเจ้้าเมืืองอุุบลจะมีีใบบอกลง ไปกรุุงเทพมหานครเพื่่�อส่่วนกลางจะสั่่�งให้้ข้้าหลวงคุุมโคต่่าง ขึ้้�นมาบรรทุุกส่่วยลงไปยัังกรุุงเทพมหานคร หรืือส่่งเงิินส่่วย ผลเร่่ว หรืือส่่วยประเภทต่่าง ๆ ต่่อไปที่่�เมืืองสระบุรีีุ จาก นั้้�นเจ้้าเมืืองสระบุรีีุจะจัดัเรืือบรรทุุกเงิินส่่วย ผลเร่่วหรืือส่่วย ประเภทต่่าง ๆ ลงมาส่่งที่่�กรุุงเทพมหานครในลำดัับต่่อไป2 ภายหลัังการลงนามในสนธิิสััญญาเบาว์์ริิง พ.ศ. ๒๓๙๘ ทำให้้ข้้าวกลายเป็็นสิินค้้าส่่งออก มีีการเพิ่่�มขึ้้�น ของพื้้�นที่่�และผลผลิิตข้้าวโดยเฉพาะบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำ เจ้้าพระยา ความต้้องการแรงงานสัตว์ั ์เพื่่�อช่่วยเปิดพื้้ ิ �นที่่�นา ทำให้้กรุุงเทพฯ อนุุญาตให้้เมืืองในอีีสานที่ค้้่� างส่่วยสามารถ ส่่งส่่วยควายแทนการค้้างส่่วยเร่่วได้้ถึึงสมััยรััชกาลที่่� ๕ ข้้าว กลายเป็็นสิินค้้าส่่งออกที่่�สำคััญของสยาม ความต้้องการ ขยายพื้้�นที่่�ปลููกข้้าวเพิ่่�มมากขึ้้�นรวมถึึงความต้้องการแรงงาน 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า หน้้า ๑๑๗-๑๑๘. 2 “ใบบอกหลวงอััครสุุนทร เสมีียนตรามหาดไทย เมืืองสระบุุรีีจ.ศ.๑๑๙๔,” ๒๓๗๕: เลขที่่� ๓๔ คนและแรงงานสััตว์์ในการเปิิดพื้้�นที่่�นาในภาคกลางด้้วย เช่่นกััน เมื่่�อรถไฟสร้้างมาถึึงเมืืองนครราชสีีมาส่่งผลให้้การ คมนาคมระหว่่างกรุุงเทพฯกัับเมืืองในภาคอีีสานสะดวกและ รวดเร็็วมากขึ้้�น และเป็็นพาหนะในการนำคนจากอีีสานไปเป็็น แรงงานรัับจ้้างปลููกข้้าวในภาคกลางอีีกด้วย ้ ภาพที่่� ๙ เส้้นทางขนส่่งส่่วยจากเมืืองในอีีสานสู่่กรุุงเทพฯ ที่่�มา: สุวิุทย์ิ ์ ธีีรศาศวััต, ประวัติัิศาสตร์อีีส์ าน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑ (ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗), หน้้า ๑๑๗.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 203 ๔) พระราชพิิธีีถืือน้้ำพระพิิพััฒน์์สััตยา การประกอบพระราชพิธีีถืื ิอน้้ำพิพัิัฒน์สั์ตัยาเป็็นอีีก วิิธีีของการรัักษาความสััมพัันธ์์ระหว่่างเมืืองหลวงกัับเมืือง ในภาคอีีสาน พระราชพิิธีีดัังกล่่าวต้้องอาศััยความเชื่่�อผสม กฎหมาย มีีกฎหมายลงโทษรุุนแรงต่่อผู้้�ไม่่ปฏิบัิัติิ ถืือเป็็นพิธีีิ ศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ทำในโบสถ์์ต่่อหน้้าพระพุุทธรููปศัักดิ์์�สิิทธิ์์� น้้ำดื่่�มที่ ่� ใช้้ในพิิธีีเป็็นน้้ำที่่�เอาจากบ่่อน้้ำศัักดิ์์�สิิทธิ์์� ผ่่านพิิธีีพราหมณ์์ สวดพร้้อมกัับแช่่เครื่่�องศััตราวุุธ เช่่น หอก ดาบ ขวาน ปืืน ในคำสวดมีีทั้้�งคำสาปและคำให้้พร ภายหลัังเหตุุการณ์์เจ้้า อนุุวงศ์์ มีีเมืืองใหม่่ตั้้�งขึ้้�นเป็็นจำนวนมาก เมืืองที่ ่�ตั้้�งขึ้้�นไม่่ ทราบว่่าต้้องถืือน้้ำพระพััฒน์์สััตยาทุุกปีี ปีีละ ๒ ครั้้�ง ช่่วง เดืือน ๕ กัับ เดืือน ๑๐ ในวััดประจำเมืือง สมุุหนายกจึึงมีี สารตราไปถึึงเมืืองใหญ่่ในอีีสานให้้ตัักเตืือนเจ้้าเมืืองกรม การเมืืองเล็็กในสัังกััดให้้ประกอบพิิธีีดัังกล่่าว1 กรณีีเมืือง สกลนคร พระยาประจัันตประเทศธานีีกำหนดให้้มีีขึ้้�นในวััน ขึ้้�น ๓ ค่่ำเดืือน ๕ และวัันแรม ๑๓ ค่่ำ เดืือน ๑๑ งานพิิธีี แต่่ละครั้้�งจะมีี ๒ วััน วัันแรกเป็็นการอััญเชิิญพระบรมรููป พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััวออกจากศาลากลางแล้้วแห่่ ขบวนไปยัังอุุโบสถวััดพระธาตุุเชิิงชุุม วัันที่่�สองเป็็นวัันถืือ น้้ำพระพิิพััฒน์์สััตยาซึ่่�งประกอบพิิธีีในอุุโบสถวััดพระธาตุุ เชิิงชุุม2 กรณีีเมืืองเขมราฐ เจ้้าเมืืองกรมการเมืืองทั้้�งหมด ต้้องเข้้าร่่วมพิิธีีถืือน้้ำพระพิิพััฒน์์สััตยาปีีละ ๒ ครั้้�งตาม ธรรมเนีียมปฏิิบััติิเพื่่�อเป็็นการแสดงความจงรัักภัักดีีต่่อ กรุุงเทพมหานคร สถานที่่�ประกอบพิิธีีถืือน้้ำพระพิิพััฒน์์ สััตยา คืือ วััดกลางหรืือวััดชััยภููมิิการามในปััจจุุบััน3 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๙๖. 2 ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชา ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๙ หน้้า ๑๐๑.3 อิินทิิรา ซาฮีีร์์ และคณะ, รายงานวิิจััยเรื่่�องโครงการการขัับเคลื่่�อนศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อการพััฒนาเชิิงพื้้นที่่� อำเภอเขมราฐ จัังหวััด อุุบลราชธานีี, กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.) หน้้า ๖๘. อย่่างไรก็็ตาม แม้้กรุุงเทพฯจะเข้้ามามีีอำนาจใน การปกครองพื้้�นที่ ่�อีีสาน แต่่ยัังคงอนุุญาตเมืืองในอีีสาน ใช้้ระบบการปกครองแบบอาญาสี่ ่� ตามแบบล้้านช้้าง คงให้้ ใช้้กฎหมายจารีีตโบราณตามแบบล้้านช้้างตามเดิิม เมื่่�อ มีีการปฏิิรููปการปกครองสมััยรััชกาลที่่� ๕ จึึงยกเลิิกระบบ การปกครองแบบอาญาสี่่�และยกเลิิกการใช้้กฎหมายจารีีต แบบล้้านช้้าง ! อีีสานสมััยการปฏิิรููปการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิิบาล การปฏิิรููปการปกครองภาคอีีสานเริ่่�มตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๓๓ จนถึึง พ.ศ. ๒๔๗๖ จึึงยกเลิิกการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิิบาล อาจกล่่าวได้้ว่่าสาเหตุุของการปฏิิรููป การปกครองภาคอีีสาน เกิดิจากทั้้�งสาเหตุภุายนอก คืือ การ คุุกคามของจัักรวรรดิินิิยมตะวัันตก และสาเหตุุภายในซึ่่�งมีี หลายประการ ได้้แก่่ ประการแรก ปััญหาของเมืืองสองฝ่่ายฟ้้าที่่�เมืือง ขึ้้�นสามารถส่่งต้้นไม้้เงิินต้้นไม้้ทองให้้ศููนย์์กลางปกครอง มากกว่่า ๑ ศููนย์์กลาง บางเมืืองส่่งต้้นไม้้เงิินต้้นไม้้ทอง ให้้ทั้้�งกรุุงเทพฯ และเวีียดนาม แสดงถึึงการยอมเป็็นเมืือง ขึ้้�นทั้้�งของกรุุงเทพฯ และเวีียดนาม ทำให้้ฝรั่่�งเศสนำไป อ้้างสิิทธิิว่่าหััวเมืืองเหล่่านี้้�เป็็นเมืืองขึ้้�นของเวีียดนามมา ก่่อน เมื่่�อเวีียดนามอยู่่ภายใต้้การปกครองของฝรั่่�งเศสแล้้ว หััวเมืืองเหล่่านี้้ต้้�องอยู่่ใต้้อำนาจการปกครองของฝรั่่�งเศสด้วย ้


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 204 ประการที่่�สอง การขาดแผนที่่�และการไม่่มีีหลััก เขตแดนที่ ่� ชััดเจน เมื่่�อเกิิดกรณีีพิิพาทเรื่่�องเขตแดนระหว่่าง สยามกัับฝรั่่�งเศส สยามไม่มีี่แผนที่่�แสดงเขตแดนอำนาจของ สยามไปอ้้างกัับฝรั่่�งเศสทำให้้ผู้้�ปกครองในหััวเมืืองชายแดน และในส่่วนกลางเกิิดความไม่่มั่่�นใจในสิิทธิิอำนาจของตน ประการที่่�สาม ความไร้้ประสิิทธิิภาพในการ ปกครองหััวเมืืองชายแดน เนื่่�องด้้วยเมืืองชายแดนอยู่่ห่่าง ไกลจากส่่วนกลางที่่�กรุุงเทพฯ ทำให้้กรุุงเทพฯ ต้้องมอบ หมายให้้เมืืองใหญ่่ทำหน้้าที่่�ปกครองแทน หากเมืืองใหญ่่ อ่่อนแอไม่่สามารถปกป้้องเมืืองชายแดนได้้ส่่งผลให้้หััว เมืืองชายแดนรู้้�สึึกไม่่ปลอดภััย เมื่่�อฝรั่่�งเศสชัักจููงให้้ไปอยู่่ กัับฝรั่่�งเศส เจ้้าเมืืองกรมการเมืืองและราษฎรส่่วนหนึ่่�งจึึง ไปเข้้ากัับฝรั่่�งเศส ประการที่ ่� สี่่� ระบบการสื่่�อสารที่ ่� ล่่าช้้าระหว่่างหััว เมืืองชายแดนกัับเมืืองหลวง ทำให้้ข้้อมููล คำสั่่�ง ระหว่่าง เมืืองหลวงกัับหััวเมืืองชายแดนอีีสานล่่าช้้า แก้้ปััญหาไม่ทั่ ัน ตััวอย่่าง หนัังสืือราชการจากนครจำปาศัักดิ์์� ลงวัันที่่� ๒๙ กรกฎาคม ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ.๒๔๓๓) ถึึงพระบาทสมเด็็จพระ 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๒๓๓-๒๓๔. จุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว วัันที่่� ๑๔ พฤศจิิกายน ร.ศ. ๑๐๙ ใช้้เวลาถึึง ๑๐๙ วััน ความล่่าช้้าในการส่่งข้้อมููล คำสั่่�งต่่าง ๆ เป็็นอุุปสรรคสำคััญในการปกครองให้้มีีประสิิทธิิภาพ ประการที่ห้้่� า ปััญหาความไม่่ปลอดภััยในชีีวิติและทรัพย์ัสิ์ ิน ของราษฎร เจ้้าหน้้าที่่�ไม่่สามารถแก้้ปััญหาโจรขโมยได้ บาง้ ครั้้�งเมื่่�อจัับโจรได้้ก็็รัับสิินบนจากโจร ประการที่่�หก ปััญหาจากการรั่่�วไหลของเก็็บภาษีี ที่ ่� หััวเมืืองเกิิดการค้้างส่่วยเป็็นจำนวนมาก และประการ สุุดท้้าย ปััญหาจากการที่ ่�ข้้าราชการขาดความรู้้�และฉ้้อ ราษฎร์์บัังหลวง จากปััญหาภายในที่่�เกิิดขึ้้�นดัังกล่่าวอาจส่่ง ผลต่่อการเข้้าแทรกแซงของจัักรวรรดินิิยมฝรั่่�งเศสได้้ง่่าย จึึง เป็็นปััจจััยผลัักดัันทำสำคััญที่่�ทำให้้รััชกาลที่่� ๕ ต้้องดำเนิิน การปฏิิรููปการปกครองในพื้้�นที่ ่� ภาคอีีสาน1 พ.ศ. ๒๔๓๓ รััชกาลที่่� ๕ โปรดเกล้้าฯ ให้้จัดรัาชการ ส่่วนภููมิิภาคขึ้้�นใหม่่ รวมหััวเมืืองเอก โท ตรีี และจััตวาเข้้า ด้้วยกััน แบ่่งเป็็น ๔ กองใหญ่่ มีีข้้าหลวงกำกัับการปกครอง กองละ ๑ คน และให้้มีีข้้าหลวงใหญ่่กำกัับราชการที่่�เมืือง นครจำปาศัักดิ์์� ๑ คน นครจำำ�ปาศัักดิ์์� (ข้้าหลวงใหญ่่) หััวเมืืองลาว ฝ่่ายตะวัันออก (ข้้าหลวง) นครจำำ�ปาศัักดิ์์� (ศููนย์์กลางปกครอง) 37 เมืือง 41 เมืือง 54 เมืือง 19 เมืือง เมืืองอุุบลราชธานีี(ศููนย์์กลางปกครอง) เมืืองหนองคาย (ศููนย์์กลางปกครอง) เมืืองนครราชสีมาี(ศููนย์์กลางปกครอง) หััวเมืืองลาว ฝ่่ายตะวัันออกเฉีียงเหนืือ (ข้้าหลวง) หััวเมืืองลาว ฝ่่ายเหนืือ (ข้้าหลวง) หััวเมืืองลาว ฝ่่ายกลาง (ข้้าหลวง)


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 205 จากแผนภููมิิข้้างต้้น แสดงลำดัับชั้้�นการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๓๓ กล่่าวคืือ พระยามหาอำมาตยาธิิบดีี (หรุ่่น ศรีี เพ็็ญ) เป็็นข้้าหลวงใหญ่่ มีีอำนาจบัังคัับบััญชาหััวเมืืองทั้้�ง ๔ กอง ข้้าหลวงประจำทั้้�ง ๔ กองทำหน้้าที่ ่� บัังคัับบััญชา ราชการและตัดสิั ินความอุุทธรณ์์หรืือเร่่งรัดส่ั ่วยสาอากรขึ้้�น ตรงต่่อข้้าหลวงใหญ่่ที่่�เมืืองนครจำปาศัักดิ์์� ประกอบด้้วย 1. พระยาอำมาตยาธิิบดีีพระพิิศนุุเพท (ช่่วง) ข้้า หลวงเมืืองนคจำปาศัักดิ์์� เรีียก “ข้้าหลวงประจำ หััวเมืืองลาวฝ่่ายตะวัันออก” 2. พระยาราชเสนา พระภัักดีีณรงค์์ ข้้าหลวงเมืือง อุุบลราชธานีี ให้้เรีียก “ข้้าหลวงประจำหััวเมืือง ลาวฝ่่ายตะวัันออกเฉีียงเหนืือ” 3. พระยาสุุริิยเดชวิิเศษฤทธิิ ปลััดข้้าหลวงเมืือง หนองคาย ให้้เรีียกว่่า “ข้้าหลวงประจำหััวเมืือง ลาวฝ่่ายเหนืือ 4. พระพิิเรนทรเทพ ข้้าหลวงเมืืองนครราชสีีมา ให้้เรีียกว่่า “ข้้าหลวงประจำหััวเมืืองลาวฝ่่าย กลาง” 1 ครั้้�น พ.ศ. ๒๔๓๔ ยุุบหััวเมืืองในอีีสานเหลืือ ๓ หััวเมืือง เปลี่่�ยนชื่่�อเรีียกเป็็นมณฑล ให้้มีีข้้าหลวงใหญ่่เป็็น ผู้้�ปกครองในแต่่ละมณฑล ได้้แก่่ มณฑลลาวพวน มณฑล ลาวกาว และมณฑลลาวกลาง ก่่อนเหตุุการณ์์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) ศููนย์์บััญชาการของมณฑลลาวพวน (เปลี่่�ยน จากหััวเมืืองลาวฝ่่ายเหนืือ) ยัังอยู่่ที่่�เมืืองหนองคาย แต่ภ่าย หลัังเหตุุการณ์์ ร.ศ. ๑๑๒ ดิินแดนฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงอยู่่ภาย ใต้้การปกครองของฝรั่่�งเศส เมืืองที่สั ่� ังกัดัมณฑลลาวพวนฝั่่�ง ซ้้ายแม่่น้้ำโขงตกเป็็นของฝรั่่�งเศสด้้วยเช่่นกััน ดัังนั้้�น เมืือง ใหญ่่ฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงจึึงเหลืือเพีียง ๖ เมืือง คืือ อุุดรธานีี ขอนแก่่น นครพนม สกลนคร หนองคาย และเลย และ เปลี่่�ยนที่ ่�ตั้้�งกองบััญชาการมณฑลมาที่ ่�บ้้านเดื่่�อหมากแข้้ง 1 เติิม วิิภาคย์์พจนกิิจ, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๕, กรุุงเทพฯ: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์, ์๒๕๕๗ หน้้า ๓๑๐-๓๒๔. 2 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๓๕๒-๓๕๓. (เมืืองอุุดรธานีี) มีีพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงประจัักษ์์ ศิิลปาคม ทรงดำรงตำแหน่่งเป็็นข้้าหลวงใหญ่่ มณฑลลาว กาว (เปลี่่�ยนจากหััวเมืืองลาวฝ่่ายตะวัันออกและหััวเมืือง ลาวฝ่่ายตะวัันออกเฉีียงเหนืือ) มีีเมืืองใหญ่่ ๗ เมืือง คืือ อุุบลราชธานีี นครจำปาศัักดิ์์� ศรีีสะเกษ สุุริินทร์์ ร้้อยเอ็็ด มหาสารคาม และกาฬสิินธุ์์ ตั้้�งที่ ่� บััญชาการมณฑลที่่�เมืือง อุุบลราชธานีีมีีพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงพิชิติปรีีชากร ดำรงตำแหน่่งเป็็นข้้าหลวงใหญ่่ มณฑลลาวกลาง (เปลี่่�ยน จากหััวเมืืองลาวฝ่่ายกลาง) มีี ๓ เมืือง คืือ นครราชสีีมา ชััยภููมิิ บุุรีีรััมย์์ ตั้้�งที่ ่� บััญชาการมณฑลที่่�เมืืองนครราชสีีมา มีีพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงสรรพสิิทธิิประสงค์์ พ.ศ. ๒๔๓๖ โปรดเกล้้าฯ ให้้พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงสรรพ สิิทธิิประสงค์์ย้้ายไปดำรงตำแหน่่งข้้าหลวงต่่างพระองค์์ มณฑลลาวกาวแทนพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงพิิชิิต ปรีีชากรซึ่่�งโปรดเกล้้าฯ ให้้ย้้ายกลัับพระนคร และโปรด เกล้้าฯให้้นายพลตรีีพระยาสิิงหเสนีี (สะอาด สิิงหเสนีี) มา ดำรงตำแหน่่งข้้าหลวงใหญ่่มณฑลนครราชสีีมา2 ระบบการปกครองแบบเทศาภิิบาล คืือ การ ปกครองโดยลัักษณะที่ ่� จััดให้้มีีหน่่วยบริิหารราชการ ประกอบด้้วยตำแหน่่งข้้าราชการต่่างพระเนตรพระกรรณ ของพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััว รัับแบ่่งภาระงานของ รััฐบาลกลางออกไปดำเนิินการในภููมิภิาค ใกล้้ชิดิประชากร เพื่่�อให้้ได้้ความร่่มเย็็นเป็็นสุุข มณฑล คืือ การรวมเขต จัังหวััดตั้้�งแต่่สองจัังหวััดขึ้้�นไป ไม่่ขึ้้�นกัับจำนวนประชากร ให้้เป็็นความสะดวกในการปกครองของแต่่ละมณฑล มีี ข้้าหลวงเทศาภิิบาล เป็็นผู้้�บััญชาการมณฑล ขึ้้�นตรงต่่อ เสนาบดีีกระทรวงมหาดไทย การประกาศใช้้พระราชบััญญััติิในอีีสาน ๒ ฉบัับ ได้้แก่่ พระราชบััญญััติิการปกครองท้้องที่่� ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) และ พระราชบััญญััติิศัักดิินาเจ้้านาย พระยา ท้้าว


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 206 แสน เมืืองประเทศราช ร.ศ. ๑๑๘ (พ.ศ. ๒๔๔๒) จากข้้อ กำหนดจากพระราชบััญญััติิทั้้�ง ๒ ฉบัับนี้้ส่�่งผลให้้มณฑลใน อีีสานทั้้�งหมดเปลี่่�ยนไปใช้้การปกครองแบบสยาม กล่่าวคืือ พระราชบััญญััติิการปกครองท้้องที่่� ร.ศ. ๑๑๖ กำหนดการ ปกครองท้้องที่่�ให้้มีีแบบแผนแน่่นอนและเป็็นระเบีียบ มากขึ้้�นรวมให้้ยกเลิิกการเรีียกชื่่�อการปกครองท้้องที่ ่� ตาม ธรรมเนีียมแบบล้้านช้้าง กำหนดให้้ใช้้ชื่่�อเรีียกการปกครอง ท้้องที่ร ่� ะดัับอำเภอ ตำบลและหมู่่บ้้าน เป็็นชื่่�อเรีียกเดีียวกััน ทั่่�วอาณาจัักร พร้้อมทั้้�งให้้คำจำกัดัความตั้้�งแต่่อำเภอจนถึึง หมู่่บ้้าน อำเภอประกอบด้วย้ตำบลหลายตำบล มีีประชากร ประมาณ ๑ หมื่่�นคน ตำบลประกอบด้้วยหมู่่บ้้านประมาณ ๑๐ หมู่่บ้้าน หมู่่บ้้านประกอบด้้วยบ้้าน (เรืือน) ประมาณ ๑๐ หลัังคาเรืือน หรืือมีีประชากร ประมาณ ๑๐๐ คน ส่่วน จัังหวััดเดิิมเรีียกว่่าเมืือง ประกอบด้้วยอำเภอตั้้�งแต่่สอง อำเภอขึ้้�นไป ส่่วนของพระราชบััญญััติิศัักดิินาเจ้้านาย พระยา ท้้าวแสน เมืืองประเทศราช ร.ศ. ๑๑๘ กำหนดตำแหน่่ง ข้้าราชการหััวเมืืองให้้เป็็นแบบสยาม กำหนดชื่่�อเรีียกใหม่่ 1 ไพฑููรย์์ มีีกุุศล,เรีียบเรีียง “มณฑลในภาคอีีสาน: ระบบการปกครอง,” ใน สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ภาคอีีสาน เล่่ม ๑๐, กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิ สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. ข้้าราชการของแต่่ละมณฑล ข้้าหลวงเทศาภิิบาล ปลััด เรีียกชื่่�อเทศาภิิบาล ยกระบััตรมณฑล ข้้าหลวงมหาดไทย ข้้าหลวงสรรพากร นอกจากนี้้� ยัังยกเลิิกตำแหน่่งอาญาสี่ ่� และให้้เรีียกชื่่�อใหม่่ ดัังนี้้� เจ้้าเมืืองเปลี่่�ยนเป็็น ผู้้�ว่่าราชการเมืือง อุุปฮาด เปลี่่�ยนเป็็น ปลััดเมืือง ราชวงศ์์เปลี่่�ยนเป็็น ยกกระบััตรเมืือง ราชบุุตร เปลี่่�ยนเป็็น ผู้้�ช่่วยราชการเมืือง พ.ศ. ๒๔๔๒ มีีการแก้้ไขชื่่�อมณฑลในอีีสาน เรีียก เป็็นมณฑลตะวัันออกเฉีียงเหนืือ มณฑลฝ่่ายเหนืือ และ มณฑลนครราชสีีมา และ พ.ศ. ๒๔๔๓ เปลี่่�ยนชื่่�อมณฑล ในอีีสานใหม่่อีีกครั้้�ง เป็็น มณฑลอีีสาน มณฑลอุุดร และ มณฑลนครราชสีีมา ตามลำดัับ1 ทำเนีียบกระทรวงมหาดไทย ร.ศ.๑๒๖ (พ.ศ.๒๔๕๐) แบ่่งการจัดัการปกครองเป็็นระบบเทศาภิิบาล เป็็นเมืืองและ อำเภอในมณฑลต่่าง ๆ ของอีีสาน ดัังนี้้� แผนภููมิิที่่� ๑ การปกครองมณฑลนครราชสีีมา สมััยพระยากำแหงสงครามรามภัักดีี (อิินทรกำแหง) พ.ศ. ๒๔๔๔ – ๒๔๕๐ มณฑลนครราชสีมา (ข.าหลวงเทศาภิบาล) เมืองนครราชสีมา อำเภอ ๑๐ อำเภอ เมืองบุรีรัมยB อำเภอ ๔ อำเภอ เมืองชัยภูมิ อำเภอ ๕ อำเภอ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 207 แผนภููมิิที่่� ๓ การปกครองมณฑลอุุบล สมััยพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอกรมหลวงสรรพสิิทธิิประสงค์์ เป็็นข้้าหลวงต่่างพระองค์์สำเร็็จราชการ พ.ศ. ๒๔๓๖-๒๔๕๓ มณฑลอุดร (ข.าหลวงเทศาภิบาล) บริเวณหมากแข.ง (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองอุดรธานี (ผู.วKาราชการเมือง) ๘ อำเภอ บริเวณธาตุพนม (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองนครพนม (ผู.วKาราชการเมือง) ๑๑ อำเภอ บริเวณสกลนคร (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองสกลนคร (ผู.วKาราชการเมือง) ๕ อำเภอ บริเวณภาชี (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองขอนแกKน (ผู.วKาราชการเมือง) ๔ อำเภอ บริเวณน้ำเหือง (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองเลย (ผู.วKาราชการเมือง) ๓ อำเภอ มณฑลอีสาน (ข,าหลวงต1างพระองค6สำเร็จ ราชการ) บริเวณอุบลราชธานี (ข,าหลวงบริเวณ) อุบล ยโสธร เขมราฐ อำเภอ บริเวณขุขันธ6 (ข,าหลวงบริเวณ) ขุขันธ6 ศรีสะเกษ เดชอุดม อำเภอ บริเวณสุรินทร6 (ข,าหลวงบริเวณ) สุรินทร6 สังฆะ อำเภอ บริเวณร,อยเอ็ด (ข,าหลวงบริเวณ) ร,อยเอ็ด สุวรรณภูมิ มหาสารคาม กมลาสัย กาฬสินธุ6 อำเภอ แผนภููมิิที่่� ๒ การปกครองมณฑลอุุดร สมััยพระยาศรีีสุุริิยราชวรานุุวััตร เป็็นข้้าหลวงเทศาภิิบาล พ.ศ. ๒๔๔๙– ๒๔๕๕ มณฑลอุดร (ข.าหลวงเทศาภิบาล) บริเวณหมากแข.ง (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองอุดรธานี (ผู.วKาราชการเมือง) ๘ อำเภอ บริเวณธาตุพนม (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองนครพนม (ผู.วKาราชการเมือง) ๑๑ อำเภอ บริเวณสกลนคร (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองสกลนคร (ผู.วKาราชการเมือง) ๕ อำเภอ บริเวณภาชี (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองขอนแกKน (ผู.วKาราชการเมือง) ๔ อำเภอ บริเวณน้ำเหือง (ข.าหลวงบริเวณ) เมืองเลย (ผู.วKาราชการเมือง) ๓ อำเภอ มณฑลอีสาน (ข,าหลวงต1างพระองค6สำเร็จ ราชการ) บริเวณอุบลราชธานี (ข,าหลวงบริเวณ) อุบล ยโสธร เขมราฐ อำเภอ บริเวณขุขันธ6 (ข,าหลวงบริเวณ) ขุขันธ6 ศรีสะเกษ เดชอุดม อำเภอ บริเวณสุรินทร6 (ข,าหลวงบริเวณ) สุรินทร6 สังฆะ อำเภอ บริเวณร,อยเอ็ด (ข,าหลวงบริเวณ) ร,อยเอ็ด สุวรรณภูมิ มหาสารคาม กมลาสัย กาฬสินธุ6 อำเภอ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 208 จากแผนภููมิที่ิ่� 1 - 3ข้้างต้้นพบข้้อสัังเกตหลายประการ กล่่าวคืือ ประการแรก นามตำแหน่่งของผู้้�ปกครองสููงสุดุของ มณฑลต่่างกััน มณฑลนครราชสีีมาและมณฑลอุดรุตำแหน่่ง สููงสุดุของมณฑล คืือ ข้้าหลวงเทศาภิิบาล ส่่วนมณฑลอีีสาน เป็็นข้้าหลวงต่่างพระองค์์สำเร็็จราชการมณฑล ประการที่ ่� สอง การแบ่่งการปกครองภายในของทั้้�ง ๓ มณฑล ในขณะ ที่่�มณฑลอีีสานกัับมณฑลอุดรุ แบ่่งเป็็นมณฑล บริิเวณ เมืือง อำเภอ ตำบล ตามลำดัับ แต่่มณฑลนครราชสีีมาไม่มีี่การแบ่่ง การปกครองเป็็นบริิเวณ ประการสุดทุ้้าย ความแตกต่่างของ จำนวนเมืืองที่่�อยู่่ภายใต้้การปกครองของแต่่ละมณฑลอาจมีี ส่่วนทำให้้จำนวนคนของแต่่ละมณฑลต่่างกััน และเป็็นสาเหตุุ ให้้เกิดปัิ ัญหาเรื่่�องการควบคุุมคน จนนำไปสู่่แบ่่งมณฑลอีีสาน พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็็น ๒ มณฑล คืือ มณฑลอุุบลราชธานีี และ มณฑลร้้อยเอ็ด็ ต่่อมา พ.ศ. ๒๔๕๘ รััชกาลที่่� ๖ แบ่่งการปกครอง เป็็น ๔ ภาค มีีอุุปราชภาคเป็็นผู้้�กำกัับดููแลภาค ภาคประกอบ ด้วยม้ณฑลต่่าง ๆ การตั้้�งอุุปราชภาคทำให้้การควบคุุมสมุุห เทศาภิิบาลได้ใก้ ล้้ชิดิ ขณะเดีียวกัันก็็ลดจำนวนใบบอกที่่�ไม่่ จำเป็็นจากหััวเมืืองได้เ้พราะอุุปราชภาคสามารถจัดัการปััญหา ได้เลยไ ้ม่ต้้่องส่่งมาที่่�กระทรวง การตั้้�งอุุปราชไม่่ได้ทำ้ พร้้อมกััน ทั้้�งหมด เริ่่�มด้วย ้พ.ศ. ๒๔๕๘ ตั้้�งอุุปราชประจำภาคพายัพั ประกอบด้้วยมณฑลพายััพและมณฑลมหาราษฎร์์ พ.ศ. ๒๔๕๙ ตั้้�งภาคตะวัันตก ประกอบด้วยม้ณฑลนครชััยศรีีและ มณฑลราชบุรีีุพ.ศ.๒๔๖๕ ตั้้�งภาคอีีสาน ประกอบด้วยม้ณฑล ร้้อยเอ็ด็ มณฑลอุุบลราชธานีี และมณฑลอุดรธุานีีมีีพระยา ราชนิกุิุลวิบููิลยภัักดีี(อวบ เปาโรหิตย์ิ ์)เป็็นอุุปราชภาคอีีสาน และภาคใต้้ประกอบด้วยม้ณฑลชุุมพร มณฑลนครศรีีธรรมราช และมณฑลปัตตัานีี อาจถืือว่่า พ.ศ. ๒๔๖๕ ปรากฎคำว่่า “ภาค อีีสาน” ขึ้้�นเพียงแีต่่ไม่่ครอบคลุุมพื้้�นที่ภ ่� าคอีีสานเหมืือนใน ปััจจุบัุัน เนื่่�องด้วยไ ้ม่ร่วมมณฑลนครราชสีีมาด้วย้ ภายหลัังที่รั ่� ัชกาลที่่� ๗ ขึ้้�นครองราชย์์ใน พ.ศ. ๒๔๖๘ 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๒๗๖-๒๗๙. สยามประสบปััญหาเศรษฐกิิจตกต่่ำครั้้�งใหญ่่ นำไปสู่่การยุุบ มณฑลเทศาภิิบาลในที่สุ ่� ดุรััชกาลที่่� ๗ ทรงแก้้ปััญหาด้วย้ การลดรายจ่่ายหลายวิิธีี ในส่่วนที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับกระทรวง มหาดไทย ได้้ยุุบกรมสำรวจซึ่่�งเป็็นกรมที่มีี่� หน้้าที่ส่ ่� ่งผู้ตร้� วจ ราชการออกไปตรวจงานในหััวเมืือง ยกเลิิกตำแหน่่งปลััด จัังหวัดัยุุบบางจัังหวัดัเป็็นอำเภอ พ.ศ. ๒๔๖๘ ยุุบมณฑล ร้้อยเอ็ด็ มณฑลอุุบลราชธานีี โอนอำนาจการปกครองของ จัังหวัดัใน ๒ มณฑลขึ้้�นกัับมณฑลนครราชสีีมา พ.ศ. ๒๔๖๙ ยุุบภาคทั้้�ง ๔ ภาค และพ.ศ. ๒๔๗๖ ยุุบมณฑลนครราชสีีมา มณฑลอุดรธุานีีและมณฑลที่่�เหลืือ ภายหลัังจากยุุบมณฑล จัังหวัดที่ั มีี่� ในขณะนั้้�นทั้้�งหมด ๗๐ จัังหวัดัโอนขึ้้�นกัับกระทรวง มหาดไทยโดยตรง 1 ภาพที่่� ๑๐ แผนที่่� แสดงเขตปกครอง แบบมณฑ ล พ.ศ.๒๔๕๘ ที่่�มา: เตช บุุนนาค, การปกครองระบบ เทศาภิิบา ล ของ ประเ ท ศ ส ย า ม พ.ศ.๒๔๓๕- ๒๔๕๘: กระทรวง มหาดไทย สมััย สมเด็็จพระเจ้้าบรม วงศ์์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุุภาพ, แปลโดย ภรณีีกาญ จนััษฐิิติิ, กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโครง ก าร ตำราสัังคมศาสตร์์ และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๓๒ หน้้า (๒).


