The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารานุกรมลูกเสือไทยเล่ม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อบเชย เธอมากับฝน, 2022-01-07 03:18:57

สารานุกรมลูกเสือไทยเล่ม 1

สารานุกรมลูกเสือไทยเล่ม 1

รปู ที่ ๒๗๒ ลส. ๖ ทะเบยี นกองลูกเสอื สารอง

สารานุกรมลูกเสอื รปู ที่ ๒๗๓ ลส. ๗ ทะเบียนกองลกู เสอื สามญั
Scout Encyclopedia
๙๒

รปู ที่ ๒๗๔ ลส. ๘ ทะเบียนกองลูกเสือสามญั รํนุ ใหญํ

รปู ท่ี ๒๗๕ ลส. ๙ ทะเบียนกองลกู เสอื วสิ ามญั
๐๐ ปี ลูกเสอื ไทย

๙ สานกั การลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรยี น

(ล.ส. ๑๐)

รายงานการเงินลูกเสอื
ของ..........................................................................................
งวด........................................................พ.ศ....................................
ขอ๎ ๑. เงินของกองลูกเสอื ทกุ ประเภท มีดังนี้
เดมิ ................................................บาท....................................สตางค์
รบั .................................................บาท.....................................สตางค์
จาํ ย................................................บาท....................................สตางค์
คงเหลือ.........................................บาท....................................สตางค์

รายการ จานวนคน อัตราเก็บ เกบ็ ได้ คา้ ง หมายเหตุ

ขอ๎ ๒. เงนิ คําบารงุ ลูกเสอื
ลูกเสือสารอง
ลูกเสือสามัญ
ลูกเสอื สามัญรนํุ ใหญํ
ลูกเสอื วสิ ามญั
ผ๎ูบังคบั บญั ชาลูกเสอื
ผ๎ตู รวจการลูกเสือ
กรรมการลกู เสอื
เจ๎าหน๎าท่ีลูกเสอื

ขอ๎ ๓. เงนิ คาํ บารุงลูกเสือได๎สํงอาเภอแลว๎ (หรือสํงสานักงานลูกเสอื แหงํ ชาติ สาหรับสํวนกลาง)
ครง้ั ท่ี............วนั ที่...............เดือน................................พ.ศ...........เงิน.................. .......บาท................สตางค์
ครั้งที่............วนั ที่...............เดอื น................................พ.ศ...........เงิน.................. .......บาท................สตางค์
คร้ังที่............วนั ที่...............เดือน................................พ.ศ...........เงิน.................. .......บาท................สตางค์

ขอ๎ ๔. เงินคําบารุงลูกเสือไดส๎ งํ จงั หวดั แล๎ว (สาหรับอาเภอกรอก)
ครั้งที่............วันที่...............เดอื น................................พ.ศ...........เงนิ .................. .......บาท................สตางค์
ครั้งที่............วันที่...............เดอื น................................พ.ศ...........เงนิ .................. .......บาท................สตางค์
ครง้ั ท่ี............วันท่ี...............เดือน................................พ.ศ...........เงนิ .................. .......บาท................สตางค์

สารานุกรมลูกเสอื ๙๔
Scout Encyclopedia

ข๎อ ๕. เงนิ คาํ บารงุ ลูกเสอื ไดส๎ งํ สานักงานลูกเสอื แหํงชาตแิ ล๎ว (สาหรบั จังหวดั กรอก)
คร้ังที่............วนั ท่ี...............เดอื น................................พ.ศ...........เงิน.................. .......บาท................สตางค์
ครง้ั ที่............วันที่...............เดือน................................พ.ศ...........เงนิ .................. .......บาท................สตางค์
คร้ังที่............วันท่ี...............เดือน................................พ.ศ...........เงิน.................. .......บาท................สตางค์
ไดต๎ รวจเห็นเปน็ การถูกตอ๎ งแล๎ว

(ลงนาม)..................................................................
ตาแหนํง.....................................................

หมายเหตุ ๑. แบบรายงานการเงินลูกเสอื ใชไ๎ ดท๎ งั้ กลํมุ หรอื กองลูกเสอื อาเภอ และจังหวดั การสํงรายงานปลี ะ
๒ งวด ๆ ละ ๖ เดือน คือ งวดเดือนสิงหาคม และมนี าคม

๒. การสงํ รายงานกาหนดดังนี้
ก. ให๎จังหวัดรวบรวมสรุปท้ังจังหวัดสํงสานักงานลูกเสือแหํงชาติ ภายในเดือนสิงหาคม

(งวดท่ี ๑) มนี าคม (งวดท่ี ๒) สํวนจงั หวัดจะใหก๎ ลุมํ หรอื กองลูกเสือสํงถึงอาเภอ และอาเภอสรุปสํงจังหวัดเมื่อใด
น้ันแลว๎ แตํจงั หวดั กาหนด

ข. กองลกู เสือท่ีสงั กัดสํวนกลาง ให๎สํงรายงานนี้ตํอสานักงานลูกเสือแหํงชาติในเดือนสิงหาคม
และมนี าคมเชํนเดียวกนั

รูปท่ี ๒๗๖ ลส. ๑๐รายงานการเงินลกู เสอื

๙๕ ๐๐ ปี ลูกเสอื ไทย
สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น

รปู ท่ี ๒๗๗ ลส. ๑๑ ใบต้ังกลํมุ ลกู เสือ

สารานุกรมลูกเสอื รูปท่ี ๒๗๘ ลส. ๑๒ ใบตั้งกองลูกเสอื
Scout Encyclopedia
๙๖

รูปที่ ๒๗๙ ลส. ๑๓ใบตั้งผบ๎ู งั คบั บญั ชาลูกเสอื ผู๎ตรวจการลกู เสือ กรรมการลูกเสือ

รูปท่ี ๒๘๐ ลส. ๑๔ ใบสาคญั คํูกบั เขม็ ลูกเสอื สมนาคณุ

๙๗ ๐๐ ปี ลูกเสอื ไทย
สานักการลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น

รปู ที่ ๒๘๑ ลส. ๑๕ บตั รประจาตัวลูกเสอื สารอง รปู ท่ี ๒๘๒ ลส. ๑๖ บัตรประจาตัวลกู เสือสามญั

รูปที่ ๒๘๓ ลส. ๑๗ บัตรประจาตวั ลูกเสอื รปู ท่ี ๒๘๔ ลส. ๑๘ บัตรประจาตวั ลูกเสือวสิ ามญั
สามญั รุนํ ใหญํ

สารานุกรมลูกเสือ ๙๘
Scout Encyclopedia

รปู ที่ ๒๘๕ ลส. ๑๙ ใบเสรจ็ รับเงนิ คําบารุงลกู เสือ

เอกสารอา้ งองิ

คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหํงชาติ , สานักงาน. (๒๕๓๘). ระเบยี บสานักงานคณะกรรมการ
บรหิ ารลูกเสอื แห่งชาติ (ฉบับแก้ไขและเพม่ิ เตมิ ). พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, กรุงเทพ : โรงพิมพ์
ครุ สุ ภา ลาดพร๎าว.

๐๐ ปี ลกู เสือไทย

๙๙ สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น

ประเภทลกู เสือ

ความหมาย

ประเภทลกู เสอื หมายถึง กลํมุ ลูกเสอื ท่แี บํงออกตามอายุหรอื ชน้ั เรยี น

ความเป็นมา

กิจการลูกเสือเกิดข้ึนในโลกภายหลังจาก ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ ได๎นาเด็กชายไปทดลองเข๎า
คํายพักแรมท่ีเกาะบราวน์ซี ลูกเสือประเภทแรกที่เกิดข้ึนในขณะน้ันคือลูกเสือสามัญ ซึ่งได๎แพรํขยาย
ไปทวั่ โลก

สาหรับประเทศไทย กิจการลูกเสือได๎เกิดขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล๎าเจ๎าอยูํหัว ได๎กาหนดประเภทของลูกเสือไว๎ในข๎อบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ ได๎
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา๎ ฯ ใหป๎ ระกาศใชเ๎ ม่อื วันท่ี ๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๓๐ (พ.ศ. ๒๔๕๔) หมวดท่ี ๕
วําดว๎ ยลกู เสือ๒๙

“ ข๎อ ๓๑ ลูกเสอื มี ๓ ชัน้ นอกจากนายหมแํู ละผ๎ูชวํ ยนายหมูํคอื
๑) ลูกเสือเอก คือลูกเสือที่ได๎สอบไลํความรู๎พอให๎แลเห็นได๎วําตํอไปจะใช๎เปนผ๎ูชํวย

ปอ้ งกันชาติบ๎านเมืองได๎
๒) ลูกเสือโท คือลูกเสือท่ียังมิได๎สอบไลํเปนลูกเสือเอก แตํได๎สอบไลํความร๎ูชั้นต๎นแล๎ว

และเขา๎ ประจากองแล๎ว
๓) ลกู เสือสารอง คอื เด็กทกี่ องไดร๎ ับไวฝ๎ ึกหัดสาหรบั เปนลกู เสอื โทตํอไป
ขอ๎ ๓๒ ผ๎ทู ีจ่ ะรับเขา๎ เปนลกู เสือสารองได๎ คือ
๑) เด็กชายท่ีมีอายุไมํต่ากวํา ๑๑ ปีเต็ม (คือยํางเข๎าปีท่ี ๑๒) เข๎าประเภทของลูกเสือและไมํ

สูงกวํา ๑๘ ปีเตม็ (คือยํางเขา๎ ปีที่ ๑๙) และรํางกายสมประกอบ
๒) เปนนักเรยี นอยํูในโรงเรียนซึ่งเปน็ ซ่ึงทต่ี งั้ กองฤๅเปนบตุ รผทู๎ ีม่ หี ลกั ฐาน
๓) ต๎องได๎รับความยินยอมของบิดามารดา ฤๅผ๎ูปกครอง ความยนิ ยอมอันน้ีต๎องให๎ผ๎ูสมัคร

นามาเปนลายลกั ษณ์อักษร เพื่อปอ้ งกนั ความเข๎าใจผดิ ตําง ๆ
๔) ต๎องเข๎าใจวําการที่จะเปนลูกเสือนั้น โดยความมุํงหมายจะสนองพระเดชพระคุณ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ๎าอยูหํ วั และจะรกั ชาตบิ า๎ นเมือง เมือ่ เขา๎ ใจความใน ๔ ข๎อนี้แล๎ว จึงจะรับเข๎าเปน
สารองได๎ ”

๒๙ ในการคดั ลอกเอกสารตําง ๆ มาแสดงไวใ๎ นทน่ี ี้นนั้ ผเ๎ู ขียนพยายามอยาํ งยิ่งทจี่ ะคัดลอกใหต๎ รงตามตน๎ ฉบบั เดิมทุกประการ เพราะฉะนั้น
อักขรวธิ ีทป่ี รากฏอยใูํ นเอกสาร ยํอมมอี ยูํมากทไ่ี มตํ รงกับท่ีใชอ๎ ยํใู นปจั จบุ นั ทงั้ น้เี พือ่ เป็นการรักษาต๎นฉบบั เดิมไวอ๎ ยํางแท๎จริง

สารานุกรมลูกเสือ ๒๐๐
Scout Encyclopedia

ตํอมากิจการลูกเสือได๎มีการพัฒนาและปรับเปล่ียนประเภทของลูกเสือมาจนถึงปัจจุบัน
ลูกเสอื ไทยมี ๔ ประเภท คือ

- ลกู เสอื สารอง (Cub Scout) อายุ ๘ – ๑๑ ปี หรอื กาลงั เรยี นอยํูในชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓
- ลูกเสอื สามญั (Scout) อายุ ๑๑ – ๑๖ ปี หรอื กาลงั เรียนอยูใํ นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔-๖
- ลูกเสอื สามัญรุํนใหญํ (Senior Scout) อายุ ๑๔ – ๑๘ ปี หรอื กาลงั เรยี นในชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี
๑- ๓
- ลูกเสอื วสิ ามญั (Rover Scout) อายุ ๑๖ – ๒๕ ปี หรือกาลงั เรยี นในชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ – ๖
หรอื ระดบั ปวช. – ปวส. หรือ ระดบั อดุ มศกึ ษา

รูปท่ี ๒๘๖ ลูกเสอื ไทย
ท่มี า : www.scoutthailand.org/main/show_pagein.php?au...

