The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suampon Porsmithikun, 2021-12-03 04:57:30

4.2 MTM-65

MTM

เอกสารประกอบระเบยี บวาระที่ 4.2

ประชมุ คณะกรรมการวชิ าการ ครง้ั ที่ 1/2565 วันท่ี 14 ธันมวาคคอม.22564

หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการคา สมัยใหม

หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565
หลกั สตู รปริญญาตรที างปฏบิ ัติการ

คณะบรหิ ารธุรกจิ
สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน

้ ่ ้ั

สารบญั มคอ.2
หนา
เรอ่ื ง

หมวดที่ 1 ขอมูลท่วั ไป 1
1. รหัสและช่ือหลักสตู ร 1
2. ช่อื ปริญญาและสาขาวชิ า 1
3. วชิ าเอก 1
4. จํานวนหนว ยกติ ทเี่ รียนตลอดหลักสตู ร 1
5. รูปแบบของหลักสตู ร 1
6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพิจารณาอนมุ ตั /ิ เห็นชอบหลักสูตร 2
7. ความพรอ มในการเผยแพรหลกั สูตรทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดห ลงั สาํ เร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตาํ แหนง และคณุ วุฒิการศึกษาของอาจารยผ รู บั ผิดชอบหลกั สูตร 3
10. สถานที่จดั การเรียนการสอน 4
11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่จี าํ เปน ตองนาํ มาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 4
12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอ การพัฒนาหลักสตู รและความเกี่ยวของกับพันธกจิ ของสถาบนั 6
13. ความสัมพันธก บั หลักสูตรอนื่ ท่เี ปด สอนในคณะ/ภาควชิ าอน่ื ของสถาบนั 7

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 8
1. ปรชั ญา ความสาํ คญั และวัตถุประสงคของหลักสูตร 8

2. แผนพฒั นาปรบั ปรงุ 10

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนนิ การ และโครงสรา งของหลักสูตร 12
1. ระบบการจดั การศกึ ษา 12
2. การดาํ เนนิ การหลักสูตร 12
3. หลกั สูตรและอาจารยผ ูสอน 15
4. องคป ระกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม 59
5. ขอกําหนดเก่ียวกบั การทาํ โครงงานหรอื งานวจิ ัย 59

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

สารบัญ (ตอ) หนา

เรอ่ื ง

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรขู องหลกั สูตร กลยุทธการจัดการศกึ ษา และวิธีการประเมินผล 61
1. แผนการเตรียมความพรอมของนักศึกษาเพื่อใหบรรลุผลลัพธก ารเรยี นรูต ามท่ีคาดหวัง 61

2. ความสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) และประเภทของผลลัพธการเรียนรู 63
ตามทคี่ าดหวงั ของหลกั สูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) 65
74
3. กลยุทธก ารจดั การศึกษาใหเปน ไปตามผลลัพธการเรียนรูตามที่คาดหวังของหลักสตู รในแตล ะดาน

4. ผังแสดงความเชอ่ื มโยงผลการเรียนรูจ ากหลกั สูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนกั ศึกษา 86
1. กฎระเบยี บหรอื หลักเกณฑในการประเมินผลการศึกษา 86

2. กระบวนการยนื ยนั (verification) มาตรฐานผลลพั ธการเรยี นรตู ามท่คี าดหวังของหลกั สตู ร 86

3. เกณฑการสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร 87

หมวดที่ 6 การพฒั นาอาจารย 88
1. การเตรียมการสาํ หรับอาจารยใ หม 88

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกค ณาจารย 88

หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สูตร 89
1. การกํากับมาตรฐาน 89
2. บณั ฑติ 90
3. นักศกึ ษา 90
4. อาจารย 91
5. หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผูเรยี น 92
6. สิง่ สนับสนนุ การเรยี นรู 94
7. ตัวบง ช้ผี ลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) 96

ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

สารบญั (ตอ) มคอ.2

เรือ่ ง หนา

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดาํ เนินการของหลักสตู ร 97
1. การประเมินประสิทธผิ ลของการสอน 97
2. การประเมนิ หลกั สตู รในภาพรวม 97
3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลกั สูตร 98
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 98

ภาคผนวก 99
ภาคผนวก ก ประวัตอิ าจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารยป ระจาํ หลักสตู ร 100
ภาคผนวก ข ขอบังคับสถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน วา ดวยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2560 177
ระเบียบสถาบันการจดั การปญญาภิวฒั น วาดว ยการเทยี บโอนผลการเรียน
ระดบั ปรญิ ญาเขา สูการศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2560 190
194
ภาคผนวก ค รายละเอียดการปรับปรงุ หลกั สตู ร
ภาคผนวก ง คําส่ังสถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น ที่ 132/2562 236

เรอื่ ง แตง ต้ังคณะกรรมการวิชาการ สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวฒั น 238

คาํ สัง่ สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ฒั น ที่ 213/2563 239
เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการวิชาการ สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น ดา นพยาบาล (เพ่ิมเติม)
241
คําสง่ั สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น ที่ 172/2564

เร่ือง แตง ต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคา สมยั ใหม หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565

ภาคผนวก จ กระบวนการกําหนดผลลพั ธก ารเรยี นรูตามทีค่ าดหวังของหลักสตู รและการ
ออกแบบรายวิชาในหลักสตู ร บนหลกั การ Outcome – based Education

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

หลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑิต มคอ.2
สาขาวิชาการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

ชอ่ื สถาบันอุดมศกึ ษา สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน
คณะ/ วิทยาลัย คณะบรหิ ารธรุ กิจ

หมวดที่ 1 ขอ มลู ทวั่ ไป

1. รหัสและช่ือหลกั สตู ร
รหสั หลกั สูตร : 25522501105258
ภาษาไทย : หลกั สตู รบริหารธุรกิจบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Admonistration
Program in Modern Trade Business Management

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย (ชือ่ เตม็ ) : บริหารธรุ กิจบณั ฑติ (การจดั การธรุ กจิ การคา สมยั ใหม)
(อักษรยอ) : บธ.บ. (การจัดการธุรกจิ การคาสมัยใหม)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Modern Trade Business Management)
(อกั ษรยอ) : B.B.A. (Modern Trade Business Management)

3. วชิ าเอก
ไมมี

4. จํานวนหนว ยกติ ทีเ่ รียนตลอดหลกั สตู ร
120 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลกั สูตร
5.1 รูปแบบ
เปน หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี หลกั สูตร 4 ป และใชเ วลาศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษา
5.2 ประเภทของหลกั สตู ร
เปน หลักสูตรปรญิ ญาตรที างปฏิบตั ิการ
5.3 ภาษาทีใ่ ช
หลักสูตรจัดการเรยี นการสอนเปนภาษาไทยและ/หรือภาษาองั กฤษ
5.4 การรบั เขา ศกึ ษา
รับนกั ศกึ ษาไทยและนักศึกษาตา งชาติทีส่ ามารถฟง พูด อาน เขียน และมีความเขาใจภาษาไทยไดด ี
5.5 ความรวมมือกับสถาบนั อ่ืน
 เปน หลกั สตู รของสถาบนั โดยเฉพาะ

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 1

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

5.6 การใหปรญิ ญาแกผ ูสาํ เรจ็ การศึกษา โปรดระบเุ พียงขอเดียว มคอ.2
 ใหปรญิ ญาเพยี งสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลักสตู ร
 หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565 กาํ หนดเปดสอนภาคการศึกษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565
 หลักสตู รปรับปรงุ จากหลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคา สมัยใหม
หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563
 คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร เห็นชอบในการประชุมหลักสูตรคร้ังที่ 1/2564 เม่ือวันที่ 30 เดือน
กรกฎาคม พ.ศ. 2564
☐ คณะกรรมการวิชาการสถาบัน เห็นชอบใหนําเสนอหลักสูตรตอสภาสถาบัน ในการประชุม
ครงั้ ท่ี 1/2565 เม่อื วนั ที่ 14 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564
☐ ไดรับอนุมัติหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมคร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวันที่ 25 เดือน มกราคม
พ.ศ. 2565

7. ความพรอ มในการเผยแพรห ลักสูตรท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพรอมในการเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

พ.ศ. 2552 ในปก ารศึกษา 2567

8. อาชพี ที่สามารถประกอบไดหลงั สําเรจ็ การศึกษา
(1) พนักงานในธุรกิจการคาสมยั ใหม เชน ฝา ยปฏิบตั ิการรานสะดวกซื้อ หา งสรรพสนิ คา
(2) พนักงานบริษัท
(3) ผูบ ริหารองคกร
(4) ผปู ระกอบการรา น Modern Trade ทง้ั ออนไลน และออฟไลน
(5) ผปู ระกอบการผลติ สินคาและบรกิ ารทั้งออนไลน และออฟไลน

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 2
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
9. ชือ่ นามสกุล เลขประจาํ ตัวบตั รประชาชน ตําแหนง และคุณวฒุ กิ ารศึกษาของอาจารยผ ูรับผิดชอบหลักสตู ร
9.1 สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน จงั หวดั นนทบุรี
เลขประจาํ ตวั
ลาํ ดบั ช่อื – สกลุ ตําแหนงทาง คณุ วฒุ ิ สาขาวชิ าเอก สถาบนั ที่สําเร็จการศึกษา ปท ี่ ประชาชน/เลขที่
ท่ี วชิ าการ สาํ เรจ็ หนังสือเดนิ ทาง

1 ผศ. เหมือนจติ ผชู วย M.B.A. Business Dominican University, 2545
จิตสุนทรชัยกุล ศาสตราจารย ศศ.บ. Administration Illinois, U.S.A. 3 1020 0233X XX X
ญีป่ นุ ธรุ กจิ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลัยศรีปทมุ 2542
บธ.บ. การจัดการท่วั ไป มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ 2546
2 อ. ศิขริน ถวิลประวตั ิ อาจารย 2543 3 7015 0017X XX X

3 อ. อิสราภรณ ลาดละคร อาจารย บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2546 3 4106 0118X XX X
บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2542
บธ.ม. บริหารธุรกจิ สถาบนั การจดั การปญ ญา 2554
ภวิ ัฒน
4 อ. กติ ชิ ัย ศรีสขุ นาม อาจารย ร.บ. บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2556 3 7301 0094X XX X

ศศ.บ. การตลาด สถาบันราชภฏั สวนดสุ ิต 2543
บธ.ด. บริหารธรุ กจิ มหาวิทยาลยั รังสติ 2560
M.B.A. Business University of Central 2537
5 อ. ดร.สุรัชดา เชิดบญุ เมือง อารจารย Administration Oklahoma, Oklahoma, 3 1020 0237X XX X
U.S.A.
ศษ.บ. บรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เชียงใหม 2532

9.2 สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน วทิ ยาเขตอีอซี ี จังหวดั ชลบุรี เลขประจําตัว
ประชาชน/เลขที่
ลาํ ดับ ชื่อ – สกลุ ตาํ แหนง คุณวฒุ ิ สาขาวิชาเอก สถาบนั ท่สี ําเร็จการศกึ ษา ปที่ หนงั สอื เดนิ ทาง
ท่ี ทางวิชาการ สาํ เร็จ

ปร.ด. บรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2564
บธ.ม. บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั พายัพ 2556
1 อ. ดร.บวิ ณชิ า พุทธเกดิ อาจารย วท.ม. โภชนศาสตรศ ึกษา มหาวิทยาลัยเชยี งใหม 2550 3 8602 0001X XX X

อาจารย วท.บ. เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2548
การวางแผนการตลาด
2 อ. ดร.พีรภาว ทวีสุข อาจารย บธ.ด. และพฤติกรรมผบู ริโภค มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย 2556
อาจารย 2550 3 1012 0263X XX X
อาจารย บธ.ม. การเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2547
รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2563
ปร.ด. การจดั การ สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหาร
ศาสตร
3 อ. ดร.เพญ็ พตั รา M.Sc. International University of Exeter, 2553 1 1014 9904X XX X
ทาสระคู Management Exeter, U.K.

น.บ. นิตศิ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2551
บธ.ม. บริหารธุรกจิ มหาวิทยาลยั รงั สิต 2561
4 อ. เพชรลดา พูลสวสั ด์ิ บธ.บ. ธุรกิจระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยรังสติ 2557 3 7007 0033X XX X
5 อ. ณชิ ยา ศรีสุชาต
วท.ม. การตลาด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2552 3 1017 0225X XX X
วท.บ. เทคโนโลยีทางอาหาร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย 2545

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 3
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

10. สถานท่จี ดั การเรียนการสอน
 สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน จังหวดั นนทบุรี
 สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน วทิ ยาเขตอีอีซี จังหวัดชลบรุ ี
 จดั การเรียนการสอนออนไลนผาน PIM MOOC
 สถานประกอบการที่อยูในความรวมมอื

11. สถานการณภ ายนอกหรอื การพัฒนาทีจ่ าํ เปน ตองนาํ มาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สูตร
11.1 สถานการณหรือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
ในการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยไดมีการกําหนดแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป

พ.ศ. 2561-2580 เพื่อนํามาใชเปนกรอบในการพัฒนาประเทศ โดยมีเปาหมายเพ่ือการบรรลุวิสยั ทัศนป ระเทศไทย
คือ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปนคติพจนประจําชาติวา “ม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบตอผลประโยชนแหงชาติ
และความสุขของคนไทยทุกคน จึงไดมีกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศระยะยาวเนนการสรางสมดุลระหวาง
การพัฒนา ความม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก 1) ยุทธศาสตรชาติ
ดานความม่ันคง 2) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน 3) ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนา
และเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย 4) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม 6) ยุทธศาสตรชาติดานการ
ปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั (สํานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ 2561)

สถานการณดานเศรษฐกิจในปจจุบันเกิดความผันผวนและผลกระทบจากการระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 (COVID-19) สงผลกระทบตอดานเศรษฐกิจ สังคม ของโลกรวมถึงประเทศ
ไทยทําใหเกิดการปรับเปล่ียนของรูปแบบการดํารงชีวิตวิถีใหม (New Normal) ทั้งดานพฤติกรรมของผูบริโภค
รูปแบบการจางงาน รูปแบบการดําเนินธุรกิจ รวมถึงการที่ภาครัฐไดออกมาตรการตางๆ ในการกระตุนและฟนฟู
เศรษฐกิจ เชน มาตรการสรางงานใหมและมาตรการพัฒนาทกั ษะแรงงาน การเรง รัดยกระดับการผลิตสนิ คาเกษตร
อาหาร และสินคาอุตสาหกรรม การสงเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) การปรับโครงสรา ง
ภาคการผลิตและภาคบริการ การเตรียมความพรอมสําหรับการเปดรับนักทองเท่ียวตางชาติ การสงเสริม
ผูประกอบการ รวมถงึ การกระตุนการใชจ ายในภาคครวั เรือน (สาํ นกั งานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาต,ิ 2564)

ทั้งนี้สํานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาตสิ รางแผนและกําหนดทิศทางท่ีเปนรูปธรรม
ผานแผนแมบทเฉพาะกิจ (พ.ศ.2564-2565) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ.2566-
2570) โดยเนนเปาหมายท่ีสอดคลองกันเปนหลัก คือ การปรับโครงสรางภาคการผลิตและบริการสูเศรษฐกิจฐาน
นวัตกรรมเพ่ือยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน และการพัฒนาคนสําหรับโลกยุคใหมเนนทักษะและ
คุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับโลกยุคดิจิทัล สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาหลักสูตรในคร้ังน้ีที่มุงเนนการเปน
ผปู ระกอบการ เทคโนโลยี และฐานนวัตกรรม เพอ่ื พัฒนาความรูศักยภาพของนักศึกษาไปสูการรองรับตามนโยบาย
และแผนพฒั นาประเทศท่ีมงุ เนนการปรับโครงสรา งพนื้ ฐานดานดิจิทัลไดอยางมีประสิทธิภาพ (สาํ นักงานสภาพฒั นา
เศรษฐกิจและสงั คมแหงชาต,ิ 2564)

