The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2024-05-19 22:42:09

prawatsard-ebook

prawatsard-ebook

Keywords: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 149 ท้้าวศรีีธรรมโศกราชจะเป็็นไมตรีีกัันนั้้�น ท้้าวอู่่ทองขึ้้�นบนแท่่น แล้้ว พระญาศรีีธรรมโศกจะขึ้้�นไปมิิได้้ท้้าวอู่่ทองก็จูู็งพระกร ขึ้้�น มงกุฎุของพระเจ้้าศรีีธรรมโศกตกจากพระเศีียร...” แสดง ถึึงแสดงการยอมรัับอำนาจและความสััมพัันธ์์ระหว่่างท้้าว อู่่ทองกัับท้้าวศรีีธรรมโศกราช “ท้้าวอู่่ทอง” ซึ่่�งคงหมายถึึง กษัตริัย์ิ์จากบริิเวณลุ่่มแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยาและอาจหมายถึึงการ กำหนดเขตอำนาจของผู้้�ปกครองทั้้�งสอง ความสััมพัันธ์์ระหว่่างเมืืองนครศรีีธรรมราชกัับ อยุธุยาปรากฏในหลัักฐานของอยุธุยาคืือ ในรััชสมััยสมเด็็จ พระรามาธิิบดีีที่่� ๑ “ครั้้�งนั้้�นพระยาประเทศราชขึ้้�น ๑๖ หััวเมืือง คืือ เมืืองมะละกา ชวา ตะนาวศรีี นครศรีีธรรมราช ทวาย เมาะตะมะ เมาะลำเลิิง สงขลา จัันตะบููร พิิษณุุโลก สุุโขทััย พิิชััย สวรรคโลก พิิจิิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์์” ในกฎมณเฑีียรบาล กล่่าวถึึง เมืืองนครศรีีธรรมราช ในฐานะ เมืืองพญามหานครของอยุุธยา ดัังนี้้� “... พญามหานคร แต่่ ได้้ถืือน้้ำพระพิพัิัท ๘ เมืืองคืือ เมืืองพิิษณุุโลก เมืืองสััชนาไล เมืืองศุุโขไท เมืืองกำแพงเพชร เมืืองนครศรีีธรรมราช เมืือง นครราชสีีมา เมืืองตนาวศรีี เมืืองทวาย” เมืืองนครศรีีธรรมราชมีีความสำคััญทางการเมืือง และเศรษฐกิิจต่่ออยุธุยาเพราะเป็็นเมืืองใหญ่ที่่ ่�ได้ติิ้ดต่่อการ ค้้ากัับจีีนมานานแล้้วและเป็็นเมืืองศููนย์์กลางของคาบสมุุทร มลายููและเป็็นจุุดยุุทธศาสตร์์สำคััญในการขยายอำนาจลง ไปคาบสมุุทรมลายููตอนล่่าง การเปลี่่�ยนแปลงฐานะของ เมืืองนครศรีีธรรมราชเกิดขึ้ิ ้�นเมื่่�อมีีการปฏิรููิปการปกครองใน รััชสมััยสมเด็็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑) ในกฎมณเฑีียรบาล เมืืองนครศรีีธรรมราชมีีสถานะเป็็น 1 นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. “นครศรีีธรรมราชในราชอาณาจัักรอยุุธยา,” ใน กรุุงแตก, พระเจ้้าตากฯและประวััติิศาสตร์์ไทย. กรุุงเทพฯ: ศิิลปวััฒนธรรม, ๒๕๔๐ หน้้า ๒๔๙. เมืืองพญามหานครและในพระไอยการตำแหน่่งนาทหาร หััวเมืือง เปลี่่�ยนแปลงฐานะของนครศรีีธรรมราชจากเมืือง พระยามหานครเป็็นเมืืองเอก เมืืองนครศรีีธรรมราชมีีฐานะ เป็็นหััวเมืืองเอกเมืืองเดีียวในคาบสมุุทรมลายููมีีบทบาท ควบคุุมดููแลเมืืองอื่่�น ๆ ในคาบสมุุทรมลายููคืือ ไชยา และ พััทลุุง นครศรีีธรรมราชเป็็นจุุดยุุทธศาสตร์์ที่่�สำคััญโดย เฉพาะในช่่วงที่่�มะละกามีีความรุ่่งเรืืองและการเติิบโตของ มะละกามีีผลกระทบต่่อเมืืองท่่าอื่่�น ดัังนั้้�นเพื่่�อผลประโยชน์์ ทางการค้้าแล้้วสมเด็็จพระบรมไตรโลกนาถทรงส่่งกองทััพ ไปตีีมะละกา แรงผลัักดัันสำคััญที่่�อยุธุยาเปลี่่�ยนแปลงฐานะ ของเมืืองนครศรีีธรรมราชเป็็นเมืืองเอกมาจากปััจจััยด้้าน เศรษฐกิิจ โดยเฉพาะการเปลี่่�ยนแปลงทางการค้้าระหว่่าง ประเทศคืือ สิินค้้าของป่่า แร่่ธาตุุ และพืืชผลบางชนิิดเริ่่�ม มีีความสำคััญมากกว่่าสิินค้้าส่่งผ่่านจากจีีนหรืืออิินเดีีย และตะวัันออกกลางในการค้้าระหว่่างประเทศ เพื่่�อให้้ได้้ สิินค้้าของป่่า แร่่ธาตุุและพืืชผลบางชนิิดนั้้�นอยุุธยาจำเป็็น ต้้องเข้้าควบคุุมหััวเมืืองที่่�เป็็นแหล่่งผลิิตและเป็็นเมืืองท่่า การค้้าสำคััญ และเพื่่�อควบคุุมได้้มากขึ้้�นอยุุธยาจำเป็็น ต้้องทำลายอำนาจท้้องถิ่่�นเดิิมซึ่่�งมีีอิิทธิิพลมาก หลัักฐาน ตะวัันตกเกี่่�ยวกัับการค้้าในนครศรีีธรรมราชตั้้�งแต่่พุุทธ ศตวรรษที่่� ๒๒ เป็็นต้้นมาจึึงสะท้้อนถึึงอำนาจของอยุุธยา ที่่�เข้้าไปมีีผลประโยชน์์กัับการค้้าของนครศรีีธรรมราชมาก ขึ้้�น แต่่การลดบทบาทและอำนาจท้้องถิ่่�นมีีผลให้้เมืืองเอก ไม่่มีีประสิิทธิิภาพและอำนาจมากพอที่่�จะควบคุุมดููแล เมืืองต่่างๆในคาบสมุุทรมลายูู ในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ นครศรีีธรรมราชไม่่สามารถปราบกบฏที่่�เกิิดขึ้้�นในสงขลา ปััตตานีี และไทรบุุรีีได้้ 1


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 150 ในรััชสมััยพระเจ้้าปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๒ - ๒๑๙๙) เป็็นครั้้�งแรกที่่�นครศรีีธรรมราชถููกกล่่าวหาว่่าเป็็น กบฏโดยมีีสาเหตุุมาจากความแตกแยกของขุุนนางอยุุธยา และการผลััดเปลี่่�ยนแผ่่นดิิน กล่่าวคืือ ใน พ.ศ. ๒๑๗๒ รััชกาลพระอาทิติยวงศ์์ ชาวฮอลัันดาที่่�มาค้้าขายในปัตตัานีี ไม่พ่ อใจอยุธุยาจึึงร่่วมมืือกัับปัตตัานีีต่่อต้้านอำนาจอยุธุยา และเมืืองนครศรีีธรรมราชจึึงถืือโอกาสนี้้�ตอบปฏิิเสธเมื่่�อมีี ตราสารเรีียกตััวเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราชเข้้ามาอยุธุยาโดย อ้้างว่่ามีีปััญหายุ่่งยากภายใน ใน พ.ศ. ๒๑๗๓ เจ้้าพระยา กลาโหมสุุริิยวงศ์์จึึงส่่งออกญาเสนาภิิมุุขคุุมอาสาญี่ ่�ปุ่่นลง มาปราบปรามและแต่่งตั้้�งให้้เป็็นเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช1 เมื่่�อออกญาเสนาภิิมุุขเดิินทางไปนครศรีีธรรมราชทาง อยุุธยาเกิิดการผลััดเปลี่่�ยนแผ่่นดิินโดยเจ้้าพระยากลาโหม สุริุิยวงศ์ขึ้์้�นครองราชย์์ทรงพระนามว่่า พระเจ้้าปราสาททอง ใน พ.ศ. ๒๑๗๔ ออกญาเสนาภิิมุุขถึึงแก่่อสััญกรรมจึึงเกิิด ความวุ่่นวายภายในเมืืองนครศรีีธรรมราช ชาวญี่ ่�ปุ่่นกัับ ชาวนครศรีีธรรมราชต่่อสู้้�กััน การต่่อสู้้�ครั้้�งนี้้�ทั้้�งสองฝ่่ายได้้ ล้้มตายเป็็นจำนวนมาก สมเด็็จพระเจ้้าปราสาททองทรงส่่ง ทััพลงไปปราบปรามและตีีได้้เมืืองนครศรีีธรรมราช รวมทั้้�ง สงขลา และไทรบุุรีียอมสวามิิภัักดิ์์�ด้้วย หลัังจากนี้้�แสดงถึึง อำนาจอยุธุยาในการควบคุุมเมืืองเอกนครศรีีธรรมราชและ ส่่งขุุนนางจากส่่วนกลางมาปกครองเป็็นการกระชัับอำนาจ ให้้อยู่่ภายใต้้โครงสร้้างหรืือเครืือข่่ายความสััมพัันธ์์ทางการ เมืืองของอยุุธยามากยิ่่�งขึ้้�น 1 มานพ ถาวรวััฒน์์สกุุล. ขุุนนางอยุุธยา. กรุุงเทพฯ: มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์, ๒๕๓๖ หน้้า ๒๑๘. 2 ควอริิช เวลส์์. การปกครองและการบริิหารของไทยสมััยโบราณ, แปลโดย กาญจนีี สมเกีียรติิกุุลและยุุพา ชมจัันทร์์. กรุุงเทพฯ: เจริิญวิิทย์์การ พิิมพ์์, ๒๕๑๙ หน้้า ๑๓๕.3 มานพ ถาวรวััฒน์์สกุุล. ขุุนนางอยุุธยา. กรุุงเทพฯ: มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์, ์๒๕๓๖ หน้้า ๒๖๐. ในรััชกาลสมเด็็จพระเพทราชา (พ.ศ. ๒๒๓๑ - ๒๒๔๖) ภายหลัังเกิดิการกบฏเมืืองนครศรีีธรรมราชใน พ.ศ. ๒๒๓๔ แล้้ว สมเด็็จพระเพทราชาทรงจััดการปกครองใหม่่ โดยให้้ฝ่่ายกลาโหมปกครองทั้้�งฝ่่ายพลเรืือนและทหารใน หััวเมืืองภาคใต้้ทั้้�งหมด และฝ่่ายมหาดไทยปกครองฝ่่าย พลเรืือนและทหารในหััวเมืืองเหนืือ เพื่่�อสามารถรวบรวม บัังคัับบััญชากำลัังคนได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ2 การกบฏ เมืืองนครราชสีีมาและนครศรีีธรรมราชเป็็นการไม่่ยอมรัับ อำนาจสมเด็็จพระเพทราชา การไม่่ยอมรัับการขึ้้�นครอง ราชย์์ของสมเด็็จพระเพทราชาเพราะสิิทธิิในการสืืบราช สมบััติิไม่่อาจเทีียบเท่่าพระอนุุชาและพระราชวงศ์์ของ สมเด็็จพระนารายณ์์ทำให้้สถานะทางการเมืืองของพระองค์์ ไม่่มั่่�นคง เปิิดโอกาสให้้มีีการต่่อต้้านในลัักษณะก่่อการ กบฏ3 เมื่่�อกองทััพอยุุธยาไปปราบกบฏเมืืองนครราชสีีมา นั้้�น พระยายมราช (สัังข์์) เจ้้าเมืืองนครราชสีีมาได้้หลบหนีี ไปหาพระยารามเดโช เจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช สมเด็็จ พระเพทราชาโปรดให้้พระยาสุุรสงครามเป็็นแม่่ทััพบก และพระยาราชวัังสัันคุุมกองทััพเรืือ การปราบปรามเมืือง นครศรีีธรรมราชทำให้้ทั้้�งสองฝ่่ายสููญเสีียกำลัังคนจำนวน มากเนื่่�องจากพระยารามเดโชเป็็นแม่่ทััพที่ ่�มีีความสามารถ มากสมเด็็จพระนารายณ์์จึึงทรงแต่่งตั้้�งให้้เป็็นเจ้้าเมืือง นครศรีีธรรมราช กองทัพัอยุธุยาล้้อมเมืืองนครศรีีธรรมราช ไว้้ประมาณ ๓ ปีี จนกระทั่่�งนครศรีีธรรมราชขาดเสบีียง อาหาร เจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราชจึึงลอบหนีีไปด้้วยความ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 151 ร่่วมมืือของพระยาราชวัังสััน1 เมื่่�อเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช หลบหนีีไปแล้้วกองทัพัอยุธุยาจึึงสามารถยึึดเมืืองได้ สมเ้ด็็จ พระเพทราชาทรงลดอำนาจของเมืืองนครศรีีธรรมราชโดย แต่่งตั้้�งผู้้�รั้้�งเมืืองและกรมการเมืืองตามตำแหน่่งพอสมควร สะท้้อนให้้เห็็นถึึงความสััมพัันธ์์โดยผ่่านระบบราชการ อยุธุยาโดยการแต่่งตั้้�งขุุนนางจากส่่วนกลางหรืือคนท้้องถิ่่�น ที่ ่�มีีความสััมพัันธ์์กัับส่่วนกลางและการก่่อกบฏที่่�เกิิดขึ้้�นใน รััชกาลสมเด็็จพระเพทราชาจึึงไม่่ใช่่การก่่อกบฏเพื่่�อแยก ตััวเป็็นอิิสระ แต่่เป็็นการไม่่ยอมรัับการขึ้้�นครองราชย์์ของ กษััตริิย์์พระองค์์ใหม่่ซึ่่�งเป็็นลัักษณะของการรวมกลุ่่มของ ขุุนนางส่่วนกลางในการสนัับสนุุนบุุคคลใดบุุคคลหนึ่่�งเพื่่�อ ขึ้้�นครองราชย์์และพระยารามเดโชเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช เป็็นขุุนนางสำคััญของสมเด็็จพระนารายณ์์ ต่่อมาในรััชสมััยพระเจ้้าอยู่่หััวบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๐๑) ทรงแต่่งตั้้�งเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช ดัังปรากฏในสำเนาหนัังสืือเรื่่�องตั้้�งผู้้�สำเร็็จราชการเมืือง นครศรีีธรรมราช ดัังนี้้� “เมื่่�อปีีจอจััตวาศก จุุลศัักราช ๑๑๐๔ ปีี ในแผ่่นดิินพระเจ้้าอยู่่หััวบรมโกษฐกรุุงเก่่า ตั้้�งพระยา ไชยาธิิเบศร์์เป็็นเจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช” ซึ่่�งสะท้้อน ถึึงความสััมพัันธ์์ทางการเมืืองระหว่่างนครศรีีธรรมราชกัับ อยุธุยาโดยผ่่านระบบราชการอยุธุยาในการแต่่งตั้้�งเจ้้าเมืือง นครศรีีธรรมราช ในสมััยต้้นรััตนโกสิินทร์์ เจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช ที่ ่�มีีบทบาทสำคััญคืือ เจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) มีีความสามารถ บทบาทและอำนาจมากกว่่าเจ้้าเมืืองอื่่�น ในภาคใต้้พ.ศ. ๒๓๕๒ พม่่ายกทััพลงมาตีีหััวเมืืองปัักษ์์ใต้้ ฝ่่ายตะวัันตกทั้้�งทางบกและทางเรืือ ได้้เมืืองตะกั่่�วป่่า 1 วิิเชีียร ณ นครและคนอื่่�น ๆ. นครศรีีธรรมราช. กรุุงเทพฯ: อัักษรสััมพัันธ์์, ๒๕๒๑ หน้้า ๙๔. ตะกั่่�วทุ่่ง ระนอง กระบี่่� ภููเก็็ต และตีีเมืืองถลางซึ่่�งเป็็น เมืืองหน้้าด่่านที่่�สำคััญได้้พร้้อมทั้้�งกวาดต้้อนผู้้�คนและ ทรััพย์์สิิน ทำให้้ราชธานีีให้้ความสนใจหััวเมืืองปัักษ์์ใต้้มาก ขึ้้�น พระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) ขณะเป็็นพระบริิรัักษ์์ ภููเบศร์์ได้้ต่่อเรืือรบที่่�เมืืองตรัังยกกำลัังไปตีีเมืืองถลางคืืน เมืืองนครศรีีธรรมราชและเจ้้าเมืืองจึึงมีีความสำคััญมากขึ้้�น และบทบาทของพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) ในการปราบ ปรามหััวเมืืองมลายููได้้ และการเจรจากัับอัังกฤษในสมััย รััชกาลที่่� ๒-๓ ได้้ทํําให้้เมืืองนครศรีีธรรมราชมีีอิิทธิิพลต่่อ หััวเมืืองมลายูู เป็็นที่ ่� น่่านัับถืือแก่่บริิษััทอัังกฤษซึ่่�งกํําลัังแผ่่ อิิทธิิพลทางการค้้าขายและทางการเมืืองในคาบสมุุทรมลายูู ลุ่่มน้ำ ำ ทะเลสาบสงขลา ลุ่่มน้้ำทะเลสาบสงขลา ประกอบด้้วย ๒ เขตคืือ บริิเวณที่ ่� ราบด้้านตะวัันออกของทะเลสาบได้้แก่่ สัันทราย สทิิงพระไปจนถึึงฝั่่�งทะเล และบริิเวณที่ ่� ราบด้้านตะวัันตก ของทะเลสาบมีีพื้้�นที่ ่�ตั้้�งแต่่บริิเวณที่ ่� ราบริิมฝั่่�งทะเลสาบ ไปจนจรดบริิเวณสัันปัันน้้ำเทืือกเขาบรรทััดเป็็นแนวยาว เหนืือ-ใต้้ สภาพภููมิิศาสตร์์ลุ่่มน้้ำทะเลสาบสงขลาอุุดม ด้้วยทรััพยากรธรรมชาติิทั้้�งบนดิินและในทะเลสาบ ส่่งผล ให้้มีีผู้้�คนเข้้ามาอาศััยและตั้้�งถิ่่�นฐานเป็็นชุุมชนในบริิเวณนี้้� มาตั้้�งแต่่สมััยโบราณโดยเฉพาะคาบสมุุทรสทิิงพระมีีร่่อง รอยการตั้้�งถิ่่�นฐานของชุุมชนต่่างๆตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษ ที่่� ๑๑ เป็็นต้้นมา ส่่วนฝั่่�งตะวัันตกของทะเลสาบ ได้้พบ ร่่องรอยของแหล่่งโบราณคดีีในเขตอำเภอเมืือง และอำเภอ เขาชััยสน จัังหวััดพััทลุุง หลายแห่่งเช่่นกััน จากหลัักฐาน ทางโบราณคดีีที่่� พบบริิเวณนี้้�พอจะยืืนยัันได้้ว่่า ก่่อนสมััย อยุุธยาชุุมชนบริิเวณนี้้� มีีการค้้าติิดต่่อกัับต่่างชาติิซึ่่�งส่่วน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 152 ใหญ่่เป็็นการค้้าของป่่าที่ยั ่� ังไม่่แปรรููป ทั้้�งนี้้�เพราะพื้้�นที่อุ ่� ดุม สมบููรณ์์จึึงไม่มีี่ ความจำเป็็นต้้องบุุกเบิิกพื้้�นที่่�เพื่่�อทำนาเพิ่่�ม ขึ้้�น ดัังนั้้�นสภาพของชุุมชนชาวนาจึึงยัังไม่่ปรากฏชัดัเจน แต่่ เมื่่�อถึึงสมััยอยุุธยามีีการขยายตััวของชุุมชนต่่อเนื่่�อง เกิิด การเปลี่่�ยนแปลงทั้้�งด้้านเศรษฐกิิจ สัังคมและวััฒนธรรม สภาพการเป็็นชุุมชนชาวนาซึ่่�งเป็็นคนส่่วนใหญ่่ของลุ่่ม ทะเลสาบสงขลาจึึงปรากฏชััดขึ้้�น1 ในพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ เมื่่�อพุุทธศาสนาแบบ ลัังกาวงศ์์ได้เผยแ้พร่่เข้้าสู่่ภาคใต้้ผ่่านเมืืองนครศรีีธรรมราช และเข้้าไปมีีอิิทธิิพลในดิินแดนบริิเวณลุ่่มทะเลสาบสงขลา ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ เป็็นต้้นมา ทำให้้ผู้้�คนบริิเวณนี้้� นัับถืือพุุทธศาสนาแบบลัังกาวงศ์์โดยมีีเมืืองพััทลุุงที่่�เกิิด ขึ้้�นใหม่่ (โคกเมืืองบางแก้้ว) ทางฝั่่�งตะวัันตกของทะเลสาบ สงขลา เป็็นศููนย์์กลางการปกครองฝ่่ายอาณาจัักร แทนที่ ่� เมืืองสทิิงพระที่่�เสื่่�อมถอยไป และในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ ทางฝ่่ายพุุทธจัักรได้เ้กิดศููินย์์กลางการปกครองคณะสงฆ์ขึ้์้�น ๒ แห่่งคืือ คณะสงฆ์์คณะลัังกาป่่าแก้้วหรืือคณะป่่าแก้้ว มีี ศููนย์์กลางอยู่่ที่่� วััดเขีียนบางแก้้วและวััดสทััง (ใหญ่่) ทางฝั่่�ง ตะวัันตกของทะเลสาบสงขลา และคณะสงฆ์์คณะลัังกาชาติิ หรืือคณะกาชาติิ มีีศููนย์์กลางอยู่่ที่่� วััดราชประดิิษฐาน (พะโคะ) ทางด้้านฝั่่�งตะวัันออกของทะเลสาบสงขลา ศููนย์์กลางคณะสงฆ์์ทั้้�งสองแห่่งนี้้� มีีบทบาทสำคััญทาง ด้้านการปกครองคณะสงฆ์์ และการถ่่วงดุุลอำนาจในท้้อง ถิ่่�น โดยพระมหากษััตริิย์์จากกรุุงศรีีอยุุธยาได้้นำระบบ 1 กิิตติิ ตัันไทย. หนึ่่�งศตวรรษเศรษฐกิิจของคนลุ่่มทะเลสาบสงขลา. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย, ๒๕๕๒ หน้้า ๔๑. 2 อารยา ดำเรืืองและชััยวุฒิุิ พิิยะกูลู. “การกัลปันาวััดบริิเวณลุ่่มน้้ำทะเลสาบสงขลาระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๒๑ –ต้้นพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓” วารสาร ปาริิชาติิมหาวิิทยาลััยทัักษิิณ Vol.๒๙ No. ๒๑ (April-September), ๒๐๑๖: ๑๓๑.3 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๑๓๒. การกััลปนาวััดมาใช้้กัับคณะสงฆ์์ทั้้�งสองและวััดบริิวาร เพื่่�อสร้้างความมั่่�นคงทางพุุทธจัักรและอาณาจัักรที่ ่�มีีวััด เป็็นศููนย์์กลาง มีีเจ้้าคณะสงฆ์์ปกครอง และเป็็นผู้้�นำทาง วััฒนธรรม ได้้สร้้างความเจริิญรุ่่งเรืืองให้้กัับดิินแดนบริิเวณ นี้้�เป็็นอย่่างมากภายใต้้ระบบการกััลปนาวััด2 การกััลปนาวัดัทางฝั่่�งตะวัันตกของทะเลสาบสงขลา พบว่่า มีีการกััลปนาไม่่น้้อยกว่่า ๖ ครั้้�ง ได้้แก่่ การกััลปนา วัดัเขีียนบางแก้้วและวัดัสทััง สมััยสมเด็็จพระมหาจัักรพรรดิิ พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๑ การกััลปนาวััดเขีียนบางแก้้วและวััด สทััง สมััยสมเด็็จพระเพทราชา พ.ศ. ๒๒๔๒ การกััลปนา วััดเขีียนบางแก้้วและวััดสทััง สมััยสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััว ท้้ายสระ พ.ศ. ๒๒๗๒ การกััลปนาวััดเขาอ้้อ สมััยสมเด็็จ พระเจ้้าอยู่่หััวบรมโกศ พ.ศ. ๒๒๘๔ การกััลปนาวัดัควนถบ สมััยสมเด็็จพระนารายณ์์มหาราช พ.ศ. ๒๒๑๙ และการ กััลปนาวััดคููหาสวรรค์์ ลงวัันที่ ่� พฤหััสบดีี เดืือนยี่่� ขึ้้�น ๑ ค่่ำ ปีีฉลููนัักสััตรเบญจศก3 การกััลปนาสะท้้อนให้้เห็็นผลด้้านการขยายตััว ของชุุมชน การกััลปนาวััดบริิเวณลุ่่มทะเลสาบสงขลามีีการ พระราชทานที่่�ภููมิิทาน ที่่�เลณฑุุบาต และข้้าพระโยมสงฆ์์ให้้ กัับวัดัเขีียนบางแก้้ว คณะป่่าแก้้ว วัดรั าชประดิิษฐานหรืือวัดั พะโคะ คณะลัังกาชาติิและวััดขึ้้�นกัับคณะสงฆ์์ทั้้�งสอง จาก การกััลปนาวัดดัังกล่่าวทำให้้เกิดชุิุมชนขยายตััวไปตามพื้้�นที่ ่� เลณฑุุบาตและที่่�ภููมิิทาน เนื่่�องจากมีีพื้้�นที่่�เป็็นจำนวนมาก ที่่�เป็็นพื้้�นที่ ่� ว่่างเปล่่าและตั้้�งอยู่่ในที่ ่� ห่่างไกลวััด ทางวััดหรืือ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 153 คณะสงฆ์ต้้์นสัังกัดัของข้้าพระโยมสงฆ์จึึ์งต้้องมอบหมายให้้ ข้้าพระโยมสงฆ์์เข้้าไปตั้้�งถิ่่�นฐานทำไร่่ทำนาบนที่่�ภููมิิทาน จน เกิดิเป็็นชุุมชนใหม่่กระจายไปตามพื้้�นที่กั ่� ัลปนาหรืือที่่�เลณฑุุบาตร เมื่่�อชุุมชนขยายตััวมากขึ้้�น จึึงจำเป็็นต้้องมีีวััดเป็็น ศููนย์์กลางของชุุมชนเพื่่�อประกอบพิธีีิกรรมทางศาสนา ด้วย้ เหตุุนี้้�จึึงเกิิดวััดขึ้้�นบนที่่�เลณฑุุบาต วััดเหล่่านี้้�กลายเป็็นวััด บริิวารหรืือวัดขึ้ั ้�นกัับคณะสงฆ์ต้้์นสัังกัดัของข้้าพระโยมสงฆ์์ เหล่่านั้้�น ดัังเห็็นได้จากกา้รเกิดขึ้ิ ้�นของวัดถ้้ ั ำเขาชััยสน ซึ่่�งตั้้�ง อยู่่บริิเวณเชิิงเขาชััยสนทางทิิศตะวัันออก บริิเวณรอบเขา เป็็นพื้้�นที่ ่� ราบอยู่่ในเขตที่่�เลณฑุุบาตรของวััดเขีียนบางแก้้ว จึึงเป็็นแหล่่งที่ข้้่� าพระโยมสงฆ์์เข้้ามาตั้้�งหลัักแหล่่งในการทำนา และหาของป่่า จนก่่อเกิิดเป็็นวััดขึ้้�นกัับวััดเขีียนบางแก้้ว โดยมีีพระมหาเถรอิินทองเป็็นเจ้้าอาวาส1 วััดหััวควนท้้าย ควนฝ่่ายอุดรุหรืือวัดหััวด้วน้ ท้้ายด้วน้ ฝ่่ายอุดรุ หรืือปััจจุบัุัน เรีียกว่่า วััดโพธิิยาวราราม เป็็นวััดที่ ่�ตั้้�งอยู่่ในพื้้�นที่่�เลณฑุุ บาตรของวัดัสทััง วัดนี้้ ั ตั้้� �งอยู่่บนเนิินหรืือควนล้้อมรอบด้วย้ ที่ร ่� าบเป็็นแหล่่งปลููกข้้าวที่่�สำคััญของตำบลควนขนุุน อำเภอ เขาชััยสน จัังหวัดพััทลุุง เป็็นวัดที่ั ่�เกิดขึ้ิ ้�นจากข้้าพระโยมสงฆ์์ เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานทำนา จนมีีผู้้�คนจำนวนมากจึึงตั้้�งขึ้้�นเป็็นวัดั ขึ้้�นกัับคณะสงฆ์์คณะป่่าแก้้วในสมััยอยุธุยา ในพื้้�นที่่�เลณฑุุบาตร ของวััดเขีียนบางแก้้วและวััดสทััง คณะป่่าแก้้ว และ พื้้�นที่่�เลณฑุุบาตรของวััดราชประดิิษฐาน ซึ่่�งมีีพื้้�นที่่�กว้้าง ขวางและครอบคลุุมชุุมชนต่่าง ๆ มากมาย สัันนิิษฐาน ว่่าชุุมชนเหล่่านี้้�เกิิดจากข้้าพระโยมสงฆ์์เข้้าไปตั้้�งถิ่่�นฐาน และสร้้างวััดขึ้้�นเป็็นศููนย์์กลางของชุุมชน เช่่น วััดสวนแก้้ว 1 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๑๔๔. 2 อารยา ดำเรืืองและชััยวุฒิุิ พิิยะกูลู. “การกัลปันาวััดบริิเวณลุ่่มน้้ำทะเลสาบสงขลาระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๒๑ –ต้้นพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓” วารสาร ปาริิชาติิมหาวิิทยาลััยทัักษิิณ Vol. ๒๙ No. ๒๑ (April-September), ๒๐๑๖: ๑๔๕ (ร้้าง) วััดสณฑาโท (ร้้าง) วััดท่่าควาย วััดท่่ามะเดื่่�อ และวััด ช่่างทอง เป็็นต้้น นอกจากชุุมชนจะขยายตััวอย่่างกว้้างขวางในเขต พื้้�นที่่�ภููมิิทานและที่่�เลณฑุุบาตรแล้้ว นอกเขตผลประโยชน์์ ของคณะสงฆ์์ดัังกล่่าวโดยเฉพาะคณะสงฆ์์คณะป่่าแก้้ว หััวเมืืองพััทลุุงยัังขยายอิิทธิิพลเข้้าไปในชุุมชนที่ห่ ่� ่างไกลหรืือ อาจจะเป็็นการขยายตััวของกลุ่่มข้้าพระโยมสงฆ์์ เพื่่�อทำ ป่่าให้้เป็็นนาเป็็นการบุุกเบิิกที่ดิ ่� ินและสร้้างวัดับริิวารของวัดั เขีียนบางแก้้ว ดัังกรณีีของการสร้้างวัดถ้้ ั ำเขาหััวช้้างที่่�อำเภอ ตะโหมด จัังหวััดพััทลุุง ซึ่่�งเป็็นวััดที่ ่�ตั้้�งอยู่่บนเส้้นทางข้้าม คาบสมุุทรจากบ้้านตะโหมดไปออกทางช่่องเขาตระ ตรง บ้้านตระ เพื่่�อออกสู่่เมืืองปะเหลีียน ซึ่่�งในสมััยอยุุธยา เมืืองปะเหลีียนเป็็นเมืืองขึ้้�นของเมืืองพััทลุุง และเป็็นเมืืองท่่า ทางด้้านฝั่่�งทะเลอัันดามััน ส่่วนบ้้านตะโหมดเป็็นชุุมชน ต้้นน้้ำคลองท่่ามะเดื่่�อและคลองพระเกิดที่ิ ่�ไหลลงทะเลสาบ สงขลาที่บ้้่� านพระเกิดิ อำเภอปากพะยููน และบ้้านจงเก บ้้าน บางแก้้วใต้้ผ่่านวััดเขีียนบางแก้้ว อำเภอเขาชััยสน จัังหวััด พััทลุุง วััดถ้้ำเขาหััวช้้างจึึงเป็็นที่ ่�ตั้้�งของชุุมชนขนาดใหญ่่ที่ ่� เป็็นที่ ่� พัักเชื่่�อมต่่อสองฝั่่�งทะเล2 พััทลุุง พััฒนาการของชุุมชนในเขตจัังหวััดพััทลุุงเกิิดขึ้้�น มาแล้้วตั้้�งแต่่ราวพุุทธศตวรรษที่่� ๑๒ มีีชุุมชนอยู่่อาศััย บริิเวณชายฝั่่�งทะเล เพราะปรากฏพบถ้้ำศาสนสถานตาม เขาลููกโดด เช่่น เขาชััยสน เขาอกทะลุุ เขาคููหาสวรรค์์ เขา ชััยบุรีีุชุุมชนที่่�เกิดขึ้ิ ้�นมีีขนาดเล็็กและเป็็นส่่วนหนึ่่�งของเมืือง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 154 สทิิงพระซึ่่�งเป็็นชุุมชนเก่่าแก่่ที่ ่� สุุดในลุ่่มทะเลสาบสงขลา พััฒนาการของชุุมชนที่่�เจริิญเป็็นบ้้านเมืืองนั้้�นน่่าจะเกิดขึ้ิ ้�น ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ โดยมีีร่่องรอยของชุุมชนใกล้้กัับ วััดเขีียนบางแก้้ว โดยเฉพาะบริิเวณที่่�เรีียกว่่าโคกเมืือง พบ เศษเครื่่�องถ้้วยจีีนสมััยราชวงศ์์หยวนและราชวงศ์์หมิิง แสดง ให้้เห็็นถึึงการเป็็นแหล่่งท่่าเรืือขนถ่่ายสิินค้้าและเป็็นเมืือง พััทลุุงแห่่งแรกด้้วย ในระยะแรกเมืืองพััทลุุงบริิเวณวัดัเขีียน บางแก้้วเป็็นเมืืองบริิวารขึ้้�นแก่่เมืืองสทิิงพระ ภายหลัังเกิิด การเปลี่่�ยนแปลงทางสัังคมและการเมืืองขึ้้�นในบรรดาบ้้าน เมืืองต่่าง ๆ ในภููมิภิาคนี้้คืื�อ การฟื้้�นฟููเมืืองนครศรีีธรรมราช มีีการสร้้างพระบรมธาตุุที่ ่� วััดเขีียนบางแก้้วจึึงทำให้้เกิิดเป็็น เมืืองใหญ่่ขึ้้�น ปััจจััยทางเศรษฐกิิจและสัังคมที่่�ทำให้้เกิิด เมืืองพััทลุุงนั้้�น เนื่่�องจากบริิเวณนี้้มีี�ความอุดุมสมบููรณ์์ด้วย้ สิินค้้าของป่่าและแร่่ธาตุุ เป็็นบริิเวณที่่�ใกล้้กัับการคมนาคม ข้้ามคาบสมุุทรจึึงทำให้้เกิดิการขยายตััวของชุุมชนในบริิเวณ กว้้าง1 ทรััพยากรธรรมชาติิที่ ่� พบได้้แก่่ ทรััพยากรธรรมชาติิ ประเภทป่่าไม้้ เช่่น ไม้้กฤษณา หลุุมพอ อบเชย ไม้้ยาง ไม้้ตะเคีียน ไม้้พะยอม ทรััพยากรแร่่ธาตุุ ได้้แก่่ แร่่ตะกั่่�ว พบในเขตอำเภอกงหรา และแร่่ดีีบุุกพบในเขตอำเภอป่่า บอน นอกจากนี้้�ยัังพบค่่อนข้้างมากในเขตอำเภอห้้วยยอด จัังหวััดตรัังซึ่่�งมีีเขตแดนติิดกัับอำเภอป่่าพยอมและอำเภอ ศรีีบรรพต จัังหวััดพััทลุุง และทรััพยากรธรรมชาติิประเภท ของป่่า ได้้แก่่ ไม้้หอม เครื่่�องเทศ ยางไม้้ สมุุนไพร เขา สััตว์์ งาช้้าง และนอแรด ที่่�สามารถนำไปแลกเปลี่่�ยนกัับ สิินค้้าจากภายนอกได้้ โดยใช้้เส้้นทางน้้ำในการติิดต่่อและ 1 อมรรััตน์์ พิิยะกููล. พััฒนาการของชุุมชนโบราณในจัังหวััดพััทลุุงก่่อนพุุทธศตวรรษที่่� ๒๔ จากหลัักฐานโบราณคดีี. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหา บััณฑิิต มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๑, หน้้า ๑๑-๑๒. 2 อมรรััตน์์ พิิยะกููล. เรื่่�องเดีียวกััน, ๒๕๕๑, หน้้า .๑๖๒-๑๖๓ ลำเลีียงทรััพยากรธรรมชาติิออกสู่่ชุุมชนภายนอกโดยผ่่าน ทะเลสาบสงขลา นอกจากนี้้�ยัังสามารถอาศััยเส้้นทางน้้ำ เดิินทางผ่่านช่่องเขาบริิเวณเทืือกเขาบรรทััดข้้ามไปยัังฝั่่�ง ตะวัันตกของคาบสมุุทรคืือ ทางแรกจากอำเภอเขาชััยสนไป ลงทะเลอัันดามัันที่่�อำเภอปะเหลีียน จัังหวัดตรััง ทางที่่�สอง จากบ้้านลำปำ อำเภอเมืืองพััทลุุงข้้ามไปลงทะเลอัันดามััน ที่่�อำเภอกัันตััง จัังหวััดตรััง 2 พััฒนาการด้้านการเมืืองพััทลุุงในสมััยสุุโขทััย มีี ฐานะเป็็นหััวเมืืองขึ้้�นของนครศรีีธรรมราช สมััยอยุุธยา ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นเมืืองตรีีขึ้้�นตรงต่่ออยุุธยา มีีหััวเมืือง จััตวาขึ้้�นต่่อพััทลุุง คืือ เมืืองปะเหลีียน เมืืองจะนะ เมืือง เทพา และเมืืองสงขลา สมััยธนบุุรีีได้้ให้้พััทลุุงไปขึ้้�นอยู่่กัับ เมืืองนครศรีีธรรมราชเช่่นเดีียวกัับสงขลา ต่่อมาในสมััยต้้น รััตนโกสิินทร์์ โปรดเกล้้าฯให้้ข้้าหลวงออกไปสัักเลกที่่�เมืือง พััทลุุง และขึ้้�นตรงต่่อกรุุงเทพฯ แต่่ในทางปฏิิบััติิแล้้วเมืือง พััทลุุงอยู่่ภายใต้้การควบคุุมดููแลของเมืืองนครศรีีธรรมราช และทั้้�งสองเมืืองต่่างพึ่่�งพากัันและสััมพัันธ์ทั้้ ์ �งทางการเมืือง เศรษฐกิิจและความเป็็นเครืือญาติิ สงขลา สงขลาตั้้�งขึ้้�นชุุมชนการค้้าอย่่างช้้าสุุดในพุุทธ ศตวรรษที่่� ๒๐-๒๒ โดยอาศััยอ้้างอิิงหลัักฐานอาหรัับที่ ่� กล่่าวถึึงเมืืองท่่าสิิงขร ซึ่่�งเข้้าใจว่่าคืือเมืืองสงขลา การ เติิบโตของเมืืองสงขลาน่่าจะมาจากการที่่�มะละกาเมืืองท่่า ที่่�สำคััญแห่่งหนึ่่�งในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ถููกยึึดครองโดย โปรตุุเกส ทำให้้การค้้าที่่�เมืืองนี้้�ซบเซาลงเพราะได้้รัับการ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 155 ต่่อต้้านจากชาวพื้้�นเมืือง และเมืืองท่่าอื่่�น ๆ มีีบทบาทขึ้้�นมา รวมทั้้�งสงขลาซึ่่�งตั้้�งอยู่่ในทำเลที่ดีี่� และเหมาะสมแก่่การจอด พัักเรืือสิินค้้า เพราะอยู่่ติิดกัับทะเลด้านนอก้ ฝั่่�งอ่่าวไทยและ มีีเขาหััวแดงเป็็นกำแพงธรรมชาติิกั้้�นคลื่่�นลม นอกจากนั้้�น ยัังอยู่่ในทำเลที่่�ติิดต่่อค้้าขายกัับชุุมชนรอบทะเลสาบสงขลา ได้สะ้ดวก1 ผู้ก่้�่อตั้้�งเมืืองสงขลาน่่าจะเป็็นพ่่อค้้ามุุสลิิมซึ่่�งต่่อ มาได้้ตั้้�งตััวเป็็นเจ้้าเมืือง พงศาวดารสงขลาระบุุความเป็็น มาของเมืืองไว้้ว่่า “เดิิมครั้้�งหนึ่่�งเมืืองสงขลาเป็็นเมืืองแขก ตั้้�งอยู่่ริิมเขาแดง เจ้้าเมืืองชื่่�อสุุลต่่านสุุเลมััน ได้้สร้้างป้้อม ขุุดคููเมืืองและจััดแจงสร้้างบ้้านเมืืองเสร็็จแล้้วยอมขึ้้�นกัับ กรุุงศรีีอยุธุยา” ข้้อมููลดัังกล่่าวแม้้จะไม่่ได้้ระบุชุ่่วงเวลาแต่มีี่ ความน่่าสนใจสองประการคืือ ประการแรกคืือ การให้้ข้้อมููล ว่่าเจ้้าเมืืองสงขลาเป็็นแขกหรืือมุุสลิิม ประการที่่�สองคืือ สงขลาขึ้้�นกัับอยุธุยา เรื่่�องเจ้้าเมืืองสงขลาเป็็นมุุสลิิมนี้้�แม้้แต่่ สมััยสมเด็็จพระเจ้้าปราสาททองและสมเด็็จพระนารายณ์์ มหาราชก็็ยัังคงเป็็นเช่่นนั้้�นอยู่่ ส่่วนการยอมขึ้้�นกัับอยุุธยา นั้้�นคงเป็็นการอยู่่ภายใต้้การดููแลของนครศรีีธรรมราช หััวเมืืองเอกที่่�สำคััญของอยุธุยา แต่่เมื่่�อนครศรีีธรรมราชเริ่่�ม เสื่่�อมอำนาจประกอบกัับปััตตานีีไม่่ยอมรัับอำนาจกษััตริิย์์ อยุธุยาโดยเฉพาะในสมััยสมเด็็จพระเจ้้าปราสาททอง ทำให้้ อยุุธยาต้้องเกณฑ์์กำลัังคนไปปราบปราม2 ปััตตานีี การก่่อตั้้�งรััฐปััตตานีี แต่่เดิิมปััตตานีีและดิินแดน 1 วรพร ภู่่พงศ์์พัันธุ์์. “คำให้้การลููกเรืือสำเภาจีีนเกี่่�ยวกัับสยาม ในสมััยคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๗.” ใน ๑๐๐เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ ไทย ลำดัับที่่� ๑๑. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์, ์๒๕๕๔, หน้้า ๑๑๔. 2 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๑๑๔ 3 ปิิยดา ชลวร. ประวััติิศาสตร์์ปััตตานีีในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๘ จากบัันทึึกของจีีน ริิวกิิว และญี่ ่�ปุ่่น. เชีียงใหม่่: ซิิลค์์เวอร์์ม, ๒๕๕๔: ๒๓-๒๔. ใกล้้เคีียงเคยเป็็นที่ ่�ตั้้�งอาณาจัักรลัังกาสุุกะ ซึ่่�งสัันนิิษฐาน ว่่าน่่าจะตั้้�งขึ้้�นพุุทธศตวรรษที่่� ๗ ลัังกาสุุกะส่่งบรรณาการ ไปจีีนในพุุทธศตวรรษที่่� ๑๑ แต่่ไม่่ได้้เป็็นรััฐที่ ่�มีีอำนาจ สููงสุุดในแถบนั้้�นเพราะมีีศููนย์์กลางที่่�ใหญ่่กว่่าอย่่างศรีีวิิชััย ในเกาะสุุมาตราซึ่่�งขยายอิิทธิิพลมาสู่่คาบสมุุทรมลายูู มีี อาณาจัักรตามพรลิิงค์์ ซึ่่�งเกิดตั้้ ิ �งแต่พุุ่ทธศตวรรษที่่� ๑๕ และ มีีอำนาจมากช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ ในสมััยสุุโขทััยถึึงต้้น อยุธุยา สยามได้ขยายอำนาจลงมา ้ตอนใต้้ ทำให้้ลัังกาสุุกะ ค่่อย ๆ หมดอำนาจไปในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ ปััตตานีี ก่่อตั้้�งเป็็นรััฐช่่วงเดีียวกัับที่่�อาณาจัักรลัังกาสุุกะล่่มสลายลง แต่่ทั้้�งสองรััฐดููจะไม่่ได้้สััมพัันธ์์กััน ตำนานที่่�กล่่าวถึึงการ ก่่อตั้้�งปััตตานีีก็็แตกต่่างกััน ตำนานของเคดะห์์กล่่าวว่่าเจ้้า ปกครองของปััตตานีีมาจากเคดะห์์ มีีกษััตริิย์์องค์์แรกเป็็น ผู้้�หญิิง ส่่วนฮิิกายััตปััตตานีีหรืือตำนานปััตตานีีกล่่าวว่่า คนก่่อตั้้�งเป็็นกษััตริิย์์มาจากดิินแดนตอนในชื่่�อ โกตามา ลิิฆััย ทั้้�งสองตำนานไม่่ได้้ระบุุปีีไว้้ แต่่สัันนิิษฐานว่่าน่่าจะ อยู่่ในช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๑๙3 ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ ถืือเป็็นยุุคทองของปััตตานีี เป็็นที่่�รู้้�จัักของพ่่อค้้าและ นัักเดิินเรืือชาวต่่างชาติิในฐานะเมืืองท่่าที่่�สำคััญแห่่งหนึ่่�งใน คาบสมุุทรมลายููสิินค้้าเช่่น พริิกไทย การบููร ดีีบุุกและหนััง สััตว์์ เป็็นที่ ่�ต้้องการของชาวต่่างชาติิโดยเฉพาะชาวจีีนและ ญี่ ่�ปุ่่น สำหรัับสยาม ปััตตานีีเป็็นหััวเมืืองที่่�อยู่่ทางตอนใต้้ สุุดแต่่มีีความสำคััญในแง่่ยุุทธศาสตร์์ เพราะปััตตานีีตั้้�งอยู่่ ตรงกลางระหว่่างหััวเมืืองทางใต้้อย่่างนครศรีีธรรมราชกัับ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 156 รััฐมลายูู เช่่น มะละกา ยะโฮร์์ และอาเจะห์์ ปััตตานีีจึึงถืือ เป็็นเมืืองหน้้าด่่านทางตอนใต้้ที่่�สำคััญ ด้้วยเหตุุนี้้�ในสมััย อยุธุยา สยามจึึงรวมปัตตัานีีเป็็นเมืืองขึ้้�นและส่่งกองทัพัมา ปราบปรามปััตตานีีทุุกครั้้�งที่่�ทำการแข็็งข้้อ การที่่�สยามแผ่่ อำนาจเข้้ามายัังปััตตานีีนอกจากจะเพื่่�อครอบครองสิินค้้า ของปััตตานีี เช่่น พริิกไทย แล้้ว อีีกประการหนึ่่�งเพื่่�อใช้้ ปััตตานีีเป็็นเมืืองหน้้าด่่านต่่อสู้้�ป้้องกัันข้้าศึึกจากทางตอน ใต้้ของคาบสมุุทรมลายููด้้วย1 เนื่่�องจากเป็็นเมืืองท่่า ความ มั่่�งคั่่�งรุ่่งเรืืองและความมั่่�นคงของปััตตานีีจึึงอยู่่บนพื้้�นฐาน ของการค้้ากัับโลกภายนอก ดัังนั้้�น ผู้้�ปกครองของปััตตานีี จึึงยิินดีีต้้อนรัับบรรดาลููกค้้าวาณิิชทั้้�งหลายที่่�เข้้ามาซื้้�อขาย สิินค้้า จดหมายเหตุุเพอร์์ชาส รายงานว่่า ราชินีีิแห่่งปัตตัานีี ทรงมั่่�งคั่่�งร่่ำรวยมาก และชาวฮอลัันดาและอัังกฤษต่่างมอง เห็็นช่่องทางเข้้ามาหาประโยชน์์จากพระองค์์ ปััตตานีีเป็็น ศููนย์์การค้้าข้้าวจากสยามในคาบสมุุทรมลายูู และเป็็นแหล่่ง รวมสิินค้้าที่่�มาจากจีีนและญี่ปุ่่� น ตลอดจนสิินค้้าท้้องถิ่่�นอีีก มากมาย ปััตตานีีมีีชุุมชนเมืืองประกอบด้้วยคนหลายชาติิ หลายภาษา กลุ่่มที่่�สำคััญคืือ ชาวมลายูู ชาวสยามและชาว จีีน หลัักฐานตะวัันตกส่่วนใหญ่่กล่่าวตรงกัันว่่าชาวจีีนอาจมีี จำนวนมากกว่่าชาวมลายููเสีียอีีก ซึ่่�งสะท้้อนให้้เห็็นอิิทธิิพล ของการค้้าสำเภาจีีน2 1 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๒๕-๒๗. 2 ตวงทิิพย์์ กลิ่่�นบุุปผา. “ปััตตานีีในจดหมายเหตุุตะวัันตก ค.ศ. ๑๖๑๓ (พ.ศ. ๒๑๕๖).” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๑๒. กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์,์ ๒๕๕๔, หน้้า ๑๐๙. บทบาทการเป็็นเมืืองท่่าการค้้าที่่�สำคััญของ ปััตตานีีเริ่่�มเสื่่�อมถอยลงช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓ ด้้วยมููล เหตุุทางการเมืืองภายในและการทำสงครามกัับอยุุธยา และเมืืองต่่าง ๆ อย่่างต่่อเนื่่�อง คำให้้การลููกเรืือสำเภาจีีน จากปััตตานีีอยู่่ในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๔ สะท้้อนให้้เห็็นภาพ การถดถอยและซบเซาทางการค้้าของปััตตานีี จำนวนเรืือ ที่่�เข้้าไปที่ ่�ปััตตานีีมีีไม่่มากนัักเฉลี่่�ยอยู่่ที่่� ๒ ลำ ส่่วนใหญ่่ เดิินทางไปจากจีีนคืือ สยาเหมิิน กวางตุ้้�ง นิิงโป และจาง โจว จากดิินแดนอื่่�นมีีไม่่มากนัักเท่่าที่่�ปรากฏในคำให้้การ คืือ เขมร ปััตตาเวีีย มะละกา และบัันเต็็น ปีีที่ ่�มีีเรืือเข้้ามาก ที่สุ ่� ดคืืุอ พ.ศ. ๒๒๓๐ ดัังรายงานของหมายเลขเรืือ ๑๑๕ วััน ที่่� ๑๓ กัันยายน ว่่ามีีเรืือเข้้ามาที่ ่�ปััตตานีีนอกเหนืือจากลำ นี้้�เป็็นเรืือขนาดเล็็กจากสยาเหมิิน ๓ ลำ ปััตตาเวีีย ๒ ลำ มะละกา ๓ ลำ จากบัันเต็็น ๔-๕ ลำ จะเห็็นได้้ว่่าแทบจะ ไม่่มีีเรืือจากยุุโรปเข้้าไปที่ ่�ปััตตานีีเลย เรืือเหล่่านี้้�ส่่วนหนึ่่�ง เข้้ามาซื้้�อหาแลกเปลี่่�ยนสิินค้้าแต่่ส่่วนหนึ่่�งโดยเฉพาะเรืือ จากจีีนไปหาซื้้�อสิินค้้าจากปััตตานีีเพื่่�อนำไปขายที่ ่� ญี่ ่�ปุ่่น และที่่�เลืือกปััตตานีีก็็เพราะมีีเรืือจากปััตตานีีเดิินทางไปค้้า ที่่�นางาซากิิไม่่มากนััก ความสััมพัันธ์์ทางการเมืืองระหว่่างไทยกัับ ปััตตานีี เป็็นความสััมพัันธ์์ในรููปแบบหััวเมืืองประเทศราช ได้้รัับความคุ้้�มครองจากอยุุธยาและนครศรีีธรรมราช เอื้้�อ ประโยชน์์ทางการค้้าและได้้รัับความคุ้้�มครองจากภััย โจรสลัดที่ั ่�ปล้้นสดมภ์์เมืืองในคาบสมุุทร อยุธุยาให้้ความสำคััญ กัับปััตตานีีในฐานะเมืืองท่่าที่่�สำคััญในคาบสมุุทร ปััตตานีี


