The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขุนช้างขุนแผน-63-11-9-63 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0223, 2021-04-06 21:59:34

ขุนช้างขุนแผน-63-11-9-63 (1)

ขุนช้างขุนแผน-63-11-9-63 (1)

การเขียนสรุปความ

การเขยี นสรุปความ หมายถึง ความสามารถในการเขยี นสรุปจากเรื่องราวทไ่ี ด้อ่าน
โดยสามารถเขยี นเรียบเรียงใจความสาคญั ใจความสนับสนุน และแต่งประโยคใหม่ที่ถูกต้อง
ตามโครงสร้างหลกั ภาษาไทย

โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนการเขียนสรุปความของ Rinechart et. al. (1966)
ในท่นี ี้ การเขียนสรุปความ หมายถงึ การเขยี นสาระสาคญั จากเรื่องทฟ่ี ังหรืออ่าน
โดยนามาเรียบเรียงใหม่ให้ได้ใจความสละสลวย ส้ัน กะทัดรัด ส่ือความหมายให้เข้าใจได้
ด้วยสานวนภาษาของผู้สรุปความ

201

วธิ ีการสรุปความ

ศศิธร ธัญลกั ษณานันท์ (2542. หน้า211)
๑. ข้นั อ่าน อ่านหรือฟังข้อความให้เข้าใจอย่างน้อง ๒ เทีย่ ว เพ่ือให้ได้แนวคดิ ทีส่ าคญั
๒. ข้นั คดิ คดิ เป็ นคาถามว่าอะไรเป็ นจุดสาคญั ของเรื่อง คดิ ต่อไปว่าจุดสาคญั ของเร่ืองมีความสัมพนั ธ์
กบั ส่ิงใดบ้าง จดสิ่งน้ัน ๆ ไว้เป็ นข้อความส้ัน ๆ คดิ วิธีทจี่ ะเขียนสรุปความให้กะทดั รัดและชัดเจน
๓. ข้นั เขียน เขียนร่างจากข้อความส้ัน ๆ ทจ่ี ดไว้ ขดั เกลาและตกแต่งร่างข้อความทสี่ รุปให้เป็ นภาษาท่ดี ี
ส่ือความหมายได้แจ่มแจ้ง

202

บทบาทสมมติ

Tayler และ Welford (1996:19) ได้ให้ความหมายของบทบาทสมมติไว้ว่า
“เป็ นการแสดงท่ีเปิ ดโอกาสให้ผู้แสดงได้สวมบทบาทในสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ือฝึ ก
และตัดสินใจว่าตนควรมีพฤติกรรมแบบใดจึงจะแก้ปัญหาได้ดีที่สุด ผู้แสดงต้อง
ตระหนกั ในบทบาทของตนเองเพื่อให้เข้าใจและมอี ารมณ์ในการแสดง”

203

กจิ กรรมบทบาทสมมติ

เป็ นกจิ กรรมประกอบการเรียนการสอนภาษาแบบองค์รวม

เพอ่ื มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึ กการใช้ สานวนภาษาและกริยาท่าทาง ตามบทบาทสมมตแิ ละสถานการณ์ทไี่ ด้รับ
โดยมขี ้นั ตอนการนามาใช้ประกอบการสอนดงั นี้

(๑) การนาเข้าสู่การแสดงบทบาทสมมติ
(๒) การเตรียมตวั ผู้เรียนในด้านภาษา
(๓) การเลือกผู้แสดงบทบาทสมมติ
(๔) การเตรียมความพร้อมของผ้แู สดงบทบาท
(๕) การจดั ฉากการแสดง
(๖) การแสดงบทบาทสมมติ
(๗) การอภปิ รายผลการแสดง
(๘) การดาเนนิ กจิ กรรมตดิ ตามผล

204

งานเขยี นบทละคร

คืองานเขียนทเ่ี ป็ นการแต่งเรื่องจาลองภาพชีวติ คล้ายกบั นวนิยาย และเร่ืองส้ัน
แต่มีข้อแตกต่างทบ่ี ทละครเป็ นงานเขยี นท่มี ิได้เขียนขนึ้ เพ่ือการอ่านอย่างนวนยิ ายหรือเรื่อง
ส้ัน

หากแต่เป็ นการเขียนขนึ้ เพ่ือการแสดงละคร ที่อาจเป็ นละครเวที (แสดงสด) หรือ
ละครโทรทัศน์ (บนั ทกึ ภาพจากกระบวนการถ่ายทาการแสดง)

ดังน้ันลกั ษณะของงานเขยี นจึงมุ่งเน้นไปทีค่ วามสอดคล้องของการจัดองค์ประกอบ
ของ ฉาก เร่ืองราว เหตุการณ์ พฤติกรรม และบุคลกิ ภาพของตวั ละครที่สามารถเล่าเร่ืองผ่าน
การแสดง หรือภาพและเสียงได้อย่างแนบเนยี นตามเจตนาของผู้เขยี น

205

องค์ประกอบของบทละคร

๑. โครงเรื่อง (plot)
หมายถงึ การลาดบั เหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ ในละครอย่างมีจุดหมายปลายทาง และมี
เหตุผลการวางโครงเรื่อง
คือ การวางแผนหรือการกาหนดเส้นทางของการกระทาของตัวละคร ทาให้เข้าใจ
เกย่ี วกบั เหตุการณ์น้ัน ๆ
โครงเร่ืองท่ดี จี ะต้องมคี วามสมบูรณ์ มคี วามยาวพอเหมาะ ประกอบด้วย ตอนต้น
กลาง จบ เหตุการณ์ทุกตอนมคี วามสัมพนั ธ์กนั อย่างสมเหตุสมผลตามกฎแห่งกรรม