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 209 ภาพที่่� ๑๑ แผนที่่�สัังเขประยะทาง มณฑลอุุดร ร้้อยเอ็็ด อุุบล พ.ศ.๒๔๖๔ ที่่�มา: กรมศิิลปากร, คู่่มืือแนะนำเอกสารจดหมายเหตุุจัังหวััด อุุบลราชธานีี (เอกสารกรมราชเลขาธิิการ รััชกาลที่่� ๕-รััชกาลที่่� ๗) (กรุุงเทพฯ: อมริินทร์์พริ้้�นติ้้�ง กรุ๊๊�ฟ, ๒๕๓๒), หน้้า ๙๑. ! ผลกระทบจากการปฏิิรููปการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิิบาล ผลกระทบด้้านเศรษฐกิิจ จากประกาศสร้้างทางรถไฟสยาม ตั้้�งแต่่กรุุงเทพฯ ถึึงเมืืองนครราชสีีมา ลงวัันที่่� ๒๒ มีีนาคม ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ. ๒๔๓๓) สะท้้อนจุุดประสงค์์หลัักของการสร้้างทางรถไฟ ๒ ประการ คืือ ประการแรก เพื่่�อให้้เกิิดความสะดวกรวดเร็็ว 1 อิิจิิโร คากิิซากิิ, “รถไฟกัับการรวมตััวทางเศรษฐกิิจของไทยในสมััยก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� ๒,” วารสารสมาคมประวััติิศาสตร์์ฉบัับที่่� ๒๙ (๒๕๕๐) หน้้า ๒๑. ในการขนส่่งผู้้�คนและสิินค้้า ประกาศที่่�สองเพื่่�อประโยชน์์ ในการปกครองและรัักษาพระราชอาณาเขตจากการคุุกคาม ของจัักรวรรดิินิิยมฝรั่่�งเศส ทางรถไฟในภาคอีีสานเปิิดใช้้ครั้้�งแรก เมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๔๓ จากนั้้�นมีีการขยายเส้้นทางรถไฟไปยัังอีีสานใต้้สิ้้�น สุุดที่่�สถานีีวาริินชำราบ จัังหวััดอุุบลราชธานีีพ.ศ. ๒๔๗๓ และสร้้างไปถึึงอีีสานเหนืือ ปลายทางที่ ่� จัังหวััดหนองคาย พ.ศ. ๒๔๙๙ ภายหลัังสร้้างเส้้นทางรถไฟมายัังภาคอีีสาน นำความเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจเกิิดขึ้้�นแก่่ภาคอีีสาน หลายประการ ดัังนี้้� การเปิิดใช้้เส้้นทางรถไฟที่่�นครราชสีีมา ทำให้้เกิิด การเพิ่่�มขึ้้�นของปริิมาณการขนส่่งสิินค้้าเกษตรที่่�สำคััญ ได้้แก่่ ข้้าวและสุุกร เมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๕๓ ข้้าวส่่งจากอีีสานมีี ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ตััน ปริิมาณข้้าวดัังกล่่าวเป็็นผลผลิิต ที่่�เพิ่่�มขึ้้�นจากแหล่่งปลููกข้้าวบริิเวณสองข้้างทางรถไฟและ ผลผลิตข้้ ิาวจากพื้้�นที่่�ปลููกรอบนอกที่่�ขนส่่งทางเกวีียนมายััง สถานีีรถไฟที่่�นครราชสีีมา ทศวรรษ ๒๔๖๐ เมื่่�อเส้้นทาง รถไฟขยายไปยัังอุุบลราชธานีีและขอนแก่่น ปริิมาณการส่่ง ข้้าวจากสถานีีทั้้�งสองเพิ่่�มมากขึ้้�น การขนส่่งข้้าวสารจากภาค อีีสานเพิ่่�มขึ้้�นพร้้อม ๆ กัับการตั้้�งโรงสีีข้้าวตามเส้้นทางรถไฟ เพื่่�อแปรรููปข้้าวเปลืือกเป็็นข้้าวสาร พ.ศ. ๒๔๗๘ ปริิมาณ การส่่งข้้าวสาร มีีประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ ตััว ใกล้้เคีียงกัับการ ขนส่่งข้้าวเปลืือกที่ ่� ราว ๓๓๐,๐๐๐ ตััน1 ความต้้องการสุุกรเกิิดขึ้้�นเมื่่�อชาวจีีนผู้้�นิิยมบริิโภค เนื้้�อสุุกรเพิ่่�มมากขึ้้�น ชาวจีีนเริ่่�มการค้้าสุุกร รัับซื้้�อสุุกร ชำแหละและขายปลีีก เมื่่�อทางรถไฟสายนครราชสีีมาเปิิด ใช้้ตลอดสายจนถึึงเมืืองนครราชสีีมาแล้้ว สุุกรที่่�เลี้้�ยงกััน แบบง่่าย ๆ โดยปล่่อยไว้้บริิเวณรอบบ้้านและให้้เศษอาหาร หรืือรำเป็็นอาหารในภาคอีีสานกลายเป็็นสิินค้้าส่่งออกที่ ่�


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 210 สำคััญ พ.ศ. ๒๔๔๔ สุุกรจากภาคอีีสานส่่งมาทางรถไฟสาย นครราชสีีมา ๒๗,๔๔๒ ตััวและขยายขึ้้�นมากกว่่า ๑๐๐,๐๐๐ ตััวในพ.ศ. ๒๔๕๐ ภาคอีีสานกลายเป็็นแหล่่งที่่�มาที่่�สำคััญ ที่สุ ่� ดุของเนื้้�อสุุกรที่่�บริิโภคในกรุุงเทพฯ เนื่่�องจากสุุกรในภาค อีีสานมีีราคาถููกกว่่าสุุกรในกรุุงเทพฯมาก พ่่อค้้าได้้ กำไรจากการค้้าสุุกรแม้้ต้้องจ่่ายค่่าระวางรถไฟ1 การเดิินทางด้วย้รถไฟ สะดวก รวดเร็็วและปลอดภััย กว่่าการเดิินทางด้วยเ้ ท้้า เกวีียน ทำให้้ปริิมาณคนใช้้บริิการ รถไฟเพิ่่�มอย่่างรวดเร็็ว ข้้อมููลการจำหน่่ายตั๋๋�วโดยสารรถไฟ เมื่่�อเปิดิเดิินรถไฟที่่�สถานีีปากช่่อง พ.ศ. ๒๔๔๒ จำหน่่ายตั๋๋�ว ได้ ๓,๓๓๗ ใบ เ ้มื่่�อเปิดิเดิินรถไฟที่่�สถานีีนครราชสีีมา ปลาย พ.ศ.๒๔๔๓ จำนวนตั๋๋�วโดยสารรถไฟเพิ่่�มขึ้้�น ๓๗,๖๙๓ ใบ และในพ.ศ. ๒๔๔๘ สถานที่่�เปิิดเดิินรถไฟมีี ๑๗ สถานีี จำหน่่ายตั๋๋�วโดยสารรถไฟได้้ ๑๘๘,๐๔๖ ใบ2 จำนวนตั๋๋�ว โดยสารรถไฟที่่�เพิ่่�มขึ้้�นนี้้�สะท้้อนให้้เห็็นว่่าคนอีีสานนิิยมเดิิน ทางโดยรถไฟเป็็นอย่่างมาก ทางรถไฟยัังทำให้้ชุุมชนเมืืองที่ ่�มีีสถานีีรถไฟขยาย ตััวอย่่างรวดเร็็ว เกิิดตลาดและกลายเป็็นชุุมชนการค้้า หรืือชุุมชนชาวจีีนขึ้้�น ก่่อนที่ ่� รถไฟจะมาถึึงที่ ่� ภาคอีีสาน เมืืองนครราชสีีมาหรืือเมืืองโคราชทำหน้้าที่่�เป็็นศููนย์์กลาง การค้้าระหว่่างภาคอีีสานกัับภาคกลางมาตั้้�งแต่่อดีีต ชาว จีีนมีีบทบาทในการจััดหาสิินค้้ามาจำหน่่าย บัันทึึกสมิิธ เฮอร์์เบิิร์์ท วาริิงตััน (Smith Herbert Warington) อธิิบดีี กรมราชโลหกิิจและภููมิิวิิทยา เมื่่�อครั้้�งเดิินทางไปที่ ่� ราบสููง โคราช กล่่าวว่่า“มููลค่่าการส่่งออกและนำเข้้าสิินค้้าของเมืือง โคราชไม่่เคยเกิินไปกว่่า ๒๐,๐๐๐ ปอนด์ต่์ ่อปีี สิินค้้าทั้้�งหมด 1 อิิจิิโร คากิิซากิิ, “หน้้า ๒๓-๒๔. 2 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๒, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๑๓๒.3 สมิิธ, เฮอร์์เบิิร์์ท วาริิงตััน, ห้้าปีีในสยาม เล่่ม๑, แปลและเรีียบเรีียงโดย เสาวลัักษณ์์ กีีชานนท์์. กรุุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร, ๒๕๔๔ หน้้า ๒๕๓. บรรทุุกมาโดยขบวนวััวควายจากโคราชผ่่านเทืือกเขาดง พญาเย็็นไปยัังเมืืองสระบุุรีีซึ่่�งถ้้าเดิินทางจากกรุุงเทพฯ โดยทางเรืือใช้้เวลาเพีียง ๒-๓ ชั่่�วโมง ระยะทางประมาณ ๙๐ ไมล์์ ใช้้เวลาเดิินทางจาก ๑๐ ถึึง ๑๓ วััน มููลค่่าสิินค้้าที่ ่� บรรทุุกมาประมาณ ๑๐ ปอนด์์ต่่อตััน ชาวจีีนก็็ยัังคิิดอุุบาย เพื่่�อหาผลกำไรจนได้้” 3 เมื่่�อทางรถไฟมาถึึงนครราชสีีมา เมื่่�อปลายปีี ๒๔๔๓ เมืืองนครราชสีีมากลายเป็็นศููนย์์รวม การคมนาคมของภาคอีีสานอย่่างแท้้จริิง การขนส่่งสิินค้้า ของพ่่อค้้าในอีีสานหลัังจากสร้้างทางรถไฟกรุุงเทพฯนครราชสีีมา ส่่วนใหญ่พ่่ ่อค้้าจะบรรทุุกสิินค้้าใส่่เกวีียนไปที่ ่� เมืืองนครราชสีีมา จากนั้้�นจะขนสิินค้้าใส่ตู้่สิ้�ินค้้ารถไฟเข้้าไป ขายที่่�กรุุงเทพฯ ขณะเดีียวกัันสิินค้้าจากกรุุงเทพฯจะลำเลีียง ใส่่รถไฟมายัังนครราชสีีมา และจะถ่่ายสิินค้้าลงเกวีียนเพื่่�อ นำสิินค้้าไปขายยัังเมืืองต่่าง ๆ กรณีีหากจะลงไปกรุุงเทพฯ หรืือภาคกลางต้้องมาขึ้้�นรถไฟที่่�นครราชสีีมาเช่่นกััน การ ปรัับปรุุงเส้้นทางคมนาคมมีีส่่วนช่่วยให้้การค้้าเติิบโตมาก เห็็นได้จาก้สิินค้้าเข้้าส่่วนหนึ่่�งจะเป็็นสิินค้้าจากกรุุงเทพฯ ที่ ่� ส่่งผ่่านเมืืองนครราชสีีมาทางรถไฟ รถไฟจึึงเป็็นตััวเชื่่�อมการ ค้้าระหว่่างกรุุงเทพฯกัับเมืืองต่่าง ๆ ในอีีสานได้เ้ป็็นอย่่างดีี ทางรถไฟทำให้้ชาวจีีนอพยพเข้้ามาในภาคอีีสาน เพิ่่�มมากขึ้้�น โดยเฉพาะชุุมชนที่่�อยู่่ใกล้้สถานีีรถไฟใหญ่่ ส่่วน ชาวจีีนที่่�อพยพมาทีีหลัังต้้องเลี่่�ยงไปตั้้�งถิ่่�นฐานในชุุมชนไกล จากสถานีีรถไฟ คนจีีนกลุ่่มนี้้�ทำหน้้าที่่�เป็็นพ่่อค้้าคนกลาง รวบรวมสิินค้้าเกษตร เช่่น ข้้าวเปลืือก หมูู หนัังสััตว์์ ของ ป่่า เช่่น ชััน น้้ำมัันยาง หนัังงูู เขาสััตว์์ มาขายต่่อให้้พ่่อค้้า จีีนแถวตลาดสถานีีรถไฟ แล้้วซื้้�อสิินค้้าสำเร็็จรููป ประเภท


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 211 ของกิินของใช้้ไปขายให้้กัับชาวบ้้านในชนบท แสดงให้้เห็็น ถึึงเครืือข่่ายความสััมพัันธ์์ระหว่่างชาวจีีนในศููนย์์กลาง เศรษฐกิิจกัับชาวจีีนในชนบทอีีสาน นอกจากนี้้� การสร้้างเส้้นทางรถไฟยัังเกิดิอาชีีพใหม่่ ขึ้้�นอีีกหลายอาชีีพ เช่่น อาชีีพกรรมกร ทั้้�งกรรมกรสร้้างทาง รถไฟ สร้้างสะพานรถไฟ ซึ่่�งแรงงานรัับจ้้างส่่วนใหญ่่เป็็นชาว จีีน กรรมกรแบกหามตามสถานีีรถไฟ ขนของขึ้้�นลงรถไฟ กรรมกรโรงสีี อาชีีพบริิการที่ ่� พัักเนื่่�องด้้วยเวลารถไฟมาถึึง บางทีีเป็็นเวลาเย็็นหรืือค่่ำหารถหรืือเกวีียนเช่่าต่่อไม่่ได้้จึึง ต้้องพัักใกล้้สถานีีรถไฟ คนที่่�ทำงานบริิการที่พั ่� ักมีีทั้้�งเจ้้าของ โรงแรม ผู้้�จััดการ พนัักงานต้้อนรัับ และเก็็บเงิิน พนัักงาน ทำความสะอาด พนัักงานยกกระเป๋๋า อาชีีพให้้เช่่าเกวีียน ต่่อมามีีอาชีีพเดิินรถประจำทาง ในช่่วงแรกไม่่มีีรถยนต์์จึึง ให้้เช่่าเกวีียนก่่อน ค่่าเช่่าใน พ.ศ.๒๔๖๕ วัันละ ๒ บาท ต่่อเกวีียน ๑ เล่่ม เจ้้าของเกวีียนมีีวััวเทีียม ๒ ตััว เป็็นผู้้� ขัับเกวีียนด้้วย อาชีีพเจ้้าของโรงยาฝิ่่�นในชุุมชนทั้้�งใกล้้และ ไกลสถานีีรถไฟมัักมีีโรงยาฝิ่่�นไว้้บริิการ เจ้้าของโรงยาฝิ่่�น ส่่วนมากเป็็นชาวจีีนเช่่นเดีียวกัับเจ้้าของโรงแรม อาชีีพผู้้� ประกอบการอุตุสาหกรรม มีีทั้้�งโรงน้้ำแข็็ง โรงเลื่่�อย โรงสีีไฟ โรงฟอกหนััง ทั้้�งหมดมีีผู้้�ประกอบการเป็็นชาวจีีน โรงงาน เหล่่านี้้�กระจายตััวตามเมืืองใหญ่่ใกล้้ทางรถไฟ เพื่่�อสะดวก ในการขนส่่งวัตถุัดิุิบและนำผลผลิติไปสู่่ตลาด อาชีีพช่่าง ทั้้�ง ช่่างไม้้ช่่างทอผ้้า ช่่างเย็็บปัักถัักร้้อย ช่่างตัดัเสื้้�อและกางเกง ช่่างทอง ช่่างเงิิน ช่่างปั้้�นดิินเผา ช่่างเหล็็ก ช่่างซ่่อมรถและ เครื่่�องยนต์์ ช่่างเหล่่านี้้�มีีอาชีีพช่่างเป็็นอาชีีพหลััก แต่่บาง คนทำเกษตรกรรมเป็็นอาชีีพเสริิมด้้วย 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๒, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๑๔๐-๑๔๑. การขนส่่งสิินค้้าที่ ่� ถููกลงทำให้้มีีการส่่งออกสิินค้้า เกษตรและของป่่าจากภาคอีีสานมากขึ้้�น ขณะเดีียวกััน สิินค้้าสำเร็็จรููปก็็นำเข้้ามาในภาคอีีสานเพิ่่�มมากขึ้้�นทั้้�ง ชนิิดและปริิมาณ ส่่งผลให้้อาชีีพหััตถกรรมในภาคอีีสาน ลดลง คนอีีสานนิิยมซื้้�อเสื้้�อผ้้าสำเร็็จรููปหัันไปใช้้ผ้้าจากต่่าง ประเทศเพราะราคาถููก สีีฉููดฉาดและสีีไม่่ตกเหมืือนผ้้าพื้้�น เมืือง ผ้้าที่่�นำมาขายมีีทั้้�งที่่�ผลิิตในยุุโรปและญี่ ่�ปุ่่น เมื่่�อการ ซื้้�อผ้้าจากต่่างประเทศมีีมาก การทอผ้้าไว้้ใช้้เองก็็ลดลง ส่่งผลให้้การปลููกฝ้้ายเพื่่�อทอผ้้าใช้้เองลดน้้อยลง1 ภาพที่่� ๑๒ โรงเก็็บสิินค้้าและเกวีียนสำหรัับบรรทุุกสิินค้้าใกล้้สถานีี รถไฟ พ.ศ. ๒๔๗๐ ที่่�มา: เอนก นาวิิกมููล และธงชััย ลิิขิิตพรสวรรค์์, บรรณาธิิการ, เอกสารตรวจราชการมณฑลเทศาภิิบาล (กรุุงเทพฯ: กระทรวง มหาดไทย, ๒๕๖๕), หน้้า ๑๔.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 212 ผลกระทบด้้านสัังคม การปฏิิรููปการศึึกษาเป็็นส่่วนหนึ่่�งของการปฏิิรููป ประเทศในช่่วงรััชกาลที่่� ๕ จุุดมุ่่งหมายสำคััญประการหนึ่่�ง ของการปฏิิรููปการศึึกษาในช่่วงรััชกาลที่่� ๕ คืือ การผลิิต คนเข้้าสู่่ระบบราชการซึ่่�งเป็็นกำลัังสำคััญในการพััฒนา ประเทศช่่วงของการปฏิิรููปประเทศ ข้้าราชการ คืือ กลุ่่ม คนที่่�ทำหน้้าที่ ่� ต่่างพระเนตรพระกรรณ ต้้องผ่่านการศึึกษา ในโรงเรีียน ใช้้ความรู้้�ความสามารถสอบเข้้ารัับราชการ ในหน่่วยงานต่่าง ๆ ได้้รัับค่่าตอบแทนเป็็นเงิินเดืือน ข้้าราชการเข้้ามาแทนที่ ่� ขุุนนางท้้องถิ่่�นซึ่่�งไม่่มีีเงิินเดืือน แต่่อยู่่ได้้ด้้วยการหัักค่่าธรรมเนีียมจากส่่วนต่่างๆ และ แรงงานไพร่่ทาสในสัังกััด เมื่่�อมีีระบบราชการทำให้้เกิิด การเปลี่่�ยนแปลงการคััดเลืือกบุุคคลเข้้ารัับราชการในเมืือง อีีสานหลายประการ ได้้แก่่ ข้้าราชการทุุกคนตั้้�งแต่่ระดัับ นายอำเภอขึ้้�นมาจะได้้รัับเงิินเดืือนประจำจากรััฐบาลทุุก ตำแหน่่งตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๔๕ เป็็นต้้นไป การจ่่ายเงิินเดืือน ข้้าราชการทุุกตำแหน่่งเป็็นครั้้�งแรกของรััฐถืือเป็็นการปฏิรููิป การปกครองที่่�สำคััญเพราะทำให้้ข้้าราชการกลายเป็็นคน ของรััฐบาลกลางทั้้�งหมด มีีการสร้้างสำนัักงานของทาง ราชการ เดิิมสำนัักงานของเจ้้าเมืือง คืือ บ้้านของเจ้้าเมืือง เมื่่�อเปลี่่�ยนเจ้้าเมืืองสำนัักงานก็็จะย้้ายตามไปด้้วย บริิเวณ บ้้านเจ้้าเมืืองแยกเป็็น ๒ ส่่วน ส่่วนที่พั ่� ักอาศััยกัับศาลาโล่่ง ๆ อยู่่ด้้านหน้้า ส่่วนนี้้�ใช้้ว่่าราชการและพิิจารณาคดีีส่่วนคุุก สร้้างไว้้ใกล้้ ๆ ศาลาไม่ก็่ ็สร้้างไว้้ใต้้ถุุนบ้้านของเจ้้าเมืือง เมื่่�อ ปฏิิรููปการปกครอง ข้้าหลวงและข้้าราชการต่่าง ๆ ที่ ่� ส่่งมา จากกรุุงเทพฯและที่อื่ ่� ่�นไม่่สามารถใช้้บ้้านเจ้้าเมืืองได้เ้พราะ เป็็นสมบััติิส่่วนตััว รััฐบาลจึึงต้้องลงทุุนสร้้างศาลากลาง จัังหวััด ที่ ่� ว่่าการอำเภอ ศาล สถานีีตำรวจ เรืือนจำ ฯลฯ เพื่่�อใช้้เป็็นสำนัักงานให้้ข้้าราชการมีีที่่�ทำงานเป็็นครั้้�งแรกทั่่�ว 1 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๒๖๓-๒๖๔. ประเทศ ต่่อมาสร้้างบ้้านพัักข้้าราชการเพื่่�อไม่่ให้้ต้้องเสีียค่่า เช่่าบ้้าน มีีการกำหนดหน้้าที่่�และการแต่่งตั้้�งข้้าราชการ เดิิม การคััดสรรข้้าราชการหััวเมืือง ไม่่มีีระบบการคััดสรรคนเข้้า มา คณะอาญาสี่มีี่� อำนาจในการแต่่งตั้้�ง ส่่วนตำแหน่่งอาญา สี่่� กษััตริิย์์จะเป็็นผู้้�แต่่งตั้้�ง เมื่่�อทำการปฏิิรููปการปกครอง มีี การกำหนดไว้้แน่่นอนว่่า ตำแหน่่งใด ใครเป็็นผู้้�แต่่งตั้้�ง รวม ถึึง กำหนดหน้้าที่่�ของข้้าราชการไว้้อย่่างละเอีียด1 ส่่วนการตรวจสอบและการควบคุุมการใช้้อำนาจ และความจงรัักภัักดีีของข้้าราชการในหััวเมืืองอีีสาน มีีหลาย วิธีีิ ได้แ้ก่่ กำหนดให้้ข้้าราชการทุุกคนต้้องดื่่�มน้้ำสาบาน เดิิม กำหนดให้้ดื่่�มน้้ำสาบานปีีละ ๒ ครั้้�ง ในเดืือน ๕ และเดืือน ๑๐ ส่่วนทางอีีสานใต้้จะมีีตำแหน่่งยกกระบััตร ซึ่่�งส่่วนมาก เป็็นขุุนนางจากกรมวัังของส่่วนกลางมาควบคุุมความจงรััก ภัักดีีของขุุนนางในเมืืองนั้้�นๆ อีีกชั้้�นหนึ่่�ง ทำให้้การควบคุุม ค่่อนข้้างหละหลวม เมื่่�อมีีการปฏิรููิปการปกครอง กำหนดให้้ ทหารประจำการต้้องดื่่�มน้้ำสาบานทุุก ๆ เดืือน กำนัันและ ผู้้�ใหญ่่บ้้านซึ่่�งไม่่ถืือเป็็นข้้าราชการแต่่เป็็นพนัักงานของรััฐ อีีกประเภทหนึ่่�งตาม พระราชบััญญััติิลัักษณะการปกครอง ท้้องถิ่่�น ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) ต้้องดื่่�มน้้ำสาบานปีีละ ๑ ครั้้�ง เมืืองใหญ่่จะเป็็นผู้้�กำหนดเอง นอกจากนี้้� ยัังมีีการตรวจ สอบการทำงานของข้้าราชการโดยส่่งข้้าราชการผู้้�ใหญ่่จาก กรุุงเทพฯ เดิินทางตรวจราชการเป็็นระยะ ผู้้�บัังคัับบััญชา ในมณฑล ในเมืือง(จัังหวััด) ต้้องตรวจราชการปีีละ ๖๐ วััน เยี่่�ยมอำเภออย่่างน้้อย ๑ ครั้้�งต่่อปีี เยี่่�ยมตำบลอย่่างน้้อย ๑ ครั้้�งต่่อปีี เยี่่�ยมหมู่่บ้้านให้้ได้้มากที่ ่� สุุด ส่่วนนายอำเภอ ต้้องตรวจพื้้�นที่่�ในเขตอำเภอ เหตุทีุ่่�กฎหมายกำหนดไว้้เช่่นนี้้� เป็็นการบัังคัับให้้ข้้าราชการทำงาน และให้้ข้้าราชการตรวจ สอบการทำงานของผู้้�ใต้้บัังคัับบััญชาด้วย กา้รตรวจราชการ ของข้้าราชการชั้้�นผู้้�ใหญ่่จากกรุุงเทพฯ ยัังทำให้้มีีหลัักฐาน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 213 ทางประวััติิศาสตร์์เพื่่�อใช้้ศึึกษาการปฏิิรููปการปกครองใน มณฑลต่่าง ๆ ของอีีสานอีีกด้วย เ้ช่่น การเสด็็จตรวจราชการ มณฑลอุดรุและมณฑลอีีสานของสมเด็็จฯกรมพระยาดำรง ราชานุุภาพ เสนาบดีีกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๔๙1 นอกจากนี้้� ยัังใช้้ระบบการประชุุมเพื่่�อตรวจสอบการทำงาน ของข้้าราชการตั้้�งแต่่ระดัับกระทรวงไปจนถึึงมณฑล เมืือง อำเภอ และตำบล ระดัับกระทรวงต้้องมีีการประชุุมประจำปีี ของข้้าราชการเทศาภิิบาลที่่�กรุุงเทพฯ ตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๔๗๖ การประชุุมแต่่ละครั้้�งเป็็นการมารัับฟัังนโยบายจาก เสนาบดีีกระทรวงมหาดไทยและเป็็นการประเมิินผลงาน ของแต่่ละมณฑล ระดัับตำบล กำนัันจะนััดประชุุมผู้้�ใหญ่่ บ้้านเดืือนละ ๒ ครั้้�ง และใช้้วิิธีีเขีียนรายงานการประชุุม เสนอผู้้�บัังคัับบััญชา ซึ่่�งเป็็นระบบที่่�ใช้้ตั้้�งแต่่ระดัับหมู่่บ้้าน ขึ้้�นไปจนถึึงระดัับมณฑล เรื่่�องที่ ่� รายงาน2 ! เส้้นทางการคมนาคม: การเชื่่อม�ต่่อพื้นที่่ ้� � ภายในและพื้นที่่ ้� �ภายนอกของภาคอีีสาน พื้้�นที่อีี่� สานไม่่ได้เ้ป็็นดิินแดนปิดิ มีีหลัักฐานแสดงถึึง ร่่อยรอยการเดิินทางติิดต่่อระหว่่างคนในอีีสานกัับพื้้�นที่ต่ ่� ่าง ๆ มาตั้้�งแต่ยุุ่คก่่อนประวััติิศาสตร์์ เส้้นทางการคมนาคมในภาค อีีสานมีีทั้้�งเส้้นทางบกและเส้้นทางน้้ำนอกจากจะใช้้ในการ เดิินทาง การค้้า การเดิินทััพ การอพยพของผู้้�คน ยัังเป็็น เส้้นทางในการส่่งต่่อวััฒนธรรมจากภายนอกสู่่อีีสานอีีกด้วย ้ 1 วิิชุุลดา พิิไลพัันธ์์, “บัันทึึกสมเด็็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุุภาพเสด็็จตรวจราชการมณฑลนครราชสีีมา มณฑลอุุดรและมณฑลอีีสาน ร.ศ.๑๒๕ (พ.ศ.๒๔๔๙)” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๘, กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔; เพชรรุ่่ง เทีียนปิ๋๋�ว โรจน์์, รายงานการตรวจราชการหััวเมืืองของไทยในสมััยรััชกาลที่่� ๕ ภาพสะท้้อนเศรษฐกิิจและสัังคมไทยในยุุค “สยามใหม่่”, นครปฐม: โรง พิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๖๒ 2 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๒๖๙-๒๗๐. เส้้นทางคมนาคมทางบก เส้้นทางติิดต่่อสมััยโบราณระหว่่างกรุุงเทพฯ กัับเมืืองในภาคอีีสานก่่อนมีีทางรถไฟสายกรุุงเทพฯ – นครราชสีีมา แบ่่งเป็็น ๒ เส้้นทาง เส้้นทางแรก เดิินทางจาก กรุุงเทพฯ โดยไม่ผ่่ ่านนครราชสีีมา กัับเส้้นทางจากกรุุงเทพฯ มาที่่�นครราชสีีมา เส้้นทางแรกเดิินทางจากกรุุงเทพฯ ตาม คลองแสนแสบ คลองบางขนาก ถึึงปราจีีนบุุรีี จากนั้้�นเดิิน ทางบกเข้้าอรััญประเทศ ศรีีโสภณ สุุริินทร์์ ศรีีสะเกษ และ อุุบลราชธานีี เป็็นเส้้นทางที่ ่� พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอกรมหลวง พิิชิิตปรีีชากรทรงใช้้เดิินทางเมื่่�อครั้้�งเดิินทางไปจััดการ ราชการหััวเมืืองลาวกาว การเดิินทางต้้องใช้้ช้้าง เกวีียน โค ต่่าง และคนหาบเป็็นจำนวนมาก ใช้้เวลาเดิินทาง ๗๗ วััน อีีกเส้้นทางจากกรุุงเทพฯเดิินทางตามลำน้้ำเจ้้าพระยา และ แม่น้้ ่ ำน่่านไปถึึงเมืืองพิิษณุุโลกจากนั้้�นเดิินบกไปยัังหล่่มสััก ขึ้้�นไปเมืืองเลยข้้ามไปเมืืองแก่่นท้้าวจึึงล่่องแม่่น้้ำโขงไปที่ ่� เมืืองหนองคาย เส้้นทางนี้้�เป็็นเส้้นทางอ้้อมใช้้เวลาเดิินทาง นาน เป็็นเส้้นทางที่่�กรมหมื่่�นประจัักษ์์ศิิลปาคมเสด็็จปราบ ฮ่่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ การคมนาคมระหว่่างกรุุงเทพฯ กัับนครราชสีีมา เป็็นเส้้นทางที่่�ใช้้ระยะเวลาสั้้�นกว่่าแต่่ต้้องเดิินทางตััด ช่่องเขาสำคััญ คืือ ช่่องดงพระยาไฟทางสระบุุรีีและช่่อง ตะโกทางปราจีีนบุุรีีช่่องดงพระยาไฟ เริ่่�มต้้นเดิินทาง จากกรุุงเทพฯทางเรืือไปขึ้้�นบกที่่�สระบุุรีี แล้้วเดิินบกผ่่าน เทืือกเขาดงพระยาเย็็น ระยะทางที่ ่� ผ่่านดงพระยาเย็็นจะ ใช้้พาหนะโคต่่างหรืือคนหาบใช้้เกวีียนเทีียมโคไม่่ได้้เนื่่�อง ด้้วยมีีทางสููงชัันหลายแหล่่ง เส้้นทางดงพระยาไฟเป็็นเส้้น