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 157 มีีบทบาทสำคััญและมีีอิิสระในการดำเนิินนโยบายของ ตนเอง ด้้านหััวเมืืองมลายููได้้แก่่ ไทรบุุรีี กลัันตััน ตรัังกานูู และปััตตานีี เป็็นประเทศราชของไทยสมััยธนบุุรีีและสมััย พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลก สงครามระหว่่าง สยามกัับปัตตัานีี เมื่่�อตีีปัตตัานีีได้แ้ล้้วได้กวา้ ดต้้อนผู้้�คนและ อาวุุธยุุทโปกรณ์์ เช่่น ปืืนใหญ่่ มาไว้้ที่่�กรุุงเทพ เพื่่�อลดทอน กำลัังของปัตตัานีีลง ปัตตัานีีจึึงได้้ถููกผนวกเข้้าเป็็นส่่วนหนึ่่�ง ของไทยและถููกแบ่่งเป็็น ๗ หััวเมืือง คืือ ปััตตานีี หนองจิิก ยะหริ่่�ง รามััน ยะลา สายบุุรีี และระแงะ อีีกเมืืองหนึ่่�งที่ ่� ก่่อปััญหาคืือไทรบุุรีีเนื่่�องจากการแทรกแซงของอัังกฤษ ประกอบกัับไม่่พอใจบทบาทของเจ้้าเมืืองนครศรีีธรรมราช แต่่ที่ ่� สุุดไทยก็็สามารถควบคุุมสถานการณ์์ไว้้ได้้และได้้แบ่่ง ดิินแดนของไทรบุุรีีส่่วนหนึ่่�งจััดตั้้�งเป็็นรััฐปะลิิส อัังกฤษ ยอมรัับอำนาจของไทยที่ ่�มีีเหนืือพื้้�นที่่�เหล่่านี้้� ตรััง ความสำคััญของเมืืองตรัังตั้้�งแต่่อดีีตคืือ การเป็็น เมืืองท่่า อยู่่ในเส้้นทางการค้้าทางทะเลที่่�ติิดต่่อค้้าขาย กัับอิินเดีีย เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และจีีน เป็็นจุุดพััก ผ่่านที่่�เหมาะสมเพราะมีีทิิศทางลมเป็็นปััจจััยเสริิม ตรัังมีี ทรััพยากรที่ ่� อุุดมสมบููรณ์์ เช่่น แร่่ธาตุุ ของป่่า และเครื่่�อง เทศ แต่่ด้วยส้ภาพทางภููมิิศาสตร์์ของตรัังส่่วนใหญ่่เป็็นลอน คลื่่�นไม่่เหมาะแก่่การตั้้�งถิ่่�นฐานเป็็นชุุมชนขนาดใหญ่่ จึึง เหมาะสมสำหรัับเป็็นเมืืองพัักขนถ่่ายสิินค้้าข้้ามคาบสมุุทร 1 เส้้นทางข้้ามคาบสมุุทรโบราณที่่�ปรากฏเริ่่�มจาก ปากแม่่น้้ำ ที่ ่� กัันตััง – แม่่น้้ำตรััง – ห้้วยยอด – ทุ่่งสง – ร่่อนพิิบููลย์์ – นครศรีีธรรมราช ตรัังจึึงเป็็นเมืืองท่่าหนึ่่�งทางภาคใต้้ฝั่่�ง 1 ลลิิดา เกิิดเรืือง. บทบาทชาวจีีนต่่อพััฒนาการทางเศรษฐกิิจและสัังคมของเมืืองตรััง พ.ศ. ๒๔๕๘ – ทศวรรษที่่� ๒๕๒๐. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญา มหาบััณฑิิต มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๙, หน้้า ๑๒. ตะวัันตกร่่วมสมััยกัับศรีีวิชัิัย เริ่่�มเกิดิเป็็นเมืืองประมาณพุุทธ ศตวรรษที่่� ๑๑ ตรัังเป็็นเมืืองขนาดเล็็กและเป็็นทางผ่่านไป สู่่ดิินแดนฝั่่�งตะวัันออก ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๑๕ ความ รุ่่งเรืืองของศรีีวิชัิัยค่่อย ๆ ลดลง อาณาจัักรที่่�โดดเด่่นขึ้้�นมา แทนที่่� ในฐานะรััฐอิิสระที่่�เป็็นศููนย์์กลางทางคาบสมุุทรคืือ ตามพรลิิงค์์ หรืืออาณาจัักรนครศรีีธรรมราช อาณาจัักรนี้้�มีี ความรุ่่งเรืืองทางการค้้าและมีีความเข้้มแข็็งทางกองทััพจึึง แผ่่อาณาเขตครอบคลุุมเมืืองต่่างๆในคาบสมุุทรมลายููเรีียก ว่่า เมืือง ๑๒ นัักษัตรั เมืืองตรัังถููกกำหนดให้้เป็็นเมืืองตราม้้า ประจำปีีมะเมีีย เป็็นเมืืองหน้้าด่่านของนครศรีีธรรมราช และพััทลุุงเพราะการติิดต่่อไปมาหาสู่่กัันโดยใช้้เส้้นทาง ภายใน โดยมีีเรืือเป็็นพาหนะล่่องเข้้ามาตามลำน้้ำและเดิิน บกไปสู่่นครศรีีธรรมราช และเส้้นทางจากเมืืองปะเหลีียน – พััทลุุงซึ่่�งเป็็นทางที่่�อยู่่ตามแนวเทืือกเขาบรรทััด ในสมััยอยุุธยา มีีหลัักฐานการบัันทึึกเรื่่�องราว ของเมืืองตรัังปรากฏอยู่่โดยระบุุว่่าเมืืองเกิิดขึ้้�นที่่�บริิเวณ เมืืองตรัังมีี ๒ ส่่วนคืือ บริิเวณที่่�เมืืองปะเหลีียนและบริิเวณ ที่่�เป็็นเกาะลิิบง ฐานะของเมืืองตรัังยัังเป็็นเมืืองท่่าที่่�สำคััญ มีีการบัันทึึกว่่าบริิเวณที่่�เป็็นเมืืองปะเหลีียน “พ.ศ. ๒๒๙๑ แผ่่นดิินพระเจ้้าอยู่่หััวบรมโกศ พระยาราชบัังสััน (ตะตา) เป็็นเจ้้าเมืืองพััทลุุง ขณะนั้้�นเมืืองปะเหลีียนเป็็นเมืืองหนึ่่�ง ที่ ่� ขึ้้�นกัับพััทลุุง อาณาเขตของพััทลุุงครอบคลุุมไปถึึงฝั่่�ง ทะเลตะวัันตกคืือ เมืืองหรืือหมู่่บ้้านของท่่าลุุง ดิินแดนนี้้� อยู่่ระหว่่างสงขลาออกไปทางตะวัันตกของแหลมจากแม่น้้ ่ ำ ปะเหลีียนใต้้ตรัังลงมายัังชายแดนแม่่น้้ำอููเปของเคดะห์์...” ส่่วนบริิเวณเกาะลิิบง เป็็นเมืืองท่่าอีีกบริิเวณหนึ่่�งของเมืือง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 158 ตรััง ตามบัันทึึกปรากฏว่่าในช่่วง พ.ศ. ๒๒๐๔ ซึ่่�งตรงกัับ สมััยสมเด็็จพระนารายณ์์มหาราช บริิเวณนี้้�ถููกปกครอง โดย ตนกูู อะมัดตัายุดดิุิน มัดรั ำชะ โอรสของสุุลต่่านเกดะห์์ ด้้วยสภาพภููมิิศาสตร์์ส่่งผลให้้ลิิบงเป็็นที่ ่�ตั้้�งท่่าเรืือที่่�สำคััญ ทางการค้้า เป็็นแหล่่งรวบรวมและเก็็บภาษีีสิินค้้าทางทะเล เช่่น รัังนก และยัังเป็็นจุุดนััดหมาย แวะพัักของการติิดต่่อ1 สำหรัับเมืืองตรัังสมััยธนบุุรีี ปรากฏในเอกสาร จดหมายเหตุุรััชกาลที่่� ๓ ว่่า แต่่เดิิมเมืืองแบ่่งออกเป็็น ๒ เมืืองคืือ เมืืองภููรา ตั้้�งอยู่่ทางฝั่่�งตะวัันออกของแม่่น้้ำตรััง เป็็นเมืืองที่ ่�มีีขนาดเล็็กแต่่มีีความสำคััญมากในฐานะเป็็น ที่่�เก็็บมููลค้้างคาวสำหรัับทำดิินปืืนและที่ ่� ร่่อนแร่่ดีีบุุกด้้วย เมืืองหนึ่่�ง และเมืืองตรััง ตั้้�งอยู่่ทางฝั่่�งตะวัันตกมีีบริิเวณ กว้้างขวางมากอีีกเมืืองหนึ่่�งอาณาเขตของเมืืองตรัังและ เมืืองภููรามีีดัังนี้้� ทิิศใต้้ลงไปถึึงเกาะลิิบง ทิิศตะวัันตกจด ทะเล ต่่อกัับที่่�ปากกุุเหระ แขวงเมืืองนครศรีีธรรมราช ทิิศ ตะวัันออกจดที่่�ปะเหลีียน ทั้้�งเมืืองตรัังและเมืืองภููราแต่่เดิิม มีีผู้รั้�ักษาเมืืองเพียงเี มืืองละหนึ่่�งคน ต่่อมาทางส่่วนกลางให้้ พระภัักดีีบริิรัักษ์์ ผู้้�ช่่วยราชการเมืืองนครศรีีธรรมราชออก ไปเป็็นผู้้�รัักษาเมืืองตรััง พระภัักดีีบริิรัักษ์์ได้้กราบทููลขอยก เอาเมืืองตรัังกัับเมืืองภููราเป็็นเมืืองเดีียวกัันเรีียกว่่า ตรัังภููรา ในสมััยธนบุุรีี เมืืองตรัังยัังคงตกอยู่่ภายใต้้อำนาจของเมืือง นครศรีีธรรมราช ในพ.ศ. ๒๓๒๐ นครศรีีธรรมราชมีีเมืือง ตรัังและเมืืองท่่าทองเป็็นเมืืองท่่าทางฝั่่�งทะเลตะวัันตกและ ตะวัันออก ครั้้�นถึึงสมััยรััชกาลที่่� ๑ ของกรุุงรััตนโกสิินทร์์ เมืืองตรัังมีีอาณาเขตกว้้างขึ้้�นโดยรวมเมืืองตรัังเข้้ากัับเมืือง ตรัังภููราและมีีพระยาลิิบงเป็็นผู้้�รัักษาเมืืองแทนพระภัักดีี 1 ลลิิดา เกิิดเรืือง, หน้้า ๑๔. 2 ลลิิดา เกิิดเรืือง, หน้้า ๑๔-๑๕. บริรัิักษ์์ พระยาลิิบงเกิดวิิวาทกัับเจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (พััฒน์์) รััชกาลที่่� ๑ จึึงโปรดเกล้้าฯให้้เมืืองตรัังขึ้้�นตรงต่่อ กรุุงเทพฯ ต่่อมาเมื่่�อพม่่าเข้้ามาตีีเมืืองถลางถึึง ๒ ครั้้�งคืือ ในสมััยรััชกาลที่่� ๑ ใน พ.ศ. ๒๓๒๘ และในสมััยรััชกาล ที่่� ๒ ในพ.ศ. ๒๓๕๒ ทำให้้เมืืองถลางได้้รัับความเสีียหาย จากสงคราม เจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) ได้ป้รัับปรุุง เมืืองตรัังโดยถืือเอาแม่่น้้ำตรัังเป็็นหลัักแบ่่งตำบลเป็็นฝ่่าย ตะวัันออกและฝ่่ายตะวัันตกโดยสร้้างศาลหลัักเมืืองที่่�ควน ธานีีศููนย์์กลางของเมืืองตรัังจึึงย้้ายจากเมืืองตรัังเดิิมและ เมืืองตรัังภููรามาตั้้�งอยู่่ที่่�ควนธานีีและเป็็นเช่่นนี้้�ตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๔๓๖ ในสมััยที่ ่� ศููนย์์กลางตั้้�งอยู่่ที่่�ควนธานีีนี้้� ฐานะของเมืืองตรัังเป็็นทั้้�งท่่าเรืือค้้าและท่่าเรืือรบ เมืือง ตรัังมีีความสำคััญมากขึ้้�นคืือ มีีสิินค้้าตามที่ ่� ตลาดต้้องการ เช่่น ช้้าง ดีีบุุก และพริิกไทย นอกจากนี้้�เป็็นฐานทััพเรืือ ป้้องกัันพม่่าและควบคุุมหััวเมืืองมลายููโดยยัังขึ้้�นอยู่่กัับเมืือง นครศรีีธรรมราช2 การตั้้�งหลัักแหล่่งของชุุมชน แบ่่งเป็็น ๓ ชุุมชน ซึ่่�งอาศััยอยู่่ตามลัักษณะของสภาพภููมิิศาสตร์์ ประกอบ ด้้วย “หมู่่เขา” ประกอบอาชีีพเกษตรกรรม “หมู่่เล” อยู่่ตาม ชายฝั่่�งทะเลเมืืองตรััง ประกอบอาชีีพประมง และ “หมู่่ ทุ่่ง” ตั้้�งหลัักแหล่่งเป็็นชุุมชนอยู่่ที่่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำตรััง แม่่น้้ำ ปะเหลีียน ต่่อมามีีกลุ่่มชาวจีีนเข้้ามาทางท่่าเรืือกัันตัังและ ปะเหลีียน การตั้้�งถิ่่�นฐานระยะแรกชุุมชนชาวจีีนอาศััยอยู่่ ตามเส้้นทางคมนาคม เริ่่�มจากปากน้้ำกัันตััง แล้้วมาตั้้�ง ชุุมชนที่ ่� สี่่�แยกท่่าจีีน การเข้้ามาในระยะแรกเป็็นการเข้้ามา เพื่่�อการทำกิิจการเหมืืองแร่่ดีีบุุกบริิเวณอำเภอห้้วยยอด


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 159 หรืือที่่�เรีียกว่่าท่่าปรางค์์ นอกจากนี้้�แล้้วท่่าจีีนยัังเป็็นแหล่่ง รวมสิินค้้า เช่่น พริิกไทย จัันทน์์เทศ หมากแห้้ง มะพร้้าว แห้้ง รวมทั้้�งหมูู เป็็ด ไก่่ เพื่่�อส่่งออกไปยัังปีีนัังและจีีน1 ภููเก็ต็ ภููเก็็ตเป็็นที่่�รู้้�จัักของนัักเดิินเรืือในชื่่�อ “จัังซีีลอน” หนัังสืือทางภููมิิศาสตร์์แผนที่่�เดิินเรืือของปโตเลมีี ได้้กล่่าว ถึึงการเดิินทางจากแหลมสุุวรรณภููมิิลงมายัังแหลมมลายููว่่า จะต้้องผ่่านแหลมจัังซีีลอน และที่นี่ ่� ยั ่� ังเป็็นท่่าจอดเรืือที่่�เป็็น ที่่�รู้้�จัักกัันดีีของพ่่อค้้าต่่างชาติิด้้วย เช่่น จีีน อิินเดีีย อาหรัับ เปอร์์เซีีย เป็็นแหล่่งผลิตดีีบุ ิุกซึ่่�งชาวพื้้�นเมืืองรู้้�จัักกัันในนาม ของตะกั่่�วดำ การมีีภููมิิประเทศที่่�เป็็นเกาะและมีีท่่าเรืือน้้ำลึึก หลายแห่่งทำให้้ภููเก็็ตเป็็นชุุมชนท่่าเรืือที่่�สำคััญทางชายฝั่่�ง ตะวัันตกจนเป็็นที่่�รู้้�จัักกัันดีีทั้้�งภายในและนอกประเทศ ชาว เมืืองส่่วนใหญ่่ก็็อาศััยการเก็็บแร่่ดีีบุุกเพื่่�อหาเลี้้�ยงชีีพ จาก สภาพภููมิิประเทศที่่�เป็็นภูเขาูถึึงร้้อยละ ๗๐ ซึ่่�งแนวเขาเหล่่า นี้้ส่�่วนใหญ่่เป็็นหิินแกรนิตที่ิ ่�เกิดิจากแมกม่่าที่ถูู ่� กดัันตััวขึ้้�นมา จากใต้้พื้้�นโลกและมีีแร่่ดีีบุุกปะปนอยู่่เป็็นจำนวนมาก ส่่วน ใหญ่่จะอยู่่บริิเวณผิิวดิิน ภููเก็็ตจึึงเป็็นเมืืองที่ ่� อุุดมสมบููรณ์์ ไปด้้วยแร่่ดีีบุุก นอกจากนั้้�นแล้้วยัังมีีการประกอบอาชีีพ เกษตรกรรมแต่่มีีน้้อยเนื่่�องจากสภาพภููมิิประเทศมีีที่่� ราบ สำหรัับการเพาะปลููกน้้อยและปััญหาเรื่่�องน้้ำ2 1 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๒๒. 2 อัปัสร ณ ระนอง.การเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิจจิากกิจิการเหมืืองแร่ดีีบุุ่กสู่่อุุตสาหกรรมการท่่องเที่่�ยวในจัังหวััดภููเก็็ต พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๕๓๐. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๐, หน้้า ๑๐.3 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๑๔. ดีีบุุกเป็็นแร่่ที่ ่�มีีความสำคััญทางเศรษฐกิิจและมีี ความเป็็นมายาวนานที่ ่�ย้้อนไปได้้ถึึง พ.ศ. ๒๐๖๑ สมััย สมเด็็จพระรามาธิิบดีีที่่� ๒ สยามได้้ทำสััญญาพระราช ไมตรีีกัับโปรตุุเกสโดยทรงอนุุญาตให้้ตั้้�งห้้างรัับซื้้�อแร่่ดีีบุุก จากภาคใต้้ ต่่อมาใน พ.ศ. ๒๑๖๙ พระเจ้้าทรงธรรม ให้้มีีพระบรมราชานุุญาตให้้ชาวฮอลัันดาสร้้างสถานีีรัับ ซื้้�อแร่่ดีีบุุกที่่�กลางเกาะภููเก็็ต และใน พ.ศ. ๒๒๒๘ สมััย สมเด็็จพระนารายณ์์มหาราช ได้้ทำสนธิิสััญญาค้้าขายกัับ ฝรั่่�งเศสและในสััญญาได้้ระบุุให้้ฝรั่่�งเศสโดยนายชาร์์บอนโน ตั้้�งคลัังและสถานีีรัับซื้้�อแร่่ดีีบุุกที่่�กลางเกาะภููเก็็ตโดยให้้ ทำการผููกขาดแต่่เพีียงผู้้�เดีียว และพ่่อค้้าชาวฝรั่่�งเศสยัังได้้ บัันทึึกว่่าการค้้าขายของภููเก็็ตกัับต่่างประเทศนั้้�นใช้้วิิธีีการ แลกเปลี่่�ยนไม่่ได้้ใช้้เงิินตรา ดัังนี้้� แร่่ดีีบุุกนี้้�เป็็นสิ่่�งสำคััญ ของเมืืองนี้้� และที่่�ได้้เกิิดมีีการค้้าขายและที่่�ชาวเมืืองได้้ อยู่่เลี้้�ยงชีีพไปได้้ก็็ได้้โดยอาศััยแร่่ดีีบุุกนี้้�เอง เพราะพวก ชาวเมืืองขุุดแร่่ดีีบุุกได้้ก็็เอาแร่่นั้้�นไปแลกเปลี่่�ยนกัับพ่่อค้้า ซึ่่�งนำเอาสิินค้้ามาจากภายนอกเพื่่�อเอามาแลกเปลี่่�ยน กัับดีีบุุกนั่่�นเอง3 แสดงให้้เห็็นว่่าการแลกเปลี่่�ยนสิินค้้า ระหว่่างพ่่อค้้าต่่างชาติิกัับชาวเมืืองภููเก็็ตซึ่่�งจะนำดีีบุุกที่ ่� หาได้้ไปแลกเปลี่่�ยนกัับสิินค้้าที่ ่� ตนต้้องการซึ่่�งหมายความ ว่่าแร่ดีีบุุ่กมีีค่่ามากพอสำหรัับใช้้แทนเงิินในการแลกเปลี่่�ยน จึึงสามารถใช้้ดีีบุุกที่ขุ ่� ดุได้และเห้ ลืือจากการส่่งส่่วยและขาย เข้้าพระคลัังประจำเมืืองมาใช้้แลกเปลี่่�ยนสิินค้้าโดยตรง จากพ่่อค้้าได้้ต่่อมาในสมััยต้้นรััตนโกสิินทร์์ พ.ศ. ๒๓๑๔


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 160 ฟรานซิิส ไลท์์ พ่่อค้้าชาวอัังกฤษที่ ่�ค้้าขายระหว่่างปีีนัังกัับ เมืืองชายฝั่่�งทะเลภาคใต้้ ได้้เข้้ามาค้้าขายและตั้้�งบ้้านเรืือน อยู่่ที่่�ถลาง การค้้าขายของฟรานซิิส ไลท์์ มีีสิินค้้าสำคััญ ได้้แก่่ ข้้าว นอกจากนั้้�นยัังมีีผ้้าและผ้้าแพรที่่�ขายในอิินเดีีย อาวุุธ และฝิ่่�น ส่่วนสิินค้้าที่ ่� พอใจแลกเปลี่่�ยนมากที่ ่� สุุดคืือ ดีีบุุก และยัังได้้ประมาณการไว้้ว่่าราษฎรคนหนึ่่�งจะร่่อน แร่่ดีีบุุกได้้ปีีละ ๕๐๐ ปอนด์์ ช่่วงสมััยรััชกาลที่่� ๓-๔ กิิจการ เหมืืองแร่่มีีความเจริิญก้้าวหน้้ามาก มีีการเปลี่่�ยนแปลง รููปแบบส่่วยดีีบุุกมาเป็็นการผููกขาดเก็็บภาษีีอากรแบบ เหมาเมืือง ตลอดจนมีีการทำ สนธิิสััญญากัับต่่างชาติิ ส่่ง ผลให้้การค้้าดีีบุุกขยายตััวมากขึ้้�น และคนจีีนได้้เข้้ามาทำ เหมืืองดีีบุุกและตั้้�งถิ่่�นฐานเป็็นชุุมชนใหญ่่ ชุุมชนหรืือบ้้านเมืืองในภาคใต้้ได้เ้กี่่�ยวข้้องสััมพัันธ์์ กัับการติิดต่่อค้้าขายทางทะเลมาตั้้�งแต่่สมััยต้้นๆ การค้้าทาง ทะเลในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ได้เป้ลี่่�ยนแปลงไปสู่่รููปแบบ ใหม่่และดำรงอยู่่อย่่างชััดเจนในพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ – ๒๒ ซึ่่�งเรีียกว่่ายุุคการค้้า โดยมีีลัักษณะสำคััญคืือ เป็็นยุุคที่่�การ ค้้าขยายตััวเป็็นอย่่างมาก อัันเกิิดจากความต้้องการใน สิินค้้าพื้้�นเมืืองจำพวกของป่่าและเครื่่�องเทศ โดยมีีตลาด สำคััญอยู่่ในจีีนและยุุโรป พ่่อค้้าที่ ่�มีีบทบาทในยุุคนี้้�ได้้แก่่ ชาวพื้้�นเมืือง ชาวจีีน อิินเดีีย และชาติิตะวัันตก ต่่างเดิิน ทางเข้้ามาค้้าขายแลกเปลี่่�ยนสิินค้้าของตััวเองในท้้องถิ่่�น และระหว่่างตะวัันออกกัับตะวัันตกด้วย เห้ตุดัุังนั้้�นจึึงทำให้้ เกิดิการกระจายตััวออกไปของเมืืองท่่าเป็็นจำนวนมากและ ต่่างมีีบทบาทเชื่่�อมโยงกัันต่่อโดยไม่่มีีเมืืองท่่าแห่่งใดเป็็น ศููนย์์กลางแท้้จริิง คาบสมุุทรมลายููเป็็นบริิเวณหนึ่่�งที่ ่�มีีส่่วน 1 ยงยุุทธ ชููแว่่น “อำนาจทางการเมืืองในความสืืบเนื่่�องบทบาทการค้้าของเมืืองสงขลาตั้้�งแต่่กลางพุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ ถึึงปลายพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓.” ใน คาบสมุุทรไทยในราชอาณาจัักรสยาม. ยงยุุทธ ชููแว่่น, บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ: ๒๕๕๐, หน้้า ๑๕๘. ร่่วมในการค้้าต่่างประเทศ เพราะมีีท่่าเรืือที่่�เหมาะสมแก่่ การจอดเรืือแวะพััก และอุุดมไปด้้วยสิินค้้าทั้้�งของป่่าและ แร่่ธาตุุ จะเห็็นได้้ว่่าเมืืองท่่าสำคััญ ได้้แก่่ นครศรีีธรรมราช ภููเก็็ต สงขลา ปััตตานีี1 การขยายตััวทางการค้้าโดยเฉพาะพืืชเศรษฐกิิจ คืือ พริิกไทย และสิินค้้าดีีบุุก ซึ่่�งพื้้�นที่่�คาบสมุุทรมลายููมีีความ เหมาะสมในการปลููกพริิกไทย และเป็็นแหล่่งดีีบุุกที่่�สำคััญ ทำให้้เมืืองต่่างๆในคาบสมุุทรมลายููจึึงมีีบทบาทสำคััญใน การค้้าพริิกไทยและดีีบุุก รวมทั้้�งการเข้้ามาของชาติิตะวััน ตกกลุ่่มใหม่่ที่ ่�ต้้องการผููกขาดการค้้าพริิกไทยและดีีบุุกคืือ ฮอลัันดา อัังกฤษ และฝรั่่�งเศส การแข่่งขัันทางเศรษฐกิิจ ทำให้้เมืืองนครศรีีธรรมราช ปััตตานีีพััทลุุง สงขลา และ ไทรบุุรีีต่่างต้้องการขยายเขตอิิทธิิพลของตนเองในการ ควบคุุมแหล่่งผลิิต และให้้สิิทธิิพิิเศษแก่่พ่่อค้้า จึึงเกิิดความ ขัดัแย้้งอย่่างรุุนแรงในคาบสมุุทรมลายููและมีีการทำสงคราม กัันอย่่างต่่อเนื่่�อง รวมทั้้�งการขยายอำนาจและการปฎิิเสธไม่่ ยอมรัับอำนาจของอยุุธยาด้้วย ความขััดแย้้งในช่่วงนี้้�ส่่งผล กระทบต่่อความไม่่ปลอดภััยในการค้้าและเป็็นการทำลาย แหล่่งผลิติ การปราบปรามความไม่่สงบในคาบสมุุทรมลายูู จึึงมีีความสำคััญอย่่างมาก ส่่งผลต่่อความสััมพัันธ์์ภายใน คาบสมุุทรมลายูู และทำให้้อยุธุยา ธนบุรีีุรัตั นโกสิินทร์ต้้์อง ลงมาควบคุุมเมืืองท่่าเหล่่านี้้�ทั้้�งด้้วยส่่งกองทััพลงมาและ การเปลี่่�ยนแปลงโครงสร้้างการปกครองเพื่่�อจะควบคุุมดููแล ผลประโยชน์์ได้้อย่่างเต็็มที่ ่�


