The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suampon Porsmithikun, 2021-12-03 04:57:30

4.2 MTM-65

MTM

มคอ.2

1112356 การเรยี นรูภาคปฏบิ ัตดิ า นการจดั การธุรกจิ การคา สมัยใหม 6 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 6)
วิชาบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝก ปฏบิ ตั กิ ารดานการจัดการธุรกิจการคา สมัยใหมอยางเปนระบบในสถานประกอบการทีท่ างสถาบัน
กําหนด โดยเน้ือหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับหัวหนางานในระดับ
ผูชวยผูจัดการแผนกหรือผูชวยผูจัดการราน ที่เก่ียวกับการเปนผูประกอบการ นํากระบวนการคิดในแกปญหาแนว
ทางการสรางสรรคนวัตกรรมท่ียกระดับประสิทธิภาพในการการดําเนินธุรกิจ การบริหารจัดการสินคาตามหลัก
Store Assortment บริหารสินคาโครงการ OA (Ordering Assortment) ภายใตการดูแลของครูฝกในสถาน
ประกอบการและบุคลากรพี่เลี้ยง ประเมินผลการปฏิบัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการ
ปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน และการประยุกตส่ิงที่เรียนรูจากการปฏิบัติไปสูการจัดทําโครงงานนวัตกรรมธุรกิจ
การคา สมัยใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a supervisor or a store
assistant manager level. Trainings related to entrepreneurship, problem solving procedure, creativity
and innovation for effective business management, store assortment, and ordering assortment. Under
the supervision of store mentor and trainer. Performance assessment based on a length of training,
assessment by store mentor and the application of work-based learning in the development of an
innovation project.

1112457 การเรยี นรภู าคปฏิบัตดิ านการจดั การธรุ กจิ การคา สมัยใหม 7 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 7)
วิชาบังคบั กอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏบิ ัติการดา นการจัดการธุรกิจการคา สมัยใหมอยางเปนระบบในสถานประกอบการทีท่ างสถาบัน
กาํ หนด โดยเน้ือหาของการฝกปฏิบตั ิประกอบไปดวยการปฏิบัติงาน สําหรับการบริหารจัดการรานคาจํานวนหลาย
สาขาในพ้ืนที่ความรับผิดชอบ สําหรับระดับตําแหนงหัวหนางานเทียบเทาระดับหัวหนาแผนกหรือรักษาการ
ผูจัดการราน ที่เกี่ยวกับการตรวจสอบควบคุมสินคา (Audit) การบริหารจัดการมาตรฐานระบบรานคุณภาพ
การอานรายงาน All Report ดูแลควบคุมเอกสารและบันทึกตางๆ การบริหารจัดการงานทรัพยากรบุคคลภายใน
ราน การจัดการขอมูลของพนักงาน บทบาทครูฝก การสอนงานไดอยางถูกตอง รวมถึงการใฝรู ใฝเรียน แสวงหา
ความรูดวยตนเองอยางสม่ําเสมอ ภายใตการดูแลของครูฝกในสถานประกอบการและบุคลากรพ่ีเล้ียง ประเมินผล
การปฏบิ ัติงานจากเวลาในการฝก ปฏิบตั ิงาน ผลประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานโดยหวั หนางาน และการประยกุ ตสิง่ ท่เี รียนรู
จากการปฏบิ ัตไิ ปสูการจดั ทาํ โครงงานนวัตกรรมธุรกจิ การคา สมยั ใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that selected
by the institution. The store operation training course designed for multiple store management within
responsible area. For a supervisor or equivalent position and a store management. Training related to
controlling and auditing, maintaining store quality standard operating practice, reading and controling
document and memo, store human resource management, store data management, mentor duty.
Including eagerness to learn. Performance assessment based on a length of training, assessment by store
mentor and the application of work-based learning in the development of an innovation project.

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 47

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1112458 การเรยี นรูภ าคปฏบิ ัติดา นการจัดการธุรกจิ การคา สมัยใหม 8 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 8)
วชิ าบงั คบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝก ปฏิบตั กิ ารดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการทีท่ างสถาบัน
กําหนด โดยเน้ือหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงาน สําหรับระดับตําแหนงหัวหนางานเทียบเทา
ผจู ดั การแผนก รักษาการผจู ัดการรา น ผูชว ยผูจัดการเขตฝก หดั ท่ีเกีย่ วกับการประเมินสถานการณแ นวโนม ธุรกิจได
อยางเปนระบบ วางแผนกลยทุ ธทางธุรกจิ โดยมีการบรู ณาการองคความรตู างๆ ทีเ่ รยี นมาในภาคทฤษฎแี ละจากการ
ฝกปฏิบัติงานทั้งหมดเขาดวยกัน เพื่อจัดทําโครงงานท่ีเก่ียวของกับ New Business Model ใหกับธุรกิจการคา
สมัยใหม ภายใตการดูแลของอาจารยท่ีปรึกษา ครูฝกในสถานประกอบการ และบุคลากรพ่ีเล้ียง ประเมินผลการ
ปฏิบัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน ผลการทดสอบตามมาตรฐาน
อาชพี และการประยกุ ตส ง่ิ ท่เี รียนรูจากการปฏิบตั ไิ ปสกู ารจัดทําโครงงานนวัตกรรมธรุ กจิ การคา สมยั ใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a supervisor, acting store
manager, training store manager. Training related to a systematic assessment of business trend,
planning business strategy. Integrating knowledge and theory from work-based practice for new retail
business model project. Under the supervision of store mentor and trainer. Performance assessment
based on a length of training, assessment by store mentor and the application of work-based learning
in the development of an innovation project.

2.3) กลุมวชิ าเลือก
2.3.1) Module: Sales & Service
1103301 เทคนิคการขายและกลยุทธการเจรจาตอรอง 3(0-6-3)
(Selling Techniques and Negotiation Strategies)
วชิ าบังคับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการดานการพัฒนาทักษะและเทคนิคการขาย การฝกเทคนิคการขายข้ันสูงดวยการตั้ง
คําถามสืบคนและช้ีนํา การเจรจาตอรองทางธุรกิจ การจัดการขอโตแยงของลูกคาอยางมีหลักการ การวางแผน
กําหนดกลยุทธในการเจรจาตอรอง การบริหารจัดการความเส่ียงและผลลัพธไมพึงประสงคจากการเจรจาตอรอง
การอภิปรายถอดบทเรียนเทคนิคการขายจากกรณีศึกษา ฝกปฏิบัติการใชเทคนิคการขายและกลยุทธการเจรจา
ตอรองผานสถานการณส มมติ
Practicum on development of skills and techniques of sales; the practice of high-level
sales techniques by asking with probing and leading questions; business negotiations; the
management of customer’s conflicting arguments with the use of sound principles; the planning
for determination of negotiation strategies; the management of risks and undesirable results from
negotiations; discussion of learned sales technique lessons from case studies; and the practicum
on using sales techniques and negotiation strategies in simulations.

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 48
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1103302 การขายในธุรกิจออนไลน 3(0-6-3)
(Selling for Online Business)
วชิ าบงั คับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการขายในธุรกิจดิจิทัลผานการอภิปรายกรณีศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบพฤติกรรมผูบริโภคยุค
ดิจิทัล กลยุทธการขายแบบผสานชองทางออนไลนและออฟไลน การสรางความประทับใจผานการออกแบบเสน
การเดินทางของลูกคาและบูรณาการเขากับพฤติกรรมในชวี ิตประจําวันของลูกคา การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล
สนบั สนุนการขายในธุรกจิ ออนไลน รวมถึงการวเิ คราะหข อมูลหลากหลายมิติเพอ่ื บรหิ ารการขายในธรุ กิจออนไลน
Practicum on selling in digital businesses through case study discussions on consumer
behavior patterns in the digital age; the integrated sales strategy via online and offline channels;
the creation of impression through designing a customer’s journey path and integrating it into
his/her daily behaviors; application of digital technology to support sales in online businesses; and
multi-dimension data analysis to manage sales in online businesses.

1103303 การจัดการความสมั พันธและประสบการณล กู คา 3(0-6-3)
(Customer Relationship and Customer Experience Management)
วิชาบังคับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการจัดการความสัมพันธและประสบการณของลูกคา หลักการจัดการประสบการณ
ลูกคา นิยามและองคประกอบของประสบการณลูกคาและความสัมพันธตอกลยุทธองคกร การวางแผนและ
ดําเนินการตามขั้นตอนการจัดการประสบการณลูกคา การวิเคราะหกลยุทธการแขงขันทางการตลาดบริการดาน
การจัดการประสบการณลูกคาจากกรณีศึกษา การบูรณาการกับการบริหารงานดานตางๆ ขององคกร โดยใช
เทคโนโลยีดจิ ิทลั ตลอดจนการวิเคราะหข อมลู และออกแบบการวดั ผลการจัดการประสบการณลูกคา
The practice of customer relationship management and customer experience
management; principles of customer experience management; definitions and components of
customer experience and customer relationship to corporate strategies; planning and operation
based on customer experience management steps; analysis of competitive strategies of marketing;
provision of services in customer experience management from case studies; integration and
management of various aspects of the organization by using digital technology; and analysis of
data and designing the evaluation of customer experience management.

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 49
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2.3.2) Module: Digital & Innovation
1103304 การเปลยี่ นผานธุรกจิ การคาสมัยใหม 3(0-6-3)
(Digital Transformation in Modern Trade Business)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝก ปฎิบตั ิการวิเคราะหส ภาวะการเปลี่ยนแปลงของธรุ กจิ การคา สมัยใหม บทบาทเทคโนโลยดี ิจิทัลกับ
ธุรกิจการคาสมัยใหม การเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมผูบริโภค การแขงขันทางธุรกิจในยุคดิจิทัล พาณิชย
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส การตลาดดจิ ิทลั การประยกุ ตใ ชขอ มลู ขนาดใหญ การเทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ งกับการเงิน ความทาทาย
และแนวโนมของธุรกิจการคาสมัยใหม การออกแบบรูปแบบธุรกิจการคาสมัยใหมในอนาคต และกรณีศึกษาการ
เปลยี่ นผา นธุรกิจการคาสมัยใหม
Practicum on analysis of the changing states in modern trade business; the role of
digital technology in modern trade business; the changing of consumer behaviors; business
competition in digital age; electronic commerce; digital marketing; application of the use of big
data; the use of financial technology; challenges and trends of modern trade business; designing
modern trade business models for the future; and case studies of modern trade business
transformation.

1103305 การจดั ทาํ สือ่ ดจิ ิทัลสําหรบั ธุรกิจการคาสมยั ใหม 3(0-6-3)
(Digital Media Creation for Modern Trade Business)
วิชาบังคับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏบิ ตั ิการสรา งสอ่ื ดิจิทลั จากเคร่ืองมือตางๆ ประเภทของสอ่ื ดจิ ิทัล การใชความคดิ สรา งสรรคและ
เทคนิคการสรางสื่อดิจิทัล รูเทาทันส่ือ การเผยแพรส่ือดิจิทัล กฎหมายเก่ียวกับลิขสิทธ์ิและทรัพยสินทางปญญา
จริยธรรมและจรรณยาบรรณในการใชส อื่ สังคมออนไลน
Practicum on digital media creation from various tools; types of digital media; the use
of creative thinking and digital media creation techniques; media literacy; digital media
dissemination; copyright and intellectual property laws; and ethics and codes of ethics for the use
of online social media.

1103306 ความคดิ สรางสรรคเ พอ่ื การจดั การนวัตกรรมทางธรุ กิจ 3(0-6-3)
(Creative Thinking for Innovation Management in Business)
วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการคิดและทักษะดานนวัตกรอยางสรางสรรค การคิดเชิงออกแบบอยางเปนระบบ ศึกษา
ความตองการของกลุมเปาหมาย การนิยามปญหาของกลุมเปาหมาย การออกแบบวิธีการแกปญหา การพัฒนา
ตนแบบสินคาและบริการเพื่อสนองความตองการของกลุมเปาหมาย การทดสอบสินคาและบริการที่พัฒนาข้ึน
รวมถึงการใชเ ทคโนโลยใี นการนาํ เสนอผลงานความคิดสรา งสรรครปู แบบใหมท างธรุ กจิ

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 50
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
Practicum on of creative thinking and innovative skills; thinking on systematic design;
the study of the needs of the target groups; defining the problems of the target groups; designing
problem solving methods; development of prototypes of merchandise and services to meet the
needs of target groups; testing the developed merchandise and services; and using technology for
presentation of new models of innovative products based on creative thinking in business.

2.3.3) Module: Store Management
1103307 การบริหารรานคา อยางมืออาชีพ 3(0-6-3)
(Professional Management of Stores)
วิชาบังคับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการจัดการรานคาใหมีคุณภาพ บริหารจัดการสินคาและการบริการ การออกแบบผังราน
การใชพื้นท่ี การส่ือสารภายในรานคา กลยุทธการขายออฟไลนและออนไลน การจัดสงสินคาแบบออฟไลนและ
ออนไลน การติดตามผลการดําเนินงานตามเปาหมาย การปองกันและแกไขปญหาของรานคา การควบคุมดูแล
สภาพรา นคา ตามมาตรฐานรานคาคุณภาพ และการจัดทาํ แบบจําลองรา นคา ตนแบบ
Practicum on quality store management; product and service management; store
layout design; the use of space in store; communications within the store; offline and online
selling strategies; offline and online delivery of merchandise; the follow-up of work performance
results based on the set targets; the prevention and solving of the store’s problems; the control
and taking care of the store’s condition according to the quality store standards; and the creation
of the prototype model of the store.