หมายเหตุ : สาหรับชัน้ เรยี นอยํูในการพจิ ารณาแกไ๎ ข

๒๐ ๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานักการลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน

ประวัติ ลอรด์ เบเดน - โพเอลล์

รปู ท่ี ๒๘๗ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์

ลอร์ด เบเดน-โพเอลล์ มีช่ือเต็มวํา โรเบิร์ต สตีเฟนสัน สมิทธ์ เบเดน-โพเอลล์ (Robert
Stephenson Smyth Baden-Powell) เป็นชาวองั กฤษ เกิดท่กี รุงลอนดอน เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๔๐๐ (ค.ศ. ๑๘๕๗) บิดาชื่อ สาธุคุณ เอ็ช.จี. เบเดน-โพเอลล์ (Rev. H.G. Baden Powell) เป็น
ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลยั อ๏อกฟอรด์ เป็นพระนักบวชในคริสต์ศาสนา เสียชีวิตในปี พ.ศ. ๒๔๐๓
(ค.ศ. ๑๘๖๐) ขณะที่ บี - พี มีอายุเพียง ๓ ปีเทําน้ัน มารดาช่ือ เฮนรี แอตต๎า เกรซ สมิทธ์
(Miss Henrie Atta Grace Smyth) ถงึ แกกํ รรมเมอื่ อายุ ๙๐ ปเี ศษ พ.ศ. ๒๔๕๗ (ค.ศ. ๑๙๑๔)

ชวี ิตในวยั เดก็
ครอบครัวของบี - พี เป็นครอบครัวใหญํ มีพี่น๎องหลายคน เม่ือบิดาเสียชีวิตลงตั้งแตํพวกเขา

ยังอยูํในวยั เยาว์ ทาให๎มารดาของ บี - พี ต๎องรับภาระหนักในการเล้ียงดู ให๎การศึกษาแกํลูก ๆ แตํเพียง
ผ๎ูเดียว การศึกษาในวัยเด็กของ บี - พี จึงเป็นการศึกษาตามอัธยาศัยเสียมากกวํา โดยมารดาเป็นผ๎ูสอน
อําน เขียน และวาดเขียน (มารดาของ บี-พี มีความสามารถด๎านวาดภาพสีน้าเป็นพิเศษ) นอกจากนั้น
บี - พี ก็ใช๎เวลาวํางไปในการเลํนนอกบ๎าน เท่ียวไปในทํุงหญ๎า ป่า และสวนสาธารณะตําง ๆ ทาให๎
บี - พี มพี ื้นฐานด๎านการศกึ ษาธรรมชาติ และมีความรักธรรมชาติส่งิ แวดล๎อมตง้ั แตํวัยเดก็

ในปี พ.ศ. ๒๔๑๓ (ค.ศ. ๑๘๗๐) เม่ือ บี-พี อายุได๎ ๑๓ ปี ก็ได๎เข๎าโรงเรียนชาร์ตเตอร์เฮ๎าส์
(Charter House) ซึ่งเป็นโรงเรียนประจาของเอกชนในกรุงลอนดอน เรียนอยํูที่น่ีได๎ ๒ ปี โรงเรียนก็
ย๎ายลงไปอยูํท่ีเมือง โกดาลมิ่ง, เซอร์เรํย์ (Godalming, Surrey) ซ่ึงอยูํทางตอนใต๎ของกรุงลอนดอน

สารานุกรมลูกเสือ ๒๐
Scout Encyclopedia ๒๐๒

เปน็ เมืองชนบทท่ี เงยี บสงบ ถูกกับนิสยั ของ บี-พี เปน็ อยํางยิง่ บี - พี มคี วามสุขมากกบั การที่ได๎มาใช๎
ชีวิตอยํูในทํามกลางธรรมชาติอีกคร้ัง และในที่น้ีเองที่ บี - พี ได๎ใช๎ชีวิตแบบเป็นลูกเสือคนหนึ่ง คือ
การศึกษาหาความร๎ูเก่ียวกับสัตว์ และต๎นไม๎ การพักแรมในเต็นท์ การเลํนเรือ และการสร๎างสรรค์สิ่ง
ตําง ๆ จากวัสดุท่ีมีอยูํตามธรรมชาติ บี - พี เป็นผ๎ูมีความรู๎ ความสามารถรอบตัว ไมํมีความชานาญ
ด๎านใดเปน็ พเิ ศษ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๙ (ค.ศ. ๑๘๗๖) เม่ือ บี - พี อายุได๎ ๑๙ ปี ทํานสามารถสอบเข๎าเป็น
ทหารบกในเหลาํ ทหารมา๎ ได๎ท่ี ๒ และไดท๎ ี่ ๔ ในเหลําทหารราบ นับเป็นความสาเร็จคํอนข๎างสูงมาก
เพราะการสอบมีการแขํงขันสูง บี - พี เลือกเปน็ ทหารมา๎ และไดร๎ ับการแตงํ ตงั้ ยศร๎อยตรี ในกรมทหาร
ฮสุ ซาํ รท์ ่ี ๑๓ (13th Hussars) ซงึ่ ขณะน้ันประจาการอยํูในทีป่ ระเทศอนิ เดยี

ชีวติ ทหาร
ชีวติ ทหารผน๎ู ๎อยของ บี - พี มีรายได๎น๎อยมาก (๑๒๐ ปอนด์ ตํอปี) ทํานจึงจาเป็นต๎องหารายได๎

เสริมด๎วยการเขยี นบทความไปลงในนติ ยสารตาํ ง ๆ และทํานฝึกวาดภาพสีน้า และภาพเสก็ตขาวดาอยูํ
เสมอ จนสามารถวาดภาพได๎สวยงามพอควร ทํานสามารถเสก็ตภาพสัตว์ตําง ๆ ได๎เป็นอยํางดีอีกด๎วย
ชีวิตทหารของทาํ นสวํ นใหญํจะอยูํในตํางประเทศโดยเฉพาะอาฟริกาใต๎ ซึ่งเป็นท่ี ๆ ทํานรัก และสร๎าง
ชื่อเสยี งใหก๎ บั ตนเองอยํางสูง

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ (ค.ศ. ๑๘๘๗) บี – พี ได๎รับคาส่ังให๎ไปประจาท่ีอาฟริกาใต๎อีกคร้ังหนึ่งใน
ตาแหนํง นายทหารคนสนิทของลุงของทํานคือ พลเอก เซอร์ เฮนรี่ สมิทธ์ (General Sir Henry Smyth)
ซ่ึงดารงตาแหนํงเป็นผู๎วําการอาณานิคมแหลมอาฟริกา (Governer of Cape Colony) ในขณะนั้นพอดี
ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ (ค.ศ. ๑๘๘๘) เกิดสงครามกับชนเผําซูลู (Zulu) ซ่ึงมี ดินูซูลู (Dinuzulu) เป็น
หัวหน๎า บี – พี ทาหน๎าท่ีเป็นนายทหารการขําว (Intelligence Officer) ของกองกาลังท่ียกไปปราบ
กบฏซูลู ด๎วยความสามารถด๎านการสอดแนมหาขําวของทําน ทาให๎ทหารอังกฤษรบชนะเผําซูลูได๎
โดยไมยํ ากนัก บี – พี ไดร๎ ับเล่อื นยศเป็นพันตรี

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ (ค.ศ. ๑๘๙๐) เซอร์ เฮนรี่ สมิทธ์ ได๎ถกู ยา๎ ยไปเป็นผู๎วําราชการเกาะมอลต๎า
(Governer of Malta) และให๎ บี – พี ติดตามทํานไปด๎วยในตาแหนํงเลขานุการฝ่ายการทหาร ในปี
ตํอมา บี – พี ก็ได๎เลื่อนตาแหนํงเป็นนายทหารการขําวประจาภาคพื้นเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งทํานก็ทา
หน๎าท่ีไดอ๎ ยํางดี บี – พี ปฏบิ ตั งิ านดา๎ นการขาํ วอกี หลาย ๆ พ้ืนท่ใี นยุโรปอกี ดว๎ ย

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ (ค.ศ. ๑๘๙๕) กรมทหารที่ บี – พี สังกัดอยํู ได๎สํงไปปราบกบฏ
เผําอาชานติ (Ashanti) ซ่ึงมีกษัตริย์ช่ือ เปรมเปห์ (Prempeh) ในอาฟริกาใต๎อีกคร้ัง หน๎าที่ของ บี – พี
คือ คุมกองกาลังชาวพ้ืนเมืองสร๎างทางจากฝั่งทะเล เพียงเพื่อเข๎าไปตีเมืองท่ีมั่นของพวกอาชานติ คือ
เมืองคุมแมสซี่ (Kumassi) งานสร๎างทางน้ีมีความยากลาบากมาก ต๎องถางป่า สร๎างสะพานข๎ามน้า
หลายแหํง ต๎องใช๎ความเป็นผู๎นา และความคิดริเร่ิมในการแก๎ปัญหาตําง ๆ ตลอดเวลา ซึ่งถูกกับนิสัย

๒๐ ๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานักการลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรียน

ของทํานอยูํแล๎ว การสร๎างทางจึงสาเร็จลงได๎ตามเป้าหมาย แตํยังมิทันได๎สู๎รบกัน กษัตริย์เปรมเปห์ก็
ยอมแพ๎ ทาให๎ทหารอังกฤษได๎รับชัยชนะ โดยมิต๎องเสียเลือดเสียเน้ือแตํอยํางใด บี – พี ได๎เขียน
หนังสือเกี่ยวกับการรบคร้ังน้ีไว๎ในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ (ค.ศ. ๑๘๙๖) ช่ือ “จุดจบของกษัตริย์เปรมเปห์”
(The downfall of Prempeh)

รูปที่ ๒๘๘ Nana Prempeh I (1872 -1931) รปู ท่ี ๒๘๙ Submission of King Prempeh

กษตั ริย์เปรมเปห์ กษตั ริยเ์ ปรมเปห์สวามิภักด์ิ

หลังจากเผดจ็ ศึกอาซานติแล๎วไมํนาน บี – พี ก็ได๎รับตาแหนํงเป็น เสนาธิการกองกาลังปราบ