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 161 ภาพที่่� ๗ แผนที่่�พระราชอาณาจัักสยามและอาณาจัักรใกล้้เคีียง เขีียนขึ้้�นเมื่ ่� อ พ.ศ. ๒๒๒๙ แสดงให้้เห็็นสภาพของภาคใต้้ ที่่�มา : ชาญวิิทย์์ เกษตรศิิริิ (บรรณาธิิการ). ประมวลแผนที่่� : ประวััติิศาสตร์์ – ภููมิิศาสตร์์ – การเมืืองกัับลััทธิิอาณานิิคมใน อาเซีียน – อาคเนย์์. กรุุงเทพ: มูลนิูิธิิโตโยต้้าประเทศไทยและมูลนิูิธิิ โครงการตำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๕๕, หน้้า ๕๓. ! ภาคใต้ภ้ายหลัังการปฏิิรููป การปกครองสมััยรััชกาลที่่� ๕ นัักประวััติิศาสตร์์มัักเรีียกเวลาหลัังการปฏิิรููป ประเทศในช่่วงตั้้�งแต่่ทศวรรษ ๒๔๓๐ เป็็นต้้นมาว่่า ประวััติิศาสตร์์สมััยรััฐชาติิ หรืือสมััยการพััฒนาประเทศ ให้้ทัันสมััย การปฏิิรููปประเทศในสมััยรััชกาลที่่� ๕ ได้้ส่่ง ผลให้้เกิิดความเปลี่่�ยนแปลงขึ้้�นในสัังคมโดยรวมของ ประเทศอย่่างที่่�ไม่่เคยเกิิดขึ้้�นมาก่่อน กล่่าวคืือมีีการ เปลี่่�ยนการปกครองแบบเดิิมมาเป็็นมณฑลเทศาภิิบาล การ เปลี่่�ยนแปลงอื่่�น ๆ เช่่น การเลิิกทาส ปฏิิรููประบบสัังคม ทหาร และอื่่�น ๆ กล่่าวเฉพาะการจััดตั้้�งมณฑลเทศาภิิบาล นั้้�นถืือเป็็นรููปแบบการปกครองรููปแบบหนึ่่�ง ซึ่่�งเกิดิจากการ รวมหััวเมืืองมาอยู่่ภายใต้้การกำกัับดููแลและบัังคัับบััญชา ของข้้าหลวงเทศาภิิบาล แทนการมีีเจ้้าเมืืองดัังเดิิม ข้้าหลวง เทศาภิิบาลมีีฐานะเป็็นข้้าราชการต่่างพระเนตรพระกรรณ ของพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััวซึ่่�งทรงมอบความไว้้วาง พระราชหฤทััยคััดเลืือกจากขุุนนางชั้้�นผู้้�ใหญ่่ที่ ่�มีีความรู้้� ความสามารถสููงออกไปปฏิิบััติิราชการ นอกจากข้้าหลวง เทศาภิิบาลแล้้ว ยัังมีีข้้าราชการชั้้�นรองอีีกจำนวนหนึ่่�งรวม เรีียกว่่า กองมณฑล ทำหน้้าที่ ่� ช่่วยเหลืือการปฏิิบััติิราชการ ในแผนกการต่่าง ๆ ภายในมณฑลตามสมควร แก่่ปริิมาณ งาน นัับเป็็นการปฏิิรููปการปกครองหััวเมืืองครั้้�งใหญ่่ของ ไทยนัับตั้้�งแต่่การปฏิรููิปการปกครองในสมััยสมเด็็จพระบรม ไตรโลกนาถเป็็นต้้นมา ก่่อนการปฏิิรููปนั้้�น หััวเมืืองทางปัักษ์์ใต้้ที่่�มีี ความสำคััญมาก คืือเมืืองนครศรีีธรรมราชและเมืือง สงขลา เพราะเมืืองทั้้�งสองทำหน้้าที่่�ควบคุุมบัังคัับบััญชา หััวเมืืองประเทศราชมลายููด้้วย โดยเฉพาะในสมััยที่ ่� เจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) เป็็นเจ้้าเมืืองนั้้�น เมืือง นครศรีีธรรมราช มีีอำนาจมากที่ ่� สุุดในปัักษ์์ใต้้ เพราะ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 162 เจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) เป็็นผู้้�นำที่่�เข้้มแข็็งและมีี ความมุ่่งมั่่�นที่่�จะควบคุุมหััวเมืืองประเทศราชมลายูู แต่่หลััง จากเจ้้าพระยานครศรีีธรรมราช (น้้อย) ถึึงแก่่อสััญกรรมแล้้ว เจ้้าเมืืองทั้้�งที่่�นครศรีีธรรมราชและสงขลาอ่่อนแอลง การ ควบคุุมหััวเมืืองประเทศราชมลายููจึึงไม่่เข้้มแข็็งเท่่าที่่�ควร เป็็นโอกาสให้้อัังกฤษซึ่่�งมีีเมืืองขึ้้�นประชิิดพรมแดนไทยอยู่่ ทางใต้้ดำเนิินการแทรกแซงเข้้ามาทีีละน้้อย ๆ โดยเฉพาะ เมืืองไทรบุุรีีอัันเป็็นถิ่่�นที่ ่� อุุดมสมบููรณ์์ เป็็นเหตุุให้้ไทยกัับ อัังกฤษมีีกรณีีพิิพาทในเรื่่�องหััวเมืืองมลายููหลายครั้้�ง แต่่ที่ ่� รุุนแรงมากคืือ กรณีีอัังกฤษใช้้เรืือรบระดมยิิงเมืืองตรัังกานูู เมื่่�อวัันที่่� ๑๑ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๔๐๕ และกรณีีอููรัังกายา กัับพวกเป็็นกบฏในรััฐปาหัังเมื่่�อ พ.ศ.๒๔๓๗ ซึ่่�งอัังกฤษ กล่่าวหาว่่ากลัันตััน ตรัังกานููรู้้�เห็็นเป็็นใจด้้วยให้้ไทยเอา เป็็นธุุระ และอัังกฤษได้้ติิดตามพวกกบฏเข้้ามาในเขตแดน ของไทย แต่่เหตุุการณ์์ต่่าง ๆ สงบลงได้้เพราะกระทรวง การต่่างประเทศของอัังกฤษมีีนโยบายที่ ่�ต้้องการเป็็นมิิตร กัับไทย จึึงไม่่ละเมิิดสิิทธิิของไทยในรััฐมลายูู แม้้กระนั้้�น ก็ต็ามไทยก็ตร็ะหนัักดีีว่่าสิิทธิิของไทยเหนืือรััฐมลายููยัังไม่มีี่ หลัักประกัันที่่�แน่่นอน ด้วยเห้ตุนีุ้้พร�ะบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว จึึงทรงใช้้นโยบายประนีีประนอมและทรงเอาใจหััวเมืือง ประเทศราชมลายูู จะเห็็นได้้ว่่าพระองค์์ได้เส้ด็็จประพาสหััว เมืืองประเทศราชมลายููหลายครั้้�ง ทรงยกฐานะผู้้�ครองรััฐ ไทรบุรีีขึุ้้�นเป็็นเจ้้าพระยาและให้้ขึ้้�นตรงต่่อกรุุงเทพมหานคร แทนที่่�จะขึ้้�นกัับนครศรีีธรรมราชดัังเดิิม ทั้้�งนี้้�ทรงมีีพระราช ประสงค์์เพียงแีต่่จะให้้หััวเมืืองมลายููเป็็นพระราชอาณาเขต ชั้้�นนอกติิดกัับชาติิมหาอำนาจตะวัันตก โดยเฉพาะถ้้า หากอัังกฤษเข้้ามาควบคุุมหััวเมืืองมลายูู จะทำให้้อัังกฤษ มีีพรมแดนติิดกัับดิินแดนของไทย ซึ่่�งจะเป็็นอัันตรายมาก ขึ้้�นอีีก ด้้วยเหตุุนี้้�จึึงทรงพระราชดำริิว่่าราชการในหััวเมืือง ปัักษ์์ใต้้นั้้�นจะปล่่อยไว้้ไม่่ได้้จึึงโปรดเกล้้า ฯ ให้้ยกหััวเมืือง ปัักษ์์ใต้้ทั้้�งหมดที่่�เคยขึ้้�นสัังกััดกระทรวงกลาโหม มาอยู่่ใน บัังคัับบััญชาของกระทรวงมหาดไทย และมีีพระราชดำรััส สั่่�งให้้สมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภุาพ เมื่่�อครั้้�งทรงดำรงตำแหน่่งเสนาบดีีกระทรวงมหาดไทย จััดการแก้้ไขการปกครองหััวเมืืองปัักษ์์ใต้้โดยรีีบด่่วน เพื่่�อ จะได้้มีีความเจริิญก้้าวหน้้าเช่่นเดีียวกัับหััวเมืืองชั้้�นใน ด้้วยเหตุุนี้้�จึึงได้้ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้ตั้้�งมณฑล นครศรีีธรรมราช และมณฑลชุุมพรขึ้้�นโดยมีีพระยาสุขุุมนััย วิินิิต และพระยาสุุจริิตมหิิศรภัักดีี (คอซิิมก๊๊อง ณ ระนอง) เป็็นข้้าหลวงเทศาภิิบาลตามลำดัับ การจััดการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิิบาลในหััวเมืืองปัักษ์์ใต้้จึึงเริ่่�มมาตั้้�งแต่่ ช่่วงกลางทศวรรษ ๒๔๓๐ เป็็นต้้นมา การปฏิิรููปประเทศดัังกล่่าวมาสััมพัันธ์์กัับการ ขยายตััวของอุุดมการณ์์ความคิิดเรื่่�องจัักรวรรดิินิิยมของ ประเทศมหาอำนาจในยุุโรป โดยสามารถอธิิบายถึึงเหตุุ สำคััญที่่�ทำให้้พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว ทรงมีีพระราชดำริิในการปฏิิรููปประเทศในครั้้�งนั้้�น คืือ ข้้อ จำกััดของระบบการบริิหารแบบเก่่า คืือ หน่่วยงานแต่่ละ หน่่วยรัับผิิดชอบงานไม่่เสมอกััน บางกรมมีีงานมาก อาทิิ กรมมหาดไทย กลาโหมและกรมพระคลััง โดยที่มีี่� หน้้าที่ดูู ่� แล หััวเมืืองฝ่่ายเหนืือ ฝ่่ายใต้้ และหััวเมืืองชายทะเลตะวัันออก ตามลำดัับ มีีหน้้าที่ ่� ดููแลความสงบ เกณฑ์์แรงงาน ตััดสิิน คดีีความ รวมทั้้�งเก็็บภาษีีอากรด้้วย จะเห็็นได้้ว่่าเสนาบดีี ทั้้�งสามกรมมีีงานมาก โดยเฉพาะกรมพระคลัังต้้องมีีหน้้าที่ ่� เกี่่�ยวกัับการค้้าขายของหลวงและการติิดต่่อกัับต่่างประเทศ เพิ่่�มขึ้้�นอีีก จึึงนัับว่่ามีีภาระมาก ในขณะที่่�กรมเวีียง กรมวััง และกรมนามีีภาระหน้้าที่ ่�น้้อยกว่่า นอกจากนี้้ร�ายได้ของแ้ต่่ละกรมกองไม่่เสมอภาค กััน ทั้้�งข้้าราชการไม่่มีีเงิินประจำ มีีแต่่เบี้้�ยหวััดรายปีี กรม ที่ ่�มีีรายได้้มากก็็คืือ กรมพระคลััง กรมนา มหาดไทย และ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 163 กลาโหม ส่่วนกรมเวีียงและกรมวััง มีีรายได้เพี้ยงกาีรเก็็บค่่า ธรรมเนีียมในการพิิจารณาคดีี ทำให้้ข้้าราชการประจำกรม กองเหล่่านี้้�หมดกำลัังใจที่่�จะทำงาน นอกจากภาระและรายได้้ของแต่่ละกรมกองไม่่ เสมอภาคกัันแล้้ว แต่่ละกรมยัังมีีหน้้าที่่�การงานที่ ่� ซัับซ้้อน ก้้าวก่่ายกััน ราชการแต่่ละประเภท เช่่น การทหาร การศาล การคลััง ไม่่ได้แยกอ้ ยู่่ที่่�กรมใดกรมหนึ่่�ง แต่่กระจายไปอยู่่ใน ความรัับผิิดชอบของหลายกรมกองด้้วยกััน เช่่น ศาล มีีอยู่่ ทุุกกรม อาทิิ ศาลกรมเวีียง ศาลกรมวััง ศาลกรมคลััง เป็็น งานที่่�ซ้้ำซ้้อนกััน ฉะนั้้�นพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าฯ ทรงมีีพระราชดำริิเปลี่่�ยนแปลงการแบ่่งหน้้าที่ ่� ราชการ ออกไปให้้แต่่ละกรมมีีหน้้าที่ ่� รัับผิิดชอบโดยเฉพาะคืือการ สถาปนากระทรวงต่่าง ๆ ๑๒ กระทรวงขึ้้�น ข้้อจำกััดของการจััดการปกครองในส่่วนภููมิิภาค กล่่าวคืือ ในส่่วนภููมิิภาคมัักให้้เจ้้าเมืือง คนในภููมิิภาคนั้้�น เป็็นผู้้�ปกครองในระบบกิินเมืือง เป็็นการให้้อำนาจแก่่เจ้้า เมืืองมาก เปรีียบเหมืือนเป็็นเจ้้าชีีวิิตของประชาชนใน ภููมิิภาค ซึ่่�งเป็็นโอกาสให้้เกิิดการสะสมกำลัังผู้้�คนได้้มาก นอกจากนี้้�การคมนาคมก็็ไม่่สะดวก ถ้้ามีีเหตุุการณ์์เกิิดขึ้้�น โดยเฉพาะตามชายแดน หรืือพื้้�นที่ ่� ห่่างไกล ทางรััฐบาล กลางไม่่สามารถจะรัับรู้้�ได้้ทัันทีี (ต้้องเสีียเวลา ๒-๓ สััปดาห์์) นอกจากนี้้�อาณาเขตของกรุุงสยามยัังไม่่ได้้ทำแผนที่่�แสดง ขอบเขตแน่่นอน เป็็นสิ่่�งที่ ่�ท้้าทายให้้ชาติิมหาอำนาจตะวััน ตกพยายามจะผนวกดิินแดนตามชายแดนของไทย ซึ่่�ง กรณีีของภาคใต้้นั้้�นก็็จะเห็็นว่่ามีีระบบกิินเมืืองดัังกล่่าวใน พื้้�นที่่�เมืืองชายทะเลฝั่่�งตะวัันออกและหััวเมืืองมลายูู ส่่วน เมืืองชายฝั่่�งทะเลตะวัันตกมีีลัักษณะการปกครองที่่�เรีียก ว่่าเหมาเมืือง 1 มานะ ขุุนวีีช่ว่ย และคณะ. เอกสารประกอบการสอนรายวิิชานครศรีีธรรมราชศึึกษา. หมวดวิชิาศึึกษาทั่่ว�ไป มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครศรีีธรรมราช. 2560, ๓๐. นอกจากนี้้�เงื่่�อนไขสำคััญอีีกประการที่ ่� ส่่งผลต่่อ การปฏิิรููปประเทศคืือ อิิทธิิพลของอารยธรรมตะวัันตก ได้้แก่่ การศึึกษา จะเห็็นได้้ว่่าในสมััยรััชกาลที่่� ๕ พวกกลุ่่ม สยามหนุ่่มเป็็นพวกที่่�ได้้รัับการศึึกษาแบบตะวัันตกได้้รู้้� ลัักษณะการปกครองในระบอบประชาธิิปไตยที่่�กำลัังเฟื่่�องฟูู ในยุุโรป และได้้ทราบถึึงสถานการณ์์การขยายตััวของลััทธิิ จัักรวรรดิินิิยม นำไปสู่่การล่่าอาณานิิคมของพวกชาติิ มหาอำนาจตะวัันตก จึึงต้้องเปลี่่�ยนแปลงการปกครองใน ระบบเก่่า จะเห็็นได้้จากเจ้้านายชั้้�นสููงและขุุนนาง ซึ่่�งได้้ รัับการศึึกษาในยุุโรปได้้ทำหนัังสืือคำกราบบัังคมทููลเสนอ ความเห็็นในการจัดัเปลี่่�ยนแปลงระบบราชการแผ่่นดิิน ร.ศ. ๑๐๓ (พ.ศ.๒๔๒๘) ลัักษณะที่่�ปรากฏเด่่นชััดก็็คืือความ ต้้องการให้้กระจายอำนาจของพระมหากษััตริิย์์และพระ ราชวงศ์์ชั้้�นผู้้�ใหญ่่บางคนออกไป สิ่่�งนี้้�แสดงให้้เห็็นการตื่่�น ตััวของชนรุ่่นใหม่่ที่ ่�ต้้องการยกเลิิกระบบการปกครองใน รููปแบบจตุุสดมภ์์ที่่�การบริิหารขึ้้�นอยู่่กัับบุุคคลเพีียง ๒ – ๓ คนเท่่านั้้�น1 ก าร ท ำ ส น ธิิสััญญา กัั บ ต่่ า ง ช า ติิ โ ด ย เฉพาะสนธิิสััญญาเบาว์์ริิง ทำให้้คนต่่างชาติิ ได้้มีี สิิทธิิสภาพนอกอาณาเขตในไทย เพื่่�อเป็็นการแก้้ไขพระบาท สมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าฯ โปรดเกล้้าฯ ให้้ปรัับปรุุงกฎหมาย และการพิิจารณาคดีีใหม่่ เพื่่�อให้้ทััดเทีียมกัับกฎหมายของ ชาติิที่่�เจริิญนั่่�นคืือ การสถาปนากระทรวงยุุติิธรรม การแทรกแซงของชาติิมหาอำนาจ โดยเฉพาะ ฝรั่่�งเศสที่ ่� พยายามเข้้ามามีีอิิทธิิพลดิินแดนทางฝั่่�งขวาของ แม่่น้้ำโขงและเอาเรืือรบมาปิิดปากน้้ำ และอัังกฤษที่่�ได้้ ปกครองหััวเมืืองมลายูู ได้เ้รีียกร้้องเอา ๔ รััฐทางตอนเหนืือ ของมลายูู ทำให้้ไทยต้้องปรัับปรุุงการปกครองหััวเมืืองให้้


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 164 รััดกุุมยิ่่�งขึ้้�น เป็็นการปฏิิรููปการปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นซึ่่�งเกิิด ขึ้้�นในระยะเวลาเดีียวกััน ใน พ.ศ.๒๔๓๐ โปรดเกล้้าฯ ให้้สมเด็็จพระเจ้้า บรมวงศ์์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์์วโรปการเสด็็จไปร่่วมงาน ฉลองการขึ้้�นครองราชย์์ครบ ๕๐ ปีีของพระนางวิิคตอเรีีย ที่่�ลอนดอน อัังกฤษและได้้รัับสั่่�งให้้ศึึกษาระบบการเมืือง และการปกครองของประเทศในยุุโรปด้้วย ในตอนขากลัับ ได้้เสด็็จเยืือนสหรััฐอเมริิกาและญี่ ่�ปุ่่น สมเด็็จกรมพระยา เทวะวงศ์์ฯ ทรงเสนอรููปแบบของการปฏิิรููปการปกครอง และรััชกาลที่่� ๕ ได้้ทรงทดลองโดยให้้มีีสภา ประกอบด้้วย เสนาบดีี ๑๒ คน เรีียกว่่า เสนาบดีีสภา มีีอำนาจเสมอภาค กััน มีีความรัับผิิดชอบเฉพาะหน้้าที่่�ของตนไป และในการ เรีียกประชุุมเสนาบดีีสภาใน พ.ศ.๒๔๓๑ พระบาทสมเด็็จ พระจุุลจอมเกล้้าฯ ได้้มีีพระราชดำรััสราชาธิิบายแก้้ไขการ ปกครองแผ่่นดิินด้้วย นัับเป็็นจุุดเริ่่�มต้้นของการปฏิิรููปการ ปกครอง ที่่�กล่่าวมาทั้้�งหมดสามารถกล่่าวโดยสรุุปได้้ว่่า รััฐบาลสยามเห็็นว่่าถึึงเวลาที่่�เหมาะสมแล้้วที่่�สยามควรมีี การปฏิิรููปประเทศให้้ทัันสมััยเพราะเงื่่�อนไขต่่าง ๆ ตามที่ ่� กล่่าวมา ประเด็็นสำคััญอย่่างหนึ่่�งที่ ่� น่่าสนใจในพื้้�นที่ ่� ภาค ใต้้ก่่อนการปฏิิรููปประเทศคืือการที่ ่� ส่่วนกลางส่่งขุุนนาง เพื่่�อมาสัังเกตการณ์์สถานการณ์์ต่่าง ๆ ของพื้้�นที่ ่� ก่่อนที่ ่� จะดำเนิินการจััดตั้้�งมณฑลเทศาภิิบาลทั้้�งนี้้�แสดงให้้เห็็นว่่า ส่่วนกลางมีีความระมััดระวัังในการดำเนิินการปฏิิรููปที่ ่�มีี ต่่อพื้้�นที่ ่� ภาคใต้้ เช่่น ในรายงานพระสฤษดิ์์�พจนกรณ์์ เล่่ม ที่่� ๑๒ ซึ่่�งว่่าด้้วยการตรวจแหลมมลายููในพระราชอาณา เขตร ร.ศ.๑๑๓ (ส่่วนที่่� ๒)1 เป็็นการบรรยายสภาพของบ้้าน เมืืองพััทลุุง นครศรีีธรรมราช และสงขลา รวมทั้้�งมีีการเชื่่�อม 1 รายงานพระสฤษดิ์์�พจนกรณ์์ เล่่ม ๑๒ ว่่าด้ว้ยการตรวจแหลมมลายููในพระราชอาณาเขตรร.ศ.๑๑๓ เอกสารหอจดหมาเหตุุแห่่งชาติิ. ม.๒.๑๔/๒๒. โยงไปยัังเมืืองไทรบุุรีี เมืืองตรัังบ้้าง โดยมีีการอธิิบายถึึง สิ่่�งที่ ่� พระสฤษดิ์์�พจนกรณ์์ได้้พบเห็็นในช่่วงที่ ่�มีีการเดิินทาง พ.ศ.๒๔๓๗ ข้้อมููลดัังกล่่าวสะท้้อนสภาพการณ์์บางอย่่าง ของสัังคมภาคใต้้ในช่่วงเวลาก่่อนการปฏิิรููป แสดงให้้เห็็นถึึงอำนาจ ผลประโยชน์์ของเจ้้าเมืือง กรมการ ในรายงานฯ ให้้ภาพเรื่่�องอำนาจและผลประโยชน์์ ของเจ้้าเมืือง กรมการแบบเก่่าในหััวเมืืองภาคใต้้ว่่ามีีมาก เหนืือชาวบ้้านทั่่�วไปเป็็นอย่่างมาก การที่่�เจ้้าเมืืองกรมการ มีีอำนาจมากนี้้�ย่่อมจะส่่งผลถึึงการคุุมอำนาจที่่�ไม่่สามารถ ทำได้้เท่่าที่่�ควรและส่่งผลต่่อไปยัังชาวบ้้านให้้ได้้รัับความ เดืือดร้้อน เป็็นภาพสะท้้อนได้้อย่่างหนึ่่�ง ในด้้านประโยชน์์ของผู้้�ว่่าราชการนั้้�นพระสฤษดิ์์� พจนกรณ์์ ได้้สะท้้อนให้้เห็็นว่่าเจ้้าเมืืองมีีประโยชน์์ที่ ่� มัักไป เบีียดบัังมาจากชาวบ้้าน เช่่น “...ประโยชน์์ที่่�ได้้ในส่่วนผู้้�ว่่า ราชการเมืืองสงขลามีีหลายอย่่าง ข้้าพระพุุทธเจ้้าจะยกขึ้้�น กราบทููลโดยย่่อ ๆ ทรงทราบฝ่่าพระบาท คืือ ๑. สรรพอาหารทั้้�งปวงแลสิ่่�งที่่�ใช้้สอยถ้้าเป็็นของ มีีในพื้้�นบ้้านเมืืองแล้้วเป็็นไม่่ต้้องซื้้�อหา ๒. เงิินพิินััยจากคะดีีที่่�เกิิดในโรงศาล ๓. ผลประโยชน์์ในส่่วยรายเฉลี่่�ย ซึ่่�งเก็็บอย่่างแรง แลบัังคัับให้้ราษฎรเสีียเพิ่่�มขึ้้�นได้้ตามแต่่ความต้้องการเปน ครั้้�งคราว ๔. เปนผู้้�ทำภาษีีอากรในพื้้�นบ้้านเมืือง ๕. ค้้าขายในระหว่่างเมืืองสงขลากัับกรุุงเทพ แล สะเตรตช์์เซตเตอลแมนต์์ ๖. ที่่�ไร่่นาเรืือกสวนมีีมากต้้องเสีียค่่าที่ ่� ดิิน เวลา ทำไร่่นาเรืือกสวนก็็อาไศรยแรงราษฎร


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 165 ๗. ผู้้�คนใช้้สอยในสรรพการทั้้�งปวงไม่ต้้่องจ้้าง ๘. สิิบลดค่่านาในพื้้�นบ้้านเมืือง ๙. ได้้ส่่วนแบ่่งปัันเงิินค่่าธรรมเนีียมที่่�เก็็บได้ในโ ้รงศาล ๑๐. ราษฎรในเขตรแขวงเมืืองสงขลาเปนดัังคนใน เรืือนจะใช้้ใคร อย่่างไร ไม่่มีีที่่� ขััดขวางแลไม่่อาจขััดได้้ ๑๑. สิ่่�งของที่่�ทำได้้โดยแรงนัักโทษ ๑๒. ค่่าตลาดแลค่่าเช่่าที่ ่� ดิินในเมืืองสงขลา ประมาณผลประโยชน์ที่์ ่�ได้ใน้ส่่วนพระยาวิิเชีียร ปีี หนึ่่�งคงไม่่ต่่ำกว่่า ๕๐,๐๐๐ บาท” เรื่่�องการให้้สิินบน รายงานพระสฤษดิ์์พ�จนกรณ์์ให้้ ภาพเรื่่�องการติิดสิินบนโดยเฉพาะเมื่่�อชาวบ้้านต้้องโดนคดีี ความ โดนจัับเข้้าขัังคุุก หากไม่่ติิดสิินบนเจ้้าเมืืองกรมการก็็ ไม่่มีีช่่องทางที่่�จะออกจากคุุกได้้ “…เวลาเช้้าสี่่�โมงยกเดิินจากบ้้านแต ต่่อมาเวลา เที่่�ยงถึึงศาลาหม่่อมนุ้้�ย หยุุดพัักร้้อนสัักครู่่หนึ่่�ง ภบนาย ห่่อ ภรรยาชื่่�ออำแดงสิินอยู่่บ้้านนางเกลีียง ว่่าเมื่่�อตอนเช้้า มีีผู้้�ร้้ายลัักโคมา ๑ โค เที่่�ยวตามยัังไม่่ภบ ข้้าพระพุุทธเจ้้า ไต่่ถามดููเรื่่�องโจรผู้ร้้้�ายแลการบ้้านเมืืองพููดจากัันอย่่างเพื่่�อน ธรรมดา นายห่่อสั่่�นศีีศะแล้้วว่่าเต็็มทีีชี้้�ให้้ข้้าพระพุุทธเจ้้าดูู บ้้านร้้างแลนาร้้างที่่�ใกล้้ศาลาหม่่อมนุ้้�ยว่่า ให้้ข้้าพระพุุทธเจ้้า แลดููด้้วยตาเถิิด นาแลบ้้านเหล่่านั้้�นร้้างด้้วยเหตุุอัันใด แล ทำไมผู้ร้้้�ายจึึงชุุกชุุมนััก คืือเกิดิการโจรผู้ร้้้�ายขึ้้�นที่่�ใดแล้้ว เจ้้า เมืืองกรมการไม่จั่ ับผู้ร้้้�ายจัับแต่่คนชาวบ้้านไปโดยสงไสยว่่า คบหาแลให้้เสบีียงอาหารที่พั ่� ักแก่่โจรอย่่างใดอย่่างหนึ่่�ง จน ราษฎรต้้องทิ้้�งบ้้านเรืือนแลนาไว้้ให้้ร้้าง ถึึงตััวนายห่่อเองใน ร.ศ.๑๑๒ ก็็ต้้องเสีียเงิิน ๒๐๐ เหรีียญ คืือกรมการจัับนาย ห่่อไปว่่าอ้้ายขำผู้้�ร้้ายมาอาไศรย นายห่่อต้้องไปติิดขัังอยู่่ ณะตะรางในเมืืองพััทลุุง ๕ เดืือน นายห่่อเห็็นท่่าจะไม่่ได้้ ออกจึึงนำเงิิน ๒๐๐ เหรีียญไปให้้พระทิิพกำแหงสงคราม (หรั่่�ง) ปลััดจึึงได้้หลุุดจากโทษไม่่มีีคดีีเกี่่�ยวกััน” การให้้สิินบนอีีกกรณีีหนึ่่�งคืือให้้กัับนายด่่าน เพื่่�อ อพยพเดิินทางจากเมืืองสงขลาไปเมืืองไทรบุุรีีดัังที่ ่�มีีกล่่าว ไว้้ในรายงาน “...พวกชาวบ้้านบางธงนี้้�ประมาณ ๑๐ คน เศศ แจ้้งความกัับข้้าพระพุุทธเจ้้าว่่าจะเดิินทางออกไปตั้้�งทำมา หารัับพระราชทานอยู่่ตำบลบ้้านท่่ามนตรีี แขวงเมืืองไทร โดยความขััดสนไม่่มีีเงิินจะเสีียส่่วยรายเฉลี่่�ย ด้้วยปีีแล้้วโค กระบืือล้้มตายหมดไม่มีีสิ่่ ่ �งใดทำนา เกรงด้วยเก้ ล้้าว่่าถ้้าไม่มีี่ เงิินเสีียจะต้้องถููกจองจำ ข้้าพระพุุทธเจ้้าจึึงว่่าเขามีีด่่านกััก ทุุกทางจะออกไปได้ห้รืือ ราษฎรพวกนี้้ต�อบว่่าทำไมกัับนาย ด่่านให้้เสีียสััก ๑ บาทก็็ภอไปได้้ไม่่ยากอะไร ที่ ่� ราษฎรบอก กล่่าวดัังนี้้� เพราะไม่่ทราบเกล้้าว่่าข้้าพระพุุทธเจ้้าเปนผู้้�ใด เห็็นเป็็นคนเดิินทางตามธรรมดา เวลาเดิินทางมาด้้วยกััน ก้้เดิินพลางพููดพลางตลอดไปอย่่างเช่่นถามทุุกข์์ศุุขแห่่งกััน และกััน...” การรีีดภาษีีที่่�เจ้้าเมืืองกรมการและพรรคพวก กระทำต่่อคนในพื้้�นที่ ่� นัับว่่าเป็็นปััจจััยสำคััญที่ ่� ส่่งผลต่่อ ปฏิิกิิริิยาต่่อต้้านรััฐในช่่วงเวลาต่่อมา เช่่น กรณีีชุุมโจรลุ่่ม ทะเลสาบสงขลา (รุ่่ง ดอนทราย ดำ หััวแพร) หรืือทััศนคติิ ที่่�ชาวบ้้านมีีต่่อนายในภาวการณ์์ปััจจุุบััน เช่่น ความรัับรู้้� ที่่�ชาวบ้้านมีีต่่อ “นาย” ในสุุภาษิิตที่ ่� ว่่า “ไม่่รบนายไม่่หาย จน” “นายรัักเหมืือนเสืือกอด หนีีนายรอดเหมืือนเสืือหา” เป็็นต้้น รายงานของพระสฤษดิ์์พ�จนกรณ์์นั้้�นพบว่่าเจ้้าเมืือง กรมการมีีการเก็็บส่่วย ภาษีี ชาวบ้้านอยู่่หลายกรณีี เช่่น ส่่วยรายเฉลี่่�ย “...ส่่วยรายเฉลี่่�ย ตรงกัับคำภาษาอัังกฤษที่ ่� เรีียก (แคปิิเตชัันแทกข์์) แต่่คำที่ ่� ราษฎรเรีียกย่่อ ๆ ว่่า ราย เรี่่�ย เป็็นอััตราว่่าชายมีีภรรยาเก็็บครััว ๑ ปีีละ ๒ บาท ๒๔ อััฐ ชายโสตร ชายม่่าย หญิิงม่่าย คน ๑ ปีีละ ๑ บาท ทาส ชายหญิิงปีีละ ๑๖ อััฐ”


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 166 “...การเก็็บส่่วยนี้้�ผู้้�ว่่าราชการเมืืองกรมการให้้ อำเภอเปนผู้้�เก็็บส่่ง อำเภอได้เ้งิินลดในส่่วนอำเภอ แลคนที่ ่� เปนญาติิสนิิทของอำเภอเป็็นยกไม่ต้้่องเสีียส่่วยกัับได้้สิิบลด เป็็นส่่วนของอำเภอประมาณร้้อยละ ๒ ครึ่่�ง อััตราที่่�เก็็บว่่า เก็็บเท่่านี้้� แต่่ผู้้�เก็็บขอค่่าเก็็บอีีกคนละ ๔ อััฐบ้้างตามแต่่จะ บีีบคั้้�นเรีียกร้้องได้้ เพิ่่�มขึ้้�นเปนผลประโยชน์์ของผู้้�เก็็บทุุกๆ คน ที่่�นำเงิินมาส่่งส่่วยรายเฉลี่่�ย ส่่วยรายเฉลี่่�ยเก็็บแต่่คน บ้้านนอก คนที่ ่�ตั้้�งบ้้านเรืือนอยู่่ในเมืืองพััทลุุง (ลำปำ) ไม่่ ได้้เก็็บ ยกเป็็นไม่่ต้้องเสีีย” รายงานดัังกล่่าวสะท้้อนภาพการเอารััดเอา เปรีียบ ที่่�เจ้้าเมืืองกรมการกระทำต่่อชาวบ้้านอีีกเป็็นจำนวน มาก ทำให้้มองเห็็นสภาพของชาวบ้้านภาคใต้้ที่่�ไม่่ได้้รัับการ ดููแลจากรััฐในระบบการบริิหารแบบเดิิม เป็็นเหตุุผลอััน เหมาะสมที่่�จะนำไปสู่่การปฏิิรููปประเทศด้้วย ในช่่วงตั้้�งแต่่กลางทศวรรษ ๒๔๓๐ สามารถ ดำเนิินการจััดตั้้�งมณฑลเทศาภิิบาลในพื้้�นที่ ่� ภาคใต้้ได้้คืือ มณฑลภููเก็็ตตั้้�งขึ้้�นใน พ.ศ.๒๔๓๗ จากการรวมเมืือง ภููเก็็ต กระบี่่� ตรััง ระนอง ตะกั่่�วป่่า พัังงา และสตููล มณฑล นครศรีีธรรมราชตั้้�งขึ้้�นใน พ.ศ.๒๔๓๙ จากการรวมเมืือง นครศรีีธรรมราช สงขลา พััทลุุง และบริิเวณ ๗ หััวเมืืองคืือ เมืืองปััตตานีี หนองจิิก สายบุุรีี ยะหริ่่�ง รามััน ระแงะ และ ยะลา มณฑลชุุมพรตั้้�งขึ้้�นใน พ.ศ.๒๔๓๙ จากการรวมเมืือง ชุุมพร หลัังสวน ไชยา และกาญจนดิิษฐ์์ ใน พ.ศ.๒๔๔๙ ได้้แยกบริิเวณ ๗ หััวเมืือง ออกไปจััดตั้้�งมณฑลปััตตานีี ขึ้้�นอีีกมณฑลหนึ่่�ง ในสมััยรััชกาลที่่� ๖ พ.ศ.๒๔๕๘ มีีการ รวมมณฑลใกล้้เคีียงขึ้้�นเป็็นภาค มีีอุุปราชประจำภาคเป็็น ผู้้�บัังคัับบััญชา ทางภาคใต้้มีีการรวมมณฑลต่่าง ๆ เป็็น “ภาคปัักษ์์ใต้้” ตั้้�งกองบััญชาการที่่�สงขลา และมีีการเปลี่่�ยน ชื่่�อ “เมืือง” หรืือ “บริิเวณ” เป็็นจัังหวััด เรีียกตำแหน่่งเจ้้า เมืืองใหม่ว่่ ่า “ผู้ว่้�่าราชการจัังหวัดั” เพื่่�อลบเลืือนสิ่่�งที่ต ่� กค้้าง มาจาก “ระบบกิินเมืือง” ให้้หมดไปเปลี่่�ยนชื่่�อตำแหน่่ง ข้้าหลวงเทศาภิิบาลเป็็นสมุุหเทศาภิิบาล การบริิหารการปกครองมณฑลในตำแหน่่งอุุปราช ปัักษ์์ใต้้ ของสมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอเจ้้าฟ้้าฯ กรมหลวง ลพบุุรีีราเมศวร์์เป็็นงานสานต่่อการปฏิิรููปมณฑลภาคใต้้ ตามแนวทางที่่�ได้วางไ ้ ว้้ตั้้�งแต่รั่ ัชกาลที่่� ๕ ทำให้้การคมนาคม การเมืือง เศรษฐกิิจ สัังคม มีีความเจริิญก้้าวหน้้าและเป็็น ระบบระเบีียบขึ้้�น การติิดต่่อสื่่�อสารซึ่่�งสมััยก่่อนหน้้านี้้�ใช้้ เรืือ ช้้าง ม้้าและเกวีียนเป็็นพาหนะในการขนส่่ง เปลี่่�ยน มาใช้้รถไฟเป็็นพาหนะขนส่่งไปรษณีีย์์โทรเลข มีีโทรศััพท์์ที่ ่� สามารถติิดต่่อกรุุงเทพมหานคร หรืือสิิงคโปร์์ได้สะ้ดวก ทรง เสนอความเห็็นให้้มีีการสร้้างถนนหลวงสายใหญ่่เดิินคู่่กัับ ทางรถไฟสายใต้้ โดยถนนที่่�สร้้างนี้้�จะต้้องตััดผ่่านหมู่่บ้้าน สำคััญ ๆ แต่่ไม่่ห่่างจากทางรถไฟมากกว่่า ๒๐ เส้้น และ สร้้างถนนย่่อยไปยัังหมู่่บ้้านต่่าง ๆ เป็็นทางเกวีียน เพื่่�อขน ถ่่ายสิินค้้ามาป้้อมรถไฟ จนกระทั่่�งถึึง พ.ศ.๒๔๗๕ หลัังการเปลี่่�ยนแปลง การปกครองประเทศ ระบบมณฑลเทศาภิิบาลถููกยกเลิิก จัังหวัดักลายเป็็นหน่่วยการปกครองส่่วนภููมิภิาคระดัับสููงสุดุ ซึ่่�งทางภาคใต้้ประกอบด้้วยจัังหวััดต่่าง ๆ ๑๔ จัังหวััด คืือ ชุุมพร ระนอง สุุราษฎร์์ธานีี นครศรีีธรรมราช สงขลา ตรััง กระบี่่� พัังงา ภูเูก็ต็ สตููล ยะลา ปัตตัานีีพััทลุุงและนราธิิวาส