1103308 การจดั การชองทางการตลาดและการกระจายสินคา 3(0-6-3)
(Marketing and Merchandise Distribution channel Management)
วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏบิ ตั ิการการบริหารชองทางการตลาดและการกระจายสินคา ความสําคัญของชองทางการตลาด
และการกระจายสินคา องคประกอบของชองทางการตลาดและการกระจายสินคา สภาพแวดลอมของชองทาง
การตลาด โครงสรางของชองทางการตลาด ระดับของชองทางการกระจายสินคา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกําหนด
ระดับชองทางการกระจายสินคา นโยบายการตลาดท่ีมีตอการจัดการชองทางการตลาดและการกระจายสินคา
กลยุทธชองทางการจัดการชองทางการตลาดและการกระจายสินคา การออกแบบชองทางการตลาดและการ
กระจายสนิ คา และกรณีศึกษาชองทางการตลาดและการกระจายสนิ คา แบบธุรกจิ สมยั ใหม
Practicum on marketing and merchandise distribution channel management; the
importance of marketing and merchandise distribution channel; elements of marketing and merchandise
distribution channel; structure of marketing channel; the level of merchandise distribution channel; the
level of distribution channels; factors influencing the determination of the merchandise distribution
level; marketing policies towards the management of marketing and merchandise distribution channel;
strategies of marketing and merchandise distribution channel management; designing of marketing and
distribution channels; and case studies of modern business marketing and distribution channels.

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 51
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1103309 การบริหารพืน้ ท่แี ละเครอื ขายพนั ธมิตร 3(0-6-3)
(Commercial Space and Allies Networks Management)
วิชาบงั คับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการการบริหารพื้นที่ขาย การดําเนินงานหนาราน การควบคุมสินคาคงคลัง การควบคุม
บุคลากร การบริหารลูกคา การวิเคราะหยอดขาย มาตรฐานการปฎิบัติงานในรานและกระบวนการปฎิบัติงานใน
ราน วิธีควบคุมและสรางมาตรฐานใหเปนระบบ การสรางเครือขายพันธมิตรธุรกิจรวมกับองคกร กลยุทธการสราง
ความไดเปรยี บทางการแขงขนั ท่เี หนือคูแขง ในตลาด และทดลองฝกการบรหิ ารพืน้ ทีข่ ายและเครือขายพนั ธมิตร
Practicum on commercial space management; storefront operations; inventory and
warehouse management; personnel control; customer management; analysis of total amount of
sales; in-store operating standards and in-store work processes; the systematic method of control
and creation of standards; the creation of networks of business allies with other organizations;
strategies to create a competitive advantage over competitors in the market; and experimenting
with the practice of commercial space and allies networks management.

2.3.4) Module: Strategy & Entrepreneurship
1103310 การจดั การอยา งผปู ระกอบการสาํ หรับธรุ กิจ 3(0-6-3)
(Entrepreneurial Management for Business)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติเก่ียวกับการจัดการอยางผูประกอบการ ความหมายและขอบเขตของการจัดการอยาง
ผูประกอบการ ความสําคัญของการเปนผูประกอบการตอนวัตกรรม องคการนวัตกรรม วัฒนธรรมการเปน
ผูประกอบการในองคการ กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจัดการอยางผูประกอบการในทางธุรกิจ การพัฒนาองคการ
ผูประกอบการ กลยุทธการเปนผูประกอบการ การกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมาย การวิเคราะหการ
แขงขันภายในอุตสาหกรรม การจัดทําเผนธุรกิจ แผนดําเนินงานและแผนฉุกเฉนิ ตลอดจนการจัดการความรวมมือ
กบั ผมู ีสวนไดส ว นเสยี ในธรุ กิจ
Practicum on entrepreneurial management; definition and scope of entrepreneurial
management; the importance of entrepreneurship on innovations; innovative organizations;
entrepreneurial culture in organization; case studies of entrepreneurial management in business;
development of entrepreneurial organizations; strategies of entrepreneurship; the determination
of vision, mission and goals; analysis of competition in related industries; preparation of business
plans, operational plans and contingency plans; and management of collaboration among
stakeholders.

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 52
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1103311 การจดั การเชงิ กลยุทธทางธุรกจิ ทยี่ งั่ ยืน 3(0-6-3)
(Sustainable Business Strategic Management)
วิชาบังคับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติเก่ียวกับการจัดการเชิงกลยุทธ แนวคิดและสําคัญของการจัดการเชิงกลยุทธทางธุรกิจ การ
วิเคราะหสถานการณทางธุรกิจดวยกรณีศึกษาตางๆ การประเมินความไดเปรียบในการแขงขันของอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวขอ ง การดาํ เนนิ ธุรกจิ ใหส อดคลองกับโอกาสและอปุ สรรค การวางแผนกลยุทธและการกําหนดแผนดําเนินงาน
ของหนว ยธุรกิจ การนํากลยทุ ธไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธภิ าพ ที่สรา งสมรรถนะที่ไดเปรียบในการแขงขัน และ
ที่กอใหเ กิดความย่งั ยืนของธุรกิจ องคการ และชุมชน
Practicum on strategic management; concepts and importance of business strategic
management; analysis of business situations from various case studies; assessment of competitive
advantages in related industries; business operations in accordance with opportunities and threats;
strategic planning and operational planning for business units; and implementation of strategies
towards the efficient operation that creates advantages in the competition and creates
sustainability in business, organization and community.

1103312 การจดั การธรุ กจิ ในตลาดอาเซยี น 3(3-0-6)
(Business Management in ASEAN Market)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการประกอบการธุรกิจการคาระหวางประเทศ การศึกษา
สภาพแวดลอมทีม่ ผี ลตอการทําธุรกิจในประเทศอาเซียน ความรว มมอื ทางการคา ระหวา งประเทศอาเซียน กฎหมาย
และขั้นตอนการประกอบการธุรกิจการคาในกลุมประเทศอาเซียน กลยุทธธุรกิจระหวางประเทศ ธุรกิจการคาท่ี
ประสบความสําเร็จในอาเซียน การพัฒนาธุรกิจและตลาดในอาเซียน การจัดการจัดโซอุปทานและชองทางการจัด
จําหนายในอาเซียน การบริหารทรัพยากรมนุษยในตลาดอาเซียน ตลอดจนแนวโนมและความทาทายสําหรับการ
ประกอบธรุ กิจการคาสมัยใหม
Concepts and theories related to international business and commerce; the study of
business environment affecting business operations in ASEAN countries; international trade co-
operations among ASEAN countries; laws and steps of doing commercial business in ASEAN
countries; international business strategies; successful commercial businesses in ASEAN countries;
business and market developments in ASEAN countries; supply chain management and channels
of sales in ASEAN countries; human resource management in ASEAN markets; and the trends and
challenges of doing modern commercial businesses.

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 53
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2.3.5) Module: Modern Trade Business Trend 3(3-0-6)
1103313 การจัดการธุรกจิ อาหารในธรุ กจิ การคา สมยั ใหม
(Food Business Management in Modern Trade Business)
วิชาบงั คบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
หลักการและกระบวนการจัดการธุรกิจอาหารในธุรกิจการคาสมัยใหม รูปแบบของธุรกิจอาหาร การ
วิเคราะหสภาพแวดลอมทางการตลาด ความเส่ียงและโอกาส กลยุทธทางการตลาด สถานการณปจจุบันและ
แนวโนมของธุรกจิ อาหารในธรุ กิจการคา สมัยใหมใ นอนาคต
Principles and process of food business management in modern trade business; food
business models; analysis of market environment situations; risks and opportunities; marketing
strategies; and current situation and trends of food business in future modern trade business.

1103314 การจดั การธุรกิจสุขภาพและโภชนาการ 3(3-0-6)
(Health and Nutrition Business Management)
วิชาบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การบริหารผลิตภัณฑเพื่อสงเสริมสุขภาพและโภชนาการ อาหารและคุณคาทางโภชนาการเพื่อการ
ดูแลสุขภาพ ฉลากโภชนาการ ระบบคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร การสุขาภิบาลอาหารสําหรับผู
ประกอบกิจการและผูสัมผัสอาหาร และกฎหมายทเี่ กี่ยวของ
Product management to promote health and nutrition; food and nutrition values for
health care; nutrition labels; quality system and food safety; food sanitation for food
entrepreneurs and food handlers; and related laws.

1103315 การจดั การธุรกิจสุขภาพและความงาม 3(3-0-6)
(Health and Wellness Business Management)
วิชาบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ความรูเบ้ืองตนเรื่องยาและสมุนไพร เวชภัณฑ วิตามิน เกลือแร ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เวชสําอาง
และการเลอื กใชยา การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนการดูแลผวิ พรรณ โภชนาการเพอ่ื การดูแลสุขภาพ การบริหารจัดการ
เทคนิคการขายและการบริการผลติ ภณั ฑส ุขภาพท่ีมขี ายในรานเพื่อสุขภาพและรานสะดวกซอ้ื
Fundamental knowledge on medicines and herbs, medical products, vitamins,
minerals, supplementary food products, cosmetic medicines, and medicine selection; preliminary
first aid; skin care; nutrition for healthcare; and the administration and management, sales
techniques, and provision of services concerning healthcare products in healthcare stores and
convenience stores.

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 54
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1103316 หวั ขอเลอื กสรรดา นการจดั การธรุ กจิ การคาสมัยใหม 3(3-0-6)
(Selected Topics in Modern Trade Business Managment)
วชิ าบังคบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การวิเคราะหกรณศี ึกษาการจัดการธรุ กิจการคาสมัยใหมทัง้ ไทยและตางประเทศทเี่ ปน ประเด็นสําคัญ
ในสถานการณปจจุบัน การวิเคราะหโอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ แนวโนมธุรกิจการคาสมัยใหมทั้งในรูปแบบ
ออฟไลนและออนไลน ฝกคิดวิเคราะหการเปล่ียนแปลงแนวคิดโดยนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการดําเนินธุรกิจ
โดยนําเสนอในรปู แบบรายงาน ตลอดจนการนาํ เสนอผา นชอ งทางการสื่อสารท่ีทนั สมัย
Analysis of case studies on commercial business management both in Thailand and
foreign countries that are important issues in the current situations; analysis of business
opportunities and obstacles; trends of both offline and online modern commercial businesses;
practicing analytical thinking on transformation of concepts with the application of digital
technology in business operation with the presentation in the form of reports; and the
presentation via up-to-date communication channels.

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 55
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3.2 ชอื่ สกุล เลขประจําตวั บัตรประชาชน ตาํ แหนง และคุณวุฒิของอาจารย
3.2.1 อาจารยประจาํ หลักสูตร

ลาํ ดับ ชอื่ – สกลุ ตําแหนง ทาง คุณวฒุ ิ สาขาวชิ า สถาบนั ที่สาํ เร็จการศึกษา ปท่ี เลขประจาํ ตวั
ท่ี วชิ าการ สําเรจ็ ประชาชน/เลขที่
หนงั สอื เดินทาง
วท.ด. ธุรกจิ เทคโนโลยี จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั 2556
และการจัดการ
นวตั กรรม
ผศ. ดร.ปาลิดา ผชู ว ย M.B.A. Business University of Colorado, 2540 3 1006 0169X XX X
1 ศรีศรกําพล ศาสตราจารย Administration Denver, U.S.A. 2540
University of Colorado,
M.Sc. Finance Denver, U.S.A. 2536
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั
วท.บ. พนั ธุศาสตร University of Technology 2553 1 0074 1206X XX X
Sydney (UTS), Sydney, 2540
2 ผศ. ดร.ภญ.ธญั ญา ผูช วย Ph.D. Marketing Australia 2561
สุพรประดิษฐชยั ศาสตราจารย มหาวิทยาลัยรงั สติ
มหาวิทยาลยั สยาม
ภ.บ. เภสชั ศาสตร
ปร.ด. การจัดการ

3 อ. ดร.สายพณิ ปน ทอง อาจารย บธ.ม. การจดั การ มหาวิทยาลยั สยาม 2547 3 1022 0166X XX X

บธ.บ. การจัดการ มหาวิทยาลัยธนบุรี 2544
บธ.ม. บริหารธุรกิจ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั
4 อ. พรหมสร เดชากวินกุล อาจารย บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร 2553 3 1007 0026X XX X
5 อ. ดร.บญั ชา ลิมปะพันธุ อาจารย บธ.ด. การจดั การ มหาวิทยาลยั ชนิ วัตร 2546
2560
International
M.Sc. Business University of Surray, 2550 3 1022 0007X XX X
Guildgord, United Kingdom
Management