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 214 ทางที่ ่�สั้้�นที่ ่� สุุดแต่่มีีความยากลำบากที่ ่� สุุดเช่่นกััน ในระยะ แรก ๆ ก่่อนมีีเส้้นทางรถไฟจึึงไม่่ค่่อยถููกใช้้นััก นอกจากมีี ราชการด่่วนหรืือราชการสงคราม หรืือไม่ก็่ ็เป็็นการเดิินทาง ที่่�ไม่่มีีสััมภาระมาก ช่่องเขาตะโก เป็็นทางติิดต่่อระหว่่างเขตแดน อำเภอนางรอง จัังหวัดบุั รีีรัุัมย์กั์ ับอำเภอกบิินทร์บุ์ รีีุจัังหวัดั ปราจีีนบุรีีุ เป็็นเส้้นทางอ้้อมกว่่าช่่องดงพระยาไฟ แต่่สภาพ การคมนาคมค่่อนข้้างดีีกว่่า สามารถใช้้พาหนะเกวีียนเดิิน ทางได้้ แต่่ในบางช่่วงต้้องยกเกวีียนข้้ามโขดหิิน นอกจากนี้้� เส้้นทางนี้้�ยัังไม่่มีีไข้้ป่่าชุุกชุุมเหมืือนช่่องดงพระยาไฟ จาก นครราชสีีมาผ่่านช่่องตะโกจะผ่่านกบิินทร์์บุุรีี ปราจีีนบุุรีี แล้้วจึึงเข้้ากรุุงเทพฯ การเดิินทางจากนครราชสีีมาถึึง ปราจีีนบุุรีีใช้้เวลาเดิินทาง ๑๖ วััน ผู้้�ใช้้เส้้นทางผ่่านช่่อง ตะโกส่่วนใหญ่่เป็็นพ่่อค้้าโคกระบืือที่่�กวาดต้้อนไปเป็็นฝููง มีีสััมภาระการเดิินทางมาก การคมนาคมและขนส่่งสิินค้้าระหว่่างเมืืองต่่าง ๆ ในอีีสานใช้้ทางเกวีียนเป็็นสำคััญ เนื่่�องด้้วยภููมิิประเทศ เป็็นที่ร ่� าบเป็็นส่่วนใหญ่่ จึึงเหมาะแก่่การใช้้พาหนะประเภท นี้้� เส้้นทางเกวีียนเป็็นเส้้นทางเชื่่�อมชุุมชนต่่าง ๆ เข้้ากัับ แม่่น้้ำและเส้้นทางรถไฟในเวลาต่่อมา การเดิินทางด้้วย เกวีียนสะดวกในฤดููแล้้ง ถ้้าในฤดููฝนจะมีีน้้ำขัังเป็็นโคลน ทำให้้เดิินทางไม่่สะดวกบางแห่่งไม่่สามารถเดิินทางได้้สัตว์ั ์ พาหนะที่่�ใช้้เทีียมเกวีียน คืือ วััว ศููนย์์กลางการค้้าที่่�สำคััญ ของอีีสานอยู่่ที่่�เมืืองนครราชสีีมา เมื่่�อรถไฟสร้้างมาถึึงเมืือง นครราชสีีมา พ่่อค้้าจากเมืืองต่่าง ๆ จะบรรทุุกสิินค้้ามา รวมกัันที่่�นครราชสีีมาแล้้วบรรทุุกรถไฟไปกรุุงเทพฯ และ สิินค้้าสำเร็็จรููปจากกรุุงเทพฯ ก็็ส่่งไปที่่�เมืืองนครราชสีีมา จากนั้้�นพ่่อค้้าพื้้�นเมืืองจะบรรทุุกสิินค้้าใส่่เกวีียนไปจำหน่่าย เมืืองต่่าง ๆ ต่่อมาทางเกวีียนจะปรัับเป็็นถนนและเปลี่่�ยน 1 “รายงานตรวจพัันธุ์์รุุกขชาติิในมณฑลภาคอิิสาณ” ใน จดหมายเหตุุของสภาเผยแผ่่พาณิิชย์์, หน้้า ๒๙๘. พาหนะจากวััวเทีียมเกวีียนเป็็นรถยนต์์ ราคาค่่าเช่่าเกวีียน ในช่่วง ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๖-๒๔๖๗ หากเช่่าเป็็นรายวััน ที่่�เมืืองนครราชสีีมาคิิดวัันละ ๒ บาท ที่ ่� อุุบลราชธานีีคิิดวััน ละ ๑ บาท ๕๐ สตางค์์ หากเช่่าเพื่่�อบรรทุุกสิินค้้าเหมากััน ตามน้้ำหนัักของที่่�บรรทุุกและระยะทางที่่�ไป เกวีียน ๑ เล่่ม บรรทุุกของหนััก ๔ หาบ จากโคราชไปมุุกดาหารใช้้เวลา ๑๔ วััน เป็็นค่่าขนบรรทุุกราว ๔๐ บาท เกวีียน ๑ เล่่มขน ของหนััก ๓ หาบจากโคราชไปหนองคาย เสีียค่่าเช่่าเกวีียน เป็็นเงิิน ๕๐ บาท1 ภาพที่่� ๑๓ แผนที่่�แสดง เส้้นทางเกวีียน ที่่�มา: https://www. facebook.com/ mitrearth เข้้าถึึงเมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 215 ทางรถไฟมีีขึ้้�นในสมััยพระบาทสมเด็็จพระ จุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว จุุดประสงค์์สำคััญในการสร้้าง เส้้นทางรถไฟคืือเรื่่�องการเมืืองเพื่่�อป้้องกัันรัักษาพระราช อาณาเขต หากเกิดปัิ ัญหาด้านแ้ม่น้้ ่ ำโขง กรุุงเทพฯสามารถ ส่่งกองทหารขึ้้�นมาอย่่างรวดเร็็ว การสร้้างเส้้นทางรถไฟ กรุุงเทพฯ-นครราชสีีมา เริ่่�มสร้้างเมื่่�อ พ.ศ.๒๔๓๔ ถึึง อยุธุยา พ.ศ.๒๔๓๙ ถึึงสระบุรีีุพ.ศ. ๒๔๔๐ ถึึงนครราชสีีมา พ.ศ. ๒๔๔๓ เส้้นทางรถไฟกรุุงเทพ ฯ - นครราชสีีมา เป็็นเส้้นทางจากสระบุุรีีตััดผ่่านดงพระยาไฟ เดิิมแม้้เป็็น เส้้นทางระหว่่างกรุุงเทพฯกัับนครราชสีีมาที่่�ใกล้้กว่่าเส้้นอื่่�น แต่่ไม่่ค่่อยเดิินทางผ่่านเส้้นทางนี้้�นััก เมื่่�อสงครามธนบุุรีี- เวีียงจัันทน์์ พ.ศ. ๒๓๒๑ ภายหลัังที่่�กรุุงธนบุุรีีชนะสงคราม จึึงกวาดต้้อนผู้้�คนจากเวีียงจัันทน์์มาที่ ่�ฝั่่�งขวาของแม่่น้้ำโขง กลุ่่มคนที่ ่� ถููกกวาดต้้อนบางส่่วนสมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี โปรดให้้ตั้้�งถิ่่�นฐานที่่�เมืืองสระบุุรีี ทำให้้เมืืองสระบุุรีีมีีผู้้�คน มากขึ้้�นไม่่เปลี่่�ยวเหมืือนแต่่ก่่อน หลัังจากนั้้�น การเดิินทาง ไปมาระหว่่างกรุุงเทพฯ-นครราชสีีมา ไม่่ว่่าจะเป็็นการค้้า หรืือการสงครามจะใช้้เส้้นทางผ่่านเมืืองสระบุรีีุมากขึ้้�น เช่่น ในสมััยรััชกาลที่่� ๓ เกิิดสงครามเจ้้าอนุุวงศ์์ พ.ศ. ๒๓๖๙ กองทััพจากกรุุงเทพฯ ใช้้เส้้นทางทััพผ่่านเมืืองสระบุุรีี สมััย รััชกาลที่่� ๕ กองทััพเจ้้าพระยามหิินทรศัักดิ์์�ธำรงใช้้เส้้นทาง นี้้� ยกทัพั ไปปราบฮ่่อ พ.ศ. ๒๔๑๘ เส้้นทางรถไฟมาถึึงสถานีี แก่่งคอยซึ่่�งเป็็นเชิิงเขาปากดงพระยาไฟ มาถึึงตำบลทัับ กวาง สถานีีปากช่่อง จึึงพ้้นเขตดงพระยาไฟ เกวีียนจาก เมืืองนครราชสีีมามาถึึงได้้ก่่อนสร้้างทางรถไฟที่่� นี่่�เป็็นที่ ่� ถ่่ายสิินค้้าจากเกวีียนบรรทุุกโคต่่างในขาลงและถ่่ายสิินค้้า จากโคต่่างบรรทุุกเกวีียนในขาขึ้้�นไปเมืืองนครราชสีีมา จาก 1 เติิม วิิภาคย์์พจนกิิจ, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์, ์๒๕๕๗ หน้้า ๔๓๑-๔๓๓. นั้้�นเข้้าสถานีีจัันทึึกอยู่่ในเขตเมืืองด่่านขึ้้�นเมืืองนครราชสีีมา พ้้นเมืืองนครจัันทึึกไปถึึงพื้้�นที่ร ่� าบใช้้เกวีียนเดิินทางสะดวก จนถึึงสถานีีนครราชสีีมาซึ่่�งเป็็นเมืืองใหญ่่เชื่่�อมระหว่่างลุ่่ม แม่่น้้ำเจ้้าพระยากัับลุ่่มแม่่น้้ำโขง การเดิินทางระหว่่างผู้้�คน ในสองพื้้�นที่ ่� ส่่วนใหญ่่ต้้องผ่่านเมืืองนครราชสีีมา ผ่่านช่่อง ดงพระยากลาง เป็็นทางไปเมืืองชััยบาดาล ช่่องพระยาไฟ เป็็นทางไปเมืืองสระบุรีีุช่่องบุุขนุุน ช่่องสะแกราด และช่่อง ตะโกเป็็นทางไปเมืืองปราจีีนบุุรีี จากนั้้�นสร้้างเส้้นทางรถไฟจากนครราชสีีมาถึึง ตำบลท่่าช้้างวัันที่่� ๑ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕ เปิิด รถไฟจากท่่าช้้างถึึงจัังหวััดบุุรีีรััมย์์ ในวัันที่่� ๑ เมษายน ๒๔๖๘ เปิิดทางจากสถานีีบุุรีีรััมย์์ถึึงสถานีีสุุริินทร์์ วัันที่่� ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ เปิดิทางจากสถานีีสุริุินทร์ถึึ์งสถานีี ห้้วยทัับทัันวัันที่่� ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ เปิิดทางจาก สถานีีห้้วยทัับทัันถึึงสถานีีศรีีสะเกษวัันที่่� ๑ สิิงหาคม พ.ศ ๒๔๗๑ เปิิดทางจากสถานีีศรีีสะเกษถึึงสถานีีวาริินชำราบ จัังหวััดอุุบลราชธานีีวัันที่่� ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๓ จาก นั้้�นกรมรถไฟได้้สร้้างทางรถไฟแยกจากสถานีีชุุมทางถนน จิิระ แยกไปขอนแก่่น-หนองคาย เส้้นทางรถไฟสายนี้้�สร้้าง เสร็็จในพ.ศ. ๒๔๙๙1 กลุ่่มคนที่่�เดิินทางหลัังจากมีีเส้้นทางรถไฟ กรุุงเทพฯ-นครราชสีีมา แบ่่งเป็็น ๔ กลุ่่ม ได้้แก่่ กลุ่่มแรก คืือ แรงงานรัับจ้้าง ส่่วนมากมาจากมณฑลอุุดรและมณฑล อีีสาน จะมีีนายฮ้้อยเป็็นหััวหน้้าควบคุุมแรงงานกลุ่่มนี้้�ลงไป รัับจ้้างทำนาในภาคกลาง พอหมดฤดููการทำนาแล้้วแรงงาน รัับจ้้างจะเดิินทางกลัับโดยรถไฟมาลงที่่�นครราชสีีมาแล้้วจึึง เดิินทางเท้้ากลัับภููมิิลำเนาของตน กลุ่่มที่่�สอง คืือ นายฮ้้อย


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 216 หรืือพ่่อค้้าพื้้�นเมืือง แยกเป็็นนายฮ้้อยโคกระบืือ นายฮ้้อย สุุกร และนายฮ้้อยที่่�ควบคุุมแรงงานไปทำนาในภาคกลาง นายฮ้้อยโคกระบืือจะไม่่ใช้้รถไฟขนโคกระบืือเพราะต้้นทุุน ค่่าใช้้จ่่ายสููง นิิยมต้้อนโคกระบืือเป็็นฝููงตามเส้้นทางการ ค้้าวััวควาย การเพิ่่�มปริิมาณการค้้าโคกระบืือเนื่่�องจากการ ขยายพื้้�นที่่�ปลููกข้้าวเพื่่�อส่่งออกในบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำ เจ้้าพระยา โคกระบืือเป็็นแรงงานสำคััญและเป็็นที่ ่�ต้้องการ ของชาวนาในภาคกลาง ความต้้องการกระบืือในการ ทำนามีีมากแต่่กระบืือในภาคกลางมีีไม่่เพียงีพอจึึงมีีการสั่่�ง กระบืือจากที่ ่� อื่่�น ๆ โดยเฉพาะจากเมืืองในภาคอีีสาน นาย ฮ้้อยจากอีีสานจึึงต้้อนโคกระบืือลงไปขาย เส้้นทางในการ ต้้อนคาราวานกระบืือของนายฮ้้อยจากอีีสานไปยัังภาค กลางมีี ๒ เส้้นทาง คืือ ผ่่านปากช่่องเข้้าดงพระยาไฟไป สระบุรีีุอีีกช่่องหนึ่่�งไปตามช่่องต่่าง ๆ ในเขตบุรีีรัุัมย์์ สุริุินทร์์ ลงไปเมืืองศรีีโสภณ แล้้วเข้้าเมืืองปราจีีนบุุรีี ฉะเชิิงเทรา ราคาซื้้�อขายกระบืือแตกต่่างกัันตามคุุณภาพ ราคาขายที่ ่� เมืืองในอีีสานจะมีีราคาถููกกว่่าที่ ่� ภาคกลาง เช่่น ราคาขาย กระบืือที่ร้้่� อยเอ็ด็พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๕๔ ราคาตััวละ ๒๐-๓๐ บาท แต่่ถ้้านำไปขายในภาคกลาง มีีราคาตััวละ ๘๐-๑๒๐ บาท 1 ขากลัับหลัังขายโคกระบืือแล้้วนายฮ้้อยถึึงจะขึ้้�นรถไฟ กลัับมาลงที่่�นครรราชสีีมาหรืือสถานีีอื่่�น ๆ จากนั้้�นเดิิน ทางกลัับเมืืองหรืือหมู่่บ้้านของตน ส่่วนนายฮ้้อยสุุกรและ นายฮ้้อยที่่�ควบคุุมแรงงานรัับจ้้างไปทำนาที่ภ ่� าคกลางจะใช้้ บริิการรถไฟทั้้�งขาไปและขากลัับ กลุ่่มที่่�สาม คืือ พ่่อค้้าชาว 1 ชุุมพล แนวจำปา, การเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจบริิเวณลุ่่มน้้ำมููลตอนบน พ.ศ.๒๔๔๓-๒๔๖๘, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขา วิิชาประวััติิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๙ หน้้า ๘๙-๙๐. 2 ไพฑููรย์์ มีีกุุศล, “สภาพสัังคมและเศรษฐกิิจอีีสานก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� ๒,” วารสารประวััติิศาสตร์์ (ปีีที่่� ๘ ฉบัับที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม พ.ศ.๒๕๒๖) หน้้า ๓๓.3 ชุุมพล แนวจำปา, หน้้า ๑๕๙-๑๖๐. จีีนเป็็นกลุ่่มคนที่่�ขยายตััวเป็็นอย่่างมากภายหลัังสร้้างเส้้น ทางรถไฟ คนจีีนมีีบทบาทสำคััญต่่อการส่่งเสริิมการขยาย ตััวทางเศรษฐกิิจเพื่่�อการตลาดในอีีสาน ข้้อมููลชาวจีีนใน อีีสานแยกตามมณฑลในอีีสาน พบว่่า มณฑลนครราชสีีมา มีีชาวจีีน ๒,๔๕๐ คน มณฑลอุุดร มีีชาวจีีน ๑,๕๐๐ คน และมณฑลอีีสาน มีีชาวจีีน ๓,๐๐๐ คน ชาวจีีนได้้เข้้ามา ประกอบการค้้าตั้้�งร้้านค้้าตามเมืืองต่่าง ๆ2 กลุ่่มสุุดท้้าย คืือ ข้้าราชการที่่�เดิินทางไปติิดต่่อราชการต่่าง ๆ3 ภาพที่่� ๑4 แผนที่่�แสดงเส้้นทางรถไฟภาคอีีสาน ที่่�มา: https://www.silpa-mag.com/history/article_๒๙๒๐๔ เข้้าถึงึ เมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 217 เส้้นทางคมนาคมทางน้ำ ำ แม้้ภาคอีีสานจะมีีลุ่่มน้้ำขนาดใหญ่่ ๓ ลุ่่มน้้ำ คืือ ลุ่่มน้้ำมููล ลุ่่มน้้ำชีีลุ่่มน้้ำสงคราม มีีแม่่น้้ำสาขาในลุ่่มน้้ำทั้้�ง ๓ แต่่การเดิินทางทางน้้ำในภาคอีีสานมีีจำกััด เนื่่�องด้้วย ลำน้้ำต่่าง ๆ จะมีีน้้ำมากในฤดููฝนแต่่จะแห้้งในฤดููแล้้งทำให้้ เป็็นอุุปสรรคต่่อการคมนาคมขนส่่ง เส้้นทางการคมนาคม ทางน้้ำภายในอีีสานที่่�สำคััญ คืือ เส้้นทางแม่่น้้ำมููลจาก เมืืองอุุบลราชธานีีถึึงท่่าช้้าง เมืืองนครราชสีีมา การขนส่่ง สิินค้้าโดยทางเรืือตามลำแม่่น้้ำมููลไม่่สามารถใช้้ได้้ตลอดปีี เนื่่�องจากมีีเกาะแก่่งในแม่่น้้ำมููลมาก ในหน้้าแลงน้้ำจะลด จนกระทั่่�งเมื่่�อ พ.ศ.๒๔๒๙ พระยาศรีีสิิงหเทพ (ทััด) ยืืม เงิินทดรองราชการมาลงทุุนสำหรัับการต่่อเรืือกลไฟที่่� ท่่า วััดหลวง เมืืองอุุบลราชธานีี ใช้้เวลาสร้้าง ๒ ปีีก็็สำเร็็จ เรืือ กลไฟมีี ๒ ลำ ชื่่�อ บำรุุงบุุรพทิิศ และพานิิชพััฒนา สำหรัับ เป็็นเรืือรัับจ้้างบรรทุุกสิินค้้าและโดยสารเดิินทางในลำน้้ำ มููลระหว่่างเมืืองอุุบลราชธานีีไปท่่าช้้าง เมืืองนครราชสีีมา เรืือพานิิชพััฒนาเดิินทางจากท่่าเมืืองอุุบลราชธานีีไป ท่่าช้้าง นครราชสีีมา เปิิดบริิการวัันแรก วัันที่่� ๙ มิิถุุนายน พ.ศ. ๒๔๓๕ เรืือบำรุุงบุรพทิุิศเดิินทางเดืือนสิิงหาคม พ.ศ. ๒๔๓๕ เรืือกลไฟใช้้เวลาเดิินทางจากท่่าช้้างถึึงอุุบลราชธานีี ๗ วััน และใช้้เวลา ๑๐-๑๕ วัันจากท่่าที่่�เมืืองอุุบลราชธานีี ถึึงท่่าช้้าง ทำให้้ย่่นระยะเวลาในการเดิินทางเป็็นอย่่าง มาก เพราะเดิิมถ้้าใช้้เรืือถ่่อขาล่่องใช้้เวลา ๑๕ วััน ขาขึ้้�น 1 เติิม วิิภาคย์์พจนกิิจ, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์, ์๒๕๕๗ หน้้า ๑๓๑-๑๓๒. 2 ประนุุช ทรััพยสาร, ประวััติิศาสตร์์เศรษฐกิิจอีีสาน, มหาสารคาม: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ สถาบัันราชภััฏมหาสารคาม, ๒๕๔๕ หน้้า ๘๙-๑๐๓. 3 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๑๐๕. 4 “รายงานตรวจพัันธุ์์รุุกขชาติิในมณฑลภาคอิิสาณ” ใน จดหมายเหตุุของสภาเผยแผ่่พาณิิชย์์, หน้้า ๒๙๘. ใช้้เวลา ๓๐ วััน1 เรืือกลไฟทั้้�งสองลำเดิินทางสวนกัันรัับผู้้� โดยสารและบรรทุุกสิินค้้าไปเมืืองต่่าง ๆ คิดค่ิ ่าโดยสารและ ค่่าบรรทุุกสิินค้้าตามระยะทาง เส้้นทางการเดิินเรืือจากท่่า ที่่�เมืืองอุุบลราชธานีี-ปากห้้วยสำราญ ท่่าเมืืองศรีีสะเกษบ้้านหลัักด่่านโพนทราย เมืืองท่่าสุุวรรณภููมิิ-บ้้านใต้้บ้้านตููม ท่่าเมืืองสุุริินทร์์ ท่่าเมืืองรััตนบุุรีี-ท่่าเมืืองชุุมพลบุุรีี-เมืือง พุุทไธสง-เมืืองพิิมาย-ท่่าช้้าง เมืืองนครราชสีีมา การเดิิน เรืือกลไฟในลำน้้ำมููลต้้องทำที่ ่� พัักฟืืนและสิินค้้าเป็็นระยะ ตามลำน้้ำมููล2 ส่่วนการเดิินเรืือในแม่่น้้ำโขง เนื่่�องด้้วยแม่่น้้ำโขง เป็็นแม่่น้้ำที่ ่�มีีเกาะแก่่งกีีดขวางการเดิินเรืืออย่่างมาก แก่่ง สำคััญ เช่่น แก่่งโขง แก่่งเขมราฐ แก่่งจากเวีียงจัันทน์์ถึึง เชีียงคาน แก่่งท่่าเรืือ (แก่่งหลวง) รวมถึึงแก่่งต่่าง ๆ เหนืือ เมืืองหลวงพระบางขึ้้�นไป เส้้นทางคมนาคมขนส่่งทางน้้ำ โดยเรืือกลไฟของฝรั่่�งเศส แล่่นไปมาได้้ในช่่วงเดืือน ๙-๑๐ หลัังจากนั้้�นพอเดืือน ๑๑-๑๒ น้้ำลดลง ตามลำน้้ำมีีเกาะ แก่่งหลายตำบล เรืือกลไฟแล่่นไปไม่่ได้้ 3 ค่่าขนส่่งทางเรืือ ตามแม่่น้้ำโขง ช่่วง พ.ศ.๒๔๖๖-๒๔๖๗ เรืือบรรทุุกของ หนััก ๑๕ หาบจากมุุกดาหารถึึงธาตุพุนม ใช้้เวลา ๒ วััน คิดิ ราคาครั้้�งละ ๑๕ บาท4 อย่่างไรก็ต็าม เส้้นทางการคมนาคม ทางน้้ำยัังถืือเป็็นเส้้นทางคมนาคมสำคััญของเมืืองในอีีสาน ที่่�อยู่่ติิดกัับแม่่น้้ำโขงเพราะแม่่น้้ำโขงเปรีียบเหมืือนประตูู หน้้าบ้้าน แม่่น้้ำโขงเป็็นเส้้นทางการคมนาคมหลัักก่่อนที่ ่�


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 218 จะมีีการตััดถนน ตััวอย่่างที่่�เมืืองเขมราฐ คนเขมราฐเดิิน ทางไปเยี่่�ยมญาติิโดยใช้้เรืือทั้้�งขาขึ้้�นและขาล่่อง และข้้าม ฝั่่�งไปลาวรวมถึึงใช้้แม่่น้้ำโขงเป็็นส้้นทางอพยพจากฝั่่�งลาว มาตั้้�งถิ่่�นฐานฝั่่�งไทย เช่่นกรณีีของชาติิพัันธุ์์ผู้้�ไท ที่่�อพยพ มาจากแขวงมหาไซย (ถัดัจากแขวงท่่าแขก) เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐาน ตามเมืืองใกล้้แม่่น้้ำโขง เช่่น ผู้้�ไทโคกก่่อง (อำเภอชานุุมาน จัังหวัดัอำนาจเจริิญ) ผู้้�ไทบ้้านป่่าข่่า (ตำบลหนองสิิม อำเภอ เขมราฐ จัังหวัดอุัุบลราชธานีี) นอกจากนี้้� แม่น้้ ่ ำโขงยัังเปรีียบ เหมืือนเส้้นทางการค้้าที่่�สำคััญ เส้้นทางการค้้าจากเขมราฐ ไปเมืืองต่่าง ๆ แบ่่งได้้เป็็น ๒ เส้้นทาง คืือ เส้้นทางการค้้า กัับเมืืองริิมฝั่่�งแม่่น้้ำโขง ได้้แก่่ เมืืองมุุกดาหาร นครพนม และค้้ากัับฝั่่�งลาว พ่่อค้้าที่ ่�มีีบทบาทสำคััญ มีี ๒ กลุ่่ม คืือ นายฮ้้อยจะเดิินทางไปค้้าในช่่วงน้้ำขึ้้�น (น้้ำหลาก) ก่่อนเข้้า พรรษา นำสิินค้้าจากเมืืองเขมราฐไปขายยัังเมืืองต่่างๆ และเดิินทางกลัับเขมราฐช่่วงออกพรรษา (สััมพัันธ์์กัับฤดูู การทำนา) อุุปสรรคของแม่่น้้ำโขงคืือมีีเกาะแก่่งจำนวน มาก ดัังนั้้�น พ่่อค้้าสามารถนำสิินค้้าไปค้้าได้้เฉพาะช่่วงน้้ำ หลากเท่่านั้้�น สิินค้้านำเข้้าจากเมืืองริิมแม่น้้ ่ ำโขง ได้แ้ก่่ ผลไม้้ จากเมืืองท่่าอุุเทน ปลาร้้าจากเมืืองศรีีสงคราม แก่่นคููณ กระบองไต้้ไฟจากเมืืองนครพนม สิินค้้าจากเมืืองเหล่่านี้้� จะส่่งมารวมกัันที่่�เมืืองเขมราฐ จากนั้้�นจึึงส่่งต่่อลงทางใต้้ หรืือขนขึ้้�นเกวีียนส่่งเมืืองอุุบลราชธานีีสิินค้้านำเข้้าจากฝั่่�ง ลาวได้้แก่่ มะขามเปีียก หน่่อไม้้(เผา) รัับมาบรรจุุปี๊๊�บและ ขายต่่อ น้้ำมัันยางไว้้ชัันเรืือ ของป่่าพวกหนัังสััตว์์ ใช้้เป็็น วััตถุุดิิบทำรองเท้้าหนััง โรงงานเครื่่�องหนััง ส่่งขายที่่�เมืือง วาริินชำราบและกรุุงเทพฯ สิินค้้าส่่งออกไปฝั่่�งลาว ได้้แก่่ 1 อิินทิิรา ซาฮีีร์์ และคณะ, รายงานวิิจััยเรื่่�องโครงการการขัับเคลื่่�อนศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อการพััฒนาเชิิงพื้้นที่่� อำเภอเขมราฐ จัังหวััดอุุบลราชธานีี, กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.) หน้้า ๗๑. น้้ำมัันตะเกีียง เครื่่�องอุุปโภค เช่่น ผงชููรส (แป้้งนััว) ผงซัักฟอก ผ้้าม้้วน สิินค้้าเหล่่านี้้มีีพ่�่อค้้าชาวอิินเดีีย ชาวจีีน จากเมืืองอุุบลราชธานีีนำมาขายที่่�เขมราฐ พ่่อค้้าชาวจีีน เป็็นพ่่อค้้าอีีกกลุ่่มที่่�บทบาทสำคััญต่่อการค้้าเมืืองเขมราฐ จะรัับสิินค้้าจากเมืืองอุุบลส่่งไปลาว รัับสิินค้้าฝรั่่�งเศสจาก ฝั่่�งลาวส่่งไปขายที่่�เมืืองอุุบลราชธานีี1 เส้้นทางคมนาคมในภาคอีีสานยัังทำหน้้าที่่�เป็็น เครืือข่่ายการค้้าที่่�เชื่่�อมระหว่่างตลาดกรุุงเทพฯกัับตลาด ของเมืืองในอาณานิิคมของฝรั่่�งเศส และเมืืองในอีีสาน ได้้แก่่ เมืืองหนองคาย เมืืองท่่าอุุเทน เมืืองนครพนม เมืือง สกลนคร เมืืองมุุกดาหาร และเมืืองยโสธร มีีความสำคััญ ทางเศรษฐกิิจมาก เมืืองเหล่่านี้้�จะทำหน้้าที่่�เป็็นพ่่อค้้า คนกลาง รัับส่่งสิินค้้าระหว่่างเมืืองจากฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงกัับ เมืืองต่่าง ๆ ในอีีสานรวมถึึงเมืืองนครราชสีีมาจะส่่งสิินค้้า บางส่่วนไปยัังกรุุงเทพฯ การขนส่่งสิินค้้าของพ่่อค้้าในอีีสาน หลัังจากสร้้างทางรถไฟกรุุงเทพฯ- นครราชสีีมา ส่่วนใหญ่่ พ่่อค้้าจะบรรทุุกสิินค้้าใส่่เกวีียนไปที่่�เมืืองนครราชสีีมา จากนั้้�นจะขนสิินค้้าใส่่ตู้้�สิินค้้ารถไฟเข้้าไปขายที่่�กรุุงเทพฯ ขณะเดีียวกัันสิินค้้าจากกรุุงเทพฯจะลำเลีียงใส่่รถไฟมายััง นครราชสีีมา และจะถ่่ายสิินค้้าลงเกวีียนเพื่่�อนำสิินค้้าไป ขายยัังเมืืองต่่างๆ ส่่วนการค้้าระหว่่างเมืืองสองฝั่่�งแม่่น้้ำ โขง โดยมากจะใช้้การลำเลีียงสิินค้้าผ่่านทางเรืือเป็็นหลััก การปรัับปรุุงเส้้นทางคมนาคมจะมีีส่่วนช่่วยให้้การค้้าเติิบโต ได้้มาก เห็็นได้้จากสิินค้้าเข้้าส่่วนหนึ่่�งจะเป็็นสิินค้้าจาก กรุุงเทพฯ ที่ ่� ส่่งผ่่านเมืืองนครราชสีีมาทางรถไฟ จึึงทำให้้ รถไฟเป็็นตััวเชื่่�อมการค้้าระหว่่างกรุุงเทพฯกัับเมืืองต่่าง ๆ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 219 ในอีีสานได้เ้ป็็นอย่่างดีีรวมถึึงการสร้้างสะพานและถนนใน เมืืองต่่าง ๆ ช่่วยให้้การเดิินทางระหว่่างเมืืองในอีีสานเป็็น ไปอย่่างสะดวกและเอื้้�อประโยชน์์แก่่พ่่อค้้าในการลำเลีียง สิินค้้าต่่าง ๆ ไปค้้าขาย สิินค้้าเข้้าระหว่่างสิินค้้าเข้้าจากเมืืองฝั่่�งขวาและฝั่่�ง ซ้้ายแม่่น้้ำโขงกัับสิินค้้าเข้้าจากกรุุงเทพฯผ่่านมาทางเมืือง นครราชสีีมามีีความแตกต่่างกัันอย่่างชัดัเจน สิินค้้าเข้้าจาก ฝั่่�งขวาและฝั่่�งซ้ายแ้ม่น้้ ่ ำโขง ส่่วนใหญ่่เป็็นสิินค้้าจำพวกของ ป่่า เช่่น เร่่ว ครั่่�ง ยาสููบ กำยาน เขา หนััง ยางกะตัังกะติ้้�ว ซึ่่�งเป็็นผลผลิิตตามธรรมชาติิที่่�ไม่่ได้้ผ่่านกระบวนการผลิิต ใช้้วิิธีีการเก็็บรวบรวมผลผลิิตนั้้�น ๆ ขณะที่ ่� สิินค้้าเข้้าจาก กรุุงเทพฯ เป็็นสิินค้้าพวกผ้้า ด้้ายเข็็ด เครื่่�องทองเหลืือง เครื่่�องเคลืือบ น้้ำมัันปิิโตรเลีียม ซึ่่�งตอบสนองความต้้องการ ของคนพื้้�นเมืืองที่ ่� นิิยมซื้้�อสิินค้้าพวกผ้้า ด้้ายเข็็ด เป็็นส่่วน ใหญ่่ สะท้้อนถึึงการเปลี่่�ยนแปลงการผลิตผ้้ ิาจากเดิิมที่่�คนใน อีีสานจะทอผ้้าใช้้เองแต่่ในช่่วงเวลานี้้�จะเห็็นได้้ว่่าคนอีีสาน นิิยมซื้้�อผ้้าสำเร็็จรููปจากกรุุงเทพฯ ซึ่่�งมีีราคาไม่่แพงมาก ขณะเดีียวกัันสิินค้้าจำพวกน้้ำมัันปิิโตรเลีียมจะไปนำขาย ให้้แก่่พวกพ่่อค้้าชาวจีีนในเมืืองต่่าง ๆ และชาวตะวัันตก ที่ ่�ฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงเป็็นหลััก ส่่วนสิินค้้าส่่งออกประเภทที่ต้้่� องมีีกระบวนการผลิติ และถืือเป็็นสิินค้้าท้้องถิ่่�นเฉพาะของเมืืองที่่�ติิดกัับแม่น้้ ่ ำโขง ในมณฑลอุดรุ ได้แ้ก่่ ยาสููบ เป็็นพืืชที่่�ปลููกกัันมากในบริิเวณ ริิมน้้ำตามฝั่่�งแม่่น้้ำโขง เหตุุที่่�แถบนี้้�ปลููกยาสููบกัันมากคง เป็็นเพราะบริิเวณนี้้�มีีสภาพอากาศที่่�เหมาะสมต่่อการปลููก ยาสููบ ทำให้้ยาสููบเป็็นสิินค้้าส่่งออกที่่�สำคััญแต่่เดิิมเคยส่่ง 1 วิิชุุลดา พิิไลพัันธ์์, “บัันทึึกสมเด็็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุุภาพเสด็็จตรวจราชการมณฑลนครราชสีีมา มณฑลอุุดรและมณฑลอีีสาน ร.ศ.๑๒๕ (พ.ศ.๒๔๔๙)” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๘, กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔ หน้้า ๖๖-๗๑. ไปขายที่่�เมืืองนครราชสีีมาแต่่เมื่่�อมีีการสร้้างเส้้นทางรถไฟ ขยายมาถึึงนครราชสีีมา ทำให้้มีียาสููบจากกรุุงเทพฯเข้้ามา ขาย ดัังนั้้�น ยาสููบที่่�ผลิิตได้้จึึงส่่งไปขายเฉพาะในท้้องถิ่่�น และมณฑลอีีสานเท่่านั้้�น นอกจากยาสููบแล้้ว ยัังมีีเกลืือ ที่ ่� เป็็นผลผลิิตเฉพาะท้้องถิ่่�นอีีกประเภทหนึ่่�ง มีีแหล่่งผลิิตที่ ่� สำคััญบริิเวณริิมน้้ำสงครามแถบแขวงเมืืองท่่าอุุเทน และ เมืืองอากาศอำนวย และสิินค้้าประเภทสุุดท้้าย คืือ ปลาที่ ่� เป็็นสิินค้้าส่่งออกที่่�สำคััญของราษฎรที่ ่�มีีอาชีีพทำการ ประมงบริิเวณริิมแม่่น้้ำโขง พ่่อค้้าที่ ่�มีีบทบาททางเศรษฐกิิจที่่�สำคััญ แบ่่งเป็็น ๒ กลุ่่ม คืือ พ่่อค้้าชาวต่่างชาติิ เช่่น พ่่อค้้าชาวจีีน ชาว ญวน และชาวพม่่า พ่่อค้้ากลุ่่มนี้้�เดิินทางไปซื้้�อสิินค้้ายััง เมืืองต่่าง ๆ ขณะเดีียวกัันก็็นำสิินค้้ากลัับไปขายยัังเมืือง ของตน หรืือไม่่เช่่นนั้้�นก็็เข้้ามาทำการค้้าถาวรตั้้�งเป็็นร้้านค้้า ที่่�เมืือง ๆ นั้้�น และรวมตััวกัันตั้้�งเป็็นชุุมชนการค้้าขึ้้�น โดย เฉพาะพ่่อค้้าชาวจีีนที่่�อพยพเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานในเมืืองที่่�เป็็น ที่ ่� ศููนย์์กลางเศรษฐกิิจที่่�สำคััญของอีีสานเป็็นจำนวนมาก ภายหลัังจากตััดเส้้นทางรถไฟสายกรุุงเทพฯ-นครราชสีีมา พ่่อค้้าอีีกกลุ่่มหนึ่่�ง ได้้แก่่ พ่่อค้้าพื้้�นเมืืองหรืือนายฮ้้อย ที่ ่� มีีอาชีีพหลััก คืือ อาชีีพเกษตรกรรม แต่่อาจนำผลผลิิต ทางการเกษตรซึ่่�งเป็็นสิินค้้าพื้้�นเมืืองมาขายที่ต ่� ลาดบ้้างครั้้�ง บางคราว สิินค้้าที่่�สำคััญที่ ่� พ่่อค้้าพื้้�นเมืืองนำไปขาย คืือ โค และกระบืือ พ่่อค้้าพื้้�นเมืืองจะนำโคและกระบืือต้้อนไปขาย ในช่่วงหลัังฤดููการทำนา1 อาจกล่่าวได้้ว่่า การคมนาคมเป็็นปััจจััยสำคััญ ต่่อการเชื่่�อมต่่อผู้้�คนภายในอีีสาน และเชื่่�อมต่่อผู้้�คน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 220 ภายนอก เมืืองในแอ่่งสกลนครที่ ่�ตั้้�งอยู่่ติิดกัับแม่่น้้ำโขง ใช้้ แม่่น้้ำโขงเป็็นเส้้นทางคมนาคมติิดต่่อกัับพื้้�นที่ ่� อื่่�น เมืืองใน แอ่่งสกลนครจึึงติิดต่่อกัับภายนอกตลอดเวลาโดยเฉพาะ ระหว่่างภููมิิภาคลุ่่มน้้ำโขงและสาขาตั้้�งแต่่ทางตอนใต้้ของ จีีน หััวเมืืองล้้านนา-ล้้านช้้าง ที่ ่� ราบสููงตรัันนิินท์์หรืือเชีียง ขวาง แถบจำปาศัักดิ์์�และลุ่่มน้้ำโขงตอนล่่าง นอกจากนี้้�ยััง มีีเส้้นทางบกเชื่่�อมต่่อไปยัังเวีียดนามและชายฝั่่�งทะเลจีีนใต้้ ด้้วย รวมถึึงเส้้นทางบกผ่่านแอ่่งโคราชข้้ามช่่องเขาในเขต ดงพระยาไฟเชื่่�อมต่่อกัับลุ่่มน้้ำเจ้้าพระยา หรืือใช้้เส้้นทาง ผ่่านช่่องเขาทางตะวัันตกแล้้วล่่องตามแม่น้้ ่ ำน่่าน แม่น้้ ่ ำป่่า สัักต่่อกัับแม่่น้้ำเจ้้าพระยา การติิดต่่อระหว่่างแอ่่งสกลนคร กัับแอ่่งโคราชหรืือลุ่่มน้้ำชีีลุ่่มน้้ำมููล นอกจากทางลำน้้ำโขง ที่่�สามารถดิินทางต่่อไปถึึงเมืืองเขมราฐ อุุบลราชธานีี และ จำปาศัักดิ์์�แล้้วยัังมีีเส้้นทางบกซึ่่�งถืือว่่าเป็็นเส้้นทางสำคััญ และมีีมาตั้้�งแต่่สมััยโบราณ จากเขตเวีียงจัันทน์์-หนองคาย มีีเส้้นทางบกมายัังแอ่่งโคราช ผ่่านทางเมืืองหนองหาน น้้อย กุุมภวาปีีผ่่านที่ ่� ราบสููงซึ่่�งเป็็นเส้้นทางระหว่่างเทืือก เขาภููพานทางตะวัันออกกัับเขตทะเลภูเขาทางูตะวัันตกแถบ เมืืองเลยและหนองบััวลำภูู ความสััมพัันธ์์ทางเศรษฐกิิจ ระหว่่างแอ่่งสกลนครและแอ่่งโคราชมีีพื้้�นฐานมาตั้้�งแต่่ยุุค ก่่อนประวััติิศาสตร์สืื์บต่่อจนถึึงถึึงปััจจุบัุัน มีีการแลกเปลี่่�ยน ผลผลิิตที่ ่�มีีของแต่่ละท้้องถิ่่�น และมีีการเคลื่่�อนย้้ายผู้้�คน ระหว่่างสองพื้้�นที่่�อยู่่ตลอดเวลา1 เส้้นทางคมนาคมในภาค อีีสานนอกจากเป็็นเส้้นทางการติิดต่่อระหว่่างผู้้�คนในภาค อีีสานกัับชุุมชนภายนอก ยัังเป็็นเส้้นทางเชื่่�อมเศรษฐกิิจ ภายในอีีสานรวมถึึงเศรษฐกิิจระหว่่างอีีสานกัับพื้้�นที่อื่ ่� ่�นด้วย้ 1 ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชา ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๙ หน้้า ๑๓๓-๑๓๗. ! สรุุป ภาคอีีสานมีีพััฒนาทางประวััติิศาสตร์์มาตั้้�งแต่่ยุุค ก่่อนประวััติิศาสตร์์ พบหลัักฐานแสดงถึึงการตั้้�งถิ่่�นฐาน ของผู้้�คนอย่่างต่่อเนื่่�อง ปััจจััยสำคััญที่ ่� ส่่งผลต่่อพััฒนาการ ของชุุมชนในอีีสาน ประกอบด้้วย ๓ ปััจจััย ได้้แก่่ ที่ ่�ตั้้�ง ทรัพัยากรธรรมชาติิ และผู้้�คน ภาคอีีสานหรืือที่ร ่� าบสููงโคราช มีีพื้้�นที่่�ขนาดใหญ่่คิิดเป็็น 1 ใน 3 ของพื้้�นที่่�ประเทศไทย ทั้้�งหมด เดิิมการติิดต่่อกัับพื้้�นที่ร ่� อบนอกใช้้เส้้นทางปราการ ธรรมชาติิเป็็นสำคััญ ด้้านตะวัันออกใช้้แม่่น้้ำโขงติิดต่่อ กัับเมืืองในฝั่่�งซ้้ายของแม่่น้้ำโขงหรืือประเทศสาธารณรััฐ ประชาธิิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ในปััจจุุบััน หรืือ เป็็นเส้้นทางคมนาคมระหว่่างเมืืองในภาคอีีสานที่ตั้้่� �งอยู่่ติิด กัับแม่น้้ ่ ำโขง ด้าน้ตะวัันตกใช้้ช่่องเขาในเทืือกเขาเพชรบููรณ์์ เทืือกเขาดงพระยาเย็็น เทืือกเขาสัันกำแพง ติิดต่่อกัับผู้้�คน ในบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มน้้ำเจ้้าพระยาหรืือเขตภาคกลาง รวมถึึง ภาคเหนืือ ภาคตะวัันออกของประเทศไทยในปััจจุุบััน ทิิศ ใต้้ใช้้ช่่องเขาในเทืือกเขาพนมดงรัักติิดต่่อกัับดิินแดนเขมรต่่ำ หรืือประเทศราชอาณาจัักรกััมพููชาในปััจจุุบััน เส้้นทางการ คมนาคมที่่�ใช้้เชื่่�อมต่่อกัับพื้้�นที่ ่� ภายนอกทำให้้ภาคอีีสาน เป็็นดิินแดนเปิิดมีีการติิดต่่อกัับภายนอกอย่่างต่่อเนื่่�อง นำ ไปสู่่การส่่งต่่อและรัับวััฒนธรรมจากภายนอก การเคลื่่�อน ย้้ายอพยผู้้�คนเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานเป็็นระลอก ๆ การเป็็น เส้้นทางเดิินทััพในสงครามครั้้�งสำคััญ เช่่น สงครามธนบุุรีี- เวีียงจัันทน์์ สงครามเจ้้าอนุุวงศ์์ รวมถึึงเป็็นเส้้นการค้้า ภายหลัังจากการสร้้างเส้้นทางรถไฟกรุุงเทพฯ-นครราชสีีมา เปิิดทำการ พ.ศ. ๒๔๔๓ การเดิินทางของผู้้�คนระหว่่าง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 221 พื้้�นที่ ่�อีีสานกัับบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำเจ้้าพระยาเป็็นไป อย่่างสะดวกและรวดเร็็วขึ้้�น เส้้นทางรถไฟมีีจุุดมุ่่งหมาย เพื่่�อประโยชน์์ในด้้านการปกครองในช่่วงการปฏิิรููปการ ปกครอง ขณะเดีียวกัันก็็ทำให้้เกิิดการเชื่่�อมต่่อเศรษฐกิิจ ของกรุุงเทพฯกัับพื้้�นที่ ่�อีีสานอย่่างแนบแน่่นขึ้้�น ภาคอีีสานยัังมีีทรััพยากรธรรมชาติิที่ ่� อุุดมสมบููรณ์์ เป็็นปััจจััยภายในที่ ่� ส่่งผลให้้พื้้�นที่ ่�อีีสานมีีความสำคััญต่่อ พื้้�นที่ ่� อื่่�นอย่่างต่่อเนื่่�อง เกลืือและเหล็็กเป็็นทรััพยากร ทางธรรมชาติิและผลผลิิตส่่วนเกิินมาตั้้�งแต่่ยุุคก่่อน ประวััติิศาสตร์์และอาจนัับเป็็นปััจจััยหนึ่่�งของการแผ่่ขยาย อิิทธิิพลของอาณาจัักรเขมรโบราณเข้้ามายัังเมืืองในอีีสาน ด้้วย หลัักฐานร่่วมสมััยในสมััยรััตนโกสิินทร์์แสดงให้้เห็็นว่่า หนึ่่�งในหลัักเกณฑ์์การตั้้�งเมืือง คืือ เมืืองทุุกเมืืองต้้องระบุุ ส่่วยที่ ่�ต้้องส่่งให้้กรุุงเทพฯ อย่่างชััดเจน สะท้้อนถึึงความ สำคััญของส่่วยของอีีสานต่่อเศรษฐกิิจของกรุุงเทพฯ เนื่่�อง ด้วยก้รุุงเทพฯจะนำส่่วยไปเป็็นสิินค้้าเพื่่�อซื้้�อขายกัับชาวต่่าง ชาติิ ราชสำนัักสยามจึึงอนุุญาตให้้มีีการตั้้�งเมืืองในอีีสาน อย่่างต่่อเนื่่�องเนื่่�องด้้วยประโยชน์์ที่่�จะได้้รัับจากส่่วยของ เมืืองนั้้�น ๆ ภายหลัังการสร้้างทางรถไฟสายกรุุงเทพฯ - นครราชสีีมา พบการส่่งข้้าวและสุุกรจากภาคอีีสานลำเลีียง ไปพร้้อมขบวนรถไฟ สิินค้้าทางการเกษตรจากแหล่่งผลิิต ที่ ่� ภาคอีีสานจึึงนัับเป็็นอีีกหนึ่่�งทรััพยากรธรรมชาติิที่่�สำคััญ ของอีีสาน ภาคอีีสานประกอบด้้วยกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่่�หลาก หลายที่่�เป็็นผลจากการตั้้�งเมืืองในอีีสานช่่วงหลัังสงคราม เจ้้าอนุุวงศ์์ เกิิดการอพยพผู้้�คนจากฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงมายััง ฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงโดยเฉพาะเมืืองในแอ่่งสกลนคร ก่่อนการ เลิิกไพร่่ ทาส กำลัังคนโดยเฉพาะชายฉกรรจ์์ทำหน้้าที่ ่� เป็็นแรงงานการผลิิต งานโยธา ทหารในช่่วงสงคราม เก็็บ รวบรวมส่่วย เป็็นแหล่่งผลประโยชน์์ที่ ่� ส่่วนกลางตอบแทน ให้้กัับผู้้�ปกครองท้้องถิ่่�น หลัักเกณฑ์์การขอตั้้�งเมืืองในภาค อีีสานต้้องระบุุประชากรแรกตั้้�งพร้้อมด้้วย ภายหลัังเมื่่�อมีี การลงนามในสนธิิสััญญาเบาว์์ริิง พ.ศ. ๒๓๙๘ ข้้าวกลาย เป็็นสิินค้้าส่่งออกอย่่างเสรีีและเป็็นสิินค้้าส่่งออกที่่�สำคััญ ทำให้้เกิิดการขยายพื้้�นที่่�ในการปลููกข้้าวในเขตภาคกลาง เกิิดความต้้องการแรงงานคนและแรงงานสััตว์์ในการเพิ่่�ม พื้้�นที่่�การผลิิต พบนายฮ้้อย (พ่่อค้้าพื้้�นเมืือง) นำแรงงาน จากภาคอีีสานไปทำนาในภาคกลาง กำลัังคนจึึงนัับเป็็น ปััจจััยภายในที่่�สำคััญต่่อการปกครองและเศรษฐกิิจของ อีีสาน และเป็็นแรงงานการผลิติให้้กัับเศรษฐกิิจของประเทศ ภาคอีีสานมีีขนาดพื้้�นที่่�และจำนวนประชากร มากที่ ่� สุุดในประเทศไทย มีีที่่�ตั้้�งติิดต่่อกัับประเทศเพื่่�อน บ้้าน ๓ ประเทศ ทำหน้้าที่่�เป็็นสะพานเชื่่�อมโยงเศรษฐกิิจ ของประเทศในอนุุภููมิิภาคลุ่่มแม่่น้้ำโขง จากหลัักฐานทาง ประวััติิศาสตร์์ในช่่วงเวลาต่่าง ๆ สะท้้อนให้้เห็็นว่่าด้วย้ที่ตั้้่� �ง ทรััพยากรธรรมชาติิ และผู้้�คนในภาคอีีสานล้้วนเป็็นปััจจััย หลัักที่่�ทำให้้ภาคอีีสานเป็็นอีีกหนึ่่�งภููมิภิาคของประเทศไทย ที่ ่�มีีความสำคััญมาตั้้�งแต่่สมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์จนถึึง ปััจจุุบััน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 222