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคใต้้ 167 ! สรุุป ลัักษณะโดดเด่่นของภาคใต้้คืือการเป็็นดิินแดน ที่ ่�ตั้้�งอยู่่ตอนกลางของคาบสมุุทรมลายููอัันเป็็นแผ่่นดิินกั้้�น มหาสมุุทรสองแห่่งออกจากกััน ทั้้�งยัังมีีทะเลสาบขนาด ใหญ่่ที่ ่� สุุดของประเทศตั้้�งอยู่่ทางตอนกลางของภููมิิภาค นั่่�น คืือทะเลสาบสงขลา ส่่วนกลางภาคใต้้ในแนวเหนืือใต้้พาด ผ่่านด้วยเ้ ทืือกเขาขนาดใหญ่คืื่อเทืือกเขานครศรีีธรรมราชที่ ่� เริ่่�มก่่อตััวขึ้้�นในทะเลอ่่าวไทยบริิเวณเกาะพงััน พาดผ่่านมา ทางเกาะสมุุย มีีภููเขาสููงลากตลอดผ่่านพื้้�นที่ ่�ตั้้�งแต่่ทะเลใน บริิเวณอ่่าวไทย ขึ้้�นฝั่่�งที่่�นครศรีีธรรมราชไปยัังพื้้�นที่่�ของตรััง และพััทลุุง เขาเทืือกนี้้�สิ้้�นสุุดลงที่ ่� ริิมทะเลอัันดามัันบริิเวณ จัังหวััดสตููล เชื่่�อมต่่อกัับเทืือกเขาอีีกเทืือกหนึ่่�งที่ ่�ตั้้�งอยู่่ใน แนวตะวัันออก – ตก ซึ่่�งเป็็นเทืือกเขาที่ ่�กั้้�นเขตแดนระหว่่าง มาเลเซีียกัับไทยในปััจจุุบััน นั่่�นคืือเทืือกเขาสัันกาลาคีีรีี ส่่วนทางตะวัันตกของภาคใต้้มีีภูเขาภููเูก็ตที่็ ่�ลากขนานกัับเทืือกเขา นครศรีีธรรมราช เทืือกเขาหลัักทั้้�งสามเทืือกจึึงเป็็นพื้้�นที่ ่� ต้้นน้้ำที่่�นำน้้ำและตะกอนดิินไหลลงสู่่ฝั่่�งทะเลทั้้�งสองด้้าน มาตลอดระยะเวลาที่ ่� ผ่่านมา ด้้วยระยะเวลาอัันยาวนาน ของการพัดพัาตะกอนดิินก่่อให้้เกิดิความสมบููรณ์์ ในบริิเวณ ที่่�แม่่น้้ำไหลผ่่านนั่่�นคืือที่ ่� ราบและปากแม่่น้้ำ ด้้วยเหตุุดัังนี้้� ทำให้้มีีคนเข้้ามาตั้้�งหลัักแหล่่งทำมาหากิินที่่�เริ่่�มต้้นบริิเวณ ปากแม่่น้้ำแล้้วค่่อย ๆ ขยายออกสู่่พื้้�นที่ ่� ต่่าง ๆ ลัักษณะของที่ตั้้่� �งดัังกล่่าวส่่งผลให้้พื้้�นที่ภ ่� าคใต้้เป็็น จุุดเชื่่�อมต่่อทางทะเลสำคััญของโลก โดยเฉพาะจุุดเชื่่�อม ต่่อระหว่่างแหล่่งอารยธรรมจีีนกัับอิินเดีีย การเป็็นแผ่่นดิิน ระหว่่างมหาสมุุทรอิินเดีียและแปซิฟิิกส่่งผลต่่อความหลาก หลายของทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งส่่งผลต่่อ เนื่่�องไปถึึงกลุ่่มคน ลัักษณะทางวััฒนธรรมของผู้้�คน การ ปะทะสัังสรรค์ร์ะหว่่างคนท้้องถิ่่�นกัับผู้้�คนภายนอก ที่่�สำคััญ ที่ ่� สุุดคืือการผสมผสานของผู้้�คน และวััฒนธรรมต่่าง ๆ ใน พื้้�นที่ ่� ภาคใต้้ ในยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์จนถึึงประวััติิศาสตร์์ ยุุคต้้น ภาคใต้้เป็็นหมุุดหมายของพ่่อค้้าอิินเดีียที่่�จะเดิิน ทางมาเพื่่�อค้้นหาของป่่าและเครื่่�องเทศนำไปสู่่การรัับ วััฒนธรรมและการพััฒนาขึ้้�นของชุุมชนต่่าง ๆ ในภาคใต้้ ขณะที่่�เวลาต่่อมาเมืือพ่่อค้้าเปลี่่�ยนกลุ่่มเป็็นพ่่อค้้าที่นั ่� ับถืือ ศาสนาอิิสลาม ผู้้�คนในพื้้�นที่ ่� ภาคใต้้ตอนล่่างก็็หัันไปเชื่่�อถืือ เช่่นเดีียวกัับพ่่อค้้า จนกระทั่่�งพุุทธศตวรรษที่่� ๒๓ เป็็นต้้นมา หลััง ภาคใต้้ถููกรวบรวมเป็็นส่่วนหนึ่่�งของอาณาจัักรสยาม พื้้�นที่ ่� ภาคใต้้ถููกมองจากรััฐส่่วนกลางว่่าตั้้�งอยู่่ไกลจากศููนย์์อำนาจ (อยุุธยา รััตนโกสิินทร์์) หลายกรณีีภาคใต้้กลายเป็็นพื้้�นที่ ่� สำหรัับกลุ่่มคนที่ ่� ขััดแย้้ง เห็็นต่่างกัับอำนาจรััฐ จนมีีการ ปฏิิรููปประเทศในทศวรรษ ๒๔๓๐ เป็็นต้้นมา ภาคใต้้ถููก รวบรวมกัับรััฐสยามอย่่างสมบููรณ์์ ความห่่างไกลถููกทำให้้ ใกล้้ด้้วยทางรถไฟ ระบบคมนาคมแบบใหม่่ และการติิดต่่อ สื่่�อสารแบบใหม่่ๆ แต่สิ่่่ �งหนึ่่�งที่ยั ่� ังคงเห็็นอยู่่ในสัังคมภาคใต้้ จนถึึงทุุกวัันนี้้�คืือการที่ ่� ผู้้�คนหลากหลายกลุ่่มยัังคงอยู่่ร่่วม กัันได้้อย่่างผสมกลมกลืืน คนกลุ่่มต่่าง ๆ เคารพในความ แตกต่่างทางวััฒนธรรม มองเห็็นคุุณค่่าในความเป็็นมนุุษย์์ มีีสำนึึกเกี่่�ยวกัับความเป็็นมาทางประวััติิศาสตร์์ร่่วมกััน สิ่่�งเหล่่านี้้�จึึงกลายเป็็นความโดดเด่่นของสัังคมภาคใต้้ใน ปััจจุุบััน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 168


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ประวััติิศาสตร์ ์ ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 169 ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือหรืือภาคอีีสานเป็็นภููมิิภาคที่ ่�มีีพื้้�นที่่�มากที่ ่� สุุดของ ประเทศไทย หลัักฐานทางประวััติิศาสตร์์และโบราณคดีีแสดงถึึงร่่องรอยการตั้้�งถิ่่�นฐาน ของผู้้�คนในภาคอีีสานตั้้�งแต่่ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ พััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์ของ ภาคอีีสานสะท้้อนให้้เห็็นความสำคััญของที่ ่�ตั้้�ง ทรััพยากรธรรมชาติิ กำลัังคน ซึ่่�งเป็็น ปััจจััยภายในที่่�ทำให้้เกิดิการติิดต่่อระหว่่างผู้้�คนนำไปสู่่การแลกเปลี่่�ยนผลผลิตส่ิ ่วนเกิิน การรัับวััฒนธรรม การสร้้างเครืือข่่ายการค้้าระหว่่างภาคอีีสานกัับภายนอก เครืือข่่าย การค้้าภายในเมืืองต่่าง ๆ ของอีีสาน และการขยายอิิทธิิพลด้้านการปกครองจากพื้้�นที่ ่� ภายนอกมายัังภาคอีีสานอย่่างต่่อเนื่่�อง ปััจจุบัุันด้วย้ที่ตั้้่� �งของภาคอีีสานที่่�ติิดกัับประเทศ เพื่่�อนบ้้าน ทำให้้ภาคอีีสานมีีบทบาทสำคััญต่่อการค้้าชายแดนระหว่่างประเทศไทยกัับ สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และราชอาณาจัักรกััมพููชา รวมถึึง การค้้าผ่่านแดนไปยัังสาธารณรััฐสัังคมนิิยมเวีียดนามและสาธารณรััฐประชาชนจีีน อีีกด้้วย


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 170 ! สภาพภููมิศิาสตร์์ ทรััพยากรธรรมชาติิ และ กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในภาคอีีสาน สภาพภููมิศิาสตร์์ ภาคอีีสานตั้้�งอยู่่ในตำแหน่่งศููนย์์กลางของอนุุ ภููมิิภาคลุ่่มแม่่น้้ำโขง มีีอาณาเขตติิดต่่อกัับสาธารณรััฐ ประชาธิิปไตยประชาชนลาวด้้านทิิศตะวัันออกและด้้าน ทิิศเหนืือ มีีแม่่น้้ำโขงเป็็นเส้้นกั้้�นพรมแดน ด้้านทิิศใต้้ ติิดกัับราชอาณาจัักรกััมพููชา มีีเทืือกเขาพนมดงรัักกั้้�น พรมแดน ประกอบด้้วย ๒๐ จัังหวััด คืือ เลย หนองบััวลำภูู หนองคาย บึึงกาฬ อุุดรธานีี สกลนคร นครพนม ชััยภููมิิ ขอนแก่่น กาฬสิินธุ์์ มหาสารคาม ร้้อยเอ็ด็มุุกดาหาร ยโสธร อำนาจเจริิญ อุุบลราชธานีี ศรีีสะเกษ สุุริินทร์์ บุุรีีรััมย์์ และ นครราชสีีมา พื้้�นที่ร ่� วม ๑๐๕.๕๓ ล้้านไร่่ ลัักษณะภููมิิประเทศ โดยรวมของภาคอีีสานประกอบด้้วยพื้้�นที่ ่� ดอนต่่ำ โคก โนน เนิิน มอ ระดัับความสููง ๑๕๐-๒๐๐ เมตร ร้้อยละ ๔๐ ของพื้้�นที่ ่�ทั้้�งหมด ที่่�เหลืือจากนั้้�นจะเป็็นพื้้�นที่ ่� ราบลุ่่ม ราบเรีียบ ความสููง ๑๐๐-๑๕๐ เมตร ร้้อยละ ๒๐ ของพื้้�นที่ ่� ทั้้�งหมดเช่่นเดีียวกัับพื้้�นที่ด ่� อนสููง โคกโนนขนาดใหญ่่ ความ สููง ๒๐๐-๓๐๐ เมตร ส่่วนพื้้�นที่่�ลาดเชิิงเขา ความสููง ๓๐๐- ๕๐๐ เมตร พื้้�นที่่�ภููเขามีีความลาดชัันมาก ความสููง ๕๐๐ เมตรขึ้้�นไป มีีประมาณร้้อยละ ๑๕ และร้้อยละ ๕ ของพื้้�นที่ ่� ทั้้�งหมดตามลำดัับ ภาคอีีสานหรืือที่ร ่� าบสููงโคราชมีีลัักษณะ คล้้ายกระทะ แบ่่งเป็็น ๒ เขตใหญ่่ ได้้แก่่ บริิเวณแอ่่งโคราช และบริิเวณแอ่่งสกลนคร เทืือกเขาภููพานเป็็นเทืือกเขาที่ ่�ตั้้�ง อยู่่ในภููมิิภาค แบ่่งพื้้�นที่่�ของแอ่่งโคราชและแอ่่งสกลนคร 1 ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชา ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๙ หน้้า ๑๙. ลัักษณะทางกายภาพของแอ่่งโคราชเป็็นที่ร ่� าบแอ่่ง กระทะหงาย ครอบคลุุมพื้้�นที่่� ๓ ใน ๔ ส่่วนของภาคอีีสาน ทั้้�งหมด ถืือว่่าเป็็นที่ร ่� าบกว้้างที่สุ ่� ดุของประเทศไทย มีีความสููง โดยเฉลี่่�ย ๑๐๒-๑๗๐ เมตร จากระดัับน้้ำทะเลปานกลาง พื้้�นที่ ่� ตรงกลางแอ่่งเป็็นที่ร ่� าบลุ่่มต่่ำมีีแม่น้้ ่ ำมููล แม่น้้ ่ ำชีีเป็็นแม่น้้ ่ ำ สายหลัักที่ร ่� ะบายน้้ำออกจากขอบที่ร ่� าบของแอ่่ง ครอบคลุุม พื้้�นที่่�ด้าน้ตะวัันตกตั้้�งแต่จั่ ังหวัดันครราชสีีมา ชััยภููมิิ ขอนแก่่น บุรีีรัุัมย์์ สุริุินทร์์ ศรีีสะเกษ มหาสารคาม ร้้อยเอ็ด็ กาฬสิินธุ์์ ยโสธร อำนาจเจริิญไปจนถึึงจัังหวััดอุุบลราชธานีีทางด้้าน ตะวัันออก ล้้อมรอบด้้วยเทืือกเขาเพชรบููรณ์์ ดงพญาเย็็น สัันกำแพง พนมดงรัักและเทืือกเขาภููพาน ลัักษณะทางกายภาพของแอ่่งสกลนครเป็็นที่ร ่� าบ แอ่่งกระทะหงายเช่่นกััน แต่มีี่ขนาดเล็็กกว่่าแอ่่งโคราชมาก มีีความสููงเฉลี่่�ยอยู่่ในระดัับ ๑๔๐-๑๘๐ เมตรจากระดัับน้้ำ ทะเลปานกลาง ภููมิิประเทศส่่วนใหญ่่เป็็นที่ร ่� าบและที่ร ่� าบลุ่่ม ริิมฝั่่�งแม่น้้ ่ ำ สลัับกัับเนิินหรืือมอซึ่่�งเป็็นลููกคลื่่�นลอนตื้้�นขนาด ใหญ่่ มีีแหล่่งน้้ำขนาดใหญ่่ คืือ หนองหาร จัังหวัดัสกลนคร และหนองหารน้้อย อำเภอกุุมภวาปีี จัังหวัดอุัดรธุานีีมีีแม่น้้ ่ ำ สงครามและแม่น้้ ่ ำโขงเป็็นแม่น้้ ่ ำสำคััญ แอ่่งสกลนครเป็็นส่่วน หนึ่่�งของลุ่่มแม่น้้ ่ ำโขงตอนกลางแถบเวีียงจัันทน์์เพราะมีีแม่น้้ ่ ำ โขงไหลผ่่านทางด้านเห้ นืือต่่อเนื่่�องไปทางตะวัันออกเฉีียงใต้้ พื้้�นที่ส่ ่� ่วนใหญ่มีีลั่ ักษณะลาดเอีียงลงสู่่แม่น้้ ่ ำโขง ลำน้้ำสาย ต่่าง ๆ ในบริิเวณนี้้�เป็็นสาขาของแม่น้้ ่ ำโขง ส่่วนด้าน้ตะวัันตก และทางใต้้เป็็นเขตเทืือกเขาและพื้้�นที่สูู ่� งหรืือมีีสภาพเป็็นป่่า เขา1 ครอบคลุุมพื้้�นที่่�ในเขตจัังหวัดัเลย อุดรธุานีี หนองบััวลำภูู หนองคาย บึึงกาฬ สกลนคร นครพนม และมุุกดาหาร


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 171 แม่่น้้ำสายสำคััญในบริิเวณที่ ่� ราบสููงโคราช ได้้แก่่ แม่่น้้ำมููล แม่่น้้ำชีี และแม่่น้้ำสงคราม แม่่น้้ำมููลและแม่่น้้ำชีี เป็็นแม่่น้้ำสายหลัักของแอ่่งโคราช แม่่น้้ำทั้้�งสองสายมีี ลำน้้ำสาขามากมาย แม่่น้้ำมููลมีีความยาวประมาณ ๖๔๑ กิิโลเมตร ต้้นน้้ำอยู่่ที่่�เทืือกเขาสัันกำแพงไหลลงสู่่แม่่น้้ำโขง ที่ ่� จัังหวััดอุุบลราชธานีี และแม่่น้้ำชีีมีียาวประมาณ ๗๖๕ กิิโลเมตร มีีต้้นน้้ำที่ ่� ทิิวเขาเพชรบููรณ์์ไหลไปรวมกัับแม่่น้้ำ มููลที่ ่� จัังหวััดอุุบลราชธานีีแล้้วไหลต่่อลงแม่่น้้ำโขงที่่�อำเภอ โขงเจีียม จัังหวััดอุุบลราชธานีีลัักษณะการไหลของแม่่น้้ำ ในภาคอีีสานจะไหลจากด้้านตะวัันตกไปด้้านตะวัันออก และไหลลงสู่่แม่่น้้ำโขงในที่ ่� สุุด ดัังนั้้�น แม่่น้้ำโขงจึึงถืือเป็็น แม่่น้้ำสายสำคััญอีีกสายหนึ่่�ง ต้้นน้้ำของแม่่น้้ำโขงอยู่่ใน ธิิเบตไหลผ่่านยููนนาน ลาว ไทย กััมพููชา ลงสู่่ทะเลจีีนใต้้ ทางตอนใต้้ของประเทศเวีียดนาม แม่่น้้ำโขงตั้้�งแต่่จุุดแบ่่ง เขตแดนไทย-ลาวที่จั ่� ังหวัดัเลยจนถึึงเขตจัังหวัดอุัุบลราชธานีี มีีความยาว ๘๓๐ กิิโลเมตร จากเส้้นทางการไหลของแม่น้้ ่ ำ สายสำคััญในภาคอีีสานทำให้้เกิิดการติิดต่่อระหว่่างผู้้�คน ในชุุมชนโบราณ เกิิดการแลกเปลี่่�ยนสิินค้้า วััฒนธรรม มา ตั้้�งแต่่ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ จากลัักษณะภููมิิศาสตร์์ดัังกล่่าว ทำให้้คนสมััย ก่่อนประวััติิศาสตร์์ไม่่นิิยมตั้้�งถิ่่�นฐานในบริิเวณที่ ่� ราบน้้ำ ท่่วมถึึงเพราะมัักเกิดน้้ ิ ำท่่วมทุุกปีี และสภาพพื้้�นที่่�เป็็นหนอง น้้ำไม่่เหมาะต่่อการเพาะปลููก เว้้นแต่่บางพื้้�นที่ ่� ที่ ่�มีีความรู้้� ความสามารถในการควบคุุมไม่่ให้้เกิิดน้้ำท่่วมขัังได้้ผู้้�คน จึึงเลืือกตั้้�งถิ่่�นฐานบริิเวณลานตะพัักระดัับต่่ำที่ ่�มีีลำน้้ำสาย 1 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๑๗-๑๘. 2 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต และดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์์, ประวััติิศาสตร์์อีีสานหลัังสงครามโลกครั้้งที่ ่� สองถึึงปััจจุุบััน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒ , ขอนแก่่น: สำนััก ส่่งเสริิมศิิลปวััฒนธรรม มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๔๑ หน้้า ๔-๕. เล็็ก ๆ มาบรรจบกัันเนื่่�องจากไม่่ถููกน้้ำท่่วมในฤดููน้้ำหลาก สภาพของดิินมีีความอุุดมสมบููรณ์์ในการเพาะปลููกข้้าวอััน เป็็นอาหารหลััก หลัักฐานทางโบราณคดีีดิินแดนที่ ่� ราบสููง โคราชมีีคนเข้้ามาอยู่่อาศััยตั้้�งแต่่สมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์ อย่่างต่่อเนื่่�องเป็็นระยะเวลากว่่า ๔,๐๐๐ ปีี 1 ภาคอีีสานมีีสภาพภููมิิอากาศร้้อนชื้้�นสลัับกัับแล้้ง ดิินในภาคอีีสานเป็็นดิินทรายไม่่อุ้้�มน้้ำทำให้้ขาดแคลนน้้ำ และขาดธาตุุอาหาร ใต้้ดิินมีีเกลืือหิินทำให้้ดิินเค็็มจึึงมีีข้้อ จำกััดต่่อการใช้้ที่่� ดิินเพื่่�อการเกษตร แม้้ภาคอีีสานมีีปััญหา คุณภุาพดิินต่่ำแต่ภ่าคอีีสานมีีแร่ธ่าตุุสำคััญหลายชนิดิ ได้แ้ก่่ เกลืือหิินและแร่่โปแตซ มัักพบแร่่ ๒ ชนิดิด้วย้กััน แร่่เกลืือหิิน ส่่วนมากอยู่่ลึึกจากผิิวดิิน ๕๐-๘๐๐ เมตร ใช้้ประโยชน์์ใน อุตุสาหกรรมแก้้ว ฟอกหนััง ฟอกผ้้า กระดาษ ย้้อมสีี ยาฆ่่า แมลง ยากำจัดศัตรููพืื ัช ยารัักษาโรค เครื่่�องทำความเย็็น ปุ๋๋ย สบู่่ เป็็นต้้น ส่่วนแร่่โปแตซ มีีกระจายตััวทุุกจัังหวัดั ใช้้ทำปุ๋๋ย และสบู่่ แร่่เหล็็กมีีมากที่ ่� สุุดที่ ่� จัังหวััดเลย แร่่แบไรต์์ แหล่่ง ใหญ่่ที่ ่� สุุดอยู่่ที่่�อำเภอเชีียงคาน จัังหวััดเลย เป็็นวััตถุุดิิบ สำหรัับอุุตสาหกรรมแก้้ว เครื่่�องปั้้�นดิินเผา กระดาษ ยาง สีีฟองหนััง เคลืือบโลหะ น้้ำยาในการถ่่ายภาพเอกซเรย์์ 2 สภาพภููมิิศาสตร์์ข้้างต้้นเป็็นปััจจััยสำคััญที่ ่� ส่่งผลต่่อการตั้้�งถิ่่�นฐานของคนอีีสานมาตั้้�งแต่่ยุุคก่่อน ประวััติิศาสตร์์จนถึึงปััจจุุบััน รวมถึึงพััฒนาการทาง ประวััติิศาสตร์์ในด้้านต่่าง ๆ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 172 ภาพที่่� ๑ แผนที่่�แสดงภููมิิประเทศของภาคอีีสาน ที่่�มา: https://www.facebook.com/mitrearth เข้้าถึึงเมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ทรััพยากรธรรมชาติิ จากหลัักฐานทางประเภทต่่าง ๆ ทั้้�งหลัักฐานทาง โบราณคดีีรายงานตรวจราชการ บัันทึึกชาวต่่างชาติิ กล่่าว ถึึงความหลากหลายของทรััพยากรธรรมชาติิในภาคอีีสาน ดัังนี้้� 1 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์, ์สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์, ์๒๕๔๒ หน้้า ๑๕๖-๑๕๘. 2 พระวิิภาคภููวดล (เจมส์์ แมคคาร์์ธีี), บุุกเบิิกสยาม: การสำรวจของพระวิิภาคภููวดล (เจมส์์ แมคคาร์์ธีี) พ.ศ. ๒๔๒๔-๒๔๓๖, แปลโดย สุุทธิิศัักดิ์์� ปาลโพธิ์์�, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์์, ๒๕๖๑ หน้้า ๔๐-๔๒. 1) เกลืือ บริิเวณที่ร ่� าบสููงโคราชส่่วนใหญ่มีี่เกลืือหิินอยู่่ใต้้พื้้�น ดิิน หน้้าแล้้งจะเห็็นคราบเกลืือสีีขาวกระจายทั่่�วไปตามผิิว หน้้าดิิน หลัักฐานทางโบราณคดีีพบว่่าภาคอีีสานมีีการผลิติ เกลืือมาตั้้�งแต่่สมััยก่่อนประวััติิศาสตร์ต์ อนปลาย เกลืือเป็็น สิินค้้าสำคััญอย่่างยิ่่�ง โดยเฉพาะในการหมัักปลาร้้า ดองผััก หมัักเนื้้�อสัตว์ั ์และปลา ผู้ที่้�่�สามารถควบคุุมการผลิติเกลืือจะ กลายเป็็นบุุคคลสำคััญในสัังคม การขุดคุ้้นทางโบราณคดีีใน บริิเวณแหล่่งผลิติเกลืือหลายแห่่ง พบหลัักฐานคล้้ายคลึึงกััน และที่่�สำคััญ คืือ การต้้มเกลืือเริ่่�มมีีการทำมาตั้้�งแต่่สมััยเหล็็ก กรรมวิธีีิการผลิติในสมััยก่่อนประวััติิศาสตร์สืื์บทอดมาจนถึึง ปััจจุบัุัน ยกเว้้นใช้้วััสดุทีุ่ต่ ่� ่างกัันไม่่ใช่่ถาดสัังกะสีี1 การสำรวจของพระวิภิาคภูวูดล เจ้้ากรมแผนที่่�คน แรกของสยามที่ภ ่� าคอีีสานเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๒๖ กล่่าวถึึงบริิเวณ ตำบลท่่าหลวง อำเภอพิิมาย จัังหวัดันครราชสีีมา ว่่าเป็็น แหล่่งผลิิตเกลืือจำนวนมาก เส้้นทางจากเมืืองพิิมายไปยััง เมืืองพุุทไธสง พบการผลิิตเกลืือในปริิมาณที่่�มาก ช่่วงเช้้า ผลึึกเกลืือที่่�เกาะอยู่่บนผิิวดิินคล้้ายเกล็ดน้้ ็ ำค้้างแข็็ง กรรมวิธีีิ การผลิติเกลืือทำแบบง่่าย ๆ คืือ ชาวบ้้านจะขุดผิุิวดิินใส่่ใน รางไม้้เทน้้ำผสมให้้เข้้ากััน จากนั้้�นถ่่ายน้้ำใส่ภ่ าชนะ ทำซ้ำ้ แบบนี้้�เรื่่�อย ๆ จนกว่่าน้้ำจะหมดรสเค็็ม เคี่่�ยวน้้ำให้้ระเหย จนเหลืือแต่่เกลืือ เมื่่�อเดิินทางถึึงเมืืองหนองคาย กล่่าวถึึง ทรัพัยากรสำคััญของเมืืองหนองคาย คืือ ข้้าว เกลืือ ปลา2 ปััจจุุบัันร่่องรอยของกองดิินที่่�เหลืือจากการผลิิต เกลืือสิินเธาว์์พื้้�นบ้้านยัังเป็็นเนิินให้้เห็็นเป็็นจำนวนมาก ครอบคลุุมพื้้�นที่่�หลายร้้อยกิิโลเมตรในเขตอำเภอพิิมายและ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 173 อำเภอบััวใหญ่่ จัังหวัดันครราชสีีมา โพนเกลืือ บริิเวณทุ่่งผีี โพน อำเภอบััวใหญ่่ จัังหวัดันครราชสีีมาถููกทิ้้�งร้้างในฤดููฝน และกลัับมาทำเกลืือแบบพื้้�นบ้้านใหม่่ในทุุกฤดููร้้อน การทำ เกลืือพื้้�นบ้้านบริิเวณทุ่่งกุุลาร้้องไห้้ อำเภอสุุวรรณภููมิิ จัังหวัดั ร้้อยเอ็็ด ทำเฉพาะในฤดููร้้อน ในบางหมู่่บ้้านและริิมถนน ทางหลวงซึ่่�งเป็็นช่่วงที่ ่� ดอกเกลืือจะขึ้้�นมาอยู่่บนผิิวดิินตาม การระเหยของน้้ำ ดิินเค็็มจะถููกขุดุกองไว้้ก่่อนจะนำมากรอง เอาเฉพาะน้้ำเค็็ม แล้้วต้้มจนเหลืือแต่่เกลืือสิินเธาว์ซึ่่์ �งเหมาะ แก่่การนำไปใช้้ปรุุงอาหารและใช้้ในการหมัักปลาร้้าได้้ดีีที่สุ ่� ดุ1 เกลืือยัังเป็็นหนึ่่�งในสิินค้้าพื้้�นเมืืองที่ ่� พ่่อค้้าชาวจีีนในเมืือง หนองคายทำการค้้าร่่วมกัับสิินค้้าประเภทไหมดิิบ งาช้้าง นอ แรด เขาสัตว์ั ์ ผ้้าพิิมพ์์ลาย2 ๒) ไม้ปร้ะเภทต่่าง ๆ ประเภทของป่่าในภาคอีีสานสััมพัันธ์์กัับลัักษณะ ของภููมิิประเทศ ภููมิิอากาศ ดิินและหิิน แบ่่งเป็็นป่่าเต็็งรััง ป่่า เบญจพรรณ ป่่าดิิบ ป่่าสน ป่่าแคระ และป่่าบุ่่งป่่าทาม ไม้้ที่่� ขึ้้�นในป่่าประเภทต่่าง ๆ ใช้้ประโยชน์ทั้้ ์ �งเป็็นยารัักษาโรค สีี ย้้อมผ้้า ถ่่าน วัตถุัดิุิบเลี้้�ยงสัตว์ั ์ เช่่น ต้้นกระเบากลััก น้้ำมััน เมล็ด็กระเบากลัักใช้้รัักษาโรคเรื้้�อน ไผ่่เพ็็ชร์์เป็็นอาหารเลี้้�ยง สััตว์์ นำมาทำกระดาษ ไม้้ขอนอีีเม้้งใช้้สำหรัับเพาะครั่่�ง ไม้้เต็็งรััง ชัันของไม้้เต็็งรัังใช้้ยาเรืือ ต้้นตะแบง ต้้นกราด ต้้นยาง เจาะเอาน้้ำมััน ไม้้ซาดเป็็นไม้้เนื้้�อแข็็งใช้้ทำถ่่านเป็็นที่ต้้่� องการ ของช่่างทอง ต้้นรง เจาะเปลืือกเอายางมาย้้อมสีีเหลืือง 1 ธาดา สุุทธิิธรรม, มรดกสถาปััตยกรรมและผัังเมืืองอีีสาน, กรุุงเทพฯ: โรงพิิมพ์ชุ์ุมชนสหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย จำกััด, ๒๕๖๒ หน้้า ๗๗. 2 พระวิิภาคภููวดล (เจมส์์ แมคคาร์์ธีี), บุุกเบิิกสยาม: การสำรวจของพระวิิภาคภููวดล (เจมส์์ แมคคาร์์ธีี) พ.ศ. ๒๔๒๔-๒๔๓๖, แปลโดย สุุทธิิศัักดิ์์� ปาลโพธิ์์�, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์์, ๒๕๖๑ หน้้า ๔๒-๔๓.3 “รายงานตรวจพัันธุ์์รุุกขชาติิในมณฑลภาคอิิสาณ,” จดหมายเหตุุของสภาเผยแพร่่พาณิิชย์์ เล่่ม ๑๕ (มกราคม ๒๔๖๗) หน้้า ๒๐๖-๒๑๖. 4 สมิิธ, เฮอร์์เบิิร์์ท วาริิงตััง, บัันทึึกการเดิินทางสู่่แม่่น้้ำโขงตอนบน ประเทศสยาม, แปลและเรีียบเรีียงโดย พรพรรณ ทองตััน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒, กรุุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวััติิศาสตร์์ กรมศิิลปากร, ๒๕๔๙ หน้้า ๑๔๑-๑๔๒. ต้้นกรัักเป็็นไม้้เถาขนาดใหญ่่ แก่่นของต้้นกรัักใช้้ทำสีีย้้อมผ้้าสีี เหลืือง ต้้นปะหููด ลอกเปลืือกออกมาต้้มจะได้้สีีเขีียว ไม้้พยุุง ใช้้ทำเครื่่�องเรืือน3 เป็็นต้้น ๓) ของป่่า ของป่่าเป็็นทรััพยากรธรรมชาติิที่่�สำคััญของภาค อีีสาน มีีทั้้�งประเภทพืืชและสัตว์ั ์ เมื่่�อมีีการตั้้�งเมืืองแต่่ละเมืือง ต้้องระบุวุ่่าจะส่่งส่่วยประเภทใดให้้ส่่วนกลาง ส่่วยจากเมืือง ในอีีสานส่่วนใหญ่่เป็็นของป่่าให้้ผลผลิตติามฤดููกาล เช่่น เร่่ว หรืือหมากเหน่่งหรืือกระวาน แก่่นคููณ สีีเสีียด หวาย ครั่่�ง นอแรด งาช้้าง ๔) ผลผลิิตทางการเกษตร อาทิิ ข้้าว พริิก ฝ้้าย ยาสููบ ๕) ปศุสัุตว์ั ์และสัตว์ั ์พาหนะ สััตว์์ที่่�เลี้้�ยงในภาคอีีสาน ส่่วนใหญ่่คืือ สุุกร โค กระบืือ ม้้าแกลบ สุุกรส่่งไปขายที่่�นครราชสีีมา กระบืือเป็็น แรงงานในการทำนาหรืือในโรงทำน้้ำตาล กระบืือขนาดใหญ่่ นำมาจากท้้องถิ่่�นใกล้้เคีียงเมืืองหนองคาย โดยมากซื้้�อจาก ฝั่่�งซ้ายของแ้ม่น้้ ่ ำโขง นำไปใช้้ลากเกวีียนทางตอนใต้้ราคา ตััวละ ๑๒-๑๕ บาท แต่ที่่ ่�โคราชราคาจะเพิ่่�มขึ้้�นเป็็นสองเท่่า ม้้าแกลบใช้้บรรทุุกสััมภาระขณะเดิินทางในป่่า ม้้าแกลบ ลัักษณะดีีมีีราคาประมาณตััวละ ๕๐-๑๐๐ บาท ม้้าแกลบหา ซื้้�อได้ใน้ราคา ๓๕-๔๐ บาท4