จากท่ีกลาวมาแมวาสถานการณเศรษฐกิจในประเทศจะมีการหดตัว แตยังคงมีสัญญาณของการ
ฟนตัวในระดับชา ซ่ึงกลุมสินคาฟุมเฟอยหรือไมจําเปน ไดรับผลกระทบเชิงลบตอยอดขายโดยตรง เพราะผูบริโภค
ระมัดระวังการใชจาย สวนกลมุ ทโ่ี อกาสในการฟน ตัวได เชน กลมุ อาหารและเคร่ืองด่ืม กลุมของใชส ว นบุคคล กลุม
สนิ คา ไอที กลุมสินคา เครื่องสาํ อาง กลุมสนิ คา เพอ่ื ดแู ลสุขภาพ เปนตน รวมถึงการปรับตวั ของผูบรโิ ภคตอ การส่ังซ้ือ
ผานชองทางออนไลน หรือ E-Commerce (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2564) สงผลใหผูประกอบการคาปลีกควรมีการ
พัฒนาเพ่ือรองรับการปรับเปล่ียนของพฤติกรรมผูบริโภค โดยการพัฒนาองคกรและทักษะของบุคลากรใหทันตอ
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วภายใตสถานการณ COVID-19 ในดานตางๆ ดังน้ี 1) การเรงเขาสูดิจิทัลให

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 4

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
เร็วยิ่งขึ้น (Digital Acceleration, Faster) 2) พฤติกรรมของลูกคา: การขับเคลื่อนเพื่อใหลูกคาเปนศูนยกลาง
(Customer Behavior: The Drive for Centricity) 3) การดําเนินงานและซัพพลายเชน (Operations/Supply
Chain: Agile and Responsive) 4) วถิ ีการทํางาน: บคุ ลากรในยุคองคกรดจิ ิทลั (Way of Working: Workforces
in Digitally Transformed Organizations) 5) ความสามารถในการยืดหยุน:ความสามารถในการปรับตัวใหธ ุรกจิ
อยูในสภาวะไมปกติ (Resilience: Adapting to ‘Business as Unusual’) รวมถึงการทํางานที่นํา Digital
Technology เขามาปรับใชกับทุกภาคสวนของธุรกิจเพื่อเชื่อมโยงกับความตองการของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป
(The Standard, 2021)

11.2 สถานการณห รือการพัฒนาทางสงั คมและวฒั นธรรม
ความกาวหนาของเทคโนโลยีสงผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทุกมิติท้ังทาง

เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลกระทบตอสังคมและวัฒนธรรม ท้ังทางดานวิถี
ชวี ติ ทศั นคติ พฤติกรรมการบริโภค และกระบวนการเรียนรู ทาํ ใหมุมมองทางความคิด การมองโลก แบบแผนการ
ประพฤติปฏิบตั ิการบรโิ ภคนิยมเปลย่ี นไป โดยเทคโนโลยีเขา มาชวยสรา งความสะดวกสบายและเกิดการดาํ เนินชีวิต
รูปแบบใหม ท้ังกระบวนการคิด การเรียนรู การสื่อสาร และการจัดการ ซ่ึงการใชชีวิตแบบวิถีใหมมีความจําเปนที่
ตองปรับตัวเพื่อรับมือใหเทาทันกับสถานการณ รวมทั้งธุรกิจจึงตองมีการเตรียมความพรอมตอความเปล่ียนแปลง
จากสถานการณดังกลาว รูปแบบการศึกษาจึงควรมุงเนนการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน พัฒนาเชิงคุณภาพ
ยกระดับแรงงานใหมีทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคลอ งกับความตองการของตลาดแรงงาน ใหเปนผูท่ีมีทักษะ
ในการคิดเปน ทําเปน การคิดวิเคราะห การสังเคราะห และตอยอดสูนวัตกรรม และมีการปลูกฝงคุณธรรม
จริยธรรม มีจิตสาธารณะ รูจักสิทธิหนา ที่ของตนเองและใหความเคารพในสทิ ธิและหนาที่ของผอู ื่น นอกจากน้ี จาก
รายงานของ World Economic Forum พบวาทักษะที่จําเปนตองมีในป 2025 แบงออกเปน 4 กลุมหลัก คือ
1) ทักษะดานการคิดและแกปญหา 2) ทักษะดานการบริหารจัดการตัวเอง 3) ทักษะดานการทํางานรวมกับผูอ่ืน
และ 4) ทกั ษะดา นเทคโนโลยี (World Economic Forum, 2020) ดงั นนั้ สถาบนั การศึกษาจึงตองพิจารณาปรับตัว
ตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ซึ่งสอดคลองกับจุดเนนของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม
ที่มุงการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning) และการขับเคลื่อนการพัฒนาทักษะแหงอนาคต
ทั้งการเสริมทักษะใหม (Upskill) และการพัฒนาทักษะที่มีอยู (Reskill) ใหคนทํางานเกิดประสิทธิภาพในการ
ทํางานสูงขึ้น เพ่ือสงเสริมการพัฒนาทักษะของผูจบการศึกษา เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถการแขงขันและศักยภาพ
การเจริญเตบิ โตของประเทศ

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 5
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอ การพัฒนาหลักสูตรและความเกยี่ วของกับพนั ธกิจของสถาบนั

12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร
จากสถานการณการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จึงมีความจําเปน

ที่จะตองพัฒนาหลักสูตร ปรับโครงสรางหลักสูตร เพิ่มหรือลดเน้ือหารายวิชาใหครอบคลุมและสอดคลองกับ
สถานการณป จ จบุ ันของภาคธุรกิจ หลกั สตู รไดม งุ เนนพฒั นาการศึกษาอยา งมีคุณภาพ ผลิตบัณฑติ ท่มี คี ณุ ลกั ษณะที่
พึงประสงค เนนการเรียนรขู องผูเรียนเปน การเรียนรตู ลอดชีวติ สอดคลองกับงานในอนาคต และสรางกําลังคนดาน
การบริหารจัดการธุรกิจท่ีทันตอความตองการในการพัฒนาประเทศ มุงเปดโอกาสใหผูเรียนและขยายโอกาสใหกับ
คนทํางานที่สนใจใฝห าความรูใหมีความเทาเทียมกนั ไดศกึ ษาตลอดชีวติ ดว ยวิธีการท่ีหลากหลาย สามารถศกึ ษาหา
ความรู ตอบสนองความตองการของบุคคล ไดในเวลาและสถานท่ีตามความสะดวก ความสนใจ ตามอัธยาศัย และ
สามารถทํางานรวมกับผูอื่นผานระบบการศึกษาทางไกลทางอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เพื่อใชในการพัฒนาชุมชนทองถิ่น และสังคม โดยการปรับปรุงหลักสูตรในครั้งนี้ไดนําขอเสนอแนะจากผูมีสวนได
สวนเสียทุกกลุม ไดแก ผูบริหารจากสถานประกอบการ อาจารยผูสอน ตัวแทนศิษยเกา ตัวแทนนักศึกษาปจจุบัน
มาพิจารณาในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ทั้งน้ีเพื่อใหการผลิตบุคลากรดานการจัดการธุรกิจการคา
สมัยใหมส ามารถบูรณาการศาสตรต างๆ ในการวางแผนการบริหารจัดการธุรกิจและการตัดสินใจไดอยางเปนระบบ
สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการประกอบวิชาชีพไดอยางเหมาะสม และพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง
ตลอดจนปฏิบัตหิ นาทอ่ี ยางมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรับผดิ ชอบตอ สงั คมและมีจิตสาธารณะ

12.2 ความเกย่ี วขอ งกับพันธกจิ ของสถาบัน
สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น เปนสถาบันอุดมศึกษาในเครือบริษัทซีพี ออลล จํากัด (มหาชน)

ท่ีมีองคความรูและความเช่ียวชาญดานธุรกิจการคาสมัยใหม เปนที่ยอมรับอยางกวางขวางทั้งในประเทศและ
ตางประเทศ จึงมีความพรอมท้ังทรัพยากรบุคคลที่มีความรูความสามารถเชิงธุรกิจ และสถานท่ีฝกปฏิบัติงานที่
พรอ มจะรองรับรูปแบบการศกึ ษาบนพ้นื ฐานของการทํางานจริง (Work-based Education) ท้ังน้พี นั ธกิจหลักของ
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน คือ การสรางบัณฑิตมืออาชีพท่ีมีคุณภาพในเชิงวิชาการ พรอมท้ังสามารถ
ปฏิบัติงานไดจริง โดยนักศึกษาจะตองเรียนรูภาคทฤษฎีและภาคฝกปฏิบัติดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมใน
สถานประกอบการดวย ท้ังนี้จากความตองการบัณฑิตดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมท่ีมีความเช่ียวชาญทาง
วิชาชีพท่ีเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ือง กอปรกับพันธกิจหลักของสถาบันดังกลาว สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒนจึงได
ปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565 โดยมี
ความสอดคลองกับวิสยั ทัศน พันธกจิ ของสถาบนั ไดแ ก

ปรัชญา
“การศึกษาคือบอเกดิ แหง ภมู ิปญ ญา (Education is the Matrix of Intellect)”
วิสยั ทัศน (Vision)
สรา งมอื อาชพี ดวยการเรยี นรูจากประสบการณจ รงิ
(Creating Professionals through Work - based Education)
พนั ธกิจ (Mission)
1. สรางคนท่ีมคี ุณภาพและตรงกบั ความตองการของภาคธรุ กจิ สังคม และประชาคมโลก โดยเนน
การเรียนรจู ากประสบการณจ รงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคความรูเชิงวิชาการ และองคก รธุรกจิ เพ่อื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ัย การ
บรกิ ารวิชาการ และทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน 6
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
3. สรางเครือขายความรวมมือ เพ่ือพัฒนาองคความรูและสงเสริมนวัตกรรม (Collaborative
Networking)
4. พัฒนาองคกรท่ีพรอมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการที่ดี (Transformative
Organization & Good Governance)
การพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ.2565 นี้ เพ่ือการสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูรูปแบบใหม มีการจัดกิจกรรมทั้งในและนอก
หลักสูตรท่ีสอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนตามทักษะในศตวรรษท่ี 21 ใหเป็นบัณฑิตท่ี “คิดเปน เรียนเปน ทํางานเปน
เปน คนดแี ละคนเกง เพอื่ เปน แรงงานทม่ี คี ณุ ภาพของสงั คม”

13. ความสัมพันธกับหลกั สตู รอืน่ ท่ีเปด สอนในคณะ/ภาควชิ าอื่นของสถาบนั
13.1 กลมุ วิชา/รายวชิ าในหลักสตู รน้ีทเี่ ปดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสตู รอน่ื
 หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป
☐ หมวดวิชาเฉพาะ
 หมวดวชิ าเลอื กเสรี
13.2 กลุมวิชา/รายวชิ าในหลกั สตู รท่เี ปดสอนใหภาควิชา/หลักสตู รอ่นื ตองมาเรียน
☐ หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป
 หมวดวชิ าเฉพาะ
 หมวดวิชาเลอื กเสรี
☐ ไมม ี
13.3 การบรหิ ารจดั การ
ในการจัดการเรียนการสอนนั้น จะตองมีการประสานงานกับคณะตางๆ ที่จัดรายวิชา ซ่ึงนักศึกษา

ในหลักสูตรน้ตี องไปเรียน โดยตองมีการวางแผนรวมกันระหวางผูเกี่ยวของ ตั้งแตผูบริหารและอาจารยผูส อนซึ่งอยู
ตา งคณะ โดยจะใชรูปแบบของคณะกรรมการเพ่อื กําหนดเนื้อหาและกลยุทธการสอน รวมถงึ การวัดและประเมนิ ผล
ทงั้ นี้ เพอื่ ใหน กั ศกึ ษาไดบ รรลุผลการเรียนรูตามหลกั สตู รน้ี

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน 7
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดที่ 2 ขอมลู เฉพาะของหลกั สตู ร

1. ปรชั ญา ความสาํ คญั และวตั ถุประสงคข องหลักสูตร
1.1 ปรชั ญา
ในการจดั ทาํ หลักสตู รนี้ สถาบันการจดั การปญญาภวิ ฒั นไดดาํ เนินการภายใตปรชั ญาดงั ตอไปน้ี
1) มงุ ผลิตบัณฑิตท่ีมีศกั ยภาพดานการจัดการธรุ กิจการคาสมยั ใหม เพื่อเปนการเพ่ิมประสิทธภิ าพใน

ระบบการจัดการธรุ กิจการคา สมยั ใหม ใหส อดคลองกับความตองการกําลังคนของประเทศ รวมถงึ ประเทศอื่นๆ ใน
ภมู ภิ าค

2) มงุ เนนใหหลักสูตรมคี วามสอดคลอ งกบั ปรชั ญาของสถาบันฯ คอื “การศึกษา คือ บอเกิดแหงภมู ิ
ปญญา (Education is the Matrix of Intellect)” ผลิตบณั ฑิตทีเ่ ปย มไปดวยภมู ปิ ญ ญา

3) ใชการเรียนการสอนทีเ่ นนการเรยี นรคู วบคูการปฏบิ ัติงานจริง (Work-based Education) เปนสําคัญ
1.2 ความสาํ คญั

จากการเปลี่ยนแปลงในดานเทคโนโลยีที่ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในดานเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม ท้ังในมิติของรูปแบบการดํารงชวี ิตวถิ ีใหม (New Normal) พฤติกรรมของผูบริโภค รูปแบบการจางงาน
รูปแบบการดําเนินธุรกิจ รวมถึงมาตรการตางๆ ที่ภาครัฐไดออกเพ่ือการกระตุนและฟนฟูเศรษฐกิจ ทั้งน้ีธุรกิจจึง
ตองมีการเตรียมความพรอมตอความเปล่ียนแปลง โดยมีการยกระดับทั้งในดานการดําเนินงานและสมรรถนะของ
บุคลากรในองคกรใหมีทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงในสถานการณปจจุบัน ดังนั้น
หลักสูตรบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการคาสมยั ใหม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565) จึงไดมีการ
พฒั นาหลกั สูตรโดยเนน การพัฒนาทักษะและสมรรถนะของผูเรียน โดยเนน การจดั การเรียนรูเชงิ ผลลัพธการเรียนรู
(Outcome-based Education) ในการพัฒนาทักษะแหงอนาคต โดยมุงการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต (Life
Long Learning) เพอื่ เพ่ิมขีดความสามารถการแขงขันและศกั ยภาพการเจรญิ เตบิ โตของประเทศ

1.3 วตั ถปุ ระสงค
1) ผลิตบัณฑิตเปนนักจัดการ นักปฏบิ ตั ิ และผปู ระกอบการที่มคี วามทุมเทและตรงกบั ความตองการ

ของธรุ กิจการคา สมัยใหม และธุรกจิ อื่น ๆ ทเี่ กีย่ วของกับธุรกิจการคา สมยั ใหม โดยเรียนรูจ ากประสบการณจ รงิ
2) ผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถในการประยุกตใชองคความรูและเครื่องมือดานการจัดการในการ

วางแผนกลยุทธใหสอดคลองกับกับสภาพแวดลอมของธุรกิจการคาสมัยใหม และอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ
ตลอดจนมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรคใ นการสรางสรรคนวัตกรรมท่สี อดคลองกับสถานการณของธรุ กจิ การคา สมัยใหม

3) ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถใชเทคโนโลยีและการสื่อสารท่ีเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดลอ มทางธรุ กิจ

4) ผลิตบัณฑิตที่มีความซื่อสัตยสุจริต มีจิตสาธารณะ เคารพและปฏิบัติตามกฎเกณฑขององคกร
ชุมชน และสังคม และยึดมน่ั ในจรรยาบรรณวิชาชพี

5) ผลติ บัณฑติ ทม่ี ภี าวะผนู าํ กลา เผชญิ ปญหา และมีการการแสวงหาความรเู พ่ือพฒั นาตนเองอยาง
ตอ เนอ่ื ง ตลอดจนยดึ มั่นในความถูกตองทางวชิ าชีพดา นการจดั การธรุ กจิ การคา สมัยใหม

1.4 ผลลัพธการเรียนรขู องหลักสูตร (Program Learning Outcomes : PLOs)
PLO 1: ประยุกตใ ชอ งคค วามรูและเครื่องมือในการบริหารจัดการธรุ กิจ และจดั การความเส่ยี งอยาง