บทสรุุป บทสรุุป ประวััติิศาสตร์ ์ ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้ ้ างเมืือง 223 ข้้อมููลประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นที่่�นำเสนอผ่่านข้้อมููลระดัับภููมิิภาคทั้้�งหมดนั้้�น แม้้อาจยัังไม่่ได้้ ครบถ้้วนบริิบููรณ์์ แต่่ก็็ได้้ให้้ภาพพลวััตของท้้องถิ่่�นที่ ่�มีีรากเหง้้าของตนเองได้้เป็็นอย่่างดีี การมอง ประวััติิศาสตร์พื้้์ �นที่่�โดยรวมของประเทศไทยในปััจจุบัุันหรืือดิินแดนที่่�ใหญ่ขึ้่ ้�นเป็็นสุุวรรณภููมินั้้ิ�น ทำให้้ เปลี่่�ยนมุุมมองประเทศไทยใหม่ว่่ ่าเป็็นศููนย์์กลางของเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้มานานหลายพัันปีี และ การก่่อร่่างสร้้างเมืืองนั้้�นก็็เป็็นฝีมืืีอและแรงงานที่่�มาจากท้้องถิ่่�นทั้้�งสิ้้�น ประเด็็นทางประวััติิศาสตร์ที่์ ่�ได้้ จากการนำเสนอข้้อมููลประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นทั้้�ง ๔ ภููมิิภาค มีีดัังนี้้� 1. พััฒนาการของท้้องถิ่นไ ่�ทยในแนวทางสามเส้้าประวััติิศาสตร์์ การพััฒนาท้้องถิ่่�นทั้้�ง 4 ภููมิิภาค หรืืออีีกนััยหนึ่่�งคืือดิินแดนทั้้�งหมดของประเทศไทยนั้้�น มีี ความเป็็นอัันหนึ่่�งอัันเดีียวกัันอย่่างแยกไม่่ออก และอาจะสัังเคราะห์์องค์์ความรู้้�ได้้ว่่า ในพััฒนาการนั้้�น มีี3 เส้้าประวััติิศาสตร์์เกี่่�ยวข้้องกัันคืือ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 224 1. มิิติิทางศาสนา อาจนัับรวมถึึงความเชื่่�อท้้อง ถิ่่�น และความเชื่่�อเมื่่�อแรกรัับศาสนาเข้้ามา โดยปกติิแล้้ว ในพิ้้�นที่ ่� สุุวรรณภููมิิมีีการนัับถืือผีีท้้องถิ่่�นอยู่่แล้้ว ทั้้�งที่่�เป็็น ผีีบรรพบุุรุุษ ผีีประจำหมู่่บ้้านหรืือเมืือง และผีีที่่�มีีตาม ธรรมชาติิ การนัับถืือผีีเหล่่านี้้�เป็็นความเชื่่�อของคนใน การหาสิ่่�งปกปัักรัักษา หรืือสิ่่�งที่่�สามารถเชื่่�อมโยงกัับเรื่่�อง เหนืือธรรมชาติิ อัันจะเป็็นการอำนวยให้้ฟ้้าฝนตกต้้องตาม ฤดููกาล ต่่อมาเมื่่�อมีีผู้้�คนอยู่่อาศััยเพิ่่�มมากขึ้้�น ย่่อมต้้องมีีผู้้� ที่่�สามารถสื่่�อสารกัับเรื่่�องเหนืือธรรมชาติิได้้จึึงเกิิดบทบาท ของหมอผีี แม่่มด หรืือร่่างทรงขึ้้�น ทั้้�งนี้้�โดยนััยหนึ่่�งก็็คืือ ผู้้�ปกครองที่่�ได้้รัับอาณััติิจากธรรมชาติิในการปกป้้องดููแล ลููกบ้้าน และทำให้้เกิิดความอุุดมสมบููรณ์์ ครั้้�นเมื่่�อศาสนา ต่่างๆ อุุบััติิขึ้้�น และแพร่่เข้้ามา ทำให้้บทบาทของผีีประจำ หมู่่บ้้านลดลง อยู่่ภายใต้้ความเชื่่�อทางศาสนา ทั่่�วทุุกภาคของประเทศไทย ศาสนามีีบทบาทสููงใน การรวมผู้้�คนที่มีี่� ความเชื่่�อและยึึดถืือสิ่่�งเดีียวกัันให้้เข้้ามาอยู่่ ด้้วยกััน ดัังปรากฏเป็็นรููปธรรมผ่่านประเพณีีปฏิิบััติิต่่าง ๆ และสร้้างส่ิิงที่่�เป็็นตััวแทนของความเชื่่�อ เช่่นเจดีีย์์หรืือ พระพุุทธรููปในพุุทธศาสนา บทบาทของศาสนาจึึงมิิใช่่เป็็น เพียงกาี รสั่่�งสอนตามหลัักคำสอนเท่่านั้้�น แต่ยั่ ังเป็็นเสมืือน แกนกลางในการชี้้�นำสัังคมให้้ดำเนิินไปและสร้้างสรรค์์งาน ศิิลปะขึ้้�นมาอีีกด้วย ในภู ู้มิภิาคของประเทศไทย จะเห็็นได้้ว่่า อิิทธิิพลพุุทธศาสนามีีบทบาทสููง ผู้้�คนนัับถืือพระสงฆ์์ และ สร้้างรููปเคารพต่่าง ๆ ดัังเช่่นในสมััยทวารวดีีที่อิ ่� ิทธิิพลพุุทธ ศาสนาแพร่่เข้้ามาในดิินแดนสุุวรรณภููมิิ และขยายอิิทธิิพล ไปถึึงภาคเหนืือที่่�หริิภุุญชััย ที่ ่� ตะวัันออกเฉีียงเหนืือที่่�เมืือง ฟ้้าแดดสงยางและเมืืองอื่่�น ๆ ภาคใต้้ที่่�เมืืองยะรััง เป็็นต้้น แม้้อิิทธิิพลทวารวดีีจะไปผสมผสานกัับพุุทธศาสนาที่่�เข้้า มาก่่อนแล้้ว เช่่นที่ ่� ภาคใต้้ แต่่ก็็ไม่่ได้้ทำให้้เกิิดการขััดแย้้ง แต่่อย่่างใด มิิติิทางศาสนานี้้�จะแสดงให้้เห็็นถึึงการลื่่�นไหล ของวััฒนธรรมความเชื่่�อ และผู้้�คนที่่�จะนำพาศาสนาไปยััง พื้้�นที่ ่� ต่่าง ๆ ได้้เป็็นอย่่างดีี 2. มิิติิทางการเมืืองการปกครอง ในอดีีตการแบ่่ง พื้้�นที่่�เป็็นส่่วนต่่าง ๆ นั้้�น ไม่่ได้ป้รากฏเด่่นชัดั เพราะผู้้�คนไม่่ มากและไม่มีี่ความซัับซ้อนในกา ้รปกครอง เส้้นแบ่่งระหว่่าง ชุุมชนไม่มีี่ต่่างใช้้ความสััมพัันธ์์ในระบบสายโลหิติและภาษา ประเพณีี ในการยึึดว่่าเป็็นคนกลุ่่มเดีียวกััน หรืือมีีสายเลืือด เดีียวกััน การปกครองจึึงเป็็นกลุ่่มหมู่่บ้้านหรืือขยายขึ้้�นเป็็น เมืือง ต่่างปกครองกัันเองโดยใช้้กฎที่ตั้้่� �งขึ้้�นมาภายใน เมื่่�อมีี อาณาจัักรหรืือรััฐเกิิดขึ้้�นแล้้ว ก็็ย่่อมต้้องใช้้ระบบปกครอง แบบลดหลั่่�นกัันไปตามพื้้�นที่่� แต่่ก็็ยัังรัับนโยบายจาก ศููนย์์กลางทั้้�งในการปราบปรามให้้เกิิดความสงบเรีียบร้้อย และการสร้้างหรืือพััฒนาพื้้�นที่่�ให้้เจริิญขึ้้�น เช่่น สร้้างถนน หนทาง ตลาดการค้้า ท่่าเรืือ บ้้านเรืือน หน่่วยงานราชการ เพื่่�อตอบสนองในการจัดัหาสิ่่�งของหรืือเงิินให้้กัับศููนย์์กลาง 3. มิิติิทางเศรษฐกิิจ นัับเป็็นหััวใจใหญ่่ของการ พััฒนาประเทศ ท้้องถิ่่�นไทยทั้้�ง 4 ภาคนั้้�น ได้้ตอบสนอง รััฐศููนย์์กลางทั้้�งในด้้านการจััดหาทรััพยากร การผลิิต การ ขนส่่ง และการขาย สิินค้้าในภููมิภิาคต่่าง ๆ จะกระจายตััวไป ซื้้�อขายกัันในดิินแดนอื่่�น ๆ มาตั้้�งแต่่สมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์ แม้้ในระยะเวลาดัังกล่่าวอาจเป็็นระบบเศรษฐกิิจแบบแลก เปลี่่�ยนก็็ตาม ต่่อมาสิินค้้าจากภาคอื่่�นๆ จะเป็็นที่ ่�ต้้องการ และเกิิดการซื้้�อขายกัันข้้ามภููมิิภาคได้้โดยง่่าย การที่ ่� สิินค้้า และพ่่อค้้าเดิินทางไปมาค้้าขายทั่่�วทุุกภููมิิภาคเช่่นนิ้้� จะเกิิด การซึึมซัับวััฒนธรรมและเลีียนแบบวััฒนธรรมต่่างๆ เช่่น การแต่่งกาย อาหาร ศิิลปะ จากที่่�หนึ่่�งไปยัังอีีกที่่�หนึ่่�งได้้ง่่าย


บทสรุุป 225 ตััวอย่่างที่น่ ่� ่าสนใจในสมััยกรุุงศรีีอยุธุยา เมืืองหลวง ศููนย์์กลาง เป็็นที่ ่� รัับสิินค้้าจากภููมิิภาคต่่าง ๆ ทั้้�งภาคเหนืือ ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ภาคใต้้ ทำให้้เกิดริะบบเศรษฐกิิจ มีีการขนส่่ง การจัดัเก็็บในรููปแบบคลัังสิินค้้า มีีระบบเงิินตรา การแลกเปลี่่�ยน ตลอดจนระบบล่่าม ที่่�คอยเอื้้�อประโยชน์์ ให้้กัับการค้้า ดัังนั้้�นศููนย์์กลางของรััฐในทุุกสมััยจะได้้รัับ ประโยชน์์อย่่างเต็็มที่่�จากมิิติิเศรษฐกิิจนี้้� 2. ทุุกภููมิิภาคของประเทศไทยมีีความเจริิญอย่่างขีีดสุุด ทั้้�งคน และทรััพยากร หากสัังเกตข้้อมููลเกี่่�ยวกัับที่ ่�ตั้้�งทางภููมิิศาสตร์์ ภููมิิ อากาศ และทรััพยากรธรรมชาติิที่ ่� พบทั่่�วประเทศไทยตาม แผนที่่�ในปััจจุุบัันจะพบว่่า ที่ ่�ตั้้�งของประเทศไทยนั้้�นอยู่่ บริิเวณกึ่่�งกลางของภาคพื้้�นทวีีปเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ จึึงเป็็นพื้้�นที่่�เหมาะสมสำหรัับการเพาะปลููก เพราะอยู่่ใน ระดัับเขตร้้อนชื้้�นที่ ่�มีีฝนตกชุุกโดยเฉลี่่�ยตลอดปีีทำให้้มีีพืืช พรรณต่่างๆ หลากหลายสายพัันธุ์์ขึ้้�นกระจััดกระจายตาม ภููมิิภาคต่่าง ๆ ในสมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์ หลัักฐานโบราณคดีีเช่่น ภาชนะดิินเผาที่่�ใช้้ในชีีวิติประจำวัันของมนุุษย์์ และเครื่่�องมืือ ในการดำรงชีีวิิตเช่่น มีีด หอก เป็็นเครื่่�องมืือที่่�แสดงว่่า คนในดิินแดนไทยมีีความเจริิญ และสามารถยัังชีีพอยู่่ได้้ โดยสััมพัันธ์์กัับธรรมชาติิ เช่่นใช้้หิินที่ ่� พบในท้้องถิ่่�นนำมา กะเทาะ ลัับให้้คม เป็็นใบมีีด ทั้้�งพืืชพรรณ ต่่าง ๆ ที่ ่�มีีอยู่่ อย่่างมากก็็เป็็นวััสดุุที่่�ใช้้ทำเครื่่�องนุ่่งห่่ม มุุงหลัังคาที่ ่� พััก อาศััย และเป็็นอาหารไปพร้้อมกััน ต่่อมาข้้อมููลความอุุดมสมบููรณ์์ของทรััพยากร ธรรมชาติิของสยาม ได้้รัับการยืืนยัันในเอกสารประวััติิศาสตร์์ ที่ ่� บัันทึึกโดยชาวต่่างชาติิ ตั้้�งแต่่เมื่่�อแรกที่่�ชาติิตะวัันตกเดิิน ทางเข้้ามาในสยามแล้้ว ดัังเช่่นโตเม่่ ปิิเรส ชาวโปรตุุเกสรุ่่น แรกที่ ่� บัันทึึกข้้อมููลสยาม ได้้พรรณนาไว้้ว่่า “สยามมีีการปลููกข้้าวอย่่างเหลืือเฝืือเป็็นอัันมาก มีี เกลืือ ปลาแห้้ง ปลาเค็็ม ออรากััวส์์ ผัักต่่างๆ เป็็นจำนวน มาก ในแต่่ละปีีจะมีีเรืือสำเภาบรรทุุกสิินค้้าเหล่่านี้้�มายััง มะละกาถึึง ๓๐ ลำ สิินค้้าต่่างๆ ที่่�มาจากสยามได้้แก่่ ครั่่�ง กำยาน ไม้้ฝาง ตะกั่่�ว ดีีบุุก เงิิน ทอง งาช้้าง ไม้้คููณ พวกเขา นำภาชนะทำด้วยทองแ้ดงและทอง แหวนทัับทิิมและแหวน เพชรมาขาย นอกจากนี้้ก็�ยั็ ังนำผ้้าชนิดิเนื้้�อหยาบมาขายให้้ พวกที่่�ไม่่มีีเงิิน มีีคำกล่่าวว่่าสิ่่�งที่ ่� พวกเขานำกลัับไปสยามก็็ มีีพวกทาสทั้้�งชายและหญิิงเป็็นจำนวนมาก นอกจากนั้้�นก็็ ยัังได้้นำไม้้จัันทน์์ขาว พริิกไทย ปรอท ชาด ฝิ่่�น อโซเนเฟ กานพลููดอกจัันทน์์เทศ ลููกจัันทน์์เทศ ผ้้ามััสลิินอย่่างกว้้าง และแคบ ผ้้าของพวกกลิิงค์์ที่่�คนสยามนิิยมใช้้ผ้้าทอขนอููฐ น้้ำกุุหลาบ พรม ผ้้าเยีียรบัับและตาด จากแคมเบย์์ หอยเบี้้�ย สีีขาว ขี้้�ผึ้้�ง พิิมเสน รากไม้้หอม สมอดีีงููสิินค้้าอื่่�นๆ ที่่�มา จากเมืืองจีีนก็็เป็็นของที่ ่�มีีราคาด้้วย” ตััวอย่่างข้้อมููลนี้้� สอดคล้้องกัับเอกสารตะวัันตก อีีกเป็็นจำนวนมากที่ ่� พรรณนาเรื่่�องความอุุดมสมบููรณ์์ของ ทรััพยากรธรรมชาติิและแร่่ธาตุุ ในบัันทึึกของบาทหลวง ตาแวร์์นิิเยร์์ ชาวฝรั่่�งเศส ในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ บัันทึึกว่่า “ราชอาณาจัักรสยามทั้้�งหมดนั้้�นอุุดมสมบููรณ์์มาก ทั้้�งข้้าว และไม้้ผล ส่่วนใหญ่่แล้้วมีีชื่่�อเรีียกว่่ามะม่่วง ทุุเรีียนและ มัังคุดุผืืนป่่าอุดุมสมบููรณ์์ไปด้วยกวาง ้ ช้้าง เสืือ แรด และลิิง ป่่าทุุกแห่่งล้้วนอุดุมไปด้วย้ ต้้นไผ่ที่่สูู ่� งยาวเป็็นปล้้องลู่่ลมไป มาแต่่แข็็งราวกัับเหล็็กกล้้า ที่ ่� ส่่วนปลายสุุดต้้นไผ่่มีีรัังแมลง ขนาดเท่่าศีีรษะคนแขวนอยู่่ รัังเหล่่านี้้�เป็็นสิ่่�งที่่�แมลงทำขึ้้�น จากดิินเหนีียว มีีรููเล็็ก ๆ ที่ ่�ก้้นรัังที่่�แมลงสามารถเข้้าไปได้้


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 226 และในรัังเหล่่านี้้�เหมืือนกัับรัังผึ้้�งที่่�จะแบ่่งเป็็นห้้องเล็็ก ๆ แยกกััน แมลงจะสร้้างรัังไว้้บนยอดไผ่่ เพราะถ้้าสร้้างรัังไว้้ บนพื้้�นดิินแล้้ว ในฤดููฝนที่กิ ่� ินเวลาราว ๔-๕ เดืือน รัังก็็จะถููก ทำลายไปหมด เพราะน้้ำท่่วมเมืือง บางคนต้้องระมััดระวััง งููเมื่่�อเดิินทางกลางคืืน มีีงููบางประเภทที่่�ยาวถึึง ๒๒ ฟุุต และมีี ๒ หััว แต่่หััวงููข้้างหนึ่่�งจะกลืืนกิินหางตััวเอง พอกิิน หมดแล้้วก็็จะไม่่อ้้าปากเลย ทั้้�งไม่่ขยัับอยู่่หลายเดืือน ยััง มีีสััตว์์มีีพิิษมากอีีกในสยามที่่�ยาวไม่่ถึึงฟุุต แต่่หางของมััน มีีลัักษณะเป็็น ๒ ง่่าม รููปร่่างหน้้าตาเหมืือนกัับที่่�เราเรีียก ซาลาแมนเดอร์์” ตััวอย่่างเอกสารบัันทึึกเหล่่านี้้� ยืืนยัันถึึงความอุดุม สมบููรณ์์ของสยามได้้เป็็นอย่่างดีีซึ่่�งในภููมิิภาคต่่างๆ ของ ไทยนั้้�นได้้กลายเป็็นศููนย์์กลางของการหาสิินค้้าป้้อนตลาด ต่่าง ๆ มาโดยตลอด ภาคเหนืือนั้้�น สิินค้้าของป่่าเป็็นของหายาก และ ไม้้ประเภทต่่างๆ เช่่นไม้้สััก ไม้้กฤษณา ไม้้ฝาง รวมทั้้�งของ ป่่านานาชนิิด ในขณะที่ ่� สิินค้้าบางประเภทของภาคตะวััน ออกเฉีียงเหนืือคืือผลิิตภััณฑ์์จากสััตว์์ หนััง เขาสััตว์์ งาช้้าง เกลืือ ฯลฯ ก็็มีีการแลกเปลี่่�ยนไปตามภููมิิภาคต่่าง ๆ ด้้วย ส่่วนภาคใต้้และภาคตะวัันตกนั้้�นสิินค้้าส่่วนใหญ่่เป็็นสิินค้้า บริิโภค ของสด ของแห้้ง ที่ ่�มีีการขนส่่งมาขายในศููนย์์กลาง ผ่่านเส้้นทางการค้้าด้้วยเช่่นกััน การค้้าทั้้�งในระดัับหมู่่บ้้าน ชุุมชน จะขยายไปถึึง ปฏิิสััมพัันธ์์ระหว่่างเมืือง และรััฐ โดยมีีสิินค้้าที่ ่�ต้้องการ เป็็นสื่่�อกลางในการแลกเปลี่่�ยนทำให้้ท้้องถิ่่�นดำรงอยู่่ในใน ฐานะผู้้�ผลิิต แต่่ในสุุวรรณภููมิินั้้�น ผู้้�ผลิิตก็็จะเป็็นผู้้�บริิโภค ไปพร้้อมกัันด้้วย ยิ่่�งความต้้องการในการซื้้�อขายสิินค้้าเพิ่่�ม มากขึ้้�นเท่่าใด คนในชุุมชนก็็ต้้องออกไปหาสิินค้้ามาป้้อน ตลาดมากขึ้้�นเท่่านั้้�น ในที่ ่� สุุดแล้้วสิินค้้าในท้้องถิ่่�นต่่าง ๆ ก็็จะกระจายออกไปสู่่ตามตลาด ซึ่่�งจะเป็็นร่่องรอยที่่�ทำให้้ เห็็นความสััมพัันธ์์ระหว่่างชุุมชนด้้วยกัันได้้ 3. มีีการรัับและแลกเปลี่ยน่�วััฒนธรรม ความเชื่่อในหลายระ�ดัับ กระทรวงวััฒนธรรมให้้ความหมายของคำว่่า วััฒนธรรมไทยไว้้ว่่า วิิถีีการดำรงชีีวิิตที่ ่�ดีีงาม ได้้รัับการ สืืบทอดจากอดีีตสู่่ปััจจุบัุันเป็็นผลผลิติของมนุุษย์ที่์ ่�แสดงถึึง ความเจริิญงอกงาม ทั้้�งด้้านวััตถุุ แนวคิิดจิิตใจ วััฒนธรรม ในท้้องถิ่่�นจะเป็็นเอกลัักษณ์์ของสัังคมท้้องถิ่่�นนั้้�น ๆ วััฒนธรรมคงอยู่่ได้เ้พราะการเรีียนรู้้�ของมนุุษย์ตั้้์ �งแต่่อดีีตมา จนถึึงปััจจุุบััน และสร้้างสรรค์์พััฒนาขึ้้�นใหม่่อย่่างต่่อเนื่่�อง วััฒนธรรมไทยที่่�สำคััญ จนกลายเป็็นวััฒนธรรมซึ่่�ง นานาชาติิยกย่่อง และคนไทยมีีความภาคภููมิิใจมาจนตราบ เท่่าทุุกวัันนี้้� ได้้แก่่ ภาษาไทย ไทยเรามีีภาษาและตััวอัักษรเป็็นของ ตนเองมาตั้้�งแต่่สมััยสุุโขทััย โดยพ่่อขุุนรามคำแหงมหาราช ได้้ทรงประดิิษฐ์์อัักษรไทยขึ้้�นใช้้ใน พ.ศ. ๑๘๒๖ และได้้มีี การแก้้ไขปรัับปรุุงและพััฒนาเปลี่่�ยนแปลงมาตามลำดัับ เนื่่�องจากเราได้้มีีการติิดต่่อเกี่่�ยวกัับนานาประเทศทั้้�งด้้าน เศรษฐกิิจ สัังคม วััฒนธรรม จึึงได้้รัับวััฒนธรรมภาษาต่่าง ชาติิเข้้ามาปะปนใช้้อยู่่ในภาษาไทย แต่่ก็็ได้้มีีการดััดแปลง จนกลายเป็็นภาษาไทยในที่ ่� สุุด ที่่�ใช้้อยู่่ในปััจจุุบัันนี้้� ศาสนา พลเมืืองไทยส่่วนใหญ่่ของประเทศเป็็นผู้้� นัับถืือพระพุุทธศาสนา และเป็็นศาสนาที่่�อยู่่คู่่บ้้านบ้้านมา ช้้านานแล้้ว ศาสนาจึึงมีีอิิทธิิพลต่่อการสร้้างสรรค์วั์ัฒนธรรม ด้้านอื่่�นๆ คนไทยได้้ยึึดถืือเอาหลัักคำสอนของพระพุุทธ ศาสนามาเป็็นหลัักในการดำเนิินชีีวิิต ขนบธรรมเนีียม ประเพณีีต่่างๆ ทั้้�งส่่วนรวมและส่่วนบุุคคล จะมีีพิิธีีทาง ศาสนาพุุทธเกี่่�ยวข้้องอยู่่เสมอ