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 174 ภาพที่่� ๒ แผนที่่�แสดงแหล่่งผลิิตเกลืือในอีีสาน ที่่�มา: https://www.facebook.com/mitrearth เข้้าถึึงเมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ภาพที่่� ๓ โรงต้้มเกลืือสิินเธาว์์ ระหว่่างเส้้นทางตรวจราชการจัังหวััด หนองคายกัับจัังหวััดนครราชสีีมา พ.ศ. ๒๔๗๔ ที่่�มา: เอนก นาวิิกมููล และธงชััย ลิิขิิตพรสวรรค์์, บรรณาธิิการ, เอกสารตรวจราชการมณฑลเทศาภิิบาล (กรุุงเทพฯ: กระทรวง มหาดไทย, ๒๕๖๕), หน้้า ๑๑๔. 1 สีีลา วีีระวงศ์, ์ ประวััติิศาสตร์์ลาว, เชีียงใหม่: ่สถาบัันวิิจััยสัังคม มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่, ๒๕๓๕ หน้้า ๙๐ อ้้างถึึงใน ดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์, ์ ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๔๘ หน้้า ๘๖. กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในภาคอีีสาน กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในภาคอีีสานแบ่่งตามลัักษณะตระกููล ภาษาเป็็น ๒ กลุ่่ม กลุ่่มแรก กลุ่่มตระกููลภาษาไท เช่่น ไทยอีีสาน ไทโคราช ผู้้�ไท ญ้้อ โย้้ย แสก ไทดำ เป็็นต้้น และกลุ่่ม ตระกููลภาษาออสโตรเอเชีียติิก ตระกููลภาษาย่่อยมอญ-เขมร เช่่น ขแมร์ลืื์อ กููย กะเลิิง โส้้ บรูู เยอ ญัฮกุัรุ เป็็นต้้น นอกจาก นั้้�น ยัังมีีกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่มีี่� บทบาทสำคััญด้านเศ้รษฐกิิจของ ภาคอีีสาน ได้แ้ก่่ ชาวตองซู่่ ชาวเวีียดนาม และชาวจีีน กลุ่่ม ชาติิพัันธุ์์ต่่าง ๆ อพยพเคลื่่�อนย้้ายเข้้าสู่่ภาคอีีสานในช่่วง เวลาที่ต่ ่� ่างกััน มีีการผสมผสานทางวััฒนธรรมระหว่่างกลุ่่ม ชาติิพัันธุ์์ต่่าง ๆ ขณะเดีียวกัันยัังคงสืืบทอดวััฒนธรรมอัันเป็็น อัตลัักษณ์์ของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ตนไว้้ดัังรายละเอีียด ไทยอีีสาน เป็็นกลุ่่มใหญ่ที่่สุ ่� ดุในภาคอีีสาน ประชากร ในภาคอีีสานไม่น้้่อยกว่่าร้้อยละ ๙๕ พููดภาษาไทยอีีสาน หรืือ เรีียกว่่าภาษาลาว สืืบทอดและเกี่่�ยวเนื่่�องกัับชาวลาวที่่�อพยพ เข้้าอยู่่ฝั่่�งขวาของแม่น้้ ่ ำโขงตั้้�งแต่พุุ่ทธศตวรรษที่่� ๒๑ เป็็นต้้น มา และเข้้ามาอยู่่แถบตอนกลางของอีีสาน พ.ศ. ๒๒๖๑ ต่่อมาสมััยสมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี กษััตริิย์์เวีียงจัันทน์์คืือ เจ้้าศิริบุิุญสารมีีความขัดัแย้้งกัับเสนาบดีีผู้้�ใหญ่่ คืือ พระวอ พระตา ส่่งผลให้้พระวอพระตาพาไพร่่พลและญาติิพี่ ่�น้้อง มาตั้้�งเมืืองที่่�หนองบััวลำภูู ประกาศตนเป็็นอิิสระไม่่ขึ้้�นกัับ เวีียงจัันทน์์ 1 ความขัดัแย้้งดัังกล่่าวส่่งผลให้้ลาว ๓ อาณาจัักร ตกเป็็นประเทศราชของสยามในเวลาต่่อมา การอพยพครั้้�ง สำคััญอีีกครั้้�ง คืือ ภายหลัังเหตุุการณ์์สงครามเจ้้าอนุุวงศ์์ ใน พ.ศ. ๒๓๖๙ ตรงกัับสมััยรััชกาลที่่� ๓ เมื่่�อสยาม ชนะสงครามจึึงกวาดต้้อนชาวลาวมาอยู่่ฝั่่�งขวาแม่น้้ ่ ำโขงเป็็น จำนวนมาก กลุ่่มชาวลาวที่่�อพยพมาครั้้�งนี้้มีีส่�่วนสำคััญต่่อ การตั้้�งเมืืองต่่าง ๆ ทั้้�งในแอ่่งสกลนครและแอ่่งโคราช และส่่ง ต่่อวััฒนธรรมของล้้านช้้างเข้้ามายัังอีีสานด้วยเ้ช่่นกััน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 175 ไทโคราช ได้้รัับวััฒนธรรมไทยจากราชสำนััก สยามตั้้�งแต่่สมััยสมเด็็จพระบรมราชาธิิราชที่่� ๒ (เจ้้าสามพระ ยา) แห่่งอยุุธยาที่่�ทรงขยายอำนาจเข้้าปกครองเมืืองพิิมาย และเมืืองพนมรุ้้�ง นำรููปแบบการปกครอง การเมืือง ของ ราชสำนัักสยามมาใช้้ในเขตเมืืองนี้้� เกิิดการผสมผสาน วััฒนธรรมโดยเฉพาะภาษาพููดที่่�เพี้้�ยนจากภาษาของกลุ่่ม คนไทยภาคกลาง มีีลัักษณะเฉพาะ จึึงเรีียก ไทโคราช1 ผู้้ไท อพยพเขามาอยู่่ฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงราว ๑๓๐ ปีีมาแล้้ว ถิ่่�นเดิิมอยู่่แถบนาน้้อยอ้้อยหนููเขตสิิบสอง จุุไท ภาษาผู้้�ไทมีีเฉพาะภาษาพููด มีีลัักษณะเหมืือนภาษาลื้้�อ และลาวทางตะวัันออก ปััจจุุบัันตั้้�งถิ่่�นฐานในเขตจัังหวััด มุุกดาหาร สกลนคร นครพนม อำเภอเขาวง อำเภอ กุุฉิินารายณ์์ จัังหวััดกาฬสิินธุ์์ อำเภอชานุุมาน จัังหวััด อำนาจเจริิญ อำเภอเขมราฐ จัังหวััดอุุบลราชธานีี2 ญ้้อ การเคลื่่�อนย้้ายของชาวญ้้อเข้้ามาภาคอีีสาน ปรากฏในเอกสารจดหมายเหตุุรััชกาลที่่� ๓ ญ้้อจากเมืือง คำม่่วนสู่่อีีสานเมื่่�อครั้้�งแม่่ทััพฝ่่ายไทย คืือ พระสุุนทรราช วงศา พระยาประเทศธานีีนำตััวท้้าวคำก้้อน เจ้้าเมืืองคำเกิดิ เพี้้�ยไชยสงคราม เพี้้�ยวงศ์์ปััญญา และเพี้้�ยเมืืองขวา เมืือง 1 สุทิุิน สนองผััน, ผลกระทบของการเปลี่่�ยนแปลงอำนาจทางการเมืืองในอีีสานตั้้งแต่สมั่ ัยสุุโขทััยจนถึึงสมััยรััตนโกสิินทร์์ตอนต้้น (พ.ศ.๑๗๙๒- ๒๓๙๔), ปริิญญานิิพนธ์์การศึึกษามหาบััณฑิิต มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประสานมิิตร, ๒๕๓๓ หน้้า ๙๕.2 อุุราลัักษณ์์ สิิถิิรบุุตร, มณฑลอีีสานและความสำคััญในทางประวััติิศาสตร์์, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๖ หน้้า ๙-๑๐. 3 สุุรััตน์์ วรางครััตน์์, “คนอีีสานมาจากไหน: ศึึกษากรณีีชนกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ทางภาษา”, เอกสารประกอบการสััมมนาทางวิิชาการอีีสานศึึกษา (ประวัติัิศาสตร์์ การเมืือง เศรษฐกิจิสัังคมและวััฒนธรรม) ณ ห้้องประชุุม อาคาร ๘ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, วัันที่่� ๑๑-๑๒ ธัันวาคม ๒๕๒๙, หน้้า ๕ . 4 สุุรจิิตต์์ จัันทรสาขา, รวมเผ่่าไทยมุุกดาหาร, (ม.ป.ป.), หน้้า ๑๘. 5 สุุรััตน์์ วรางครััตน์์, “คนอีีสานมาจากไหน: ศึึกษากรณีีชนกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ทางภาษา”, เอกสารประกอบการสััมมนาทางวิิชาการอีีสานศึึกษา (ประวัติัิศาสตร์์ การเมืือง เศรษฐกิจิสัังคมและวััฒนธรรม) ณ ห้้องประชุุม อาคาร ๘ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, วัันที่่� ๑๑-๑๒ ธัันวาคม ๒๕๒๙, หน้้า ๖. 6 สุุรจิิตต์์ จัันทรสาขา, รวมเผ่่าไทยมุุกดาหาร, (ม.ป.ป.), หน้้า ๑๖-๑๗. คำม่่วนพร้้อมกัับท้้าวเพี้้�ยเมืืองต่่าง ๆ ลงไปเฝ้้าพระบาท สมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวที่่�กรุุงเทพฯ ต่่อมาโปรดเกล้้าฯ ให้้ครััวเพี้้�ยเมืืองขวาเมืืองคำเกิิด ๑,๐๐๐ เศษตั้้�งอยู่่บ้้าน แซงกระดาน ต่่อมาเมื่่�อมีีการออกไปเกลี้้�ยกล่่อมครััวเมืือง คำเกิดิ คำม่่วนได้้ผู้้�คนเพิ่่�มขึ้้�น กระจายคนให้้ไปอยู่่เมืืองไชยบุรีีุ เมืืองท่่าอุุเทน โดยให้้ถืือครััวอยู่่ตามสมััครใจ3 ปััจจุุบัันชาว ญ้้ออาศััยอยู่่แถบจัังหวััดสกลนคร กาฬสิินธุ์์ (ตำบลท่่าขอน ยาง) จัังหวััดนครพนม (อำเภอท่่าอุุเทน) จัังหวััดมุุกดาหาร (อำเภอ ดงเย็็น)4 โย้้ย เป็็นคำเดีียวกัับที่่�เรีียกว่่า ไย (Yuai) ที่จีี่� นเรีียก ว่่า อี้้� อพยพเข้้ามาตั้้�งเมืืองในอีีสานก่่อนหน้้าศึึกเจืือง และ มีีการอพยพครั้้�งใหญ่่เมื่่�อเกิดศึึ ิกเจืืองระหว่่างแคว้้นซำเหนืือ กัับไทหว่่า (ระหว่่างพ.ศ. ๒๔๓๓-๒๔๖๒) ปััจจุุบัันกลุ่่มโย้้ย ตั้้�งภููมิิลำเนาในจัังหวััดสกลนคร 5 แสก ภููมิิลำเนาเดิิมอยู่่ที่่�เมืืองแสก ปััจจุุบัันเป็็น เมืืองร้้าง บริิเวณบ้้านหนาด บ้้านตอง เขตเมืืองคำเกิดิ แขวง คำม่่วน สปป.ลาว อพยพเข้้ามาในภาคอีีสานสมััยรััชกาล ที่่� ๓ ตั้้�งบ้้านเรืือนในตำบลอาจสามารถ จัังหวััดนครพนม และกระจายตััวในเขตจัังหวััดนครพนม จัังหวััดมุุกดาหาร 6


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 176 ไทดำ เป็็นเชื้้�อสายไทสาขาหนึ่่�ง มีีชื่่�อเรีียกต่่างกััน หลายชื่่�อ เช่่น ลาวโซ่่ง ไทยโซ่่ง ลาวทรง(ซง)ดำ ลาวซ่่วงดำ ผู้้�ไทยดำ ผู้้�ไตซงดำ ไทยทรงดำ แม้้ชื่่�อเรีียกจะมีีหลายชื่่�อ แต่่หมายถึึงผู้้�ที่ ่�นุ่่งหุ่่มด้้วยเสื้้�อผ้้าสีีดำ ถิ่่�นฐานเดิิมอยู่่แคว้้น สิิบสองจุุไทและเมืืองแถง (ปััจจุุบััน คืือ เมืืองเดีียนเบีียนฟูู) อพยพเข้้าสู่่ประเทศไทยตั้้�งแต่่สมััยธนบุรีีุ จนถึึงสมััยรััชกาล ที่่� ๕ เมื่่�อครั้้�งปราบฮ่่อได้้จึึงกวาดต้้อนไทดำเข้้ามาไทยหลาย ครั้้�ง ในภาคอีีสาน ชาวไทดำจะอยู่่บ้้านนาป่่าหนาด ตำบล เขาแก้้ว อำเภอเชีียงคาน จัังหวััดเลย1 ขแมร์์ลืือหรืือเขมรสููงหรืือเขมรถิ่่�นไทย ขแมร์์ ลืือหรืือคแมร์์ลืือ มีีความหมายว่่า เขมรสููง แต่่ในประเทศ กััมพููชานั้้�นเรีียกแทนกัันว่่า คแมร์์-กรอม แปลว่่าเขมรต่่ำ2 เป็็นกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่่� พููดภาษาในตระกููลมอญ-เขมร อพยพ เข้้ามายัังพื้้�นที่่�ของอีีสานจากผลกระทบของการขยาย อิิทธิิพลทางการเมืืองของเขมรเข้้ามายัังกลุ่่มเมืืองในเขต ลุ่่มน้้ำมููล ในสมััยของพระเจ้้าสุุริิยวรมัันที่่� ๑ และพระเจ้้า สุุริิยวรมัันที่่� ๒ และพระเจ้้าชััยวรมัันที่่� ๗ ส่่งผลต่่อการเข้้า ควบคุุมการเมืืองในอีีสานระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๑๒-๑๘3 ระหว่่างพุุทธศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗ มีีการสร้้างปราสาทในเมืือง ในลุ่่มน้้ำมููลจำนวนมาก ชาวเขมรที่ ่� ถููกเกณฑ์์แรงงานจะตั้้�ง 1 ดูรูายละเอีียดเพิ่่�มเติิมใน ดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์์ และสมศัักดิ์์� ศรีีสัันติสุิุข, รายงานการวิจัิัยเรื่่�องการเปลี่่�ยนแปลงทางด้้านเศรษฐกิจิ การเมืือง สัังคม และวััฒนธรรมในหมู่่บ้้านอีีสาน: ศึึกษากรณีีหมู่่บ้้านนาป่่าหนาด, ขอนแก่่น: สถาบัันวิิจััยและพััฒนา มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น), ๒๕๒๙. 2 ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิริินธร (องค์์การมหาชน), กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: ขแมร์ลื์ ือ, https://ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๖๓/ 3 ธวััช ปุุณโณทก, “อัักษรในประเทศไทยกัับการตีีความเรื่่�องชนชาติิ,” ศิิลปวััฒนธรรม ๓,๑๒ (ตุุลาคม ๒๕๒๕): หน้้า ๑๗-๑๘. 4 ไพฑูรย์ู์ มีีกุศลุ , “คนไทยมาจากไหน: กรณีีอีีสานใต้้ (พิจิารณาทางสัังคมและวััฒนธรรม)”, เอกสารประกอบการสััมมนาทางวิิชาการอีีสานศึึกษา (ประวัติัิศาสตร์์ การเมืือง เศรษฐกิจิสัังคมและวััฒนธรรม) ณ ห้้องประชุุม อาคาร ๘ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, วัันที่่� ๑๑-๑๒ ธัันวาคม ๒๕๒๙, หน้้า ๕ . 5 ไพฑููรย์์ มีีกุุศล, ประวััติิศาสตร์์ไทยสมััยต้้น (มหาสารคาม: มหาวิิทยาลััยศรีีนครนิิทรวิิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๑, หน้้า ๘-๑๘ . 6 กนิิษฐา รััตนโกเศศ, “กะเลิิงบ้้านกุุรุุคุุ นครพนม,” วารสารมหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ มหาสารคาม, ๘,๒ (กรกฎาคม-ธัันวาคม, ๒๕๓๒): หน้้า ๑๐๔. 7 สุุรจิิตต์์ จัันทรสาขา, รวมเผ่่าไทยมุุกดาหาร, (ม.ป.ป.), หน้้า ๑๖-๑๗; สุุรััตน์์ วรางครััตน์์, “คนอีีสานมาจากไหน: ศึึกษากรณีีชนกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ ทางภาษา”, เอกสารประกอบการสััมมนาทางวิิชาการอีีสานศึึกษา (ประวััติิศาสตร์์ การเมืือง เศรษฐกิิจ สัังคมและวััฒนธรรม) ณ ห้้องประชุุม อาคาร ๘ วิิทยาลััยครููมหาสารคาม, วัันที่่� ๑๑-๑๒ ธัันวาคม ๒๕๒๙, หน้้า ๘. หลัักแหล่่งอยู่่รอบ ๆ ปราสาทและเมืืองที่่�สร้้างขึ้้�น4 กููยหรืือกวย เป็็นกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ที่่� พููดภาษาใน ตระกููลมอญ-เขมร แปลว่่าคน เมื่่�อสยามขยายอำนาจการ ปกครองมายัังหััวเมืืองอีีสานตั้้�งแต่่ช่่วงธนบุุรีีเป็็นต้้นมา ดิินแดนในเขตจัังหวััดสุุริินทร์์ ศรีีสะเกษ ถููกเรีียกว่่า “เขมร ป่่าดง” ชายฉกรรจ์์แถบนี้้�ต้้องเก็็บของป่่าเป็็นส่่วยให้้ราช สำนัักกรุุงเทพฯ กลุ่่มคนในแถบนี้้จึึ�งถููกเรีียกว่่า “ส่่วย” ถิ่่�นที่ ่� อยู่่ของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์กููยส่่วนใหญ่่อยู่่ในเขตจัังหวัดัศรีีสะเกษ สุุริินทร์์ อุุบลราชธานีี บางส่่วนของบุุรีีรััมย์์ นครราชสีีมา และมหาสารคาม5 กะเลิิง มาจากคำว่่า “ข่่าเลิิง” เป็็นข่่าอีีกกลุ่่มหนึ่่�ง ในตระกููลภาษามอญ-เขมร ถิ่่�นกำเนิดิเดิิมอยู่่ที่่�แขวงคำม่่วน และสุุวรรณเขตของลาว กะเลิิงในจัังหวััดมุุกดาหารอพยพ มาจากเมืืองกะตากในแขวงคำม่่วน ในสมััยรััชกาลที่่� ๓ เมื่่�อ ครั้้�งสงครามเจ้้าอนุุวงศ์์และอพยพครั้้�งใหญ่่ในสมััยรััชกาล ที่่� ๕ เมื่่�อเกิิดศึึกฮ่่อใน พ.ศ. ๒๔๑๖6 ปััจจุุบัันชาวกะเลิิง อพยพอยู่่ในตำบลนาสะเม็็ง (อำเภอดอนตาล จัังหวััด มุุกดาหาร) ตำบลบ้้านซ่่ง ตำบลเหล่่าสร้้างถ่่อ บ้้านโนนสัังข์์ บ้้านนาหลวง บ้้านภููฮีี (อำเภอคำชะอีีจัังหวััดมุุกดาหาร) และอำเภอกุุดบาก จัังหวััดสกลนคร 7


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 177 โส้้หรืือกะโซ่่ มาจากข่่าโซ่่อยู่่กลุ่่มเดีียวกัับพวก บรููหรืือข่่า เป็็นข่่าอีีกกลุ่่มหนึ่่�งในตระกููลภาษามอญ-เขมร ถิ่่�นฐานเดิิมอยู่่เมืืองมหาชััย ในแขวงคำม่่วน และแขวง สุุวรรณเขตของลาวปััจจุุบััน ชาวกะโซ่่อพยพเข้้ามาอยู่่ใน ภาคอีีสานตั้้�งแต่่สมััยรััชกาลที่่� ๒ และรััชกาลที่่� ๓ (ส่่วน ชาวกะโซ่่ที่่�อพยพจากแขวงอััตปืือ มาอยู่่จัังหวััดสุุริินทร์์ ศรีีสะเกษ เรีียกว่่า กวย) ปััจจุุบัันกะโซ่่มีีภููมิิลำเนาในตำบล รามราช ตำบลโพนสวรรค์์ ตำบลบ้้านค้้อ ตำบลขมิ้้�น อำเภอท่่าอุุเทน จัังหวััดนครพนม (อพยพมาจากเมืืองเซีียง ฮ่่ม แขวงสุุวรรณเขต) และเมืืองกุุสุุมาลย์์ จัังหวััดสกลนคร (อพยพมาจากแขวงเมืืองมหาชััย แขวงคำม่่วน) อำเภอ ปลาปาก จัังหวััดนครพนม เขตอำเภอดงหลวง จัังหวััด มุุกดาหาร 1 บรููเป็็นชื่่�อเรีียกที่่�กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ใช้้เรีียกตนเอง คำว่่า บรูู หมายถึึงคนหรืือมนุุษย์์ หรืืออีีกความหมายหนึ่่�ง หมายถึึง คนแห่่งภููเขา ชื่่�อเรีียก “บรูู” เป็็นที่่�รู้้�จัักกัันมาไม่่ นานนััก เนื่่�องจากคนส่่วนใหญ่่รู้้�จัักพวกเขาในชื่่�ออื่่�น ได้้แก่่ “ข่่า” “ส่่วย” “ข่่าโส้้” “โซ่่” ชาวบรููอพยพมาตั้้�งถิ่่�นฐานอยู่่ ในแขวงสะหวัันนะเขต แขวงสาละวััน และแขวงอััตตะปืือ และจำปาสััก สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว ใน ช่่วงก่่อน พ.ศ. ๒๔๓๖ บริิเวณนี้้�อยู่่ภายใต้้อาณาเขตของ 1 สุุรจิิตต์์ จัันทรสาขา, รวมเผ่่าไทยมุุกดาหาร, ม.ป.ป., หน้้า ๑๑-๑. 2 ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิิริินธร (องค์์การมหาชน), กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: บรูู, https://ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๘๕/.3 ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิิริินธร (องค์์การมหาชน), กลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: เยอ, https://ethnicity.sac.or.th/database-ethnic/๑๗๒/. 4 ปรีีชา อุุยตระกูลู และกนก โตสุรัุัตน์, ์การศึึกษากลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในประเทศไทย: ชาวบน, กรุุงเทพฯ: สมาคมสัังคมศาสตร์์แห่่งประเทศไทย,ม.ป.ป., หน้้า ๑-๒. สยามในสมััยรััชกาลที่่� ๓ แห่่งกรุุงรัตันโกสิินทร์์ ต่่อมาอพยพ เคลื่่�อนย้้ายเข้้าสู่่สยามช่่วงที่่�ฝรั่่�งเศสเข้้ามาปกครองประเทศ ลาว ปััจจุุบัันชาวบรููอาศััยอยู่่ในพื้้�นที่ ่� จัังหวััดหนองคาย มุุกดาหาร สกลนคร และอุุบลราชธานีี2 เยอ ถืือเป็็นชนกลุ่่มน้้อยสาขาหนึ่่�งในกลุ่่ม ชาติิพัันธุ์์กวย กุุย หรืือส่่วย นิิยมเรีียกชื่่�อตนเองว่่า “กููย เยอ (Kui Nyeu)” คนอื่่�นเรีียกชาติิพัันธุ์์กลุ่่มนี้้�ว่่า “เยอ” หรืือ “กููยเยอ” เช่่นกััน ชาวเยอได้้ตั้้�งถิ่่�นฐานปะปนอยู่่กัับกลุ่่ม ชาติิพัันธุ์์เขมรและลาว ปััจจุุบัันกลุ่่มชาติิพัันธุ์์เยอเกืือบ ทั้้�งหมดตั้้�งถิ่่�นฐานอยู่่ในพื้้�นที่ ่� จัังหวััดศรีีสะเกษ มีีเพีียงส่่วน น้้อยเท่่านั้้�นที่่�อาศััยอยู่่ในจัังหวััดมหาสารคาม3 ญััฮกุุรหรืือเนีียะกุุล หรืือชาวบน ชาวดง ภาษา พููดอยู่่ในตระกููลภาษามอญ-เขมร ตระกููลออสโตรเอเชีียติิก เป็็นชนกลุ่่มน้้อยที่่�อาศััยตามไหล่่เขาหรืือเนิินเขาเตี้้�ย ๆ ใน เขตจัังหวััดนครราชสีีมา ชััยภููมิิ 4 ตองซู่่หรืือต้้องสู้้ ชาวอีีสานเรีียก กุุลา เป็็นชน กลุ่่มน้้อยในพม่่า ประกอบอาชีีพค้้าขายกัับคนลาว อาศััยอยู่่ บริิเวณชายแดนไทยกัับพม่่า ชนกลุ่่มนี้้�เข้้ามาทำหน้้าที่ ่�ซื้้�อ ขายสิินค้้าในภาคอีีสาน เป็็นพ่่อค้้าเร่่ ขายสิินค้้าเร่่ไปยัังดิิน แดนต่่าง ๆ ในภาคอีีสานและบางครั้้�งก็็ทำการค้้าโคกระบืือ


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 178 ด้้วย1 ปััจจุุบัันมีีภููมิิลำเนาในอำเภอกุุฉิินารายณ์์ จัังหวััด กาฬสิินธุ์์ อำเภอคำชะอีีจัังหวััดมุุกดาหาร และอำเภอ เขื่่�องใน จัังหวััดอุุบลราชธานีี ชาวเวีียดนาม อพยพเข้้ามาอยู่่ในภาคอีีสาน ตั้้�งแต่่คราวแพ้้สงครามกบฏไตเซิิน พ.ศ. ๒๓๒๖ ผ่่านเข้้า มาทางลาวประมาณ ๕,๐๐๐ คน อพยพอยู่่แถบนครพนม สกลนคร มีีหััวหน้้าปกครองกัันเองและได้้ขอส่่งส่่วย ชาว เวีียดนามมีีฝีมืืีอด้าน้ช่่างไม้้ทำอิิฐ พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็็นต้้นมามีี ชาวเวีียดนามอพยพเข้้าสู่่ภาคอีีสานเป็็นจำนวนมาก รััฐบาล กำหนดเขตควบคุุมในภาคอีีสาน ๖ จัังหวััด คืือ นครพนม สกลนคร หนองคาย อุุดรธานีีอุุบลราชธานีี และยโสธร2 ชาวจีีน พบหลัักฐานว่่าในสมััยรััชกาลที่่� ๓ ชาว จีีนเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานในภาคอีีสานแล้้ว ช่่วงครึ่่�งหลัังพุุทธ ศตวรรษที่่� ๑๙ ชาวจีีนอพยพเข้้าสู่่ภาคอีีสานอย่่างมาก อาชีีพหลััก คืือค้้าขาย การตั้้�งถิ่่�นฐานกระจายตััวตาม ศููนย์์กลางเศรษฐกิิจของเมืืองนั้้�นพร้้อมขยายเครืือข่่ายการ ค้้าไปยัังชนบทของอีีสาน3 1 ประนุุช ทรััพยสาร, วิิวััฒนาการเศรษฐกิิจหมู่่บ้้านไทยในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือของประเทศไทย พ.ศ.๒๓๙๔-๒๔๗๕,วิิทยานิิพนธ์์อัักษร ศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๕ หน้้า ๓๘; เฉลิิมชััย ผิิวเรืืองนนท์์, ทััศนคติิคนไทยภาคตะวัันออก เฉีียงเหนืือต่่อเวีียดนาม: ศึึกษาเปรีียบเทีียบระหว่่างจัังหวััดที่ ่�มีีและไม่่มีีชาวเวีียดนามอพยพอาศััยอยู่่, วิิทยานิิพนธ์์รััฐศาสตรมหาบััณฑิิต สาขา วิิชาความสััมพัันธ์์ระหว่่างประเทศ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๒ หน้้า ๑๐๒-๑๐๓. 2 เฉลิิมชััย ผิิวเรืืองนนท์, ์ทััศนคติิคนไทยภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือต่่อเวีียดนาม: ศึึกษาเปรีียบเทีียบระหว่่างจัังหวััดที่ ่�มีีและไม่่มีีชาวเวีียดนาม อพยพอาศััยอยู่่ (วิิทยานิิพนธ์์รััฐศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาความสััมพัันธ์์ระหว่่างประเทศ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๒ หน้้า ๑๐๒-๑๐๓. 3 ดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์์ และสมศัักดิ์์� ศรีีสัันติสุิุข, รายงานการวิจัิัยเรื่่�องชาวจีีนในอำเภอสองแห่่งของจัังหวััดยโสธร: การศึึกษาเปรีียบเทีียบ เฉพาะกรณีี. ขอนแก่่น: มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๓๒ หน้้า ๑๖. 4 ที่่�มาของข้้อมููลกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในภาคอีีสาน อ้้างถึึงใน ดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์์, ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น, ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และ สัังคมศาสตร์์มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๔๘. 5 เบญจวรรณ นาราสััจจ์, ์ ประวััติิศาสตร์์ภููมิิปััญญาอีีสาน, ขอนแก่่น: ศููนย์์วิิจััยพหุุลัักษณ์์สัังคมลุ่่มน้้ำโขง คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๕๒, หน้้า ๓๐. จากภููมิิหลัังของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ข้้างต้้น4 เห็็น ถึึงการอพยพของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์จากฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงเข้้า มาในภาคอีีสานนัับตั้้�งแต่่สงครามเจ้้าอนุุวงศ์์เป็็นต้้นมา และกระจายตััวในพื้้�นที่่�ของภาคอีีสานจนถึึงปััจจุุบััน คง วััฒนธรรมเฉพาะกลุ่่มของตนเองไว้้ เช่่น ผู้้�ไทมีีเหล้้าอุุเป็็น เครื่่�องดื่่�มสำคััญใช้้ประกอบพิธีีิกรรมต่่าง ๆ ชาวญ้้อนิิยมสััก ขาลาย ชาวโส้้หรืือกะโซ่่มีีพิิธีีซางกะมููดเพื่่�อส่่งวิิญญาณคน ตาย และโซ่่ทั่่�งบั้้�งเป็็นพิิธีีไหว้้บรรพบุุรุุษ แสกมีีการเต้้นแสก ในวัันตรุุษ กููยมีีความสามารถในการเลี้้�ยงช้้าง ทำเครื่่�องเงิิน มีีพิิธีีเซ่่นผีีปะกำ ส่่วนชาวไทยอีีสานซึ่่�งเป็็นกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ กลุ่่มใหญ่่ยัังคงวััฒนธรรมที่ ่�สืืบทอดจากล้้านช้้าง มีีการ นัับถืือผีีพุุทธศาสนา ความหลากหลายของกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ ส่่งผลต่่อวิิถีีการดำรงชีีวิิต ความเชื่่�อ ประเพณีีพิิธีีกรรมที่ ่� แตกต่่างกััน เกิิดการแลกเปลี่่�ยนวััฒนธรรมอย่่างต่่อเนื่่�อง5


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 179 ภาพที่่� ๔ แผนที่่�แสดงกลุ่่มชาติิพัันธุ์์ในอีีสาน แบ่่งตามตระกููลภาษา ได้้ ๒ ตระกููล คืือ กลุ่่มตระกููลภาษาออสโตรเอเชีียติิก (สาขามอญเขมร) และกลุ่่มตระกููลภาษาไต-กะได ที่่�มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ethnic_groups_in_Thailand เข้้าถึึงเมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ! พััฒนาการทางประวััติิศาสตร์ ์ ของภาคอีีสาน จากหลัักฐานทางประวััติิศาสตร์์และหลัักฐาน ทางโบราณคดีี แสดงถึึงร่่อยรอยการตั้้�งถิ่่�นฐานของคนใน ภาคอีีสานมาตั้้�งแต่่ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ เมื่่�อคนพื้้�นถิ่่�น นำวััฒนธรรมจากภายนอกมาปรัับใช้้กัับความเชื่่�อเดิิมของ ท้้องถิ่่�นประกอบกัับการมีีผลผลิิตส่่วนเกิินที่่�สำคััญ เช่่น เกลืือและเหล็็ก ซึ่่�งเป็็นทรัพัยากรธรรมชาติิที่่�เป็็นที่ต้้่� องการ ของพื้้�นที่ ่� อื่่�น ล้้วนเป็็นปััจจััยนำไปสู่่การเปลี่่�ยนแปลงของ ชุุมชนอีีสานจากระดัับหมู่่บ้้านพััฒนาสู่่ความเป็็นเมืือง เป็็น รััฐ พััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์ของภาคอีีสาน เริ่่�มตั้้�งแต่่ ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ อีีสานสมััยทวารวดีีอีีสานสมััยร่่วม วััฒนธรรมเขมรโบราณ อีีสานสมััยล้้านช้้างและอยุุธยา อีีสานสมััยธนบุรีีุและรัตันโกสิินทร์์ และอีีสานสมััยการปฏิรููิป การปกครองแบบมณฑลเทศาภิิบาล ตามลำดัับ การปฏิิรููป การปกครองแบบมณฑลเทศาภิิบาลในสมััยรััชกาลที่่� ๕-๗ ส่่งผลต่่อการเปลี่่�ยนแปลงด้าน้ต่่าง ๆ ในภาคอีีสานเช่่นเดีียว กัับภููมิิภาคอื่่�นของประเทศไทย ! อีีสานยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ จากการขุุดค้้นทางโบราณคดีีพบร่่องรอยการตั้้�ง ถิ่่�นฐานของชุุมชนโบราณในภาคอีีสานกระจายตััวทั้้�งในแอ่่ง สกลนครและแอ่่งโคราช เริ่่�มตั้้�งแต่่สมััยหิินใหม่่ตอนปลาย ราว ๖,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว สมััยสำริิด ราว ๔,๐๐๐ – ๒,๕๐๐ ปีีมาแล้้ว และสมััยเหล็็ก ราว ๒,๕๐๐ – ๑,๕๐๐ ปีี มาแล้้ว ตามลำดัับ ๑) สมััยหิินใหม่่ตอนปลาย แหล่่งโบราณคดีี ที่่�สำคััญพบในแอ่่งสกลนคร อายุุราว ๔,๓๐๐ ปีีมาแล้้ว ได้้แก่่ แหล่่งโบราณคดีีโนนนกทา อำเภอภููเวีียง จัังหวััด


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 180 ขอนแก่่น แหล่่งโบราณคดีีบ้้านเชีียง อำเภอหนองหาน จัังหวััดอุุดรธานีี จากการขุุดค้้นแหล่่งโบราณคดีีโนนนกทา พบแกลบข้้าวที่่�นำมาเป็็นส่่วนผสมของดิินเหนีียวในการปั้้�น ภาชนะ สัตว์ั ์เลี้้�ยงมีีวััว หมููและสุนัุัข การดำรงชีีวิตพิบการล่่า สััตว์์ที่่�อาศััยอยู่่ในบริิเวณใกล้้เคีียง เก็็บหอย จัับปลาจาก บริิเวณลำห้้วย หนองน้้ำ ที่่�อยู่่ใกล้้ ๆ ควบคู่่กัับการเพาะ ปลููกข้้าวและเลี้้�ยงสััตว์์ 1 การฝัังศพที่ ่�บ้้านเชีียง เหมืือนกัับที่ ่� โนนนกทา คืือ การฝัังสิ่่�งของไปพร้้อมกัับคนตาย มีีภาชนะ ดิินเผาและเครื่่�องประดัับต่่าง ๆ ดิินที่่�นำมาปั้้�นภาชนะมีี แกลบข้้าวผสมอยู่่ด้้วย ลัักษณะทางกายภาพของคนที่ ่�บ้้าน เชีียงกระดููกใหญ่่ประกอบกัับการมีีอาหารอุุดมสมบููรณ์์2 คนบ้้านเชีียงจึึงไม่่น่่าจะขาดแคลนอาหาร ๒) สมััยสำริิด แหล่่งโบราณคดีีที่่�สำคััญในยุุค สำริดพิบทั้้�งในแอ่่งสกลนครและแอ่่งโคราชแหล่่งโบราณคดีี ยุุคสำริิดในแอ่่งสกลนคร ได้้แก่่ แหล่่งโบราณคดีีบ้้านนาดีี อำเภอหนองหาน จัังหวััดอุุดรธานีี แหล่่งโบราณคดีีบ้้าน เชีียง อำเภอหนองหาน จัังหวััดอุุดรธานีี แหล่่งโบราณคดีี โนนนกทา อำเภอภููเวีียง จัังหวััดขอนแก่่น แหล่่งโบราณคดีี ในยุุคสำริิดในแอ่่งโคราช ได้้แก่่ แหล่่งโบราณคดีีบ้้าน ปราสาท อำเภอพิิมาย จัังหวััดนครราชสีีมาและแหล่่ง โบราณคดีีบ้้านหลุุมข้้าว อำเภอโนนสููง จัังหวัดันครราชสีีมา แหล่่งโบราณคดีีบ้้านนาดีี การขุุดค้้นทาง โบราณคดีี ให้้ข้้อมููลว่่าคนกลุ่่มแรกที่ ่�ตั้้�งถิ่่�นฐานในชุุมชนนี้้� ราว ๓,๔๐๐-๓,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว รู้้�จัักการเพาะปลููกข้้าวและ เลี้้�ยงสัตว์ั ์เป็็นอย่่างดีีมีีประเพณีีการฝัังศพสืืบทอดมายัังลููก 1 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์, ์๒๕๔๒ หน้้า ๘๓. 2 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๘๖.3 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๑๐๙. 4 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๑๑๐-๑๑๑. หลาน ประชากรมีีอาหารการกิินดีีมีีรููปร่่างสููงและมีีกระดููก แข็็งแรง อุตุสาหกรรมในท้้องถิ่่�นประกอบด้วยกา้รทำภาชนะ เครื่่�องปั้้�นดิินเผาและการหล่่อสำริิด ที่ ่�มีีส่่วนผสมระหว่่าง ทองแดงกัับดีีบุุกซึ่่�งได้้จากการแลกเปลี่่�ยนสิ่่�งของ เช่่น หิิน ภาชนะดิินเผาและเปลืือกหอยทะเลกัับชุุมชนอื่่�น คนที่ ่� ครอบครองสิ่่�งของมีีค่่า สิ่่�งของหายากจากภายนอกอาจ เป็็นกลุ่่มคนที่ ่�มีีสถานะทางสัังคมเหนืือกว่่าคนกลุ่่มอื่่�น3 แหล่่งโบราณคดีีบ้้านเชีียง พบการผลิิตเครื่่�อง ใช้้สำริิด เบ้้าหลอมดิินเผา แม่่พิิมพ์์ดิินเผาหิินทรายแบบ ประกบคู่่ ในหลุุมฝัังศพมีีตุ๊๊กตาดิินเผารููปวััว นิิยมฝัังชิ้้�นส่่วน ของสััตว์์ลงไปด้้วยโดยเฉพาะกรามหมููบ้้าน พืืชที่่�ปลููก คืือ ข้้าว พบการนำแกลบมาเป็็นส่่วนผสมกัับดิินเหนีียวในการ ปั้้�นภาชนะ สััตว์์ที่่�เลี้้�ยง ได้้แก่่ วััว หมููและสุุนััข มีีการล่่าและ จัับสัตว์ั ป่์ ่ามาเป็็นอาหาร การตั้้�งถิ่่�นฐานอยู่่ใกล้้ลำน้้ำและที่ ่� ลุ่่มชื้้�นแฉะ จากสภาพโครงกระดููก ผู้้�ชายส่่วนใหญ่มีี่อายุยืืุน ถึึง ๔๐-๔๕ ปีี ส่่วนผู้้�หญิิงมีีอายุุเฉลี่่�ยที่่� ๓๕-๔๐ ปีี อััตรา การตายของทารกค่่อนข้้างสููง ทำให้้ค่่าเฉลี่่�ยของคนที่ ่�บ้้าน เชีียงอยู่่ที่่� ราว ๒๔ ปีีเท่่านั้้�น4 แหล่่งโบราณคดีีโนนนกทา มีีอายุุอยู่่ราว ๓,๕๐๐- ๓,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว พบการฝัังภาชนะดิินเผาในหลุุมศพ ของ สิ่่�งอื่่�นที่ ่�ฝัังลงไปด้้วยมีีขวานหิินขััด ลููกปััดเปลืือกหอยแบบ แว่่นและเปลืือกหอย พบแม่พิ่ ิมพ์หิ์ ินทรายสำหรัับหล่่อขวาน บ้้อง แร่่ทองแดงอาจได้้มาจากภููโล้้นซึ่่�งอยู่่ห่่างประมาณ ๑๔๐ กิิโลเมตรไปทางทิิศเหนืือ หลัักฐานที่ ่� พบเหล่่านี้้�แสดง แน่่ชััดว่่าการหล่่อสำริิดทำที่่�แหล่่งโบราณคดีีโนนนกทา