ศศ.บ สอ่ื สารมวลชน มหาวิทยาลยั รามคําแหง 2544

ปร.ด. การบริหารการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา 2564
พัฒนา
Aston University,
6 อ. ดร.วรรณนฏั ฐา อาจารย M.Sc. Supply Chain Birmingham, United 2557 1 1201 0014X XX X
ขนิษฐบุตร Management Kingdom 2554
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
บธ.บ. การจดั การผลติ

7 อ. กฤษณา วงศไชยพรม อาจารย บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลัยเชยี งใหม 2555 3 5202 0015X XX X
บธ.บ. การตลาด วิทยาลยั อีสเทอรน 2547
จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย
8 อ. สิทธิโชค รัชนิพนธ อาจารย วท.ม. การตลาด 2562
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร 2554 1 8399 0016X XX X
วท.บ. เทคโนโลยกี าร
จดั การ

ผศ. ดร.ธีรวรี  ผูชวย บธ.ด. การตลาด มหาวิทยาลยั สยาม 2562
วราธรไพบูลย ศาสตราจารย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร 2547 3 1607 0004X XX X
9 วท.ม. เศรษฐศาสตรธ รุ กิจ สถาบนั ราชภฏั เทพสตรี 2542

วท.บ. สถติ ิประยกุ ต

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 56
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ลําดบั ชื่อ – สกุล ตําแหนง ทาง คุณวฒุ ิ สาขาวชิ า สถาบันทสี่ าํ เร็จการศกึ ษา ปท ี่ เลขประจาํ ตัว
ที่ วิชาการ สําเร็จ ประชาชน/เลขที่
หนงั สือเดนิ ทาง
Peking University, Beijing,
10 อ. นฤพนธ เส็งสืบผล อาจารย M.F. Finance China 2560 1 1037 0014X XX X
อาจารย
อาจารย บธ.บ. เศรษฐศาสตรธ รุ กิจ มหาวิทยาลยั มหิดล 2557
บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลยั รามคําแหง 2555
11 อ. รฐา นาราสรุ โชติ บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2547 3 1101 0228X XX X

12 อ. กติ ติภพ ตันสุวรรณ บธ.ม. การเงนิ และการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 2550
ธนาคาร 3 5201 0067X XX X

บช.บ. การบญั ชี มหาวิทยาลยั กรุงเทพ 2539

13 อ. ณฐั นิ ี พิทักษต ุม อาจารย บธ.ม. การบัญชบี ริหาร มหาวิทยาลัยบรู พา 2546 3 7403 0053X XX X
ศศ.บ. การบัญชี สถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ิต 2542

14 อ. ดร.ยุวรินธร อาจารย ปร.ด. สงั คมศาสตร- มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2562
ไชยโชติชวง บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหดิ ล 2555 1 1014 0047X XX X
กจ.ม. การตลาด
บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2551
Business University of Oklahoma,
M.B.A. Administration Oklahoma, U.S.A. 2536

15 อ. วลี เหราบัตย อาจารย ค.ม. โสตทศั นูปกรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั 2532 3 1015 0148X XX X
ศกึ ษา
มัธยมศึกษา
ค.บ. ภาษาองั กฤษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2530

16 อ. กฤตภพ วรอรรคธรรม อาจารย กจ.ม. ผปู ระกอบการและ มหาวิทยาลัยมหิดล 2560
นวัตกรรม จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย 1 1020 0117X XX X
วทิ ยาศาสตรก าร
วท.บ. กฬี า 2554

17 อ. กฤษณะ หลกั คงคา อาจารย บธ.ม. บรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช 2562 3 7007 0033X XX X
บธ.บ. บริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช 2536
อ. วิไลลกั ษณ บธ.ม. บรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั บูรพา 2551
18 เผือกพพิ ัฒน อาจารย บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2545 3 2001 0047X XX X

19 อ. สุพรรณี สมศรี อาจารย ศศ.ม. นเิ ทศศาสตรและ สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหาร 2561 1 6201 0014X XX X
นวัตกรรม ศาสตร
นศ.บ. วารสารศาสตร มหาวิทยาลยั กรุงเทพ 2556
ปร.ด. เศรษฐศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 2562
บธ.ม. การบัญชี มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2551
เศษฐศาสตร
20 ผศ. ดร.สทิ ธพิ ัทธ ผชู ว ย ศ.ม. การศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ 2546 3 1019 0038X XX X
เลศิ ศรชี ยั นนท ศาสตราจารย บธ.บ. การจัดการท่ัวไป มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง 2543

ศ.บ. เศรษฐศาสตรการคา มหาวิทยาลัยหอการคา ไทย 2543
ระหวา งประเทศ
บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต 2548
21 อ. กิตติพงศ คงธนาทรพั ย อาจารย บธ.บ. การจัดการทั่วไป มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี 2543 3 7605 0021X XX X

22 อ. จารวุ รรณ เมืองเจริญ อาจารย บธ.ม. การจัดการสาธารณะ มหาวิทยาลัยบรู พา 2552 3 1206 0014X XX X
2545
ศศ.บ. นิเทศศาสตร สถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 57
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ลําดบั ชื่อ – สกลุ ตาํ แหนง ทาง คุณวุฒิ สาขาวชิ า สถาบนั ที่สาํ เรจ็ การศึกษา ปท ่ี เลขประจาํ ตัว
ที่ วชิ าการ สําเร็จ ประชาชน/เลขท่ี
อาจารย ปร.ด. หนังสอื เดนิ ทาง
M.Sc. การจัดการ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 2561
อาจารย Economics University of Nebraska
23 อ. ดร.กนษิ ฐา ฤทธิ์คาํ รพ อาจารย M.B.A. Business Omaha, Nebraska, U.S.A. 2544
อาจารย บช.บ. Administration Bellevue University, 4 7306 0000X XX X
อาจารย ปร.ด. บญั ชี Nebraska, U.S.A.
อาจารย บธ.ม. การจัดการ มหาวิทยาลยั สยาม 2542
บธ .บ. บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลําปาง
24 อ. ดร.ณัฐธยาน การตลาด มหาวิทยาลยั เนชั่น 2539
นอยเปย ง ปร.ด. การวจิ ยั และสถิติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช 2564
นศ.ม. ทางวิทยาการปญ ญา มงคลลานนา 2555 1 5299 0022X XX X
บธ.บ. นเิ ทศศาสตรธุรกจิ มหาวิทยาลัยบูรพา 2552
บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ ย
25 อ. ดร.จริ วุฒิ บธ.บ. การจดั การทวั่ ไป มหาวิทยาลัยสยาม 2562
หลอมประโคน บธ.ม. การบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2548 3 7401 0033X XX X
รป.ม. บรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ 2545
ศป.บ. รัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลยั รามคําแหง 2552
26 อ. ศรินทิพย กาสุข M.Sc. คอมพิวเตอรก ราฟก มหาวิทยาลยั รามคําแหง 2549 3 0046 9299X XX X
ร.บ. Management มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย
27 อ. ณฏั ฐชยั ออ นคง รัฐประศาสนศาสตร University College London, 2562
London, United Kingdom 2562 1 5399 0023X XX X
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย 2555

28 อ. แววไพลิน พันธภุ ักดี 2554 1 1014 0100X XX X
2552

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 58
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
4. องคประกอบเกย่ี วกับประสบการณภาคสนาม

ผูใชบัณฑิตมีความตองการใหบัณฑิตมีประสบการณกอนเขาสูอาชีพ ดังน้ัน ในหลักสูตรจึงมีรายวิชาการ
ฝกปฏิบัติการและวิชาการเรียนรูภาคปฏิบัติดานการจัดการธรุ กิจการคาสมัยใหมจํานวน 8 รายวิชา ซึ่งจะจัดอยูใน
กลมุ วชิ าบงั คับโดยใหน กั ศึกษาทกุ คนตอ งลงทะเบยี นรายวชิ าน้ี

4.1 มาตรฐานผลการเรียนรขู องประสบการณภ าคสนาม
1) มที กั ษะในการปฏิบตั ิงานจากสถานประกอบการ รวมถงึ มคี วามเขาในในทฤษฎีและหลกั การมากย่งิ ขึ้น
2) สามารถบูรณาการความรูที่เรียนมาเพ่ือนําไปแกปญหาทางการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมได

อยางเหมาะสม
3) มีมนุษยสัมพนั ธแ ละสามารถทํางานรว มกบั ผูอืน่ ได
4) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา และเขาใจวัฒนธรรมขององคกร รวมถึงสามารถปรับตัวใหเ ขากับสถาน

ประกอบการได
5) มีทักษะการสื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั

4.2 ชวงเวลา
ทกุ ภาคการศึกษาของชน้ั ปท ่ี 1 ถึงช้ันปที่ 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
1. การเรียนรูภาคปฏิบัตดิ านการจัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม 1 ในชนั้ ปท ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
2. การเรียนรภู าคปฏบิ ัติดานการจัดการธรุ กจิ การคาสมัยใหม 2 ในช้นั ปที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
3. การเรยี นรูภ าคปฏิบัติดา นการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม 3 ในช้ันปท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1
4. การเรยี นรภู าคปฏบิ ัตดิ านการจัดการธุรกิจการคา สมยั ใหม 4 ในช้นั ปท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
5. การเรียนรูภาคปฏิบตั ิดา นการจัดการธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 5 ในชนั้ ปท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1
6. การเรยี นรภู าคปฏบิ ัติดา นการจดั การธรุ กจิ การคาสมยั ใหม 6 ในชน้ั ปท่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
7. การเรียนรูภาคปฏบิ ัตดิ านการจัดการธรุ กิจการคา สมยั ใหม 7 ในช้นั ปท ี่ 4 ภาคการศึกษาท่ี 1
8. การเรียนรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม 8 ในช้ันปที่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2

5. ขอ กําหนดเกยี่ วกับการทาํ โครงงานหรืองานวจิ ยั
5.1 คําอธิบายโดยยอ
รายวิชาการเรียนรูภาคปฏิบัติดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม 1 มอบหมายใหนักศึกษาจัดทํา

โครงงานเปนรายบุคคล โดยใหนักศึกษาเรียนรูการเปล่ยี นแปลงของโลกทส่ี ง ผลกระทบตอธุรกิจและการดําเนินชีวิต
ในอนาคต ความรทู ัว่ ไปและความสําคญั ของนวตั กรรม การพัฒนาทักษะการเปน นวตั กร และโครงงานกลุม 3-6 คน
ในรายวิชาการเรียนรูภาคปฏิบัติดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม 2 ถึง 8 ใหนักศึกษาไดเรียนรูผานการทํา
โครงงานนวัตกรรม โดยเปนการบูรณาการความรูภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผานกระบวนการคิดเชิงออกแบบ
(Design Thinking) และการจัดทําแผนธุรกิจ เพ่ือใหนักศึกษาไดนําปญหาและความตองการของลูกคาจากการ
เรียนรภู าคปฏิบัติ มาพฒั นาและสรา งสรรคเปน ผลงานนวัตกรรมธรุ กิจในรูปแบบตางๆ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู
ผลการเรยี นรูตามรายวชิ าการเรียนรภู าคปฏิบัตดิ านการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม 1 ถงึ 8 ดังน้ี
- มีวนิ ยั ตรงตอ เวลา มีความซอ่ื สัตยส ุจริต มีความรบั ผิดชอบทั้งตอตนเอง สังคมและการประกอบอาชีพ
- เขาใจ และวิเคราะหหลกั การและทฤษฎีพน้ื ฐานดา นการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม และสามารถ

นําไปประยกุ ตใ นกิจกรรมดา นการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
- มีความใฝห าความรูดว ยตนเองอยา งตอเนอ่ื ง
- สามารถปรับตวั เขา กบั สถานการณ และวัฒนธรรมองคก รทไ่ี ปปฏิบตั ิงานไดเปน อยางดี

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น 59
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
- มที กั ษะการใชและสอื่ สารดว ยภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และ/หรือภาษาตา งประเทศอน่ื ๆ
- มที กั ษะการใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการคน ควา และจดั ทําโครงงานนวตั กรรม
5.3 ชว งเวลา
ทุกภาคการศึกษาของชนั้ ปที่ 1 ถึงชั้นปท่ี 4
5.4 จํานวนหนว ยกิต
รายวชิ าการเรยี นรูภาคปฏบิ ัตดิ านการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม 1-8 รายวชิ าละ 3 หนว ยกติ
5.5 การเตรียมการ
นักศึกษาเสนอรายช่ือหนวยงาน สาขา หรือฝายงานท่ีตองการฝกปฏิบัติงาน พรอมเสนอหัวขอ
โครงงานใหคณะกรรมการพิจารณา โดยมอี าจารยท ป่ี รึกษาและครพู เี่ ลีย้ งคอยแนะนําและปรบั ปรุงโครงงาน
5.6 กระบวนการประเมินผล
มีการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการตนสังกัด โดยประเมินจากเวลาการฝก
ปฏิบัติงาน แบบประเมินความสามารถในการฝกปฏิบัติงาน แบบประเมินพฤติกรรมในการฝกปฏิบัติงานจาก
หัวหนางานในสถานประกอบการตนสังกัดที่นักศึกษาลงฝกปฏิบัติงาน และนําเสนอโครงงานนวัตกรรมตอ
คณะกรรมการประเมินผล ซึ่งประกอบดวย ตัวแทนจากหลักสูตร อาจารยท่ีปรึกษา และ/หรือตัวแทนจากสถาน
ประกอบการ เปน ตน