รอบคอบ
PLO 2: ปฏิบัติตนอยางมีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต มีจิตสาธารณะ แสดงออกถึง

จติ สาํ นึกในความถกู ตอ ง ความรักงาน ทมุ เท และไมยอทอ ตอ การทาํ งาน

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 8
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
PLO 3: วิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยางเปนระบบ ตัดสินใจอยางมีวิจารณญาณ และ
แกไ ขปญ หาเฉพาะหนาไดอยางสรางสรรค
PLO 4: ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรคผลงาน นําเสนอและเผยแพรผลงานได
หลากหลายรปู แบบ ในการตัดสนิ ใจในการประกอบธรุ กจิ
PLO 5: แสดงออกถึงการมีภาวะผูนํา การทํางานเปนทีม กลาเผชิญปญหา ทํางานรวมกับผูอ่ืน
ปรับตัวใหสอดคลองกับวัฒนธรรมทแ่ี ตกตางได
PLO 6: บริหารจัดการลูกคา การขาย เจรจาตอรองและการบริการอยางมืออาชีพ ทั้งรูปแบบ
ออฟไลนและออนไลน เพ่ือสรา งประสบการณท ี่ดใี หก บั ลูกคา ดวยความใสใจ
PLO 7: พฒั นาและสรา งสรรคนวัตกรรมทส่ี อดคลอ งกบั ส่งิ แวดลอ มและสถานการณทางธรุ กิจ
PLO 8: ออกแบบ วางแผนกลยุทธการบริหารจัดการธุรกิจอยางเปนระบบ โดยใชฐานคิดของการ
เปนผูประกอบการอยางมคี วามรบั ผิดชอบตอสงั คม
PLO 9: แลกเปล่ียนความคดิ เห็น เคารพและปฏิบัติ ตามกฎเกณฑข ององคกร ชมุ ชน และสงั คมและ
ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณทางวิชาชีพดา นการจดั การธุรกจิ การคาสมยั ใหม
PLO 10: ใชภาษาสากลในการสือ่ สารและการนาํ เสนออยางมืออาชพี
PLO 11: ใฝรู ใฝเรียน แสวงหาความรูดวยตนเองอยางสมํ่าเสมอ และสรางสมดุลใหชีวิตและการ
ทํางานไดอ ยา งเหมาะสม
1.5 ผลลพั ธการเรียนรูชน้ั ป (Year Learning Outcomes: YLOs)
YLO 1: ประยุกตใชองคความรูและเครื่องมือในการบริหารจัดการธุรกิจ บรหิ ารจัดการลกู คา เจรจา
ตอรองและเสนอขายกับลูกคาอยางมืออาชีพ สามารถใชภาษาในการสอื่ สารและเทคโนโลยดี ิจิทัลในชีวิตประจาํ วนั
ไดส อดคลอ งกบั สถานการณ รวมถึงปฏบิ ัตติ นอยางมีวนิ ัย ขยนั มุง ม่ัน ทมุ เท ปรับตวั เขากบั สถานการณ และเคารพ
และปฏิบัตติ ามกฎเกณฑข ององคกรและสังคมอยางซื่อสัตยส จุ รติ
YLO 2: วิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยางเปนระบบ บริหารจัดการทีม และการทํางาน
รวมกับผูอื่น ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรคผลงาน นําเสนอและเผยแพรผลงานไดหลากหลาย
รูปแบบ รวมถึงโนมนาว ส่อื สาร แสดงความคิดเหน็ อยางมีเหตผุ ลเพ่อื การตัดสนิ ใจในการประกอบธรุ กจิ
YLO 3: วางแผน ตัดสินใจเชิงรกุ กลา เผชิญปญ หา แกไ ขปญหาอยา งสรางสรรค มีภาวะผนู ํา มีความ
เปนผูประกอบการ รวมถึงพัฒนาและสรางสรรคนวัตกรรมที่สอดคลองกับส่ิงแวดลอมและสถานการณทางธรุ กิจได
อยา งเหมาะสม
YLO 4: ออกแบบ วางแผนกลยุทธทางธุรกิจ ประเมินสถานการณแนวโนมธุรกิจไดอยางเปนระบบ
สามารถใชภาษาสากลในการส่ือสารและการนาํ เสนออยางมืออาชีพ การสอนงานไดอยางถูกตอง รวมถึงการใฝร ู ใฝ
เรียน แสวงหาความรดู ว ยตนเองอยา งสม่ําเสมอ และสรา งสมดุลใหชีวิตและการทํางานไดอ ยา งเหมาะสม
1.6 เหตุผลของการพฒั นาหรือการปรับปรุงหลักสูตร
1) พัฒนาหลักสูตรใหมีเนื้อหาทันสมัยและสอดคลองกับบริบทของเศรษฐกิจและชุมชนทองถ่ินยุค
ปจ จุบันท้ังในประเทศและตา งประเทศ ทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอยา งเปน พลวัตร เทคโนโลยีดิจทิ ลั การดาํ รงชีวิตวิถใี หม
(New Normal) และพฤติกรรมผูบริโภคที่สงผลกระทบตอภาคธุรกิจ ทั้งแบบมีหนารานและไมมีหนาราน เชน
Online Shopping, E-Commerce และ Delivery เปนตน
2) พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐ ภายใตแผนแมบทยุทธศาสตรชาติ 20 ป
ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย และการสงเสริมพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 9
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
3) พัฒนาหลักสูตรใหมีจุดเนนทางดานภาคปฏิบัติเพ่ิมมากข้ึน เพ่ือใหสอดคลองกับอัตลักษณของ
สถาบนั ฯ ในดานการเรยี นรคู วบคูไปกบั การปฏิบัตงิ านจรงิ (Work-based Education)
4) พัฒนาหลักสูตรเพ่ือเตรียมความพรอมใหกับบัณฑิตศักยภาพและทักษะสอดคลองกับความ
ตองการของตลาดแรงงาน และเปาหมายการพัฒนาประเทศ ตลอดจนเปนบัณฑิตที่คิดเปน เรียนเปน ทํางานเปน
เปนคนดแี ละคนเกง เพือ่ เปนแรงงานท่มี ีคณุ ภาพของสงั คม

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลีย่ นแปลง กลยทุ ธ หลักฐาน/ตัวบงชี้

1. ปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจ - ติดตามความเปล่ียนแปลงและ - รายงานผลการดําเนินงานของ
บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ความตองการกําลังคนในภาคธุรกิจ หลกั สตู ร
ธุรกิจการคาสมัยใหม เพ่ือใชเปน เพ่ือเปน ขอมลู ในการพฒั นาหลักสูตร - รายงานผลการฝกปฏิบัติงานใน
แนวทางการจัดทํามาตรฐาน - เชิญผูเช่ียวชาญทั้งภาครัฐและ รายวิชาฝกเตรียมเขาทํางาน และ
คุณวุฒิสาขาวิชาการจัดการธุรกิจ เอกชนมามีสวนรวมในการพัฒนา รายวชิ าการเรียนรูภาคปฏิบัติ
การคาสมัยใหมในอนาคต ให หลกั สูตร - เอกสารการประสานงานกับภาค
สอดคลองตามระเบียบของ - ประสานความรวมมือกับสถาน ธรุ กิจ
ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ประกอบการในการจัดกิจกรรมการ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เรียนการสอนในการฝกเตรียมเขา
โดยมีการปรับปรุงหลักสูตรเชิง ทาํ งานและการเรียนรภู าคปฏบิ ตั ิ
สมรรถนะท่ีมุงเนนการจัดการ - มีการติดตามประเมินหลักสูตร
เรียนรูเชิงผลลัพธการเรียนรู อยางสมํ่าเสมอ
(Outcome-based Education)
เพื่อใหไดสมรรถนะของนักศึกษา
ตรงตามความตองการของสังคม

2. สงเสริมกิจกรรมการพัฒนา - ประชาสัมพันธนโยบาย Moral- - รายงานการประชุม
คุณธรรมจริยธรรม โดยมุงมั่น based Education เพ่ือใหบุคลากร - มคอ.3 และ มคอ.4
ก า ร ส อ ด แ ท ร ก คุ ณ ธ ร ร ม มีสวนรวมในการจัดกิจกรรมเพื่อ - มคอ.5 และ มคอ.6
จรยิ ธรรมในการเรียนการสอน พัฒนาผูเรยี น - สรุปผลการประเมนิ ผลการเรียนรู
- กําหนดใหแตละรายวิชาสอดแทรก
คุณธรรมจริยธรรมในกิจกรรมการ
เรยี นการสอน
- ติดตามและประเมินคุณลักษณะ
ของผเู รยี น

3. พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า ใ ห มี - ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติงานในสถาน - รายงานผลการฝก งาน
ประสบการณจากการปฏิบัติงาน ประกอบการต้ังแตช้ันปที่ 1 เปนตน - เ อ ก ส า ร ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น กั บ
ในสถานประกอบการ ไป หนว ยงานทเ่ี กีย่ วขอ ง

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน 10
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

แผนการพัฒนา/เปลยี่ นแปลง กลยทุ ธ หลกั ฐาน/ตัวบงชี้

4. พั ฒ น า อ า จ า ร ย ด า น ก า ร - อาจารยใหมตองผานการฝกอบรม - รายงานผลการดําเนินงานของ
จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ พื่ อ หลักสูตรเบอ้ื งตนเกย่ี วกับการบริหาร หลกั สูตร
ส นั บ ส นุ น ก า ร เ รี ย น รู ข อ ง จัดการชั้นเรียน เทคนิคการสอน
นกั ศึกษา และวดั และประเมนิ ผล
- อาจารยทุกคนตองผานการเขา
อบรมเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน
รู ป แ บ บ ต า ง ๆ แ ล ะ ก า ร วั ด ผ ล
ประเมินผล ทั้งน้ีเพื่อใหมีความรู
ความสามารถในการประเมินผลตาม
ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ ท่ี ผู ส อ น
จะตองสามารถวัดและประเมินผลได
อยา งดี

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 11
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรา งของหลักสูตร

1. ระบบการจดั การศกึ ษา
1.1 ระบบ
 ระบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงเปน 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ

มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห โดยเปนไปตามขอบังคับของสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
วาดว ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน
อาจจัดใหมีการจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนโดยภาคการศึกษาฤดูรอนมีระยะเวลาการศึกษา

ไมน อยกวา 8 สัปดาห โดยกาํ หนดระยะเวลาและจาํ นวนหนวยกติ ใหม สี ดั สวนเทยี บเคียงกับการศกึ ษาภาคปกติ
1.3 การเทยี บเคียงหนวยกติ ในระบบทวภิ าค
ไมม ี

2. การดําเนินการหลกั สูตร
2.1 วนั -เวลาในการดาํ เนินการเรียนการสอน
 วัน – เวลาราชการปกติ
 อนื่ ๆ นอกเวลาราชการ ไดแ ก วันเสารแ ละ/หรอื วันอาทติ ย (เวลา 08.00-18.30 น.)
ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นสงิ หาคม ถงึ พฤศจกิ ายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม ถงึ เมษายน
ภาคการศึกษาฤดูรอน เดือนพฤษภาคม ถึง มิถุนายน
ท้ังน้ี อาจมีการเปล่ียนแปลง ใหเปนไปตามประกาศฯ และ/หรือปฏิทินการศึกษาของสถาบัน
โดยเปน ไปตามเกณฑม าตรฐานหลักสูตรระดบั ปริญญาตรี
2.2 คณุ สมบัตขิ องผเู ขาศกึ ษา
 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือเปนไปตามขอบังคับของ

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวฒั น วาดว ยการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560
 เปนผสู ําเร็จการศกึ ษาประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สงู หรือเทียบเทา หรอื อนุปรญิ ญา

2.3 ปญหาของนักศกึ ษาแรกเขา
 ความรูด านภาษาตา งประเทศไมเพยี งพอ
 การปรบั ตัวจากการเรียนในระดบั มธั ยมศกึ ษา
 นกั ศกึ ษาไมป ระสงคจะเรียนในสาขาวชิ าทสี่ อบคดั เลือกได

2.4 กลยทุ ธใ นการดาํ เนินการเพอื่ แกไขปญหา / ขอ จํากัดของนกั ศกึ ษาในขอ 2.3
 จัดสอนเสรมิ เตรยี มความรพู น้ื ฐานกอ นการเรียน
 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม แนะนําการวางเปาหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน

ระดับอดุ มศึกษาและการแบงเวลา
 จัดใหมีระบบอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือทําหนาท่ีดูแล ใหคําแนะนําแกนักศึกษาและใหเนนยํ้าใน

กรณที ่นี กั ศึกษามีปญหาตามขา งตน เปน กรณีพิเศษ
 จัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการสรางความสัมพันธของนักศึกษาและการดูแลนักศึกษา ไดแกวัน

แรกพบระหวางนักศึกษากับอาจารย การติดตามการเรียนของนักศึกษาช้ันปที่ 1 จากอาจารยผูสอน และจัด
กิจกรรมสอนเสริมถาจาํ เปน

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 12
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

2.5 แผนการรบั นักศกึ ษาและผูส าํ เรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ป มคอ.2
2.5.1 สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น จงั หวัดนนทบรุ ี 2569
จํานวนนักศึกษาแตละปก ารศกึ ษา 1,400
ระดบั ชนั้ ป 2565 2566 2567 2568 1,358
1,330
นักศกึ ษาชนั้ ปท ี่ 1 1,400 1,400 1,400 1,400 1,330
นักศกึ ษาชน้ั ปท่ี 2 - 1,358 1,358 1,358 5,418
นกั ศึกษาช้ันปท ่ี 3 - - 1,330 1,330 1,330
นกั ศกึ ษาช้ันปท ่ี 4 - - - 1,330 2569
รวม 1,400 2,758 4,088 5,418 350
คาดวาจะจบการศึกษา - - - 1,330 339
332
2.5.2 สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน วิทยาเขตอีอีซี จังหวดั ชลบรุ ี 332
จํานวนนกั ศึกษาแตละปก ารศึกษา 1,353
ระดับชั้นป 2565 2566 2567 2568 332

นกั ศกึ ษาช้นั ปท ่ี 1 350 350 350 350
นักศกึ ษาชนั้ ปท ่ี 2 - 339 339 339
นกั ศกึ ษาชัน้ ปท ่ี 3 - - 332 332
นักศกึ ษาช้ันปท ่ี 4 - - - 332
รวม 350 689 1,021 1,353
คาดวาจะจบการศกึ ษา - - - 332

2.6 งบประมาณรายไดค า ใชจาย ปก ารศึกษา
2.6.1 งบประมาณรายได (หนวย : บาท)

ประเภทรายได 2565 2566 2567 2568 2569
คา เลา เรียน* 966,029,945 958,285,052 1,095,146,356 1,095,146,356 1,095,146,356
966,029,945 958,285,052 1,095,146,356 1,095,146,356 1,095,146,356
รวมรายรับ 11,654 13,010 12,967
จํานวนนักศึกษาสะสม 9,679 11,091 93,972 84,177 84,456
รายรบั ตอ หัวนักศึกษา 99,807 86,402

*คา เลา เรยี นหลังหกั ทุนการศึกษา PIM แลว

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 13
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวย : บาท) ปการศึกษา
2567
ประเภทรายจาย 2565 2566 2568 2569
61,270,289 66,250,431 67,414,222
คา ใชจ า ย 85,520,443 97,253,576 96,678,894
คาใชจา ยการเรยี นการสอน 50,964,634 57,822,095 146,790,732 163,504,007 164,093,116
คาใชจ ายในการดําเนินงาน(หลกั สตู ร) 72,470,717 81,297,415 11,654 13,010 12,967
รวมรายจาย 123,435,351 139,119,510 12,596 12,568 12,655
จาํ นวนนกั ศกึ ษาสะสม 9,679 11,091
คา ใชจา ยตอหัวนักศึกษา 12,753 12,543

2.6.3 งบประมาณการลงทนุ ในทรัพยส นิ (หนวย : บาท)
คาครภุ ณั ฑ 6,263,962 184,000 0 92,000 0