กบฏมาทาเบลเลํ (Matabele Expedition) บี – พี ใชค๎ วามรู๎ ความชานาญด๎านการขําว และการสอดแนม

ของทํานอยํางเต็มที่ จนกองกาลังทหารอังกฤษประสบชัยชนะในการรบอยํางงดงาม ในการนี้

พวกมาทาเบลเลํให๎สมญานามทํานวํา “อิมเพสซํา” (Impessa) แปลวํา “สัตว์ร๎ายที่ไมํเคยหลับ”

(The beast who does not sleep) จากผลงานที่แล๎วมา และผลงานในการรบครั้งน้ี บี – พี ได๎รับ

การยกยํองวําเป็น “ผ๎ูสอดแนมทีย่ ิง่ ใหญํทส่ี ดุ ในกองทัพบกอังกฤษ” และไดเ๎ ลอื่ นยศเป็น “พันเอก” เป็น

ผู๎บัญชาการกรมแดรกกูนการ์ดท่ี ๕ (The 5th Dragoon Guards) และระหวํางการรบคร้ังน้ี ทํานได๎

ทดลองใช๎หมวกปีกแบบคาวบอย (Cow-boy hat) ในสนามเพราะเบากวําหมวกเหล็ก และบังแสงแดด

ได๎ดีกวํา ทาให๎สามารถมองเห็นอะไร ๆ ได๎ดีด๎วย หมวกปีกนี้ได๎รับความนิยมในกองทัพบกในเวลา

ตอํ มา

สงครามท่ีทาให๎ บี – พี กลายเป็นวีรบุรุษระดับชาติ คือ สงครามบัวร์ (Boer War) ซึ่งเป็น

สงครามระหวํางอังกฤษและชาวบัวร์ ซึ่งเป็นชาวฮอลันดา ที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานอยํูในอาฟริกาใต๎

สงครามบัวร์เกิดขึ้นระหวําง ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ – ๒๔๔๕ (ค.ศ. ๑๘๙๙ – ๑๙๐๒) สงครามที่สร๎าง

ชื่อเสียงให๎กับ บี – พี ก็คือ สงครามรักษาเมืองมาฟเฟ็กกิ่ง (Mafeking) จากการโจมตีของกองกาลัง

ฝ่ายบัวร์ ซึ่งมีจานวนมากกวําฝ่ายป้องกันมาก บี – พี สามารถรักษาเมืองน้ีให๎รอดพ๎นจากการล๎อม

โจมตีของกองกาลังฝ่ายบัวร์ได๎นานถึง ๗ เดือนกวํา คือ ระหวํางเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ – เดือน

พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ โดย บี – พี ใช๎กลอุบายหลอกลํอข๎าศึกด๎วยวิธีตําง ๆ วางทํุนระเบิดหลอก

สารานุกรมลูกเสือ ๒๐๔
Scout Encyclopedia

รอบเมือง ทาลวดหนามปลอมรอบ ๆ เมือง เป็นต๎น กลยุทธ์ท่ีสาคัญกลยุทธ์หนึ่งก็คือ บี – พี ฝึกเด็ก
หนํุมชาวเมืองให๎ทาหน๎าที่เป็นหนํวยสอดแนม ทาหน๎าท่ีหาขําวให๎กับกองกาลังป้องกันเมือง ทาให๎
บี – พี ทราบขําวการเคลื่อนไหวของข๎าศึกตลอดเวลา จึงสามารถวางกาลังป้องกันเมืองได๎อยําง
เหมาะสม จนกระทั่งกองกาลังสนับสนุนเดินทางมาถึง ความจริงเมืองมาฟเฟ็กกิ่ง เป็นเมืองเล็ก ๆ
ชายทะเลเทําน้ัน แตํที่มีความสาคัญ เพราะเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค๎า การที่ฝ่ายอังกฤษสามารถ
ปอ้ งกันเมืองนไ้ี ว๎ได๎ จงึ ถือวาํ เป็นชัยชนะท่ีมีความสาคญั ตํอองั กฤษมาก บี – พี จึงกลายเป็นวีรบุรุษไป
ดว๎ ยเหตุน้ี ประสบการณ์การฝึกเด็กหนุํมเมืองมาฟเฟ็กก่ิงให๎เป็นหนํวยสอดแนมน้ี บี – พี จึงได๎เขียน
หนังสือ “คํูมือการสอดแนม” (Aids to Scouting) ขึ้น ซ่ึงกลายเป็นต๎นแบบของการฝึกอบรมลูกเสือ
ของทาํ นนนั่ เอง

รูปท่ี ๒๙๐ บี – พี ได๎รับการยกยอํ งเปน็ วรี บุรุษ เมอื่ สามารถรกั ษาเมืองมาฟเฟ็กกงิ่ ไว๎ได๎
From: H. W. Wilson, With the Flag to Pretoria, 1902

เสร็จจากสงครามท่ีเมืองมาฟเฟ็กก่ิงได๎ ๖ เดือน บี – พี ก็ได๎เล่ือนยศเป็น “พลตรี” อายุเพียง
๔๓ ปี เทํานั้น (นับวําหนํุมมากในมาตรฐานของอังกฤษ) ดารงตาแหนํง “ผ๎ูบังคับการกรมทหารม๎า
(Inspector General of Cavalry) ทาํ นประสบความสาเร็จเป็นอยํางสูงในการปรับปรุง พัฒนาวิธีการฝึก
ทหารม๎าเสียใหมํ หลังจากดารงยศพลตรีได๎ ๕ ปี ทํานก็ได๎เล่ือนยศเป็น “พลโท” ในตาแหนํง
“ผู๎บัญชาการกองพลนอร์ธธัมเบรียน (Northumbrian Division) ซ่ึงเป็นสํวนหนึ่งของกองทัพ
ทหารรักษาดินแดน (Territorial Army) ซ่ึงต้ังขึ้นใหมํ มีหน๎าท่ีฝึกทหารใหมํโดยตรง ซึ่งเป็นงานท่ี
บี – พี ชอบและถนัดอยูํแลว๎

๒๐๕ ๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานักการลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรียน

ชํวงระหวํางท่ี บี – พี เป็นนายพลนี้ ปรากฏวําหนังสือคูํมือการสอดแนม (Aids to Scouting)
ได๎รับความนิยมในหมํูเด็กหนํุมมากพอควร และบางโรงเรียนก็นาไปเป็นคูํมือฝึกเด็ก ๆ ในโรงเรียน
ผ๎ทู ี่ใหค๎ วามสนใจในเรื่องนเี้ ป็นพเิ ศษ คือ เซอร์ วลิ เลี่ยม สมิทธ์ (Sir William Smith) ผู๎กํอต้ังองค์กรเด็ก
และเยาวชนท่ีมีช่ือเสียงในขณะน้ันคือ สมาคมเด็กชาย (Boys’ Brigade) ทํานเซอร์ผ๎ูน้ีเองที่ชักชวนให๎
บี – พี ทาแบบฝกึ ข้ึนมาใหมํ เพอ่ื ใชใ๎ นการฝึกเด็กผู๎ชายในทานองเดียวกับการฝึกผู๎สอดแนม ซ่ึง บี – พี
ก็ปฏิบัติตาม แตํกํอนที่จะทาแบบฝึกหรือคํูมือฝึกขึ้นมา ทํานก็รวบรวมเด็กผู๎ชายท่ีมีภูมิหลังครอบครัว
ตําง ๆ กนั ๒๐ คน พาไปอยํูคํายพักแรมที่เกาะบราวน์ซี (Brownsea Island) ซ่ึงอยูํทางตอนใต๎ของเกาะ
อังกฤษเป็นเวลา ๙ วัน ในปลายเดือนกรกฎาคม – ต๎นเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ (ค.ศ. ๑๙๐๗)
เมอ่ื กลบั จากเกาะบราวน์ซแี ลว๎ ทาํ นจงึ ไดม๎ าเขยี น “การลกู เสือสาหรบั เด็กชาย” (Scouting for Boys)

รูปท่ี ๒๙๑ บี - พี ในการพักแรมทบี่ ราวน์ซี รปู ที่ ๒๙๒ หนงั สือ Scouting for Boys ทีแ่ ตํงโดย บี.พี.

ซ่ึงได๎รับความนิยมอยํางสูงจากท้ังเด็กและผ๎ูใหญํ ท้ังในประเทศอังกฤษ และกระจายไปท่ัวโลก
บี – พี เนน๎ เสมอวําการฝกึ อบรมลูกเสือ ถึงแมจ๎ ะใช๎วธิ กี ารฝึกของทหารอยูํบ๎าง แตํทํานมิได๎ต๎องการให๎
เด็กเป็นทหารแตํอยํางใด ความมุํงประสงค์ของขบวนการลูกเสือ คือ ต๎องการให๎เด็กเป็นคนดี เป็น
พลเมืองที่ดีนั่นเอง ทุกวันนี้วิธีการฝึกอบรมลูกเสือเป็นท่ีร๎ูจัก และยอมรับกันทั่วไป แตํในสมัยน้ัน
วิธีการฝึกอบรมลูกเสือ เป็นสิ่งใหมํมาก จะเรียกวํา เป็นการปฏิวัติการฝึกอบรมเด็กก็วําได๎ วิธีการ
ฝึกอบรมลกู เสือสมัยนัน้ บี – พี มหี ลัก ๔ ประการ คอื

๑. ตอ๎ งมคี วามไวว๎ างใจในเดก็ และใหเ๎ ดก็ มคี วามรบั ผิดชอบในหนา๎ ทที่ ่มี อบหมายให๎
๒. กาหนดกฎของลูกเสือ (Scout Law) เพื่อให๎เด็กปฏิบัติตาม ในลักษณะ “ให๎ปฏิบัติ”
(Positive) มากกวําการ “ห๎ามปฏิบตั ิ” (Negative)

สารานุกรมลูกเสอื ๒๐๖
Scout Encyclopedia

๓. ตอ๎ งใหเ๎ ดก็ ทากจิ กรรมตําง ๆ ท่ีพวกเขาชอบ และสนุกสนาน และเรียนรู๎ไปในตัว เชํน การ
เดินทางไกล การอยูคํ ํายพักแรม การศกึ ษาธรรมชาติ เปน็ ต๎น

๔. แบํงเด็กออกเป็นกลุํมยํอย ๆ (Patrols) มีหัวหน๎ารับผิดชอบแตํละกลํุม มีการแบํงหน๎าท่ี
ความรับผดิ ชอบภายในกลุํมอยํางเหมาะสม

การท่ี บี – พี เลือกท่ีจะดูแลกิจการลูกเสือ แทนท่ีจะรับราชการทหารตํอไปนั้น นับวําเป็นการ
เสียสละของทาํ นเป็นอยาํ งย่งิ เพราะทํานเป็นพลโทอายุเพียง ๔๘ ปี เทํานั้น หากทํานรับราชการตํอไป
ทํานอาจจะได๎เป็นผ๎ูบัญชาการทหารบกก็ได๎ แตํเม่ือมองย๎อนหลังไปแล๎วนับวํา บี – พี ตัดสินใจได๎
อยาํ งถกู ตอ๎ ง เพราะกจิ การลูกเสอื ทาให๎ทํานจะอยูใํ นความทรงจาของบคุ คลทั่วโลกอีกนานเทาํ นาน

ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ (ค.ศ. ๑๙๑๒) บี – พี แตํงงานกับนางสาวโอเลฟ เซนท์ แคล โซมส์
(Miss Olave Saint Clair Soames) และมีชีวิตครอบครัวที่มีความสุข เลด้ี เบเดน โพเอลล์ เป็นกาลัง
สาคญั ของ บี – พี ในการพฒั นากจิ การลกู เสอื และเนตรนารี

ในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ (ค.ศ. ๑๙๒๐) บี – พี ได๎รับการยกยํองให๎เป็น “ประมุขของลูกเสือโลก”
(Chief Scout of the World) ในระหวํางงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๑ ท่ีโอลิมเปีย (Olympia)
ลอนดอน พร๎อมกับการกาเนิดขององค์กรลูกเสือโลก และในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ (ค.ศ. ๑๙๒๙) บี – พี
ไดร๎ บั โปรดเกล๎า ฯ เปน็ บารอน เบเดน โพเอลล์ แหงํ กลิ เวลล์ (Baron Baden-Powell of Gilwell)

รปู ท่ี ๒๙๓ บี - พีไดร๎ ับโปรดเกลา๎ ฯ เป็น บารอน เบเดน โพเอลล์ แหํงกลิ เวลล์
(Baron Baden-Powell of Gilwell)

ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ (ค.ศ. ๑๙๑๙) บี – พี จัดต้ังสถานฝึกอบรมผู๎บังคับบัญชาลูกเสือระดับ
วูดแบดจ์ (Woodbadge) ขึ้น เป็นแหํงแรกที่ กิลเวลล์ ปาร์ค (Gilwell Park) ซ่ึง มิสเตอร์ เดอร์ บัวส์
เมคคลาเรน (Mr. de Bois Maclaren) เป็นผบ๎ู ริจาคทด่ี ินให๎

๒๐๗ ๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานักการลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรียน

รปู ท่ี ๒๙๔ สมาชกิ ผูบ๎ ังคับบญั ชาลกู เสอื รุํนแรกท่ีอบรมทก่ี ิลเวลล์ ปาร์ค

บี – พี ถงึ แกกํ รรมเมอื่ วนั ที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๔ (ค.ศ. ๑๙๔๑) ณ ประเทศเคนยา (Kenya)
และศพทํานก็ฝังอยูทํ ี่น่นั อยใูํ นดนิ แดนอาฟรกิ าที่ทํานรักและผูกพนั

รูปท่ี ๒๙๕ ขบวนลูกเสือรวํ มงานศพของ บี - พี รูปท่ี ๒๙๖ ป้ายหนา๎ หลมุ ฝังศพ ของ บี - พี ท่ปี ระเทศเคนยา

เอกสารอ้างองิ

พลเรือเอก สุชาติ กลศาสตรเสนี, (๒๕๕๓). แปลและเรียบเรียงจากหนังสือ Scouting for Boys,
Memorial Edition (๑๙๔๔).

Carolandjesse. (2007). Baden-Powell grave. [ออนไลน์]. เข๎าถึงได๎จาก http://upload.wikimedia.org/
wikipedia/commons/f/fd/Baden_Powell_grave2.jpg&imgrefurl. (วันที่สืบค๎นข๎อมูล : ๓
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒).

อกั ษร ไพบลู ย์. (๒๕๑๐). ชีวประวตั ขิ อง เบเดน โพเอลล์. กรงุ เทพ ฯ : โรงพมิ พ์มติ รสยาม.

สารานุกรมลูกเสอื ๒๐๘
Scout Encyclopedia

ผา้ ผกู คอลูกเสอื

ความหมาย

ผ๎าผูกคอลูกเสือ เป็น เคร่ืองประกอบเคร่ืองแบบประเภทหน่ึงที่สามารถระบุสังกัดของลูกเสือ
แตํละประเภทได๎

ความเป็นมา

ผ๎าผูกคอลูกเสือ ในประเทศไทย มีมาตงั้ แตํเมื่อครง้ั ท่ี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล๎าเจ๎าอยูํหัว
ได๎สถาปนากิจการลูกเสอื ของประเทศข้ึน ลักษณะของผ๎าผูกคอในสมัยน้ันเป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสสีดา
ขนาดกว๎างและยาว ๗๕ เซนติเมตร ตํอมาภายหลงั ไดม๎ ีการแบํงแยกสี ตามมณฑลตําง ๆ จนกระท่ัง
เกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองและหลังจากน้ัน ผ๎าผูกคอลูกเสือได๎เปล่ียนเป็นสีเหลืองทุกมณฑล
สวํ นผ๎ูบงั คบั บญั ชาลูกเสอื ใหเ๎ พิม่ ขลิบสีขาบ ขนาด ๕ เซนติเมตร

สาหรับผ๎าผูกคอรูปสามเหล่ียมท่ีใช๎ในปัจจุบัน เริ่มมีการใช๎ครั้งแรกเม่ืองานชุมนุมลูกเสือ
แหงํ ชาติ คร้ังท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๐๔ และภายหลังได๎มีพระราชบญั ญตั ิลูกเสอื พ.ศ. ๒๕๐๗ ไดม๎ กี ารเปล่ียน
มาใช๎ผ๎าผูกคอรูปสามเหล่ียม และมีสีของผ๎าผูกคอตามแบบอยํางสีประจามณฑล ตั้งแตํบัดนั้น
เปน็ ต๎นมา

รปู ที่ ๒๙๗ รัชกาลท่ี ๘ ฉลองพระองคช์ ุดลกู เสือ รปู ที่ ๒๙๘ พระบาทสมเดจ็ พระเจ๎าอยํูหวั รัชกาลท่ี ๙
(ผา๎ ผูกคอลกู เสือเปน็ ผืนสเี่ หลีย่ มใชผ๎ กู )
ฉลองพระองคช์ ุดลกู เสอื มณฑลปตั ตานี

๒๐๙ ๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น

รปู ที่ ๒๙๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจ๎าอยํูหวั รัชกาลท่ี ๙ ฉลองพระองคช์ ดุ ลูกเสือ
สวมผา๎ ผูกคองานชมุ นมุ ลูกเสือ (ผา๎ ผกู คอรูปสามเหลย่ี ม)

ลกั ษณะ

ปัจจุบันผ๎าผูกคอลูกเสือ มีลักษณะตามกฎกระทรวงวําด๎วยเคร่ืองแบบลูกเสือ คือ ทาด๎วยผ๎า
มสี ี และขนาดทีแ่ ตกตาํ งกนั ดงั นี้

ผ้าผูกคอลูกเสอื สารอง
ผ๎าผูกคอลูกเสือสารอง เป็นรูปสามเหลี่ยมหน๎าจ่ัว ด๎านฐาน ๙๐ เซนติเมตร ด๎านตั้ง ๖๕
เซนติเมตร สีตามท่ีผู๎บังคับบัญชาลูกเสือแตํละโรงเรียนกาหนด (สํวนใหญํสีผ๎าผูกคอลูกเสือสารอง
มกั จะเป็นสีประจาโรงเรียน) มหี ํวงสวมผา๎ ผูกคอซึ่งไมํใชํหวํ งผา๎ ผูกคอกิลเวลล์ สวมผา๎ ผูกคอ

สารานุกรมลูกเสือ รปู ที่ ๓๐๐ ผ๎าผกู คอลกู เสือสารอง
Scout Encyclopedia
๒๐

ผ้าผกู คอลูกเสือสามญั ลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ และลูกเสือวสิ ามญั
ผ๎าผูกคอลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรํุนใหญํ และลูกเสือวิสามัญ ทาด๎วยผ๎า เป็นรูป
สามเหลี่ยมหน๎าจ่ัว ด๎านฐาน ๑๐๐ เซนติเมตร ด๎านตง้ั ๗๕ เซนตเิ มตร

รูปท่ี ๓๐๑ ผ๎าผูกคอลูกเสอื สามญั สามัญรํุนใหญํ และวสิ ามัญ

เขตการศกึ ษา ๑ เขตการศึกษา ๒ เขตการศึกษา ๓ เขตการศึกษา ๔

เขตการศึกษา ๕ เขตการศึกษา ๖ เขตการศกึ ษา ๗ เขตการศึกษา ๘

เขตการศึกษา ๙ เขตการศกึ ษา ๑๐ เขตการศึกษา ๑๑ เขตการศึกษา ๑๒

รปู ที่ ๓๐๒ สีของผา๎ ผูกคอลูกเสือสามัญ สามัญรํุนใหญํ และวิสามญั

ตามกฎกระทรวงวําดว๎ ยเคร่ืองแบบลูกเสอื

๒ ๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น

สีของผา๎ ผกู คอตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวงวาํ ด๎วยเคร่ืองแบบลูกเสอื ดงั น้ี

เขตการศึกษา ๑ สีเหลือง เขตการศกึ ษา ๒ สเี ขยี ว

เขตการศึกษา ๓ สตี องอํอน เขตการศกึ ษา ๔ สฟี ้า

เขตการศึกษา ๕ สีน้าเงนิ เขตการศกึ ษา ๖ สแี ดงเลอื ดนก

เขตการศกึ ษา ๗ สมี ํวง เขตการศึกษา ๘ สบี านเย็น

เขตการศกึ ษา ๙ สีเลอื ดหมู เขตการศกึ ษา ๑๐ สชี มพู

เขตการศกึ ษา ๑๑ สแี สด เขตการศึกษา ๑๒ สีไพล

สารานุกรมลูกเสือ ๒๒
Scout Encyclopedia

ผา้ ผกู คอผู้บังคับบัญชาลกู เสอื

ลกั ษณะ

ผ๎าผูกคอผู๎บังคับบญั ชาลกู เสือ ทาดว๎ ยผ๎า เป็นรปู สามเหล่ียมหน๎าจ่ัว ด๎านฐาน ๑๐๐ เซนติเมตร
ด๎านกว๎าง ๗๕ เซนติเมตร สีของผ๎าผูกคอเหมือนของลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรํุนใหญํ และลูกเสือ
วสิ ามญั แตมํ ีขลิบสขี าบขนาด ๒ เซนตเิ มตร ๒ ด๎าน

รูปที่ ๓๐๓ ผา๎ ผูกคอผบู๎ ังคบั บญั ชาลูกเสือ

เขตการศกึ ษา ๑ เขตการศกึ ษา ๒ เขตการศกึ ษา ๓ เขตการศกึ ษา ๔

เขตการศึกษา ๕ เขตการศึกษา ๖ เขตการศึกษา ๗ เขตการศกึ ษา ๘

เขตการศึกษา ๙ เขตการศึกษา ๑๐ เขตการศกึ ษา ๑๑ เขตการศกึ ษา ๑๒

รปู ท่ี ๓๐๔ สขี องผ๎าผกู คอผบ๎ู งั คบั บัญชาลูกเสือตามกฎกระทรวงวาํ ดว๎ ยเคร่อื งแบบลกู เสอื

๒ ๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานกั การลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน

ผ้าผูกคอพเิ ศษ

ความหมาย

ผา๎ ผกู คอพเิ ศษ คอื เคร่อื งประกอบเครอ่ื งแบบอีกประเภทหน่ึง ที่มีลักษณะเฉพาะและโอกาส
ในการใช๎ประกอบเครื่องแบบของลูกเสือ ผ๎ูบังคับบัญชาลูกเสือ และบุคลากรทางการลูกเสือ แตกตําง
กนั ไปตามลักษณะท่ีใช๎

ลักษณะ

ผ๎าผกู คอพเิ ศษ มีขนาด สีและขอ๎ กาหนดในการใช๎ผา๎ ผูกคอพิเศษท่ีแตํกตาํ งกันไป
ปัจจุบนั ผ๎าผูกคอพเิ ศษ แบํงออกเป็น ๔ อยําง ดังนี้

๑. ผา๎ ผกู คอพระประมขุ คณะลกู เสอื แหงํ ชาติ และองคอ์ ุปถัมภ์คณะลกู เสอื แหงํ ชาติ

๒. ผา๎ ผกู คอสาหรบั ผผู๎ ํานการฝกึ อบรมวิชาผ๎กู ากับลกู เสอื
๓. ผา๎ ผกู คอลูกเสือในการเดนิ ทางไปตาํ งประเทศ
๔. ผ๎าผูกคอทร่ี ะลึกตาํ ง ๆ

๑. ผา้ ผกู คอพระประมุขคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ และองค์อุปถมั ภ์คณะลูกเสอื แห่งชาติ

มีลักษณะเหมือนกับผ๎าผูกคอของกรรมการบริหารลูกเสือแหํงชาติ กรรมการผ๎ูทรงคุณวุฒิ
ของสภาลูกเสือไทย เพยี งแตํขลบิ ผา๎ ผูกคอเปน็ แถบธงชาตไิ ทยตลอดแนว

สารานุกรมลกู เสือ รูปที่ ๓๐๕ ผา๎ ผูกคอพระประมขุ คณะลกู เสือแหงํ ชาติ
Scout Encyclopedia และองค์อปุ ถัมภ์คณะลกู เสือแหํงชาติ

๒๔

๒. ผ้าผูกคอสาหรับผผู้ า่ นการฝกึ อบรมวชิ าผู้กากับลกู เสือ ขนั้ ความรชู้ ั้นสงู
ผ๎าผูกคอสาหรับผ๎ูผํานการฝึกอบรมวิชาผู๎กากับลูกเสือหรือผ๎าผูกคอกิลเวลล์๓๐ ( Gilwell
Scarf) เป็นผ๎าผกู คอรูปสามเหล่ยี มทอเปน็ ๒ สี ดา๎ นนอกเปน็ สนี ้าตาลอํอน ด๎านในเป็นสีแดงเรื่อๆ มุม
ยอดผ๎าสามเหล่ียม นาผ๎าลายสก๏อตของตระกูลแมคคาเรนช้ินเล็ก ๆ ขนาดกว๎าง ๒.๕ เซนติเมตร ยาว
๕ เซนติเมตร เย็บติดไว๎ เพ่ือให๎เกียรติแกํ นายแมคคาเรน ชาวสก๏อตแลนด์ ผู๎บริจาคเงินซื้อที่ดิน
จัดต้ังศูนย์ฝึกกิลเวลล์ปาร์ค เป็นผ๎าผูกคอสาหรับผู๎บังคับบัญชาท่ีผํานการอบรมวิชาผ๎ูกากับลูกเสือ
ขนั้ ความรู๎ช้ันสงู

รูปท่ี ๓๐๖ ผา๎ ลายสกอ๏ ตของตระกูลแมคคาเรน รูปท่ี ๓๐๗ ผา๎ ผกู คอสาหรับผผ๎ู ํานการฝกึ อบรม
วชิ าผ๎ูกากับลูกเสือหรอื ผา๎ ผูกคอกลิ เวลล์

ผู๎ท่ีมีสิทธิ์สวมผ๎าผูกคอกิลเวลล์ ต๎องผํานการฝึกอบรมวิชาผู๎กากับลูกเสือ ข้ันความร๎ู
ชั้นสงู และต๎องผาํ นการประเมนิ ตรวจข้ันท่ี ๕ ตามระเบียบของสานกั งานคณะลูกเสอื แหํงชาติ

๓๐ เดิมผา๎ ผูกคอน้ี เปน็ ผ๎ารปู ส่ีเหลยี่ ม ด๎านนอกสเี ทา (สขี องความอํอนนอ๎ มถอํ มตน) ด๎านในเป็นสแี ดงเร่อื ๆ
ปัจจบุ นั พัฒนาเป็นผา๎ สามเหล่ียมสีน้าตาลออํ น ( Earth tone)

๒๕ ๐๐ ปี ลูกเสอื ไทย
สานักการลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น

๓. ผ้าผกู คอลกู เสือและผู้บงั คับบัญชาลกู เสอื ทีไ่ ปต่างประเทศ
ผ๎าผูกคอลูกเสือและผู๎บังคับบัญชาลูกเสือที่ไปตํางประเทศ ใช๎ผ๎าผูกคอสีน้าเงินลักษณะ
เชํนเดียวกับผา๎ ผูกคอเครอ่ื งแบบลูกเสือสามัญ แตํขลิบริมสีเหลือง กว๎าง ๐.๕ เซนติเมตร ท่ีตรงข๎ามกับ
ดา๎ นฐาน มีรปู แผนทปี่ ระเทศไทยสีเหลอื ง

รปู ที่ ๓๐๘ ผ๎าผกู คอที่ลกู เสือและผ๎ูบังคบั บญั ชาลูกเสอื
ใช๎เมอ่ื ไปตาํ งประเทศ

๔. ผา้ ผูกคอทร่ี ะลึกตา่ ง ๆ
มีลักษณะเชํนเดียวกับผ๎าผูกคอเครื่องแบบลูกเสือสามัญ แตํมีสี และลวดแตกตํางกันไป
รูปแบบของงานท่ีได๎จัดขึ้นพิเศษ เพ่ือแสดงความเป็นเอกลักษณ์หรือที่ระลึกสาหรับงานน้ัน ๆ เชํน
ผา๎ ผูกคองานชุมนมุ ลกู เสอื เป็นต๎น

รูปท่ี ๓๐๙ ผา๎ ผูกคอที่ระลกึ งานชมุ นุมลกู เสือแบบตําง ๆ

เอกสารอ้างองิ
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหํงชาติ, สานกั งาน. (๒๕๓๘). กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเครื่องแบบลูกเสือ.

พมิ พ์คร้ังที่ ๑๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพรา๎ ว.

สารานุกรมลกู เสือ ๒๖
Scout Encyclopedia

รหสั ของลกู เสือ

ความหมาย

รหัสของลูกเสือ๓๑ หมายถึง เคร่ืองหมายท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของลูกเสือ ซึ่งในวงการ
ลกู เสอื รบั รแู๎ ละเข๎าใจความหมายซงึ่ กนั และกันวาํ “เราเปน็ พน่ี ๎องกนั ”

ความเป็นมา

การแสดงรหัสของลูกเสือมีมาต้ังแตํสมัย ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ มีผู๎ให๎ความหมายเพ่ิมเติมวํา
สามน้ิวที่ชูข้ึน หมายถึง คาปฏิญาณของลูกเสือ ๓ ข๎อ น้ิวหัวแมํมือทับอยํูบนนิ้วก๎อย หมายถึง การอยูํ
รํวมกันฉนั พนี่ ๎อง ภายใต๎คาปฏิญาณท้งั ๓ ข๎อนน้ั

รปู ท่ี ๓๑๐ รหสั ลกู เสอื รูปที่ ๓๑๑ การแสดงรหัสลูกเสอื

การแสดงรหัส ยกข๎อศอกขวา งอขึ้นข๎างลาตัว หันฝ่ามือไปข๎างหน๎าสูงเหนือไหลํเล็กน๎อย
นิ้วหัวแมํมือทับนิ้วก๎อย อีกสามนิ้วที่เหลือเหยียดขึ้นไปตรง ๆ และติดกันการแสดงรหัสของลูกเสือ
เป็นลักษณะท่แี สดงออกด๎วยความภาคภูมใิ จในความเป็นลกู เสอื

โอกาสในการแสดงรหัสของลกู เสอื
๑. เม่อื ลกู เสือกลาํ วคาปฏญิ าณในพธิ ีปฏญิ าณตนเข๎าประจากอง และพิธีอื่น ๆ ท่ีมีการทบทวน

คาปฏิญาณ
๒. เมื่อพบกับลูกเสือในประเทศ หรือตํางประเทศเป็นการรับรู๎วําเป็นพวกเดียวกัน และเป็น

พนี่ ๎องกันทัว่ โลก (ผูท๎ ไ่ี มไํ ดแ๎ ตงํ เครอ่ื งแบบกแ็ สดงไดเ๎ พือ่ ใหฝ๎ ่ายทีแ่ ตํงเคร่ืองแบบทราบ)

๓๑ ข๎อบงั คับคณะลกู เสือแหํงชาติฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข๎อ ๒๘๐ ๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานกั การลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น
๒๗

เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหํงชาติ, สานักงาน. ขอ้ บังคบั คณะลกู เสือแห่งชาติวา่ ดว้ ยการปกครอง

หลักสตู ร และวชิ าพเิ ศษลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ๎ ๒๘๐.

สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดอํางทอง.(๒๕๕๓). วันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ.
http://www.angthongnews.com/welcome/?p=6950.

สารานกุ รมลูกเสือ ๒๘
Scout Encyclopedia

หมวกลกู เสอื

ความหมาย

หมวกลูกเสือ เป็นเครื่องประกอบเคร่ืองแบบลูกเสือประเภทหน่ึงท่ีแสดงถึง ประเภทของ
ลูกเสือ และเหลําของลกู เสือ

ลักษณะ

หมวกลูกเสือ ทาจากวัสดุหลายแบบ มีรูปรําง รูปทรง สี และลักษณะที่แตกตํางกันตาม
ประเภทของลูกเสอื และเหลาํ ของลกู เสือดงั น้ี

หมวกลกู เสอื เหลา่ เสนา
หมวกลูกเสอื สารอง เปน็ หมวกทรงกลมมีกะบังหนา๎ หมวก ทาด๎วยผา๎ สกี รมทํา เมื่อเข๎าพิธี

ประจากองแลว๎ มีตราหน๎าหมวกรปู หนา๎ เสือและอกั ษรใต๎หน๎าเสือวาํ "ลูกเสือ" สีเหลอื ง
หมวกลูกเสือสามัญ เป็นหมวกปีกกว๎างสีกากี พับปีกข๎างขวาข้ึน ประดับด๎วยดอกจัน

ชน้ั เดียว กลางดอกจันมรี ปู ตราคณะลกู เสอื แหํงชาติ ทาดว๎ ยโลหะสที อง
หมวกลูกเสือสามัญรํุนใหญํ เป็นหมวกทรงอํอนสีเลือดหมู มีตราหน๎าหมวกรูปตรา

คณะลกู เสือแหงํ ชาติ ทาด๎วยโลหะสีทอง เวลาสวมใหต๎ ราหนา๎ หมวกอยูํเหนือคว้ิ ซา๎ ย
หมวกลูกเสือวิสามัญ เป็นหมวกทรงอํอนสีเขียว มีตราหน๎าหมวกรูปตราคณะลูกเสือ