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวฒั น 60
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรขู องหลกั สูตร กลยทุ ธก ารจดั การศึกษา และวธิ กี ารประเมินผล

1. แผนการเตรียมความพรอ มของนักศกึ ษาเพือ่ ใหบ รรลุผลลัพธก ารเรียนรตู ามที่คาดหวัง

ผลลัพธก ารเรยี นรตู ามท่ีคาดหวัง แผนการเตรียมความพรอม
PLO 1: ประยุกตใ ชอ งคค วามรูแ ละเครื่องมือในการ - เชิญวิทยากรผมู ปี ระสบการณด า นธรุ กิจการคาสมัยใหม
บริหารจัดการธุรกิจ และจัดการความเส่ียงอยาง เพื่อถายทอดความรูและประสบการณจากวิทยากรสู
รอบคอบ นักศกึ ษา
- ใชร ปู แบบการเรยี นการสอนแบบ active learning
- จัดกิจกรรมศึกษาดูงานในสถานประกอบการดานการ
จัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม
PLO 2: ปฏิบัติตนอยางมีวินัย มีความรับผิดชอบ - ปลูกฝงเรื่องความมีวินัย มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย
ซอ่ื สัตยส ุจรติ มจี ิตสาธารณะ แสดงออกถงึ จติ สํานึก สจุ รติ และมีจติ สาธารณะ
ในความถูกตอง ความรักงาน ทุมเท และไมยอทอ - ฝกเตรยี มความพรอมกอนการทํางาน ผา นกิจกรรมการ
ตอ การทาํ งาน อบรมกอ นลงฝก ปฏบิ ตั ิงานราน สรา งทศั คตใิ หน กั ศึกษามี
ความพรอ มตอ การเรยี นและการฝก ปฏบิ ัตงิ าน
- ฝกทักษะการบริหารจัดการราน ผานหองปฏิบัติการ
รานจําลอง (store model)
PLO 3: วิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยาง - เชิญผูประกอบการ ผูบริหารระดับสูงท่ีมีประสบการณ
เปนระบบ ตัดสินใจอยางมีวิจารณญาณ และแกไข ทํางานตรงมาเปนวิทยากรเพื่อถายทอดประสบการณ
ปญ หาเฉพาะหนาไดอยา งสรา งสรรค วางแผนกลยุทธท างธรุ กจิ การคา สมยั ใหม
- จัด Workshop จําลองสถานการณเพ่ือเรียนรูการ
แกปญ หา
PLO 4: ประยกุ ตใ ชเทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการสรางสรรค - พัฒนาทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน นําเสนอและเผยแพรผลงานไดหลากหลาย ของนักศึกษา ผานรายวิชาศึกษาท่ัวไปและบูรณาการใน
รูปแบบ ในการตัดสนิ ใจในการประกอบธรุ กิจ รายวิชาตา งๆ
- จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผานโครงการ Digital Talent
- การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในรูปแบบท่ีหลากหลายใน
การจัดกิจกรรมเรียนรู เชน e-Learning, PIM MOOC,
Thai MOOC เปนตน
PLO 5: แสดงออกถึงการมีภาวะผูนํา การทํางาน - จัดกิจกรรมโดยนักศึกษามีสวนรวมต้ังแตการเลือก
เปนทีม กลาเผชิญปญหา ทํางานรวมกับผูอื่น หัวขอธุรกิจการคาสมัยใหมท่ีสนใจ ดําเนินการเชิญ
ปรบั ตวั ใหสอดคลอ งกับวฒั นธรรมทีแ่ ตกตางได วิทยากร จัดสัมมนา ประเมินผล และสรุปผลการจัด
กิจกรรมดวยตนเอง โดยอาจารยจะเปนเพียงท่ีปรึกษา
เพอ่ื ใหก จิ กรรมอยใู นขอบเขตทีเ่ หมาะสม
PLO 6: บรหิ ารจัดการลูกคา การขาย เจรจาตอรอง - เชิญวิทยากรผูมีประสบการณดานการขายและบริการ
และการบริการอยางมืออาชีพ ท้ังรูปแบบออฟไลน เพื่อถายทอดความรูและประสบการณใหแกนักศึกษา
และออนไลน เพ่ือสรางประสบการณที่ดีใหกับ รวมถึงไดเรียนรูจากประสบการณจริงโดยผานการฝก
ลูกคา ดว ยความใสใ จ ปฏิบตั งิ าน

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 61
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ผลลัพธก ารเรียนรตู ามที่คาดหวงั แผนการเตรียมความพรอม
- จัดกิจกรรมในรายวิช าท่ีเ ก่ียว ข อง เพ่ือส ร า ง
ประสบการณ การบริหารจัดการลูกคา การขายและการ
บริการ
PLO 7: พั ฒ น า แ ล ะ ส ร า ง ส ร ร ค น วั ต ก ร ร ม ที่ - จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะดานนวัตกรรมของนักศึกษา
สอดคลอ งกับสง่ิ แวดลอมและสถานการณทางธุรกจิ มอบหมายงานใหนักศึกษาสรางสรรคนวัตกรรมและ
จั ด ทํ า โ ค ร ง ง า น ใ น หั ว ข อ น วั ต ก ร ร ม ใ น ธุ ร กิ จ ก า ร ค า
สมยั ใหม
- นําเสนอและรับฟงขอเสนอแนะโครงงานนวัตกรรม
ใหแกผ ปู ระกอบการ ผเู ชีย่ วชาญ และผมู ีประสบการณ
PLO 8: ออกแบบ วางแผนกลยุทธการบริหาร - จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการเปนผูประกอบการใน
จัดการธุรกิจอยางเปนระบบ โดยใชฐานคิดของการ รูปแบบ Workshop ใหนักศึกษาไดเรียนรูและนําไปใช
เปน ผปู ระกอบการอยา งมีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม ปฏบิ ัตจิ ริงได
- จัดกิจกรรมในรายวิชาที่เก่ียวของ เพื่อสรางฐานคิดของ
การเปน ผปู ระกอบการ
PLO 9: แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ เคารพและปฏบิ ัติ - จัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางทัศนคติและประสบการณให
ตามกฎเกณฑขององคกร ชุมชน และสังคมและยึด นักศึกษาไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เคารพและปฏิบัติ
ม่ันในจรรยาบรรณทางวิชาชีพดานการจดั การธุรกิจ ตามกฎเกณฑขององคก ร ชุมชน และสังคม
การคาสมัยใหม - สอดแทรกจรรยาบรรณทางวิชาชีพดานการจัดการ
ธุรกิจการคา สมยั ใหมใ นรายวชิ าทเ่ี ก่ียวของ
PLO 10: ใชภาษาสากลในการสื่อสารและการ - สอดแทรกการใชภาษาสากลและการนําเสนอใน
นาํ เสนออยางมืออาชพี กิจกรรมของรายวชิ าในหลักสตู ร
PLO 11: ใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรูดวยตนเอง - สงเสริมใหนักศึกษาแสวงหาความรูเพ่ิมเติมผานการ
อยางสม่ําเสมอ และสรางสมดุลใหชีวิตและการ จดั ทําโครงงาน
ทํางานไดอ ยางเหมาะสม - เปดโอกาสใหนักศึกษาเลือกหัวขอโครงงานตามความ
สนใจ
- จัดกิจกรรมในรายวิชาเพ่ือเสริมสรางสมดุลในการเรยี น
และการฝก ปฏบิ ัติงาน
- มีการจัดทํากิจกรรมนักศึกษา ใหนักศึกษาเลือกตาม
ความสนใจ เชน ชมรมจิตอาสา ชมรมกีฬา ชมรมหมาก
ลอ ม เปน ตน

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 62
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2.ความสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) และประเภทของผลลัพธการเรียนรู
ตามท่ีคาดหวงั ของหลกั สตู ร (Program Learning Outcomes: PLOs)
ประเภทของผลลัพธก ารเรยี นรู
ผลลัพธก ารเรียนรขู องหลกั สตู ร
(Program Learning Outcomes: PLOs) TQF ผลลพั ธก ารเรยี นรู ผลลัพธการเรยี นรู Life-Long
ทัว่ ไป เฉพาะสาขา Learning
(Generic LO) (Specific LO) (LLL)
PLO 1 ป ร ะ ยุ ก ต ใช อ งค ค ว า ม รู แ ล ะ
เครื่องมือในการบริหารจัดการ 2, 3 
ธุรกิจ และจัดการความเสย่ี งอยา ง
รอบคอบ
PLO 2 ปฏิบัติตนอยางมีวินัย มีความ
รับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต มีจิต 1, 4 
สาธารณะ แสดงออกถึงจิตสํานึก
ในความถูกตอง ความรักงาน
ทุมเท และไมย อ ทอ ตอการทํางาน
PLO 3 วิ เ ค ร า ะ ห ส ถ า น ก า ร ณ แ ล ะ
ป ฏิ บั ติ ง า น อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ 2, 3 
ตัดสินใจอยางมีวิจารณญาณ และ
แกไขปญหาเฉพาะหนาไดอยาง
สรางสรรค
PLO 4 ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลใน
การสรางสรรคผลงาน นําเสนอ 5 
และเผยแพรผ ลงานไดหลากหลาย 4
รูปแบบ ในการตัดสินใจในการ 
ประกอบธรุ กิจ

PLO 5 แสดงออกถึงการมีภาวะผูนํา การ
ทํางานเปนทีม กลาเผชิญปญหา
ทํางานรวมกับผูอ่ืน ปรับตัวให
สอดคลอ งกบั วัฒนธรรมที่แตกตาง
ได
PLO 6 บริหารจัดการลูกคา การขาย
เจรจาตอ รองและการบริการอยาง 2, 3 
มืออาชีพ ท้ังรูปแบบออฟไลนแ ละ
ออนไลน เพอ่ื สรา งประสบการณท ่ี
ดใี หกับลกู คา ดวยความใสใ จ
PLO 7 พัฒนาและสรางสรรคนวัตกรรมท่ี
ส อ ด ค ล อ ง กั บ ส่ิ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะ 2, 3 
สถานการณทางธรุ กจิ
PLO 8 ออกแบบ วางแผนกลยุทธการ
บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ธุ ร กิ จ อ ย า ง เ ป น 2, 3 
ระบบ โดยใชฐานคิดของการเปน
ผู ป ร ะ ก อ บ ก าร อ ยา งมีความ
รับผดิ ชอบตอสังคม
PLO 9 แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เคารพ
และปฏิบัติ ตามกฎเกณฑของ 1, 4 
องคกร ชุมชน และสังคมและยึด
ม่ันในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ฒั น 63
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ผลลัพธก ารเรยี นรขู องหลกั สตู ร ประเภทของผลลพั ธก ารเรยี นรู
(Program Learning Outcomes: PLOs)
TQF ผลลัพธก ารเรยี นรู ผลลัพธการเรียนรู Life-Long
ทว่ั ไป เฉพาะสาขา Learning
(Generic LO) (Specific LO) (LLL)
ด า น ก า ร จั ด ก า ร ธุ ร กิ จ ก า ร ค า
สมัยใหม
PLO 10 ใชภาษาสากลในการส่ือสารและ
การนําเสนออยางมอื อาชีพ 5 

PLO 11 ใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรูดวย
ตนเองอยางสมํ่าเสมอ และสราง
สมดุลใหชีวิตและการทํางานได 1,3,4 

หมายเหตุ : อยา งเหมาะสม

1. Generic Learning Outcome; Generic LO หมายถึง ผลลัพธการเรยี นรูทวั่ ไปที่นกั ศึกษาหรือบณั ฑิตทกุ คนตอ งเกดิ ขน้ึ
2. Specific Learning Outcome; Specific LO หมายถึง ผลลัพธการเรยี นรเู ฉพาะศาสตรสาขาวิชาท่ีนักศึกษาหรือบัณฑิตทกุ คน
ตอ งเกิดขนึ้
3. Life-Long Learning; LLL หมายถึง ทักษะการเรยี นรตู ลอดชวี ติ
4. TQF หมายถงึ กรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแหงชาติ โดย
1 คอื ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม
2 คอื ดานความรู
3 คือ ดานทักษะทางปญ ญา
4 คือ ดา นทกั ษะความสัมพันธระหวา งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
5 คือ ดา นทักษะในการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลขการส่ือสาร และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ฒั น 64
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

3. กลยุทธการจัดการศกึ ษาใหเ ปน ไปตามผลลพั ธการเรยี นรตู ามทคี่ าดหวังของหลักสตู ร

หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป

ผลลัพธการเรยี นรขู องหลักสูตรและ
คณะ/สถาบัน และสอดคลองกบั กรอบ กลยทุ ธก ารประเมินผลการ
มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษา กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา เรยี นรใู นแตล ะดาน

(TQF)
PLO 1: บูรณาการและประยุกตใชองค 1) ใชวิธีการจัดการเรียนรูที่เนน 1) การสงั เกตพฤติกรรมในการ
ความรูในการเรียน การทํางานและการ ผูเรียนเปนสําคัญดวยรูป แบบ แสดงออกในกิจกรรมที่ไดรับ
ดําเนนิ ชวี ติ ได กิจกรรมการเรียนรูท่ีหลากหลาย มอบหมาย และการถาม-ตอบ
สอดคลองกับสาระการเรียนรูในแต ความรูท่ีเรียนในระหวางการ
ละรายวิชา เชน สาธิต ยกตัวอยาง จัดการเรยี นรู
สถานการณจริง เพื่อใหเห็นแนว
ทางการประยุกตใชความรู การใช
กรณีศึกษาการสนทนา อภิปราย
กลุมยอย และการนําเสนอเนื้อหา
ความรูหนาช้นั เรียน
2) ใชสื่อออนไลน คลิปวิดีโอใน 2) การประเมินดวยแบบทดสอบ
สถานการณตาง ๆ มอบหมายให ( Testing) แ ล ะ ส อ บ ป ฏิ บั ติ
นักศึกษาไดศึกษาและวิเคราะหตาม ประเมินจากวิธีการแกปญหา
โจทยท ่กี าํ หนด คน ควาความรูผานสื่อ ผานการจําลองสถานการณ
เทคโนโลยี ลงมือปฏิบัติจริง โดย และมีเกณฑการใหคะแนน
มอบหมายชิ้นงาน กจิ กรรม หรอื การ (Scoring Rubrics) ของชิ้นงาน
ทําโครงงานเปนกลุ ม (Project- การเขาหองเรียน ตรงตอเวลา
based) และการนําเสนอผานการ ความใสใจในการทํางาน และ
ปฏิบัติจริง (Task-Based) เพ่ือนํา คุณธรรม จริยธรรม
ความรมู าประยุกตใช
PLO 2: ใชภ าษาในการสื่อส ารท้ัง 1) กําหนดสถานการณหรือกิจกรรม 1) ประเมินผล ดวยScoring
ภาษาไทยและ/หรือภาษาตางประเทศ ใหผูเรียน ใชความรูในการตอยอด Rubric การรวมกิจกรรม และ
ไ ด อ ย า ง ส อ ด ค ล อ ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ องคความรูของตนเอง โดยออก การสังเกต ความถูกตอ งในการ
สถานการณ เเบบกจิ กรรม (เด่ียว คู กลมุ ) เพื่อให แสดงบทบาทสมมติ
ผู เ รี ย น ส า ม า ร ถ นํ า ค ว า ม รู ม า
ประยุกตใชไดอยางเหมาะสมกับ
บริบทท่ีกําหนด และ เปดโอกาสให
ผูเรียนแสดงความคิดเห็น และฝก
ปฏิบัติการใชภาษาตามสถานการณ
ทเ่ี กี่ยวขอ ง

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน 65
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ผลลัพธการเรียนรขู องหลักสูตรและ
คณะ/สถาบัน และสอดคลอ งกับกรอบ กลยทุ ธการประเมนิ ผลการ
มาตรฐานคณุ วุฒิระดับอุดมศกึ ษา กลยทุ ธก ารสอนท่ใี ชพัฒนา เรยี นรใู นแตล ะดา น

(TQF) 2) ฝกการใชทักษะการฟง พูด อาน 2) การนําเสนอผลงานเปน

และเขียนภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร ภาษาไทย

3) ฝกการใชทักษะการฟง พูด อาน 3) การนําเสนอผลงานเปน
และเขียนภาษาตางประเทศเพื่อการ ภาษาตางประเทศ
สอื่ สาร
PLO 3: แสดงออกถึงความมีวินัย ขยัน 1) การมอบหมายภาระงานท้ังงาน 1) พฤติกรรมการเขาช้ันเรียน
อดทน ซอ่ื สตั ย และรบั ผดิ ชอบตอหนาที่ เดยี่ วและงานกลุม การรวมกิจกรรม การฝก
ปฏิบัติงาน อยางสม่ําเสมอ
และตรงตอ เวลาของนกั ศึกษา
2) การแสดงบทบาทสมมติ (Role 2) ประเมินผลความสําเร็จของ
Play) สงเสริมการสรางวินัยในตนเอง กิจกรรมโครงงานท่ีแสดงใหเห็น
และการใชส่ือออนไลน คลิปวิดีโอใน ถึงการกําหนด แบงบทบาท
สถานการณตาง ๆ ใหนักศึกษาได หนาท่ีความรับผิดชอบ ความ
ศึกษาและวิเคราะหตามโจทยที่ เสียสละ การพึ่งพาอาศัยและ
กาํ หนด การชวยเหลอื เก้ือกูลกัน
PLO 4: รู เ ท า ทั น ส่ื อ เ ลื อ ก ใ ช แ ล ะ 1) บูรณาการการใชเทคโนโลยีดิจิทัล 1) ความสามารถในการสืบคน
ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการ ตา ง ๆ สาํ หรบั การสบื คน เก็บรวบรวม เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ก า ร
สรา งสรรคผลงานไดอยางเหมาะสม ขอมูล การวิเคราะห นําเสนอผลงาน วิเคราะห นําเสนอผลงาน และ
และการทํางาน การทํางาน ที่มีการนําเสนอ
โดยใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
2) ก ร ะ ตุ น ใ ห นั ก ศึ ก ษ า เ ห็ น 2) ประเมินจากความถูกตองใน
ความสําคัญของประโยชนและโทษ การใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
ของสื่อออนไลน โดยยกตัวอยางจาก
ส่ือดิจิทัลออนไลนในปจจุบัน รวมทั้ง และการสืบคนรวมถึงแหลงที่มา
สงเสริมใหนักศึกษานําเสนอและ ของขอ มูลในการอา งองิ

สื บ ค น ข อ มู ล โ ด ย ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี
เหมาะสม
PLO 5: นําเสนอ จัดลําดับการเลาเร่ือง 1) ใหนักศึกษานําเสนอขอมูลปญหา 1) การประเมินการนําเสนอ
ไดอยางเปนระบบ วิพากษ โนมนาว ในสถานการณปจจุบัน โดยเลือกใช โดยใชเกณฑการใหคะแนน
ผอู น่ื และควบคุมสถานการณไ ด เทคโนโลยีที่เหมาะสม ( Scoring Rubrics) ป ร ะ เ มิ น
การวิพากษเชิงสรางสรรคจาก
ผูฟง และประเมินพฤติกรรม
การแสดงออกของนักศึกษา
ขณะตอบคาํ ถาม

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 66
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ผลลพั ธก ารเรียนรูของหลกั สูตรและ
คณะ/สถาบนั และสอดคลองกบั กรอบ กลยทุ ธก ารประเมนิ ผลการ
มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศึกษา กลยุทธก ารสอนทใี่ ชพัฒนา เรยี นรูในแตละดา น

(TQF) 2) มอบหมายกิจกรรมเพื่อใหผูเรียน 2) ประเมินจากการส อ บ

นําเสนอขอมูลโดยการพูดนําเสนอ ภาคปฏิบัติ และประเมินตาม
จัดลําดับขอมูล และเลาเร่ือง อยาง สภาพจรงิ ของนักศึกษา
เปนระบบ

PLO 6: วิเคราะห วางแผน ตัดสินใจ 1) มอบหมายงานท่ีเกี่ยวของกับ 1) ประเมินการทําแบบฝกหัด/
อยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหา กระบว นการคิดวิเคราะหเชิง ข อ ส อ บ ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ
อยา งสรางสรรค คณิตศาสตร ตรรกศาสตร และหลัก กระบวนการคิดวิเคราะหเชิง
สถิติที่นําชวยในการตัดสินใจอยาง คณติ ศาสตร และตรรกศาสตร
เหมาะสม
2) ใชวิธีการจัดการเรียนรูที่เนน 2) การสังเกตพฤติกรรมในการ
ผเู รยี นเปน สาํ คัญดวยรูปแบบกจิ กรรม แสดงออกในกิจกรรมที่ไดรับ
การเรียนรูที่หลากหลายสอดคลองกับ มอบหมาย
สาระการเรียนรูในแตละรายวิชา เชน
การใช กรณี ศึ กษาการส นทนา
อภิปรายกลุมยอย และการนําเสนอ
เนือ้ หาความรูหนาชัน้ เรยี น
3) การใชสื่อออนไลน คลิปวิดีโอใน 3) การถาม-ตอบความรูที่เรียน
สถานการณตาง ๆ ใหนักศึกษาได ในระหวา งการจัดการเรียนรู
ศึกษาและวิเคราะหตามโจทยท่ี
กําหนด

PLO 7: ออกแบบนวัตกรรม สามารถ 1) จัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงเสริม 1) การประเมินจากชิ้นงานที่
ผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจ ใหผูเรียนไดใชกระบวนการคิดเชิง ไดรับมอบหมาย เชน รายงาน
กอใหเกิดผลงาน และนําไปสูฐานคิด ออกแบบ (Design Thinking) และ โครงงาน โครงการ ชิ้นงาน
ของการเปน ผูประกอบการ การออกแบบนวัตกรรม

2) การใชสื่อออนไลน คลิปวิดีโอใน 2) การสังเกตพฤติกรรมในการ
สถานการณตาง ๆ ใหนักศึกษาได แสดงออกในกิจกรรมที่ไดรับ
ศึกษาและวิเคราะหตามโจทยที่ มอบหมาย
กําหนด

3) เชิญผูท่ีมีความเช่ียวชาญ หรือเปน 3) การถาม-ตอบความรูท ่ีเรียน
ผูประกอบการท่ีเก่ียวของมาแบงบัน ในระหวางการจัดการเรียนรู
ประสบการณและใหความรู

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 67
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ผลลพั ธการเรียนรขู องหลักสูตรและ กลยทุ ธก ารประเมนิ ผลการ
คณะ/สถาบัน และสอดคลอ งกับกรอบ เรียนรูในแตล ะดา น
มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษา กลยุทธก ารสอนท่ใี ชพ ัฒนา

(TQF)
PLO 8: ทํางานรวมกับผูอ่ืน มีมนุษย 1) ใชส่ือออนไลน คลิปวิดีโอใน 1) การสังเกตพฤติกรรม ความ
สัมพันธ กลาเผชิญปญหา สามารถ สถานการณตางๆ ใหนักศึกษาได เสยี สละการปรับตัวระหวางทํา
ทํางานที่หลากหลาย และปรับตัวให ศึกษาและวิเคราะหตามโจทยท่ี กิจกรรม และการถาม-ตอบ
สอดคลองกับวัฒนธรรมที่แตกตางได กําหนด ความรูที่เรียนในระหวางการ
จดั การเรยี นรู

2) การแสดงบทบาทสมมติ (Role 2) การสังเกตพฤติกรรมในการ
Play) แสดงออกในกิจกรรมที่ไดรับ

มอบหมาย
3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 3) ประเมินจากพฤติกรรมการ
เนน การทาํ งานรว มกนั การอภปิ ราย แสดงออกของนักศึกษาขณะทํา
กิจกรรม ความรวมมือ และ
กลุม รายงานกลุม และการนําเสนอ ความคิดเห็นของเพ่ือนในกลุม
ในชัน้ เรยี น เพื่อรวมช้ันที่ฟงการนําเสนอ

โดยใหมีการประเมินเชิงวิพากษ
อยา งสรา งสรรค

PLO 9: ปฏิบัติตนตามกฏระเบียบของ 1) การจดั การเรยี นรแู บบใชค ําถาม 1) การสังเกตพฤติกรรมในการ
องคกร สังคม ประเทศชาติ มีจิต (Questioning Method) ถ า ม - ต อ บ ค ว า ม รู ที่ เ รี ย น ใ น
สาธารณะ และยึดมั่นในจรรยาบรรณ ระหวา งการจัดการเรยี นรู
วิชาชีพ
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี 2) ประเมินจากการแสดง
เนนการสื่อสารความคิดระหวาง ความคิดเห็นของสมาชิกใน
กลุม ผูเรียนรวมชั้นท่ีฟงการ
บุคคล โดยศึกษาจากกรณีตัวอยาง นําเสนอ โดยใหมีการประเมิน
อภิปรายกลุมท่ีใหทุกคนมีสวนรวม เชิงวพิ ากษอ ยา งสรา งสรรค
และทํางานรวมกัน เนนเกี่ยวกับ

ส า เ ห ตุ ข อ ง ป ญ ห า แ ล ะ ก า ร

แกป ญหาในเร่อื งสทิ ธมิ นษุ ยชน

3) สงเสริมใหนักศึกษาแสดงออกซ่ึง 3) การแสดงออกซึ่งประเพณี
และวัฒนธรรมไทย
ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย

4) รณรงคใหนักศึกษาปฏิบัติตาม 4) จํานวนพฤติกรรมที่ขัดตอ
กฎระเบียบของสถาบัน และสถาน กฎระเบียบสถาบันและสถาน
ประกอบการทีล่ ดลง
ประกอบการ

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 68
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ผลลัพธก ารเรยี นรูของหลักสูตรและ
คณะ/สถาบัน และสอดคลอ งกับกรอบ กลยทุ ธก ารประเมินผลการ
มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษา กลยุทธการสอนท่ีใชพ ัฒนา เรยี นรใู นแตล ะดาน

(TQF)
PLO 10: สรางสมดุลใหชีวิตและการ 1) การจัดการเรียนการสอนโดยให 1) การสงงาน และการทํางาน
ทํางาน บริหารจัดการทั้งดานสุขภาพ ศึกษาจากตนแบบ (Model) แลว ท่ีไดรับมอบหมายตามเวลาท่ี
การเงิน เวลา และบุคคลไดอยาง สรปุ องคค วามรู กาํ หนด
เหมาะสม
2) เรียนรูจากสถานการณจริง การ 2) การสังเกตพฤติกรรมในการ
ทํากิจกรรม รวมทั้งการแลกเปลี่ยน แสดงออกในกิจกรรมท่ีไดรับ
ประสบการณการศึกษาจากผูสอนท่ี
มีความเชีย่ วชาญ มอบหมาย และการถาม-ตอบ
ความรูที่เรียนในระหวางการ

จัดการเรยี นรู

PLO 11: ใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรู 1) การเรียนรูจากการทําโครงงาน 1) การประเมินจากช้ินงานท่ี
ดวยตนเอง (Project –based Learning) ไดร ับมอบหมาย
2) จัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงเสริม 2) การถาม-ตอบความรทู ่ีเรียน
ใหผูเรียนไดศึกษาคนควา เรียนรู ในระหวา งการจดั การเรียนรู

วิธีการแสวงหาความรูและการสรุป

องคค วามรดู ว ยตนเอง

3) การเรียนรูดวยตนเอง (Self 3) แบบประเมินผลการเรียนรู
Learning) จากระบบออนไลน ดว ยตนเองจากระบบออนไลน

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 69
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดวิชาเฉพาะ

ผลลพั ธการเรยี นรูของหลกั สูตร กลยทุ ธการสอนทีใ่ ชพัฒนา กลยุทธก ารประเมินผลการ
(Program Learning Outcomes) เรียนรูในแตล ะดา น
PLO 1: ประยุกตใชองคความรูและ 1) ใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบ 1) การประเมินผลจากโครงงาน
เคร่ืองมือในการบริหารจัดการธุรกิจ active learning ท่ีเนนผูเรียนเปน ท่ีไดรับมอบหมาย โดยใช
และจดั การความเสีย่ งอยา งรอบคอบ สาํ คัญดวยรปู แบบกิจกรรมการเรียนรู Scoring Rubic
ที่หลากหลาย สอดคลองกับสาระการ 2) การประเมนิ การมสี ว นรวมใน
เรียนรูในแตละรายวิชา เชน การใช ชั้นเรยี น
กรณีศึกษา การสนทนา การอภิปราย 3) แบบทดสอบวัดความรูใน
กลุมยอย และการนําเสนอเน้ือหา รายวชิ า
ความรูหนา ชน้ั เรยี น 4) การประเมินผลจากการให
2) การใชสื่อการเรียนการสอน เหตผุ ลประกอบการอภปิ ราย
ออนไลน เชน PIM e-Learning, PIM
MOOC, Thai MOOC ใหนักศึกษาได
ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห ต า ม โ จ ท ย ท่ี
กําหนด
3) เรียนรูจากประสบการณจริง การ
ทํากิจกรรม รวมท้ังแลกเปลี่ยน
ประสบการณจากผูสอนที่มีความ
เชยี่ วชาญ
PLO 2: ปฏิบัติตนอยางมีวินัย มีความ 1) ปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย 1 ) ป ร ะ เ มิ น จ า ก สั ง เ ก ต
รั บ ผิ ด ช อ บ ซ่ื อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี จิ ต เปนคนตรงตอเวลา โดยการกําหนด พฤติกรรมการเขาชั้นเรียน
สาธารณะ แสดงออกถึงจิตสํานึกใน เงื่อนไขการเขาเรียนและกําหนดสง การเขางานอยางสม่ําเสมอ
ความถูกตอง ความรักงาน ทุมเท และ งาน และตรงตอเวลา
ไมยอ ทอ ตอการทาํ งาน 2) ปลูกฝงความซ่ือสัตยสุจริต โดย 2) ประเมินจากการสังเกต
บูรณาการในรายวิชาและการฝก พฤติกรรม มีความละอายและ
ปฏิบัติงานทร่ี า น ไ ม ท น ต อ ก า ร ทุ จ ริ ต ท้ั ง ข อ ง
ตนเองและผอู ื่น

PLO 3: วิเคราะหสถานการณและ 1) ใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบ 1) การประเมินผลจากโครงงาน
ปฏิบัติงานอยางเปนระบบ ตัดสินใจ active learning และ games-based ที่ไดรับมอบหมาย โดยใช
อยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหา learning ที่สอดคลองกับสาระการ Scoring Rubric
เฉพาะหนา ไดอยางสรา งสรรค เรียนรูในแตละรายวิชา เชน บทบาท 2) การประเมนิ การมีสวนรวมใน
สมมติ สถานการณจําลอง ช้นั เรยี น
2 ) จั ด กิ จ ก ร ร ม project-based 3) แบบทดสอบวัดความรูใน
สงเสริมใหนักศึกษามีสวนรวมในการ รายวชิ า
ตัดสินใจ และแกไขปญหาเฉพาะหนา 4) การประเมินผลจากการให
เหตุผลประกอบการอภิปราย

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวฒั น 70
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร กลยทุ ธก ารสอนทใี่ ชพ ัฒนา กลยทุ ธการประเมนิ ผลการ
(Program Learning Outcomes) เรียนรูในแตละดาน
PLO 4: ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลใน 1) ใหนักศึกษานําเสนอ โดยใช 1) การประเมินผลจากโครงงาน
การสรางสรรคผลงาน นําเสนอและ เคร่ืองมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีไดรับมอบหมาย โดยใช
เผยแพรผลงานไดหลากหลายรูปแบบ ทกุ รายวิชา Scoring Rubric
ในการตดั สนิ ใจในการประกอบธรุ กิจ 2) ใหนักศึกษาสืบคนขอมูล เก็บ 2) การประเมินการมีสวนรวมใน
รวบรวมและวิเคราะหขอมูล เพื่อ ชนั้ เรยี น
ประกอบการเรี ยนและการทํ า 3) แบบทดสอบวัดความรูใน
โครงงาน โดยใชวิธีการแบบ active รายวิชา
learning 4) การประเมินผลจากการให
เหตผุ ลประกอบการอภิปราย
5) ประเมินผลจากการนําเสนอ
ของแตล ะรายวชิ า

PLO 5: แสดงออกถึงการมีภาวะผูนํา 1) ใหนักศึกษาทํากิจกรรมกลุม โดย 1 ) ป ร ะ เ มิ น จ า ก สั ง เ ก ต
การทํางานเปนทีม กลาเผชิญปญหา ฝกการวางแผนดําเนินงาน กําหนด พฤตกิ รรมท่แี สดงออกถึงความ
ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อ่ื น ป รั บ ตั ว ใ ห บทบาทและหนาท่ีของสมาชิกในกลุม เปน ผนู ําในช้ันเรยี น
สอดคลองกับวฒั นธรรมทีแ่ ตกตางได สามารถปรบั ตวั เขากับผูอ ่ืนได 2) แบบประเมินผลการฝก

2) บูรณาการทักษะภาวะผูนําผาน ป ฏิ บั ติ ง า น จ า ก ส ถ า น
ก า ร ฝ ก ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ส ถ า น ประกอบการ
ประกอบการ เชน การตัดสินใจแกไข
ปญหาเฉพาะหนา การตอบคําถาม
จ า ก ลู ก ค า บ ริ ห า ร ที ม ง า น ใ ห
สอดคลอ งกับวัฒนธรรมท่ีแตกตางได

PLO 6: บริหารจัดการลูกคา การขาย 1) เชิญวิทยากรผูมีประสบการณ 1) การประเมินการมีสว นรวมใน
เจรจาตอรองและการบริการอยางมือ เ พื่ อ ถ า ย ท อ ด ค ว า ม รู แ ล ะ ใ ช ช้นั เรียน
อาชีพ ทงั้ รูปแบบออฟไลนแ ละออนไลน กรณีศึกษาท่ีเก่ียวของดานการขาย 2) การประเมินผลจากโครงงาน
เพ่ือสรางประสบการณที่ดีใหกับลูกคา และบรกิ าร ท่ีไดรับมอบหมาย โดยใช
ดวยความใสใ จ 2) จัดทําโ ครงงา นบูร ณ า ก า ร Scoring Rubric
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเพื่อให
นักศึกษาไดเรียนรูและสามารถนํา
หลักการไปใชใ นการปฏบิ ตั จิ รงิ ได

PLO 7: พั ฒ น า แ ล ะ ส ร า ง ส ร ร ค 1) การจัดการเรียนรูผานการทําแผน 1) การประเมินผลจากโครงงาน
นวัตกรรมที่สอดคลองกับสิ่งแวดลอม ธรุ กจิ และโครงงานนวตั กรรม ที่ไดรับมอบหมาย โดยใช
และสถานการณท างธรุ กจิ 2) จัดกิจกรรมนําเสนอโครงงาน Scoring Rubric
นวัตกรรมใหแกผูประกอบการ 2) แบบประเมินผลการฝก ปฏิบัติ
ผูเชีย่ วชาญ และผมู ปี ระสบการณ งานจากสถานประกอบการ
3) คะแนนประเมินจากการ
นําเสนอโครงงานนวตั กรรม

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน 71
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ผลลัพธก ารเรียนรขู องหลักสูตร กลยทุ ธการสอนทใี่ ชพ ัฒนา กลยทุ ธก ารประเมินผลการ
(Program Learning Outcomes) เรียนรูในแตล ะดา น
PLO 8: ออกแบบ วางแผนกลยุทธการ 1) จัดการเรียนรูใหนักศึกษาได 1) แบบทดสอบวัดความรูใน
บริหารจัดการธุรกิจอยางเปนระบบ วางแผนกลยุทธเกี่ยวกับธุรกิจ รายวิชา
โ ด ย ใ ช ฐ า น คิ ด ข อ ง ก า ร เ ป น การคา สมยั ใหม 2) การประเมินผลจากโครงงาน
ผูประกอบการอยางมีความรับผิดชอบ 2) จัดกิจกรรมในการพัฒนาทักษะ ท่ีไดรับมอบหมาย โดยใช
ตอสังคม การเปนผูประกอบการในรูปแบบ Scoring Rubric
Workshop ใหนักศึกษาไดเรียนรู
และนําไปใชปฏิบตั ิจริงได
3) จัดกิจกรรมสัมมนาหรือออกราน
ในรูปแบบออฟไลนหรือออนไลนใน
รายวิชาทเี่ กยี่ วของ

PLO 9: แ ล ก เ ป ล่ี ย น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น 1) ปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย 1 ) ป ร ะ เ มิ น จ า ก สั ง เ ก ต
เคารพและปฏิบัติ ตามกฎเกณฑของ เปนคนตรงตอเวลา โดยการกําหนด พฤติกรรมการเขาชั้นเรียน
องคกร ชุมชน และสังคมและยึดม่ันใน เง่ือนไขการเขาเรียนและกําหนดสง การเขางานอยางสม่ําเสมอ
จรรยาบรรณทางวิชาชีพดานการ งาน และตรงตอ เวลา
จดั การธุรกจิ การคา สมัยใหม 2) ปลูกฝงความซื่อสัตยสุจริต โดย 2) ประเมินพฤติกรรมจาก
บูรณาการในรายวิชาและการฝก รายวชิ าฝกปฏบิ ัตงิ าน
ปฏิบตั งิ านทีร่ า น 3) การอางอิงผลงานจาก
แหลง ขอ มลู ทสี่ บื คน
PLO 10: ใชภาษาสากลในการสื่อสาร 1) สอดแทรกการใชภาษาสากลใน 1 ) ป ร ะ เ มิ น จ า ก สั ง เ ก ต
และการนําเสนออยา งมืออาชพี บทเรยี น พฤติกรรมการใชภาษาสากล
2) จัดกิจกรรมนําเสนอโครงงานใน สอ่ื สารในช้ันเรยี น
รายวชิ า 2) การประเมินผลจากโครงงาน
ท่ีไดรับมอบหมาย โดยใช
Scoring Rubric
PLO 11: ใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรู 1) สงเสริมใหนักศึกษาแสวงหา 1 ) ป ร ะ เ มิ น จ า ก สั ง เ ก ต
ดวยตนเองอยางสม่ําเสมอ และสราง ความรูดวยตนเองอยา งสมาํ่ เสมอ พฤติกรรมการตอบคําถามใน
สมดุลใหชีวิตและการทํางานไดอยาง 2) เปดโอกาสใหนักศึกษาเลือก ช้ันเรยี น
เหมาะสม หัวขอโครงงานตามความสนใจ 2) ประเมินจากสังเกตการเขา
3) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อ รวมกิจกรรมในรายวิชา และ
เสริมสรางสมดุลในการเรียนและ การฝก ปฏบิ ัตงิ าน
การฝก ปฏบิ ัติงาน