หมายเหตุ - คาใชจ ายตอ หวั นักศกึ ษา 12,623 บาทตอป (อัตราเฉล่ีย 5 ปการศึกษา) ทั้งน้ี อตั ราคา เลา เรยี นให
ขน้ึ อยูกับประกาศของสถาบันฯ

- จํานวนนกั ศึกษาสะสม หมายถงึ จาํ นวนนักศึกษาในหลักสตู รเดมิ และหลกั สูตรปรับปรงุ

2.7 ระบบการศกึ ษา
 แบบชั้นเรยี น
 แบบออนไลนผ านระบบ PIM MOOC
 แบบฝก ปฏิบตั ิในสถานประกอบการ

2.8 การเทยี บโอนหนวยกติ รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลยั
การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาระหวางหลักสูตรในสถาบันและระหวางสถาบันใหเปนไปตาม

ขอบังคับสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และระเบียบสถาบัน
การจดั การปญ ญาภิวัฒน วา ดวยการเทยี บโอนผลการเรยี นระดบั ปรญิ ญาเขา สูก ารศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2560

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 14
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3. หลกั สูตรและอาจารยผ สู อน
3.1 หลักสตู ร
3.1.1 จาํ นวนหนวยกิตรวมตลอดหลกั สูตร จํานวน 120 หนวยกิต
3.1.2 โครงสรางหลกั สูตร
1) หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป จาํ นวน30 หนวยกติ ประกอบดวย2หมวดดังน้ี
1.1) หมวดอัตลักษณข องพไี อเอม็ (PIM) 12 หนวยกติ
1.2) หมวดศาสตรแ หงชีวติ ไมนอยกวา 18 หนว ยกิต
2) หมวดวชิ าเฉพาะ จํานวน84หนวยกติ ประกอบดวย3กลมุ วชิ าดังน้ี
2.1) กลมุ วิชาแกนธรุ กิจ 15 หนวยกิต
2.2) กลุมวิชาบงั คบั 45 หนว ยกิต
2.3) กลุมวชิ าเลือก 24 หนว ยกติ
3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี จํานวน 6 หนว ยกติ
3.1.3 รายวชิ า
ความหมายของรหสั วิชา
รหสั วิชา ประกอบดวย ตวั เลขรวม 7 หลกั เปนตัวเลขอารบกิ ดังน้ี

ความหมาย ลําดับที่
1 2 3 4567
ตวั เลขประจาํ คณะวิชา/วทิ ยาลยั /สํานัก XX
ตวั เลขระบุหลกั สตู ร/หมวดวิชา X
ตัวเลขระบกุ ลุมวิชา X
ตวั เลขระบรุ ะดบั ชั้นป/ระดบั รายวิชา X
ตัวเลขระบุลาํ ดบั รายวชิ า XX
1) ลําดับที่ 1 - 2 หมายถงึ ตวั เลขประจาํ คณะวชิ า/ วิทยาลัย/ สํานกั ประกอบดวยคณะวิชา ดังนี้
10 หมายถึง สาํ นักการศึกษาท่วั ไป
11 หมายถึง คณะบริหารธุรกจิ
12 หมายถงึ คณะบริหารธรุ กจิ (หลกั สูตรออนไลน)
………………………………..
2) ลาํ ดับท่ี 3 หมายถงึ ตัวเลขระบุหลกั สตู ร/ หมวดวชิ า ประกอบดวย
2.1) ตวั เลขหมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป
1 หมายถงึ หมวดอัตลักษณของสถาบัน PIM
2 หมายถงึ หมวดศาสตรแหงชวี ติ
………………………………..
2.2) ตัวเลขหลกั สูตร คณะบริหารธุรกิจ
2.2.1) ตัวเลขหลกั สูตร คณะบรหิ ารธรุ กิจ
0 หมายถึง กลุมรายวชิ าแกนกลางคณะบริหารธุรกจิ
1 หมายถึง หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการคาสมัยใหม (MTM)

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 15
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
2 หมายถงึ หลักสตู รบริหารธุรกิจบัณฑติ

สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ การคา สมัยใหม
(หลักสตู รในระบบการศกึ ษาทางไกล) (DMTM)
3 หมายถงึ หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ การคา สมยั ใหม (ตอ เนือ่ ง) (CMTM)
7 หมายถึง หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม (MBA-MTM)
………………………………..
2.2.2) ตัวเลขหลกั สตู ร คณะบริหารธุรกิจ (หลักสูตรออนไลน)
0 หมายถึง กลุม รายวชิ าแกนกลางคณะบรหิ ารธรุ กจิ (หลักสตู รออนไลน)
1 หมายถงึ หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม (ตอ เนอื่ ง)
(ระบบการศกึ ษาทางไกลทางอินเทอรเ น็ต) (CIMM)
2 หมายถึง หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
(ระบบการศกึ ษาทางไกลทางอนิ เทอรเนต็ ) (IMM)
………………………………..
3) ลาํ ดับที่ 4 หมายถงึ ตัวเลขระบุกลุมวิชา
3.1) ตวั เลขกลมุ วิชาหมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป
0 หมายถึง กลุม บรู ณาการ
1 หมายถึง กลมุ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
2 หมายถงึ กลุมชีวติ และสังคมแหง ความสุข
3 หมายถึง กลุมการจดั การและนวตั กรรม
………………………………..
3.2) ตัวเลขระบกุ ลุม วิชา
0 หมายถึง กลมุ วชิ าปรับพนื้ ฐาน
1 หมายถงึ กลุมวชิ าแกน/ กลุมวชิ าพนื้ ฐาน/กลุมวชิ าพ้นื ฐานวิชาชีพ/
กลมุ วชิ าชพี ครู/อนื่ ๆ ตามกลมุ วิชาที่ระบใุ น มคอ.1 (ถา ม)ี

2 หมายถึง กลมุ วชิ าบงั คับ/ กลมุ วชิ าเอก/ กลุมวิชาเฉพาะดา น/
กลมุ วชิ าเฉพาะ/อนื่ ๆ ตามกลุม วิชาที่ระบใุ น มคอ.1 (ถาม)ี

3 หมายถึง กลมุ วิชาเลอื ก/ กลมุ วชิ าเลอื กเฉพาะสาขา
4 หมายถงึ กลุมวชิ าดษุ ฎนี ิพนธ/ วิทยานพิ นธ/ การคน ควา อิสระ
5 หมายถึง กลุมวชิ าเลอื กเสรี
………………………………..

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 16
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
4) ลาํ ดบั ที่ 5 หมายถงึ ตวั เลขระบุระดับชัน้ ป/ ระดับรายวิชา เปนตวั เลขบอกความเขม ขนของ
เนื้อหาวชิ าหรอื วิชานั้นเรยี นระดับช้ันปใ ดหรอื ระดับปริญญาใด มีหลกั เกณฑ ดงั น้ี

1 หมายถงึ รายวชิ าระดบั ปรญิ ญาตรี สําหรบั นักศึกษาช้นั ป 1
2 หมายถงึ รายวิชาระดบั ปรญิ ญาตรี สําหรับนักศึกษาช้ันป 2
3 หมายถงึ รายวิชาระดับปริญญาตรี สาํ หรับนักศกึ ษาชัน้ ป 3
4 หมายถึง รายวิชาระดับปรญิ ญาตรี สําหรับนักศึกษาช้นั ป 4
5 หมายถึง รายวชิ าระดบั ปริญญาตรี สําหรับหลักสูตร 5 ป
6 หมายถึง รายวิชาระดบั ระดับปรญิ ญาตรี สาํ หรบั หลกั สตู ร 6 ป

หรอื รายวิชาระดบั ปรญิ ญาตรีควบปริญญาโท หรอื ระดับ
ปริญญาโทควบปริญญาเอก
7 หมายถึง รายวชิ าระดับปริญญาโท
8 หมายถึง รายวิชาระดบั ปรญิ ญาเอก
9 หมายถงึ รายวชิ าระดับประกาศนียบตั ร

5) ลาํ ดับท่ี 6 และ 7 หมายถงึ ตัวเลขระบุลาํ ดับรายวชิ า
01 หมายถงึ รายวชิ าลําดับท่ี 1
(ลําดับท่ี 01-50 รายวชิ า “บรรยายหรือทฤษฎี/ปฏิบตั /ิ
โครงงาน/การศึกษาคน ควา อิสระ/วิทยานพิ นธ/ ดุษฎีนพิ นธ” )
………………………………..
51 หมายถงึ รายวิชาลําดบั ที่ 51
(ลําดบั ที่ 51 เปน ตนไป รายวิชา “การเรยี นรภู าคปฏบิ ัติดาน...”)
……………………………….

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 17
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

รายวชิ า 1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป นักศกึ ษาตอ งเรียนรายวิชา จาํ นวนไมน อยกวา 30 หนว ยกิต จากหมวดดังน้ี
1.1) หมวดอัตลักษณของพีไอเอ็ม (PIM) จํานวน 12 หนวยกิต กําหนดใหนักศึกษาเรียนครบท้ัง 4
รายวชิ า ดงั นี้
รหัสวชิ า ชื่อวิชา หนวยกิต วชิ าบงั คับกอน
1010101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในยุคดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) -
(Thai for Didital Communication)
1010102 ศิลปะการนําเสนออยา งสรางสรรค 3(3-0-6) -
(The Art of Creative Presentation)
1010103 ปญ ญาภวิ ฒั นเ พือ่ การจดั การ 3(3-0-6) -
(Panyapiwat for Management)

1010104 วถิ พี ลเมืองดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) -
(Digital Citizenship)

1.2) หมวดศาสตรแหง ชีวติ จาํ นวน 18 หนว ยกิต กําหนดใหนักศกึ ษาเรียนจากทุกกลุม ดงั นี้
1.2.1) กลุมภาษาเพือ่ การสือ่ สาร จํานวนไมน อ ยกวา 3 หนว ยกติ
รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต วิชาบงั คับกอน
1021105 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) -
(Thai Language and Culture)

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาตางประเทศ 3(3-0-6) -
1021207 (Thai as a Foreign Language) 3(3-0-6) -
1021208 หลักภาษาและการใชภ าษาไทย 3(3-0-6) -
1021309 (Language Structure and Usage of Thai) 3(3-0-6) -
1021210 การอานออกเสยี งภาษาไทย 2(1-2-3) -
1021212 (Thai Oral Reading) 2(1-2-3) -
1021213 วิถีไทย ภมู ปิ ญ ญาไทย และวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) -
1021214 (Thai Way of Life, Wisdom, and Culture) 3(3-0-6) -
1021215 ภาษาอังกฤษเพื่อการสมัครงานและสัมภาษณ 3(3-0-6) -
(English for Job Application and Interviews)
ภาษาอังกฤษเชิงธรุ กจิ
(Business English)

ภาษาจนี ในชวี ติ ประจาํ วนั
(Chinese in Daily Life)
ภาษาจนี เพื่อธุรกจิ บริการ
(Chinese for Service Business)
ภาษาจนี ในสาํ นกั งาน
(Chinese in Office Work)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 18
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

รหัสวิชา ชอ่ื วิชา หนวยกติ มคอ.2
1021216 ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสารทางธุรกิจ 3(3-0-6) วิชาบงั คับกอน
1021117 (Chinese for Business Communication)
1021118 ภาษาองั กฤษในชวี ิตประจําวัน -
1021219 (English in Daily Life)
1021220 ภาษาอังกฤษในโลกสมยั ใหม 2(1-2-3) -
1021221 (English in Modern World)
1021322 ภาษาอังกฤษเพื่อธรุ กิจและการทํางาน 2(1-2-3) -
1021223 (English for Business and Work)
1021224 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนาํ เสนออยา งสรางสรรค 2(1-2-3) -
1021225 (English for Creative Presentation)
1021226 ภาษาอังกฤษในสอื่ มวลชน 2(1-2-3) -
(English in Mass Media)
ภาษาอังกฤษสาํ หรบั การสอบวัดมาตรฐาน 2(1-2-3) -
(English for Standardized Tests)
ภาษาเมยี นมาในชีวิตประจาํ วัน 2(1-2-3) -
(Burmese in Daily Life)
ภาษาเมยี นมาเพ่ือการส่อื สารธรุ กจิ 3(3-0-6) -
(Burmese for Business Communication)
ภาษาเขมรในชวี ิตประจําวัน 3(3-0-6) -
(Cambodian in Daily Life)
ภาษาเขมรเพอ่ื การสอื่ สารธรุ กิจ 3(3-0-6) -
(Cambodian for Business Communication)
3(3-0-6) -

1.2.2) กลุมชีวติ และสังคมแหงความสขุ จํานวนไมน อยกวา 3 หนวยกิต
รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หนวยกิต วชิ าบังคบั กอ น
1022203 มนุษยห ลากมิติ 3(3-0-6) -
1022204 (Multi-Dimensional Humans) -
1022205 ความรกั และสมั พนั ธภาพ 3(3-0-6) -
1022206 (Love and Relationships) -
1022207 รโู ลกกวา ง 3(3-0-6) -
(World Wide Perspective)
ส่ิงแวดลอ ม การพฒั นา และความยงั่ ยนื 3(3-0-6)
(Environment, Development, and Sustainability)
มหศั จรรยแ หงสุขภาพดี 3(3-0-6)
(Miracle of Good Health)

สถาบนั การจัดการปญญาภิวัฒน 19
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

รหัสวิชา 1.2.3) กลุมการจัดการและนวตั กรรม จํานวนไมน อยกวา 3 หนว ยกติ มคอ.2
1023202 ชอ่ื วิชา หนว ยกิต
1023203 หมากลอมปญ ญาภิวฒั น 3(3-0-6) วชิ าบังคบั กอน
1023205 (Panyapiwat GO) -
1023208 การจัดการเพื่อความม่ังคงั่ 3(3-0-6) -
1023209 (Management for Wealth) -
1023210 นวัตกรรมกับการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 3(3-0-6) -
(Innovations and Quality of Life Development) -
การจดั การธุรกจิ ยุคใหม 3(3-0-6) -
(Business Management in New Era)
การคดิ และวิเคราะหเ พ่ือการตดั สนิ ใจ 3(3-0-6)
(Thinking and Analytics for Decision)
เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การทาํ งาน 3(3-0-6)
(Digital Technology for Work)

2) หมวดวชิ าเฉพาะ นกั ศกึ ษาตองศกึ ษารายวชิ าในหมวดวิชาเฉพาะ จาํ นวน 84 หนว ยกติ จากกลมุ วิชา ดงั น้ี
2.1) กลมุ วิชาแกนธุรกิจ ใหเรยี นจํานวน 15 หนวยกติ จากรายวชิ าตอ ไปน้ี
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกติ วชิ าบังคับกอน
1101102 การจัดการองคการและทรัพยากรมนุษยในยุคดจิ ิทัล 3(3-0-6) -
(Organization and Human Resource Management in
Digital Era)
1101103 การจดั การโลจิสตกิ สและหวงโซอ ปุ ทาน 3(3-0-6) -
(Logistics and Supply Chain Management)
1101104 การจดั การธุรกิจแบบองครวม 3(3-0-6) -
(Holistic Business Management)
1101105 การตลาดดิจทิ ัล 3(3-0-6) -
(Digital Marketing)
1101106 การบญั ชแี ละการเงนิ เพ่ือการจดั การธุรกจิ 3(3-0-6) -
(Accounting and Finance for Business Management)

2.2) กลุมวชิ าบงั คับ ใหเรียนจาํ นวน 45 หนว ยกิต จากรายวิชาตอไปนี้ หนวยกิต
รหัสวิชา ช่ือวิชา วิชาบังคับกอ น
1112102 การขายและเอกลกั ษณก ารบริการ 3(0-6-3) -
(Sales and Signature Service) -
-
1112103 การจัดการผลิตภัณฑในธรุ กิจการคาสมยั ใหม 3(3-0-6)
(Product Management for Modern Trade Business)

1112104 พฤติกรรมลูกคาและการวิเคราะหขอมูล 3(0-6-3)
(Customer Behaviors and Data Analysis)

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน 20
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