บทสรุุป 227 การแต่่งกาย การแต่่งกายของคนไทยมีีแบบฉบัับ และมีีวิิวััฒนาการมานานแล้้ว โดยจะมีีการแต่่งกายที่ ่� แตกต่่างกััน ตามสมััยและโอกาสต่่างๆ โดยมีีวิวัิัฒนาการมา ตั้้�งแต่่สมััยสุุโขทััยจนถึึงปััจจุุบัันนี้้�คนส่่วนใหญ่่แต่่งกายตาม สากลอย่่างชาวตะวัันตก หรืือตามแฟชั่่�นที่่�แพร่่หลายเข้้า มา แต่่คนไทยส่่วนใหญ่่ก็็ยัังมีีจิิตใจที่ ่� รัักในวััฒนธรรมการ แต่่งกายของไทยแบบดั้้�งเดิิมอยู่่ ศิิลปกรรม ถืือเป็็นภููมิปัิัญญาไทยที่่�สำคััญ โดยเป็็น ผลงานที่่�สร้้างขึ้้�นเพื่่�อความสวยงามก่่อให้้เกิิดความสุุขทาง ใจ ส่่วนใหญ่่จะเป็็นงานที่่�สร้้างสรรค์์ขึ้้�นด้้วยแรงบัันดาลใจ จากพุุทธศาสนา และเป็็นการแสดงความเคารพและจงรััก ภัักดีีต่่อพระมหากษััตริิย์์ ได้้แก่่ ผลงานที่่�ปรากฏตามวััดวา อารามต่่างๆ เรืือนไทยที่ ่�มีีลัักษณะเฉพาะพิิเศษ ศิิลปกรรม ไทยที่่�สำคััญได้้แก่่ สถาปััตยกรรม ประติิมากรรม จิิตรกรรม นาฏศิิลป์์ ดุุริิยางคศิิลป์์ วรรณกรรม ในแต่่ละภููมิิภาคของประเทศไทย มีีทั้้�งวััฒนธรรม ที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์ของตนเองเช่่นสำเนีียงภาษา การแต่่งกาย อาหารการกิิน ความเชื่่�อท้้องถิ่่�น ซึ่่�งเกิดิจากการสั่่�งสมความ รู้้� ผสานกัับความเชื่่�อ ประวััติิศาสตร์์ตำนานจนสร้้างสรรค์์ เป็็นรููปธรรมขึ้้�น นอกจากนี้้�ยัังมีีการส่่งผ่่านวััฒนธรรมนั้้�น ไปตามเมืืองต่่าง ๆ ที่่�ได้้รัับอิิทธิิพลทางวััฒนธรรมด้้วย เช่่น อิิทธิิพลวััฒนธรรมทวารวดีีที่่�เจริิญขึ้้�นบริิเวณภาคกลางของ ประเทศไทย และได้้แพร่่กระจายไปถึึงบริิเวณภาคเหนืือ ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ก็็จะมีีการสร้้างสรรค์์เมืือง และ ศิิลปวััตถุุที่ ่�มีีความคล้้ายคลึึงกััน เช่่น ขุุดคููน้้ำคัันดิินรอบ เมืือง การสร้้างพระพุุทธรููป รููปเคารพในศาสนา การแลก เปลี่่�ยนวััฒนธรรมในสัังคมไทยเห็็นได้้ชัดัเจนมาก โดยเฉพาะ เมื่่�อเกิดิการเคลื่่�อนย้้ายถิ่่�นฐานผู้้�คน และมีีการตั้้�งชุุมชนใหม่่ เช่่น ชุุมชนชาวจีีนที่่�ไปตั้้�งถิ่่�นฐานใหม่ก็่ ็จะรวมกลุ่่มกััน มีีการ สร้้างศาลเจ้้าจีีนเป็็นศููนย์์กลางของชุุมชน เอกลัักษณ์์สำคััญของการที่ ่� วััฒนธรรมไทย เป็็นการผสมผสานนั้้�น มีีมาตั้้�งแต่่อดีีต ในสมััยประวััติิศาสตร์์ การนัับถืือพระพุุทธศาสนาเถรวาทเข้้ามาหลัังจากที่่�ความ เชื่่�อในเรื่่�องพราหมณ์์ฮิินดูู และพุุทธศาสนามหายานเข้้ามา ในดิินแดนสุุวรรณภููมิิปรากฏขึ้้�นก่่อนหน้้านั้้�นแล้้ว โบราณ วััตถุุเช่่นศิิวลึึงค์์ รููปเคารพพระโพธิิสััตว์์ พระสููตร เป็็นหลััก ฐานสำคััญที่ ่� บ่่งบอกว่่าวััฒนธรรมอัันกล้้าแข็็งทางศาสนา ความเชื่่�อมีีบทบาทต่่อวิิถีีชีีวิิตและการสร้้างสรรค์์งาน ศิิลปกรรมต่่าง ๆ ในสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา ปฏิิสััมพัันธ์์ระหว่่างวััด ศาสนสถานและชุุมชน ของคนในสัังคมอาจแบ่่งได้ ๒ ้ระดัับ คืือ ความสััมพัันธ์์ในแนวดิ่่�ง แสดงให้้เห็็นว่่ากลุ่่มพระ สงฆ์์ หรืือกลุ่่มบุุคคลผู้้�รู้้�ธรรมในศาสนาอื่่�นๆ จะได้้รัับการ ยกย่่องว่่าเป็็นผู้้�รู้้� สามารถสั่่�งสอนผู้้�อื่่�นได้้ และมีีบุุญมากที่ ่� จะสามารถรวบรวมผู้้�คนได้้ในระดัับหนึ่่�ง ความสััมพัันธ์์ใน แง่นี้้่ จึึ�งมุ่่งไปที่่�การปกครอง การจัดั ลำดัับพระสงฆ์์ กลุ่่มพระ สงฆ์์แม้้จะไม่่ได้้อยู่่ในกลุ่่มโครงสร้้างหลัักของสัังคมอยุุธยา ในระบบไพร่่-ทาส ก็็ตาม ก็็อาจนัับได้้ว่่าเป็็นกลุ่่มมีีอิิทธิิพล ทางการเมืืองและการต่่อรองทางการเมืืองสููง อย่่างหนึ่่�งนั้้�น เป็็นเพราะกลุ่่มนี้้�มีีอภิิสิิทธิ์์�ได้้รัับการยกเว้้นการถููกเกณฑ์์ แรงงาน และอาจได้้รัับความคุ้้�มครองจากร่่มกาสาวพััสตร์์ ได้้ในกรณีีเกิิดเหตุุการณ์์วุ่่นวายในเมืือง ตััวอย่่างเช่่นเมื่่�อ ปลายรััชกาลสมเด็็จพระนารายณ์์มหาราชก็็ทรงโปรดให้้ ขุุนนางที่่�อยู่่ในพระราชวัังเมืืองลพบุุรีีออกบวช เพื่่�อเลี่่�ยงที่ ่� จะถููกจัับประหารชีีวิติ หรืือแม้้แต่พร่ะสงฆ์์ทรงสมณศัักดิ์์�บาง รููปก็็สามารถซ่่องสุุมกำลัังพลและปราบดาภิิเษกขึ้้�นเป็็นพระ มหากษััตริิย์์ได้้


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 228 ความสััมพัันธ์์ในแนวระนาบ ความสััมพัันธ์์ ในแนวนี้้�อาจเห็็นได้้ชัดัจากบทบาทหน้้าที่่�ของวัดัหรืืออาราม ศาสนสถานต่่าง ๆ คืือการเข้้าถึึงกลุ่่มคนและการที่่�กลุ่่ม พลเมืืองสามารถเดิินทางเข้้ามาที่ ่� วััดได้้ด้้วยเหตุุผลต่่างกััน พระสงฆ์์อาจเป็็นทั้้�งครููอาจารย์์ หมอยา โหร หรืือเป็็นผู้้�นำ ในพิธีีิกรรมต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับชาวบ้้าน เช่่นพิธีีิกรรมการ เกิิด โกนจุุก แต่่งงาน จนกระทั่่�งเสีียชีีวิิต พิธีีิกรรมทางศาสนานัับว่่าเป็็นตััวเชื่่�อมโยงความ สััมพัันธ์์ระหว่่างชุุมชนและวััดได้้เป็็นอย่่างดีี เพราะตลอด ทั้้�งปีีชาวสยามมีีประเพณีีต่่าง ๆ มากมาย ประเพณีีและ พิิธีีกรรมเหล่่านี้้�เป็็นส่่วนหนึ่่�งของการจรรโลงความสัันติิสุุข ของชุุมชน เพราะพระสงฆ์์สามารถเทศน์สั่่์ �งสอนเรื่่�องความดีี ชั่่�วได้ กา้รสอดแทรกศีีลธรรมในเนื้้�อความเทศน์์ รวมทั้้�งการ แจ้้งข่่าวคราวต่่างๆ ทำให้้บทบาทของพระสงฆ์์ มิิเป็็นเพีียง ผู้สั่่้��งสอนทางธรรมเท่่านั้้�น เป็็นยัังหมายรวมถึึงผู้้�กำหนดเส้้น ทางทางโลกด้้วย ในทางกลัับกััน ชุุมชนก็็ใช้้วััดเป็็นแหล่่งเพาะบ่่ม ความรู้้�และการผลิิตงานศิิลปะ เช่่นการรวมตััวเพื่่�อสร้้างวััด หรืือการสร้้างงานศิิลป์์ในรููปแบบต่่าง ๆ ทั้้�งงานปููนปั้้�น งาน แกะสลััก งานปิิดทองประดัับกระจก หรืืองานประณีีตศิิลป์์ อื่่�น บางครั้้�งพระสงฆ์์เองก็็เป็็นผู้้�นำในงานด้าน้ นี้้�ด้วย ้ จึึงอาจ กล่่าวได้้ว่่าวัดัเป็็นศููนย์์กลางอย่่างดีียิ่่�งในการสร้้างสรรค์์และ สืืบทอดศิิลปวััฒนธรรมต่่าง ๆ อย่่างแท้้จริิง นอกจากนี้้� ยัังพบการรัับและแลกเปลี่่�ยน วััฒนธรรมระหว่่างภููมิิภาคตั้้�งแต่่อดีีตจนถึึงปััจจุุบัันอีีกด้้วย เช่่นวััฒนธรรมการกิิน การแต่่งกาย ความเชื่่�อ ประเพณีีซึ่่�ง บ่่งชี้้�ว่่าเกิิดการลื่่�นไหลของประชากร และมีี “สื่่�อกลาง” ใน การรัับและแลกเปลี่่�ยนวััฒนธรรมเช่่น พ่่อค้้า และผู้้�นำความ เชื่่�อศาสนา ก่่อให้้เกิดิการสร้้างสิ่่�งก่่อสร้้างแบบเดีียวกัันหรืือ ได้้รัับชุุดความคิิดเดีียวกััน เช่่น เมื่่�อแนวคิิดพุุทธศาสนา แบบลัังกาวงศ์์เข้้ามาในบริิเวณคาบสมุุทรไทย ที่่�เมืือง นครศรีีธรรมราชนั้้�น ได้้มีีแนวคิิดการสร้้างพระเจดีีย์์ขนาด ใหญ่ที่่ มีีช้้ ่� างปููนปั้้�นล้้อมรอบฐานพระเจดีีย์์ ซึ่่�งต่่อมาแนวคิดิ นี้้�ได้้เข้้ามาสู่่กรุุงศรีีอยุุธยาและผ่่านขึ้้�นไปยัังกำแพงเพชร สุุโขทััย และอาจถึึงล้้านนาตามลำดัับ จึึงปรากฏพระเจดีีย์์ ช้้างล้้อมหรืือช้้างรอบในเมืืองต่่าง ๆ 4. คนท้้องถิ่นส่�ร้้างเมืืองหลวง การขยายเมืืองออกไปโดยเฉพาะทางด้้าน กายภาพนั้้�น สิ่่�งที่่�เมืืองหลวงต้้องใช้้มากที่ ่� สุุดก็็คืือแรงงาน ของไพร่่ หรืือประชากรทั่่�วไปที่ ่�ต้้องขึ้้�นทะเบีียนและทำงาน รัับใช้้หลวง เพราะแรงงานไพร่่เหล่่านี้้�มีีจำนวนมากพอที่่�จะ ระดมกัันก่่อสร้้าง หรืือปรัับปรุุงเมืืองหลวงในระยะเวลาอััน รวดเร็็วได้้จึึงเป็็นที่สั ่� ังเกตได้้ว่่าการสร้้างเมืืองหรืือส่ิิงต่่าง ๆ ในเมืืองนั้้�น ย่่อมต้้องอาศััยแรงงานของคนจากท้้องถิ่่�น ต่่าง ๆ อยู่่เสมอ ดัังเช่่นตััวอย่่างของความเจริิญของกรุุง รััตนโกสิินทร์์นัับแต่่ที่ ่� พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้า จุุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ขึ้้�นใน พ.ศ. ๒๓๒๕ พื้้�นที่่�ทางกายภาพของกรุุงรััตนโกสิินทร์์เมื่่�อ แรกสร้้าง สืืบต่่อมาจากพื้้�นที่่�ของกรุุงธนบุุรีี คืือแม้้ว่่า กรุุงธนบุุรีีจะมีีพระราชวัังที่่�ประทัับทางฝั่่�งตะวัันตกของ แม่่น้้ำเจ้้าพระยา แต่่อาณาเขตของอาณาจัักรธนบุุรีีก็็ข้้าม ฝั่่�งแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยามาถึึงฝั่่�งพระนครทางทิิศตะวัันออกด้วย ้ ดัังที่่�สมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุรีีุโปรดให้้ขุดคููขึ้ ุ้�นที่ฝั่่� �งตะวัันออก ของแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยาแต่่บริิเวณตลาดใหญ่่ทางทิิศใต้้มาออก


บทสรุุป 229 ที่่�เหนืือแนวสนามใหญ่่ที่่�คนจีีนอาศััยอยู่่แต่่ก้้อน เรีียกว่่า คลองคููเมืืองชั้้�นใน ปััจจุบัุันนี้้ก็�คืื็อคลองคููเมืืองที่ผ่ ่� ่านบริิเวณ สะพานสมเด็็จพระปิ่่�นเกล้้าไปออกที่่�ปากคลองตลาด และ โปรดให้้ก่่อแนวกำแพงพระนครชั้้�นนอกเอาไว้้ด้้วย ครั้้�น แผ่่นดิินพระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลกมหาราช พระราชพงศาวดารกรุุงรััตนโกสิินทร์์รััชกาลที่่� ๑ บัันทึึกว่่า “เมื่ ่�อปีีขาล จััตวาศก ศัักราช ๑๑๔๔ นั้้�น พระบาทสมเด็็จพระบรมนารถบพิิตรพระเจ้้าอยู่่หััว ซึ่่�งเป็็น ปฐมในพระราชวงศ์์นี้้� ทรงพระปรารภจะสร้้างพระราชวััง ใหม่่ จึ่่�งดำรััสว่่า ฝั่่�งฟากตะวัันออกเป็็นชััยภููมิิที่่�ดีี แต่่เป็็นที่่� ลุ่่ม เจ้้ากรุุงธนจึ่่�งได้้มาตั้้�งอยู่่ฟากตะวัันตกซึ่่�งเป็็นที่่�ดอน ครั้้�ง นี้้�จะตั้้�งอยู่่ฝั่่�งฟากตะวัันตก ก็็เป็็นที่่�คุ้้งน้้ำเซาะ มีีแต่่ชำรุดุจะ พัังไป ไม่่มั่่�นคงถาวรยืืนอยู่่ได้้นาน แลเป็็นที่่�พม่่าข้้าศึึกมา แล้้วจะตั้้�งประชิิดติิดชานพระนครได้้โดยง่่าย อนึ่่�ง พระราชนิิเวศ พระราชนิิเวศน์์มณเฑีียร สถานตั้้�งอยู่่ในที่่�อุุปจาร ระหว่่างวััดทั้้�งสองกระหนาบอยู่่ ดููไม่่สมควรนััก ควรจะยัักย้้ายสร้้างขึ้้�นใหม่่ ให้้พ้้นข้้อเหตุุ รัังเกีียจต่่างๆ ก็็ในฝั่่�งฟากตะวัันออกที่่�ตั้้�งบ้้านเรืือนพระยา ราชาเศรษฐีี แลพวกจีีนอยู่่นั้้�น ชััยภููมิิดีีเป็็นที่่�แหลม จะ สร้้างขึ้้�นเป็็นพระมหานครให้้กว้้างขวางใหญ่่ ถึึงจะเป็็นที่่� ลุ่่มก็็คิิดถมขึ้้�นดีีกว่่า โดยจะมีีการศึึกสงครามมาหัักหาญก็็ จะได้้โดยยาก ด้้วยลำแม่่น้้ำเป็็นคููอยู่่กว่่าครึ่่�งแล้้ว จึ่่�งดำรััส สั่่�งพระยาธรรมาธิิบดีี พระยาวิิจิิตรนาวีี ให้้เป็็นแม่่กอง คุุมช่่างแลไพร่่ไปวััดที่่�จะตั้้�งพระนิิเวศน์์วัังใหม่่ ฟากฝั่่�ง กรุุงธนบุุรีีข้้างตะวัันออก ให้้พระยาราชาเศรษฐีีกัับพวก จีีนแลครอบครััวไปตั้้�งบ้้านเรืือนที่่�สวน ตั้้�งแต่่คลองใต้้ วััดสามปลื้้�มไปจนถึึงคลองเหนืือวััดสามเพงฯ แล้้วจึ่่�งได้้ สถาปนาสร้้างพระราชนิิเวศน์์มณเฑีียรสถาน ล้้อมด้้วย ปราการระเนีียดไม้้ไว้้ก่่อน พอเป็็นที่่�ประทัับอยู่่ควรแก่่ เวลา” ต่่อมาเกิิดลมพายุุพััดหนััก พระที่ ่�นั่่�งราชมณเฑีียร สถานและบ้้านเรืือนราษฎรถููกทำลายลง พระบาทสมเด็็จ พระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลกมหาราชจึึงโปรดให้้บููรณะ ซ่่อมแซมขึ้้�นให้้ดีีดัังเก่่า นอกจากที่่�ทรงสถาปนาพระราช มณเฑีียรขึ้้�นแล้้ว ยัังทรงพระราชอนุุสรณ์์ว่่าในกรุุงเทพทวารวดีี ศรีีอยุุธยานั้้�น ก็็มีีพระอารามสำคััญกลางพระนคร และมีี เสาชิิงช้้าโบสถ์พร์ าหมณ์์สำหรัับประกอบพิธีีิทางศาสนาของ เหล่่าพราหมณ์์ จึึงทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้สถาปนา พระอารามใหญ่่ขึ้้�นเป็็นศููนย์์กลางของกรุุงเทพมหานคร เรีียกชื่่�อในสมััยนั้้�นว่่าวััดมหาสุุทธาวาส หรืือวััดพระโต เพราะทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้อััญเชิิญพระพุุทธรููป ขนาดใหญ่่ศิิลปะสุุโขทััย คืือพระศรีีศากยมุุนีี ลงมาจากวััด มหาธาตุุกลางเมืืองสุุโขทััย มาประดิิษฐานไว้้ณ พระวิิหาร ที่่�กำลัังก่่อสร้้างขึ้้�น และที่่�ด้้านหน้้าของวััดนี้้� ทรงพระกรุุณา โปรดเกล้้าฯ ให้้ตั้้�งเทวสถานโบสถ์์พราหมณ์์และเสาชิิงช้้า ขึ้้�นเป็็นศููนย์์กลางของจัักรวาลตามความเชื่่�อพราหมณ์์ฮิินดูู ในระยะแรกนี้้พร�ะบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุฬุา โลกมหาราชทรงจัดพื้้ ั �นที่่�การใช้้สอยทางด้าน้ตะวัันออกของ กรุุงรััตนโกสิินทร์์เป็็นที่ ่�ตั้้�งทััพและเป็็นแนวต้้านทานข้้าศึึก รวมทั้้�งเป็็นที่ ่�ตั้้�งชุุมชนของผู้้�คนที่่�เป็็นคนเก่่า คืือ อพยพลง มาจากกรุุงศรีีอยุธุยาบ้้าง เป็็นคนกลุ่่มเดิิมบ้้าง และบางส่่วน เป็็นผู้้�คนที่่�เข้้ามาจากการกวาดต้้อนเมื่่�อเสร็็จสิ้้�นสงคราม เช่่น พวกทวาย พวกมุุสลิิม ส่่วนฝั่่�งตะวัันตกของแม่่น้้ำ เจ้้าพระยา ซึ่่�งถููกน้้ำกัดัเซาะเพิ่่�มมากขึ้้�นกลายเป็็นเรืือกสวน ผลไม้้ อย่่างไรก็ต็ามในช่่วงยุุคต้้นนี้้พื้้� �นที่ฝั่่� �งตะวัันออกเป็็นที่ ่� ตั้้�งบ้้านเรืือนและวััดโบราณมาก่่อนแล้้ว มีีชุุมชนหลายแห่่ง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 230 เช่่นท่่าเตีียน สำเพ็็ง การก่่อสร้้างเมืืองเพื่่�อรองรัับชุุมชนที่ ่� กวาดต้้อนลงมาจากหััวเมืืองต่่าง ๆ และคนที่่�กลัับเข้้ามา พึ่่�งพระบรมโพธิิสมภารนี้้� ปรากฏหลัักฐานใน พ.ศ. ๒๓๒๘ เมื่่�อทรงพระกรุุณาให้้ตั้้�งกองสัักเลขไพร่่หลวง ไพร่่สมกำลััง และเลขหััวเมืือง กะเกณฑ์์ให้้ทำอิิฐที่่�จะก่่อกำแพงพระนคร โปรดให้้รื้้�อป้้อมวิิไชเยนทร์์และแนวกำแพงเมืืองเก่่าฟาก ตะวัันออก ซึ่่�งหมายถึึงแนวกำแพงพระนครที่่�อยู่่รอบคลอง ดููเมืืองเดิิม ที่่�เคยใช้้เป็็นแนวกำแพงพระนครมาแต่่ครั้้�งสมััย สมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุุรีีมาก่่อน จากนั้้�นทรงพระกรุุณา โปรดเกล้้าฯ ให้้ขยายพระนครออกไป โดยทรงให้้เกณฑ์์ แรงงานเขมร ๑๐,๐๐๐ คน เข้้ามาขุุดคููพระนครด้้านตะวััน ออก ตั้้�งแต่่บางลำพููมาออกแม่่น้้ำข้้างใต้้ ให้้ชื่่�อว่่าคลอง รอบกรุุง ระหว่่างคลองคููเมืืองทั้้�งสองชั้้�นมีีคลองเชื่่�อมต่่อกััน เล็็ก ๆ ๒ คลอง แล้้วทรงพระกรุณุาโปรดเกล้้าฯ ให้้ขุดุคลอง ขนาดใหญ่ที่่ ่�ด้านเห้ นืือวัดัสระเกศตรงยาวออกไปทางตะวััน ออกคืือคลองมหานาค เพื่่�อใช้้เล่่นสัักวาในฤดููหน้้าน้้ำด้้วย พระนครในยุุคต้้นจึึงมุ่่งที่่�จะขยายเมืืองไปทางทิิศ ตะวัันออก เพราะเป็็นที่ ่�ลุ่่ม และไม่่เป็็นสวนผลไม้้เช่่นทาง ฝั่่�งตะวัันตกของแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยา อีีกทั้้�งเหล่่าแรงงานชุุมชน ต่่าง ๆ ก็ตั้้็ �งอยู่่รายรอบพระนครทางตะวัันออกทั้้�งสิ้้�น จึึงไม่่ เป็็นการยากในการกะเกณฑ์์แรงงาน อนึ่่�งในการเริ่่�มขยายพระนครออกไปนี้้�เองที่่�โปรด ให้้สร้้างสะพานข้้ามคููคลองต่่าง ๆ และสร้้างป้้อมรอบ นอกพระนคร เดิิมมีีพระราชดำริิสร้้างสะพานขนาดใหญ่่ที่ ่� บริิเวณสะพานช้้างข้้ามคลองมหานาคตััดตรงออกไปทาง ทิิศตะวัันออก แต่่พระพิิมลธรรม วััดโพธาราม (ต่่อมาคืือ วััดพระเชตุุพนวิิมลมัังคลาราม) ถวายพระพรว่่าไม่่สมควร ด้้วยการทำสะพานใหญ่่ข้้ามคููคลองเช่่นนี้้�อาจทำให้้ข้้าศึึก สงครามใช้้เป็็นทางเข้้าพระนครได้้โดยง่่าย และอีีกประการ หนึ่่�ง สะพานช้้างขนาดใหญ่่จะกีีดขวางทางเสด็็จรอบ พระนคร เมื่่�อทรงเห็็นชอบด้้วยนั้้�น จึึงโปรดให้้ยกเลิิกการ ก่่อสร้้างเสีีย สำหรัับป้้อมปราการรอบนอกพระนครที่่�โปรด ให้้สร้้างขึ้้�นนั้้�นรวมทั้้�งสิ้้�น ๑๙ ป้้อม สรุุปได้้ว่่าพระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุฬุาโลก มหาราชทรงสร้้างความเป็็นบ้้านเมืืองขึ้้�นมาอีีกครั้้�งหนึ่่�ง โดย ทรงสถาปนาบ้้านเมืืองให้้บริิบููรณ์์ดัังเดิิม ประกอบกัับทรง สร้้างสิ่่�งยึึดเหนี่่�ยวจิิตใจของผู้้�คนที่ ่�บ้้านแตกสาแหรกขาด หลัังศึึกสงครามมาก่่อน คืือการสร้้างพระราชมณเฑีียรสถาน พระอารามต่่าง ๆ และการชำระกฎหมาย นอกจากนี้้ยั�ังทรง พระราชดำริถึึิงการป้้องกัันพระนครทางด้าน้ทิิศใต้้ของลำน้้ำ เจ้้าพระยา จึึงโปรดที่่�จะให้้สร้้างเมืืองและแนวป้้อมที่่�แข็็งแรง ขึ้้�น คืือสร้้างป้้อมที่ ่� ลััดโพธิ์์� และสร้้างเมืืองนครเขื่่�อนขัันธ์์ที่ ่� ปากแม่่น้้ำเจ้้าพระยาให้้มีีความมั่่�นคงกว่่าก่่อน ในระยะแรกของการสร้้างกรุุง การแบ่่งพื้้�นที่ภ ่� ายใน พระนครยัังเป็็นพื้้�นที่ที่ ่� ตั้้่� �งตำหนัักเจ้้านาย บ้้านเรืือนขุุนนาง ผู้้�ใหญ่่และวััดต่่าง ๆ ทางทิิศเหนืือของพระบรมมหาราช วัังเป็็นที่ ่�ตั้้�งของพระบวรราชวััง ถััดขึ้้�นไปริิมป้้อมพระสุุเมรุุ เป็็นวัังเจ้้านายเช่่นวัังเจ้้าฟ้้ากรมหลวงจัักรเจษฎา ส่่วนทาง ด้้านทิิศใต้้ของพระบรมมหาราชวัังนั้้�น มีีวัังเจ้้านายตั้้�งเรีียง รายตั้้�งแต่่หลัังพระบรมมหาราชวัังจนถึึงแนวคลองคููเมืือง ชั้้�นใน กระจายต่่อกัันไปถึึงแนวพื้้�นที่ ่� ระหว่่างคููเมืืองชั้้�น ในและแนวคลองรอบกรุุงที่่�โปรดให้้ขุุดขึ้้�นใหม่่ บ้้านเรืือน ประชาชนทั่่�วไปคงกระจายอยู่่แถบตะวัันออกและริิมคลอง สำคััญต่่าง ๆ เมืืองบางกอกในช่่วงรััชกาลที่่� ๑ จึึงเป็็นดั่่�งเมืือง เทพนิิรมิิต ที่ ่� พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลก


บทสรุุป 231 มหาราชทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้สร้้างขึ้้�นด้้วยทรง ตั้้�งพระราชหฤทััยให้้เป็็นเมืืองหลวงของราชอาณาจัักร ที่ ่� มีีความอุุดมสมบููรณ์์ ผู้้�คนอยู่่อาศััยอย่่างผาสุุกสวััสดีีมีีสิ่่�ง ศัักดิ์์�สิิทธิ์์�คืือพระพุุทธมหามณีีรััตนปฏิิมากร พระเสื้้�อเมืือง พระทรงเมืือง พระกาฬชััยศรีี เจ้้าพ่่อเจตคุุปต์์ และเจ้้าพ่่อ หอกลองที่่�สถิิต ณ ศาลหลัักเมืืองเป็็นองค์์ผู้้� ปกปัักรัักษา คุ้้�มครองให้้เกิิดความสิิริิสวััสดิ์์� สมดั่่�งที่ ่� พระราชทานนาม เมืืองไว้้ว่่า “กรุุงเทพมหานคร บวรรััตนโกสิินทร์์ มหิินทรา ยุธุยา มหาดิิลกภพ นพรััตนราชธานีีบูรีีูรมย์์ อุดุมราชนิิเวศน์์ มหาสถาน อมรพิิมานอวตารสถิิต สัักกะทััตติิยวิิษณุุกรรม ประสิิทธิ์์�” ซึ่่�งมีีความหมายว่่าพระนครอัันกว้้างใหญ่่ ดุุจ เทพนคร เป็็นที่่�สถิิตของพระแก้้วมรกต เป็็นมหานครที่่�ไม่่มีี ใครรบชนะได้้มีีความงามอัันมั่่�นคง และเจริิญยิ่่�ง เป็็นเมืือง หลวงที่่�บริิบููรณ์์ด้้วยแก้้วเก้้าประการ น่่ารื่่�นรมย์์ยิ่่�ง มีีพระ ราชนิิเวศใหญ่่โตมากมาย เป็็นวิิมานเทพที่่�ประทัับของพระ ราชาผู้้�อวตารลงมา ซึ่่�งท้้าวสัักกเทวราชพระราชทานให้้พระ วิิษณุุกรรมลงมาเนรมิิตไว้้ต่่อมาในรััชกาลพระบาทสมเด็็จ พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว จึึงทรงเปลี่่�ยนสร้้อยพระนามจาก “บวร” เป็็น “อมร” ล่่วงถึึงรััชสมััยพระบาทสมเด็็จพระพุุทธเลิิศหล้้า นภาลััย กรุุงเทพมหานครมีีผู้้�คนเข้้ามาอาศััยพึ่่�งพระ บารมีีพระบรมโพธิิสมภารมากกว่่าก่่อน ชาวโปรตุุเกส เดิินทางเข้้ามาจากเมืืองมาเก๊๊าเพื่่�อขอตั้้�งสถานกงสุุลริิม แม่่น้้ำเจ้้าพระยา และทำการค้้าดัังที่่�เคยเข้้ามาแต่่ครั้้�งกรุุง ศรีีอยุุธยาเป็็นราชธานีีพระบาทสมเด็็จพระพุุทธเลิิศหล้้า นภาลััยทรงสถาปนาพระอารามสำคััญต่่าง ๆ และทรง สร้้างพระอารามที่่�คงค้้างมาแต่่รััชกาลก่่อนให้้สำเร็็จ เช่่น วััดมหาสุุทธาวาสนั้้�นเมื่่�อสร้้างพระวิิหารหลวงแล้้วเสร็็จก็็ พระราชทานนามไว้้ว่่าวััดสุุทััศนเทพวราราม นอกจากนั้้�น โปรดให้้ขยายพระบรมมหาราชวัังออกไปทางด้านใ ้ ต้้จรดวัดั โพธิ์์� ทรงพระกรุณุาโปรดเกล้้าฯ ให้้จัดัการพระราชพิธีีต่ิ ่างๆ น้้อยใหญ่่ให้้ประชาชนได้้เห็็นความงดงามและเข้้าถึึงพระ ธรรม เช่่นพระราชพิธีีวิิสาข บููชาที่่�ทรงพระราชดำริิให้้จัดขึ้ั ้�น ใหม่่ ได้้พระราชทานหน่่อต้้นพระศรีีมหาโพธิ์์�จากพุุทธคยา ประเทศอิินเดีียไปปลููกไว้้ตามพระอารามต่่าง ๆ และทรง พระกรุุณาโปรดเกล้้าให้้สร้้างพระปรางค์์องค์์ใหญ่่ขึ้้�นเป็็น สััญลัักษณ์์ของกรุุงเทพมหานครที่ ่� ริิมฝั่่�งแม่่น้้ำเจ้้าพระยา คืือพระปรางค์์วััดอรุุณราชวราราม เหล่่านี้้�เป็็นต้้น ทำให้้ เมืืองกรุุงเทพมหานคร เป็็นมหานครที่ ่� ผู้้�คนเดิินทางเข้้ามา อย่่างคัับคั่่�ง ครั้้�นในสมััยรััชสมััยพระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้า เจ้้าอยู่่หััว กรุุงเทพมหานครมีีผู้้�คนเข้้ามาตั้้�งบ้้านเรืือนเพิ่่�ม มากยิ่่�งขึ้้�น กิิจการการค้้ากัับประเทศจีีนเฟื่่�องฟูู พระมหา กษัตริัย์ิ์ทรงทำนุุบำรุุงการพระศาสนา ทรงสร้้างพระอาราม ที่ ่�มีีศิิลปะไทย-จีีน แบบพระราชนิิยมขึ้้�นหลายแห่่ง เช่่นวััด ราชนัดดัาราม วัดัเทพธิิดาราม วัดกััลยาณมิตริวัดรั าชโอรส วััดเฉลิิมพระเกีียรติิ เป็็นต้้น ทำให้้กรุุงเทพมหานครในช่่วง รััชสมััยมีีเอกลัักษณ์์ทางศิิลปะที่่�งดงามยิ่่�ง เมื่่�อพระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวทรงขึ้้�น ครองราชสมบััติิในพ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงตระหนัักว่่าสภาพการณ์์ ของสัังคมมีีความเปลี่่�ยนแปลงไปจากเดิิมมาก พื้้�นที่ภ ่� ายใน พระนครมีีไม่่เพียงีพอที่่�จะรองรัับการขยายตััวของชุุมชนที่มีี่� มากขึ้้�น ผู้้�คนที่่�เข้้ามานัับแต่่แรกตั้้�งกรุุงรัตั นโกสิินทร์์เพิ่่�มขึ้้�น กว่่าก่่อน จึึงมีีพระราชดำริิเพิ่่�มพื้้�นที่พร ่� ะนครให้้กว้้างออกไป ทางทิิศตะวัันออก โดยทรงดำเนิินตามรอยพระยุุคลบาทของ สมเด็็จพระบรมอััยกาธิิราช คืือทรงขุดุคลองรอบกรุุงเพิ่่�มขึ้้�น และพระราชทานนามในครั้้�งนั้้�นว่่าคลองผดุุงกรุุงเกษม แต่่ไม่่