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 72
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

ความคาดหวงั ของผลลพั ธการเรยี นรเู มื่อสิ้นปการศกึ ษา
เมื่อสาํ เร็จหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการธรุ กจิ การคาสมัยใหม นกั ศกึ ษามคี ุณลักษณะ ดังนี้

ปก ารศึกษาท่ี ความคาดหวังของผลลัพธก ารเรียนรเู มอ่ื สิน้ ปก ารศึกษา
1 ประยุกตใชองคความรูและเครื่องมือในการบริหารจัดการธุรกิจ บริหารจัดการลูกคา เจรจา
ตอรองและเสนอขายกับลูกคาอยางมืออาชีพ สามารถใชภาษาในการสื่อสารและเทคโนโลยี
2 ดจิ ิทลั ในชวี ติ ประจาํ วนั ไดสอดคลองกับสถานการณ รวมถึงปฏิบตั ิตนอยางมีวนิ ยั ขยัน มงุ มนั่
3 ทุมเท ปรับตัวเขากับสถานการณ และเคารพและปฏิบัติตามกฎเกณฑขององคกรและสังคม
4 อยา งซ่ือสัตยส ุจรติ
วิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยางเปนระบบ บริหารจัดการทีม และการทํางาน
รวมกับผูอื่น ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรคผลงาน นําเสนอและเผยแพร
ผลงานไดหลากหลายรูปแบบ รวมถึงโนมนาว ส่ือสาร แสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผลเพ่ือ
การตดั สนิ ใจในการประกอบธุรกจิ
วางแผน ตัดสินใจเชงิ รุก กลาเผชิญปญ หา แกไขปญ หาอยา งสรางสรรค มภี าวะผูนํา มีความ
เปนผูประกอบการ รวมถึงพัฒนาและสรางสรรคนวัตกรรมที่สอดคลองกับส่ิงแวดลอมและ
สถานการณทางธุรกจิ ไดอยางเหมาะสม
ออกแบบ วางแผนกลยุทธทางธุรกิจ ประเมินสถานการณแนวโนมธุรกิจไดอยางเปนระบบ
สามารถใชภาษาสากลในการส่ือสารและการนําเสนออยางมืออาชีพ การสอนงานไดอยาง
ถูกตอง รวมถึงการใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรูดวยตนเองอยางสม่ําเสมอ และสรางสมดุล
ใหชวี ิตและการทาํ งานไดอยางเหมาะสม

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น 73
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

4. ผังแสดงความเชือ่ มโยงผลการเรียนรจู ากหลกั สูตรสูรายวชิ า (Curriculum Mapping)
หมวดวิชาศกึ ษ

 ความรับผิดชอบหลัก 

รายวิชา 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1.หมวดอัตลักษณข องพีไอเอม็ (PIM) 123451
1010101 ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสารในยคุ ดจิ ิทัล
1010102 ศิลปะการนําเสนออยา งสรางสรรค 
1010103 ปญญาภวิ ัฒนเ พอื่ การจดั การ 
1010104 วิถพี ลเมืองดจิ ิทัล 
2. หมวดศาสตรแ หง ชวี ติ 
2.1 กลมุ ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร
1021105 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 
1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาตา งประเทศ 
1021207 หลกั ภาษาและการใชภาษาไทย 
1021208 การอา นออกเสยี งภาษาไทย 
1021309 วถิ ีไทย ภูมิปญ ญาไทย และวัฒนธรรมไทย 
1021210 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสมัครงานและ

สัมภาษณ
1021212 ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ 
1021213 ภาษาจนี ในชวี ติ ประจาํ วนั 
1021214 ภาษาจนี เพอื่ ธุรกิจบริการ 
1021215 ภาษาจีนในสํานักงาน 
1021216 ภาษาจนี เพอ่ื การส่ือสารทางธรุ กจิ 

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน

มคอ.2

ษาทัว่ ไป 4. ทกั ษะความสมั พนั ธ 5. ทกั ษะในการวเิ คราะหเ ชิง
 ความรับผดิ ชอบรอง ระหวางบคุ คลและความ ตวั เลข การสื่อสาร และการ
ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. ความรู 3. ทักษะทางปญ ญา รับผิดชอบ 1234
123123 1234





















74
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

รายวชิ า 1. คุณธรรม จริยธรรม 1

1021117 ภาษาองั กฤษในชีวิตประจําวนั 12345 
1021118 ภาษาองั กฤษในโลกสมยั ใหม  
1021219 ภาษาอังกฤษเพ่อื ธุรกิจและการทํางาน  
1021220 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนาํ เสนออยางสรา งสรรค  
1021221 ภาษาองั กฤษในสอ่ื มวลชน  
1021322 ภาษาองั กฤษสําหรบั การสอบวัดมาตรฐาน  
1021223 ภาษาเมยี นมาในชวี ิตประจาํ วนั  
1021224 ภาษาเมยี นมาเพ่อื การสือ่ สารธรุ กิจ  
1021225 ภาษาเขมรในชวี ิตประจาํ วนั  
1021226 ภาษาเขมรเพือ่ การสอื่ สารธุรกิจ 
2.2 กลมุ ชีวิตและสงั คมแหงความสุข  
1022203 มนษุ ยห ลากมิติ 
1022204 ความรักและสัมพันธภาพ  
1022205 รโู ลกกวาง  
1022206 สงิ่ แวดลอ ม การพัฒนา และความยง่ั ยนื  
1022207 มหัศจรรยแหง สุขภาพดี 
2.3 กลมุ การจัดการและนวัตกรรม  
1023202 หมากลอมปญ ญาภิวฒั น 
1023203 การจดั การเพื่อความมง่ั ค่ัง  
1023205 นวตั กรรมกบั การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ  
1023208 การจดั การธุรกิจยคุ ใหม  
1023209 การคดิ และวิเคราะหเ พอ่ื การตัดสินใจ  
1023210 เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การทํางาน 

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ฒั น

มคอ.2

2. ความรู 3. ทกั ษะทางปญญา 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ 5. ทักษะในการวเิ คราะหเ ชิง
ระหวา งบคุ คลและความ ตวั เลข การสอื่ สาร และการ
123 123 ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
  รบั ผิดชอบ 1234
  1234 
   
   
   
   
   
   
   
   
 















75
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

หมวดวชิ าเฉ

 ความรับผิดชอบหลัก 

รายวชิ า 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ความร

หมวดวิชาเฉพาะ 12 3 4512

กลุมวชิ าแกนธุรกจิ
1101102 การจัดการองคก ารและทรพั ยากรมนษุ ย
ในยุคดจิ ิทัล 

1101103 การจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละหว งโซอ ุปทาน  

1101104 การจัดการธุรกิจแบบองครวม 

1101105 การตลาดดจิ ิทัล 

1101106 การบัญชแี ละการเงนิ เพื่อการจัดการธุรกจิ  

กลุมวชิ าบงั คับ

1112102 การขายและเอกลักษณก ารบริการ  

1112103 การจดั การผลติ ภัณฑใ นธุรกจิ การคา  
สมยั ใหม

1112104 พฤตกิ รรมลกู คา และการวิเคราะหขอ มลู

1112205 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางธรุ กิจ  

1112206 การจัดซือ้ ในธุรกจิ การคา สมยั ใหม  

1112307 การจดั การนวัตกรรมทางธรุ กจิ ดิจทิ ลั  

1112308 การเปนผูประกอบการทางธรุ กิจ  

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวฒั น

มคอ.2

ฉพาะ
 ความรับผดิ ชอบรอง

รู 3. ทกั ษะ 4. ทกั ษะความสมั พนั ธระหวาง 5. ทกั ษะในการวิเคราะห
ทางปญญา บคุ คลและความรบั ผิดชอบ เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร
และการใชเ ทคโนโลยี
3123 12345
สารสนเทศ
1234

 

  
  
 
  


 

 

  
  

  
  



76
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

รายวชิ า 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความร

1112151 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการ 12 3 4512
ธุรกจิ การคาสมยั ใหม 1

1112152 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจดั การ 
ธรุ กิจการคา สมัยใหม 2 

1112253 การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจัดการ 
ธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 3 

1112254 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจดั การ 
ธุรกิจการคา สมัยใหม 4

1112355 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจัดการ
ธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 5

1112356 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการ
ธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 6

1112457 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการ
ธุรกิจการคาสมยั ใหม 7

1112458 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจดั การ
ธรุ กจิ การคาสมยั ใหม 8

กลุมวชิ าเลือก

1103301 เทคนคิ การขายและกลยุทธก ารเจรจา  
ตอ รอง  

1103302 การขายในธรุ กิจออนไลน

1113303 การจดั การความสมั พนั ธแลประสบการณ  
ลูกคา  

1103304 การเปลยี่ นผา นธรุ กิจการคาสมัยใหม

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ฒั น

มคอ.2

รู 3. ทกั ษะ 4. ทักษะความสมั พันธระหวา ง 5. ทกั ษะในการวิเคราะห
ทางปญ ญา บคุ คลและความรบั ผิดชอบ เชงิ ตวั เลข การส่ือสาร
และการใชเ ทคโนโลยี
3123 12345
สารสนเทศ
  1234



 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

77
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

รายวิชา 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ความร

1103305 การจัดทําสือ่ ดิจิทลั สาํ หรับธุรกิจการคา 12 3 4512
สมัยใหม

1103306 ความคดิ สรา งสรรคเพือ่ การจดั การ
นวตั กรรมทางธรุ กจิ 

1103307 การบรหิ ารรา นคา อยางมืออาชีพ

1103308 การจัดการชองทางการตลาดและการ 
กระจายสินคา 

1103309 การบริหารพื้นทแ่ี ละเครอื ขายพันธมติ ร

1103310 การจดั การอยางผูป ระกอบการสําหรับ 
ธุรกิจ 

1103311 การจัดการเชงิ กลยุทธทางธุรกจิ ทยี่ ัง่ ยืน

1103312 การจัดการธรุ กิจในตลาดอาเซยี น 

1103313 การจดั การธรุ กิจอาหารในธุรกจิ การคา  
สมัยใหม  

1103314 การจัดการธุรกจิ สขุ ภาพและโภชนาการ

1103315 การจัดการธุรกิจสขุ ภาพและความงาม  

1103316 หัวขอเลือกสรรดานการจัดการธุรกิจ  
การคา สมยั ใหม

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น

มคอ.2

5. ทกั ษะในการวเิ คราะห
3. ทกั ษะ 4. ทักษะความสมั พนั ธระหวาง เชิงตวั เลข การสอ่ื สาร
รู ทางปญญา บุคคลและความรบั ผิดชอบ และการใชเ ทคโนโลยี

สารสนเทศ
3 1 2 3 1 2 3 4 5 1234

 

  

  

 
 

 
 

 
 

 

 
 



78
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

ตารางแสดงความสมั พันธระหวางผลลพั ธการเรียนรูทคี่ าดหวังของหลกั สูตร (PLOs) กบั มา

ผลการเรยี นรูตามกรอบ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความ
มาตรฐานคุณวฒุ ิ (TQF) 2.1 2.2

ผลลัพธการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 
ของหลกั สูตร (PLOs)
PLO 1: ประยุกตใชองคค วามรูและเคร่อื งมือในการ 
บริหารจดั การธรุ กิจ และจดั การความเสีย่ งอยา ง
รอบคอบ 
PLO 2: ปฏิบตั ติ นอยางมวี นิ ัย มคี วามรับผดิ ชอบ 
ซ่อื สตั ยส ุจรติ มีจติ สาธารณะ แสดงออกถึงจิตสํานึก
ในความถูกตอ ง ความรักงาน ทุมเท และไมย อทอ     

ตอ การทํางาน
PLO 3: วิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยาง
เปนระบบ ตัดสินใจอยางมีวิจารณญาณ และแกไข
ปญหาเฉพาะหนา ไดอ ยางสรางสรรค
PLO 4: ประยกุ ตใ ชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการ
สรางสรรคผ ลงาน นําเสนอและเผยแพรผลงานได
หลากหลายรปู แบบ ในการตดั สินใจในการประกอบ
ธุรกจิ
PLO 5: แสดงออกถงึ การมภี าวะผนู าํ การทาํ งาน
เปน ทีม กลาเผชญิ ปญ หา ทํางานรว มกับผอู ่นื
ปรับตวั ใหสอดคลอ งกบั วฒั นธรรมทแ่ี ตกตา งได
PLO 6: บรหิ ารจัดการลูกคา การขาย เจรจาตอ รอง
และการบริการอยางมอื อาชพี ท้งั รูปแบบออฟไลน
และออนไลน เพ่ือสรา งประสบการณท่ดี ใี หกับลูกคา
ดวยความใสใจ
PLO 7: พฒั นาและสรา งสรรคนวตั กรรมท่ี
สอดคลอ งกับสิ่งแวดลอมและสถานการณท างธุรกิจ