รหสั วิชา ช่ือวิชา หนว ยกติ วิชาบังคับกอน
1112205 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางธรุ กิจ 3(3-0-6) -
1112206 (Business Laws and Ethics)
1112307 การจดั ซอื้ ในธุรกิจการคาสมยั ใหม 3(3-0-6) -
1112308 (Procurement Management in Modern Trade Business) 3(0-6-3) -
1112151 การจดั การนวตั กรรมทางธรุ กิจดิจิทัล 3(0-6-3) -
(Innovation Management in Digital Business) 3(0-40-0) -
1112152 การเปนผูป ระกอบการทางธุรกจิ
(Entrepreneurship for Business) 3(0-40-0) -
1112253 การเรียนรภู าคปฏิบตั ดิ า นการจดั การธุรกจิ การคา สมัยใหม 1
(Work-based Learning in Modern Trade Business 3(0-40-0) -
1112254 Management 1)
การเรยี นรูภาคปฏิบตั ดิ านการจดั การธรุ กจิ การคา สมัยใหม 2 3(0-40-0) -
1112355 (Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 2) 3(0-40-0) -
1112356 การเรยี นรูภาคปฏิบตั ิดา นการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม 3
(Work-based Learning in Modern Trade Business 3(0-40-0) -
1112457 Management 3)
การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการธุรกิจการคา สมัยใหม 4 3(0-40-0) -
1112458 (Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 4) 3(0-40-0) -
การเรยี นรูภาคปฏบิ ัตดิ า นการจดั การธุรกจิ การคา สมยั ใหม 5
(Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 5)
การเรียนรูภาคปฏิบัติดา นการจดั การธรุ กิจการคา สมัยใหม 6
(Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 6)
การเรียนรูภ าคปฏิบัตดิ า นการจัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม 7
(Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 7)
การเรียนรภู าคปฏิบัตดิ านการจดั การธุรกจิ การคา สมยั ใหม 8
(Work-based Learning in Modern Trade Business
Management 8)

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 21
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

คละกลุมได ดงั นี้ 2.3) กลมุ วิชาเลือก ใหเ ลือกเรียนจาํ นวน 24 หนว ยกติ จากรายวิชา 5 กลมุ วชิ า สามารถเลือกรายวชิ า

2.3.1) Module: Sales & Service
รหัสวชิ า ช่ือวิชา หนว ยกิต วิชาบงั คบั กอ น
1103301 เทคนคิ การขายและกลยุทธการเจรจาตอรอง 3(0-6-3) -
(Selling Techniques and Negotiation Strategies)
1103302 การขายในธุรกิจออนไลน 3(0-6-3) -
(Selling for Online Business)
1103303 การจดั การความสัมพันธและประสบการณล ูกคา 3(0-6-3)
(Customer Relationship and Customer Experience
Management)

รหัสวิชา 2.3.2) Module: Digital & Innovation หนว ยกติ วชิ าบังคับกอน
1103304 ชอื่ วิชา 3(0-6-3) -

การเปล่ยี นผา นธุรกิจการคาสมัยใหม
(Digital Transformation in Modern Trade Business)

1103305 การจดั ทาํ สอ่ื ดิจทิ ลั สําหรบั ธรุ กิจการคา สมัยใหม 3(0-6-3) -
(Digital Media Creation for Modern Trade Business) 3(0-6-3) -

1103306 ความคิดสรางสรรคเ พ่ือการจัดการนวัตกรรมทางธุรกจิ
(Creative Thinking for Innovation Management in
Business)

รหัสวิชา 2.3.3) Module: Store Management หนว ยกิต วชิ าบงั คับกอน
1103307 ชอ่ื วิชา 3(0-6-3) -
1103308
การบรหิ ารรา นคา อยา งมืออาชีพ 3(0-6-3) -
1103309 (Professional Management of Stores)
การจดั การชองทางการตลาดและการกระจายสนิ คา 3(0-6-3) -
(Marketing and Merchandise Distribution channel
Management)
การบรหิ ารพน้ื ท่ีและเครือขายพนั ธมิตร
(Commercial Space and Allies Networks Management)

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 22
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

รหัสวิชา 2.3.4) Module: Strategy & Entrepreneurship หนวยกิต วชิ าบงั คับกอน
1103310 ชือ่ วิชา 3(0-6-3) -
1103311
1103312 การจดั การอยา งผปู ระกอบการสาํ หรับธุรกิจ 3(0-6-3) -
(Entrepreneurial Management for Business)
การจัดการเชงิ กลยุทธทางธุรกิจท่ยี ั่งยืน 3(3-0-6) -
(Sustainable Business Strategic Management)
การจดั การธุรกิจในตลาดอาเซียน
(Business Management in ASEAN Market)

รหสั วชิ า 2.3.5) Module: Modern Trade Business Trend หนวยกิต วชิ าบังคบั กอน
1103313 ชื่อวิชา 3(3-0-6) -
1103314 3(3-0-6) -
1103315 การจดั การธรุ กิจอาหารในธรุ กิจการคา สมัยใหม 3(3-0-6) -
1103316 (Food Business Management in Modern Trade Business) 3(3-0-6) -
การจดั การธรุ กจิ สุขภาพและโภชนาการ
(Health and Nutrition Business Management)
การจดั การธุรกจิ สขุ ภาพและความงาม
(Health and Wellness Business Management)
หวั ขอ เลอื กสรรดานการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม
(Selected Topics in Modern Trade Business
Management)

3) หมวดวิชาเลือกเสรี นักศึกษาตองศึกษารายวิชาในหมวดวชิ าเลือกเสรี จาํ นวน 6 หนว ยกติ
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เปดส อนในส ถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน

หรอื สถาบนั อดุ มศกึ ษาอนื่ โดยตอ งไดรบั ความเห็นชอบจากอาจารยท่ปี รกึ ษา

ทั้งนี้ ในรายวิชาทุกวิชาของสถาบันที่มีวิชาบังคับกอน คณบดีสามารถอนุมัติใหนักศึกษาลงทะเบียนใน
รายวชิ านนั้ ได โดยสอดคลองกบั ศกั ยภาพของผูเรียนและมาตรฐานการจดั การเรยี นการสอน

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 23
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3.1.4 แผนการศกึ ษา

ชน้ั ปท ี่ 1

รหสั วิชา ภาคการศึกษาท่ี 1 หนวยกิต รหัสวิชา ภาคการศึกษาท่ี 2 หนวยกติ
10xxxxx รายวชิ า 3 10xxxxx รายวิชา 3
10xxxxx 3 10xxxxx 3
หมวดอตั ลกั ษณของพไี อเอ็ม (PIM) หมวดอัตลกั ษณของพีไอเอม็ (PIM) 3
1101104 หมวดศาสตรแหง ชีวิต 3 1101105 หมวดศาสตรแหง ชีวติ 3
3
1112102 การจดั การธุรกจิ แบบองคร วม 3 1101106 การตลาดดจิ ทิ ัล
1112151 3 1112103 3
การขายและเอกลักษณการบริการ การบัญชแี ละการเงินเพอ่ื การจัดการธุรกจิ

การเรยี นรูภาคปฏิบตั ิดานการ การจดั การผลติ ภัณฑในธุรกจิ การคา
จัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม 1 สมัยใหม
การเรยี นรูภาคปฏบิ ตั ิดานการจดั การธรุ กิจ
1112152 การคาสมัยใหม 2

รวม 15 รวม 18

ชน้ั ปท ่ี 2

รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หนวยกิต รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนวยกิต
10xxxxx รายวิชา 3 10xxxxx รายวชิ า 3
10xxxxx 3 10xxxxx 3
1101103 หมวดอัตลักษณข องพไี อเอม็ (PIM) หมวดอตั ลกั ษณข องพไี อเอม็ (PIM) 3
หมวดศาสตรแหงชวี ติ 3 1101102 หมวดศาสตรแ หง ชีวิต
1112104 3
การจัดการโลจสิ ติกสแ ละหวงโซ 3 1112205 การจดั การองคการและทรัพยากรมนษุ ย
1112253 อปุ ทาน ในยคุ ดจิ ทิ ัล
พฤตกิ รรมลกู คา และการวเิ คราะห กฎหมายและจรยิ ธรรมทางธรุ กิจ
ขอมูล
การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการ 3 1112206 การจัดซือ้ ในธรุ กิจการคา สมยั ใหม 3
จัดการธรุ กจิ การคา สมยั ใหม 3

1112254 การเรยี นรูภาคปฏิบตั ิดา นการจัดการ 3
ธุรกจิ การคา สมยั ใหม 4 18
รวม 15
รวม

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 24
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ชนั้ ปท่ี 3

รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนวยกติ รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว ยกิต
10xxxxx รายวชิ า 3 10xxxxx รายวิชา 3
10xxxxx 3 1103xxx 3
1112307 หมวดศาสตรแ หงชีวติ 3 1103xxx วิชาเลือก (1) 3
หมวดศาสตรแ หงชวี ิต
1112308 การจดั การนวัตกรรมทางธรุ กิจ วิชาเลอื ก (2) 3
1112355 ดิจิทลั 3
การเปน ผปู ระกอบการทางธรุ กจิ วชิ าเลอื ก (3)
15
การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ดิ านการ 3 xxxxxxx วิชาเลือกเสรี (1)
จดั การธุรกจิ การคาสมยั ใหม 5 3 1112356 การเรยี นรภู าคปฏบิ ตั ิดา นการจดั การ

รวม ธรุ กจิ การคา สมัยใหม 6
15 รวม

ชนั้ ปท ่ี 4

รหสั วชิ า ภาคการศึกษาที่ 1 หนวยกิต รหสั วิชา ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว ยกิต
1103xxx รายวิชา 3 1103xxx รายวชิ า 3
1103xxx 3 1103xxx 3
วิชาเลือก (4) วิชาเลือก (7) 3
1103xxx วิชาเลอื ก (5) 3 xxxxxxx วิชาเลอื ก (8) 3

1112457 วชิ าเลือก (6) 3 1112458 วิชาเลือกเสรี (2) 12

การเรยี นรูภาคปฏบิ ตั ดิ านการ 12 การเรยี นรภู าคปฏิบตั ิดา นการจัดการ
จดั การธรุ กจิ การคาสมยั ใหม 7 ธุรกจิ การคาสมัยใหม 8

รวม รวม

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 25
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3.1.5 คาํ อธบิ ายรายวิชา
1) หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป
1.1) หมวดอตั ลักษณข องพไี อเอ็ม (PIM)
1010101 ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารในยคุ ดิจิทัล 3(3-0-6)
(Thai for Digital Communication)
วชิ าบงั คับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การสื่อสารดวยภาษา มารยาทในการส่ือสาร การสรางความตระหนักถึงคุณคาของภาษาและ
วัฒนธรรมไทย หลักการและศิลปะการฟง พูด อาน และเขียนเพื่อการสื่อสาร การพัฒนาทักษะการวางแผน คิด
วิเคราะหดวยภาษาอยางสรางสรรค การฝกปฏิบัติการจับประเด็นจากการฟงและการอาน การพูด การเขียน และ
การนําเสนอ ตลอดจนการประยกุ ตใชภาษาไทยในสอื่ เทคโนโลยใี หม
Language communication. Communication Etiquettes. Raising awareness of the value
in the Thai language and cultures. Principles of listening, speaking, reading, and writing for
communication. Development of planning. Creative and critical thinking. Practice capturing the
main point from listening, reading, speaking, and writing. Presentation and Application of Thai
language in new digital media.

1010102 ศลิ ปะการนําเสนออยางสรา งสรรค 3(3-0-6)
(The Art of Creative Presentation)
วิชาบงั คับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
หลักการและรูปแบบการนําเสนออยางสรางสรรค การวิเคราะหผูฟง การเตรียมโครงเรื่อง เน้ือหา
และการจัดลําดับขอมูลเพื่อการนําเสนอ การออกแบบและจัดทําส่ือนําเสนอ การพัฒนาทักษะในการนําเสนอท้ัง
การใชนํ้าเสียง สายตา คําพูด และบุคลิกภาพ ตลอดจนกรณีศึกษาและการฝกปฏิบัติการเลาเร่ือง การพูดโนมนาว
การเจรจาตอรอง การอภปิ ราย และการโตแ ยงแสดงเหตผุ ล
Creative presentation theory and guidance; audience identification and understanding;
structuring presentation effectively; designing and presenting media. Enhancement of presentation
techniques including posture, gesture, storytelling, persuasive skills, negotiation skills, debating,
giving opinions constructively.

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 26
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1010103 ปญญาภวิ ฒั นเ พอ่ื การจัดการ 3(3-0-6)
(Panyapiwat for Management)

วิชาบงั คับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิดของมหาวิทยาลัยแหงองคกรธุรกิจและรูปแบบการเรียนรูควบคูการฝกประสบการณจริง
(Work-based Education) อัตลักษณปญญาภิวัฒนเพื่อการสรางนักจัดการใหเรียนเปน คิดเปน ทํางานเปน เนน
วัฒนธรรม และรักความถูกตอ ง จริยธรรมในการทํางานและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม วฒั นธรรมองคกร
และการปรบั ตัวใหส อดคลองกับวัฒนธรรมท่ีแตกตาง การมสี ว นรว มและความผกู พันตอ องคกร ภาวะผูนําและภาวะ
ผตู าม ตลอดจนการวางแผนและการสรางสมดลุ ชวี ิตอยา งมคี วามสุข
Conceptual definition of the corporate university, Work-based Education, and the
Panyapiwat identity. Development of a well-rounded executive with a sense of responsibility for
oneself and society. Defining organizational engagement; leadership; supports. Planning for a
successful work-life balance.

1010104 วถิ ีพลเมอื งดจิ ิทลั 3(3-0-6)
(Digital Citizenship)
วิชาบงั คบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
วิถีแหงพลเมืองเน็ตและแนวโนมเทคโนโลยีดิจิทัล ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ใน
ชีวิตประจําวัน การสืบคนขอมูลออนไลนและการรูเทาทันสื่อ การใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางหลากหลายและ
สรางสรรค การใชเครื่องมือแบงปนขอมูลและทํางานรวมกับผูอ่ืนแบบออนไลน การใชแอปพลิเคชันในการทํางาน
การผลิตสื่อดิจิทัล การใชเครื่องมือแบงปนขอมูล การสนทนาและทํางานรวมกับผูอื่นแบบออนไลน กฎหมาย
ธุรกรรมออนไลน ลิขสิทธ์ิและความตระหนักถึงสิทธิรูปแบบตางๆ การรักษาความปลอดภัยของขอมูลบนโลก
ออนไลน ตลอดจนการนําความรไู ปประยกุ ตใ ชเพื่อการปฏิบตั งิ านในองคกรยคุ ใหม
Netizenship; trends of digital technology, Artificial Intelligence in daily life, online
searching, and media literacy, using digital technology creatively and diversely, data-sharing tools
and online co-working, using applications for working, digital media creation, online conversation,
and co-working, Electronic Transactions Act, copyright and rights awareness, cyber security, and
knowledge application to operate in new organizations.

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 27
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1.2) หมวดศาสตรแหงชีวติ
1.2.1) กลุมภาษาเพ่ือการส่อื สาร
1021105 ภาษากบั วฒั นธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Language and Culture)
วิชาบังคับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
การศกึ ษาพลวัตทางภาษาและวัฒนธรรมตามบรบิ ทของสงั คมไทย การวเิ คราะหอิทธิพลของสังคมที่มี
ตอ ภาษา และอทิ ธพิ ลของภาษาท่ีมีตอสังคม ความสมั พันธระหวางภาษากับวฒั นธรรมในระดบั สังคม ประกอบดวย
ระดบั ครอบครวั ระดับองคก ร ระดบั ประเทศ และระดบั สากล
A study of linguistic and cultural dynamics in the context of Thai society, an analysis
of the influence of society on the language, and the influence of language on society. The
relationship between language and culture at the social level consisting of family, organizational,
national, and international levels.

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาตางประเทศ 3(3-0-6)
(Thai as a Foreign Language)
วิชาบังคับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
หลักการและฝกทักษะการสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจําวัน การเพ่ิมพูนวงศัพท การออกเสียงให
ถกู ตอง การใชค ํา และเรียบเรยี งประโยคเพ่ือการสือ่ สารทชี่ ัดเจนมปี ระสิทธิภาพ
Principles and practice of Thai language conversation skill in daily life; vocabulary
enhancement; correct pronunciation; word usage; and creating sentences for clear and effective
communication.