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 232 ได้โป้รดให้้สร้้างกำแพงพระนคร พระราชดำริิในการขยายพื้้�นที่ ่� พระนครออกไป ทางทิิศตะวัันออกนี้้�เป็็นไปสำหรัับชุุมชนที่่�เข้้ามาค้้าขาย กัับสยาม คืือการตัดัถนนเจริิญกรุุงขึ้้�นยาวเลีียบริิมฝั่่�งแม่น้้ ่ ำ เจ้้าพระยาลงไปถึึงบางคอแหลมอัันเป็็นพื้้�นที่ ่�อู่่ต่่อเรืือและ ท่่าเทีียบเรืือสิินค้้าขนาดใหญ่่ได้้นั้้�น ยิ่่�งทำให้้สภาพของสัังคม ที่่�เกิดขึ้ิ ้�นเปลี่่�ยนแปลงไปเป็็นการเตรีียมรัับชาวต่่างชาติิและ เศรษฐกิิจใหม่่ที่่�จะเกิิดขึ้้�น เพราะใน พ.ศ. ๒๓๙๘ สยาม ได้้ลงนามในสนธิิสััญญาเบาวริ่่�งกัับประเทศอัังกฤษ ส่่งผล ให้้การค้้าพาณิิชย์์กลายเป็็นปััจจััยหลัักในการกำหนดพื้้�นที่ ่� การตั้้�งชุุมชนแทนแนวคิิดเดิิมของการขยายพระนครที่ ่�มีี มาก่่อน ผลที่่�เกิิดขึ้้�นในที่ ่� สุุดคืือชาวต่่างชาติิมีีโอกาสเข้้ามา พำนัักในสยามมากขึ้้�น เมื่่�อถนนหนทางในพระนครทรุุด โทรมลงนั้้�น ก็็ทรงซ่่อมแซมพื้้�นถนนโดยทรงขอแรงพระบรม วงศานุุวงศ์์ให้้จััดหาอิิฐมาร่่วมกัันปรัับปรุุงสภาพถนนให้้ดีี ดัังเดิิมด้้วย พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวทรงเอา พระราชฤทััยใส่่และรัับเป็็นพระธุรุะในการจัดัการบ้้านเมืือง ให้้มีีความเป็็นปกติิสุุข สงบเรีียบร้้อย และทรงวางแผนผััง พระนครให้้สอดคล้้องกัับสภาพสัังคมที่่�เปลี่่�ยนแปลงไป พระอารามที่่�ทรงสถาปนาขึ้้�นใหม่่เช่่นวััดมกุุฎกษััตริิยาราม วััดโสมนััส วััดเทพศิิริินทราวาส วััดปทุุมวนาราม ล้้วนแต่่ ตั้้�งอยู่่รอบพระนครทั้้�งสิ้้�น ส่่วนย่่านชาวต่่างประเทศที่่�ทรง กำหนดให้้ตั้้�งอยู่่ริิมแม่่น้้ำเจ้้าพระยานั้้�นก็็เพื่่�อความสะดวก การค้้าและการจอดเรืือสิินค้้า แต่่ก็็ยัังเป็็นที่ ่� สัังเกตได้้ว่่าไม่่ ได้ท้รงอนุุญาตให้้ชาวต่่างชาติิปลููกเรืือนอยู่่ภายในพระนคร มากเกิินขอบเขตที่่�ทรงกำหนดไว้้ ครั้้�นในรััชกาลพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้า เจ้้าอยู่่หััว ทรงปรัับปรุุงผัังเมืืองของประเทศเพิ่่�มมากขึ้้�น โปรดให้้ขยายและตััดถนนต่่าง ๆ เชื่่�อมโยงกัันเป็็นโครง ข่่าย การวางผัังเมืืองแบบใหม่่นี้้�เป็็นผลจากการที่่�เสด็็จ พระราชดำเนิินเยืือนหลายประเทศ อาทิิ อิินโดนีีเซีีย อิินเดีีย และประเทศในตะวัันตก จึึงทรงพระกรุุณาโปรด เกล้้าให้้ตััดถนนสายหลัักของพระนครขึ้้�น ปลููกต้้นไม้้ใหญ่่ สองข้้าง มีีม้้านั่่�ง โคมไฟ ทรงสร้้างสะพานที่ ่�มีีศิิลปะตก ตะวัันตกหลายสะพานเช่่นสะพานผ่่านพิิภพลีีลา สะพาน ผ่่านฟ้้าลีีลาศ เป็็นต้้น นอกจากนี้้�ยัังมีีอาคารบ้้านเรืือนอีีก เป็็นจำนวนมากที่่�วางตััวขยายออกไปตามชุุมชนสำคััญ ต่่างๆ โดยเฉพาะแถบสีีลม สาทร ซึ่่�งส่่วนใหญ่่เป็็นชาวต่่าง ประเทศและคหบดีีหรืือแหล่่งธุรกิุิจต่่างๆ ดัังที่มีี่� การสืืบเนื่่�อง มาจนปััจจุุบััน การขยายโครงสร้้างของพระนครในรััชกาลพระบาท สมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวเป็็นไปตามแนวพระ ราชดำริิที่ ่� รััชกาลที่่� ๔ ทรงวางไว้้ก่่อน กล่่าวคืือเมื่่�อมีีถนน เส้้นหลัักเกิิดขึ้้�นคืือถนนเจริิญกรุุงแล้้ว พระบาทสมเด็็จพระ จุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวมีีพระราชดำริตัิดัถนนอื่่�นเพิ่่�มเติิมขึ้้�น และสร้้างตึึกแถวตามแนวถนนเพื่่�อเก็็บเกี่่�ยวผลประโยชน์์ ประกอบกัับการค้้ามีีการเปลี่่�ยนแปลงไป ผู้้�คนที่่�อาศััยอยู่่ ในบ้้านเรืือนแพจึึงอพยพขึ้้�นมาบนบก จึึงมีีการตัดัถนนทาง ทิิศเหนืือและทิิศตะวัันออกของพระนครเพิ่่�มขึ้้�น เฉพาะ ทางทิิศเหนืือนั้้�น เมื่่�อทรงสร้้างพระราชวัังสวนดุุสิิตขึ้้�นเป็็น ที่่�ประทัับนอกจากพระบรมมหาราชวัังแล้้ว บรรดาวัังเจ้้า นาย พระตำหนััก และหน่่วยงานราชการก็็ขยายตััวไปทาง ทิิศเหนืือ เลาะตามริิมฝั่่�งแม่่น้้ำเจ้้าพระยาไปด้้วย ส่่วนทาง ทิิศตะวัันออกนั้้�นมีีถนนเริ่่�มจากลานพระราชวัังสวนดุุสิิต หลายสาย เช่่นถนนราชวััตร (ถนนนครไชยศรีี) ถนนดวง เดืือน (ถนนสุุโขทััย) ถนนดวงตะวััน (ถนนศรีีอยุุธยา) ถนน


บทสรุุป 233 คอเสื้้�อ (ถนนพิิษณุุโลก) ถนนฮก (ถนนหน้้าวัดัเบญจมบพิตริ ดุสิุติวนาราม) ถนนซิ่่�ว (ถนนสวรรคโลก) เป็็นต้้น ส่่วนทางทิิศ ใต้้ของพระนครก็มีี็ถนนเกิดิใหม่่หลายสาย เช่่นถนนอนุุวงศ์์ ถนนทรงวาด ถนนนครเกษม ถนนวรจัักร เป็็นต้้น พร้้อมกัับการตััดถนนสายต่่าง ๆ โยงใยถึึงกััน พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวก็็ยัังทรงพระ ราชดำริิในการขุุดคลองขึ้้�นอีีกหลายสาย เช่่นคลองเปรม ประชากรที่ขุ ่� ดขึุ้้�นเป็็นคลองแรกในรััชกาล คลองรัังสิติประยุรุ ศัักดิ์์� คลองนครเนื่่�องเขตร คลองประเวศบุุรีีรมย์์ คลอง ทวีีวััฒนา คลองนราภิิรมย์์ เป็็นต้้น คลองต่่าง ๆ เหล่่านี้้� ไม่่ได้้มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อการขนถ่่ายกำลัังพลเพื่่�อการรบ อีีกต่่อไป แต่่มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อใช้้เป็็นเส้้นทางลำเลีียง สิินค้้า และเป็็นเส้้นทางคมนาคมให้้กัับประชาชน พร้้อม กัับมีีการพััฒนาที่ ่� ดิินบริิเวณริิมคลองให้้เกิิดประโยชน์์กว่่า ก่่อน เพราะในช่่วงเวลารััชกาลของพระองค์์กิิจการรถลาก รถไฟ รถราง และสิ่่�งสาธารณููปโภคอื่่�นๆ เช่่นไฟฟ้้า ประปา ไปรษณีีย์์โทรเลข ก็ล้้็วนเกิดขึ้ิ ้�นแล้้วทั้้�งสิ้้�น กรุุงเทพมหานคร ในรััชกาลสมเด็็จพระปิิยะมหาราชจึึงมีีความเจริิญรุ่่งเรืืองใน ทุุกๆ ด้้านอย่่างแท้้จริิง ในรััชกาลพระบาทสมเด็็จพระมงกุฎุเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว ยัังทรงจััดระเบีียบความสวยงามของเมืืองอีีกคืือโปรดให้้ ตััดถนนและสะพานเพิ่่�มอีีกหลายแห่่ง เช่่นสะพานพระราม หกซึ่่�งเป็็นสะพานข้้ามแม่่น้้ำเจ้้าพระยาแห่่งแรกที่่�สามารถ เชื่่�อมทางรถไฟสายใต้้เข้้ากัับสถานีีรถไฟหััวลำโพงได้้ แต่่ ไม่่มีีการขยายเมืืองออกไปอีีก พระองค์์พระราชทานที่ ่� ดิิน ให้้สร้้างสวนสาธารณะแห่่งแรกขึ้้�นกลางเมืืองคืือสวนลุุมพินีีิ และขยายอาณาเขตของพระตำหนัักออกไปทางเหนืือของ ตััวเมืืองคืือการสร้้างพระตำหนัักจิิตรลดารโหฐานเป็็นที่ ่� ประทัับ ในเวลาต่่อมาชุุมชนได้้ขยายตััวออกไปอีีกโดย เฉพาะในตอนในของตััวเมืืองทางทิิศใต้้มีีการขยายกิิจกรรม การค้้าลงไปทางใต้้เช่่นอู่่ต่่อเรืือ โรงสีี โรงเลื่่�อยไม้้ต่่อมา ในรััชกาลพระบาทสมเด็็จพระปกเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวเกิิดการ ตััดถนนหลัักขึ้้�นเพิ่่�มอีีกเช่่นถนนสุุขุุมวิิท และขยายตััวของ ชุุมชนออกไปทางเหนืือแถบบางซื่่�อ บางโพ เป็็นต้้น รวมทั้้�ง สร้้างสะพานพระพุุทธยอดฟ้้าขึ้้�นเชื่่�อมระหว่่างฝั่่�งพระนคร และฝั่่�งธนบุรีีุในปีี พ.ศ. ๒๔๗๕ ในโอกาสที่่�กรุุงรัตันโกสิินทร์์ สถาปนาครบ ๑๕๐ ปีี สิ่่�งสำคััญที่่�เกิิดขึ้้�นกัับกรุุงเทพมหานครในฐานะ เมืืองหลวงที่ ่�ตั้้�งของพระบรมมหาราชวััง ที่่�ประทัับขององค์์ พระมหากษััตริิย์์ และที่ ่�ตั้้�งของหน่่วยงานราชการทั้้�งปวง ก็็คืือการยกฐานะและการจััดระบบการปกครองเมืืองให้้ มีีความพิิเศษ ในรััชสมััยพระบาทสมเด็็จพระมงกุุฎเกล้้า เจ้้าอยู่่หััว ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้แต่่งตั้้�งตำแหน่่ง สมุุหพระนครบาล มีีหน้้าที่่�ปกครองดููแลรัับผิิดชอบมณฑล กรุุงเทพโดยเฉพาะ มณฑลกรุุงเทพขณะนั้้�นประกอบด้้วย จัังหวััดพระนคร ธนบุุรีี นนทบุุรีี และสมุุทรปราการ ซึ่่�งต่่อ มาพระองค์์ได้้ทรงให้้รวมมณฑลหลาย ๆ มณฑลเข้้าเป็็น ภาค มีีอุุปราชทำหน้้าที่ ่� ตรวจตราเหนืือสมุุหเทศาภิิบาล เป็็นตำแหน่่งที่ ่� ขึ้้�นตรงกัับกษััตริิย์์ ครั้้�นในสมััยพระบาท สมเด็็จพระปกเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้ประกาศยกเลิิกตำแหน่่งอุุปราช เมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๖๘ ทำให้้ ยกเลิิกการแบ่่งภาคโดยอััตโนมััติิ และได้้ทรงประกาศยุุบ และรวมการปกครองมณฑล ต่่าง ๆ การสถาปนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ที่ ่� พระมหากษััตริิย์์ ทรงใช้้แรงงานจากหััวเมืืองต่่าง ๆ ในการสร้้างความเจริิญให้้ เกิดขึ้ิ ้�นกัับเมืืองนั้้�น เป็็นเพราะแนวคิดิความเชื่่�อในเรื่่�องการ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 234 พึ่่�งพระบารมีีใหม่่ การสร้้างชีีวิิตใหม่่ โดยที่ ่�ท้้องถิ่่�นต่่าง ๆ มีีความเชื่่�อมั่่�นในผู้้�นำของตน เช่่นเจ้้าเมืือง และมีีความ เชื่่�อเป็็นลำดัับขั้้�นจนถึึงเจ้้าผู้้�ครองรััฐหรืืออาณาจัักรว่่ามีี บุุญบารมีี และต่่างต้้องตอบแทน หรืือแสดงความกตััญญูู โดยการร่่วมกัันสร้้างเมืืองใหม่่ และเชื่่�อมั่่�นในผู้้�ปกครอง ใหม่่ของตน 5. การสร้้างสรรค์์งานศิิลปะจากคนในท้้องถิ่น่� หากพิิจารณาจากประวััติิศาสตร์์ความเป็็นมาของ ท้้องถิ่่�นต่่าง ๆ จะเป็็นว่่าในแต่่ละพื้้�นที่มีีผู้่� ้�คนอาศััยอยู่่อย่่าง หนาแน่่นมาตั้้�งแต่ก่่ ่อนประวััติิศาสตร์์ และแต่่ละพื้้�นที่มีี่� งาน ฝีีมืือของตนที่ ่� ต่่างกัันไป เช่่น การเรีียนรู้้�เรื่่�องโลหะกรรม การถลุุงโลหะ การทอผ้้า การจัักสาน ซึ่่�งเป็็นวิิถีีชีีวิิตของ มนุุษย์์ที่ ่� สััมพัันธ์์กัับสิ่่�งแวดล้้อมและธรรมชาติิ เมื่่�อมนุุษย์์ มีีความประณีีตในการดำรงชีีวิิตมากขึ้้�น ย่่อมสร้้างสรรค์์ งานที่ ่�มีีความงาม เช่่น เดิิมเป็็นการทอผ้้าหยาบๆ หรืือใช้้ เส้้นใยทอผ้้าที่มีี่� เพียงี สีีเดีียว ต่่อมาได้้พััฒนาความรู้้� ทดลอง สร้้างสรรค์์งานศิิลป์์ ขึ้้�นเองกลายเป็็นเส้้นใยที่ ่� อ่่อนนุ่่ม มีี หลากสีีนัับได้้ว่่าผู้้�คนในภููมิิภาคต่่าง ๆ ของประเทศไทย ล้้วนแล้้วแต่่เป็็นช่่างฝีีมืือด้้วยกัันทั้้�งสิ้้�น คนในท้้องถิ่่�นต่่าง ๆ จึึงมีีความรู้้�มากเพีียงพอใน การสร้้างงานศิิลปะได้้ เช่่นการสลัักไม้้ การปั้้�นดิิน การทอ ผ้้า การทำเครื่่�องประดัับ ฯลฯ เพราะปรากฏหลัักฐานโบราณ วัตถุัุ และศิิลปวัตถุั ุจำนวนมากในประเทศไทย ที่มีี่� ความงาม และเป็็นฝีีมืือที่่�ชาวบ้้านเป็็นผู้้�สร้้างสรรค์์ขึ้้�น ในสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา ช่่างจำนวนมากกระจายตััว อยู่่ตามท้้องถิ่่�น ทั้้�งในหััวเมืืองต่่าง ๆ ทุุกแห่่งก็ล้้็วนแต่มีีช่่ ่าง ฝีีมืือท้้องถิ่่�นทั้้�งสิ้้�น หลัักฐานของไทยที่่�กล่่าวถึึงช่่างฝีีมืือใน สมััยอยุุธยาคืือ พระไอยการตำแหน่่งนาพลเรืือนและพระ ไอยการตำแหน่่งนาทหารหััวเมืืองได้้ระบุุศัักดิินาของช่่าง ในกรมต่่าง ๆ ในพระไอยการตำแหน่่งนาพลเรืือนได้้ระบุถึึุง ตำแหน่่งช่่างฝีีมืือ ได้้แก่่ ช่่างเลื่่�อย ช่่างก่่อ ช่่างดอกไม้้เพลิิง ช่่างไม้้ต่่ำสููง ช่่างเงิิน ช่่างมุุก ช่่างรััก ในพระไอยการตำแหน่่ง นาทหารหััวเมืืองระบุุถึึงช่่างต่่าง ๆ ได้้แก่่ ช่่างปากไม้้ช่่าง เรืือ ช่่างเขีียน ช่่างแกะสลััก ช่่างทำลุุ ช่่างกลึึง ช่่างหล่่อ ช่่าง ปั้้�น ช่่างรััก ช่่างบุุ ช่่างหุ่่นและช่่างปููน ในช่่วงอยุุธยาตอนปลาย ช่่างฝีีมืือปรากฏชััดเจน มากขึ้้�นใน “พรรณนาภููมิิสถานพระนครศรีีอยุุธยา เอกสาร จากหอหลวง” ภาพของย่่านสิินค้้า ตลาด และย่่านการ ผลิิตที่่�สะท้้อนให้้เห็็นว่่ามีีการผลิิตสิินค้้าหลากชนิิดเพื่่�อ ขาย สิินค้้าบางชนิิดต้้องผ่่านกระบวนการผลิิตที่ ่�ต้้องอาศััย กลุ่่มช่่างฝีีมืือที่ ่�มีีความรู้้�ความชำนาญในการผลิิตสิินค้้านั้้�น ออกมา ช่่างฝีีมืือที่่�ปรากฏในคำให้้การขุุนหลวงวััดประดู่่ ทรงธรรมที่ศึึ่� กษาได้จาก้สิินค้้า มีีดัังนี้้� ช่่างเขีียน ช่่างเงิิน ช่่าง ทอง ช่่างทำเครื่่�องประดัับ ช่่างแกะสลััก ช่่างหล่่อ ช่่างหล่่อ พระพุุทธรููป ช่่างทำเครื่่�องเคลืือบ เครื่่�องทองเหลืือง เครื่่�อง ปรอท ช่่างหล่่อเหล็็ก ช่่างตีีเหล็็ก ช่่างปั้้�นเครื่่�องดิินเผา ช่่าง เลื่่�อย ช่่างกลึึง ช่่างไม้้ช่่างกระเบื้้�อง ช่่างทำเครื่่�องจัักสาน ช่่างปููน ช่่างบุุ ช่่างทำกระดาษ ช่่างศิิลป์์ต่่างๆ เหล่่านี้้�ถููก เกณฑ์์แรงงานเข้้าไปทำงานในกัับราชสำนััก ซึ่่�งราชสำนััก ก็็จะใช้้แรงงานเหล่่านี้้�ในการทำงานช่่างต่่าง ๆ ทั้้�งการพระ ศาสนา การทำนุุบำรุุงอาณาจัักร การสร้้างสรรค์์ผลงาน ศิิลปะ และข้้าวของเครื่่�องใช้้ในราชสำนััก หลัังจากการเสีียกรุุงครั้้�งที่่�สอง ช่่างศิิลป์์ท้้องถิ่่�นได้้ กระจััดกระจายไปตามหััวเมืืองต่่างๆ เช่่นเพชรบุุรีี ลพบุุรีี สระบุุรีี สามโคก บางกอก และอื่่�น ๆ บ้้างได้้สาบสููญ


บทสรุุป 235 ไปเพราะหมดการสืืบทอดลง หลัังจากพระบาทสมเด็็จ พระพุุทธยอดฟ้้าจุฬุาโลกทรงสถาปนากรุุงรัตันโกสิินทร์์แล้้ว ได้้ทรงทำนุุบำรุุงวิิชาช่่างศิิลป์์ไทยขึ้้�นใหม่่ให้้เจริิญรุ่่งเรืือง เหมืือนเมื่่�อครั้้�งบ้้านเมืืองยัังดีีช่่างฝีีมืือต่่าง ๆ จะถููกรวม เข้้ากรมช่่างหลวง กรมช่่างหลวง คืือหน่่วยงานที่ ่�มีีหน้้าที่ ่� และความรัับผิิดชอบสร้้างสิ่่�งของและบริิการด้้านการช่่าง ให้้แก่่ราชการซึ่่�งต้้องอาศััยช่่างฝีีมืือประเภทต่่าง ๆ มารวม อยู่่กัันเป็็นจำนวนมาก แบ่่งเป็็น กรมช่่างทหารใน หรืือ ช่่าง ทหารใน เป็็นพนัักงานทำที่่�ประทัับ พลัับพลา หรืือ ทำการ ที่่�เป็็นการใหญ่่ให้้เสร็็จโดยเร็็ว กรมช่่างมหาดเล็็ก คืือ กรม ที่่�ให้้ผู้้�ที่่�ได้้รัับความไว้้วางพระราชหฤทััยให้้ไปทำงานช่่าง สำคััญ และกรมช่่างสิิบหมู่่ เป็็นกรมช่่างหลวงขนาดใหญ่่ มีีหน้้าที่่�และรัับราชการการช่่างโดยตรง ช่่างในกรมนี้้�เป็็น ช่่างฝีีมืือดีีที่่�เคยอยู่่กรมกองต่่าง ๆ มีีพััฒนาการต่่อเนื่่�อง มาจากช่่างฝีีมืือในสมััยปลายอยุุธยา ซึ่่�งช่่างฝีีมืือได้้พััฒนา ฝีมืืีอให้้มีีทัักษะและความชำนาญมากขึ้้�นโดยสืืบทอดกัันมา จนถึึงสมััยรััตนโกสิินทร์์ ส่่วนช่่างฝีีมืือที่่�ไม่่ได้้ถููกเกณฑ์์เข้้ากรมช่่างหลวงยััง คงสร้้างสรรค์์ผลงานช่่างศิิลป์์ในเขตพื้้�นที่พร ่� ะนครศรีีอยุธุยา สืืบต่่อกัันเรื่่�อยมาจนถึึงปััจจุุบััน เป็็นช่่างศิิลป์์ท้้องถิ่่�นที่ ่� ยััง สร้้างผลงานจากเพื่่�อใช้้ในชีีวิติประจำวััน ทำเครื่่�องใช้้ในครััว เรืือนทั้้�งเครื่่�องจัักสาน อุุปกรณ์์ทำการเกษตร เครื่่�องมืือหา ปลา ช่่างทอผ้้า ช่่างปรุุงเรืือนสร้้างที่่�อยู่่อาศััย ช่่างต่่อเรืือ และซ่่อมแซมเรืือเพื่่�อใช้้ในการสััญจร ช่่างผลิิตเครื่่�องใช้้ใน พิิธีีกรรม เช่่น ช่่างทำเครื่่�องดนตรีีและช่่างแทงหยวก งาน ช่่างศิิลป์ท้้ ์องถิ่่�นจึึงเป็็นรากฐานของงานช่่างศิิลปะไทย เกิดิ จากการรัังสรรค์์สืืบทอดต่่อเนื่่�องมาอย่่างยาวนานในท้้อง ถิ่่�นต่่างๆ เพื่่�อตอบสนองความต้้องการพื้้�นฐานด้้านปััจจััย สี่่� ตลอดจนความต้้องการทางจิิตวิิญญาณของมนุุษย์์หลััก ฐานประวััติิศาสตร์์ในสมััยต้้นรััตนโกสิินทร์์จนถึึงรััชสมััย พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวแสดงให้้เห็็นว่่า พื้้�นที่่�ของกรุุงศรีีอยุธุยาไม่่เคยร้้างผู้้�คน และไม่่เคยขาดแคลน ช่่างท้้องถิ่่�น ช่่างท้้องถิ่่�นยัังคงอยู่่ในท้้องที่่�เมืืองกรุุงเก่่า ยัังคง ประกอบอาชีีพผลิิตสิินค้้าที่ ่�ต้้องใช้้ความชำนาญเชิิงช่่าง ใช้้ ความชำนาญเชิิงช่่างท้้องถิ่่�นในการสร้้างที่่�อยู่่อาศััย สร้้าง โรงร้้านค้้า ซ่่อมแซมและทำนุุบำรุุงศาสนสถานต่่างๆ ความ รู้้�ของช่่างศิิลป์์ท้้องถิ่่�นในจัังหวััดพระนครศรีีอยุุธยาจึึงยััง สืืบทอดจากรุ่่นสู่่รุ่่นมาจนถึึงปััจจุุบััน 6. สถาบัันพระมหากษัตริั ิย์์ในฐานะศููนย์์รวมจิิตใจ และการ สร้้างชาติิให้วั้ัฒนาสถาพร ประเด็็นสำคััญที่สุ ่� ดุของการสร้้างบ้้านเมืืองให้้เจริิญ ขึ้้�นได้้นั้้�น ต้้องมีีผู้้�ปกครองที่่�ได้้รัับการยอมรัับและเชื่่�อมั่่�น จงรัักภัักดีี หมายถึึงสถาบัันที่ ่�มีีบทบาทในการปกครอง คุ้้�มครองดููแลประชาชน คืือสถาบัันพระมหากษััตริิย์์ ในสัังคมสุุวรรณภููมิิ เหมืือนกัันสัังคมอื่่�นทั่่�วไป คืือ ต้้องมีีผู้้�นำของพื้้�นที่ ่� ดิินแดนในการคอยป้้องกัันมิิให้้มีีข้้าศึึก เข้้ามา และต้้องบำรุุงประชาชนให้้มีีความสุุข อยู่่ดีีกิินดีี แต่่ ในสัังคมสุุวรรณภููมิินั้้�น การเลืือกผู้้�ที่่�จะเข้้ามาปกครองโดย ได้้รัับการยิินยอมของทุุกฝ่่ายนั้้�น เป็็นความเชื่่�อที่ ่�มีีหลาย ระดัับ และผสานอย่่างลึึกซึ้้�งกัับแนวคิิดของบุุญบารมีีใน พระพุุทธศาสนา พุุทธศาสนานิิกายเถรวาทมีีข้้อมููลในพระ ไตรปิิฎก พระสููตรชื่่�อขััตติิยาธิิปปายสููตร ว่่าด้้วยความ ประสงค์์ของคน ๖ จำพวกระบุุว่่า “ธรรมดากษััตริิย์์ทั้้�ง หลายย่่อมประสงค์์โภคทรััพย์์ นิิยมปััญญา มั่่�นใจในกำลััง ทหาร ต้้องการในการได้้แผ่่นดิิน มีีความเป็็นใหญ่่ในที่ ่� สุุด”


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 236 หรืือพระสููตรชื่่�อจัักกสููตรกล่่าวถึึงองค์์คุุณ ๕ ประการหรืือ เรีียกว่่าคุุณสมบััติิของพระมหากษััตริิย์์กำหนดว่่าพระเจ้้า จัักรพรรดิิในโลกนี้้�เป็็นผู้้�ที่่�ทรง“รู้้�ผล รู้้�เหตุุ รู้้�ประมาณ รู้้�จััก กาล รู้้�จัักบริิษััท” คืือต้้องรู้้�จัักประชุุมชนหรืือที่่�ในปััจจุุบััน เรีียกว่่าเข้้าถึึงประชาชนทุุกหมู่่เหล่่า เหล่่านี้้�เป็็นลัักษณะ ของพระมหากษััตริิย์์ พระสููตรชื่่�อราชสููตรระบุพรุะราชกิิจหน้้าที่่�ของพระ มหากษัตริัย์ิ์ไว้้ ๓ ประการคืือ ๑) มีีหน้้าที่รั ่� ักษาหรืืออารัักขา ๒) หน้้าที่ ่�ป้้องกััน และ ๓) หน้้าที่ ่� คุ้้�มครองที่่�เป็็นธรรม แม้้ สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าก็็ทรงปฏิิบััติิในภาระทั้้�ง ๓ นี้้� เช่่นกััน พระราชภารกิิจของพระมหากษัตริัย์ิทั้้ ์ �ง ๓ ประการนี้้� คืือพระราชกรณีียกิิจหลััก ซึ่่�งอาจมีีเพิ่่�มเติิมหรืือปรัับเปลี่่�ยน ไปอย่่างไรก็็แล้้วแต่พร่ะมหากษัตริัย์ิพร์ะองค์นั้้ ์ �นทรงกำหนด เพิ่่�มเติิมขึ้้�น เช่่น พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลก มหาราชทรงตั้้�งพระราชหฤทััยไว้้ว่่า “ตั้้�งใจจะอุปถัุมัภก ยอยก วรพุทุธศาสนา ป้้องกัันขอบขััณฑเสมา รักัษาประชาชน แลมนตรีี” หมายความว่่ารััชกาลที่่� ๑ ก็็ยัังมีีพระราชดำริิที่ ่� ดำรงอยู่่ในเกณฑ์์ข้้างต้้น แนวทางนี้้�ไม่่เคยเปลี่่�ยนเลยตั้้�งแต่่ ที่ ่� พระพุุทธเจ้้าทรงบััญญััติิไว้้ในราชสููตรนั้้�น และเป็็นการ แสดงให้้เห็็นว่่าก่่อนที่ ่� สุุโขทััยจะรัับคติิกษััตริิย์์พุุทธเข้้ามา คงจะต้้องดููเหมืือนกัันว่่าคุุณลัักษณะของพระมหากษััตริิย์์ ที่ ่�ดีีจะต้้องประกอบด้้วยสิ่่�งใดบ้้าง ในสยามประเทศ อิิทธิิพลพราหมณ์์ฮิินดููมีีบทบาท มากเช่่นเดีียวกัับพุุทธศาสนาส่่วนอีีกอิิทธิิพลหนึ่่�งเป็็นความ เชื่่�อพื้้�นถิ่่�นหรืือพื้้�นบ้้าน ทั้้�ง ๓ ปััจจััยนี้้�จะผสมผสานกัันเมื่่�อ ๓ ส่่วนนี้้�ผสมกลมกลืืนกัันแล้้วจะกลายเป็็นระบบความเชื่่�อ เกี่่�ยวกัับพระมหากษัตริัย์ิ์ของสัังคมไทย คืือ พราหมณ์์ พุุทธ และพื้้�นถิ่่�น ทางด้าน้พราหมณ์์เป็็นความเชื่่�อเรื่่�องอวตารของ พระเป็็นเจ้้าของศาสนาพราหมณ์์ เช่่นเรีียกพระรามาธิิบดีี คืือการอวตารลงมาของพระวิิษณุุ หรืือพระราเมศวรบ้้าง ส่่วนด้้านพระพุุทธศาสนาก็็เกิิดความคิิดและความเชื่่�อว่่า พระมหากษััตริิย์์จะทรงเป็็นเทพ หรืือเป็็นพระโพธิิสััตว์์ ใน คััมภีีร์พร์ะพุุทธศาสนากล่่าวไว้้ว่่า พระโพธิิสัตว์ั ์จะลงมาเป็็น พระจัักรพรรดิิก็็ได้้ เป็็นพระมหากษััตริิย์์ก็็ได้้ บางครั้้�งพระ โพธิิสััตว์์เสวยพระชาติิเป็็นพระอิินทร์์ถึึง ๓๖ ครั้้�ง บางพระ สููตรอธิิบายว่่าพระโพธิิสััตว์์ไปเป็็นท้้าวมหาพรหม ๗ ครั้้�ง พระโพธิิสัตว์ั ์เองเคยเสวยพระชาติิเป็็นพราหมณ์์ ฤๅษีีดาบส มาก่่อนหลายครั้้�งเช่่นกััน ครั้้�นเป็็นพระโพธิิสััตว์์ ก็็จะมุ่่งให้้ ตรััสรู้้�เป็็นพระพุุทธเจ้้าในอนาคตกาล ในสมััยต่่าง ๆตั้้�งแต่่สุุโขทััย อยุุธยา ธนบุุรีีถึึง รััตนโกสิินทร์์นี้้� หน้้าที่่�ของพระมหากษััตริิย์์ที่่�สำคััญคืือ การป้้องกััน รัักษา และดููแลไพร่่ฟ้้าประชากรให้้อาศััยอยู่่ ในแผ่่นดิินอย่่างมีีความผาสุุก ทรงปราบปรามข้้าศึึกที่่�เข้้า มายัังดิินแดนที่่�เป็็นพระราชอาณาเขต ทรงทำนุุบำรุุงรัักษา สิ่่�งต่่าง ๆที่ต ่� กมอดมาแต่่อดีีต และบำรุุงให้้ดีีขึ้้�น รวมทั้้�งทรง ดููแลประชาชนในด้้านต่่าง ๆ ทั้้�งร่่างกาย สุุขภาพ จิิตใจ ใน เอกสารประวััติิศาสตร์์บางสมััย แสดงให้้เห็็นว่่าเมื่่�อเกิิด ปััญหาขึ้้�นกัับประชาชนในแผ่่นดิินนั้้�น พระมหากษััตริิย์์จะ ทรงรัับเป็็นพระราชธุุระในการแก้้ไขปััญหาได้้ เช่่น ในแผ่่น ดิินสมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุรีีนัุ้้�น เมื่่�อเกิดภิาวะข้้าวยากหมาก แพง ประชากรไม่่มีีข้้าวเกลืือกรัับประทาน พระเจ้้าแผ่่นดิิน ทรงโทมมนััสมาก พงศาวดารบัันทึึกว่่า “จำเดิิมแต่่นั้้�น ด้้วย กำลัังพระกรุุณาพระราชอุุตสาหะในสััตว์์โลกแลพระพุุทธ ศาสนา มิิอัันที่่�จะบัันทมสรงเสวยเป็็นสุุขด้้วยพระราช


บทสรุุป 237 อิริิยาบถ ด้วย้ขััติิยวงศา สมณาจารย์์ เสนาบดีี อาณาประชา ราษฎร ยาจกวณิพิ กคนโซอนาถา ทั่่�วทุุกเสมามณฑล เกลื่่�อน กล่่นกัันมารัับพระราชทานมากกว่่า ๑๐,๐๐๐ ฝ่่ายข้้าราชการ ทหารพลเรืือนไทยจีีนนั้้�น รัับพระราชทานข้้าวสารเสมอ คนละถััง กิินคนละ ๒๐ วััน” และอีีกตอนหนึ่่�งว่่า “ครั้้�งนั้้�น ยัังหาผู้้�จะทำนามิิได้้ อาหารกัันดาร ข้้าวสารสำเภาขายถััง ละ ๓ บาทบ้้าง ถัังละตำลึึงหนึ่่�งบ้้าง ถัังละ ๕ บาทบ้้าง ยััง ทรงพระกรุุณาด้้วยปรีีชาญาณอุุตสาห์์เลี้้�ยงสััตว์์โลกทั้้�งปวง พระราชทานชีีวิติให้้คงคืืนไว้้ได้ แล้พระราชทานวัตัถาลัังกาภรณ์์ เสื้้�อผ้้าเงิินตรา จะนัับประมาณมิิได้้ จนทุุกข์์พระทััยออก พระโอษฐ์์ว่่า “บุุคคลผู้้�ใดเป็็นอาทิิคืือเทวดา บุุคคลผู้้�มีีฤทธิ์์� 1 กรมศิิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุุงสยามฉบัับบริิติิชมิิวเซีียม, กรุุงเทพฯ : กรมศิิลปากร, ๒๕๐๗ หน้้า ๖๔๔ มาประสิิทธิ์์� มากระทำให้้ข้้าวปลาอาหารบริบููริ ณ์์ขึ้้�นให้้สัตว์ั ์ โลกเป็็นสุุขได้้ แม้้นผู้้�นั้้�นจะปรารถนาพระพาหา (แขน) แห่่ง เราข้้างหนึ่่�ง ก็็อาจตััดบริิจาคให้้แก่่ผู้้�นั้้�นได้้ ความกรุุณาเป็็น ความสััตย์์ฉะนี้้�” 1 แม้้ในรััชกาลอื่่�นๆ แห่่งพระราชวงศ์์จัักรีีก็็ทรงพระ ราชดำริิสร้้างความสถาพรให้้กัับพระนคร เพื่่�อให้้ประชากร ได้ใ้ช้้ประโยชน์์ ทั้้�งการคมนาคม การสาธารณสุุข การสื่่�อสาร การศึึกษา การพระศาสนา ฯลฯ อัันเป็็นพระราชกรณีียกิิจ ต่่าง ๆ ที่ ่� พระมหากษััตริิย์์แห่่งประเทศไทยทรงปฏิิบััติิมา อย่่างต่่อเนื่่�อง จุุดเด่่นของท้้องถิ่่�นหรืือภููมิิภาคไทยนั้้�น คืือดิินแดนต่่าง ๆ แม้จ้ะอยู่่ไกลออกไปจากพระนคร และการเดิินทาง คมนาคมลำบากมากเพีียงใดก็็ตาม แต่่พระมหาษัตริิย์ ัรั์ัชกาลต่่าง ๆ จะได้้เสด็จ็พระราชดำเนิินไปทอดพระเนตรหรืือ พระราชทานพระราชดำริิในการพััฒนาพื้้�นที่่�อย่่างทั่่�วถึึง ผู้้คนในท้้องถิ่่�นต่่าง ๆ จึึงไม่่ได้รู้้สึึกว่้่าอยู่่ห่่างไกลจากพระมหา กษัตริิย์ ั ์ บางครั้้�งพระราชทานความอนุุเคราะห์ผ่์ ่านระบบการศึึกษา บางครั้้�งผ่่านพระพุทุธศาสนา หรืือบางครั้้�งผ่่านระบบ ขุุนนางหรืือผู้้แทนพระองค์์ ความสัมพัันธ์ร์ะหว่่างท้้องถิ่่�นไทยกับสถัาบัันพระมหากษัตริิย์ ั นี้้์ � จึึงไม่ส่ามารถแยกออกจากกััน ได้้ และต้้องรวมกัันเป็็นอัันหนึ่่�งอัันเดีียวกัันต่่อไปในอนาคต