แหํงชาติ ทาด๎วยโลหะสที อง เวลาสวมให๎ตราหนา๎ หมวกอยูํเหนือคว้ิ ซา๎ ย

รปู ที่ ๓๑๒ หมวกลูกเสอื สารอง รูปท่ี ๓๑๓ หมวกลูกเสือสามญั

รูปท่ี ๓๑๔ หมวกลูกเสือสามัญรํุนใหญํ รูปที่ ๓๑๕ หมวกลกู เสือวสิ ามญั

๒๙ ๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานักการลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรียน

หมวกลกู เสือ เหล่าสมุทร
หมวกลูกเสือสามัญ เหล่าสมุทร ทาด๎วยผ๎าสีกากี ผ๎าพันหมวกสีดากว๎าง ๓ เซนติเมตร มี

อักษร “ลูกเสือสมุทร” สีทอง และมีตราคณะลูกเสือแหํงชาติสีทองกากับหน๎าและหลัง ปลายแถบท้ัง
สองข๎าง ตัดชายเป็นรูปหางนกแซงแซว มีรูปสมอสีทองนอนตามยาว สาหรับเครื่องแบบขาว หมวก
ทาด๎วยผ๎าสีขาว

รปู ท่ี ๓๑๖ หมวกลูกเสือสามัญ

หมวกลูกเสือสามัญรํุนใหญํ เหล่าสมุทร ทาด๎วยผ๎าสีกากี ผ๎าพันหมวกสีเลือดหมูกว๎าง ๓
เซนติเมตร มีอักษร “ลูกเสือสมุทร” สีทอง และมีตราคณะลูกเสือแหํงชาติสีทองกากับหน๎าและหลัง
ปลายแถบท้งั สองข๎าง ตดั ชายเปน็ รปู หางนกแซงแซว มรี ูปสมอสที องนอนตามยาว สาหรับเครื่องแบบ
ขาว หมวกทาดว๎ ยผ๎าสขี าว

รูปที่ ๓๑๗ หมวกลูกเสือสามญั รุํนใหญํ

หมวกลูกเสือวิสามัญ เหล่าสมุทร ทาด๎วยผ๎าสีกากี ผ๎าพันหมวกสีเขียวกว๎าง ๓ เซนติเมตร
มอี กั ษร “ลูกเสอื สมุทร” สที อง และมีตราคณะลูกเสือแหํงชาติสที องกากับหน๎าและหลัง ปลายแถบท้ัง
สองข๎าง ตัดชายเป็นรูปหางนกแซงแซว มีรูปสมอสีทองนอนตามยาว สาหรับเคร่ืองแบบขาว หมวก
ทาดว๎ ยผ๎าสีขาว

สารานุกรมลกู เสอื รปู ท่ี ๓๑๘ หมวกลูกเสือวิสามัญ
Scout Encyclopedia
๒๒๐

หมวกลกู เสอื เหลา่ อากาศ
หมวกลูกเสือสามัญ หมวกลูกเสือสามัญรํุนใหญํ และหมวกลูกเสือวิสามัญ เหลําอากาศ เป็น

หมวกทรงออํ น(เบเรํ) ทาด๎วยผ๎าสีเทา

รปู ที่ ๓๑๙ หมวกลูกเสือสามัญ หมวกลกู เสอื สามัญรุํนใหญํ
และหมวกลูกเสอื วิสามญั เหลําอากาศ

๒๒ ๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรยี น

หมวกผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสอื

ความหมาย

หมวกผู๎บังคับบัญชาลูกเสือ และบุคลากรทางการลูกเสือ เป็นเคร่ืองประกอบเครื่องแบบ
ลกู เสอื ประเภทหนงึ่ ท่ีแสดงถึง ประเภทของลกู เสอื และตาแหนงํ ทางลูกเสอื

ลักษณะ

หมวกลูกเสือ ทาจากวัสดุหลายแบบ มีรูปรําง รูปทรง สี และลักษณะที่แตกตํางกันตาม
ประเภทของลกู เสือ และตาแหนํงทางลกู เสือดงั น้ี

หมวกผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือ เหล่าเสนา
หมวกลกู เสอื สารอง เปน็ หมวกทรงออํ น(เบเรํ) ทาด๎วยผา๎ สีเขยี ว
หมวกลูกเสือสามญั เปน็ หมวกทรงออํ น(เบเรํ) ทาดว๎ ยผ๎าสีเขยี ว และหมวกปีกกว๎าง
หมวกลกู เสือสามญั รํุนใหญํ เปน็ หมวกทรงอํอน(เบเรํ) ทาด๎วยผา๎ สเี ลอื ดหมู
หมวกลูกเสือวสิ ามญั เป็นหมวกทรงอํอน(เบเรํ) ทาดว๎ ยผา๎ สีเขียว

รูปท่ี ๓๒๐ หมวกผ๎บู งั คบั บญั ชาลกู เสือสารอง รปู ที่ ๓๒๑ หมวกผบ๎ู ังคบั บญั ชาลกู เสอื สามัญรนํุ ใหญํ
ลกู เสือสามัญ และลูกเสือวิสามญั

รปู ที่ ๓๒๒ หมวกปกี ผบู๎ งั คบั บญั ชาลูกเสือสารองและสามญั

สารานุกรมลกู เสือ ๒๒๒
Scout Encyclopedia

หมวกผู้บงั คับบัญชาลกู เสือ เหล่าสมทุ ร
หมวกผ๎ูบงั คับบัญชาลกู เสือสามัญ สามัญรนํุ ใหญํ และวิสามัญ เหล่าสมุทร เป็นหมวกทรง

หมอ๎ ตาลสกี ากี กะบงั สดี า ผา๎ พันหมวกสดี า กว๎าง ๔ เซนติเมตร มสี ายรัดคางกว๎าง ๑ เซนติเมตร ปลาย
สายรัดคางมีดุมลายดุนรูปตราคณะลูกเสือแหํงชาติ ทาด๎วยโลหะสีทอง ข๎างละ ๑ ดุม หน๎าหมวกรูป
ตราคณะลูกเสือแหํงชาติ ประกอบรูปสมอเรือ ทาด๎วยโลหะสีทอง สาหรับเครื่องแบบขาว หมวกทา
ดว๎ ยผา๎ สขี าว

รปู ท่ี ๓๒๓ หมวกผ๎ูบังคบั บัญชาลูกเสอื สามัญ รูปท่ี ๓๒๔ หมวกผบู๎ งั คบั บญั ชาลกู เสอื สามญั
สามัญรนํุ ใหญํและวิสามญั เหลําสมทุ รหญิง สามญั รนุํ ใหญํ และวิสามัญ เหลําสมุทร ชาย
เคร่ืองแบบขาว เคร่อื งแบบขาว

รปู ท่ี ๓๒๕ หมวกผบ๎ู งั คับบัญชาลกู เสือสามัญ รูปท่ี ๓๒๖ หมวกผบู๎ ังคับบญั ชาลกู เสอื สามัญ
สามญั รุนํ ใหญแํ ละวิสามัญ เหลําสมุทรหญิง สามัญรุํนใหญํ และวิสามญั เหลําสมทุ ร ชาย

เครือ่ งแบบกากี เครื่องแบบกากี

๒๒ ๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น

หมวกผู้บงั คับบัญชาลกู เสอื เหล่าอากาศ
หมวกผู้บังคบั บัญชาลูกเสือสามัญ สามญั รุํนใหญํ และวิสามัญ เป็นหมวกทรงอํอน(เบเรํ) ทา

ดว๎ ยผ๎าสีเทา สาหรับหมวกปกี กว๎างกาลังอยรํู ะหวาํ งการขออนุมตั ิ

รปู ท่ี ๓๒๗ หมวกผ๎ูบังคับบัญชาลกู เสือสามญั สามญั รุํนใหญํ
และวิสามญั เหลําอากาศ

สารานุกรมลูกเสอื ๒๒๔
Scout Encyclopedia

หมวกบคุ ลากรทางการลกู เสือ

หมวกบุคลากรทางการลูกเสือ
หมวกบุคลากรทางการลกู เสือ มี ๒ ชนดิ

แบบที่ ๑ เปน็ หมวกทรงอํอน(เบเรํ) ทาด๎วยผ๎าเขยี ว
แบบท่ี ๒ เปน็ หมวกปกี

รูปท่ี ๓๒๘ หมวกบคุ ลากรทางการลกู เสอื รปู ที่ ๓๒๙หมวกบคุ ลากรทางการลกู เสอื
แบบท่ี ๑ หมวกทรงอํอน (เบเรํ) แบบที่ ๒ หมวกปกี

๒๒๕ ๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานกั การลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน

หมลู่ ูกเสอื

ความหมาย

หมู่ลูกเสือ หมายถึง หนํวยท่ีเล็กที่สุดของลูกเสือ มีลูกเสือประเภทเดียวกันมารวมกัน ต้ังแตํ
๔ - ๘ คน ทงั้ น้ี จานวนสมาชิกในหมลูํ ูกเสือขน้ึ อยํกู บั ประเภทและเหลาํ ของลูกเสอื

การใช๎ระบบหมขํู องลกู เสือ คือกญุ แจสคูํ วามสาเรจ็ ของการฝกึ อบรมลกู เสือ

ประเภทและการเรยี กช่ือหมลู่ กู เสือ๓๒

หมํูของลูกเสือจดั แบงํ ตามเหลําและประเภทของลูกเสือ
ลูกเสอื เหลา่ เสนา

หมํลู ูกเสือสารอง เรยี กชือ่ หมํู เป็นสีตามวัน หรือสที ่เี หมาะสม
หมูํลูกเสือสามัญ เรยี กชอื่ หมํตู ามช่ือสัตวต์ ําง ๆ ท่ีมีคุณลักษณะดีงาม สาหรับหมูํเนตรนารี
สามัญ เรยี กช่ือหมํูตามช่ือดอกไม๎
หมูํลูกเสือสามัญรํุนใหญํ เรียกชื่อหมํูตามบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์ไทย สาหรับหมูํ
เนตรนารีสามญั รํนุ ใหญํ เรยี กชื่อหมูํตามชอื่ นกตาํ ง ๆ
หมลํู กู เสอื วิสามญั เรยี กชอื่ หมูตํ ามลาดบั ตัวเลขไทย สาหรบั หมํูเนตรนารีวิสามัญ เรียกชื่อ
หมํตู ามช่ืออญั มณี
ลกู เสือเหลา่ สมุทร
หมูํลูกเสือสามัญ เรียกช่ือหมูํตามชื่อเรือลาดตะเวนชายฝ่ัง เรือยกพลขึ้นบก เรือกวาดทุํน
ระเบดิ เรอื สารวจอทุ กศาสตร์ และเรอื ตอรป์ ิโดใหญํ
หมํูลูกเสือสามัญรํุนใหญํ เรียกชื่อหมํูตามช่ือเรือปราบเรือดาน้า เรือปืน เรือยนต์เร็วติด
อาวธุ นาวถิ ี และเรือดานา้
หมลูํ ูกเสือวิสามัญ เรยี กช่อื หมูํตามช่อื เรือยกพลข้ึนบกและบริการ
ลูกเสือเหลา่ อากาศ
หมํูลูกเสอื สามัญ เรียกชอื่ หมูตํ ามชื่อดาว เทหว์ ตั ถุในจักรวาล และปรากฏการณ์ตําง ๆ บน
ทอ๎ งฟา้
หมํูลูกเสือสามัญรุํนใหญํ เรียกช่ือหมํูตามชนิดของเคร่ืองบินขับไลํ เคร่ืองบินโจมตี
เครอ่ื งบนิ ท้ิงระเบิด เครื่องบินใบพดั และไอพํน
หมํูลูกเสือวิสามัญ เรียกชื่อหมํูตามชนิดของเคร่ืองบินฝึก เครื่องบินรํอน เครื่องบิน
ตรวจการณ์ เคร่อื งบนิ ธรุ การ เคร่อื งบนิ ลาเลียง เครอ่ื งบินโดยสารและเฮลิคอปเตอร์