1021207 หลกั ภาษาและการใชภาษาไทย 3(3-0-6)
(Language Structure and Usage Thai)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
โครงสรางภาษาไทย โครงสรางพยางคในภาษาไทย การใชคําโครงสรางกลุมคําและประโยค การใช
ระดบั คํา การใชภ าษาไทยใหถูกตองตามสถานะและสถานการณ ปญหาการใชภ าษาไทยในปจจุบัน วเิ คราะหก ารใช
ภาษา ตลอดจนการศกึ ษาแนวทางแกไ ขปรบั ปรุงและการใชภ าษาไทยใหถ ูกตอ งตามลกั ษณะภาษาไทย
Thai language structure; syllable structure in Thai language; use of words; structure of
phrases and sentences; use of word levels; correct use of Thai language in accordance with
statuses and situations; problems of current Thai language usage; analysis of language usage; study
of guidelines for correction and improvement of the use of Thai language.

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 28
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1021208 การอา นออกเสียงภาษาไทย 3(3-0-6)
(Thai Oral Reading)
วิชาบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
องคประกอบและหลักการอานออกเสียง อวัยวะที่ใชในการออกเสียง การฝกปฏิบัติการออกเสียงให
ถูกตองชัดเจน การฝกปฏิบัติการใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับความหมายของคําในบริบทตางๆ ที่สงผลตอการสื่อสาร
ใหเ กดิ ประสทิ ธผิ ล
Components and principles of oral reading; speech organs; practicing correct and clear
pronunciation; and practicing the use of sounds appropriate with word meanings in various contexts
for effective communication.

1021309 วถิ ีไทย ภูมิปญญาไทย และวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Way of Life, Wisdom, and Culture)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
วิถีชีวิตไทย ภูมิปญญาไทยจากความคิด คติ ความเชื่อ สุภาษิตสํานวนไทย และมรดกทางวัฒนธรรม
แขนงตางๆ การประยุกตความรูความเขาใจปรับใชในการดําเนินชีวิต และการประกอบอาชีพอยางมีความสุข
ความสาํ เรจ็
Thai way of life and Thai wisdom derived from ideas, mottos, beliefs, Thai proverbs
and various cultural heritages; and the application of obtained knowledge and understanding for
successful and happy living and careers.

1021210 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสมัครงานและสัมภาษณ 2(1-2-3)
(English for Job Application and Interviews)
วิชาบังคับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท สํานวน และโครงสรางภาษาอังกฤษ ที่เก่ียวของกับอาชีพ หนาท่ีความรับผิดชอบของ
ตําแหนงงาน และการสมัครงาน ความสามารถในการออกเสียงไดถูกตอง การเตรียมตัวและการเสริมบุคลิกภาพ
เพ่ือการสัมภาษณงาน การสัมภาษณงานเสมือนจริง การอานประกาศรับสมัครงาน การเขียนจดหมาย
อิเลก็ ทรอนกิ สเ พ่ือสมัครงาน การเขยี นประวัติยอ รวมถึงการกรอกแบบฟอรมในรูปแบบตา ง ๆ
Vocabulary, idioms, and English language structure concerning careers, duty and
responsibility of each work position, and job application; the ability to pronounce correctly; the
preparation and personality enhancement for job application; the simulated job interviews; the reading
of job announcements; the writing of electronic job application letters; the writing of resume; and
completion of various application forms..

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 29
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021212 ภาษาอังกฤษเชิงธรุ กิจ 2(1-2-3)
(Business English)

วชิ าบงั คบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การฟง การพูด การอาน และการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรูพหุวัฒนธรรม วัจนภาษา
และอวัจนภาษา สําหรับการติดตอธุรกิจอยางมีประสิทธิผล การแกปญหาการสื่อสารระหวางวัฒนธรรม การ
วเิ คราะหกรณีศกึ ษาในบริบทของการติดตอธรุ กิจในสถานการณท หี่ ลากหลาย
Listening, speaking, reading and writing English for multicultural learning; verbal and
nonverbal languages for making business contact efficiently; problem solving in inter-cultural
communication; analyzing case studies in the context of doing business in different situations.

1021213 ภาษาจนี ในชีวติ ประจาํ วัน 3(3-0-6)
(Chinese in Daily Life)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
สทั อกั ษรพินอนิ คําศพั ทแ ละประโยคที่พบบอ ยในชวี ิตประจําวัน ฝกทกั ษะการฟง และการพูด การ
แนะนําตัวเบื้องตน การบอกจํานวนและตัวเลข การบอกวันเวลา การบอกทิศทาง ตลอดจนการเรียนรู
ขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมจนี
Phonetics of Pinyin alphabet; common vocabulary and sentences in daily life; practice of
listening and speaking skills; preliminary self-introduction; telling numbers and numerals; telling dates
and time; giving directions; and learning about Chinese traditions and culture.

1021214 ภาษาจนี เพื่อธุรกิจบรกิ าร 3(3-0-6)
(Chinese for Service Business)
วชิ าบังคับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
คําศพั ทแ ละประโยคเกี่ยวกบั ธรุ กิจบริการ ฝก สนทนาภาษาจีนที่เกี่ยวของกบั การทํางานหนาราน การ
แนะนําผลิตภัณฑ การซ้ือขายสินคา การนําเสนอโปรโมช่ัน การใหบริการดานโทรศัพทและการชําระเงิน การ
สนทนาเพื่อใหความชวยเหลือลกู คา ประยุกตใชภาษาจีนดวยสถานการณจําลอง ตลอดจนการเรียนรูว ัฒนธรรมใน
การดําเนนิ ธรุ กจิ
Vocabulary and sentences about Service Business, practicing Chinese conversation related
to counter work in shops; introduction of products; buying and selling products; presentation for
promotion of products; provision of telephone and payment services; conversation for provision of
helps to customers; application of Chinese language usage through simulations; and learning of culture
in business transaction.

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน 30
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021215 ภาษาจีนในสาํ นกั งาน 3(3-0-6)
(Chinese in Office Work)
วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพทและประโยคเกี่ยวกับสํานักงาน ตําแหนงและหนาท่ีความรับผิดชอบ การฝกสนทนาใน
สถานการณจําลองตางๆ การทักทาย การสัมภาษณงาน การขอลางาน การพูดในที่ประชุม การโตตอบสนทนาทาง
โทรศัพท ตลอดจนการเรยี นรขู นบธรรมเนียมและวฒั นธรรมจีน
Vocabulary and sentences about in office, titles, and responsibility, practice of conversation
in different role-play situations, greetings, job interviews, how to leave work, how to speak in meetings,
telephone conversations, and learning about Chinese customs and traditions.

1021216 ภาษาจนี เพอ่ื การส่ือสารทางธรุ กจิ 3(3-0-6)
(Chinese for Business Communication)
วชิ าบงั คบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพทและประโยคเก่ียวกับการเจรจาทางธุรกิจ การนัดหมาย การจัดประชุม การนําเสนอ ฝก
ปฏิบัติโตตอบภาษาจีนตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมจีน ตลอดจนการสนทนาตามสถานการณจําลองตาม
บริบททางธุรกจิ
Vocabulary and sentences about communication in the context of occupation Practice
conversations about business negotiations, making appointments, arrange meetings, presentations, and
trading etiquette with Chinese people.

1021117 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจาํ วัน 2(1-2-3)
(English in Daily Life)
วชิ าบังคับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท และสํานวนที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต โครงสรางประโยคภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาใน
ชีวิตประจําวัน การเขียนเร่ืองราวใกลตัว การบอกเลาประสบการณของตนเอง การอานออกเสียงระดับคํา วลี และ
ประโยค ตลอดจนการฟง เพ่ือจับใจความจากบทสนทนาผานส่ือทท่ี นั สมยั
Vocabulary and idioms related to daily life; the structure of English sentences for
everyday conversations; writing about things surrounding oneself; talking about one’s own
experience; reading aloud at word, phrase and sentence levels; and listening comprehension using
conversations in modern media.

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 31
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1021118 ภาษาอังกฤษในโลกสมัยใหม 2(1-2-3)
(English in Modern World)
วชิ าบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การพฒั นาสมรรถนะภาษาองั กฤษ เนนทกั ษะการฟง การพดู การอา น และการเขยี น การแสดงความ
คิดเห็น การตอบคําถาม การตอบทสนทนา คําศัพท สํานวน โครงสรางทางภาษาเพ่ือการส่ือสาร การออกเสียง
อยางถูกตอง การพูดคุยสนทนาในชีวิตประจําวันเพ่ือความทันสมัยและทันตอเหตุการณในศตวรรษที่ 21 การ
ตระหนักถึงวัฒนธรรมสากล
Developing learners' English language competency focusing on listening, speaking, reading,
and writing skills. Improving learners' communication skills in up-to-date settings where cultural
differences are concerned; asking and answering questions, making conversations, having discussions.
Vocabulary and phrases used in conversations, correct pronunciation, and grammatical sentence
structures for any particular situation.

1021219 ภาษาอังกฤษเพ่ือธรุ กจิ และการทํางาน 2(1-2-3)
(English for Business and Work)
วชิ าบงั คบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท สํานวน และโครงสรางภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวของกับงานอาชีพ การบูรณาการการฟง การพูด
การอาน และการเขียนภาษาอังกฤษในงานอาชีพ การประยุกตใชภาษาอังกฤษในบริบทที่หลากหลายดวยตนเอง
ผานส่ือท่ีทันสมัย การสรุปความ การแลกเปล่ียนความคิดเห็น การใหขอมูลอยางถูกตอง การใชภาษาอังกฤษเพ่ือ
ปฏสิ ัมพนั ธในการทาํ งาน ตลอดจนมารยาทในการตดิ ตอ ทางธุรกิจ
Vocabulary, idioms and English language structures related to careers; integration of English
listening, speaking, reading and writing in careers; application of English language in various contexts by
oneself via modern media; summarization and conclusion; exchanges of opinions; giving correct
information; using English language for interaction at work; and etiquette in the use of English language
for business transaction.

1021220 ภาษาองั กฤษเพ่ือการนาํ เสนอยา งสรา งสรรค 2(1-2-3)
(English for Creative Presentation)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท สํานวน และโครงสรางประโยคภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวของกับการนําเสนอ ตัวเลข กราฟ และ
แผนภูมิ การใชวัจนภาษาและอวัจนภาษาในการนําเสนอ การวิเคราะหส่ือภาษาอังกฤษที่เผยแพรในโลกออนไลน
การแสดงความคิดเห็น การวางแผนและกลวิธีในการนําเสนอ การเรียงลําดับเนื้อหา ขั้นตอนการนําเสนอ การ
ประเมินการนําเสนอของตนเองและผูอื่น ตลอดจนการประยุกตใชข อมลู และสื่อใหเหมาะสมกบั รปู แบบการนาํ เสนอ
อยา งสรา งสรรค

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 32
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
Vocabulary, idioms and English sentence structure concerning presentation; numbers;
graphs and charts; the use of verbal and nonverbal languages for presentation; analysis of online English
media; expressing opinions; presentation planning and strategies; sequencing of presentation contents;
steps of giving a presentation; evaluation of one’s own presentation and others’ presentations; and the
application of information and media appropriate with the patterns of business presentation via
modern media.

1021221 ภาษาองั กฤษในสือ่ มวลชน 2(1-2-3)
(English in Mass Media)
วิชาบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท สํานวน และโครงสรางภาษาอังกฤษ ท่ีเก่ียวของกับขาวและขอมูลในส่ือมวลชน การบูรณา
การฟง การพดู การอาน และการเขยี นภาษาอังกฤษจากสอื่ ประเภทตาง ๆ การตคี วาม การสรุปความ การวเิ คราะห
แหลงที่มาของขาวและขอมูลขาวสาร ตลอดจนการแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเหตุการณสําคัญในปจจบุ ันที่เกิดขน้ึ
ทั่วโลก
Vocabulary, idioms, and English language structure related to news and information in the
mass media; integration of listening, speaking, reading, and writing of English through the media;
interpretation; summarization; analysis of news and information sources; giving opinions about current
significant world events.

1021322 ภาษาอังกฤษสําหรบั การสอบวดั มาตรฐาน 2(1-2-3)
(English for Standardize Tests)
วิชาบงั คับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
จุดประสงคของการสอบมาตราฐานในรูปแบบตางๆ โครงสรางขอสอบวัดมาตรฐานภาษาอังกฤษ
และโครงสรางการวัดผล เทคนิคการจัดการเวลา วิธีการและชองทางการสมัครสอบ พัฒนาทักษะการฟงเพ่ือจับ
ใจความสําคัญ การฟงเพื่อจับใจความอยางละเอียด การพูดเพ่ือสื่อสารในชีวิตประจําวันและพูดเพื่อวิพากษ การ
อานเพื่อจับใจความสําคัญ เทคนิคการอานเร็ว การเขียนบรรยาย ครอบคลุมคําศัพท และไวยากรณภาษาอังกฤษท่ี
ปรากฏในขอสอบวัดมาตรฐานภาษาองั กฤษ ฝกฝนทักษะภาษาองั กฤษจากการทําขอสอบวดั มาตราฐานแบบจาํ ลอง
Acknowledgment of different purposes of Standardized Tests in the market; General
structure of standardized tests and their assessments. Time management; application channels.
Development of English skills; listening for the main idea, listening for details, speaking for everyday use
and discussion, reading comprehension skills, speed reading technique, writing for general purpose.
Vocabulary and language structures used in standardized tests. Practice English skills by taking a
simulation test.

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 33
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021223 ภาษาเมยี นมาในชวี ติ ประจาํ วนั 3(3-0-6)
(Burmese in Daily Life)
วิชาบงั คับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
โครงสรางและหลักไวยากรณ การฟงและการออกเสียงภาษาเมียนมาเบ้ืองตน คําศัพทและสํานวนท่ี
ใชในชีวิตประจําวัน การสนทนา การบอกจํานวน ตัวเลขและสกุลเงิน การบอกวันท่ี ตลอดจนคําศัพทพื้นฐานที่
เกีย่ วขอ งกบั การทาํ งาน
Grammatical structure and principles; basic listening and pronunciation of Burmese
language; vocabulary and sentences used in daily life; conversations in daily life; numbers, numerals
and money system; telling about dates, months and years; and basic vocabulary concerning work.

1021224 ภาษาเมยี นมาเพ่ือการส่อื สารธรุ กิจ 3(3-0-6)
(Burmese for Business Communication)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คาํ ศพั ททเ่ี กี่ยวของกับการสื่อสารธุรกจิ การสนทนาภาษาเมียนมาที่เกี่ยวของกบั การส่ือสารธรุ กิจ เชน
การนําเสนอสินคาและ การใหบริการ การสอบถามความตองการของลูกคา การเสนอโปรโมชั่น การเปลี่ยนสินคา
การคนื สินคา ตลอดจนการฝก ปฏบิ ตั ิในสถานการณจ ําลอง
Business communication vocabulary; basic conversations in Burmese language concerning
business communication, such as presentation of goods, asking customers in order to provide services
to them; customers services; presentation for promotion of products; changing of goods; and returning
of goods. role-play situations.

10211225 ภาษาเขมรในชวี ิตประจาํ วนั 3(3-0-6)
(Combodian in Daily Life)
วิชาบังคบั กอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ลักษณะและโครงสรางภาษาเขมร สัทวิทยา การออกเสียงภาษาเขมร อักษรและอักขรวิธี ศัพทและรูป
ประโยคพ้ืนฐาน ทักษะการฟง พูด คําศัพทและสํานวนที่ใชในชีวิตประจําวัน การสนทนา การบอกจํานวน ตัวเลขและ
สกุลเงิน การบอกวันที่ ตลอดจนคาํ ศพั ทพนื้ ฐานที่เกย่ี วขอ งกบั การทํางาน
Characteristics and structures of Cambodian, phonology, pronunciation, scripts and
orthography; elementary vocabulary and expressions; skills in listening, speaking, everyday-life topic
vocabulary, idioms, conversations, expressing numbering, and currency, telling dates, and fundamental
vocabulary related to work.