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 238


239 ! บรรณานุุกรม ๑. บรรณานุุกรมภาคกลาง ภาคตะวัันตก และภาคตะวัันออก เอกสารชั้้�นต้้น สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร. ๕ ม. ๑/๘ ลายพระหัตถ์ักรม์หมื่่�นดำรง ราชานุุภาพ กราบบัังคมทููลเกี่่�ยวกัับทรงจััดราชการใน กระทรวงมหาดไทย (๑๒ สิิงหาคม ร.ศ.๑๒๔). สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร. ๕ ม. ๒.๑๑/๑๐ รายงานการประชุมขุ้้าหลวง เทศาภิิบาล ร.ศ. ๑๒๐,๑๒๑,๑๒๒. สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๖. พระอิินทราธิิบาลรายงาน ระยะทางเมืืองนครไชยศรีี. (๑๓ - ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๑๕). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๙ กรมหมื่่�นดํํารงราชา นุุภาพตรวจราชการมณฑลนครไชยศรีี (๑๘ สิิงหาคม – ๒๗ ตุุลาคม ๑๑๗). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร. ๕ ม. ๒.๑๑/๑๐ รายงานการประชุมุ ข้้าหลวงเทศาภิิบาล ร.ศ. ๑๒๐,๑๒๑,๑๒๒. สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔.๓๖ รายงานพระองค์์เพ็็ญ เสด็จตร็วจราชการที่่�คััดแยกส่่งไปยัังกระทรวงต่่างๆ (๓ – ๒๐ กุุมภาพัันธ์์ ร.ศ.๑๒๑). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๓๙ รายงานกรมหลวงดำรง ไปตรวจราชการมณฑลปราจีีน (๓ มกราคม ๑๑๙ – ๑๐ ส.ค. ๑๒๒). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๓๙ รายงานกรมหลวงดำรง ไปตรวจราชการมณฑลปราจีีน (๓ มกราคม ๑๑๙ – ๑๐ ส.ค. ๑๒๒). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๑๔/๖๐ พระยาอิินทราธิิบาลทำ รายงานตรวจราชการแขวงเมืืองนครไชยศรีี (๒๔ พฤษภาคม ๑๑๕). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๗๑ กรมสมมติิทำรายงาน เมืืองนครสวรรค์์โดยเรืือ (๑๙ มกราคม ร.ศ.๑๒๑). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๗๔ เสนาบดีีกระทรวง มหาดไทยเสด็จตร็วจราชการหััวเมืืองปัักษ์์ใต้ (๗ ้ธัันวาคม ๑๑๕). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๙๓ กรมหมื่่�นดำรงฯ ทููล เกล้้าถวายรายงานตรวจราชการเมืืองราชบุุรีี และเมืือง สมุทรสุงคราม (๓๐ สิิงหาคม ๑๑๗). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/๙๔ รายงานตรวจราชการ เมืืองเพชรบุุรีีสมุทรสุาคร (๑๖ ตุุลาคม ๑๑๗). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/ ๑๑๐ กรมหลวงดำรง เสด็จ็ ราชการหััวเมืืองฝ่่ายเหนืือ มีีอุทัุัย นครสวรรค์์ กับด่ั ่านภาษีีไม้้ และเรื่่�องระยะทางที่สม ่� เด็จ็พระบรมโอรสจะเสด็จ็เมืืองเหนืือ (๑๕ พฤศจิิกายน ๑๑๗ – ๓ กรกฎาคม ๑๒๗). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ร.๕ ม.๒.๑๔/ ๑๑๐ กรมหลวงดำรง เสด็จ็ ราชการหััวเมืืองฝ่่ายเหนืือ มีีอุทัุัย นครสวรรค์์ กับด่ั ่านภาษีีไม้้ และเรื่่�องระยะทางที่สม ่� เด็จ็พระบรมโอรสจะเสด็จ็เมืืองเหนืือ (๑๕ พ.ย. ๑๑๗ – ๓ ก.ค. ๑๒๗). สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, เอกสารเกษตรใหม่่ กส. ๑๓/๑๒๐๒. มณฑล นครไชยศรีีส่่งรายงานตรวจการของนายอ๊๊อด. สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, เอกสารเกษตรใหม่่ กส.๑๓/๗๕๙. เล่่ม ๗๕. กงสุุลอัังกฤษขอกิ่่�งส้ม้โอเมืืองนครไชยศรีี. สำนัักหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, เอกสารเกษตรใหม่่ กส.๑๓/๔๗. ปลััดทููล ฉลองตรวจราชการและรับัเสด็จ็เจ้้าฟ้้ายุคลทีุ่่�พระปฐม. หนัังสืือและบทความ คณาจารย์์ภาควิิชาภููมิิศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ภููมิิศาสตร์์ ประเทศไทย. นครปฐม : ภาควิิชาภููมิิศาสตร์์ คณะอัักษรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๒๘. คำให้ก้ารกรุุงเก่่า คำให้ก้ารขุุนหลวงหาวััดและพงศาวดารกรุุงเก่่าฉบับั หลวงประเสริิฐอักัษรนิิติ์์�. กรุุงเทพฯ : คลัังวิิทยา, ๒๕๐๗. ชุลีีพรุวิรุิณุหะ. ประวัติิัศาสตร์์ใน “Twentieth century impressions of Siam : its history, people, commerce, industries, and resources”. นครปฐม : โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๕. ธิิดา สาระยา. เมืืองพิิมาย เขาพระวิิหาร เมืืองอุบลุ เมืืองศรีีสััชนาลััย. กรุุงเทพฯ:เมืืองโบราณ, ๒๕๓๘. ธิิดา สาระยา. อารยธรรมไทย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๕๒. นัันทา สุตกุุล ผู้้�แปล. เอกสารฮอลัันดาสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา พ.ศ.๒๑๕๑- ๒๑๖๓ และ พ.ศ.๒๑๖๗-๒๑๘๘ (ค.ศ.๑๖๐๘-๑๖๒๐ และ ค.ศ.๑๖๒๔-๑๖๔๒) (พระนคร : กรมศิิลปากร, ๒๕๑๓ นิิโกลาส์์ แชรแวส, ประวััติิศาสตร์์ธรรรมชาติิและการเมืืองแห่่งราช อาณาจัักรสยาม แปลโดย สัันต์์ ท.โกมลบุตรุ.พระนคร : ก้้าวหน้้า, ๒๕๐๖.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 240 ปรีีดีีพิิศภููมิวิถีีิ, “เอกสารโปรตุุเกสกัับประวััติิศาสตร์สั์ ังคมสยาม : บัันทึึกของ โตเม่่ ปิรืืิช และ ดููอาร์ตืื์ช บาร์์โบซ่่า”๑๐๐ เอกสารสำคััญ : สรรพ สาระประวัติิัศาสตร์์ไทย ลำดับที่ั ่� ๓ (วรรณคดีีและเอกสาร ตะวัันตก). กรุุงเทพฯ : โครงการวิจัิัย ๑๐๐ เอกสารสำคััญเกี่่�ยว กัับประวััติิศาสตร์์ไทย, ๒๕๕๓. พรรณนาภููมิิสถานพระนครศรีีอยุุธยา เอกสารจากหอหลวง(ฉบับคัวาม สมบููรณ์์). กรุุงเทพฯ : อุุษาคเนย์์, ๒๕๕๕. พรนิภิา พฤฒิินรากร และ ทวีีศิิลป์์ สืืบวััฒนะ,“ข้้าวในสมััยปลายอยุธุยา พ.ศ.๒๑๙๙-๒๓๑๐”วารสารมหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์๔ , ๓ (กุุมภาพัันธ์์-พฤษภาคม ๒๕๑๘), ๕๐. พััฒนพงศ์์ ประคััลพงศ์์ ผู้้�แปล,“จดหมายเหตุุการณ์์เดิินทางของโตเม ปิิเรส ตอนที่่�เกี่่�ยวกัับสยาม”ข้้อมููลประวััติิศาสตร์์ไทยสมััยอยุธุยา จาก เอกสารไทยและต่่างประเทศ. นครปฐม : คณาจารย์์ภาควิิชา ประวััติิศาสตร์์ คณะอัักษรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๒๘. พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว. เสด็จปร ็ะพาสจัันทบุุรีี. พระ ราชนิิพนธ์์ในพระบาทสมเด็จ็พระจุลจุอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวและ อักขรัานุกรมภููมิิ ุศาสตร์์ จัังหวััดจัันทบุุรีี. พิิมพ์์เป็็นอนุุสรณ์์ใน งานพระราชทานเพลิิงศพนายขนบ บุฟุผเวส เป็็นกรณีีพิิเศษ ๑๓ ธัันวาคม ๒๕๔๖ เมรุวัุดรัาษฎร์์บำรุุง อำเภอเมืือง จัังหวัดัชลบุรีีุ. พระราชพงศาวดารกรุุงศรีีอยุุธยาฉบับพัันจัันทนุมุ าศ (เจิิม) พระราช พงศาวดารกรุุงเก่่า ฉบับัพระจัักรพรรดิิพงศ์์ เจ้้ากรม (จาด) พระราชพงศาวดารกรุุงธนบุุรีี ฉบับพัันจัันทนุมุ าศ (เจิิม). พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวััติิศาสตร์์ กรม ศิิลปากร, ๒๕๔๓. เพชรรุ่่ง เทีียนปิ๋๋�วโรจน์์, รายงานการตรวจราชการหััวเมืืองของไทยในสมััย รััชกาลที่่� ๕ ภาพสะท้้อนเศรษฐกิิจและสัังคมไทยในยุคสุยาม ใหม่ (นค ่รปฐม : โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๖๒. ฟรัังซััวร์์ อัังรีีตุรุแปง, ประวัติิัศาสตร์์แห่่งพระราชอาณาจัักรสยาม,แปล โดย ปอล ซาเวีียร์์. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ : กองวรรณกรรม และประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร, ๒๕๓๙. เฟอร์นั์ ัน เมนเดส ปิินโต,“การท่่องเที่่�ยวของเมนดส ปิินโต,” แปลโดย ชรัตน์ั ์ สิิงหเดชากุุล ใน รวมผลงานแปลเรื่่�องบัันทึึกการเดิินทางของ เมนเดส ปิินโต. กรุุงเทพฯ : สำนัักวรรณกรรมและประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร, ๒๕๔๘. ภารดีี มหาขัันธ์์,การตั้้�งถิ่่�นฐานและพััฒนาการของภาคตะวัันออก ยุุคปรัับปรุุงประเทศตามสมััยใหม่่จนถึึงปััจจุุบััน.ชลบุุรีี : มหาวิิทยาลััยบููรพา, ๒๕๕๕. ยอร์จ์ เซเดส์์, ตำนานอักัษรไทย ตำนานพระพิิมพ์์ การขุุดค้้นที่่�พงตึึกและ ความสำคััญต่่อประวัติิัศาสตร์สมั์ ัยโบราณแห่่งประเทศไทย ศิิลปะไทยสมััยสุุโขทััยราชธานีีรุ่่นแรกของไทย. กรุุงเทพฯ : คุรุุสภา, ๒๕๐๗. ลาลููแบร์์, จดหมายเหตุลุาลููแบร์์ ฉบับสมบููรณ์ั แปลโ ์ดย สัันต์์ ท.โกมลบุตรุ. พระนคร : ก้้าวหน้้า, ๒๕๑๐. วทััญญููฟัักทอง. กลอนเพลงยาวนิิราศเรื่่�องรบพม่่าที่ ่� ท่่าดิินแดงกัับมุุม มองของเอกสารประวััติิศาสตร์พม่์ ่า, ๑๐๐ เอกสารสรรพสาระ ประวัติิัศาสตร์์ไทย ลำดับที่ั ่� ๒๑. กรุุงเทพฯ : ศัักดิ์์�โสภาการ พิิมพ์์, ๒๕๕๕. วินัิัย พงศ์์ศรีีพียีร“ดิินแดนไทยตั้้�งแต่่สมััยโบราณจนถึึงต้้นพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐” ใน คู่่มืือการจััดกิิจกรรมการเรีียนการสอนประวัติิัศาสตร์์ : ประวัติิัศาสตร์์ไทยจะเรีียนจะสอนกัันอย่่างไร. กรุุงเทพ : กรม วิิชาการ, ๒๕๔๓. วินัิัย พงศ์์ศรีีพียีร. บรรณาธิิการ. ๒๓๐ ปีี ศรีีรัตันโกสิินทร์์ มรดกความ ทรงจำกรุุงเทพมหานคร. กรุุงเทพฯ : สำนัักงานสนัับสนุุนการ วิจัิัย, ๒๕๕๕. วีีณา โรจนราธา. สมเด็จ็พระเจ้้าตากสิินมหาราช. กรุุงเทพฯ : พิิมพ์์เพื่่�อ เผยแพร่่และเป็็นวิิทยบรรณเนื่่�องในโอกาส งานพระราชทานเพลิิง ศพ พลตรีี สหวััฏ (อุดุ ม) ปััญญาสุุข ณ ฌาปนสถานกองทัพับก วัดั โสมนััสวรวิิหาร กรุุงเทพฯ วัันที่่� ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๐. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม, โบราณคดีีไทยในทศวรรษที่ผ่ ่� ่านมา (กรุุงเทพฯ : เมืือง โบราณ, ๒๕๒๕. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม, สยามประเทศ : ภููมิิหลัังของประเทศไทยตั้้�งแต่ยุ่คุ ดึึกดำบรรพ์์จนถึึงสมััยกรุุงศรีีอยุุธยาราชอาณาจัักรสยาม. กรุุงเทพ : ศิิลปวััฒนธรรม, ๒๕๔๗. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม, อารยธรรมฝั่่�งทะเลตะวัันออก. ม.ป.ป. สมเด็็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภุาพ. เทศาภิิบาล. กรุุงเทฯ : สำนัักพิิมพ์์ มติิชน, ๒๕๔๕. สุุเนตร ชุุติินธรานนท์์. พม่่ารบไทย : ว่่าด้้วยการสงครามระหว่่างไทยกับั พม่่า. กรุุงเทพ ฯ : มติิชน.


241 วิทิยานิิพนธ์์ คมขำ ดีีวงษา. บทบาทของตลาดในเมืืองพระนครศรีีอยุุธยาต่่อการค้้า ภายในและภายนอก พ.ศ.๒๑๗๓-๒๓๑๐. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญา มหาบัณฑิัติภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะอัักษรศาสตร์์ จุฬุาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย, ๒๕๓๑. จุุมพฏ ชวลิติานนท์์. การค้้าส่่งออกของอยุุธยาระหว่่าง พ.ศ. ๒๑๕๐-๒๓๑๐. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญามหาบัณฑิัติภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะอัักษร ศาสตร์์ จุฬุาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๓๑. ธีีระ แก้้วประจัักษ์์. สภาพเศรษฐกิิจมณฑลนครชััยศรีี พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๔๗๕. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญามหาบัณฑิัติภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๓๔. ปราจิิน เครืือจัันทร์์, พััฒนาการทางประวัติิัศาสตร์ข์องลุ่่มน้้ำเจ้้าพระยา ตั้้�งแต่พุ่ทุธศตวรรษที่่� ๑๖ ถึึงพุทุธศตวรรษที่่� ๑๙ .วิิทยานิพินธ์์ ปริิญญามหาบัณฑิัติ สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์ศึึ์กษา มหาวิิทยาลััย ศิิลปากร, ๒๕๕๓. โยซิยููกิิ มาซููฮารา. ระบบเศรษฐกิิจของราชอาณาจัักรล้้านช้้าง(ลาว)ใน คริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗.วิิทยานิพินธ์์ปริิญญามหาบัณฑิัติ สาขา ประวััติิศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่, ๒๕๔๕. สุรพุล นาถะพิินธุุ. เครื่่�องมืือเหล็กสมั็ ัยก่่อนประวัติิัศาสตร์จ์ากบ้้านดอน ตาเพชร.วิิทยานิพินธ์์ปริิญญาศิิลปศาสตรบัณฑิัติ สาขาโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๑๙. เอนก สีีหามาตย์์, ภาชนะสำริิดสมััยก่่อนประวัติิัศาสตร์ที่์บ้ ่� ้านดอนตา เพชร. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญาศิิลป ศาสตรบัณฑิัติ สาขาโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๒๐. อุุษณีีย์์ ธงไชย. ความสัมพัันธ์ร์ะหว่่างอยุุธยาและลานนา พ.ศ.๑๘๓๔- ๒๓๑๐. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญามหาบัณฑิัติภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะอัักษรศาสตร์์ จุฬุาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๖. แหล่่งสืืบค้้นออนไลน์์ กองบรรณาธิิการศิิลปวััฒนธรรม. “กบฏธรรมเถีียร กบฏไพร่่ครั้้�งแรกในสมััย พระเพทราชา” เข้้าถึึงจาก https://www.silpa-mag.com/history/ article_๑๖๘๘๒ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๗ พฤศจิิกายน ๒๕๖๖. เจดีีย์ทุ่่ ์งเศรษฐีี. ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่่�สำคััญในประเทศไทย เข้้าถึึง จากhttps://archaeology.sac.or.th/archaeology/๕๑๑ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม ๒๕๖๖. บ้้านพรหมทิินใต้้. ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่่�สำคััญในประเทศไทย เข้้าถึึง จากhttps://archaeology.sac.or.th/archaeology/๕๑๑ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม ๒๕๖๖. ผาสุุข อิินทราวุธุ. ตำนานเมืืองลพบุรีีุ (ละโว้้), วารสารดำรงวิิชาการ เข้้าถึึง จาก http://www.damrong-journal.su.ac.th/upload/pdf/๗๙_๑. pdf เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๗ ตุุลาคม ๒๕๖๖. เมืืองคููบััว. ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่่�สำคััญในประเทศไทย เข้้าถึึง จากhttps://archaeology.sac.or.th/archaeology/๕๑๑ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม ๒๕๖๖. เมืืองศรีีเทพ. ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่่�สำคััญในประเทศไทย เข้้าถึึง จากhttps://archaeology.sac.or.th/archaeology/๕๑๑ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม ๒๕๖๖. ๒. บรรณานุกุรมภาคเหนืือ เอกสารชั้้�นต้้น สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. เอกสารรััชกาลที่่� ๕. (ไมโครฟิิลม์์) เลขที่่� ม.๒.๑๔/๒๘ พระชาติิสุุเรนทร์ร์ายงานเมืืองไชยนาทบุุรีีย์์และ มณฑลนครสวรรค์์ (ร.ศ. ๑๑๕) สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. เอกสารรััชกาลที่่� ๕. ราชกิิจจานุุเบกษา เล่่ม ๑๔ ม.๒.๑๔/๑๑๐ กรมหลวงดำรงตรวจราชการหััวเมืืองฝ่่ายเหนืือ (ร.ศ. ๑๑๗). หน้้า ๑๐๘ - ๑๐๙. สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ร.๕ ยธ.๙/๓๙ ที่่� ๖๙/๔๔๐๓ พระยาเทเวศร์์ วงษาวิิวััฒน์์ กราบทููลพระบาทสมเด็จ็พระเจ้้าอยู่่หััว ลงวัันที่่� ๑๑ สิิงหาคม ร.ศ. ๑๑๘. สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ร.๕ ยธ.๙/๖๒ ที่่� ๓/๗๙ พระยาเทเวศร์์วงษา วิิวััฒน์์ ทููลกรมขุุนสมมตอมรพัันธ์์ ลงวัันที่่� ๑๒ เมษายน ร.ศ. ๑๒๑. สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ร.๕. ยธ. ๕. ๒/๑๑ ที่่� ๖๒ กรมหมื่่�นพิิทยลาภ พฤฒิิธาดา ลงวัันที่่� ๑๒ ตุุลาคม ร.ศ. ๑๑๕. สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ร.๕. ยธ. ๕. ๙./๑๓ เจ้้าฟ้้ากรมขุุนนริิศราฯ กราบบัังคมทููลพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว (๒๑ สิิงหาคม ร.ศ. ๑๒๑) สำนัักจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ร.๕. ยธ.๙/๕๗ เรื่่�องพระยาเพชรรัตันสงคราม ขออนุุมััติิเงิิน ๕,๐๐๐ ทางเกวีียนจากเมืืองพิิจิิตรไปเมืือง เพชรบููรณ์์ และแต่่เมืืองเพชรบููรณ์์ไปเมืืองหล่มสั่กั (๑ มกราคม – ๒๘ กุมุภาพัันธ์์ ร.ศ. ๑๑๘)


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 242 หนัังสืือและบทความ กรมศิิลปากร. เครื่่�องถ้้วยบุุรีีรััมย์์และเครื่่�องถ้้วยสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ : ดอกเบี้้�ย. ๒๕๓๙. กรมศิิลปากร. จดหมายเหตุุพระราชดำเนิินเสด็จ็เลีียบมณฑลฝ่่ายเหนืือ พระพุทุธศักรัาช ๒๔๖๙. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๗. กรุุงเทพฯ : กรมศิิลปากร. ๒๕๖๐. กรมศิิลปากร. โบราณวัตถุัสมัุัยทวารวดีีแห่่งใหม่่และรายงานการขุุดค้้น โบราณวัตถุัสถุาน ณ บ้้านโคกไม้้แดน อำเภอพยุุหะคีีรีี จัังหวััด นครสวรรค์. ก์รุุงเทพฯ : กรมศิิลปากร. ๒๕๐๘ กรมศิิลปากร. พระราชพงศาวดาร ฉบับัหลวงประเสิิฐอักัษรนิิติ์์�. พระนคร : คุรุุสภา. ๒๕๐๔. คณะกรรมการฝ่่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุุ ในคณะกรรมการ อำนวยการจัดังานเฉลิิมพระเกีียรติิ พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััว. วััฒนธรรม พััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์ เอกลัักษณ์์และ ภููมิิปััญญา จัังหวััดนครสวรรค์. ก์รุุงเทพ ฯ : กรมศิิลปากร. ๒๕๔๒. คณะกรรมการฝ่่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุุ ในคณะกรรมการ อำนวยการจัดังานเฉลิิมพระเกีียรติิ พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััว. วััฒนธรรมพััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์เอกลัักษณ์์และ ภููมิิปััญญา จัังหวััดตาก. กรุุงเทพ ฯ : กรมศิิลปากร. ๒๕๔๒. คณะกรรมการฝ่่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุุ ในคณะกรรมการ อำนวยการจัดังานเฉลิิมพระเกีียรติิ พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััว. วััฒนธรรมพััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์เอกลัักษณ์์และ ภููมิิปััญญา จัังหวััดพิิจิิตร. กรุุงเทพ ฯ : กรมศิิลปากร. ๒๕๔๒. คณะอนุุกรรมการตรวจสอบและชำระตำนานพื้้�นเมืือง. ตำนานพื้้�นเมืือง เชีียงใหม่. เ่ ชีียงใหม่่ : ศููนย์วั์ัฒนธรรมเชีียงใหม่่ และศููนย์ศิ์ ิลป วััฒนธรรม สถาบัันราชภััฏเชีียงใหม่่. ๒๕๓๘. จัักรกฤษณ์์ นรนิิติิผดุุงการ. สมเด็จ็พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาดำรง ราชานุุภาพ กับกรัะทรวงมหาดไทย. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ : โอเดีียนสโตร์์. ๒๕๒๗. ดนััย ไชยโยธา. พััฒนาการของมนุุษย์กั์บัอารยธรรมในราชอาณาจัักรไทย เล่ม่ ๑. กรุุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้้�นติ้้�ง เฮ้้าส์์. ๒๕๔๓. เตช บุุนนาค. การปกครองระบบเทศาภิิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๒๔๕๘. ภรณีี กาญจนััษฐิิติิ (แปล). พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์. ๒๕๔๘ เทพประวิณิจัันทร์์แรง. ประวัติิัศาสตร์์พระพุทุธศาสนาในล้้านนา : การ วิิเคราะห์์ข้้อมููลจากคััมภีีร์์ และหลัักฐานทางโบราณคดีี. (วารสารพุุทธศาสตร์ศึึ์กษา ปีที่่� ๑๐ ฉบัับที่่� ๑ ม.ค. - มิิ.ย. ๒๕๖๒) ธวััช ปุณุโณทก. การอ่่านจารึึกสมััยต่่าง ๆ . กรุุงเทพ ฯ : มหาวิิทยาลััย รามคำแหง. ๒๕๓๕. ธิิดา สาระยา. อารยธรรมไทย. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. (กรุุงเทพฯ : เมืืองโบราณ. ๒๕๕๒) นิิจ หิิญชีีระนัันทน์์. “จัันเสน เมืืองทวารวดีีที่ถูู ่� กลืืม” ใน สุจิุตต์ิ ์ วงษ์์เทศ. ใน สุจิุตต์ิ ์ วงษ์์เทศ. สัังคมและวััฒนธรรมจัันเสน เมืืองแรกเริ่ม ่� ในลุ่่ม ลพบุุรีี-ป่่าสักั. กรุุงเทพฯ : เรืือนแก้้วการพิิมพ์์. ๒๕๓๕. ประพิิณ ทัักษิิณ. “เมืืองโบราณดอนคา ข้้อมููลใหม่่จากการขุุดค้้นทาง โบราณคดีี”. ใน Veridian E-Journal. Silpakorn University ฉบับั ภาษาไทย สาขามนุุษยศาสตร์์ สัังคมศาสตร์์ และศิิลปะ. (ปีที่่� ๘ ฉบัับที่่� ๑ เดืือนมกราคม – เมษายน ๒๕๕๘) พงศาวดารโยนก ฉบับัหอสมุุดแห่่งชาติิ. พระนคร : ศิิลปะบรรณาคาร. ๒๕๐๔. พระพิิศาลสงคราม. ตำราปกครอง (เล่ม่ ๑). (พระนคร : โรงพิิมพ์สิ์ริิเจริิญ. ร.ศ. ๑๒๑. พิิมพ์อุ์ุมา ธััญธนกุุล. ระบบคมนาคมทางบกกับพััฒนาการทางเศรษฐกิิจ ในภาคเหนืือของไทย พ.ศ. ๒๔๗๕ - พ.ศ. ๒๕๕๙. (กรุุงเทพฯ : โครงการความเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจและสัังคมไทยใน ปริิทรรศน์์ประวััติิศาสตร์์ (สกว.). ๒๕๖๐. พิิมพ์อุ์ุมา ธััญธนกุุล. รายงานการวิิจััยเรื่่�องประวัติิัศาสตร์ชุ์มุชนสัันคูู อำเภอเมืือง จัังหวััดนครสวรรค์์. สถาบัันวิิจััยและพััฒนา มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์. ๒๕๕๖. พิริิยะ ไกรฤกษ์์. “ศิิลปะโบราณวัตถุัพุบที่จั ่� ังหวัดันครสวรรค์์ ก่่อนพุุทธศตวรรษ ที่่� ๑๙ ” ใน สุภรุณ์์ โอเจริิญ. นครสวรรค์์ : รััฐกึ่่�งกลาง รายงาน การสััมมนาประวััติิศาสตร์์และวััฒนธรรมท้้องถิ่่�นจัังหวััด นครสวรรค์์. นครสวรรค์์ : เรืือนแก้้วการพิิมพ์์. ๒๕๒๘. พิริิยะ ไกรฤกษ์์. ศรีีเทพ ทวารวดีีราชธานีีแห่่งแรกของสยาม. กรุุงเทพ : มููลนิิธิิพิริิยะ ไกรฤกษ์์. ๒๕๖๔. เพ็็ญสุภุา สุุขคตะ. พระนางจามเทวีีราชนารีีสองนคร จากลวปุรุะสู่่ หริิภุุญชััย. ลพบุรีีุ : สภาวััฒนธรรมจัังหวัดัลพบุรีีุ. ๒๕๖๖. รััศมีีชููทรงเดช. โบราณคดีีบนพื้้�นที่ ่� สููงในอํําเภอปางมะผ้้า จัังหวััด แม่ฮ่่ ่องสอน. นครปฐม : โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๔๘. วรรณีี ภููมิจิตริสุรพุล นาถะพิินธุุ. “โบราณคดีีนครสวรรค์์ : หลัักฐานเก่่าใหม่่” ใน สุภรุณ์์ โอเจริิญ. นครสวรรค์์ : รััฐกึ่่�งกลาง รายงาน การสััมมนาประวััติิศาสตร์์และวััฒนธรรมท้้องถิ่่�นจัังหวััด นครสวรรค์. ก์รุุงเทพฯ : วิิทยาลััยครููนครสวรรค์์. ๒๕๒๘.