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 181 ซึ่่�งมีีสวนผสมของดีีบุุกร้้อยละ ๑๕ บางหลุุมศพมีีกระดููกสัตว์ั ์ เลี้้�ยงฝัังไปด้้วย เช่่น วััว หมููและสุุนััข แกลบข้้าวนำมาเป็็น ส่่วนผสมกัับดิินเหนีียวในการปั้้�นภาชนะดิินเผา1 แหล่่งโบราณคดีีบ้้านปราสาท พบหลุุมฝัังศพสมััย สำริิด สิ่่�งที่ ่�ฝัังให้้ศพ เช่่น ลููกปััดเปลืือกหอยแบบแว่่น กำไล เปลืือกหอยทะเล กำไลหิินอ่่อน สิ่่�งเหล่่านี้้�ได้มาจากกา้รแลก เปลี่่�ยนกัับชุุมชนอื่่�น สิ่่�งที่่�โดดเด่่นของแหล่่งโบราณคดีีบ้้าน ปราสาท คืือ ภาชนะดิินเผาที่ ่� พบในหลุุมศพส่่วนใหญ่่เป็็น ภาชนะเคลืือบด้้วยน้้ำโคลนสีีแดงขััดมัันวาวและมีีลัักษณะ เฉพาะตััว คืือ คอแคบปากบานผายออก จึึงเรีียกอีีกชื่่�อว่่า “ภาชนะทรงกระโถนปากแตร” นอกจากนั้้�นยัังพบเบ้้าหลอม ดิินเผา แม่่พิิมพ์์ดิินเผาสำหรัับหล่่อหััวขวานอีีกด้้วย 2 แหล่่งโบราณคดีีบ้้านหลุุมข้้าว สมััยแรกของบ้้าน หลุุมข้้าวน่่าจะอายุุราว ๓,๔๐๐-๓,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว คนรู้้�จััก เลี้้�ยงวััว หมูู สุุนััข สััตว์์ป่่าที่ ่� ล่่า ได้้แก่่ ควายป่่าและกวาง ชนิดต่ิ ่าง ๆ ช่่วงประมาณ ๓,๐๐๐-๒,๕๐๐ ปีีมาแล้้ว ปรากฏ การฝัังศพผู้ต้�ายและเป็็นประเพณีีสืืบต่่อกัันมา ลัักษณะของ ภาชนะดิินเผาคล้้ายกัับภาชนะทรงกระโถนปากแตรที่พ ่� บที่ ่� บ้้านปราสาท ในชั้้�นของการอยู่่อาศััยพบหลัักฐานการผลิิต หรืือหล่่อสำริิด เช่่น แม่่พิิมพ์์หรืือเบ้้าดิินเผาแต่่ในหลุุมศพ ไม่พ่บสิ่่�งของที่่�ทำจากสำริดฝัิ ังอยู่่ด้วยแ้ต่พ่บสิ่่�งของที่่�ไม่มีี่ ใน ท้้องถิ่่�น เช่่น กำไลเปลืือกหอยทะเล กำไลหิินอ่่อนและขวาน หิินขัดั สะท้้อนให้้เห็็นความสำคััญของผู้ต้�ายเพราะของเหล่่า นั้้�นเป็็นของหายากมาจากแดนไกล การจะได้้ครอบครอง เป็็นเจ้้าของต้้องเป็็นผู้้�ที่ ่�มีีความสำคััญหรืือมีีฐานะในทาง สัังคมขณะที่ ่� ยัังมีีชีีวิิตอยู่่3 1 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์, ์สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๑๑๑-๑๑๒.2 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๑๑๓-๑๑๔.3 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๑๑๕-๑๑๘. จากข้้อมููลการขุดคุ้้นทางโบราณคดีีในยุุคสำริดพิบ การตั้้�งถิ่่�นฐานของคนยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์กระจายตััวทั้้�ง ในแอ่่งโคราชและแอ่่งสกลนคร การเลืือกทำเลสำหรัับตั้้�ง ถิ่่�นฐานในบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำมููล-ชีีพบร่่องรอยชุุมชน โบราณตามบริิเวณใกล้้ ๆ กัับลำน้้ำสาขาอย่่างน้้อย ๒ สาย มาบรรจบกัันหรืือบริิเวณขอบของที่ ่� ราบลุ่่มลำน้้ำชีี บริิเวณ เหล่่านี้้�ไม่่ประสบปััญหาน้้ำท่่วมรุุนแรงและสภาพดิินเหมาะ กัับการปลููกข้้าว นอกจากดำรงชีีพด้้วยการปลููกข้้าวแล้้วยััง เลี้้�ยงสััตว์์ ล่่าสััตว์์ป่่าและจัับสััตว์์น้้ำเพื่่�อเป็็นอาหารอีีกด้้วย พบหลัักฐานการทำเหมืืองแร่่ทองแดงในช่่วงหน้้าแล้้ง การ ปั้้�นภาชนะน่่าจะทำช่่วงหน้้าแล้้งเช่่นกััน มีีประเพณีีการฝััง ศพ มีีการฝัังสิ่่�งของลงไปกัับผู้้�ตาย การฝัังสิ่่�งของประเภท เครื่่�องประดัับหรืือของใช้้ที่่�ทำจากวััสดุทีุ่่�ไม่มีี่ ในท้้องถิ่่�น เช่่น หิินอ่่อน เปลืือกหอยทะเล ทองแดงและดีีบุุก สะท้้อนให้้เห็็น ความสำคััญของผู้้�ตายเพราะของเหล่่านั้้�นเป็็นของหายาก มาจากแดนไกล อย่่างไรก็็ตามความแตกต่่างของสิ่่�งของที่ ่� ฝัังร่่วมกัับผู้้�ตายในยุุคสำริิดยัังไม่่เห็็นชััดเจนเหมืือนในสมััย เหล็็ก ๓) สมััยเหล็็ก มีีอายุุราว ๒,๕๐๐ ปีีมาแล้้ว เป็็น ช่่วงเวลาของการเปลี่่�ยนแปลงที่่�สำคััญของชุุมชนโบราณใน ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ พบการกระจายตััวของชุุมชนโบราณ ในยุุคเหล็็กทั้้�งในพื้้�นที่่�แอ่่งสกลนครและแอ่่งโคราช โดย เฉพาะบริิเวณแอ่่งโคราชซึ่่�งไม่่พบการตั้้�งถิ่่�นฐานของชุุมชน ในยุุคหิินใหม่่ตอนปลายกลัับพบการตั้้�งถิ่่�นฐานของคนใน ยุุคเหล็็กเป็็นจำนวนมาก ในทางกลัับกัันแหล่่งโบราณคดีี สมััยเหล็็กในแอ่่งสกลนคร มีีขนาดเล็็กและไม่่โดดเด่่นเท่่ากัับ แหล่่งโบราณคดีีสมััยเหล็็กในเขตลุ่่มน้้ำมููลและชีีที่่�มีีขนาด


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 182 ใหญ่่โตกว่่ามาก เหล็็กนำมาทำเป็็นเครื่่�องมืือเครื่่�องใช้้ทั้้�ง สำหรัับการหัักร้้างถางพง ฟัันต้้นไม้้ใหญ่่ ปรัับหน้้าดิิน ทำให้้ เกิดิประสิิทธิิภาพในการใช้้งานมากกว่่าเครื่่�องมืือเครื่่�องใช้้ที่่� ทำจากสำริดิพบแหล่่งแร่่เหล็็กเช่่นศิิลาแลงเป็็นบริิเวณกว้้าง ในภาคอีีสานหาได้้ง่่ายกว่่าทองแดงและดีีบุุก การหลอม เหล็็กต้้องใช้้ความร้้อนสููงกว่่าทองแดง วิิธีีการผลิิตไม่่ใช้้วิิธีี การหล่่อแต่่ใช้้วิิธีีตีีให้้เป็็นรููปทรงตามที่ ่�ต้้องการ แหล่่งโบราณคดีียุุคเหล็็กในแอ่่งโคราช เช่่น แหล่่ง โบราณคดีีเนิินอุุโลก อำเภอโนนสููง จัังหวััดนครราชสีีมา เป็็นเนิินดิินตั้้�งอยู่่กลางท้้องนาในเขตบ้้านหนองนาตููม ตำบลพลสงคราม อำเภอโนนสููง จัังหวััดนครราชสีีมา มีี แนวร่่องน้้ำเก่่าล้้อมรอบหลายชั้้�น เป็็นแหล่่งโบราณคดีีบน ที่ ่� ราบสููงโคราชที่ ่� พบหลุุมศพสมััยเหล็็กมากมาย การขุุดค้้น ทางโบราณคดีีในพื้้�นที่ ่� ดัังกล่่าวพบว่่าชั้้�นดิินล่่างสุุดพบหลััก ฐานสมััยสำริิด ชั้้�นเหนืือขึ้้�นมาเป็็นสมััยเหล็็ก หลัักฐานการ อยู่่อาศััย พบแนวของหลุุมเสา กองไฟและหลุุมภายในเต็็ม ไปด้้วยเมล็็ดข้้าวสารสีีดำเนื่่�องจากการถููกเผาไหม้้ภาชนะ ดิินเผาและเศษภาชนะจำนวนมากมีีคราบสีีขาวติิดอยู่่ผิิว ด้้านใน นัักโบราณคดีีตรวจสอบและลงความเห็็นว่่าน่่าจะ เป็็นยางไม้้จำพวกไม้้ยางเป็็นการเคลืือบผิิวภายในภาชนะ ดิินเผาเพื่่�อป้้องกัันการซึึมของน้้ำ สิ่่�งของและกระดููกสััตว์์ที่ ่� พบในหลุุมฝัังศพที่่�แหล่่งโบราณคดีีเนิินอุุโลกอธิิบายได้้ว่่า คนสมััยเหล็็กที่่�เนิินอุุโลกมีีพื้้�นฐานทางเศรษฐกิิจหลััก คืือ การเพาะปลููกข้้าวและเลี้้�ยงวััว1 แหล่่งโบราณคดีีบ้้านก้้านเหลืือง อำเภอเมืือง จัังหวััดอุุบลราชธานีี เป็็นเนิินดิินขนาดใหญ่่ พบหลัักฐาน การฝัังศพในไหขนาดใหญ่่ มีีขนาดความสููงถึึง ๗๕-๕๘ เซนติิเมตร ภายในไหบรรจุุศพและสิ่่�งของที่่�เป็็นของผู้้�ตาย 1 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์, ์สยามดึึกดำบรรพ์์: ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย, กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊คส์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๑๔๙-๑๕๖. 2 ไฮแอม, ชาร์์ลส และรััชนีี ทศรััตน์์, หน้้า ๑๖๒. เช่่น เครื่่�องมืือเครื่่�องใช้้ เครื่่�องประดัับทำจากสำริิด เช่่น กำไลข้้อมืือ แหวน ใบหอก ขวานมีีบ้้อง หััวธนููและตุ๊๊กตา ดิินเผารููปคน เครื่่�องมืือเหล็็กและภาชนะดิินเผาขนาดเล็็ก แหล่่งโบราณคดีีในเขตอำเภอดอนตาล จัังหวััด มุุกดาหาร พบหลัักฐานที่่�แสดงถึึงการแลกเปลี่่�ยนติิดต่่อ กัันของคนสมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์ เช่่น พบเหรีียญของจีีน กลองมโหระทึึกสำริิด สัันนิิษฐานว่่ากลองมโหระทึึกใช้้ใน พิิธีีกรรมเกี่่�ยวกัับความอุุดมสมบููรณ์์ จากลวดลายตััวสััตว์์ที่ ่� นำมาประดัับบนหน้้ากลอง รููปกบและหอยทากเป็็นสัตว์ั ์ครึ่่�ง บกครึ่่�งน้้ำมีีความไวต่่อการเปลี่่�ยนแปลงของสภาพอากาศ เชื่่�อมโยงให้้เห็็นว่่าสััตว์์สองประเภทเป็็นสื่่�อกลางระหว่่าง ผู้้�คนกัับน้้ำ จึึงตีีความว่่า กลองมโหระทึึกใช้้ในพิิธีีกรรมการ ขอฝน แหล่่งโบราณคดีีโนนเดื่่�อ อำเภอสุุวรรณภููมิิ จัังหวััดร้้อยเอ็็ด บริิเวณภายนอกชุุมชนมีีเนิินดิินขนาด ใหญ่่เรีียงรายกระจายทั่่�วไป เนิินดิินเหล่่านี้้�เป็็นแหล่่งผลิิต เกลืือมาตั้้�งแต่่สมััยก่่อนประวััติิศาสตร์์ มีีแอ่่งเกลืือขนาด ใหญ่่ คืือ บ่่อพัันขััน ปััจจุุบัันบ่่อพัันขัันถููกน้้ำท่่วมเนื่่�องจาก การสร้้างฝายกั้้�นน้้ำ การขุุดค้้นแหล่่งโบราณคดีีบริิเวณนี้้� สามารถแบ่่งออกได้้เป็็น ๓ สมััย สมััยแรกเริ่่�มตั้้�งชุุมชน มีีอายุุราว ๒,๕๐๐-๒,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว มีีภาชนะดิินเผาที่ ่� โดดเด่่น คืือ ชนิิดเคลืือบน้้ำโคลนสีีแดง สมััยที่่� ๒ อายุุราว ๒,๐๐๐-๑,๓๐๐ ปีีมาแล้้ว ภาชนะที่พ ่� บมากและรู้้�จัักกัันดีีคืือ ภาชนะแบบร้้อยเอ็ด็ เป็็นภาชนะดิินเผาที่่�ทำลายเชืือกทาบ ก่่อนแล้้วปาดให้้เรีียบแต่ยั่ ังคงเห็็นลายเชืือกทาบอยู่่บ้้างแล้้ว จึึงเขีียนเป็็นลายแถบด้้วยสีีแดง สมััยสุุดท้้าย ราว ๑,๓๐๐- ๑,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว พบภาชนะดิินเผาอีีกประเภทหนึ่่�ง คืือ มีี สีีขาว ผิิวบางแบบต่่าง ๆ2


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 183 ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับการตั้้�งถิ่่�นฐานของคนในยุุคก่่อน ประวััติิศาสตร์์ยัังสามารถสะท้้อนผ่่านภาพเขีียนบนผนัังถ้้ำ หรืือเพิิงผา หรืือที่่�เรีียกว่่า ศิิลปะถ้้ำอีีกด้้วย หลัักฐานทาง โบราณคดีีประเภทศิิลปะถ้้ำพบในชุุมชนก่่อนประวััติิศาสตร์์ ที่ ่�มีีความรู้้�ทางเทคโนโลยีีต่่ำ ไม่่สามารถควบคุุมธรรมชาติิ แต่่ยัังต้้องการอาหารเพื่่�อยัังชีีพ จุุดประสงค์์ของการเขีียน ภาพเกิิดจากการประกอบพิิธีีกรรมเพื่่�ออ้้อนวอนธรรมชาติิ ดลบัันดาลความอุุดมสมบููรณ์์ บริิเวณที่ ่� พบภาพเขีียนสีีจึึง เป็็นศููนย์์กลางการคมนาคมทั้้�งในและนอกภููมิภิาค เป็็นศููนย์์ รวมผู้้�คนจากแหล่่งต่่าง ๆ เพื่่�อประกอบพิธีีิกรรมความอุดุม สมบููรณ์์ร่่วมกััน สััญลัักษณ์์ที่่�ปรากฏบนศิิลปะถ้้ำที่่�สำคััญมีี ๔ รููปแบบ ได้้แก่่ ภาพคน ภาพฝ่่ามืือ ภาพลายเส้้น ภาพ สััตว์์ เช่่น ภาพเขีียนสีีผาแต้้ม อำเภอโขงเจีียม จัังหวััด อุุบลราชธานีีภาพเขีียนสีีถ้้ำคน ภููพระบาท อำเภอบ้้านผืือ จัังหวััดอุุดรธานีีภาพเขีียนสีีผาผัักหวาน อำเภอส่่องดาว จัังหวัดัสกลนคร ถ้้ำฝ่่ามืือแดง บ้้านส้้มป่่อย ตำบลนาสีีนวล อำเภอเมืือง จัังหวัดมุัุกดาหาร ภาพเขีียนสีีถ้้ำตาลาว ตำบล กองโพน อำเภอนาตาล จัังหวััดอุุบลราชธานีีภาพเขีียนสีี เขาจัันทน์์งาม อำเภอสีีคิ้้�ว จัังหวััดนครราชสีีมา เป็็นต้้น หลัักฐานทางโบราณคดีีนัับเป็็นอีีกหนึ่่�งหลัักฐาน สำคััญที่ช่ ่� ่วยเติิมช่่องว่่างของการศึึกษาประวััติิศาสตร์อีี์สาน ในช่่วงที่ ่� ยัังไม่่มีีหลัักฐานลายลัักษณ์์อัักษร เป็็นหลัักฐานที่ ่� แสดงถึึงพััฒนาการการตั้้�งถิ่่�นฐานของคนในพื้้�นที่ ่�อีีสานมา ตั้้�งแต่ยุุ่คหิินตอนปลายเรื่่�อยมาจนถึึงสมััยสำริดิและเพิ่่�มมาก ขึ้้�นอย่่างชััดเจนสมััยเหล็็ก ปััจจััยสำคััญที่่�ทำให้้เกิิดสัังคม เมืืองและรััฐขึ้้�น คืือ ทรััพยากรธรรมชาติิและการติิดต่่อ กัับโลกภายนอก กรณีีแอ่่งโคราชมีีทรััพยากรธรรมชาติิที่ ่� สำคััญ คืือ เกลืือและเหล็็ก ชุุมชนก่่อนประวััติิศาสตร์์นำ ผลผลิิตส่่วนเกิินไปใช้้แลกเปลี่่�ยนสิินค้้ากัับภายนอก ส่่งผล ให้้ผู้้�ใดที่่�สามารถครอบครองทรััพยากรส่่วนเกิินนี้้�ได้้จะเป็็น บุุคคลสำคััญของชุุมชน และสามารถแยกความแตกต่่าง ของสถานะทางสัังคมได้้จากสิ่่�งของเครื่่�องใช้้เครื่่�องประดัับ ที่ขุ ่� ดพุบในหลุุมฝัังศพ แม้้การคมนาคมในอดีีตเป็็นอุุปสรรค สำคััญต่่อการติิดต่่อกัับภายนอกแต่่คนอีีสานไม่่ได้้แยก ตััวอย่่างโดดเดี่่�ยว มีีการติิดต่่อกัับภายนอกอย่่างต่่อเนื่่�อง ผ่่านช่่องเขาตามเทืือกเขาเพชรบููรณ์์ เทืือกเขาพนมดงรััก และแม่่น้้ำโขง ภาพที่่� ๕ ภาชนะเครื่ ่� องปั้้�นดิินเผายุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ จััดแสดงที่่� พิิพิิธภััณฑสถานแห่่งชาติิอุุบลราชธานีีจัังหวััดอุุบลราชธานีี ที่่�มา: ถ่่ายเมื่ ่� อ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ! อีีสานสมััยทวารวดีี อีีสานมีีพััฒนาการเป็็นบ้้านเมืืองในช่่วงพุุทธ ศตวรรษที่่� ๑๒ ร่่วมสมััยกัับวััฒนธรรมทวารวดีีในลุ่่มน้้ำ เจ้้าพระยา หลัักฐานทางโบราณคดีียืืนยัันว่่าระหว่่างพุุทธ ศตวรรษที่่� ๑๒-๑๖ อีีสานรัับวััฒนธรรมด้้านศาสนา การ ปกครอง ขนบประเพณีีบางอย่่างจากอิินเดีียผ่่านเวีียดนาม และเขมรตามแม่่น้้ำโขง และผ่่านที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำเจ้้าพระยา เส้้นทางโบราณในการติิดต่่อระหว่่างภาคกลางมาที่ ่� ภาค อีีสานมีี ๒ เส้้นทาง คืือ เส้้นทางแรกผ่่านช่่องเขาในเขต เทืือกเขาเพชรบููรณ์์ ด้้านลำนารายณ์์-ชััยบาดาล มายััง ต้้นน้้ำมููล-ชีีที่ ่� ชััยภููมิิ อีีกสายผ่่านช่่องเขาพนมดงรัักด้้าน


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 184 ตาพระยา-อรััญประเทศเข้้าสู่่ลุ่่มน้้ำมููลด้้านบุุรีีรััมย์์ สิ่่�งที่ ่� บ่่ง บอกถึึงลัักษณะทวารวดีีในสัังคมอีีสานที่่�สำคััญ มีีดัังนี้้� ผัังของเมืืองในวััฒนธรรมทวารวดีี ส่่วนใหญ่่ มีีรููปร่่างลัักษณะกลมหรืือคล้้ายสี่่�เหลี่่�ยมมุุมมน ขุุดคููน้้ำ คัันดิินล้้อมรอบเพื่่�อประโยชน์์ป้้องกัันข้้าศึึก เกษตรกรรม คมนาคม กลุ่่มเมืืองโบราณสำคััญ ได้้แก่่ เมืืองโบราณเสมา อำเภอสููงเนิิน จัังหวััดนครราชสีีมา เมืืองฟ้้าแดดสงยาง อำเภอกมลาไสย จัังหวััดกาฬสิินธุ์์ เมืืองกัันทรวิิชััย อำเภอ กัันทรวิิชััย จัังหวััดมหาสารคาม เมืืองนครจำปาศรีี อำเภอ นาดููน จัังหวััดมหาสารคาม วััฒนธรรมทวารวดีีเกี่่�ยวเนื่่�องกัับพระพุุทธศาสนา เกิิดการผสมผสานวััฒนธรรมภายนอกกัับประเพณีีดั้้�งเดิิม เกิดิคติิการสร้้างเสมาหิินปัักตามเนิินดิินอุทิุิศถวายให้้ศาสน สถาน ใบเสมาที่ ่� พบในเมืืองโบราณฟ้้าแดดสงยางเป็็นภาพ เล่่าเรื่่�องในพุุทธศาสนา เป็็นเรื่่�องราวในชาดกหรืือพุุทธ ประวััติิ เมื่่�อรัับพุุทธศาสนาจึึงเกิิดการสร้้างวััดและสถููป เจดีีย์์ สร้้างพระนอนตามเพิิงผา การเข้้ามาของพุุทธศาสนา ทำให้้การฝัังศพเปลี่่�ยนเป็็นการเผาศพ เกิดิประเพณีีทำบุุญ เช่่น ประเพณีีในการเฉลิิมฉลองพระพุุทธรููป ประเพณีีการ บรรจุพรุะบรมธาตุุ และพระพิิมพ์์ในสถููป ประเพณีีการบวช มีีพระอุุปััชฌาย์์ประกอบพิิธีี แสดงถึึงการนัับถืือพระพุุทธ ศาสนาพร้้อมถึึง ๓ คืือ พระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์ ที่ ่� สำคััญคืือพบหลัักฐานการใช้้อัักษรปััลลวะ ภาษาบาลีีภาษา สัันสกฤต และภาษามอญ ภาษาบาลีีและสัันสกฤตมีีความ สััมพัันธ์กั์ ับศาสนาที่่�สำคััญ คืือ ภาษาบาลีีเกี่่�ยวข้้องกัับพุุทธ เถรวาท ภาษาสัันสกฤตสััมพัันธ์์กัับศาสนาพุุทธมหายาน และพราหมณ์์ การดำรงชีีพของคนในสมััยทวารวดีีพบการแพร่่ หลายของวััตถุุเครื่่�องใช้้ เช่่น คนทีีและถ้้วยชาม มีีการปลููก 1 ศรีีศัักร วััลลิิโภดม, แอ่่งอารยธรรมอีีสาน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔, กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๖ หน้้า ๑๔๕-๑๔๖. ข้้าวเป็็นอาหารหลัักของคนในชุุมชน หลัักฐานสำคััญ คืือ พบแผ่่นอิิฐที่่�ใช้้ในการสร้้างสถููปเจดีีย์์ มีีส่่วนผสมของเมล็็ด ข้้าวหรืือแกลบข้้าวจำนวนมาก นอกจากนี้้�เนื้้�อหาในจารึึก บัันทึึกการสร้้างศาสนสถานอุุทิิศที่ ่� ดิินในการทำนา ผู้้�คน สััตว์์พาหนะและสิ่่�งของตลอดจนข้้าวสารให้้แก่่รููปเคารพ หรืือสิ่่�งศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ในทางศาสนา ในช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๑๒-๑๖ พบการกระจายตััว ของกลุ่่มเมืืองตามลำน้้ำสำคััญของภาคอีีสาน แบ่่งได้เ้ป็็น ๔ กลุ่่ม ดัังนี้้� กลุ่่มเมืืองในบริิเวณลุ่่มแม่่น้้ำโขง – แม่่น้้ำมููล ครอบคลุุมเขตจัังหวััดอุุบลราชธานีี อำนาจเจริิญ ยโสธร มุุกดาหาร นครพนม ร้้อยเอ็ด็ ศรีีสะเกษ สุริุินทร์์ และบุรีีรัุัมย์์ อยู่่ภายใต้้การปกครองของแคว้้นเจนละ สร้้างศาสนสถาน ศิิวลึึงค์์ รููปโคนนทิิในศาสนาพราหมณ์์-ฮิินดูู กลุ่่มเมืืองบริิเวณตอนกลางของแม่่น้้ำมููล บริิเวณ พื้้�นที่ ่� ราบลุ่่มบางส่่วนของบุุรีีรััมย์์และนครราชสีีมา นัับถืือ พุุทธศาสนามหายานเป็็นหลััก สร้้างพระพุุทธรููปและเทวรููป พระโพธิิสััตว์์ในคติิมหายานเป็็นรููปเคารพ กลุ่่มเมืืองบริิเวณเขตต้้นแม่่น้้ำมููล บริิเวณ นครราชสีีมา (อำเภอเมืืองปัักธงชััยและสููงเนิิน) นัับถืือพุุทธ ศาสนาในระยะแรก ต่่อมานัับถืือศาสนาพราหมณ์์-ฮิินดูู (ไศวนิิกาย) พบศิิลาจารึึกที่ ่� บ่่งบอกชื่่�อแคว้้นศรีีจนาศะ และ รายพระนามกษััตริิย์์ที่่�ปกครอง กลุ่่มเมืืองบริิเวณที่ ่� ราบลุ่่มแม่่น้้ำชีีจัังหวััดชััยภููมิิ ขอนแก่่น ไปถึึงกาฬสิินธุ์์ นัับถืือพุุทธศาสนาติิดต่่อกััน เรื่่�อยมา สร้้างเสมาหิิน พระนอน พระสถููป เจดีีย์์ มีีรายชื่่�อ พระนามกษัตริัย์ิ์คนละกลุ่่มกัับกลุ่่มกษัตริัย์ิ์เขมร ถืือเป็็นอีีก แคว้้นหนึ่่�งที่ ่�มีีอิิสระในการปกครองตนเอง1


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 185 ภาพที่่� ๖ แผนที่่�แสดงเมืืองในอีีสานที่่�ได้้รัับวััฒนธรรมทวารวดีี ที่่�มา: https://th.wikipedia.org/wiki/ทวารวดีี เข้้าถึึงเมื่ ่� อ ๒๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ! อีีสานสมััยร่่วมวััฒนธรรมเขมรโบราณ อาณาจัักรเขมรโบราณ แบ่่งเป็็น ๒ ช่่วง ได้้แก่่ ช่่วงแรก คืือ ช่่วงก่่อนเมืืองพระนคร (เจิ้้�นล่่าหรืือเจนละ) (พ.ศ. ๑๐๙๓ - พุุทธศตวรรษที่่� ๑๓) มีีข้้อสัันนิิษฐานว่่า ศููนย์์กลางอำนาจของเจิ้้�นล่่าน่่าจะอยู่่บริิเวณแม่น้้ ่ ำโขงตอน กลางและแม่่น้้ำโขงตอนล่่างเริ่่�มตั้้�งแต่่แถบสตรึึงเตรงขึ้้�น ไปจนถึึงตอนเหนืือของประเทศกััมพููชาปััจจุุบััน หรืือทาง ตอนใต้้ของประเทศลาวมีีศููนย์์กลางอำนาจอยู่่บริิเวณวััดภูู 1 อภิินัันท์์ สงเคราะห์์, “จารึึกพระเจ้้ามเหนทรวรมััน: ภาพสะท้้อนประวััติิศาสตร์์สมััยคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๗ (มรดกความทรงจำแห่่งจัังหวััด อุุบลราชธานีี)”ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๑๒, กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔ หน้้า ๑๒. จำปาศัักดิ์์� ประเทศลาว หรืือบริิเวณลุ่่มน้้ำมููล (บริิเวณ จัังหวััดอุุบลราชธานีี) ช่่วงที่่�สอง คืือ ช่่วงเมืืองพระนคร (พ.ศ. ๑๓๔๕ – พ.ศ.๑๙๗๔) ศููนย์์กลางทางการเมืืองอยู่่ บริิเวณเมืืองพระนคร (เสีียมเรีียบ) ตั้้�งแต่พุุ่ทธศตวรรษที่่� ๑๑ เป็็นต้้นมา พบร่่องรอยหลัักฐานแสดงให้้เห็็นว่่ามีีการขยาย อิิทธิิพลทางการเมืืองของอาณาจัักรเขมรโบราณสมััยก่่อน เมืืองพระนครเข้้ามายัังภาคอีีสาน โดยเฉพาะเขตลุ่่มน้้ำมููล ลุ่่มน้้ำชีีและลุ่่มน้้ำเสีียว เนื่่�องด้วย้พบหลัักฐานศิิลาจารึึกของ พระเจ้้าจิตริเสน การขยายอำนาจของอาณาจัักรโบราณ ใช้้ เส้้นทาง ๒ เส้้นทาง ได้้แก่่ ตามช่่องเขาต่่าง ๆ ของเทืือก เขาพนมดงรัักเข้้ามาลุ่่มน้้ำมููล – ชีี และตามลำน้้ำโขง แถบ เมืืองสกลนคร อุุดรธานีี หนองคาย จารึึกปากน้้ำมููล ๑ อายุรุาวพุุทธศตวรรษที่่� ๑๑ เป็็น หลัักฐานชั้้�นต้้นที่ ่� สัันนิิษฐานว่่าอิิทธิิพลทางการเมืืองของ อาณาจัักรเขมรโบราณสมััยก่่อนเมืืองพระนคร แพร่่ขยาย เข้้ามายัังเมืืองอุุบลราชธานีี ทำให้้เห็็นภาพความสััมพัันธ์์ ระหว่่างดิินแดนที่่�อยู่่บริิเวณแม่่น้้ำโขงตอนกลางและแม่่น้้ำ โขงตอนบนกัับบริิเวณปากแม่่น้้ำมููล เป็็นช่่วงเวลาที่่�อำนาจ ของเขมรโบราณแพร่่ขยายเข้้ามายัังกลุ่่มเมืืองในบริิเวณ ลุ่่มน้้ำมููล จารึึกปากน้้ำมููล ๑ บัันทึึกเรื่่�องราวของพระเจ้้า จิิตรเสนว่่าทรงปราบปรามบ้้านเมืืองในบริิเวณนี้้� พร้้อมทั้้�ง สร้้างศิิลาจารึึกและสถาปนาศิิวลึึงค์์เพื่่�อประกาศชััยเหนืือ ดิินแดนแห่่งนี้้� พระเจ้้าจิิตรเสนต่่อมาได้้ราชาภิิเษกขึ้้�นเป็็น กษััตริิย์์พระนามว่่า พระเจ้้ามเหนทรวรมััน1 (ครองราชย์์ พ.ศ. ๑๑๕๐-๑๑๕๙)


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 186 ในสมััยพระเจ้้ามเหนทรวรมััน เมืืองอุุบลราชธานีี มีีความสำคััญเป็็นจุุดเชื่่�อมต่่อระหว่่างพื้้�นที่ ่� ตอนในดิินแดน ประเทศไทยกัับบริิเวณลุ่่มแม่น้้ ่ ำโขง เนื่่�องจากเป็็นจุดทีุ่่�แม่น้้ ่ ำ มููลและแม่่น้้ำชีีไหลมาบรรจบกัันแล้้วไหลลงสู่่แม่่น้้ำโขงที่ ่� อำเภอโขงเจีียม ถ้้าเดิินทางตามลำน้้ำโขงไปทางเหนืือจะไป ถึึงแคว้้นยููนนานทางตอนใต้้ของประเทศจีีน และถ้้าเดิินทาง ตามลำน้้ำโขงไปทางใต้้ก็็สามารถลงไปทางปากแม่น้้ ่ ำโขงได้้ นอกจากนั้้�น หากเดิินทางตามปากแม่น้้ ่ ำมููลมาตามทิิศตะวััน ตกก็็สามารถติิดต่่อกัับชุุมชนบริิเวณภาคอีีสานตอนล่่างได้้จึึง เป็็นที่่�มาว่่ามีีการพบศิิลาจารึึกพระเจ้้ามเหนทรวรมัันจำนวน มากในบริิเวณจัังหวัดอุัุบลราชธานีี1 สาเหตุุประการหนึ่่�งที่่�ทำให้้พระเจ้้ามเหนทรวรมััน พยายามควบคุุมเส้้นทางคมนาคมที่่�ติิดต่่อกัับพื้้�นที่ ่� ตอนใน ของไทยกัับแม่น้้ ่ ำโขงในสมััยพระองค์์ น่่าจะมีีสาเหตุุมาจาก ความต้้องการทรััพยากรธรรมชาติิบางอย่่างในอีีสาน คืือ เกลืือสิินเธาว์์และแร่่เหล็็ก ด้้วยพื้้�นที่่�ทะเลสาบโตนเลสาบ เป็็นแหล่่งผลิิตสััตว์์น้้ำจืืดขนาดใหญ่่ เป็็นทะเลสาบที่่�เชื่่�อม ต่่อแม่น้้ ่ ำโขงและแม่น้้ ่ ำบััสสััก น้้ำทะเลสาบสููงในฤดููฝนและ ลดในเดืือนกุุมภาพัันธ์์ ปลาและสัตว์ั น้้ ์ ำจำนวนมากถููกนำมา แปรรููปเป็็นปลาเค็็มตากแห้้ง ปลาเหาะ (ปลาร้้า) อาณาจัักร กััมพููชาไม่มีี่แหล่่งเกลืือ จึึงมีีเหตุุจำเป็็นต้้องหาแหล่่งเกลืือและ เข้้าครอบครองแหล่่งเกลืือสิินเธาว์์จำนวนมากในอีีสาน การ ติิดต่่อระหว่่างสองพื้้�นที่่�ใช้้เส้้นทางคมนาคม ๒ เส้้นทาง คืือ ทางบกและทางน้้ำ จากหลัักฐานจารึึกของพระเจ้้าจิตริเสน ราวพุุทธศตวรรษที่่� ๑๒ ที่พ ่� บตามริิมแม่น้้ ่ ำมููลหลายหลัักแสดง ถึึงร่่องรอยการล่่องเรืือประมาณ ๘๐ กิิโลเมตรตามแม่่น้้ำ 1 อภิินัันท์์ สงเคราะห์์, “จารึึกพระเจ้้ามเหนทรวรมััน: ภาพสะท้้อนประวััติิศาสตร์์สมััยคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๗ (มรดกความทรงจำแห่่งจัังหวััด อุุบลราชธานีี)” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๑๒, กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔ หน้้า ๒๗. 2 ธาดา สุุทธิิธรรม, มรดกสถาปััตยกรรมและผัังเมืืองอีีสาน, กรุุงเทพฯ: โรงพิิมพ์์ชุุมชนสหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย, ๒๕๖๒ หน้้า ๗๖.3 อภิินัันท์์ สงเคราะห์์, “จารึึกพระเจ้้ามเหนทรวรมััน: ภาพสะท้้อนประวััติิศาสตร์์สมััยคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๗ (มรดกความทรงจำแห่่งจัังหวััด อุุบลราชธานีี)” ใน ๑๐๐ เอกสารสำคััญ: สรรพสาระประวััติิศาสตร์์ไทย ลำดัับที่่� ๑๒, กรุุงเทพฯ: ศัักดิ์์�โสภาการพิิมพ์์, ๒๕๕๔ หน้้า ๒๗-๒๘. โขงจากเมืืองโบราณที่่�เมืืองเศรษฐปุุระ ที่ ่�ตั้้�งของปราสาท วััดภูู แขวงจำปาศัักดิ์์� ประเทศสาธารณรััฐประชาธิิปไตย ประชาชนลาวในปััจจุุบััน เข้้าสู่่แม่่น้้ำมููลที่่�อำเภอโขงเจีียม จัังหวัดอุัุบลราชธานีี แหล่่งผลิติเกลืือที่่�สำคััญอยู่่ที่่�บริิเวณทุ่่ง กุุลาร้้องไห้้ส่่วนทางบกผ่่านเส้้นทางโรงเกลืือ จัังหวัดัสระแก้้ว ไปปราจีีนบุรีีุ หรืือเข้้ามาทางบุรีีรัุัมย์์ แหล่่งเกลืือที่่�สำคััญ คืือ บริิเวณอำเภอพิิมายและอำเภอบััวใหญ่่ จัังหวัดันครราชสีีมา2 ข้้อความในจารึึกปากโดมน้้อยด้าน้ที่่� ๑ กล่่าวไว้้ว่่า “พระเจ้้า ศรีีมเหนทรวรมััน” (หลัังจาก) ชนะประเทศนี้้ทั้้� �งหมดแล้้ว ได้้ สร้้างพระศิิวลึึงค์์ อัันเป็็นเสมืือนหนึ่่�งเครื่่�องหมายแห่่งชััยชนะ ของพระองค์์ไว้้บนภูเขาูนี้้�” ข้้อความในศิิลาจารึึกหลัักนี้้�แสดง ให้้เห็็นว่่าพระเจ้้ามเหนทรวรมัันทรงแผ่่ขยายอำนาจออกไป ด้วยกา้รรบและการทำศึึกสงคราม สิ่่�งจำเป็็นสำหรัับการทำ สงครามคืืออาวุุธที่่�ความแข็็งแกร่่งทนทานซึ่่�งน่่าจะทำจาก เหล็็ก ในภาคอีีสานพบหลัักฐานการถลุุงแร่่เหล็็กมาตั้้�งแต่ก่่ ่อน สมััยประวััติิศาสตร์์ แร่่เหล็็กส่่วนใหญ่่ได้จากกา้รถลุุงศิิลาแลง อัันเป็็นทรัพัยากรที่มีี่� อยู่่ทั่่�วไปในภาคอีีสาน แหล่่งถลุุงเหล็็ก จากศิิลาแลงขนาดใหญ่่พบที่ ่�บ้้านดงพลอย จัังหวััดบุุรีีรััมย์์ คำนวณอายุุด้้วยวิิธีีเรดิิโอคาร์์บอนการถลุุงแร่่เหล็็กน่่าจะ มีีอายุรุ าว ๒,๐๐๐ ปีีมาแล้้ว แม้้ไม่มีี่หลัักฐานแน่ชั่ดว่ั ่าพระเจ้้า จิตริเสนต้้องการแร่่เหล็็กจากอีีสานแต่่การพบศิิลาจารึึกของ พระองค์์ในบริิเวณที่มีี่� การผลิติเหล็็ก ทำให้้สัันนิิษฐานว่่าแร่่ เหล็็กอาจเป็็นแรงจููงใจสำคััญประการหนึ่่�งที่่�ทำให้้พระเจ้้า มเหนทรวรมัันแผ่่ขยายอำนาจเข้้ามาในดิินแดนภาคอีีสาน3 นอกจากพบหลัักฐานศิิลาจารึึกแล้้วยัังพบประติิมากรรม เนื่่�องในศาสนาฮิินดููลััทธิิไศวนิิกาย เช่่น อรรธนารีีศวร