๓๒ หมํูเนตรนารสี ามัญ หมํเู นตรนารีสามัญรุนํ ใหญํ และหมูํเนตรนารวี ิสามญั เหลาํ สมุทรและเหลําอากาศ ใช๎ตามหมํลู กู เสือเหลําสมุทรและ
เหลาํ อากาศ

สารานุกรมลูกเสอื ๒๒๖
Scout Encyclopedia

หลักสูตรกิจกรรมลูกเสอื

ความหมาย

หลกั สูตรกจิ กรรมลกู เสือ หมายถึง มวลกจิ กรรม คอื กิจกรรมตําง ๆ หลาย ๆ กิจกรรมท่ีจัดข้ึน
อยํางมีระบบ อยํูบนรากฐานของวัตถุประสงค์ หลักการ วิธีการของกิจการลูกเสือ เพ่ือให๎ลูกเสือได๎
กระทากิจกรรมเหลํานั้น นาไปสูํพัฒนาการของลูกเสือตามวัตถุประสงค์ของขบวนการลูกเสือ
หลกั สตู รกจิ กรรมลูกเสือ เน๎น ให๎ลูกเสอื ได๎กระทากิจกรรม เรยี นรด๎ู ว๎ ยการกระทา
วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตรกิจกรรมลูกเสอื

๑. เพ่อื พัฒนาเดก็ และเยาวชน ใหม๎ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีความสามารถ
๑.๑ มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
๑.๒ มีความสามารถชํวยตนเองได๎ พ่ึงตนเองได๎ ป้องกันตนเองจากโรคภัย อันตราย ตําง

ๆ ได๎ พัฒนาตนเองได๎
๑.๓ พฒั นาความสามารถเฉพาะตวั ตามความสนใจ ความถนัดสคูํ วามเป็นเลศิ

๒. เพ่ือสํงเสริมให๎ลูกเสือได๎บาเพ็ญประโยชน์ตํอสาธารณะ ชํวยเหลือครอบครัว ชํวยเหลือ
เพ่ือน ชํวยเหลือบุคคลตําง ๆ มีสํวนรํวมในการแก๎ปัญหาและพัฒนาธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม ชุมชน
ประเทศชาตแิ ละโลก
หลกั การของการลูกเสอื

การลกู เสอื มงุํ พฒั นาเด็กและเยาวชนให๎มีความสานึกในความรบั ผดิ ชอบทจ่ี ะตอ๎ งมหี นา๎ ที่ ตํอ
๑. ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒. การชํวยเหลอื ผูอ๎ ่ืน ชมุ ชน ประเทศชาติและโลก
๓. การพฒั นาตนเอง ตามคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ
ดังนน้ั หลักการของลูกเสอื ก็คอื คาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื
วิธกี ารของการลกู เสอื
๑. เรียนรด๎ู ว๎ ยการกระทา
๒. สงํ เสรมิ ให๎ใฝร่ ๎ู ฝึกทกั ษะหาความรู๎ ประสบการณ์ด๎วยตนเอง
๓. กระทากจิ กรรมด๎วยกระบวนการกลุํม
๔. กระทากจิ กรรมกลางแจง๎ ใกล๎ชดิ สัมพันธก์ ับธรรมชาติ
๕. ฝกึ คดิ ตัดสินใจ ดาเนนิ งานอยาํ งมีแผนงาน เป็นระบบ
๖. เปน็ กิจกรรมสนุก เรา๎ ใจ ทา๎ ทาย ยว่ั ยใุ ห๎แสดงความสามารถที่มีอยูํและแสดงความสามารถ

เหนอื ไปจากท่มี อี ยหํู รอื แตกตํางจากทีม่ ีอยูํ

๒๒๗ ๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น

๗. เป็นการเลนํ เปน็ เกมแขํงขัน
๘. เปน็ การศึกษา คน๎ คว๎า ทดลอง วจิ ัย
๙. ฝกึ ทักษะ สร๎างประสบการณ์ใหมํ ผลติ สร๎าง ประดิษฐ์ ริเรม่ิ สร๎างสรรค์
๑๐. เปน็ กจิ กรรมชวํ ยเหลอื ใหบ๎ รกิ าร บาเพญ็ ประโยชน์
๑๑.กิจกรรมของลูกเสือ ยึดถือเด็กและเยาวชนเป็นสาคัญ สอดคล๎องตามวัย สภาพแวดล๎อม

เหมาะสมกับวุฒิภาวะ รํางกาย จิตใจ ไมํขัดตํอศีลธรรม วัฒนธรรมอันดีงานและหลัก
ศาสนา
ทํานอาจารย์อภยั จันทวิมล ไดส๎ รุปวิธกี ารของลูกเสือไว๎อยํางสัน้ กะทัดรดั คอื

ผจญภยั
ไดเ๎ พื่อน
เถ่ือนธาร
การสนุก
สุขสม

กิจกรรมหลกั ของลกู เสอื
มวลกจิ กรรมของลูกเสอื ตามหลักสตู รกจิ กรรมลูกเสอื แบงํ ออกเปน็ ๔ กิจกรรมหลัก
๑. กิจกรรมสญั ลักษณ์ของลกู เสอื แยกออกเป็น ๗ กิจกรรมยอํ ย
๑.๑ ความรูเ๎ กี่ยวกบั ขบวนการลูกเสือ
๑.๒ ความรู๎ ความเข๎าใจ ความตระหนักในคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
๑.๓ วินัยและความเป็นระเบยี บเรียบร๎อย
๑.๔ การพึง่ และพัฒนาตนเอง
๑.๕ การชํวยเหลือผูอ๎ ่นื
๑.๖ ทักษะทางลูกเสอื
๑.๗ การใชช๎ ีวิตกลางแจ๎ง
๒. กิจกรรมตามกฎของลกู เสอื
๒.๑ กฎของลูกเสอื สารอง มี ๒ ข๎อ
๒.๒ กฎของลกู เสือสามัญ ลกู เสอื สามญั รํนุ ใหญํ และลูกเสือวิสามัญ มี ๑๐ ข๎อ
๓. กิจกรรมโครงการเพื่อมีสํวนรํวมในการแก๎ปัญหาและพัฒนาธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม

ชุมชน ประเทศชาติและโลก แยกออกเป็นกิจกรรมยอํ ย ๔ กิจกรรม
๓.๑ กิจกรรมโครงการเพอื่ ชํวยเหลือธรรมชาติ สงิ่ แวดล๎อม
๓.๒ กจิ กรรมโครงการเพื่อชํวยเหลอื ชมุ ชน
๓.๓ กิจกรรมโครงการเพอื่ ชํวยเหลือประเทศชาติ

สารานุกรมลูกเสอื ๒๒๘
Scout Encyclopedia

๓.๔ กิจกรรมโครงการเพื่อชํวยเหลือโลก
๔. กิจกรรมวิชาพิเศษ แยกออกเป็น ๑๐ กิจกรรมยํอย ให๎ลูกเสือเลือกเรียนตามความสนใจ
และความถนดั

๔.๑ กลมุํ ทกั ษะทางการลูกเสอื ชัน้ สูง
๔.๒ กลํมุ มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
๔.๓ กลมุํ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
๔.๔ กลํุมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการทอํ งเทยี่ ว
๔.๕ กลมํุ การศึกษาและจติ วิทยาเพ่ือการศกึ ษาตํอ
๔.๖ กลุมํ พลานามัย สาธารณสุขศาสตร์และการแพทย์
๔.๗ กลํมุ เศรษฐศาสตร์
๔.๘ กลํุมนิเทศศาสตร์
๔.๙ กลํมุ เกษตรศาสตร์
๔.๑๐ กลุํมสันตภิ าพและความมน่ั คงของชาติ
รายละเอยี ดของเนื้อหาตามหลักสตู รกิจกรรมลูกเสือ ยึดถือเด็กและเยาวชนเป็นศูนย์กลางของ
การกระทากิจกรรม โดยเฉพาะท่เี ก่ียวกบั วยั วุฒภิ าวะ ปญั หา ความตอ๎ งการพัฒนา ประเภทของลูกเสือ
คือ ลูกเสือสารอง (เตรียมลูกเสือสารอง ลูกเสือสารอง ระดับ ดาวดวงท่ี ๑ ดาวดวงที่ ๒ ดาวดวงที่ ๓)
ลูกเสือสามัญ (ลูกเสือตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก) ลูกเสือสามัญรุํนใหญํ (ลูกเสือโลก ลูกเสือชั้นพิเศษ
ลกู เสือหลวง) ลูกเสอื วิสามญั (ระดบั กํอนเป็นลูกเสือวิสามัญ ระดับเตรียมลูกเสือวิสามัญ ระดับลูกเสือ
วสิ ามญั ) และการเชื่อมโยง สัมพันธ์ให๎เกิดการเกื้อกูลกันกับหลักสูตรที่เด็กและเยาวชนกาลังศึกษาอยํู
ในระบบโรงเรียน
รายละเอียดของเนื้อหาสาระในหลักสูตรกจิ กรรมลูกเสือ ทุกประเภทและทุกเหลํา (เหลําเสนา
เหลําสมุทร เหลําอากาศ) เป็นไปตามระเบียบวําด๎วยหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือของ คณะกรรมการ
บรหิ ารลูกเสอื แหํงชาติ

๒๒๙ ๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น

ผู้เขยี นสารานุกรม

นายพะนอม แก้วกาเนดิ
ตาแหน่งทางลกู เสอื กรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ

กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ สภาลูกเสือไทย
วฒุ ิทางลกู เสือ L.T.
เรื่องที่เขียน : หลกั สตู รลกู เสือและตรวจสอบขอ้ มูล
หนา้ ที่ : ทปี่ รกึ ษา และตรวจสอบขอ้ มูล

นายนวิ ัตร นาคะเวช
ตาแหน่งทางลกู เสอื เลขาธกิ ารสานักงานลกู เสือแหง่ ชาติ

กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ สภาลูกเสอื ไทย
วุฒิทางลูกเสอื B.T.C.
หนา้ ที่ : อานวยการ ฯ และตรวจสอบข้อมลู

พลเรือเอกสชุ าติ กลศาสตร์เสนี
ตาแหนง่ ทางลกู เสอื กรรมการบริหารลกู เสอื แหง่ ชาติ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภาลกู เสอื ไทย
วุฒทิ างลูกเสอื B.T.C
เรือ่ งทเี่ ขียน : ประวัติ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์
หน้าท่ี : ท่ปี รึกษา และตรวจสอบข้อมูล