243 วศิิน ปััญญาวุธตรุะกููล. ภููมิิปริิทััศน์์ภาคเหนืือตอนล่่างสายธารอารยธรรม โขงขสาละวิิน. พิิษณุุโลก : สถานอารยธรรมศึึกษาโขง-สาละวิิน มหาวิิทยาลััยนเรศวร. ๒๕๕๖. วินัิัย พงศรีีเพียีร. ล้้านนามหาปกรณัมั : มรดกความทรงจำแห่่งอภิินวบุุรีี – ศรีีหริิภุุญชััย. นครปฐม : โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๖๔. วินัิัย พงศรีีเพียีร. สุุโขทััยคดีีประวัติิัศาสตร์์ จารึึกศึึกษา และนิิรุกติิปรุะวัติิั (ฉบับัเชลยศักดิ์์ ั �) เล่ม่ ๑.นครปฐม : มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๖๓. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม. “จัันเสน เมืืองแรกเริ่่�มในลุ่่มแม่น้้ ่ ำลพบุรีีุ-ป่่าสััก” ใน สุจิุตต์ิ ์ วงษ์์เทศ. สัังคมและวััฒนธรรมจัันเสน เมืืองแรกเริ่ม ่� ในลุ่่ม ลพบุุรีี-ป่่าสักั. กรุุงเทพฯ : เรืือนแก้้วการพิิมพ์์. ๒๕๓๙. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม. เมืืองโบราณในอาณาจัักรสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ : เมืือง โบราณ. ๒๕๕๒. ศรีีศัักรวััลลิิโภดม. เหล็ก็ “โลหะปฏิิวัติิั” เมืือง ๒๕๐๐ ปีมีาแล้้ว ยุคุเหล็ก็ใน ประเทศไทย : พััฒนาการทางเทคโนโลยีีและสัังคม. กรุุงเทพฯ : มติิชน. ๒๕๔๘. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม. เมืืองโบราณในอาณาจัักรสุุโขทััย. กรุุงเทพ : เมืือง โบราณ. ๒๕๕๒. ศัักดิ์์ชั�ัย สายสิิงห์์. เจดีีย์์ในประเทศไทย : รููปแบบ พััฒนาการ และพลััง ศรัทัธา. นนทบุรีีุ : เมืืองโบราณ. ๒๕๖๐. ศัักดิ์์ชั�ัย สายสิิงห์์. พระพุทุธรููปสำคััญและพุทุธศิิลป์์ในดิินแดนไทย. พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ : เมืืองโบราณ. ๒๕๕๕. ศัักดิ์์ชั�ัย สายสิิงห์์. ศิิลปะสุุโขทััย : บทวิิเคราะห์์หลักัฐานโบราณคดีีจารึึก และศิิลปกรรม. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒ กรุุงเทพฯ : สมาคมนัักโบราณคดีี. ๒๕๖๓. ศิิวะลีีย์์ ภู่่เพชร์์ เรื่่�องการขุดคุ้้นที่จั ่� ันเสน พ.ศ. ๒๕๑๑ - ๒๕๑๒. ใน สุจิุตต์ิ ์ วงษ์์ เทศ. สัังคมและวััฒนธรรมจัันเสน เมืืองแรกเริ่ม ่� ในลุ่่มลพบุุรีี- ป่่าสักั. กรุุงเทพฯ : เรืือนแก้้วการพิิมพ์์. ๒๕๓๙. สมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภุาพ และพระนาราชเสนา. เทศาภิิบาล พระนิิพนธ์ข์องสมเด็จ็ฯกรมพระยาดำรงราชา นุุภาพ. กรุุงเทพฯ : มติิชน. ๒๕๔๕. สมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภุาพ. อธิิบายระยะทาง ล่่องลำน้้ำพิิง ตั้้�งแต่่เมืืองเชีียงใหม่ถึึ่งปากน้้ำโพธิ์์. (ก�รุุงเทพฯ : สำนัักวรรณกรรมประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร. ๒๕๖๒. สรััสวดีีอ๋๋องสกุุล. ประวัติิัศาสตร์์ล้้านนา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๑๐. (กรุุงเทพฯ : อมริินทร์พริ้้ ์ �นติ้้�งแอนด์พั์ ับลิิชชิ่่�ง. ๒๕๕๗) สฤษดิ์์พ�งศ์์ ทรงขุุน. ทวารวดีี : ประตููสู่่การค้้าบนเส้้นทางสายไหมทางทะเล. กรุุงเทพฯ : ภาควิิชาโบราณคดีี คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััย ศิิลปากร. ๒๕๕๘. สำนัักพิิมพ์์คติิ. เครื่่�องปัันดิินเผา. กรุุงเทพฯ : คติิ. ๒๕๕๔. สุจิุตต์ิ ์ วงษ์์เทศ (บรรณาธิิการ). “ปฐมวงศ์์ ฉบับขัอง ก.ศ.ร. กุุหลาบ” ใน อภิินิิหารบรรพบุุรุุษและปฐมวงศ์์”. กรุุงเทพฯ : มติิชน. ๒๕๔๕. สุจิุินดา เจีียมศรีีพงษ์์. “ชุุมชนชาวจีีนและการเติิบโตทางการค้้าในจัังหวัดั นครสวรรค์์” ใน สุภรุณ์์ โอเจริิญ. นครสวรรค์์ : รััฐกึ่่�งกลาง รายงานการสััมมนาประวััติิศาสตร์์และวััฒนธรรมท้้องถิ่่�น จัังหวััดนครสวรรค์. (ก์รุุงเทพฯ : วิิทยาลััยครููนครสวรรค์์. ๒๕๒๘. แสง มนยวิทููริ . “เล่่าจากความทรงจำของ ร.ต.ท.แสง มนยวิทููริ ” ใน คอลัมน์ั ์ สุุวรรณภููมิิสัังคมวััฒนธรรม. หนัังสืือพิิมพ์์มติิชน. ฉบัับประจำ วัันพฤหััสบดีีที่่� ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒. อานัันท์์ กาญจนพัันธุ์์. “ตำนานและลัักษณะความคิดิทางประวััติิศาสตร์์ในล้้านนา ระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ และ ๒๑” ใน ชาญวิิทย์์ เกษตรศิริิ (บรรณาธิิการ). ปรััชญาประวัติิัศาสตร์. ์พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. กรุุงเทพ ฯ : ไทยวััฒนาพานิิช. ๒๕๒๗. วิทิยานิิพนธ์์ ขวััญเมืือง จัันทโรจนีี. ความเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจของหััวเมืืองฝ่่าย เหนืือในสมััยรัตันโกสิินทร์์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๙๔. วิิทยานิพินธ์์ ปริิญญามหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย. ๒๕๓๔. ชวิิศา ศิริิ. การค้้าของอาณาจัักรล้้านนา ตั้้�งแต่ต้่ ้นพุทุธศตวรรษที่่� ๑๙ ถึึง ต้้นพุทุธศตวรรษที่่� ๒๒. วิิทยานิพินธ์อั์ ักษรศาสตรมหาบัณฑิัติ สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ มหาวิิทยาลััย ศิิลปากร. ๒๕๕๐. นฤมล วััฒนพานิิช. ระบบเทศาภิิบาลกับผลกรัะทบต่่อสภาพเศรษฐกิิจ มณฑลพิิษณุุโลก (พ.ศ. ๒๔๓๗ - ๒๔๗๖). วิิทยานิพินธ์อั์ ักษร ศาสตร์์มหาบัณฑิัติ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๒๖. ปลายอ้้อ ชนะนนท์์. บทบาทนายทุุนพ่่อค้้าที่ ่�มีีต่่อการก่่อและขยาย ตััวของทุุนนิิยมภาคเหนืือของประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๕๒๓. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญาเศรษฐศาสตร์์มหาบัณฑิัติภาควิิชา เศรษฐศาสตร์์ บัณฑิัตวิิทยาลััย จุฬุาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย. ๒๕๒๙. พููนพร พููลทาจัักร. การเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจในมณฑลพายััพ หลัังการตััดเส้้นางรถไฟสายเหนืือ พ.ศ. ๒๔๖๔ - ๒๔๘๔. วิิทยานิพินธ์อั์ ักษรศาสตร์์มหาบัณฑิัติ สาขาประวััติิศาสตร์์เอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้. ๒๕๓๐.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 244 มรกต อารีียะ. การค้้าไม้้สัักในดิินแดนล้้านนาในรััชสมััยพระบาท สมเด็จ็พระจุลจุอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓). วิิทยานิพินธ์์ปริิญญาการศึึกษามหาบัณฑิัติวิิชาเอกประวััติิศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประสานมิตริ. ๒๕๓๕. ศิริพริรัตันพานิิช. วััดป่่าแดงศููนย์กล์างพระพุทุธศาสนา นิิกายสิิหฬภิิกขุุ ในอาณาจัักรล้้านนา พุทุธศตวรรษที่่� ๒๐ - ๒๑. (ปริิญญา ศิิลปศาสตรมหาบัณฑิัติ สาขาวิิชาโบราณคดีีสมััยประวััติิศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๕๓. สรััสวดีี ประยููรเสถีียร.การปฏิิรููปการปกครองมณฑลพายััพ พ.ศ. ๒๔๓๖ - ๒๔๗๖. (วิิทยานิิพนธ์์การศึึกษามหาบััณฑิิต มหาวิิทยาลััย ศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประสานมิตริ. ๒๕๒๓ สหภััส อิินทรีีย์์. ความสััมพัันธ์์ทางการค้้าระหว่่างเชีียงตุุงกัับล้้านนา พ.ศ. ๒๑๐๑ – ๒๓๑๗. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญาศิิลปศาสตรบัณฑิัติ สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์เอเชีีย มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประสานมิตริ. ๒๕๕๕. สุภุาพรรณ ขอผล. การเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจของภาคเหนืือตอนล่่าง ในช่่วงปีี พ.ศ. ๒๔๔๘ – ๒๕๘๔. วิิทยานิพินธ์ศิ์ิลปศาสตรมหา บัณฑิัติ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์. ๒๕๓๔. แหล่่งสืืบค้้นออนไลน์์ อุทุยานประวัติิัศาสตร์ก์ำแพงเพชร. เข้้าถึึงจาก https://www.finearts.go.th/ main/view/๘๒๑๕ เมื่่�อวัันที่่� ๒๐ กัันยายน ๒๕๖๖ เมืืองศรีีเทพ.ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่ส ่� ำคััญในประเทศไทย. เข้้าถึึงจาก https://archaeology.sac.or.th archaeology/๕๑๑ เข้้าถึึงเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม ๒๕๖๖ ฐานข้้อมููลจารึึกในประเทศไทย. จารึึกวััดเขาสุุมนกููฏ. จาก http://www.sac. or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=๒๐๑. เข้้าถึึง เมื่่�อ ๒๐ กัันยายน ๒๕๖๖. ฐานข้้อมููลจารึึกในประเทศไทย. จารึึกวััดเขากบ. จากhttp://www.sac.or.th/ databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=๒๑๕. เข้้าถึึงเมื่่�อ ๒๐ กัันยายน ๒๕๖๖. ๓. บรรณานุกุรมภาคใต้้ เอกสารชั้้�นต้้น “แผนที่ส ่� ยาม แสดงเขตประเทศ เขตมณฑล ที่ตั้้่� �งที่ว่ ่� ่าการรััฐบาลมณฑล ที่ตั้้่� �งที่ว่ ่� ่าการจัังหวััด”, เอกสารหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ, ผ รล. ๐๘๐/๑๙. รายงานพระสฤษดิ์์�พจนกรณ์์ เล่ม่ ๑๒ ว่่าด้้วยการตรวจแหลมมลายููใน พระราชอาณาเขตรร.ศ.๑๑๓ เอกสารหอจดหมายเหตุุแห่่งชาติิ. ม.๒.๑๔/๒๒. วิทิยานิิพนธ์์ กมลทิพย์ิ ์ ธรรมกีีระติิ. “ความสัมพัันธ์ร์ะหว่่างเมืืองภาคใต้กั้บัอยุุธยา ตั้้�งแต่ต้่ ้นพุทุธศตวรรษที่่� ๒๑ ถึึง ต้้นพุทุธศตวรรษที่่� ๒๔” . วิิทยานิพินธ์อั์ ักษรศาสตรมหาบัณฑิัติ สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้บัณฑิัตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๐. นฤมล ขุุนวีีช่่วย. บริิการจากระบบนิิเวศและความอยู่่ดีีมีีสุุขของชาวมานิิ บริิเวณเทืือกเขาบรรทััดในภาคใต้ข้องประเทศไทย. ปริิญญา ปรััชญาดุุษฎีีบัณฑิัติ สาขาวิิชาการจัดัการสิ่่�งแวดล้้อม มหาวิิทยาลััย สงขลานคริินทร์์. ๒๕๖๕. ปรีีชา นุ่่นสุุข. ประวัติิัศาสตร์์นครศรีีธรรมราช : พััฒนาการของรััฐบน คาบสมุทรุไทยในพุทุธศตวรรษที่่� ๑๑-๑๙. วิิทยานิพินธ์์ปริิญญา อัักษรศาสตรดุุษฎีีบัณฑิัติจุฬุาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ๒๕๔๔. ลลิดิา เกิดิเรืือง. “บทบาทชาวจีีนต่่อพััฒนาการทางเศรษฐกิิจและสัังคม ของเมืืองตรััง พ.ศ. ๒๔๕๘ – ทศวรรษที่่� ๒๕๒๐.”วิิทยานิพินธ์์ ปริิญญามหาบัณฑิัติ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๙. อััปสร ณ ระนอง. “การเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจจากกิิจการเหมืือง แร่่ดีีบุุกสู่่อุุตสาหกรรมการท่่องเที่่�ยวในจัังหวััดภููเก็็ต พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๕๓๐.” วิิทยานิพินธ์์ปริิญญามหาบัณฑิัติ มหาวิิทยาลััย ศิิลปากร, ๒๕๕๐. สุภุาพ บุุญไชย. ภููมิิศาสตร์ปร์ะเทศไทย. กรุุงเทพมหานคร: โอเดีียนสโตร์์, ๒๕๔๙. หน้้า ๑๒๕-๑๒๖. อมรรัตน์ั ์ พิิยะกููล. “พััฒนาการของชุมุชนโบราณในจัังหวััดพัทลุัุงก่่อน พุทุธศตวรรษที่่� ๒๔ จากหลักัฐานโบราณคดีี.” วิิทยานิพินธ์์ ปริิญญามหาบัณฑิัติ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๑.


245 หนัังสืือและบทความ กรมทรัพัยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง. คลัังความรู้ทรั้ัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่่�ง. กรุุงเทพฯ: กระทรวงทรัพัยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อม. ๒๕๖๓. กรมส่่งเสริิมวััฒนธรรม. มรดกวััฒนธรรมภาคใต้. ก้รุุงเทพฯ: โรงพิิมพ์ชุ์ุมนุุม สหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย จำกัดั. ๒๕๖๒. กิิตติิ ตัันไทย. หนึ่่�งศตวรรษเศรษฐกิิจของคนลุ่่มทะเลสาบสงขลา. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิจัิัย, ๒๕๕๒. ครองชััย หัตัถา. พหุวัุัฒนธรรมภาคใต้้ในมิิติิภููมิิรััฐศาสตร์์. สารอาศรม วััฒนธรรมวลััยลัักษณ์์, ๑๕(๑), ๒๕๕๘. หน้้า ๑-๒๔. ครองชััย หัตัถา. อาณาจัักรลัังกาสุุกะประวัติิัศาสตร์ยุ์คตุ้้นของคนชายแดน ภาคใต้้. ปัตตัานีี : ร้้านภููรีี ปริ้้�นช็็อป. ๒๕๕๒. ควอริิช เวลส์์, การปกครองและการบริิหารของไทยสมััยโบราณ, แปลโดย กาญจนีี สมเกีียรติิกุุลและยุพุา ชมจัันทร์์ (กรุุงเทพฯ : เจริิญวิิทย์์ การพิิมพ์์, ๒๕๑๙), ๑๓๕. ฉัตรทิัพย์ิ ์ นาถสุภุา และ พรวิิไล เลิิศวิิชา. วััฒนธรรมหมู่่บ้้านไทย. กรุุงเทพฯ: สร้้างสรรค์์, ๒๕๓๗. ฉัตรทิัพย์ิ ์ นาถสุภุา และ พููนศัักดิ์์� ชานิิกรประดิิษฐ์์. เศรษฐกิิจหมู่่บ้้านภาค ใต้ฝั่้่�งตะวัันออกในอดีีต. กรุุงเทพฯ: สร้้างสรรค์์, ๒๕๔๐. ชาญวิิทย์์ เกษตรศิริิ (บรรณาธิิการ). ประมวลแผนที่่� : ประวัติิัศาสตร์์ – ภููมิิศาสตร์์ – การเมืืองกับลัทธิิ ัอาณานิิคมในอาเซีียน – อาคเนย์์. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโตโยต้้าประเทศไทยและมููลนิิธิิโครงการ ตำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์. ๒๕๕๕. ดำรงราชานุุภาพ, สมเด็็จฯ กรมพระยา. เทศาภิิบาล ฉบัับมติิชน ศิิลปวััฒนธรรม ฉบับพิิ ัเศษ. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๕. ตวงทิพย์ิ ์ กลิ่่�นบุุปผา. “ปัตตัานีีในจดหมายเหตุตุะวัันตก ค.ศ. ๑๖๑๓ (พ.ศ. ๒๑๕๖).” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวัติิัศาสตร์์ไทย ลำดับที่ั ่� ๑๒. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔, ๑๐๓ – ๑๑๙. นฤมล ขุุนวีีช่่วย และมานะ ขุุนวีีช่่วย. ชีีวิิตและวััฒนธรรมชาวเลอููรักลัา โว้้ยแห่่งทะเลอัันดามััน. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานคณะกรรมการ วััฒนธรรมแห่่งชาติิ กระทรวงวััฒนธรรม. ๒๕๕๓. นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. ปากไก่่และใบเรืือ : ว่่าด้้วยการศึึกษาประวัติิัศาสตร์์ วรรณกรรมต้้นรััตนโกสิินทร์์. กรุุงเทพฯ: แพรวสำนัักพิิมพ์์, ๒๕๓๘. นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. “นครศรีีธรรมราชในราชอาณาจัักรอยุธุยา.” ใน กรุุงแตก, พระเจ้้าตากฯและประวััติิศาสตร์์ไทย. กรุุงเทพฯ : ศิิลปวััฒนธรรม, ๒๕๔๐, ๒๔๙. ปิิยดา ชลวร. ประวัติิัศาสตร์ปััตต ์านีีในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๘ จาก บัันทึึกของจีีน ริิวกิิว และญี่ปุ่่ ่� น. เชีียงใหม่่: ซิิลค์์เวอร์์ม, ๒๕๕๔. พรพิิรมณ์์ เชีียงกููล, “การเข้้ามาของลััทธิิสัังคมนิิยมคอมมิิวนิิสต์์ใน ประเทศไทยก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� ๒” วารสารสัังคมศาสตร์์และ มนุุษยศาสตร์ ๓๓ (๑) : ๑ – ๑๒ (๒๕๕๐) ์ ภานุวัุัฒน์์ เอื้้�อสามาลย์์, “อายุุสมััยของพระมหาธาตุุเจดีีย์์ นครศรีีธรรมราช จากงานโบราณคดีีล่่าสุดุ ”, เอกสารประกอบการสัมมันา เรื่่�อง วััดพระมหาธาตุุวรมหาวิิหารกัับประวััติิศาสตร์์พระพุุทธ ศาสนาเถรวาทลัังกาวงศ์์ วัันที่่� ๓๐ มีีนาคม ๒๕๖๑ มานพ ถาวรวััฒน์์สกุุล. ขุุนนางอยุุธยา. กรุุงเทพฯ : มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์, ๒๕๓๖. มานะ ขุุนวีีช่่วย และคณะ. เอกสารประกอบการสอนรายวิิชา นครศรีีธรรมราชศึึกษา. หมวดวิิชาศึึกษาทั่่�วไป มหาวิิทยาลััย ราชภััฏนครศรีีธรรมราช. ๒๕๖๐. มานะ ขุุนวีีช่่วย. เอกสารประกอบการสอนรายวิิชาประวัติิัศาสตร์์เอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้. มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครศรีีธรรมราช. ๒๕๖๓. มานิติวััลลิิโภดม. “สภาพของอาณาจัักรต่่างๆ ในภาคใต้้ของประเทศไทยก่่อน ศรีีวิชัิัยมีีอำนาจ,” ใน รายงานการสัมมันาเรื่่�องประวัติิัศาสตร์์- โบราณคดีีศรีีวิิชััย. กรมศิิลปากร, ๒๕๒๕. ยงยุุทธ ชููแว่่น “อำนาจทางการเมืืองในความสืืบเนื่่�องบทบาทการค้้าของ เมืืองสงขลาตั้้�งแต่่กลางพุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ ถึึงปลายพุุทธศตวรรษ ที่่� ๒๓.” ใน คาบสมุทรุไทยในราชอาณาจัักรสยาม. ยงยุุทธ ชููแว่่น, บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ: ๒๕๕๐. ยงยุุทธ ชููแว่่น. ประวัติิัศาสตร์ท้์ ้องถิ่่�นไทย. กรุุงเทพฯ: ยิิปซีีกรุ๊๊ป. ๒๕๖๒. รายงานการสัมมันาประวัติิัศาสตร์์นครศรีีธรรมราชครั้้�งที่่� ๑.พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒ นครศรีีธรรมราช : มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครศรีีธรรมราช ๒๕๕๒. รายงานการสััมมนาประวััติิศาสตร์์นครศีีรธรรมราช ครั้้�งที่่� ๒ เรื่่�อง ประวัติิัศาสตร์์เศรษฐกิิจและสัังคมของนครศรีีธรรมราช. พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� ๒. นครศรีีธรรมราช : มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครศรีีธรรมราช ๒๕๕๒.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 246 วรพร ภู่่พงศ์์พัันธุ์์. “คำให้้การลููกเรืือสำเภาจีีนเกี่่�ยวกัับสยาม ในสมััย คริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๗.” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระ ประวัติิัศาสตร์์ไทย ลำดับที่ั ่� ๑๑. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔, ๑๙ – ๑๒๘. วิิชญ์์ จอมวิิญญาณ์์. ภููมิิศาสตร์์ประเทศไทย. คณะมนุุษยศาสตร์์และ สัังคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยราชภััฏอุดรธุานีี.๒๕๖๐. วิิเชีียร ณ นครและคนอื่่�นๆ, นครศรีีธรรมราช. กรุุงเทพฯ : อัักษรสััมพัันธ์์, ๒๕๒๑. วินัิัย พงศ์์ศรีีเพียีร. “ดิินแดนไทยตั้้�งแต่่สมััยโบราณจนถึึงต้้นพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐,” ใน คู่่มืือการจััดกิิจกรรมการเรีียนการสอนประวัติิัศาสตร์์ ประวัติิัศาสตร์์ไทยจะเรีียนจะสอนกัันอย่่างไร. กรุุงเทพฯ: กรม วิิชาการ กระทรวงศึึกษาธิิการ, ๒๕๔๓. สมคิดิ ทองสง และคณะ. “ประวััติิศาสตร์ชุ์ุมชนบริิเวณป่่าพรุุควนเคร็็งใน เขตรอยต่่อจัังหวัดพััทลุุง สงขลาและภาคใต้้.” เอกสารประกอบ การสััมมนาทางวิิชาการ เรื่่�อง ทะเลสาบในกระแสความ เปลี่่�ยนแปลง: ประวัติิัศาสตร์์ วััฒนธรรมและกระบวนทััศการ พััฒนา เสนอที่่�สถาบัันทัักษิณิคดีี อำเภอเมืือง จัังหวัดัสงขลา, ๑๙ – ๒๑ มิถุิุนายน ๒๕๔๖. สารููป ฤทธิ์์ชูู� . ตามรอยช้้างแลใต้้. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุน การวิจัิัย, ๒๕๔๓. สืืบพงศ์์ ธรรมชาติิ. อารยธรรมแดนใต้้ตามพรลิิงค์์ ลัังกาสุุกะ ศรีีวิชัิัยและศรีี ธรรมราชมหานคร (เมืืองสิิบสองนัักษัตรั). สารอาศรมวััฒนธรรม วลััยลักัษณ์์. ๑๔(๑),๑๔๕-๑๖๑. ๒๕๕๗. สุุจิิตต์์ วงษ์์เทศ. รััฐปััตตานีี ใน “ศรีีวิิชััย” เก่่าแก่่กว่่ารััฐสุุโขทััยใน ประวัติิัศาสตร์์. กรุุงเทพฯ: มติิชน. สุุธิิวงศ์์ พงศ์์ไพบููลย์์. “กััลปนาในภาคใต้้.” สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาค ใต้้ เล่ม่ ๑. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. อมรา ศรีีสุุชาติิ. สายรากภาคใต้้ ภููมิิลัักษณ์์ รููปลัักษณ์์ จิิตลัักษณ์์. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิจัิัย. ๒๕๔๔. อาคม เดชทองคำ. หััวเชืือกวััวชน. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุน การวิจัิัย. ๒๕๔๓. อารยา ดำเรืืองและชััยวุฒิุิ พิิยะกููล. “การกััลปนาวัดับริิเวณลุ่่มน้้ำทะเลสาบ สงขลาระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๒๑ –ต้้นพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓” วารสารปาริิชาติิ มหาวิิทยาลััยทัักษิณิ Vol. 29 No. 21 (AprilSeptember) ๒๐๑๖: ๑๒๘-๑๕๑. แหล่่งสืืบค้้นออนไลน์์ ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: ไทดำ. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๗๗/.๒๕๖๖. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: มลายูู. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๙๕/.๒๕๖๖. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: มอแกน. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๙๖/.๒๕๖๖. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: มอแกลน. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๙๗/.๒๕๖๖. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: มานิิ. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๒๐๐/.๒๕๖๖. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: อููรัักลาโวยจ. https:// ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๒๑๖/. ๒๕๖๖. สงบ ส่่งเมืือง. สารานุุกรมวััฒนธรรมไทยภาคใต้้ https://db.sac.or.th/thailandcultural-encyclopedia/detail.php?id=๒๑๓๒๖ บรรณานุกุรมภาคตะวัันออกเฉียงเหี นืือ เอกสารชั้้�นต้้น “ใบบอกเมืืองเขมราถ จ.ศ.๑๒๒๘ (๒๔๐๙).” รััชกาลที่่� ๔. เลขที่่� ๒๕. หอสมุดุแห่่งชาติิ. “ใบบอกหลวงอัครัสุุนทร เสมีียนตรามหาดไทย เมืืองสระบุุรีีจ.ศ.๑๑๙๔.” (๒๓๗๕). กระดาษเพลา. อัักษรไทย. รััชกาลที่่� ๓. เลขที่่� ๓๔. หอสมุดุแห่่งชาติิ. หนัังสืือและบทความ กนิิษฐา รัตันโกเศศ. “กะเลิิงบ้้านกุรุคุุ นครพนม.” วารสารมหาวิิทยาลััย ศรีีนคริินทรวิิโรฒ มหาสารคาม ๘,๒ (กรกฎาคม-ธัันวาคม, ๒๕๓๒): หน้้า ๑๐๔-๑๑๑. กรมศิิลปากร. คู่่มืือแนะนำเอกสารจดหมายเหตุุจัังหวััดอุบลรุาชธานีี (เอกสารกรมราชเลขาธิิการ รััชกาลที่่� ๕-รััชกาลที่่� ๗). กรุุงเทพฯ: อมริินทร์พริ้้ ์ �นติ้้�ง กรุ๊๊ฟ, ๒๕๓๒. ชอบ ดีีสวนโคกและสุวิุิทย์์ ธีีรศาศวัตั. คำบรรยายประวัติิัศาสตร์ก์ารเมืือง การปกครองและวััฒนธรรมอีีสาน ขอนแก่่น: มหาวิิทยาลััย ขอนแก่่น, ๒๕๔๙.


247 ดารารัตน์ั ์ เมตตาริิกานนท์์ และสมศัักดิ์์� ศรีีสัันติิสุุข. รายงานการวิิจััยเรื่่�อง การเปลี่่�ยนแปลงทางด้้าน เศรษฐกิิจ การเมืือง สัังคม และ วััฒนธรรมในหมู่่บ้้านอีีสาน: ศึึกษากรณีีหมู่่บ้้านนาป่่าหนาด. ขอนแก่่น: สถาบัันวิิจััยและพััฒนา มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๒๙. ดารารัตน์ั ์ เมตตาริิกานนท์์ และสมศัักดิ์์� ศรีีสัันติิสุุข. รายงานการวิิจััยเรื่่�องชาว จีีนในอำเภอสองแห่่งของ จัังหวััดยโสธร: การศึึกษาเปรีียบ เทีียบเฉพาะกรณีี. ขอนแก่่น: มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๓๒. ดำรงราชานุภุาพ, สมเด็็จฯกรมพระยา. เทศาภิิบาล. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๕. เตช บุุนนาค. การปกครองระบบเทศาภิิบาลของประเทศสยาม พ.ศ.๒๔๓๕-๒๔๕๘: กระทรวงมหาดไทย สมััย สมเด็จ็พระเจ้้า บรมวงศ์์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุุภาพ. แปลโดย ภรณีี กาญจนััษฐิิติิ. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโครงการตำราสัังคมศาสตร์์และ มนุุษยศาสตร์์, ๒๕๓๒. ธวััช ปุณุโณทก.“อัักษรในประเทศไทยกัับการตีีความเรื่่�องชนชาติิ,” ศิิลป วััฒนธรรม ๓,๑๒ (ตุุลาคม ๒๕๒๕): หน้้า ๑๗-๑๘. ธาดา สุุทธิิธรรม. มรดกสถาปััตยกรรมและผัังเมืืองอีีสาน. กรุุงเทพฯ: โรง พิิมพ์ชุ์ุมชนสหกรณ์์การเกษตรแห่่ง ประเทศไทย จำกัดั, ๒๕๖๒. ธาดา สุุทธิิธรรม. ผัังเมืืองในประเทศไทย: ผัังชุมุชนและการใช้ที่้ ดิิ่� นสาย อารยธรรมเขมรในภาค ตะวัันออกเฉีียงเหนืือ. ขอนแก่่น: พิิมพ์์ พััฒนา, ๒๕๔๔. ธีีรชััย บุุญมาธรรม. ประวัติิัศาสตร์สั์ ังคมอีีสานตอนบน พ.ศ. ๒๓๑๘ – ๒๔๕๐. มหาสารคาม: ภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะวิิชา มนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, ๒๕๓๖. นริิศรานุุวััดติิวงศ์์, สมเด็็จเจ้้าฟ้้ากรมพระยา. สาส์์นสมเด็็จ เล่่ม ๘ พ.ศ.๒๔๗๘ (ตุลุาคม-มีีนาคม) (กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสมเด็็จฯ เจ้้า ฟ้้ากรมพระยานริิศรานุวัุดัติิวงศ์์ มููลนิิธิิสมเด็็จฯ กรมพระยาดำรง ราชานุภุาพ และองค์์การค้้าของคุรุุสภา, ๒๕๓๔. นิิคม มููสิิกะคามะ. ประวัติิัศาสตร์์-โบราณคดีีกัมพููัชา. กรุุงเทพฯ: กอง โบราณคดีี กรมศิิลปากร, ๒๕๓๖. บุุญช่่วย อัตัถากร. ประวัติิัศาสตร์์ภาคอีีสานและเมืืองมหาสารคาม. พิิมพ์์ เนื่่�องในงานพระราชทานเพลิิงศพ นางอารีีรัตน์ั ์ อัตัถากร ณ เมรุุ วัดัมกุุฏกษัตริั ิยาราม วัันที่่� ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖. เบญจวรรณ นาราสััจจ์์. ประวัติิัศาสตร์ภููมิิปัั ์ญญาอีีสาน. ขอนแก่่น: ศููนย์วิ์จัิัย พหุลัุักษณ์์สัังคมลุ่่มน้้ำโขง คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๕๒. ประนุุช ทรัพัยสาร. ประวัติิัศาสตร์์เศรษฐกิิจอีีสาน. มหาสารคาม: คณะ มนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ สถาบััน ราชภััฏมหาสารคาม, ๒๕๔๕. ปรีีชา อุุยตระกููล และกนก โตสุุรััตน์์. การศึึกษากลุ่่มชาติิพัันธุ์์ใน ประเทศไทย: ชาวบน. กรุุงเทพฯ: สมาคมสัังคมศาสตร์์แห่่ง ประเทศไทย, ม.ป.ป.. พระวิภิาคภูวูดล (เจมส์์ แมคคาร์ธีี์). บุุกเบิิกสยาม: การสำรวจของพระ วิิภาคภููวดล (เจมส์์ แมคคาร์ธีี์ ) พ.ศ. ๒๔๒๔-๒๔๓๖. แปลโดย สุุทธิิศัักดิ์์� ปาลโพธิ์์�. กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์ บุ๊๊คส์์, ๒๕๖๑. เพชรรุ่่ง เทีียนปิ๋๋�วโรจน์์. รายงานการตรวจราชการหััวเมืืองของไทยใน สมััยรััชกาลที่่� ๕ ภาพสะท้้อนเศรษฐกิิจ และสัังคมไทยในยุคุ “สยามใหม่่.” นครปฐม: โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๖๒. ไพฑููรย์์ มีีกุุศล. “สภาพสัังคมและเศรษฐกิิจอีีสานก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� ๒,” วารสารประวัติิัศาสตร์ ( ์ ปีที่่� ๘ ฉบัับที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม พ.ศ.๒๕๒๖): หน้้า ๒๕-๓๘. ไพฑููรย์์ มีีกุุศล. ประวัติิัศาสตร์์ไทยสมััยต้้น. มหาสารคาม: มหาวิิทยาลััย ศรีีนครนิิทรวิิโรฒ มหาสารคาม. ๒๕๓๑. มาซููฮารา โยชิิยููกิิ. ประวััติิศาสตร์์เศรษฐกิิจของราชอาณาจัักรลาว ล้้านช้้าง ในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๖. “รายงานตรวจพัันธุ์์รุุกขชาติิในมณฑลภาคอิิสาณ.” จดหมายเหตุขุองสภา เผยแพร่่พาณิิชย์์ เล่่ม ๑๕ (มกราคม ๒๔๖๗): หน้้า ๒๐๖-๒๒๒. วรพร ภู่่พงศ์พั์ ันธุ์์. “กฎหมายโคสาราษฎร์กั์ ับภาพสะท้้อนตััวตนของสัังคม อีีสาน.” ศุุภวััฒย์์- ศุุภวาร จุลพิิจุารณ์, ห์ น้้า ๖๕-๙๔. กรุุงเทพฯ: เฟื่่�องฟ้้า, ๒๕๔๗. วิิชุุลดา พิิไลพัันธ์์. “บัันทึึกสมเด็็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุุภาพเสด็็จ ตรวจราชการมณฑลนครราชสีีมา มณฑล อุุดรและมณฑล อีีสาน ร.ศ.๑๒๕ (พ.ศ.๒๔๔๙)” ในอรพิินท์์ คำสอน และธิิษณา วีีรเกีียรติิสุุนทร, บรรณาธิิการ. ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระ ประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๘, หน้้า ๔๙-๙๖. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔. ศรีีศัักร วััลลิิโภดม. แอ่่งอารยธรรมอีีสาน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๖.


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 248 สมเด็จ็ฯ กรมพระยาดำรงราชานุุภาพ เสด็จ็ไปตรวจราชการมณฑล นครราชสีีมา และมณฑลอุุดรอีีสาน ร.ศ. ๑๒๕ พ.ศ. ๒๔๔๙. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสมเด็็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภุาพ และหม่่อม เจ้้าจงจิตริ ถนอม ดิิศกุุล พระธิิดา, ๒๕๓๘. สมิิธ, เฮอร์์เบิิร์์ท วาริิงตััง. ห้้าปีีในสยาม เล่่ม๑. แปลและเรีียบเรีียง โดย เสาวลัักษณ์์ กีีชานนท์์. กรุุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและ ประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร, ๒๕๔๔. สมิธิ, เฮอร์์เบิร์ิ์ท วาริิงตััง. บัันทึึกการเดิินทางสู่่แม่น้้ ่ ำโขงตอนบน ประเทศ สยาม. แปลและเรีียบเรีียงโดย พรพรรณ ทองตััน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๙. สมุุดภาพตรวจราชการหััวเมืืองช่่วงกึ่่�งทศวรรษก่่อนการเปลี่่�ยนแปลง การปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕. กรุุงเทพฯ : สำนัักงานปลัดักระทรวง มหาดไทย, ๒๕๕๙. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๒. “ข้้าโอกาส (ข้้าพระโยม สงฆ์์).” กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคารไทย พาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๒. “คองสิิบสี่่�: กฎระเบีียบ.” กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรม วััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๙. “พุุทธศาสนาในภาคอีีสาน.” กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรม วััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๑๐. “มณฑลในภาคอีีสาน: ระบบการปกครอง.” กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิ สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทย ภาคอีีสาน เล่ม่ ๑๒. “ศิิลาจารึึกอีีสานสมััยไทย ลาว: อัักษร.”กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิ สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๑๒. “ศรีีสองรััก, พระธาตุุ: ประวััติิ”. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัุัฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่ม่ ๑๕. “ฮีีตสิิบสองคองสิิบสี่่�: ประเพณีี.” กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒. สีีลา วีีระวงส์์. ประวัติิัศาสตร์ล์าว. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๐. สุรจิุตต์ิ ์ จัันทรสาขา. รวมเผ่่าไทยมุกุดาหาร. ม.ป.ท., ม.ป.ป.. สุรัุตน์ั ์ วรางครัตน์ั ์. “คนอีีสานมาจากไหน: ศึึกษากรณีีชนกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ทาง ภาษา.” เอกสารประกอบการ สัมมันาทางวิิชาการอีีสานศึึกษา (ประวัติิัศาสตร์์ การเมืือง เศรษฐกิิจ สัังคมและวััฒนธรรม) ณ ห้้องประชุุม อาคาร ๘ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, วัันที่่� ๑๑-๑๒ ธัันวาคม ๒๕๒๙. สุวิุิทย์์ ธีีรศาศวัตั และดารารัตน์ั ์ เมตตาริิกานนท์์. ประวัติิัศาสตร์อีีส์านหลััง สงครามโลกครั้้�งที่ส ่� องถึึงปััจจุบัุัน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่�๒. ขอนแก่่น: คณะ มนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๔๑. สุวิุิทย์์ ธีีรศาศวัตั. ประวัติิัศาสตร์อีีส์าน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่ม่ ๑. ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗. สุวิุิทย์์ ธีีรศาศวัตั. ประวัติิัศาสตร์อีีส์าน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่ม่ ๒. ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗. หม่่อมอมรวงษ์วิ์จิตริ (ม.ร.ว. ปฐม คเนจร). พงศาวดารหััวเมืืองมณฑล อีีสาน. พิิมพ์์เป็็นอนุุสรณ์์สถานในงาน พระราชทานเพลิิงศพ เจ้้านางโสฬนารีีณ จำปาศัักดิ์์� สาระโสภณ (นางอัักษรการวิจิตริ ) ณวัดทุ่่ ังศรีี เมืือง จัังหวัดอุัุบลราชธานีีวัันอาทิตย์ิที่์ ่� ๒๑ เมษายน พุุทธศัักราช ๒๕๓๙. อภินัิันท์์ สงเคราะห์์. “จารึึกพระเจ้้ามเหนทรวรมััน: ภาพสะท้้อนประวััติิศาสตร์์ สมััยคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๗ (มรดกความทรงจำแห่่งจัังหวััด อุุบลราชธานีี).” ใน อรพิินท์์ คำสอน และธิิษณา วีีรเกีียรติิสุุนทร, บรรณาธิิการ. ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวัติิัศาสตร์์ ไทย ลำดับที่ั ่� ๑๒, หน้้า ๕-๓๗. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔. อิิจิิโร คากิิซากิิ. “รถไฟกัับการรวมตััวทางเศรษฐกิิจของไทยในสมััยก่่อน สงครามโลกครั้้�งที่่� ๒.” วารสารสมาคมประวัติิัศาสตร์ ฉ์บัับที่่� ๒๙(๒๕๕๐): หน้้า ๑-๔๕. อิินทิริา ซาฮีีร์์ และคณะ. รายงานวิิจััย เรื่่�อง โครงการการขับัเคลื่่�อน ศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อการพััฒนาเชิิง พื้้�นที่่� อำเภอเขมราฐ จัังหวััดอุบลรุาชธานีี. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการ วิจัิัย (สกว.)), ๒๕๖๑. เอนก นาวิิกมููล และธงชััย ลิขิตพริสวรรค์์, บรรณาธิิการ. เอกสารตรวจ ราชการมณฑลเทศาภิิบาล. กรุุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๕. ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรัตน์ั ์. สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุคกุ่่อนประวัติิัศาสตร์์ ถึึงสมััยสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์บุ๊๊ ์คส์์, ๒๕๔๒.


Click to View FlipBook Version