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น

มคอ.2

าตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ TQF
4. ทกั ษะความสัมพนั ธระหวา ง 5. ทักษะในการวเิ คราะห
3. ทกั ษะทาง บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ เชิงตัวเลข การสื่อสาร
มรู ปญ ญา และการใชเ ทคโนโลยี

2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 สารสนเทศ
5.1 5.2 5.3 5.4















79

ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความ

PLO 8: ออกแบบ วางแผนกลยุทธก ารบรหิ าร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2

จดั การธุรกจิ อยา งเปนระบบ โดยใชฐ านคิดของการ 
เปน ผปู ระกอบการอยา งมคี วามรับผดิ ชอบตอสังคม
PLO 9: แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ เคารพและปฏบิ ตั ิ
ตามกฎเกณฑข ององคก ร ชมุ ชน และสังคมและยดึ
มั่นในจรรยาบรรณทางวชิ าชีพดานการจดั การธุรกจิ    

การคา สมัยใหม
PLO 10: ใชภ าษาสากลในการสอ่ื สารและการ
นําเสนออยา งมืออาชีพ
PLO 11: ใฝรู ใฝเ รียน แสวงหาความรดู ว ยตนเอง
อยา งสม่าํ เสมอ และสรางสมดุลใหช ีวติ และการ 
ทาํ งานไดอ ยางเหมาะสม

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน

มคอ.2

4. ทักษะความสัมพนั ธร ะหวาง 5. ทักษะในการวิเคราะห
3. ทักษะทาง บุคคลและความรับผดิ ชอบ เชิงตัวเลข การส่อื สาร
มรู ปญญา และการใชเ ทคโนโลยี

สารสนเทศ
2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3 5.4



 




80
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

ผลการเรยี นรใู นตารางมีความหมาย ดงั นี้
หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป

1) ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
(1) แสดงออกถงึ ความมีวินยั และตรงตอเวลา
(2) ปฏบิ ตั หิ นา ทดี่ วยความซื่อสตั ยสจุ ริต มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ
(3) มคี วามรับผิดชอบทงั้ ตอตนเอง สงั คมและการประกอบอาชีพ
(4) แสดงออกซงึ่ ประเพณีและวฒั นธรรมไทย
(5) ปฏิบัตติ ามระเบียบและกฎเกณฑขององคกรและสงั คม

2) ดานความรู
(1) สามารถอธิบาย ใชทฤษฎี หลกั การพ้ืนฐาน ที่เรยี นรแู ละนาํ ไปประยกุ ตใ ชใน
(2) สามารถอธบิ าย ใชท ฤษฎี หลักการของศาสตรทเ่ี กยี่ วของ และสามารถนาํ ม
(3) สามารถวิเคราะหแ ละเลือกใชค วามรใู นศาสตรทเ่ี รยี น เพ่อื การวางแผน การ

3) ดานทกั ษะทางปญญา
(1) สามารถวิเคราะหและประเมนิ สถานการณโดยใชศาสตรท่ีเรียน เพอื่ ใชในกา
(2) สามารถจัดระบบและสรา งสรรคสิ่งใหม โดยนาํ ศาสตรท ีเ่ รยี นมาเชอ่ื มโยง ต
(3) มีความกระตอื รือรน ในการใฝห าความรู ในศาสตรทเี่ รียนและศาสตรทเี่ กยี่ วข

4) ดานทักษะความสมั พันธร ะหวา งบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) สามารถปฏิบัติตามกฏระเบยี บ ปรับตวั เขา กบั สถานการณและวัฒนธรรมองค
(2) มีมนุษยสมั พนั ธที่ดี มีความรบั ผิดชอบ มภี าวะผนู ํา และทํางานรวมกับผูอนื่ ไ
(3) พัฒนาตนเองตอหนา ท่ีความรบั ผิดชอบและงานทีไ่ ดร ับมอบหมาย
(4) จดั สรรเวลาการทํางาน การดแู ลสุขภาพชวี ติ สว นตวั และการสรางความสัมพ

5) ดา นทกั ษะในการวิเคราะหเชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ ทคโนโลยีสารสน
(1) สามารถใชค วามรูทางคณิตศาสตรและสถิติในการวเิ คราะห และนําเสนอขอ
(2) สามารถใชภาษาไทย ในการอธบิ ายหลกั การและสถานการณ รวมถงึ การส่ือ

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน

มคอ.2



นชีวติ ประจําวนั และศาสตรท่เี กี่ยวขอ ง
มาประยุกตหรอื เปนพ้นื ฐานในการเรียนและการทํางาน
รเรยี นและการทํางาน
ารวางแผนการทาํ งาน และปฏบิ ัตงิ านจรงิ
ตอยอดความรู และพฒั นาทักษะการปฏิบัตงิ าน
ของ
คกร
ไดเ ปนอยางดี
พันธกับผูร ว มงานในองคกรและบคุ คลทั่วไป
นเทศ
อมลู ในการเรยี นและการทํางาน
อสารความหมายไดอ ยา งถกู ตองและตรงประเด็น

81

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

(3) สามารถใชภ าษาตางประเทศเพื่อการติดตอสื่อสารอยา งนอยหนึ่งภาษา
(4) สามารถเลือกใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการสืบคน เก็บรวบรวมขอ มลู การวิเครา
หมวดวชิ าเฉพาะ
1) คณุ ธรรม จริยธรรม
ผล การเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(1) มีวินยั ตรงตอเวลาในการเรยี นและการทาํ งาน
(2) ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีดวยความซอ่ื สตั ยส ุจริต
(3) อุทิศตนเพือ่ องคก รและสงั คม
(4) ปฏิบตั ิหนา ทีด่ วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตสาธารณะ
(5) แสดงออกถึงความเปน ไทย
2) ความรู
ผลการเรยี นรดู า นความรู
(1) สามารถอธิบาย ใชทฤษฎี หลกั การพ้ืนฐานดา นการจัดการธรุ กิจการคาส
(2) สามารถอธิบาย ใชทฤษฎี หลักการของศาสตรอื่นท่ีเกี่ยวของกับการจ
ปฏบิ ัติงานของการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม
(3) สามารถวิเคราะหแ ละเลือกใชความรใู นการวางแผน การเรยี น และการ
3) ทกั ษะทางปญญา
ผลการเรยี นรูด า นทักษะทางปญญา
(1) สามารถวิเคราะหแ ละประเมนิ สถานการณโดยใชหลักการทไี่ ดเรียนมา เ
(2) สามารถจดั ระบบและสรา งสรรคสง่ิ ใหม โดยนาํ หลกั การจดั การธุรกิจกา
(3) มคี วามใฝร ู แสดงออกถึงความกระตอื รือรน ในการแสวงหาคําตอบดวยต

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น

มคอ.2

าะห นาํ เสนอผลงาน และการฝกปฏบิ ัตงิ าน

สมยั ใหม
จัดการธุรกิจการคาสมัยใหม และสามาถนํามาประยุกตหรือเปนพ้ืนฐานในการฝก
รทาํ งานดา นการจดั การธรุ กจิ การคา สมยั ใหม
เพอื่ ใชใ นการวางแผนการทาํ งานและปฏิบตั ิงานจริง
ารคาสมัยใหมมาพฒั นาทักษะการปฏบิ ัติงานไดอยา งมีประสิทธิภาพ
ตนเอง

82
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

4) ทักษะความสัมพันธระหวา งบุคคลและความรบั ผิดชอบ
ผลการเรยี นรูดานทักษะความสมั พนั ธระหวา งตัวบุคคลและความสามารถในการ
(1) สามารถทํางานกับบุคคล และหนวยงานตา งๆ ไดเปน อยา งดี
(2) แสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง งาน วิชาชีพ และสงั คม
(3) สามารถทําตามกฎระเบยี บและปรับตัวเขา กบั สถานการณ วัฒนธรรมอ
(4) แสดงออกถงึ ความมีมนษุ ยสมั พนั ธท ีด่ ี สนบั สนุนการทาํ งาน และยอมรบั
(5) สามารถปฏบิ ตั ิตนเปนผนู ํา เปนตวั อยา งที่ดี ในการเรยี นรูและการทาํ งาน

5) ทกั ษะในการวิเคราะหเ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยีสารสนเท
ผลการเรียนรูด า นทกั ษะการวเิ คราะหเ ชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเทคโนโล
(1) สามารถใชภาษาในการอธบิ ายหลักการและสถานการณ รวมถึงการส่ือส
(2) สามารถใชความรทู างคณิตศาสตรและสถติ ิวเิ คราะห และนาํ เสนอขอ มูล
(3) สามารถวเิ คราะหและเลือกใชเทคโนโลยดี ิจิทัลในการเก็บรวบรวมขอมูล
(4) สามารถใชภ าษาตางประเทศเพือ่ การสบื คน และการส่อื สาร

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน

มคอ.2

รรับผดิ ชอบ

องคกรท่ีปฏบิ ตั งิ านไดเ ปนอยางดี
บความคดิ เห็นของผรู ว มงาน
ทศ
ลยสี ารสนเทศ
สารความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ
ลในการเรียนและการทาํ งาน
ล นาํ เสนอรายงาน และการฝกปฏบิ ตั ิงานอยา งมีประสทิ ธิภาพ

83
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

รายวิชา Course Learning Outcomes: CLOs

รายวชิ า

หมวดวชิ าเฉพาะ PLO1 PLO2 PLO3
กลมุ วชิ าแกนธุรกจิ √
1101102 การจัดการองคการและทรพั ยากรมนษุ ยในยคุ ดิจิทลั √√
1101103 การจดั การโลจสิ ติกสและหวงโซอ ุปทาน √√
1101104 การจดั การธรุ กิจแบบองครวม √
1101105 การตลาดดจิ ิทลั √√√
1101106 การบญั ชแี ละการเงินเพ่ือการจดั การธรุ กจิ √√
กลุมวชิ าบังคับ √√
1112102 การขายและเอกลักษณก ารบริการ √
1112103 การจัดการผลติ ภณั ฑในธรุ กจิ การคาสมัยใหม √√
1112104 พฤติกรรมลูกคาและการวเิ คราะหขอ มลู √√
1112205 กฎหมายและจริยธรรมทางธุรกจิ √
1112206 การจัดซ้อื ในธุรกจิ การคา สมัยใหม √
1112307 การจดั การนวัตกรรมทางธุรกิจดจิ ทิ ลั
1112308 การเปนผูประกอบการทางธรุ กิจ √
1112151 การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจดั การธรุ กิจการคา สมัยใหม 1
1112152 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจัดการธุรกจิ การคาสมัยใหม 2
1112253 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจดั การธุรกจิ การคาสมัยใหม 3
1112254 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 4
1112355 การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจัดการธรุ กิจการคา สมัยใหม 5
1112356 การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจดั การธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 6
1112457 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจัดการธุรกิจการคา สมัยใหม 7
1112458 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจัดการธรุ กิจการคา สมัยใหม 8

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน

มคอ.2

Course Learning Outcomes: CLOs ศึกษา
(ความรู ทกั ษะ และ ทัศนคต)ิ ในชน้ั
PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9 PLO10 PLO11 ป

√ √√ √2
√ √ 2
√√ 1
√√ 1
√ 1
1
√ √ 1
√√ √
√1
√ √ 2
√ 2
√ 3
√√
√√ √3
1
√ 1
2
√ √ 2
√ √ 3
√ √ 3
√ √ 4
4
84
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

รายวิชา PLO1 PLO2 PLO3
กลุมวชิ าเลอื ก √√
1103301 เทคนิคการขายและกลยุทธการเจรจาตอรอง
1103302 การขายในธรุ กิจออนไลน √√
1113303 การจดั การความสัมพันธและประสบการณล ูกคา √√
1103304 การเปลย่ี นผา นธุรกจิ การคาสมัยใหม
1103305 การจัดทําสื่อดิจิทลั สําหรบั ธรุ กิจการคา สมยั ใหม √√
1103306 ความคิดสรางสรรคเ พื่อการจดั การนวัตกรรมทางธรุ กิจ √√
1103307 การบรหิ ารรานคา อยางมืออาชพี √√
1103308 การจดั การชอ งทางการตลาดและการกระจายสนิ คา
1103309 การบริหารพืน้ ทแ่ี ละเครอื ขา ยพันธมติ ร √
1103310 การจัดการอยางผูป ระกอบการสําหรบั ธรุ กิจ √√
1103311 การจัดการเชงิ กลยทุ ธท างธุรกิจท่ียง่ั ยนื
1103312 การจดั การธุรกจิ ในตลาดอาเซียน √
1103313 การจดั การธุรกจิ อาหารในธรุ กจิ การคาสมยั ใหม √√
1103314 การจดั การธุรกิจสขุ ภาพและโภชนาการ √√
1103315 การจัดการธรุ กจิ สุขภาพและความงาม
1103316 หวั ขอ เลอื กสรรดานการจัดการธรุ กิจการคาสมัยใหม √




สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น


Click to View FlipBook Version