นายวายุ พยคั ฆันตร
ตาแหน่งทางลูกเสือ กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ สภาลกู เสือไทย
วฒุ ิทางลกู เสือ L.T.
เรื่องท่ีเขียน : คา่ ยลูกเสือ และการอย่คู ่ายพกั แรม
หนา้ ที่ : ทป่ี รึกษาและตรวจสอบขอ้ มูล

๒๓๕ ๑๐๐ ปี ลกู เสือไทย
สานกั การลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น

นายศภุ กร วงศ์ปราชญ์
ตาแหน่งทางลูกเสอื ผู้ตรวจการลกู เสือประจาสานักงานลูกเสือแห่งชาติ
วฒุ ทิ างลูกเสือ L.T.
เรื่องท่เี ขียน : การลูกเสือ
หน้าท่ี : อานวยการ ฯ และตรวจสอบขอ้ มลู

นายสายัณห์ สนั ทัด
ตาแหนง่ ทางลกู เสือ ผู้ตรวจการลกู เสอื ประจาสานกั งานลูกเสอื แห่งชาติ
วฒุ ิทางลูกเสือ L.T.
หน้าท่ี : อานวยการ ฯ และตรวจสอบข้อมูล

นางวรรณภา พรหมถาวร
ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานกั งานลูกเสอื แห่งชาติ
วฒุ ิทางลูกเสอื L.T.
เรื่องทีเ่ ขียน : ขบวนการลูกเสือ คาปฏิญาณและกฎของลกู เสอื

ธรรมเนยี มลกู เสอื ธงลกู เสือ
หน้าที่ : เลขานุการ ประสาน เรียบเรียง รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ

รปู เล่ม และจัดพิมพ์

นายเจษฎาภรณ์ วิรยิ ะสกุลธรณ์
ตาแหนง่ ทางลกู เสือ ผู้ตรวจการลูกเสอื ประจาสานักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ
วุฒทิ างลกู เสอื L.T.
เรื่องทเ่ี ขียน : พระราชประวัติ ฯ รัชกาลที่ ๖ เครอื่ งหมายประกอบ

เครื่องแบบลูกเสอื แบบพิมพล์ กู เสอื ธงลูกเสือ
หน้าท่ี : ตรวจสอบข้อมลู และรูปเล่ม

สารานุกรมลูกเสอื ๒๓๖
Scout Encyclopedia

นายสมทิ ธชิ ัย หงส์ทอง
ตาแหน่งทางลูกเสอื ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสือแห่งชาติ
วุฒทิ างลกู เสอื L.T.
เร่อื งที่เขียน : การยกย่องเชิดชเู กียรติ

นายประเทือง วัชรพงษ์เทพ
ตาแหน่งทางลูกเสอื ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
วุฒิทางลูกเสือ L.T.
เรอ่ื งทเ่ี ขียน : การแสดงความเคารพของลกู เสอื ประเภทลูกเสือ

นายดารงค์ ปุณฑรกิ กุล
ตาแหนง่ ทางลกู เสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ ประจาสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
วฒุ ทิ างลูกเสอื L.T.
เรอื่ งท่เี ขียน : การแสดงความเคารพของลูกเสือ หมู่ลกู เสือ

นายยุคศลิ ป์ ไชยภักดิ์
ตาแหนง่ ทางลูกเสอื ผู้กากับกลุ่มลกู เสือโรงเรยี น
วฒุ ทิ างลกู เสอื L.T.
เรือ่ งทเ่ี ขียน : เครื่องหมายประกอบเคร่ืองแบบผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื

นายสมพงษ์ แสนแก้ว
ตาแหน่งทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสอื ประจาสานักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
วุฒิทางลูกเสือ L.T.
เรอ่ื งที่เขียน : การสวนสนาม การแสดงความเคารพของลูกเสอื

๒๓๗ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานกั การลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น

สารานุกรมลูกเสอื นายสมกียรติ ฮะวังจู
Scout Encyclopedia ตาแหน่งทางลูกเสอื ผกู้ ากับกลุม่ ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่วัดศรีสทุ ธาธรรม
วุฒิทางลกู เสอื L.T.
เรื่องที่เขียน : เคร่ืองหมายประกอบเครื่องแบบลกู เสือ

นางสาวจริ าภรณ์ ภูอุดม
ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้กากับกล่มุ ลกู เสอื สามญั โรงเรยี นวัดหนองสองหอ้ ง
วฒุ ทิ างลกู เสือ L.T.
เรือ่ งที่เขียน : เครื่องหมายประกอบเครือ่ งแบบลูกเสือ

นางสาวอญั ชลี ทองมังกร
ตาแหน่งทางลูกเสือ ผู้กากับลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่โรงเรยี นเกษมพิทยา
วุฒิทางลูกเสือ L.T.
เร่ืองทเี่ ขียน : เคร่ืองหมายประกอบเครื่องแบบลูกเสือ ตาแหน่งทาง

ลูกเสือ รหสั ลูกเสือ
หนา้ ที่ : ตรวจสอบข้อมลู

นายจิราวุธ คุม้ จันทร์
ตาแหนง่ ทางลูกเสอื ผกู้ ากับลกู เสือโรงเรียนยางซา้ ยพิทยาคม
วฒุ ทิ างลูกเสอื L.T.
เรอ่ื งที่เขียน : ผ้าผกู คอลูกเสือ ผ้าผกู คอผูบ้ ังคบั บัญชาลูกเสือ ธงลกู เสือ

นายสมสขุ สวา่ งคา
ตาแหน่งทางลกู เสือ ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
วฒุ ิทางลกู เสอื L.T.
เรื่องทเี่ ขียน : เครื่องหมายประกอบเคร่ืองแบบลูกเสือ ธงลูกเสือ
หนา้ ท่ี : ตรวจสอบข้อมูล

๒๓๘

วา่ ทร่ี อ้ ยตรี ชัยนติ ย์ พรรณาวร
ตาแหนง่ ทางลกู เสอื ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
วฒุ ทิ างลกู เสอื L.T.
เรือ่ งทเ่ี ขียน : ผา้ ผกู คอลกู เสอื ผา้ ผกู คอผ้บู งั คบั บัญชาลูกเสือ

นายพรชั ฌ์ ผุดผ่อง
ตาแหน่งทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ ประจาสานักงานลูกเสือแห่งชาติ
วุฒิทางลูกเสอื L.T.
เรอ่ื งท่เี ขียน : เครื่องแบบผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือ เคร่อื งแบบลูกเสือ
หน้าที่ : ตรวจสอบขอ้ มูล

นายไพฑรู ย์ พนั ธช์ุ าตรี
ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ ประจาสานักงานลูกเสอื แห่งชาติ
วุฒิทางลกู เสือ L.T.
เรอื่ งทเ่ี ขียน : เครื่องแบบผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื เครือ่ งแบบลกู เสอื

นายสภุ โชค เกษมจิต
ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลกู เสอื ประจาสานักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
วุฒทิ างลูกเสือ L.T.
เรอื่ งท่ีเขียน : เคร่ืองแบบผู้บังคับบญั ชาลกู เสอื เคร่ืองแบบลกู เสือ
หน้าที่ : ตรวจสอบข้อมลู

นายวิรชั บญุ ชัยศรี
ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลกู เสอื ประจาสานักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
วฒุ ิทางลกู เสือ L.T.
เรื่องท่ีเขียน : เครื่องแบบผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ เครอ่ื งแบบลูกเสอื

๒๓๙ ๑๐๐ ปี ลกู เสอื ไทย
สานักการลกู เสอื ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น

สารานุกรมลูกเสอื นายทวีศักด์ิ ทวีรัตนธรรม
Scout Encyclopedia ตาแหนง่ ทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ
วฒุ ิทางลูกเสือ L.T.
เรอื่ งทเี่ ขียน : เครื่องแบบผู้บังคบั บัญชาลกู เสอื เครื่องแบบลูกเสือ

นายทองชุบ ศรแกว้
ตาแหนง่ ทางลกู เสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ ประจาสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
วฒุ ิทางลูกเสือ L.T.
เร่อื งท่เี ขียน : เคร่ืองแบบผู้บงั คับบญั ชาลูกเสอื เครอ่ื งแบบลูกเสอื

ธงลูกเสือ
หน้าที่ : ตรวจสอบขอ้ มลู

นางสาวสมคดิ เข็มทอง
ตาแหน่งทางลูกเสือ ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสอื แห่งชาติ
วฒุ ทิ างลูกเสือ L.T.
เรื่องทเ่ี ขียน : เคร่ืองแบบผู้บงั คับบัญชาลกู เสือ เครอ่ื งแบบลูกเสอื

นางศิรณิ ี บุญปถมั ภ์
ตาแหนง่ ทางลูกเสอื ผู้ตรวจการลกู เสือ ประจาสานักงานลูกเสอื แห่งชาติ
วฒุ ิทางลูกเสอื L.T.
เรื่องทีเ่ ขียน : เคร่ืองแบบผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ เครื่องแบบลูกเสือ

หมวกลกู เสอื ธงลกู เสอื
หน้าท่ี : ตรวจสอบข้อมูล
นางสวุ รรณี เฉวยี งหงส์
ตาแหน่งทางลกู เสือ ผกู้ ากบั กลุ่มลกู เสือโรงเรยี นฤทธิยะวรรณาลัย
วุฒทิ างลูกเสือ L.T.
เรอ่ื งที่เขียน : เคร่ืองแบบผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ เครือ่ งแบบลูกเสือ

๒๔๐

ผู้ให้ความรว่ มมอื ในการจดั ทาภาพประกอบและตน้ ฉบับ

ราชบณั ฑิตยสถาน
สานกั การลูกเสือแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยมหดิ ล
นายเกง่ กจิ สขุ ลี ักษณ์
นางสาวจิราภรณ์ วงศถ์ ิรวฒั น์
นายวิจารณ์ ยวดยิ่ง
วา่ ทรี่ อ้ ยตรี ทรพั ยสทิ ธิ วาระดี
โรงเรียนเกษมพทิ ยา
โรงเรียนนครนายกวิทยาคม
โรงเรยี นอนุบาลนครนายก
โรงเรียนพระโขนงวิทยาลยั
โรงเรยี นฤทธิยะวรรณาลัย
โรงเรียนฤทธยิ ะวรรณาลัย ๒
โรงเรียนพณิชยการบางนา
โรงเรียนธัญบุรี
โรงเรยี นอดุ มวทิ ยา
โรงเรยี นวชริ าวุธวทิ ยาลยั
โรงเรียนพระปฐมวทิ ยาลยั
โรงเรียนยางซา้ ยพทิ ยาคม
โ รงเรียนดาราสมุทร
โรงเรยี นวัดศรีสทุ ธาธรรม
โรงเรยี นวัดหนองสองห้อง
โรงเรียนอนบุ าลแพร่
โรงเรยี นปราจีนราษร์อารุง
โรงพิมพ์สนิ อุดม พริ้นติง้ จากัด

๒๔๑ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรยี น


Click to View FlipBook Version