206

องค์ประกอบของบทละคร

๒. ตวั ละคร และการวางลกั ษณะนสิ ัยตัวละคร (character and characterization)
ตัวละคร คือ ผ้กู ระทา ผ้ทู ีไ่ ด้รับผลจากการกระทาในบทละครมีความสาคญั เป็ น
อนั ดับรองจากโครงเร่ืองการวางลกั ษณะนิสัยตวั ละคร
ผู้เขยี นจะกาหนดให้ตวั ละครมลี กั ษณะนิสัยอย่างไร ตามความเหมาะสมของ
เรื่องราวท่ีเสนอ
ส่วนพฒั นาการของนสิ ัยตัวละครน้นั หมายถงึ การท่นี สิ ัยใจคอหรือเจตคตเิ กย่ี วกบั
ส่ิงต่าง ๆ ในชีวิตของตัวละคร มีพฒั นาการหรือเปลยี่ นแปลงไป เนื่องจากประสบเหตุการณ์
หรือเหตุการณ์มากระทบวิถีชีวิตตน

207

องค์ประกอบของบทละคร

๓. ความคดิ หรือแก่นเร่ือง (thought)
ความคดิ จัดอยู่ในความสาคญั อนั ดบั ท่ี ๓ ของละคร
หมายถงึ ข้อเสนอทผี่ ้เู ขียนพสิ ูจน์ว่าเป็ นเร่ืองจริงจากเร่ืองราว และเหตุการณ์ท่ี
เกดิ ขึน้ ในละคร
ความคดิ ท่ีอยู่เบื้องหลงั เรื่องราวในละครกค็ ือ จุดมุ่งหมายหรือความหมาย (premise)
หรือในปัจจุบันนยิ มใช้คาว่า “แก่น” (theme)

208

องค์ประกอบของบทละคร

๔. การใช้ภาษา (diction)
การใช้ภาษา หมายถงึ ศิลปะการถ่ายทอดเรื่องราว และความคดิ ของผ้ปู ระพนั ธ์
ออกมาจากคาพูดของตวั ละครหรือบทเจรจา ซ่ึงอาจเป็ นร้อยแก้ว หรือร้อยกรอง
ศิลปะการใช้ภาษาอาจเป็ นกญุ แจดอกสาคญั ท่จี ะนาไปสู่การเขยี นบทละครที่ดจี ะต้อง
ศึกษา และวเิ คราะห์ว่าบทละครเร่ืองน้นั ๆ เป็ นละครประเภทใด รวมท้ังลกั ษณะ และเหตุการณ์
ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ต้องมีความสัมพนั ธ์กบั การใช้ภาษา
ภาษาที่ใช้ต้องไม่ง่ายหรือยากจนเกนิ ไป อกี ท้งั ยังสามารถใช้แสดงออกถึงลกั ษณะ
นิสัยของผ้พู ูด อนั จะนาไปสู่เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ ต่อไป

209

องค์ประกอบของบทละคร

๕. เพลง (song)
เพลง หมายถึง ศิลปะการถ่ายทอดเรื่องราว และความคดิ ของผ้ปู ระพนั ธ์ออกมา บท
เพลงทเ่ี ป็ นตวั ละครจะต้องขบั ร้อง รวมไปถึงเสียงต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ บนเวที และความเงียบด้วย
(ในแง่ละคร)
ในการใช้เพลงจะต้องคานึงถึงความสัมพนั ธ์กบั องค์ประกอบหลายอย่าง และ
พยายามกาหนดเพลงให้เป็ นส่วนหน่งึ ของบทละครเช่นเดียวกบั บทเจรจา

210

องค์ประกอบของบทละคร

๖. ภาพ (spectacle)
ภาพ (spectacle) บทบาทของตัวละคร ทีส่ ามารถนามาแสดงให้เห็นได้ด้วยใบหน้า
ท่าทาง และจงั หวะอาการเคล่ือนไหวที่แนบเนียน และเพม่ิ พูนรสชาติให้แก่ละครเรื่องน้นั ๆ

211

ข้ันตอนในการเขียนบทละคร

Edwin Wilson และ Alvin Goldfarb (ค.ศ. 1999, หน้า 131 – 135) ได้จัดลาดับ
ข้นั ตอนของการแต่งบทละครดังนี้

๑) กาหนดหัวข้อ หรือประเด็นทล่ี ะครจะนาเสนอ
๒) พฒั นาประเด็นให้ชัดเจน และเฉพาะเจาะจงย่งิ ขนึ้
๓) กาหนดวตั ถุประสงค์ในการเขยี น
๔) หามุมมองท่ีจะเล่า ด้วยการกาหนดรูปแบบ และประเภทของบทละคร
๕) พฒั นาโครงสร้างของละครให้สมบูรณ์
๖) สร้างตวั ละครให้มชี ีวิต

212

กจิ กรรม

คาส่ัง ๑. ให้นักเรียนเขียนบทละคร เรื่องขุนช้ าง
ขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เพื่อใช้แสดงละคร
บทบาทสมมุต (งานห้องเรียน)


Click to View FlipBook Version