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 34
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1021226 ภาษาเขมรเพ่อื การสอื่ สารธรุ กจิ 3(3-0-6)
(Cambodian for Business Commincation)
วิชาบังคบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพทท่ีเกี่ยวของกับการสื่อสารธุรกิจ การนําเสนอสินคา การใหบริการ การสอบถามความตองการ
ของลูกคา การเสนอโปรโมชั่น การเปล่ียนสินคา และการคืนสินคา ตลอดจนการฝกปฏิบัติสนทนาภาษาเขมรใน
สถานการณจ ําลอง
Business correspondence glossary; product presentation, customers service dialogues;
inquiring customer's need, offering a promotion, and returning goods. Business role-play in Cambodian.

1.2.2) กลมุ ชีวติ และสงั คมแหงความสุข 3(3-0-6)
1022203 มนุษยหลากมติ ิ
(Multi-Dimensional Humans)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การแสวงหาความรูดานมนุษยศาสตรอยางบูรณาการ แนวคิด ความเช่ือ ปรัชญาและการใชเหตุผล
ประวัติศาสตร วรรณกรรม ศิลปะและวัฒนธรรมท่ีหลอหลอมวิธีคิดของมนุษยใหมีความแตกตาง ตลอดจนใช
กรณีศกึ ษา และสถานการณจําลอง
Integrated pursuit of human knowledge; thoughts; beliefs; philosophy and reasoning;
history; literature; arts and culture that blend human’s ideas to be diverse; and the uses of case
studies and simulations.

1022204 ความรักและสัมพนั ธภาพ 3(3-0-6)
(Love and Relationships)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ทักษะการเขา สังคม การปรบั ตวั การสรา งความประทับใจ การพฒั นาบุคลกิ ภาพภายในและภายนอก
จิตวิทยาสัมพันธภาพ การสรางและรักษาความสัมพันธ ความรักประเภทตาง ๆ เชน ความรักชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ  และการรกั ตนเอง การสรางครอบครวั มติ รภาพ ตลอดจนการรับมือกับความเปลย่ี นแปลง
Social skills; personal adjustment; how to make first impressions; internal and external
personality development; psychology of interpersonal relationships; building and nurturing
relationship; different types of love, for example, love of one’s country, religion and monarchy;
self-love; building a family, friendship; and coping with changes.

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 35
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1022205 รโู ลกกวา ง 3(3-0-6)
(World Wide Perspective)
วชิ าบังคับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
สังคมโลกยุคปจจุบัน ประวัติศาสตรของความขัดแยง การคามนุษย ความรวมมือระหวางกลุม
ประเทศท่ีประสบความสําเร็จและลมเหลว การเมืองและเศรษฐกิจของโลก อาเซียน ไทย แนวคิดลักษณะรวมและ
ลักษณะเฉพาะดานในสังคมโลกปจจุบัน สังคมไทยและวัฒนธรรมภายใตกระแสโลกาภิวัตน ตลอดจนการ
เปลี่ยนแปลงของโลกในยุคดจิ ทิ ลั
Current global society; history of conflicts, human trafficking, collaboration between
successful and failure countries; global, ASEAN, and Thailand's politics and economy; concepts on
common and special aspects in the current global society; Thai society and culture in globalization
and the digital era.

1022206 ส่ิงแวดลอม การพัฒนา และความย่ังยนื 3(3-0-6)
(Environment, Development, and Sustainability)
วชิ าบังคับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิดส่ิงแวดลอม การพัฒนา และเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development
Goals: SDGs) เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจ สี
เขยี ว (Green Economy) การอนรุ กั ษแ ละการจัดการสิ่งแวดลอ มในดิน นํา้ อากาศ ทะเลและชายฝง ผลกระทบตอ
การเปล่ียนแปลงในบริบทของการพัฒนาตอสังคมและส่ิงแวดลอม ตลอดจนสถานการณปจจุบันของการพัฒนา
อยางยง่ั ยืน
The concepts of environmental, development, and Sustainable Development Goals,
Bioeconomy, Circular Economy, Green Economy. Conservation and environmental management
in soil, water, air, sea, and coast. The impact of changes in the context of development on society
and the environment as well as the current situation of sustainable development.

1022207 มหศั จรรยแหงสุขภาพดี 3(3-0-6)
(Miracle of Good Health)
วิชาบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ความสําคัญของสุขภาพตอชีวิต ปญหาสุขภาพของคนยุคปจจุบัน การประเมินสุขภาพ โครงสราง
กลไก และพฒั นาการของรางกายมนุษย โภชนาการเพื่อสขุ ภาพ การดูแลสขุ ภาพจติ การออกกําลังกาย การใชยา
และเวชสําอางคในชีวิตประจําวัน รวมทั้งสิ่งแวดลอมกับสุขภาพ ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรสุขภาพ และเวช
ศาสตรช ะลอวัย
The essentials of health and life, health problems of the current generation, health
assessment, developmental structure and mechanism of the human body, nutrition for health,
mental health care, exercise, drugs, and cosmeceuticals for daily usage, the environment and
health, the evolution of health science, and anti-aging medicine.

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 36

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1.2.3) กลุมการจดั การและนวัตกรรม 3(3-0-6)
1023202 หมากลอมปญญาภวิ ัฒน
(Panyapiwat GO)
วิชาบังคับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ความเปน มา กฎกติกาการเลนหมากลอม ทักษะและเทคนิคการเลน หมากลอม การฝกหมากลอมเพ่ือ
พัฒนาทักษะการวางแผนและการตัดสินใจเชิงธุรกิจ แนวคิดหมากลอมกับการจัดการการเงิน การบูรณาการ
ภูมิปญญาตะวนั ออกผา นหมากลอมเพอ่ื การดําเนนิ ชวี ิตและการทํางาน ตลอดจนหมากลอมกับปญ ญาประดิษฐ
Background, rules and regulations of GO; GO skills and technics; GO practicing for
development of planning and business decision making skills; GO concepts and financial
management; the integration of oriental wisdom via GO for living and working; and GO and artificial
intelligence.

1023203 การจดั การเพ่อื ความม่ังคั่ง 3(3-0-6)
(Management for Wealth)
วิชาบังคบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การวางแผนการเงินตามชวงวัย การจัดการการเงินเพ่ือวัตถุประสงคเฉพาะ การจัดทํางบดุลและ
งบประมาณสวนบุคคล การออม การลงทุน การประกัน ความเสี่ยง และผลตอบแทน การวางแผนเครดิตทาง
การเงินเพ่ือชีวิต สินเช่ือรูปแบบตางๆ กลยุทธภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เทคโนโลยีดานการเงินและความปลอดภยั
ตลอดจนการจัดการทรัพยากรดา นเวลาและบคุ คลเพ่ือความมั่งคัง่ ยั่งยนื
Financial planning based on age groups; financial management for specific purposes;
creating personal balance accounts and budgets; savings; investment; insurance, risks and returns;
financial credit planning for life; various types of loans; personal income tax strategies; financial
and security technology; and management of time and personal resources for sustainable
prosperity.

1023205 นวัตกรรมกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ 3(3-0-6)
(Innovations and Quality of Life Development)
วิชาบงั คบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ความหมาย ความสําคัญ และประเภทนวัตกรรม การคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค การคิด
เชิงออกแบบ (Design Thinking) การคิดเชิงนวัตกรรม การจัดการทรัพยสินทางปญญา แนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ ดวยนวัตกรรม ตลอดจนการประยุกตใ ชในชวี ิต
Definition, importance, and classification of innovation. Analytical thinking; design
thinking; innovative thinking; intellectual property management; quality of life development
using innovation; and the application of innovations in daily life.

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 37
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1023208 การจดั การธุรกิจยุคใหม 3(3-0-6)
(Business Management in New Era)
วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
วิธีการเริ่มธุรกิจหรือพัฒนาธุรกิจใหม จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ กลยุทธการ
ดําเนินธุรกิจยุคใหม การออกแบบตนแบบทางธุรกิจการระบุโอกาสและพัฒนาธุรกิจ การสรางแรงบัลดาลใจในการ
เปนผูประกอบการ การจัดโครงสรางองคการ การจัดทําแผนธุรกิจ ทักษะที่จําเปนสําหรับการเขียนแผนธุรกิจที่
ครบถวนและประสบผลสําเร็จ เทคนิคการนําเสนอโครงการใหนักลงทุน กรณีศึกษาเก่ียวกับการจัดการอยาง
ผปู ระกอบการในทางธรุ กจิ
The foundations of a start-up, managerial ethics and social responsibility, business
strategy in a digital age, designing a creative and innovative business model, inspiration to become
an entrepreneur, organizational structure, crafting a business plan; skills required for building a
successful business plan, investor-pitching techniques, and entrepreneurship case studies.

1023209 การคดิ และวิเคราะหเพ่ือการตดั สินใจ 3(3-0-6)
(Thinking and Analytics for decision)
วิชาบงั คับกอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ความหมายของการคิด ทักษะการคิดและลักษณะการคิด เทคนิคการตัดสินใจ การพัฒนา
กระบวนการคดิ รปู แบบตาง ๆ การคดิ สรางสรรค การคิดวพิ ากษ กระบวนการใหเ หตุผล การวิเคราะหขา ยงาน การ
วิเคราะหก ารคุมทนุ กบั การประกอบอาชพี ในอนาคต ตลอดจนการวิเคราะหข อ มลู ในการตดั สนิ ใจ เพอื่ แกป ญ หา
Definition of thinking, thinking skills, and patterns, decision-making techniques,
development of thinking processes, creative thinking, critical thinking, justification process, network
analysis, break-even analysis in a future career, and data analysis for decision-making and
problem-solving.

1023210 เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การทาํ งาน 3(3-0-6)
(Digital Technology for Work)
วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
การออกแบบอินโฟกราฟก (Infographic) ออกแบบภาพเคล่ือนไหว (Animation) และการสรางส่ือ
ประสม (Multimedia) เบ้ืองตน การใชเครื่องมือใน การออกแบบวางแผนจัดเก็บขอมูล เพื่อการคํานวณ วิเคราะห
แปลผลขอมูล และการนําเสนอขอมูลในรูปแบบแดชบอรด (Dashboard) แผนภูมิพาเรโต แผนภาพการกระจาย
ตลอดจนการใชเทคโนโลยีเพื่อการติดตอส่ือสาร และการประชุมทางไกลผานเครือขาย (VDO Conference) โดย
เนน การทาํ งานดว ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั บนระบบคลาวด (Cloud)
Infographic design; animation design; and basic multimedia creation. Data
management tools for data storage, data calculation, data analysis, data interpretation, and data
presentation; dashboard; Pareto chart; scatter diagram. Communication technology and VDO
conference emphasizing cloud computing.

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 38
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2) หมวดวชิ าเฉพาะ
2.1) กลมุ วชิ าแกนธุรกจิ
1101102 การจัดการองคการและทรพั ยากรมนษุ ยใ นยุคดจิ ทิ ลั 3(3-0-6)
(Organization and Human Resource Management in Digital Era)
วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการจัดการองคการธุรกิจ การบริหารจัดการทีมงาน หลักธรรมาภิบาลและ
ความรับผิดชอบตอสังคม วัฒนธรรมองคการ การจัดการการเปล่ียนแปลงและการจัดการเส่ียงในยุคดิจิทัล การ
บริหารทรัพยากรมนุษย ทักษะสําหรับตลาดแรงงานสากล ภาวะผูนํา ความสมดุลแหงชีวิตและการทํางาน และ
กรณศี กึ ษา
Concepts, theories and principles of business organization management; team
management; good governance principle and corporate social responsibility; organizational culture;
change management and risk management in digital era; human resource management; skills for
international labor market; leadership; the balance between life and work; and case studies.

1101103 การจดั การโลจิสตกิ สแ ละหว งโซอปุ ทาน 3(3-0-6)
(Logistics and Supply Chain Management)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิด ทฤษฎีและกลยุทธดานการจัดการโลจิสติกสและหวงโซอุปทานในยุคดิจิทัล การพยากรณ
การวางแผนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การจัดการสินคาคงคลังและการจัดการคลังสินคา การเลือกทําเลท่ีตั้ง
การจัดซ้ือ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีในหวงโซอุปทาน การขนสง กรณีศึกษาจากธุรกิจที่สอดคลองกับ
สถานการณปจ จบุ นั และการประยกุ ตโดยใชท ฤษฎที ่เี รยี น
Concepts, theories and strategies of logistics and supply chain management in the digital
era; forecasting; production planning; quality control; inventory and warehouse management; location
selection; procurement; information system and technology in supply chain; transportation; case
studies related to current situations; and application of learned theories.

1101104 การจดั การธรุ กจิ แบบองครวม 3(3-0-6)
(Holistic Business Management)
วชิ าบังคบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิด ทฤษฏี และบทบาทของการจัดการธุรกิจ การบริหารการคาปลีกและการสรางขอไดเปรียบ
ทางการแขงขัน กลยุทธการเจริญเติบโตในธุรกิจการคาสมัยใหมและระบบเฟรนไชส ประเภทของธุรกิจการคา
สมัยใหม การจัดหาทําเลที่ตั้งและรูปแบบการออกแบบรานคาสมัยใหม พฤติกรรมผูบริโภคกับการบริหารรานคา
การบริหารพ้ืนที่ขายและสินคา และเทคนิคนําเสนอสินคาใหแกลูกคา การบริหารความขัดแยงภายในรานคา การ
วางแผนการเลือกสรรสินคาและการบริหารสินคาคงคลัง ระบบการซื้อ และการตั้งราคา การบริหารทรัพยากร
มนษุ ย การบญั ชแี ละการเงิน การจัดการทางการตลาดแบบ Omni Channel และ Multi-Channel การประยกุ ตใช
เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม และสังเคราะหประเด็นการจัดการธุรกิจการคา
สมยั ใหม

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 39

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
Concepts, theories and roles of business management; the retail business management
and creating competitive advantages; growth strategies in modern trade business and franchise
system; types of modern trade business; location selection and designing of store layout; consumer
behaviors and store management; store space and merchandise management; techniques of
merchandise presentation to customers; conflict management within the store; products selection
planning and inventory management; purchasing system and pricing strategies; human resource
management; accounting and financial management; Omni Channel and Multi-Channel marketing
management; application of online social networks for modern trade business management; and
synthesis of modern trade business management issues.

1101105 การตลาดดิจทิ ลั 3(3-0-6)
(Digital Marketing)
วิชาบังคบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
การวเิ คราะหส ภาวะแวดลอมทางการตลาดดิจทิ ัล วิเคราะหพ ฤติกรรมผูบรโิ ภค กาํ หนดกลุมเปาหมาย
ทางการตลาด การสรางแบรนดในยุคดิจิทัล การพัฒนาการตลาดเชิงเนื้อหา การออกแบบการตลาดผานทางเว็บ
ไซดและสื่อสังคมออนไลน การพัฒนาการตลาดผานทางผูมีอิทธิพล กลยุทธการตลาดดวยเครื่องมือคนหา การ
เลือกสรรผลิตภัณฑเพ่ือขาย การประยุกตใชองคความรูการตลาดดิจิทัลรูปแบบท่ีหลากหลายเพื่อสรางธุรกิจ
ออนไลนและกลยุทธการชําระเงินออนไลน การออกแบบกลยุทธการตลาดดิจิทัล การประเมินผลความสําเร็จของ
การตลาดดิจิทลั ตลอดจนจรยิ ธรรมในการทําการตลาดดจิ ิทลั
Digital marketing environmental analysis; consumer behavior analysis; determination
of the marketing target group; creating brands in digital age; content marketing development;
marketing design via website and online social media; marketing development via influential
people; search engine marketing strategies; selection of products for sales; applying various
models of digital marketing body of knowledge to create online business and online payment
strategies; designing digital marketing strategies; evaluation of the success of digital marketing; and
digital marketing ethics.

1101106 การบัญชีและการเงินเพือ่ การจัดการธุรกจิ 3(3-0-6)
(Accounting and Finance for Business Management)
วิชาบังคบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
หลกั การทางบัญชี การวเิ คราะหและคํานวณตนทุนสินคาเพื่อการกําหนดราคาขาย การวางแผนเพ่ือ
การควบคุมความเส่ียง การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การจัดหาแหลงเงินทุน การวิเคราะหงบลงทุน ตลอดจนการ
วิเคราะหข อมูลทางการบัญชีและการเงนิ เพ่ือการประเมนิ ตดั สินใจทางธรุ กิจ ภายใตก รณศี กึ ษาในยคุ ดจิ ิทลั
Principles of accounting; analysis and calculation of product costs for determination of
selling prices; planning for risk control management; working capital management; sourcing of funds;
capital budgeting analysis; and accounting and financial statement analysis for business decision
making under case studies in digital era.