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 187 เป็็นภาคของพระอิิศวรและพระอุุมารวมเป็็นองค์์เดีียวกััน ซีีกขวาเป็็นบุุรุุษคืือพระศิิวะซีีกซ้้ายเป็็นสตรีีคืือพระอุุมา อายุรุาวพุุทธศตวรรษที่่� ๑๓ มีีความหมายเชิิงสััญลัักษณ์์ถึึง ความอุดุมสมบููรณ์์และการก่่อกำเนิดินัับเป็็นประติิมากรรม ที่มีี่� ความงดงามและมีีอายุุมากที่สุ ่� ดชิุ้้�นหนึ่่�งของเอเชีียตะวััน ออกเฉีียงใต้้ ในช่่วงปลายพุุทธศตวรรษที่่� ๑๔ พระเจ้้าชััยวรมัันที่่� ๒ (ครองราชย์์ พ.ศ.๑๓๔๕-๑๓๙๓) ทรงรวบรวมอาณาจัักร เจนละบกและเจนละน้้ำเข้้าด้วย้กััน พุุทธศตวรรษที่่� ๑๕ ภาย หลัังการขึ้้�นครองราชย์์ของพระเจ้้าสุริุิยวรมัันที่่� ๑ (ครองราชย์์ พ.ศ.๑๕๔๕-๑๕๙๓) อิิทธิิพลของเขมรโบราณแพร่่กระจาย เข้้ามายัังภาคอีีสานเป็็นจำนวนมาก ราวพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ สมััยพระเจ้้าชััยวรมัันที่่� ๗ (ครองราชย์์ พ.ศ.๑๗๒๔-๑๗๖๒) พุุทธศาสนานิิกายมหายานเข้้ามามีีอิิทธิิพลในภููมิภิาคนี้้�แทน ศาสนาฮิินดูู ตััวอย่่างหลัักฐานจากจารึึกในพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ หลายหลััก ใช้้ตััวอัักษรขอมโบราณ ภาษาสัันสกฤต เช่่น จารึึกกู่่คัันธนาม จารึึกกู่่โพนระฆััง จารึึกด่่านประคำ จารึึก เมืืองพิิมาย เนื้้�อความ กล่่าวนมััสการและสรรเสริิญพระเจ้้า ศรีีชััยวรมัันและพระนางเทวีีผู้้�เป็็นมเหสีี ไว้้ว่่า “เพื่่�อประกาศ ยุุคอัันประเสริิฐ...พระองค์์ได้้สร้้างโรงพยาบาลและรููปพระ โพธิิสััตว์์ไภสััชยสุุคตพร้้อมด้้วยรููปพระชิิโนรสทั้้�งสองโดย รอบ...พร้้อมด้วย้วิิหารของพระคุรุุ” อโรคยาศาลาที่พร ่� ะเจ้้า ชััยวรมัันที่่� ๗ โปรดให้้สร้้างทั่่�วราชอาณาจัักรมีีการก่่อสร้้าง วิิหาร “สุุคตาลััย”เพื่่�อประดิิษฐานรููปพระโพธิิสััตว์์แห่่งการ รัักษาโรค (ไภษััชยุุคตหรืือพระไภษััชยคุรุุไวฑููรยประภา) และ 1 ธาดา สุุทธิิธรรม, มรดกสถาปััตยกรรมและผัังเมืืองอีีสาน (กรุุงเทพฯ: โรงพิิมพ์์ชุุมชนสหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย, ๒๕๖๒), หน้้า ๗๐. 2 ธาดา สุุทธิิธรรม, ผัังเมืืองในประเทศไทย: ผัังชุุมชนและการใช้ที่้ดิ ่� ินสายอารยธรรมเขมร ในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ, ขอนแก่่น: พิิมพ์วั์ ัฒนา, 2544. พระวััชรธร (ถืือวััชระ) เช่่น ที่กู่่สั� ันตรัตน์ั ์ อำเภอนาดููน จัังหวัดั มหาสารคาม1 หลัังจากที่ ่� พระเจ้้าชััยวรมัันที่่� ๗ สวรรคต อิิทธิิพลของอาณาจัักรเขมรโบราณค่่อย ๆ เสื่่�อมอำนาจลง นัับแต่ช่่ ่วงกลางพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ ร่่องรอยทางวััฒนธรรมของอาณาจัักรเขมรโบราณ ที่ ่� พบในภาคอีีสาน ได้้แก่่ รููปแบบการสร้้างเมืืองที่ ่�มีีรููปร่่าง สม่่ำเสมอเป็็นรููปสี่่�เหลี่่�ยมจััตุุรััส หรืือสี่่�เหลี่่�ยมผืืนผ้้าและมีี คููน้้ำล้้อมรอบชั้้�นเดีียวลัักษณะของการวางผัังเมืืองจะจัดตั้้�ง ชุุมชนเชิิงภูเขา โูดยชุุมชนหัันหลัังพิิงเขาและหัันหน้้าสู่่พื้้�นราบ เช่่น เมืืองหนองหานหลวง (เมืืองสกลนคร) เมืืองต่่ำ (บ้้านโคก เมืือง อำเภอประโคนชััย จัังหวัดบุั รีีรัุัมย์์) มีีการสร้้างปราสาท ศาสนสถานที่่�สร้้างขึ้้�นสืืบเนื่่�องกัับการนัับถืือศาสนาฮิินดููและ ศาสนาพุุทธมหายาน ศาสนสถานในวััฒนธรรมเขมรที่่�สร้้าง ขึ้้�นเนื่่�องในศาสนาพุุทธมหายานที่่�ใหญ่ที่่สุ ่� ดุในภาคอีีสาน คืือ ปราสาทหิินพิิมาย ศาสนสถานในวััฒนธรรมเขมรที่่�สร้้างขึ้้�น เนื่่�องในศาสนาฮิินดูู อาทิิ ปราสาทหิินพนมรุ้้�ง ปราสาทเมืือง ต่่ำ ปราสาทศรีีขรภููมิิ นอกจากนี้้� ยัังพบธรรมเนีียมประเพณีี การสร้้างผัังชุุมชนที่่�สำคััญ ๓ ประการ ได้แ้ก่่ การประดิิษฐาน ศิิวลึึงค์์เทวรููป เทวบรรพต เพื่่�อความเจริิญรุ่่งเรืืองของบ้้าน เมืืองของสายสกุุลของเจ้้าเมืือง และเพื่่�อเป็็นที่่�เคารพของ ประชาชน การกััลปนา หมายถึึง การบริิจาคที่ดิ ่� ิน ทาส สัตว์ั ์ ทรััพย์์สิินสิ่่�งของ เพื่่�อเป็็นของถวายแด่่รููปเคารพในศาสน สถาน และการสร้้างสระและระบบชลประทาน ที่่�เรีียกว่่า “บาราย” ไว้้ใช้้ในชุุมชนและเพื่่�อพิิธีีกรรมทางศาสนา เช่่น บริิเวณรอบ ๆ เขาพนมรุ้้�ง 2


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 188 ภาพที่่� ๗ แผนที่่�แสดงตำแหน่่งชุุมชนสำคััญในสายอารยธรรมเขมรใน ภาคอีีสาน ที่่�มา: ธาดา สุทุธิิธรรม, ผัังเมืืองในประเทศไทย: ผัังชุุมชนและการใช้้ ที่่�ดิินสายอารยธรรมเขมรในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ (ขอนแก่่น: พิิมพ์์ พััฒนา, ๒๕๔๔), หน้้า ๒๘๒. ภาพที่่� ๘ อรรธนารีีศวรประทัับนั่่�ง ณ พิิพิิธภััณฑสถานแห่่งชาติิ อุุบลราชธานีีจัังหวััดอุุบลราชธานีี ที่่�มา: ถ่่ายเมื่ ่� อ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ! อีีสานสมััยล้้านช้้างและอยุุธยา ภายหลัังจากการสิ้้�นสุุดอำนาจของเขมรโบราณใน ช่่วงปลายพุุทธศตวรรษที่่� ๑๘ เป็็นต้้นมา ส่่งผลให้้เกิิดการ เปลี่่�ยนแปลงในอีีสานที่่�สำคััญ ๒ ประการ ประการแรก ชุุมชนเมืืองของอีีสานได้ล้ดขนาดและความสำคััญลงกลาย สภาพเป็็นชุุมชนขนาดเล็็ก ประการที่่�สอง การเกิดศููินย์์กลาง การปกครองใหม่่ คืือ อาณาจัักรสุุโขทััย อาณาจัักรอยุุธยา อาณาจัักรล้้านนา และอาณาจัักรล้้านช้้าง นัับตั้้�งแต่่ช่่วง พุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ อาณาจัักรล้้านช้้างและอาณาจัักร อยุุธยาได้้เข้้ามามีีอิิทธิิพลทางการปกครองในพื้้�นที่ ่�อีีสาน กล่่าวคืือ เมืืองในแอ่่งสกลนครอยู่่ภายใต้้การปกครองของ อาณาจัักรล้้านช้้าง ส่่วนเมืืองในแอ่่งโคราช อยู่่ภายใต้้การ ปกครองของอาณาจัักรอยุุธยาแต่่การควบคุุมที่่�แท้้จริิงของ อยุุธยามาถึึงเพีียงกลุ่่มเมืืองในลุ่่มน้้ำมููลตอนบน ทั้้�งนี้้� การ เข้้ามาของศููนย์์กลางอำนาจใหม่่โดยเฉพาะอาณาจัักรล้้าน ช้้างส่่งผลต่่อการเปลี่่�ยนแปลงทางสัังคมและวััฒนธรรมของ อีีสานเป็็นอย่่างมาก อีีสานในช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๒๐ – ๒๓ เห็็นถึึง ความสััมพัันธ์์ระหว่่างอาณาจัักรอยุุธยากัับอาณาจัักร ล้้านช้้าง ความสััมพัันธ์์ระหว่่างอาณาจัักรล้้านช้้างกัับเมืือง ในแอ่่งสกลนคร และความสััมพัันธ์์ระหว่่างอาณาจัักร อยุุธยากัับเมืืองในลุ่่มน้้ำมููลตอนบน แอ่่งโคราช ในช่่วง เวลานี้้�จะเห็็นถึึงอิิทธิิพลของศููนย์์กลางทางการเมืืองการ ปกครองในพื้้�นที่ ่�อีีสานที่่�แตกต่่างกััน และช่่วยอธิิบายได้้ ว่่า เพราะเหตุุใดอิิทธิิพลทางการเมืืองของอาณาจัักรล้้าน ช้้างจึึงมีีเหนืือเมืืองในแอ่่งสกลนคร ขณะที่ ่� อิิทธิิพลทางการ เมืืองการปกครองของอยุธุยาเข้้ามาถึึงเฉพาะพื้้�นที่ลุ่่� มน้้ำมููล ตอนบนเท่่านั้้�น ๑) ความสััมพัันธ์์ระหว่่างอาณาจัักรอยุุธยากัับ อาณาจัักรล้้านช้้าง จากเอกสารพงศาวดารเมืืองล้้านช้้าง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 189 และพื้้�นขุุนบรมราชาธิิราชสะท้้อนความเชื่่�อของหลวงพระ บางว่่า กลุ่่มราชวงศ์ล้้์านช้้างเป็็นเครืือญาติิกัับเชื้้�อพระวงศ์์ อยุธุยา เห็็นได้จากกา้รกล่่าวโยงความสััมพัันธ์ร์ะหว่่างสอง อาณาจัักรที่มีี่� มาตั้้�งแต่่สมััยขุุนบรมในเหตุุการณ์์การกำหนด เขตแดนระหว่่างพระเจ้้าฟ้้างุ้้�มแห่่งล้้านช้้างกัับสมเด็็จพระ รามาธิิบดีีที่่� ๑ (อู่่ทอง) โดยกำหนดให้้อาณาเขตของอยุธุยา สิ้้�นสุดทีุ่่�เทืือกเขาเพชรบููรณ์์และเทืือกเขาดงพญาเย็็น ถัดัจาก นั้้�นเป็็นดิินแดนที่่�อยู่่ภายใต้้การปกครองของพระเจ้้าฟ้้างุ้้�ม ต่่อ มาได้้มีีทำสััญญาพัันธมิิตรระหว่่างพระเจ้้าไชยเชษฐาธิิราช กัับสมเด็็จพระมหาจัักรพรรดิิ พ.ศ.๒๑๐๓ และสร้้างพระธาตุุ ศรีีสองรัักที่่�อำเภอด่่านซ้าย ้จัังหวัดัเลยเพื่่�อเป็็นสัักขีีพยานใน การเป็็นมิตริ ไมตรีีต่่อกััน1 ความสััมพัันธ์อีี์กด้านของสองอา้ณาจัักร คืือ ความ สััมพัันธ์์ทางด้้านเศรษฐกิิจ เนื่่�องด้้วยที่ ่�ตั้้�งของอาณาจัักร ล้้านช้้างไม่่มีีทางออกสู่่ทะเล ต้้องอาศััยเมืืองท่่าอื่่�นในการ ทำการติิดต่่อค้้าขาย เมืืองท่่าที่่�สำคััญคืือเมืืองท่่าที่่�อยุุธยา ขณะเดีียวกัันอยุุธยาก็็พยายามขยายอิิทธิิพลทางการเมืือง และเศรษฐกิิจไปยัังบริิเวณภายในของภาคพื้้�นทวีีปเอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้ซึ่่�งรวมล้้านช้้างด้วยเ้พื่่�อจะได้ของ้ ป่่าและ แร่่ธาตุุบางชนิิดซึ่่�งเป็็นที่ ่�ต้้องการของตลาดที่ ่� อิินเดีียและ ตะวัันออกกลาง2 การเปลี่่�ยนแปลงทางการเมืืองของอาณาจัักรล้้าน ช้้างมีีส่่วนสััมพัันธ์์กัับการขยายตััวทางการค้้าเกิิดขึ้้�นในช่่วง พุุทธศตวรรษ ๒๒ กล่่าวคืือ พระเจ้้าไชยเชษฐาธิิราชย้้าย ราชธานีีจากหลวงพระบางไปที่่�เวีียงจัันทน์์ใน พ.ศ.๒๑๐๓ 1 ไพฑููรย์์ มีีกุุศล, “ศรีีสองรััก,พระธาตุุ : ประวััติิ,” ใน สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ภาคอีีสาน เล่่ม ๑๒, กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรม ไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๔๒๓๑ – ๔๒๓๒. 2 โยชิิยููกิิ มาซููฮารา, ประวััติิศาสตร์์เศรษฐกิิจของราชอาณาจัักรลาวล้้านช้้าง ในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗, กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๖ หน้้า ๙๖ – ๙๗.3 โยชิิยููกิิ มาซููฮารา, ประวััติิศาสตร์์เศรษฐกิิจของราชอาณาจัักรลาวล้้านช้้าง ในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗, กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๖ หน้้า ๙๐. เพื่่�อสามารถติิดต่่อกัับภููมิิภาคอื่่�นได้้สะดวก เครืือข่่ายทาง เศรษฐกิิจของอาณาจัักรล้้านช้้างขยายออกไปสู่่ทิิศตะวััน ออกเฉีียงใต้้จนถึึงเมืืองพระธาตุพุนม กลุ่่มเมืืองในอีีสานที่ ่� อาณาจัักรล้้านช้้างใช้้เป็็นเครืือข่่ายทางการค้้ากัับอาณาจัักร อยุธุยาหรืือลุ่่มแม่น้้ ่ ำเจ้้าพระยาตอนล่่าง คืือ เมืืองปากลาย เมืืองด่่านซ้าย และเ้ มืืองหนองหานน้้อย โดยจะติิดต่่อผ่่าน พิิษณุุโลก เพชรบููรณ์์ และโคราช ตามลำดัับ3 ดัังนั้้�น ความสััมพัันธ์ที่์ ่�เกิดขึ้ิ ้�นระหว่่างสองอาณาจัักร จึึงอยู่่บนพื้้�นฐานความสััมพัันธ์์ทางด้้านการเมืืองที่่�สะท้้อน จากการทำสััญญาไมตรีีกัันระหว่่างกษัตริัย์ิ์อยุธุยากัับกษัตริัย์ิ์ ล้้านช้้าง และความสััมพัันธ์์ทางด้้านเศรษฐกิิจที่ ่� ต่่างเอื้้�อ ประโยชน์์ทางการค้้าต่่อกััน ทำให้้มีีการขยายอำนาจของ ล้้านช้้างมายัังกลุ่่มเมืืองในแอ่่งสกลนครเพิ่่�มขึ้้�น ๒) ความสััมพัันธ์์ระหว่่างอาณาจัักรอยุุธยากัับ เมืืองในลุ่่มน้้ำมููลตอนบนแอ่่งโคราช การขยายอิิทธิิพล ทางการเมืืองของศููนย์์กลางการปกครองในลุ่่มน้้ำเจ้้าพระยา ในพื้้�นที่ ่�อีีสานปรากฏชััดเจนในช่่วงอาณาจัักรอยุุธยาซึ่่�ง อิิทธิิพลทางการเมืืองอยุธุยามีีอย่่างจำกัดัเฉพาะเมืืองในลุ่่ม น้้ำมููลตอนบน แอ่่งโคราช ตามที่มีี่� หลัักฐานกล่่าวไว้้ดัังนี้้� สมััยสมเด็็จพระบรมราชาธิิราชที่่� ๒ (เจ้้าสามพระยา) แห่่งอยุุธยา ทรงยกทััพไปตีีเมืืองพิิมาย เมืืองพนมรุ้้�ง เนื่่�องจากทราบว่่าหััวเมืืองทางทิิศตะวัันออกยัังคงฝัักใฝ่่ อาณาจัักรเขมร แต่่ไม่่ได้้มีีการสู้้�รบ เจ้้าเมืืองทั้้�งสองยอม ถวายบัังคม ต่่อมาในสมััยสมเด็็จพระบรมไตรโลกนาถให้้ ความสำคััญกัับเมืืองโคราช (เมืืองนครราชสีีมาเดิิม ตั้้�งอยู่่


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 190 บริิเวณอำเภอสููงเนิิน จัังหวัดันครราชสีีมาในปััจจุบัุ ัน) จาก หลัักฐานพระไอยการตำแหน่่งนายทหารและพลเรืือน ซึ่่�ง สมเด็็จพระบรมไตรโลกนาถทรงประกาศใช้้เมื่่�อ พ.ศ. ๑๙๙๘ จััดให้้เมืืองนครราชสีีมามีีฐานะเป็็นหััวเมืืองโท เจ้้าเมืืองมีี บรรดาศัักดิ์์�เป็็นออกญากำแหงสงครามรามภัักดีีพิรีีิยภาหะ ศัักดิินา ๑,๐๐๐ เมืืองนครราชสีีมามีีความสำคััญต่่ออาณาจัักร อยุธุยาเนื่่�องจากเป็็นหััวเมืืองชายแดนที่่�สำคััญทางด้าน้ตะวััน ออกของอาณาจัักร1 การขยายอิิทธิิพลทางการเมืืองของ อยุธุยานัับตั้้�งแต่่สมััยพระบรมไตรโลกนาถในพื้้�นที่อีี่� สานส่่ง ผลต่่อการเปลี่่�ยนแปลงของศููนย์์กลางทางการเมืืองในกลุ่่ม เมืืองลุ่่มน้้ำมููลตอนบน กล่่าวคืือเมืืองโคราชกลายเป็็นเมืือง สำคััญแทนเมืืองพิิมาย ซึ่่�งเคยมีีความสำคััญในฐานะเมืือง หลัักของภููมิภิาคช่่วงวััฒนธรรมเขมรโบราณ2 สมเด็็จพระนารายณ์์มหาราชทรงมีีนโยบายเสริิม สร้้างหััวเมืืองสำคััญ ๆ ทางชายแดนหลายเมืือง ให้้มีีป้้อม ค่่ายและคููเมืืองที่ ่�มั่่�นคงในการที่่�จะใช้้ป้้องกัันรัักษาพระราช อาณาเขตได้้ส่่วนหััวเมืืองตะวัันออกของอาณาจัักร ทรงให้้ ย้้ายเมืืองโคราชจากเดิิมที่ตั้้่� �งที่่�อำเภอสููงเนิินมาสร้้างเป็็นเมืือง ขึ้้�นใหม่่ ให้้มีีป้้อมปราการและคููเมืืองล้้อมรอบ และโปรดฯ ให้้พระยายมราช (สัังข์์) หนึ่่�งในผู้ร่้�่วมต่่อสู้้�แย่่งชิิงราชบััลลัังก์์ 1 พวงไข่มุุ่กข์์ คุุณรััตนพฤกษ์์, ความสำคััญของเมืืองนครราชสีีมาในรััชสมััยพระบาทสมเด็จพร็ะจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว (พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญาอัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต แผนกวิิชาประวััติิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๑ หน้้า ๓๗-๓๘.2 ธาดา สุุทธิิธรรม แบ่่งศัักดิ์์�ของเมืืองของกลุ่่มเมืืองที่่�ได้้รัับอิิทธิิพลจากอารยธรรมเขมรตามความสำคััญของเมืือง ขนาดของเมืือง เมืืองพิิมายและ สกลนคร เป็็นเมืืองระดัับภููมิิภาคของสายอารธรรมเขมรโบราณ ธาดา สุุทธิิธรรม, ผัังเมืืองในประเทศไทย: ผัังชุุมชนและการใช้้ที่ ่� ดิินสายอารธรรม เขมรในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ, ขอนแก่่น: พิิมพ์์วััฒนา, ๒๕๔๔ 3 พระยาเพ็ชร์็ ป์าณีี, จดหมายเหตุุเรื่่�องมณฑลนครราชสีีมา พ.ศ. ๒๔๖๗ อ้้างถึึงใน พวงไข่มุุ่กข์์ คุุณรััตนพฤกษ์์, ความสำคััญของเมืืองนครราชสีีมา ในรััชสมััยพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว (พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓), หน้้า ๒๙ - ๓๑. 4 เมืืองต่่างๆ เหล่่านี้้�น่่าจะอยู่่ในเขตจัังหวััดสุุริินทร์์ บุุรีีรััมย์์ และศรีีสะเกษ เมืืองสะพัังสี่่�แจ อยู่่ในเขตอำเภอสุุวรรณภููมิิ จัังหวััดร้้อยเอ็็ด ดููเพิ่่�มเติิม ใน สีีลา วีีระวงส์์,ประวััติิศาสตร์์ลาว, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓, กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๐ หน้้า ๕๐- ๔๑ ; สุุทิิน สนองผััน, ผลกระทบของการเปลี่่�ยนแปลง อำนาจทางการเมืืองในอีีสานตั้้งแต่สมั่ ัยสุุโขทััยจนถึึงสมััยรััตนโกสิินทร์์ตอนต้้น (พ.ศ. ๑๗๙๒-๒๓๙๔), วิิทยานิิพนธ์ปริ์ ิญญาการศึึกษามหาบััณฑิิต บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประสานมิิตร, ๒๕๓๓ หน้้า ๔๖. ของพระองค์์ไปเป็็นผู้้�ปกครองเมืืองนครราชสีีมา ในสมััยนั้้�น เมืืองนครราชสีีมามีีเมืืองขึ้้�น ๕ เมืือง ได้แ้ก่่ เมืืองชััยภููมิิ เมืือง บุรีีรัุัมย์์ เมืืองนครจัันทึึก เมืืองพิิมาย เมืืองนางรอง3 ๓) ความสัมพัันธ์ร์ะหว่่างอาณาจัักรล้้านช้้างกับั เมืืองในแอ่่งสกลนคร หลัักฐานที่่�ใช้้ยืืนยัันถึึงอิิทธิิพลของ ล้้านช้้างในพื้้�นที่่�แอ่่งสกลนครที่่�สำคััญ มีี ๒ ประเภท คืือ กลุ่่มงานพงศาวดารและศิิลาจารึึก ซึ่่�งข้้อมููลจากเอกสารทั้้�ง ๒ กลุ่่มนี้้�ให้้ภาพการเคลื่่�อนย้้ายของคนลาวเข้้ามายัังเมืือง ในแอ่่งสกลนครอย่่างต่่อเนื่่�อง และแสดงให้้เห็็นถึึงความ สำคััญของแอ่่งสกลนครต่่อพััฒนาการทางประวััติิศาสตร์์ของ ล้้านช้้าง รวมถึึงการแสดงความสััมพัันธ์์ทางวััฒนธรรมที่่�เมืือง ในแอ่่งสกลนครได้้รัับจากอาณาจัักรล้้านช้้าง ประวััติิศาสตร์์ลาวของสีีลา วีีระวงส์์ กล่่าวไว้้ว่่าภาย หลัังที่พร ่� ะเจ้้าฟ้้างุ้้�มขึ้้�นครองราชย์ที่์ ่�นครเชีียงทอง(หลวงพระ บาง)แล้้ว ยกทัพัมาตีีกลุ่่มเมืืองในหััวเมืืองอีีสานตั้้�งแต่่เมืือง หนองหานไปจนถึึงเมืืองร้้อยเอ็ด็รวมถึึงเมืืองเล็็กเมืืองน้้อย อีีกหลายเมืือง คืือ ตีีเมืืองพระศาสตร์์ เมืืองพระสะเขีียน เมืือง พระลิิง เมืืองพระนารายณ์์ เมืืองพระนาเทีียน เมืืองเซขะมาด เมืืองสะพัังสี่่�แจ เมืืองโพนผิิงแดด4


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 191 จากนั้้�นมีีพระราชสาส์์นไปถึึงพระรามาธิิบดีีอู่่ทอง ว่่า “จัักรบหรืือบ่่รู้้�ว่่าสิ่่�งใดนั้้�นจา” พระรามาธิิบดีีอู่่ทองตอบ พระราชสาส์์นกลัับว่่า “เราหากเป็็นพี่ ่�น้้องกัันมาแต่่สมััยขุุน ปางก่่อนโน้้น เจ้้าอยากได้้บ้้านได้้เมืือง ให้้เอาแต่่เขตแดน ดงสามเส้้า (ดงพระยาไฟ) ไปจนถึึงภููพระยาพ่่อ และแดน เมืืองนครไทยเถิิด อนึ่่�ง ข้้อยจัักส่่งน้้ำอ้้อย น้้ำตาลทุุกปีี อนึ่่�งลููกสาวข้้าชื่่�อนางแก้้วยอดฟ้้า เมื่่�อเติิบใหญ่่ขึ้้�นแล้้วจััก ส่่งไปให้้ปััดเสื่่�อปููหมอนแก่่เจ้้าฟ้้าแล” ภายหลัังจากยึึดดิิน แดนอีีสานส่่วนเหนืือ ชาวลาวกลุ่่มใหญ่่อพยพเข้้ามาตั้้�ง ถิ่่�นฐานในเขตเมืืองหนองหานน้้อย หนองหานหลวง ภูวานู ปาว และเมืืองร้้อยเอ็ด็ และบางส่่วนเข้้ามาปกครองเมืืองที่ ่� ได้้ยึึดได้้จากเขมร 1 จากหลัักฐานของฝ่่ายลาวแสดงให้้เห็็น ว่่าอิิทธิิพลทางการเมืืองของล้้านช้้างแผ่่ขยายเข้้ามาในดิิน แดนอีีสานตั้้�งแต่่สมััยพระเจ้้าฟ้้างุ้้�ม ภายหลัังที่พร ่� ะเจ้้าไชยเชษฐาธิิราชย้้ายราชธานีีจาก หลวงพระบางไปที่่�เวีียงจัันทน์์ ตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๑๐๓ ทำให้้ กลุ่่มเมืืองในเขตลุ่่มน้้ำโขงตอนกลางทั้้�งฝั่่�งซ้้ายและฝั่่�งขวา ได้้รัับการเอาใจใส่่จากราชสำนัักล้้านช้้างเพื่่�อให้้เป็็นแบบ อย่่างและเพื่่�อความมั่่�นคงของราชธานีี การย้้ายราชธานีีจาก หลวงพระบางมาที่่�เวีียงจัันทน์์ของ ล้้านช้้างนอกจากเหตุุผล ทางการเมืืองแล้้วยัังมีีเหตุุผลทางด้้านเศรษฐกิิจอีีกด้้วย เมืืองในแอ่่งสกลนครสมััยล้้านช้้างเป็็นแหล่่งผลิิต และแหล่่งรวบรวมสิินค้้าที่่�สำคััญ โดยเฉพาะบริิเวณริิมฝั่่�ง แม่่น้้ำโขงแถบเวีียงจัันทน์์-เวีียงคุุก และธาตุุพนม การย้้าย เมืืองหลวงของอาณาจัักรล้้านช้้างมาที่่�เวีียงจัันทน์์ พ.ศ. 1 ภููวานปาว อยู่่ในเขตจัังหวััดกาฬสิินธุ์์ดููเพิ่่�มเติิมใน สีีลา วีีระวงศ์์ , ประวััติิศาสตร์์ลาว, หน้้า ๕๐. 2 โยชิิยููกิิ มาซููฮารา, ประวััติิศาสตร์์เศรษฐกิิจของราชอาณาจัักรลาวล้้านช้้าง ในคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๗, กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๖ อ้้างถึึง ใน ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖, หน้้า ๔๖ – ๔๗. ๒๑๐๓ มีีความหมายถึึงการเข้้าควบคุุมแหล่่งทรัพัยากรและ ชุุมชนทางการค้้าที่่�สำคััญ2 และเมืืองที่ ่�มีีความคึึกคัักมาก และถืือเป็็นชุุมทางการค้้าและการติิดต่่อของผู้้�คนในแถบ ลุ่่มน้้ำโขงและภููมิิภาคใกล้้เคีียง ได้้แก่่ เมืืองเวีียงคุุก เมืือง ละคร เมืืองธาตุุพนม เป็็นต้้น ส่่วนข้้อมููลศิิลาจารึึก เป็็นหลัักฐานที่ ่� ช่่วยยืืนยัันถึึง อิิทธิิพลทางการเมืืองการปกครองของล้้านช้้างต่่อเมืืองใน แอ่่งสกลนคร เนื่่�องจากศิิลาจารึึกเป็็นสััญลัักษณ์์สำคััญที่ ่� แสดงถึึงอำนาจการปกครองของศููนย์์กลางอำนาจหนึ่่�งที่ ่� มีีต่่ออีีกพื้้�นที่่�หนึ่่�ง พบศิิลาจารึึกในแอ่่งสกลนครอย่่างหนา แน่่นในช่่วงพุุทธศตวรรษที่่� ๒๑ - ๒๒ ภายหลัังที่ ่� อิิทธิิพลของอาณาจัักรอยุุธยาเข้้ามาใน แอ่่งโคราช ทำให้้รููปแบบการปกครองของกลุ่่มเมืืองในลุ่่ม น้้ำมููลตอนบน แอ่่งโคราชแตกต่่างจากรููปแบบการปกครอง ของกลุ่่มเมืืองในแอ่่งสกลนคร กล่่าวคืือ ในส่่วนแรกรัับ อิิทธิิพลทางการเมืืองการปกครองจากอยุธุยา ส่่วนกลุ่่มหลััง รัับอิิทธิิพลทางการเมืืองการปกครอง รวมถึึงวััฒนธรรมด้าน้ ต่่างๆ จากล้้านช้้างด้้านต่่าง ๆ ที่่�สำคััญ ได้้แก่่ ระบบการ ปกครองแบบอาญาสี่่� กฎหมายโบราณ คองสิิบสี่่� และการ รัับพุุทธศาสนาจากล้้านช้้าง ระบบการปกครองแบบอาญาสี่่� แบ่่งลำดัับการ ปกครองได้้ดัังนี้้� (๑) คณะอาญาสี่่� หรืือ อาชญาสี่ ่� ถืือเป็็นตำแหน่่ง สููงสุุดของเมืือง ประกอบด้้วยเจ้้าเมืือง อุุปราช ราชวงศ์์ ราชบุุตร เป็็นผู้้�บัังคัับบััญชาสููงสุุดของเมืือง


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 192 เจ้้าเมืือง มีีอำนาจเด็็ดขาดในการบริิหารหรืือสั่่�ง การทั้้�งปวง เป็็นผู้้�บัังคัับบััญชาของพวกอาญาสี่่� และกรม การเมืือง รวมถึึงข้้าราชการในเขตปกครอง แต่่เจ้้าเมืือง ไม่่มีีอำนาจสิิทธิิขาดบางอย่่าง เช่่น ในเรื่่�องการตััดสิินโทษ ประหารชีีวิิตแก่่นัักโทษ หรืือการประกาศสงคราม หรืือการ ถอดถอนคณะกรมการเมืืองผู้้�ใหญ่่ตั้้�งแต่่ตำแหน่่งอุุปฮาด ราชวงศ์์ ราชบุตรุ ไม่่สามารถถอดถอนได้เอง ้ขึ้้�นอยู่่กัับเมืือง ใหญ่ที่่ต ่� นสัังกัดั หรืือ พระมหากษัตริัย์ิ์จะทรงโปรดเกล้้าฯ มีี พระบรมราชโองการจึึงจะปฏิิบััติิได้้ อุปรุ าช (อุปุ ฮาด) ปฏิบัิัติิราชการแทนเจ้้าเมืืองตาม ที่่�มอบหมายและเวลาไม่่อยู่่ ป่่วย หรืือตาย เป็็นที่่�ปรึึกษา ของเจ้้าเมืือง เป็็นผู้้�รวบรวมบััญชีีส่่วยสาอากร ควบคุุม และวางระเบีียบให้้ใช้้สิ่่�งของแทนเงิินภาษีีได้้ภาษีีอากรที่ ่� เก็็บนั้้�นแบ่่งส่่งไปยัังกรุุงเทพฯ ปีีละครั้้�งหรืือ ๒ ครั้้�งต่่อปีี รวมถึึงมีีอำนาจเกณฑ์์ราษฎรไปราชการสงครามตามคำสั่่�ง ของรััฐบาล ราชวงศ์ เ์ ป็็นผู้้�แทนอุุปฮาด โดยปกติิทำหน้้าที่่�เกี่่�ยว กัับอรรถคดีีตััดสิินถ้้อยชำระความ ราชบุุตร มีีหน้้าที่ ่� ช่่วยราชการเมืืองตามที่่�ได้้รัับคำ สั่่�งมอบหมาย และปฏิิบััติิในด้้านศาสนา การถนนหนทาง การไร่่นาเรืือกสวน การเก็็บภาษีีอากรต่่างๆ ต้้องผ่่าน ราชบุุตร (๒) ผู้้ช่่วยอาญาสี่่� มีี๔ ตำแหน่่ง ได้้แก่่ ท้้าวสุุริิยะ ท้้าวสุุริิโย ท้้าวโพธิิสาร ท้้าวสุุทธิิสาร เป็็นวงศ์์ญาติิ หรืือ ลููกหลานของกรมการเมืืองทั้้�งสี่่� มีีหน้้าที่ ่� พิิจารณาอรรถคดีี พิพิากษาแห่่งศาลเมืืองชั้้�นสููง และการปกครองแผนกต่่างๆ ของเมืือง 1 ระบบการปกครองตามธรรมเนีียมการปกครองของล้้านช้้าง ดููเพิ่่�มเติิมที่่� เติิม วิิภาคย์์พจนกิิจ, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๓๐๑-๓๐๘. (๓) ขื่่�อบ้้านขางเมืือง ตำแหน่่งขื่่�อของเมืือง มีี ๒ ตำแหน่่ง คืือ เมืืองแสน (คล้้ายฝ่่ายกลาโหม) และ เมืืองจัันทน์์(คล้้ายมหาดไทย) มีีหน้้าที่ ่� ออกหนัังสืืออนุุญาตให้้ราษฎรที่่�จะเดิินทางไปต่่าง เมืือง ตัดสิั ินคดีีความ ทำใบบอกแจ้้งกิิจการภายในเมืืองให้้ เมืืองหลวงทราบ จััดเก็็บบััญชีีและรัักษาอาวุุธยุุทโธปกรณ์์ ของเมืือง บัังคัับบััญชาท้้าวฝ่่าย ตาแสง กำนััน จ่่าบ้้าน และ เกณฑ์์ราษฎรเพื่่�อรัับรองข้้าหลวงด้วย้ ตำแหน่่งขางเมืืองรองจากขื่่�อบ้้าน ได้แ้ก่่ เมืืองขวา เมืืองซ้าย เ้ มืืองกลาง เมืืองคุุก เมืืองฮาม เมืืองแพน นาเหนืือ นาใต้้ซาเนตร ซานนท์์ ซาบัณฑิัติ กรมเมืือง สุุโพ (๔) ตำแหน่่งพิิเศษ เช่่น ซาโนชิติซาภููธร ราชต่่าง ใจ คำมุุงคุณุซาบรรทม ซาตีีนแท่่นแล่่นตีีนเมืือง ซาหลาบคำ ซามณเฑีียร ซาบุฮุม ซามาตย์์อาชาไนย แขกขวา แขกซ้าย ศ้ รีี สุธรรุม ศรีีบุุญเฮืือง (๕) ตำแหน่่งระดับท้ั ้องถิ่่�น มีี๔ ตำแหน่่ง ได้แ้ก่่ ท้้าวฝ่่าย เทีียบ นายอำเภอ ตาแสง หรืือนายแขวง เทีียบ กำนััน รัับรายงานเรื่่�องโจรผู้ร้้้�าย รายงานเรื่่�องผลประโยชน์์ ของบ้้านเมืือง รายงานน้้ำฝนต้้นข้้าว พืืชพรรณธััญญาหาร โรคระบาดต่่างๆ จากกวนบ้้าน จ่่าบ้้าน แล้้วรายงานต่่อเมืือง แสนเมืืองจัันทน์์กวนบ้้าน หรืือนายบ้้าน เทีียบ ผู้้�ใหญ่บ้้ ่าน ผู้้�ปกครองหมู่่บ้้าน คอยดููแลลููกบ้้านในหมู่่บ้้าน และจ่่าบ้้าน เทีียบสารวััตรกำนัันหรืือผู้้�ช่่วยผู้้�ใหญ่่บ้้าน คอยระวัังโจร ผู้ร้้้�าย ระวัังเรื่่�องวััวควาย ประกาศให้้ราษฎรออกมาเสีียส่่วย เมื่่�อกรมการในเมืืองมาจัดัเก็็บส่่วย คอยตัดสิั ินข้้อพิพิาทใน หมู่่บ้้าน ดููแลเรื่่�องงานบุุญหรืือพิิธีีกรรมต่่างๆ โดยปรึึกษา หััวหน้้าคุ้้�มในหมู่่บ้้าน เช่่น บุุญบั้้�งไฟ บุุญข้้าวจี่่� บุุญผะเหวด พิธีีิบวงสรวงผีีปู่่ตา1