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน 40
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2.2) กลมุ วิชาบงั คบั 3(0-6-3)
1112102 การขายและเอกลกั ษณการบรกิ าร
(Sales and Signature Service)
วิชาบงั คับกอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการขายและมาตรฐานการบริการโดยการศึกษาคุณสมบัติของพนักงานขาย การฝกฝน
ทักษะที่เหมาะสม การวิเคราะหลักษณะและความตองการของผูบริโภคและกระบวนการตัดสินใจซ้ือของผูบริโภค
การพัฒนาเทคนิคการขายสินคา การแกไขปญหาระหวางการขายและการบริการ การกําหนดเปาหมายในการขาย
รวมถึงการสรุปรายงานยอดขาย การอภิปรายกรณีศึกษาเก่ียวกับจรรยาบรรณในการขายและการบริการประกอบ
กับการฝกฝนทักษะพ้ืนฐานดานการดําเนนิ ธรุ กิจในเชิงผูประกอบการ การฝกปฏิบัติการทดลองขายสินคาภายนอก
ชนั้ เรยี นพรอมจดั ทาํ รายงานสรุปผลและนําเสนอผลงาน
The practice of sales and signature service by studying the qualifications of
salespeople; training on suitable skills; analysis of consumer characteristics and needs, and the
purchasing decision making process; sales techniques development; problem solving during the
sales and service process; setting sales goals, including a sales conclusion report; discussion of
case studies on sales and service ethics, as well as practice of basic entrepreneurial skills; and
practice on product sales outside of classroom, including preparation of brief reports and
presentations.

1112103 การจัดการผลติ ภณั ฑในธรุ กจิ การคาสมัยใหม 3(3-0-6)
(Product Management for Modern Trade Business)
วิชาบังคบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
กระบวนการจัดการผลิตภัณฑในธุรกิจการคาสมัยใหม การจัดเก็บรักษาและการคงสภาพผลิตภัณฑ
ฉลากผลิตภัณฑ หลักการควบคุมคุณภาพ การจัดการความปลอดภัย รวมถึงการบริการและการจัดจําหนาย
ผลติ ภัณฑใ นธุรกิจการคา สมัยใหม
The product management processes in modern trade business; storage and
preservation of the products; product labels; principles of quality control; safety management;
and service and product distribution in modern trade business.

1112104 พฤติกรรมลูกคาและการวเิ คราะหขอมูล 3(0-6-3)
(Customer Behaviors and Data Analysis)
วชิ าบังคบั กอน : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลทางธุรกิจ ลักษณะและขอมูลของประเภทธรุ กิจ แหลงท่ีมาของ
ขอมูล ประเภทของกลุมลูกคาเปาหมาย การวิเคราะหขอมูลพฤติกรรมของผูบริโภค รวมท้ังการตัดสินใจซื้อ การ
จดั การขอ มูลขนาดใหญผา นเครื่องมือท่ใี ชในการติดตามขอมลู และการแปลผลของขอมลู เพ่อื ใชใ นการตัดสนิ ใจทาง
ธรุ กิจตลอดจนการจัดทาํ รายงานเพ่ือการวางแผนธุรกิจ

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 41
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
The practice of business information analysis; characteristics and types of business
information; business information sources; types of target customer group; customer behavior analysis
including customer purchasing decision making behaviors; big data management through tracking
tools; and interpretation of information for business decision making and preparation of reports for
business planning.

1112205 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางธุรกิจ 3(3-0-6)
(Business Laws and Ethics)
วิชาบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมาย โดยศึกษาเชิงผสมผสานกับสังคมยุคดิจิทัลและในสวนท่ีเก่ียวของ
กับกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ กฎหมายภาษีอากร พระราชบัญญัติอาหาร กฎหมายธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส กฎหมายทรัพยสินทางปญญา กฎหมายการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร จริยธรรมทาง
ธุรกิจ และกรณีศึกษา
Concepts, theories and principles of law, with integrated study of laws in the digital
society that are related to business operations; tax laws; the Food Act; electronic transactions
laws; intellectual property laws; computer criminal laws; business ethics; and case studies.

1112206 การจดั ซอ้ื ในธุรกจิ การคาสมัยใหม 3(3-0-6)
(Procurement Management in Modern Trade Business)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเก่ียวกับกระบวนการและวิธีการปฏิบัติในการจัดซื้อ การแสวงหาความ
ตองการของลูกคา การเจรจาตอรอง การจัดเก็บและควบคุมสินคาคงคลัง การหาความตองการของลูกคา การ
แสวงหาแหลงผูขายที่เหมาะสม วิธีการคัดเลือกผูขาย การควบคุมและประเมินคุณภาพผลิตภัณฑในกระบวนการ
จัดซ้ือจัดหา การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนฐานขอมูลในกระบวนการสั่งซ้ือ และการสื่อสารที่เกี่ยวของกับ
กระบวนการการจดั ซอ้ื
Concepts, theories and principles of procurement process and practice methods; seeking
customer needs; conducting negotiations; products inventory and warehouse management; customer
needs assessment; the search for appropriate seller sources; methods of seller selection; the product
quality control and evaluation in the procurement process; using information technology as a
database in the ordering process; and communications related to the procurement process.

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน 42
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1112307 การจัดการนวตั กรรมทางธรุ กิจดจิ ทิ ัล 3(0-6-3)
(Innovation Management in Digital Business)
วชิ าบังคับกอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการจัดการนวัตกรรม การวิเคราะหจําแนกประเภทของนวัตกรรม แหลงท่ีมาและ
กระบวนการสรางนวัตกรรม การวิเคราะหทรัพยสินทางปญญาเพ่ือการพัฒนาและการจัดการนวัตกรรม การ
อภปิ รายกรณีศกึ ษาเกีย่ วกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม ตลอดจนการกําหนดกลยุทธ
สาํ หรบั การแพรกระจายนวตั กรรมทีส่ อดคลอ งกบั พฤติกรรมผูบริโภค
The practice of innovation management; the classification analysis of types of
innovations; the sources and process of innovation creation; the analysis of intellectual property
for development and management of innovations; discussion on case studies related to
technological change and innovation management; and determination of strategies for distribution
of innovations that are in trend with consumer behaviors.

1112308 การเปนผปู ระกอบการทางธุรกิจ 3(0-6-3)
(Entrepreneurship for Business)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏบิ ัติเบอื้ งตนเกี่ยวกบั การเปนผูประกอบการในธรุ กจิ แนวคิดและแนวทางเสริมสรางเจคติ ภาวะ
ผูนํา การทํางานเปนทีมซ่ึงมีความหลากหลาย ทักษและกระบวนการคิดในแกปญหา แนวทางการสรางสรรค
นวัตกรรมท่ียกระดับประสิทธิภาพในการการดําเนินธุรกิจ การบูรณาการทั้งดานการตลาด การผลิต บุคลากร
การเงิน และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการพัฒนาธุรกิจใหมและกิจการใหมจากการวิเคราะหแยกแยะโอกาส
ทางธรุ กิจที่สอดคลอ งกับความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอม
The preliminary practice on entrepreneurship in business; concepts and approaches
of enhancing leadership attitude; diversified teamwork; skills and processes of problem solving;
approaches for creating innovations to upgrade the efficiency of business operation; functional
integrations of marketing, production, personnel, finance, and information technology; and
development of new businesses and ventures from the analysis to identify business opportunities
consistent with the changing environment.

สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน 43
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1112151 การเรียนรูภาคปฏบิ ตั ดิ านการจัดการธุรกจิ การคา สมยั ใหม 1 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 1)
วิชาบงั คบั กอ น : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบัติการดา นการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการทท่ี างสถาบัน
กําหนด โดยเนื้อหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับพนักงาน ที่เก่ียวกับ
กฎระเบียบการปฏิบัติงานภายในรานคาปลีกสมัยใหม การสังเกตพฤติกรรมผูบริโภค การบริการลูกคาตาม
มาตรฐาน การพัฒนาเทคนิคการขายสินคา การแกไขปญหาระหวางการขายและการบริการ การจัดเรียงสินคา
การดูแลอุปกรณ การทําความสะอาดพื้นท่ีขาย และความปลอดภัยในการทํางานท้ังภายในและภายนอกราน
โดยประยุกตใชองคความรูและเคร่ืองมือดานการจัดการธุรกิจ ภายใตการดูแลของครูฝกในสถานประกอบการและ
บุคลากรพี่เลี้ยง ประเมินผลการปฏบิ ัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัตงิ าน ผลประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนา งาน
และการประยกุ ตสิ่งทีเ่ รียนรูจากการปฏิบัติไปสกู ารจัดทาํ โครงงานนวตั กรรมธุรกิจการคาสมยั ใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a sale associate level.
Trainings related to training regulations in modern trade store, observing customer behavior,
servicing customers at a standard practice, developing sale technique, problem solving during
sales and services practice, stocking items, maintaining equipment, maintaining store floor’s
cleanliness appearance and both in and outside store safety operation. Doing so by applying
knowledge and business management tools. Under the supervision of store mentor and trainer.
Performance assessment based on a length of training, assessment by store mentor and the
application of work-based learning in the development of an innovation project.

1112152 การเรียนรูภาคปฏิบัตดิ า นการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม 2 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 2)
วิชาบังคบั กอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝก ปฏบิ ัตกิ ารดา นการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการท่ีทางสถาบัน
กําหนด โดยเน้ือหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับพนักงาน ท่ีเก่ียวกับ
การวิเคราะหสภาวะแวดลอมทางการตลาดดิจิทัล กําหนดกลุมเปาหมายทางการตลาด การสรุปรายงานยอดขาย
การตรวจสอบความสะอาดพื้นที่รา น และอปุ กรณภายในรานตามมาตรฐาน การบริหารการขายประจําผลดั ปฏบิ ตั ิ
ตนอยางมีวินัย ขยัน มุงม่ัน ทุมเท ปรับตัวเขากับสถานการณ และเคารพและปฏิบัติตามกฎเกณฑขององคกรและ
สังคมอยางซื่อสัตยสุจริต ภายใตการดูแลของครูฝกในสถานประกอบการและบุคลากรพี่เลี้ยง ประเมินผลการ
ปฏิบัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน และการประยุกตสิ่งที่เรียนรู
จากการปฏิบัติไปสกู ารจดั ทาํ โครงงานนวตั กรรมธรุ กิจการคาสมัยใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a sale associate level.
Trainings related to the analysis of digital marketing environment, formed target market, summarized
a daily sale report, checking a store’ cleanliness appearance and a store’s equipment standard. Sale
management during shift work. Conducting with self-discipline, diligence, determine, commitment,

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 44
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
adaption ability and respect and follow an organization’s rules and regulation and a society with an
integrity under supervision of a store mentor and trainer. Performance assessment based on a length
of training, assessment by store mentor and the application of work-based learning in the
development of an innovation project.

1112253 การเรยี นรภู าคปฏิบัตดิ า นการจัดการธรุ กจิ การคาสมัยใหม 3 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 3)
วชิ าบงั คบั กอน : ไมมี
(Prerequisite Course: None)
ฝก ปฏิบัติการดานการจัดการธุรกิจการคา สมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการทีท่ างสถาบัน
กําหนด โดยเนื้อหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับพนักงานอาวุโส
ที่เกี่ยวกับการวิเคราะหพฤติกรรมและความตองการของผูบริโภค การวิเคราะหสถานการณและปฏิบัติงานอยาง
เปนระบบ การบริหารและจัดการสินคา การเติมและจัดเรียงสินคา ตรวจสอบสินคาเส่ือมคุณภาพและสินคา
หมดอายุ การจัดการและควบคุมอาหารปลอดภัย (สุขาภิบาลอาหาร) ภายใตการดูแลของครูฝกในสถาน
ประกอบการและบุคลากรพ่ีเล้ียง ประเมินผลการปฏิบัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการ
ปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน และการประยุกตสิ่งที่เรียนรูจากการปฏิบัติไปสูการจัดทําโครงงานนวัตกรรมธุรกิจ
การคาสมยั ใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a senior sale associate
level. Trainings related to the analysis of customer behavior and customer’s demand, the analysis of
situation and systematic training, management and restocking items, checking items quality and
expiration date, management and food safety and sanitation control. Under the supervision of store
mentor and trainer. Performance assessment based on a length of training, assessment by store
mentor and the application of work-based learning in the development of an innovation project.

1112254 การเรยี นรภู าคปฏบิ ัติดานการจดั การธุรกิจการคาสมยั ใหม 4 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 4)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏิบตั กิ ารดานการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการที่ทางสถาบัน
กําหนด โดยเนื้อหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับพนักงานอาวุโส
ท่ีเกย่ี วกับการส่ือสารขอมลู กบั พนักงานในราน การบริหารจดั การทีม และการทํางานรว มกับผูอนื่ หลกั ธรรมาภบิ าล
และความรับผิดชอบตอสังคม วัฒนธรรมองคการ การบริการแบบ Friendly Service การรับการตรวจนับสินคา
ควบคุมและรักษามาตรฐานระบบรานคุณภาพ ภายใตการดูแลของครูฝก ในสถานประกอบการและบุคลากรพเ่ี ลย้ี ง
ประเมินผลการปฏิบัติงานจากเวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน และการ
ประยกุ ตส งิ่ ทเี่ รียนรูจากการปฏบิ ัติไปสูการจัดทําโครงงานนวัตกรรมธรุ กจิ การคาสมยั ใหม

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 45
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a senior sale associate
level. Trainings related to data communication with co-worker, team management and teamwork,
good governance and social responsibility, organizational culture, friendly services, inspect product
and stock checking, controlling and maintaining store quality standard operating practice. Performance
assessment based on a length of training, assessment by store mentor and the application of work-
based learning in the development of an innovation project.

1112355 การเรยี นรูภ าคปฏิบัตดิ า นการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม 5 3(0-40-0)
(Work-based Learning in Modern Trade Business Management 5)
วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี
(Prerequisite Course: None)
ฝกปฏบิ ตั ิการดา นการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมอยา งเปนระบบในสถานประกอบการทท่ี างสถาบัน
กําหนด โดยเน้ือหาของการฝกปฏิบัติประกอบไปดวยการปฏิบัติงานในรานคา สําหรับระดับหัวหนางานในระดับ
ผูชวยผูจัดการแผนกหรือผูชวยผูจัดการราน ที่เกี่ยวกับมาตรฐานระบบรานคุณภาพ กระจายและบริหารเปาหมาย
บริหารทรัพยากรอุปกรณ การบริหารจัดการดานการเงิน การบริหารงบกําไร-ขาดทุน การตรวจสอบและวิเคราะห
ผลดําเนินงานราน การวางแผน ตัดสินใจเชิงรุก กลาเผชิญปญหา แกไขปญหาอยางสรางสรรค ตามกระบวนการ
สรางนวัตกรรม ภายใตการดูแลของครูฝกในสถานประกอบการและบุคลากรพี่เล้ยี ง ประเมินผลการปฏิบัตงิ านจาก
เวลาในการฝกปฏิบัติงาน ผลประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน และการประยุกตสิ่งท่ีเรียนรูจากการปฏิบัติ
ไปสกู ารจัดทาํ โครงงานนวัตกรรมธรุ กิจการคาสมยั ใหม
Systematic practice of modern trade business management at the workplace that
selected by the institution. The store operation training course designed for a supervisor or a store
assistant manager level. Trainings related to store quality standard operating practice, distribution and
goal management, equipment resource management, financial management, profit and loss
management, auditing and analyzing store performance, planning and proactive decision making,
handling problem, creative problem solving according to innovation process. Under the supervision
of store mentor and trainer. Performance assessment based on a length of training, assessment by
store mentor and the application of work-based learning in the development of an innovation project.

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 46
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั


Click to View FlipBook Version