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 193 กลุ่่มเมืืองในแอ่่งสกลนครเป็็นเมืืองที่ขึ้ ่� ้�นตรงกัับเมืือง หลวงที่่�เวีียงจัันทน์์ ดัังนั้้�น การเรีียกตำแหน่่งบางตำแหน่่ง อาจจะแตกต่่างจากราชธานีี เช่่น ตำแหน่่งลำดัับที่่�สาม คืือ ตำแหน่่งขื่่�อบ้้านขางเมืือง ใช้้ “เพีย”นำห ี น้้าตำแหน่่ง และบาง เมืืองจะไม่มีีต่ ำแหน่่งลำดัับที่สี่ ่� ่� คืือ ตำแหน่่งพิิเศษ ธรรมเนีียม การปกครองแบบล้้านช้้างใช้้ในกลุ่่มเมืืองในอีีสานและ ยกเลิิกรููปแบบการปกครองนี้้�ในช่่วงการปฏิรููิปการปกครอง สมััยพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว กฎหมายโบราณของอีีสาน กฎหมายโคสาราษฎร์์ หรืือ อีีสานเรีียกว่่า “โพสา ราด” เป็็นกฎหมายที่่�ใช้้ในอาณาจัักรล้้านช้้างสมััยพระโพธิิ สารราช ประมาณ พ.ศ. ๒๐๗๕-๒๐๙๐ ต่่อมาช่่วงที่พร ่� ะ ไชยเชษฐาธิิราชเสด็็จไปครองเมืืองเชีียงใหม่่ประมาณ พ.ศ. ๒๐๘๙-๒๐๙๐ พระองค์์ทรงนำกฎหมายนี้้�ไปใช้้ปกครอง เมืืองเชีียงใหม่่ด้วย้ 1 สมััยพระเจ้้าสุริุิยวงศาธรรมิิกราช (พ.ศ. ๒๑๘๐-๒๒๓๗) มีีการตรากฎหมายเพิ่่�มเติิม สาเหตุทีุ่อีี่� สานนำ กฎหมายล้้านช้้างมาใช้้เนื่่�องจากมีีการอพยพของกลุ่่มคนจาก ล้้านช้้างเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานบริิเวณฝั่่�งขวาของแม่น้้ ่ ำโขง จึึงนำ จารีีตกฎหมายเดิิมของล้้านช้้างรวมถึึงวััฒนธรรมด้าน้ต่่าง ๆ เข้้ามาด้วย้ คองสิิบสี่่� คองสิิบสี่่� คองเป็็นข้้อปฏิิบััติิหรืือข้้องดเว้้นของ ประชาชนซึ่่�งจะแตกต่่างกัันตามฐานะทางสัังคมหรืือตาม ตำแหน่่งของคนนั้้�น ๆ ถ้้ามีีตำแหน่่งเป็็นผู้้�ปกครองบ้้านเมืือง 1 วรพร ภู่่พงศ์พั์ ันธุ์์, “กฎหมายโคสาราษฎร์กั์ ับภาพสะท้้อนตัวัตนของสัังคมอีีสาน,” ใน ศุุภวััฒย์์- ศุุภวาร จุุลพิจิารณ์, ์กรุุงเทพฯ: เฟื่่�องฟ้้า, ๒๕๔๗ หน้้า ๖๖. 2 ดููรายละเอีียดใน ชอบ ดีีสวนโคกและสุุวิิทย์์ ธีีรศาสวััต, คำบรรยายประวััติิศาสตร์์การเมืืองการปกครองและวััฒนธรรมอีีสาน, ขอนแก่่น: มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น, ๒๕๔๙ หน้้า ๑๒๘ – ๑๔๖. หรืือพระเจ้้าแผ่่นดิินหรืือขุุนนางเสนาอำมาตย์์ มีี “ฮีีตเจ้้าคอง ขุุน” ถ้้ามีีฐานะเป็็นลููกเขยลููกสะใภ้้มีีคอง “ฮีีตสะใภ้้คองเขย” ถ้้ามีีฐานะเป็็นพ่่อแม่่มีี “ฮีีตพ่่อคองแม่่” ถ้้ามีีฐานะเป็็นผััว เมีียมีี “ฮีีตผััวคองเมีีย”2 คองสิิบสี่จึึ่� งเน้้นด้านกา้รปฏิบัิัติิตน ในสัังคมและแนวทางการปกครองบ้้านเมืือง คองสิิบสี่่�สำหรัับชาวบ้้านทั่่�วไป เช่่น - เมื่่�อได้เ้ข้้าใหม่่ หลืือหมากไม่่เป็็นหมากใหม่่ ตนอย่่า ฟ้้าวกิินก่่อน ให้้เอาทำบุุนทำทานแกท่่านผู้มีีสีี ้� ลกิินก่่อน แล้้ว ตนจึึนกิินเมื่่�อผายลุุน และให้้แจกแบ่่งแก่่ยาดติิพี่น้้่� อง (เมื่่�อข้้าว ออกรวงหรืือเก็็บเกี่่�ยวแล้้วอย่่าพึ่่�งนำมากิินให้้นำไปทำบุุญ หรืือนำไปถวายพระ แบ่่งญาติิพี่น้้่� องแล้้วค่่อยกิินทีีหลััง) - ให้้พ้้อมกัันเฮ็ดฮั้้ ็ �วต้้าย หลืือ กำแพงล้้อมวัดัวาอา ฮามและบ้้านเฮืือนแห่่งตนแล้้ว ปุุกหอบููซาเทวะดาไว้้สี่่�แจบ้้าน หรืือแจเฮืือน (ให้้พร้้อมกัันสร้้างรั้้�วกำแพงล้้อมวัดัวาอาราม บ้้านเรืือนของตนและสร้้างหอบููชาไว้้สี่มุ ่� ุมของบ้้านและเรืือน ของตน) - เมื่่�อเถิิงวัันสีีน ๗ ค่่ำ ๘ ค่่ำ ๑๔ ค่่ำ ๑๕ ค่่ำ ให้้สม มาก้้อนเส้้า แม่คีี่ ไฟ แม่ขั้้่ �นไดและปัักตููเฮืือนที่ต ่� นได้อ้ ยู่่อาไส (เมื่่�อถึึงวัันพระให้้ทำการบููชาเตาไฟ บัันไดบ้้านและประตููห้้อง นอน) - เถิิงวัันสีีน ให้้เอาดอกไม้้ทููบเทีียน สมาผััวแห่่งตน และให้้เอาดอกไม้้ทููบเทีียน ถวายสัังคะเจ้้า (เมื่่�อถึึงวัันพระให้้ นำดอกไม้้ธููปเทีียน ไปคารวะสามีีแห่่งตนและให้้แต่่งดอกไม้้ ธููปเทีียนไปถวายพระสงฆ์์)


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 194 - เมื่่�อพิิกขุุ มาบิินทะบาด อย่่าให้้เพิ่่�นคอย เวลา ใส่่บาด อย่่าซููนบาด อย่่าซููนพิิกขุุ สามะเนน ยามใส่่บาตด อย่่าใส่่เกิิบ อย่่ากั้้�งฮ่่ม อย่่าเอาผ้้าปกหััว อย่่าอุ้้�มลููกจููงหลาน อย่่าถืือสัดตัาอาวุธตุ่ ่างๆ (เมื่่�อพระสงฆ์์มาบิณฑิบาตอย่่าให้้ ท่่านได้้รอคอยใส่่บาตร อย่่าให้้มืือไปสััมผััสบาตรพระ อย่่า ใส่่รองเท้้า กางร่่ม ผ้้าคลุุมหััว อุ้้�มเด็็ก หรืือถืืออาวุุธใด ๆ ขณะใส่่บาตร) - อย่่าเอาอาหานเงื่่�อน อัันตนกิินแล้้ว ไปทานให้้ แก่สั่ ังคะเจ้้าและเอาไว้้ให้้ผััวกิิน (อย่่าเอาอาหารเหลืือกิินไป ถวายพระและอย่่าเอาอาหารเหลืือกิินให้้สามีีกิิน) จากตััวอย่่างคองสิิบสี่ข้้่� างต้้นเห็็นได้้ว่่าแนวทางการ ปฏิิบััติิของคนอีีสานในคอง ๑๔ สะท้้อนหลัักปฏิิบััติิของคน อีีสานต่่อพระสงฆ์์ การปฏิิบััติิตนต่่อญาติิพี่ ่�น้้องและหลััก ปฏิิบััติิของภรรยาต่่อสามีีเป็็นสำคััญ สัังคมอีีสานให้้เกีียรติิ และยกย่่องสามีีมากทั้้�งนี้้�อาจเป็็นเพราะสามีีเปรีียบเสมืือน แรงงานหลัักของครอบครััว จึึงปรากฏหลัักปฏิบัิัติิของภรรยา ต่่อสามีีไว้้ด้วย อ้ย่่างไรก็ต็าม หากไม่่ปฏิบัิัติิตามคอง ๑๔ จะ ไม่่ได้้รัับบทลงโทษตามกฎหมายเช่่นการทำผิดติามกฎหมาย ที่ ่� ระบุุบทลงโทษตามความผิิดและสถานะทางสัังคม การรัับพุทธศุาสนาจากล้้านช้้าง1 ข้้อมููลจากหลัักฐานศิิลาจารึึกอีีสานในสมััยไทยลาว ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๒๑ เป็็นต้้นมา กล่่าวถึึงจุุดมุ่่ง หมายของการสร้้างศิิลาจารึึกว่่าเพื่่�อบัันทึึกกิิจกรรมทาง ศาสนาของผู้้�สร้้าง (กษัตริัย์ิล้้์านช้้าง เจ้้าเมืือง เพีย ีพระเถระ 1 ธวััช ปุุณโณทก,“พุุทธศาสนาในภาคอีีสาน,” ใน สารานุุกรมวััฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่่ม ๙, กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๓๑๗๖-๓๑๙๔. 2 ธวััช ปุุณโณทก, “ศิิลาจารึึกอีีสานสมััยไทยลาว: อัักษร,” ใน สารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ภาคอีีสาน เล่่ม ๑๒, กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรม วััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์, ์๒๕๔๒ หน้้า ๔๒๙๓. ผู้้�ใหญ่่) ประกาศกุุศลเจตนาต่่อสาธารณชน และสิ่่�งศัักดิ์์สิ� ิทธิ์์� ซึ่่�งเป็็นกิิจกรรมร่่วมระหว่่างสถาบัันการเมืืองการปกครอง กัับสถาบัันศาสนา ทั้้�งนี้้� ศิิลาจารึึกหลัักหนึ่่�ง ๆ มีีทั้้�งที่่�ได้้ แจ้้งจุุดมุ่่งหมายในการจารึึกเพีียงประการเดีียวหรืือหลาย ประการ 2 ศิิลาจารึึกที่ ่� พบในอีีสานช่่วงร่่วมสมััยอาณาจัักร ล้้านช้้างส่่วนใหญ่่เกี่่�ยวข้้องกัับพุุทธศาสนา ทำให้้ทราบ ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับการรัับพุุทธศาสนาจากล้้านช้้าง ดัังนี้้� (๑) การประกาศเขตวิิสุุงคามสีีมา คืือ เขตดิินที่ ่� แยกออกจากหมู่่บ้้าน กษััตริิย์์ในฐานะเจ้้าของแผ่่นดิิน ทั้้�งหมดต้้องประกาศพระบรมราชโองการยกที่ ่� ดิินให้้เป็็น วิิสุุงคามสีีมา และต้้องทำพิิธีีกำหนดเขตให้้ชััดเจน ด้้วย การปัักเสมาหิิน เรีียกว่่า ผููกพััทธสีีมา ดัังนั้้�น ที่ ่� ดิินในเขต พััทธสีีมาจึึงเป็็นพื้้�นที่ ่� ที่่�สามารถประกอบพิิธีีกรรมทาง ศาสนาได้้ (๒) การประกาศอุุทิิศที่ ่� ดิินให้้เป็็นสมบััติิวััด เรีียก ว่่า “นาจัังหััน” ธรรมเนีียมการอุทิุิศนาจัังหัันถวายวัดั หมาย ถึึง ที่ ่� ดิิน และประชาชน ที่่�อาศััยอยู่่ในที่ ่� ดิินเหล่่านั้้�นถืือเป็็น สมบััติิของวััดและจะขาดจากกรรมสิิทธิ์์�ของฝ่่ายอาณาจัักร นัับตั้้�งแต่่พระมหากษััตริิย์์หยาดน้้ำลงแผ่่นดิินอุุทิิศให้้จนถึึง ๕,๐๐๐ พรรษา พระมหากษัตริัย์ิรั์ัชกาลที่สืื่� บต่่อมาไม่มีีสิ่ ิทธิ์์� เพิิกถอนกรรมสิิทธิ์์� หากเพิิกถอนจะต้้องคำสาปแช่่งตามที่ ่� พระมหากษััตริิย์์องค์์ที่ ่� อุุทิิศประกาศไว้้ในศิิลาจารึึก (๓) ประกาศสร้้างวััดวาอาราม ศาสนสถาน และ ถาวรวััตถุุถวายวััด


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 195 (๔) ประกาศถวายทาสโอกาสหรืือทาส อุุทิิศให้้ วััด หรืือ ข้้าโอกาส หรืือ ข้้าพระโยมสงฆ์์ ถืือเป็็นกรรมสิิทธิ์์� ของวััดไปโดยตลอด ลููกหลานรุ่่นต่่อมาก็็จะเป็็นกรรมสิิทธิ์์� ของวััดเช่่นกััน คนกลุ่่มนี้้�จะขาดจากอำนาจของรััฐ ๆ ไม่่ สามารถเกณฑ์์แรงงานมารัับใช้้ราชการหรืือเจ้้านายไม่่ได้้ เพราะถืือเป็็นสมบััติิของพระศาสนาแล้้ว1 (๕) ประกาศแต่่งตั้้�งพระสัังฆราชา เช่่น ศิิลาจารึึก วััดมุุจลิินทอาราม ๑ กล่่าวถึึงพระบรมราชโองการของ สมเด็็จพระวรรัตันธรรมประโชติิฯ กษัตริัย์ิล้้์านช้้างได้เถ้ราภิิเษก พระสัังฆนายกให้้เป็็นพระมหาสัังฆราชา เมื่่�อ พ.ศ. ๒๑๓๗ (๖) ประกาศเขตพระอารามให้้เป็็นเขตปลอดอาญา แผ่่นดิิน ได้แ้ก่่ จารึึกวัดมุัุจลิินทอาราม ๑ (พ.ศ. ๒๑๓๗) และ ศิิลาจารึึกวััดบ้้านริิมท่่าวััด อำเภอเมืือง จัังหวััดสกลนคร (พ.ศ. ๒๑๗๙) การประกาศเขตวััดบางวััดให้้เป็็นเขตปลอด อาญาแผ่่นดิินแสดงให้้เห็็นว่่ากษััตริิย์์ล้้านช้้างได้้ยกย่่อง สถาบัันพุุทธศาสนามากจึึงให้้อาญาสิิทธิ์์�แก่วั่ดั กล่่าวคืือ ผู้ที่้�่� กระทำผิิดพระราชอาญา ผิิดกฎหมาย เมื่่�อหนีีเข้้าไปในเขต วััดที่ ่� พระมหากษััตริิย์์ทรงประกาศให้้เป็็นเขตปลอดอาญา แผ่่นดิิน จะได้้รัับการอภััยโทษทัันทีี ศิิลาจารึึกยัังกล่่าวถึึง การเลื่่�อนสมณศัักดิ์์�พระภิิกษุุ สงฆ์์ผ่่านพิิธีีเถราภิิเษกฮดสรง ตามลำดัับ ดัังนี้้� ๑. สำเร็็จ หรืือ พระภิิกษุุหรืือสามเณร ที่่�ได้้รัับ เถราภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๑ 1 “ข้้าโอกาส (ข้้าพระโยมสงฆ์์),” สารานุุกรมวััฒนธรรมไทยภาคอีีสาน เล่่ม ๒,กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสารานุุกรมวััฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิิชย์์, ๒๕๔๒ หน้้า ๔๘๕-๔๙๒. ๒. ซา คืือ พระภิิกษุุหรืือสามเณร ที่่�ได้้รัับเถรา ภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๒ ๓. คูู (ครูู) คืือ พระภิิกษุุหรืือสามเณร ที่่�ได้้รัับเถรา ภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๓ ๔. คููหลัักคำ หรืือ หััวครููหลัักคำ คืือ พระภิิกษุุที่่�ได้้ รัับเถราภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๔ ๕. คููลููกแก้้ว หรืือ หััวคููลููกแก้้ว คืือ พระภิิกษุุที่่�ได้้ รัับเถราภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๕ ๖. คููยอดแก้้ว หรืือ หััวคููยอดแก้้ว คืือ พระภิิกษุุที่ ่� ได้้รัับเถราภิิเษกฮดสรง ครั้้�งที่่� ๖ กล่่าวโดยสรุุป ความสััมพัันธ์์ทางการเมืืองระหว่่าง อาณาจัักรอยุุธยากัับอาณาจัักรล้้านช้้าง ส่่งผลต่่อการส่่ง ต่่อทางวััฒนธรรมด้้านต่่าง ๆ ของทั้้�งสองอาณาจัักรใน พื้้�นที่ ่�อีีสานที่ ่� ต่่างกััน เมืืองในแอ่่งสกลนครจะเป็็นพื้้�นที่ ่� ที่ ่� ได้้รัับอิิทธิิพลทางวััฒนธรรมของล้้านช้้างเห็็นได้้จากการ รัับวััฒนธรรมล้้านช้้างในด้้านต่่างๆ ทั้้�งนี้้� แม้้ในช่่วงพุุทธ ศตวรรษที่่� ๒๒ – ๒๓ วััฒนธรรมที่่�สำคััญของล้้านช้้างจะมีี อิิทธิิพลเฉพาะกลุ่่มเมืืองในแอ่่งสกลนคร แต่่ภายหลัังจาก เหตุุการณ์์สงครามเวีียงจัันทน์์-ธนบุุรีีพ.ศ ๒๓๒๒ อำนาจ การปกครองของธนบุุรีีขยายเข้้ามายัังพื้้�นที่ ่�อีีสานส่่งผลต่่อ การเปลี่่�ยนแปลงทางสัังคมและวััฒนธรรมอีีสานในลำดัับ ต่่อไป


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 196 ! อีีสานสมััยธนบุรีีุและรััตนโกสิินทร์ ์ สิ่่�งที่่�แสดงถึึงการขยายอำนาจของศููนย์์กลางการ ปกครองในลุ่่มน้้ำเจ้้าพระยา นัับแต่ตั้้่ �งแต่่สมััยอยุธุยา ธนบุรีีุ และรัตันโกสิินทร์์มายัังภาคอีีสาน คืือ การตั้้�งเมืือง เนื่่�องด้วย้ เจ้้าเมืืองทุุกเมืืองต้้องได้้รัับพระบรมราชโองการโปรดเกล้้าฯ แต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าเมืือง ยกสถานะบ้้านขึ้้�นเมืือง ถึึงแม้้กรุุงเทพฯ จะเข้้ามามีีอำนาจปกครองพื้้�นที่อีี่� สาน แต่่ด้วยกา้รคมนาคม ที่่�ไม่่สะดวกใช้้ระยะเวลาเดิินทางนาน การสื่่�อสารเป็็นไปด้วย้ ความยากลำบาก ภายใต้้ข้้อจำกััดด้้านระยะทางและการ สื่่�อสารนั้้�นจึึงต้้องใช้้วิธีีิการควบคุุมอำนาจในเมืืองอีีสานเพื่่�อ ให้้สามารถจัดัการปกครองได้อ้ย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ได้แ้ก่่ การ ตั้้�งเมืือง การแต่่งตั้้�ง เลื่่�อนยศและถอดถอนคณะอาญาสี่่� การ ควบคุุมกำลัังคนและการสัักเลก และการใช้้พระราชพิธีีถืื ิอน้้ำ พิพัิัฒน์สั์ตัยา ๑) การตั้้�งเมืือง เกณฑ์์ในการตั้้�งเมืือง ประกอบด้วยยกสถานะ้ บ้้าน ขึ้้�นเป็็นเมืืองหรืือไม่ก็่ ็ขอแยกตััวขอตั้้�งเมืืองใหม่่ ซึ่่�งกรณีีหลััง นี้้�ส่่วนใหญ่่จะเป็็นเมืืองที่่�แยกตััวจากเมืืองเดิิมเนื่่�องจากข้้อ พิิพาทระหว่่างกลุ่่มผู้้�ปกครองเดิิมหรืืออาจเป็็นเพราะคณะ อาญาสี่ต ่� ำแหน่่งอื่่�น ๆ ต้้องการขึ้้�นเป็็นเจ้้าเมืืองจึึงขอแยก ผู้้�คนออกไปตั้้�งเมืืองใหม่่ จากนั้้�นต้้องเปลี่่�ยนชื่่�อใหม่่ ระบุุ จำนวนประชากรในเมืืองของตนซึ่่�งคนกลุ่่มนี้้�จะเป็็นแรงงาน สำคััญของเมืืองไว้้ใช้้ในกิิจการต่่าง ๆ ของเมืือง ระบุทีุ่ตั้้่� �งของ เมืือง กำหนดว่่าจะขึ้้�นตรงต่่อเมืืองใด ระบุุเจ้้าเมืือง ระบุปีุที่ ่� ตั้้�ง ระบุุการส่่งส่่วยเนื่่�องด้วย้ส่่วยจากเมืืองต่่าง ๆ มีีความ สำคััญต่่อเศรษฐกิิจของกรุุงเทพฯ ส่่วยบางส่่วนใช้้เป็็นสิินค้้า 1 หม่่อมอมรวงษ์์วิิจิิตร (ม.ร.ว. ปฐม คเนจร), พงศาวดารหััวเมืืองมณฑลอีีสาน (พิิมพ์์เป็็นอนุุสรณ์์สถานในงานพระราชทานเพลิิงศพ เจ้้านาง โสฬนารีี ณ จำปาศัักดิ์์� สาระโสภณ (นางอัักษรการวิิจิิตร) ณ วััดทุ่่งศรีีเมืือง จัังหวััดอุุบลราชธานีีวัันอาทิิตย์์ที่่� ๒๑ เมษายน พุุทธศัักราช ๒๕๓๙), หน้้า ๒๑-๒๒. ขายให้้กัับพ่่อค้้าต่่างชาติิที่่�เข้้ามาค้้าขายที่่�กรุุงเทพฯ หรืือใช้้ เป็็นของตอบแทนสลุุบกำปั่่�นพ่่อค้้าต่่างประเทศ อย่่างไรก็ต็าม การตั้้�งเมืืองในภาคอีีสาน พบว่่าหลายเมืืองไม่่ได้้ตั้้�งตาม บริิเวณที่่�แจ้้งต่่อกรุุงเทพฯ แม้้กรุุงเทพฯ ทราบเรื่่�องแต่่ไม่่ได้้ กล่่าวโทษเจ้้าเมืืองนั้้�นแต่่อย่่างใด ตััวอย่่างการตั้้�งเมืืองอุุบลราชธานีี “ลุจุุลศัักราช ๑๑๕๓ ปีกุีุญ ตรีีศก (พ.ศ.๒๓๒๔) แล โปรดเกล้้าฯ ตั้้�งให้้พระประทุุมสุรรุ าช (คำผง) เปนเจ้้าเมืือง ยก บ้้านห้้วยแจละแมขึ้้�นเปนเมืืองอุุบลราชธานีี (ตามนามพระ ประทุุม) ขึ้้�นกรุุงเทพฯ ทำส่่วยผึ้้�ง ๒ เลขต่่อเบี้้�ยน้้ำรััก ๒ ขวด ต่่อเบี้้�ยป่่าน ๒ เลขต่่อขวด พระประทุุมจึึงย้้ายเมืืองมาตั้้�ง อยู่่ที่ต ่� ำบลบ้้านร้้างริิมลำพมููล ใต้้ห้้วยแจละแมประมาณทาง ๑๒๐ เส้้น คืือ ที่ซึ่่� �งเปนเมืืองอุุบลเดี๋๋�ยวนี้้� แลได้ส้ร้้างวัดัหลวง ขึ้้�นวัดัหนึ่่�ง เขตรแดนเมืืองอุุบลมีี ปรากฎในเวลานั้้�นว่่า ทิิศ เหนืือถึึงน้้ำยัังตกลำน้้ำพาชีีไปยอดบัังอี่่� ตามลำบัังอี่่�ไปถึึงแก่่ง ตนะ ไปภูจอกอ ไปูช่่องนาง ไปยอดห้้วยอะลีีอะลอง ตัดัไปดง เปื่่�อยไปสระดอกเกษ ไปตามลำกะยุุงตกลำน้้ำมููล ปัันให้้เมืือง สุุวรรณภููมิิ ฝ่่ายเหนืือหิินสิิลาเลขหนองกองแก้้วตีีนภููเขีียว ทางใต้้ปากเสีียวตกลำน้้ำมููล ยอดห้้วยกากวากเกี่่�ยวชีีปัันใช้้ เมืืองขุขัุันธ์์ แต่่ปากห้้วยทัพทัันตกมููลถึึงภูเขาวงูท์์” 1 ภายหลัังสงครามเจ้้าอนุุวงศ์์ เมืืองในแอ่่งสกลนคร ที่ตั้้่� �งมาตั้้�งแต่่สมััยล้้านช้้าง เป็็นฝ่่ายแพ้้สงครามเช่่นเดีียวกัับ ราชสำนัักเวีียงจัันทน์์ สยามกวาดต้้อนผู้้�คนจากเมืืองในแอ่่ง สกลนครเข้้าไปไว้้หััวเมืืองชั้้�นในของสยาม ทำให้้กำลัังคนใน แต่่ละเมืืองลดลง หลายเมืืองต้้องกลายสภาพเป็็นหมู่่บ้้าน มีี เพียงบางเี มืืองที่ยั ่� ังคงสามารถคงสถานภาพความเป็็นเมืืองไว้้


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�น ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 197 ต่่อได้ เ้ช่่น เมืืองนครพนม สกลนคร มุุกดาหาร และหนองหาร ส่่วนเมืืองสำคััญ เช่่น เมืืองเวีียงคุุก พะโค เมืืองปากห้้วยหลวง หนองบััวลำภู และูพานพร้้าว-ศรีีเชีียงใหม่่ ลดความสำคััญลง ไปมาก ราชสำนัักสยามสถาปนาเมืืองหนองคายขึ้้�นมาทำ หน้้าที่่�แทนเมืืองเวีียงจัันทน์์ซึ่่�งเคยเป็็นศููนย์์กลางของกลุ่่ม เมืืองบริิเวณนี้้� และแต่่งตั้้�งท้้าวเพี้้�ยผู้้�จงรัักภัักดีีหรืือมีีความดีี ความชอบในการสงครามไปปกครองเมืืองต่่าง ๆ ที่่�เคยอยู่่ใน อำนาจของเมืืองเวีียงจัันทน์์ ราชสำนัักสยามมีีนโยบายอพยพ เคลื่่�อนย้้ายผู้้�คนจากฝั่่�งซ้้ายแม่่น้้ำโขงเข้้ามาเป็็นประชากร ของเมืืองทางฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงด้้วยเหตุุผลทางยุุทธศาสตร์์ ไม่่ให้้ราชสำนัักเวีียงจัันทน์์ฟื้้�นตััวได้้อีีก และเหตุุผลความขัดั แย้้งระหว่่างสยามกัับเวีียดนามในเวลาต่่อมา (พ.ศ.๒๓๗๖- ๒๓๙๐) การกวาดต้้อนผู้้�คนจากฝั่่�งซ้ายแ้ม่น้้ ่ ำโขงมาที่ฝั่่� �งขวา แม่น้้ ่ ำโขงส่่งผลให้้จำนวนประชากรของเมืืองทั้้�งสองฝั่่�งมีีความ แตกต่่างกัันอย่่างชัดัเจน กลุ่่มคนที่ถูู ่� กกวาดต้้อนมามีีความ หลากหลายทางชาติิพัันธุ์์ทั้้�งกลุ่่มคนในตระกููลภาษาไท อาทิิ ผู้้�ไท ญ้้อ โย้้ย รวมถึึงกลุ่่มคนในตระกููลภาษาออสโตรเอเชีีย ติิก (มอญ-เขมร) อาทิิ โส้้ กะเลิิง การตั้้�งถิ่่�นฐานของกลุ่่มคน เหล่่านี้้�กระจายตััวในพื้้�นที่ต่ ่� ่าง ๆ ของแอ่่งสกลนคร ทั้้�งใน บริิเวณลุ่่มแม่น้้ ่ ำสงครามตั้้�งแต่่เขตลุ่่มน้้ำสงครามตอนบนแถบ บ้้านเชีียงจนถึึงเขตลุ่่มน้้ำสงครามตอนล่่างบริิเวณปากแม่น้้ ่ ำที่ ่� สบกัับแม่น้้ ่ ำโขง บริิเวณรอบ ๆ หนองหารและแถบเทืือกเขา ภููพาน รวมถึึงเขตเมืืองเก่่าบริิเวณริิมฝั่่�งแม่น้้ ่ ำโขง เมืืองในแอ่่ง สกลนครภายหลััง พ.ศ. ๒๓๗๑ จึึงได้้รัับการรองรัับสถานภาพ การเป็็นเมืืองจากพระมหากษัตริัย์ิที่์ ่�กรุุงเทพฯ1 1 ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖, วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชา ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๙ หน้้า ๕๑-๕๕. 2 เรื่่�องเดีียวกััน, หน้้า ๖๙. ผลของสงครามเจ้้าอนุุวงศ์์นอกจากจะทำให้้อำนาจ การปกครองที่่�เวีียงจัันทน์์หมดไปแล้้ว ยัังส่่งผลกระทบต่่อ เมืืองที่่�เคยภายใต้้การปกครองของเวีียงจัันทน์์ด้้วย ภาย หลัังสงครามเข้้าอนุุวงศ์์มีีการอพยพของผู้้�คนจากฝั่่�งซ้้าย แม่่น้้ำโขงมาตั้้�งถิ่่�นฐานในฝั่่�งขวาแม่่น้้ำโขงระหว่่างทศวรรษ ๒๓๗๐-๒๓๘๐ มีีการรัับรองสถานภาพการตั้้�งเมืืองในช่่วง ทศวรรษ ๒๓๘๐-๒๔๑๐ ขณะเดีียวกัันเมืืองต่่าง ๆ เริ่่�ม ขยายตััวเติิบโตตั้้�งแต่่ทศวรรษ ๒๓๙๐ เป็็นต้้นมา การ อพยพของผู้้�คนและการขอตั้้�งเมืืองขึ้้�นใหม่่ยัังมีีบ้้าง2 อาจ กล่่าวได้้ว่่า เมืืองในภาคอีีสานตั้้�งขึ้้�นไม่่พร้้อมกััน วิิธีีการ ตั้้�งเมืืองในช่่วงธนบุุรีีเป็็นการขอพึ่่�งบรมโพธิิสมภารเป็็น สำคััญ ส่่วนในรััชกาลที่่� ๑ - ๓ ใช้้วิิธีีตั้้�งคนในท้้องถิ่่�นเป็็น เจ้้าเมืือง หากสามารถเกลี้้�ยกล่่อมผู้้�คนที่่�หลบหนีีภััยต่่าง ๆ มารวมเป็็นบ้้านเมืืองได้จะ้ตอบแทนความดีีความชอบด้วย้ การให้้เป็็นเจ้้าเมืือง สมััยรััชกาลที่่� ๔ ผู้้�คนมากขึ้้�น เจ้้าเมืือง และผู้้�ปกครองท้้องถิ่่�นแย่่งควบคุุมคนในปกครอง เจ้้าเมืือง กรมการเมืืองรวบรวมผู้้�คนของตนเพื่่�อขอตั้้�งเมืืองใหม่่ใน ที่ ่� ว่่าง เมื่่�อถึึงสมััยรััชกาลที่่� ๕ การขอตั้้�งเมืืองกลายเป็็น ปััญหาสำคััญเพราะเป็็นการแย่่งอาณาเขตและผู้้�คนกัันของ ผู้้�ปกครองท้้องถิ่่�น รััชกาลที่่� ๕ เมื่่�อทรงทราบจึึงโปรดฯ งด การตั้้�งเมืืองตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๒๘ เป็็นต้้นมา


ประวััติิศาสตร์์ท้้องถิ่่�นไทย เมื่่�อท้้องถิ่่�นสร้้างเมืือง 198 ๒) การแต่่งตั้้�ง เลื่่�อนยศ และถอดถอนคณะ อาญาสี่่� พระมหากษัตริัย์ิที่์ ่�กรุุงเทพฯ คงไว้้ซึ่่�งพระราชอำนาจ ในการแต่่งตั้้�ง เลื่่�อนยศ และถอดถอนคณะอาญาสี่่� ประกอบ ด้้วย เจ้้าเมืือง อุุปราช ราชวงศ์์ และราชบุุตร ส่่วนตำแหน่่ง ที่ร ่� องจากคณะอาญาสี่่�ให้้สิิทธิิและอำนาจคณะอาญาสี่่�เป็็น ผู้้�พิิจารณา ขุุนนางท้้องถิ่่�นไม่่มีีเกษีียณอายุุราชการ หาก ไม่่ได้้ถููกปลดออกเพราะทำความผิิดหรืือทำราชการไม่่ไหว เมื่่�อตำแหน่่งในคณะอาญาสี่ ่� ว่่างลง พระมหากษััตริิย์์จะทำ หน้้าที่ ่� พิิจารณาเลืือกบุุคคลขึ้้�นมาดำรงตำแหน่่งแทน การ แต่่งตั้้�งคณะอาญาสี่่�ไม่่มีีแบบแผนเฉพาะ พิิธีีการแต่่งตั้้�งจะ ส่่งสารตราแต่่งตั้้�งและเครื่่�องประดัับยศและเมื่่�อมีีงานศพจะ จััดส่่งเครื่่�องประกอบหีีบศพมาให้้1 ช่่วงตั้้�งเมืืองแรก ๆ วิิธีี การแต่่งตั้้�งเจ้้าเมืืองกรมการเมืืองหลากหลาย เช่่น เสนอชื่่�อ เจ้้าเมืืองกรมการเมืืองผ่่านเมืืองนครราชสีีมาซึ่่�งเป็็นเมืืองที่ ่� สำคััญที่ ่� สุุดในการดููและเมืืองในอีีสานมาตั้้�งแต่่สมััยอยุุธยา เจ้้าเมืืองนครราชสีีมานำเรื่่�องเสนอผ่่านสมุุหนายก กราบ บัังคมทููลให้้ทรงวิินิิจฉััย โดยส่่วนใหญ่่พระมหากษััตริิย์์ทรง แต่่งตั้้�งบุุคคลและทรงอนุุญาตให้้ตั้้�งเมืืองตามที่่�เจ้้าเมืือง นครราชสีีมากราบทููล หรืือ ผู้้�นำชุุมชนที่ ่�ต้้องการเป็็นเจ้้า เมืืองและต้้องการตั้้�งเมืืองเดิินทางเข้้าเฝ้้าพระมหากษััตริิย์์ โดยตรงและถวายบัังคมทููลความประสงค์์ให้้ทราบ เช่่น 1 ภููริิภููมิิ ชมภููนุุช, พััฒนาการของเมืืองในแอ่่งสกลนคร ระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๗๑ ถึึง ๒๔๓๖. วิิทยานิิพนธ์์อัักษรศาสตร มหาบััณฑิิต สาขาวิิชา ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๕๙ หน้้า๑๐๓. 2 สุุวิิทย์์ ธีีรศาศวััต, ประวััติิศาสตร์์อีีสาน ๒๓๒๒-๒๔๘๘ เล่่ม ๑. ขอนแก่่น: คณะมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์, ๒๕๕๗ หน้้า ๙๒-๙๓.3 “ร่่างสารตราถึึงเมืืองเขมราถ จ.ศ.๑๒๑๖,” ๒๓๙๗: เลขที่่� ๒๕” อ้้างถึึงใน อิินทิิรา ซาฮีีร์์ และคณะ, รายงานวิิจััยเรื่่�องโครงการการขัับเคลื่่�อน ศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อการพััฒนาเชิิงพื้้นที่่� อำเภอเขมราฐ จัังหวััดอุุบลราชธานีี. กรุุงเทพฯ: สำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.) หน้้า ๖๒-๖๓. กรณีีท้้าวโสมพะมิิตและท้้าวอุุปชา เข้้าเฝ้้ารััชกาลที่่� ๑ พ.ศ. ๒๓๓๖ ที่่�กรุุงเทพฯ ขอพึ่่�งพระบรมโพธิิสมภาร ควบคุุมบ่่าว ไพร่่ตััวเลขเก็็บผลเร่่วทููลเกล้้าฯถวาย จึึงพระกรุุณาโปรด เกล้้าฯ ตั้้�งให้้ท้้าวโสมพะมิิตเป็็นพระยาไชยสุุนธร เจ้้าเมืือง ให้้ท้้าวคำหวาเป็็นอุุปฮาด ยกบ้้านแก่่งสำโรงขึ้้�นเป็็นเมืือง กาฬสิินธุ์์ ทำราชการขึ้้�นกรุุงเทพฯ2 หากเป็็นกรณีีที่่�เจ้้าเมืืองเสีียชีีวิิตลง การแต่่งตั้้�ง เจ้้าเมืืองคนใหม่่จะต้้องได้้รัับพระบรมราชโองการแต่่งตั้้�ง จากพระมหากษััตริิย์์ที่่�กรุุงเทพฯก่่อน เช่่น การตั้้�งเจ้้าเมืือง เขมราฐ (พระเทพวงษา (บุุญเฮา)) ใน จ.ศ.๑๒๑๖/ พ.ศ. ๒๓๙๗ พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััวพิิจารณา แต่่งตั้้�งเจ้้าเมืือง โดยยึึดหลััก ๓ ประการ ได้้แก่่ ประการแรก พิิจารณาจากการเป็็นเชื้้�อสายของเจ้้าเมืือง(พระเทพวงษา) เดิิม ประการที่่�สอง พิิจารณาตามสายบิิดา ประการที่่�สาม พิิจารณาโดยเปรีียบเทีียบอายุุและตำแหน่่ง (ฐานัันดร) ที่ ่� สููงกว่่า ทั้้�งนี้้� พบว่่าการตั้้�งเจ้้าเมืืองเขมราฐทุุกคน พระมหา กษัตริัย์ิมีีพร ์ะบรมราชโองการแต่่งตั้้�งฮุุปฮาดขึ้้�นเป็็นเจ้้าเมืือง แทนเจ้้าเมืืองที่ ่�ถึึงแก่่กรรม3 ๓) การควบคุุมกำลัังคนและการสัักเลก ภายหลัังเหตุุการณ์์สงครามระหว่่างธนบุุรีีกัับ เวีียงจัันทน์์ พ.ศ.๒๓๒๑ และสงครามเจ้้าอนุุวงศ์์ พ.ศ. ๒๓๖๙-๒๓๗๑ ส่่งผลต่่อการอพยพเคลื่่�อนย้้ายคนจากฝั่่�ง


Click to View FlipBook Version