The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suampon Porsmithikun, 2021-12-03 04:57:30

4.2 MTM-65

MTM

มคอ.2

Course Learning Outcomes: CLOs ศกึ ษา
(ความรู ทกั ษะ และ ทศั นคต)ิ ในชั้น
PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9 PLO10 PLO11 ป

√√ √ 3,4
√√ 3,4
√√ √ 3,4
√ √ √ 3,4
√√ 3,4
√√ 3,4
3,4
√√√ 3,4
√√ √ 3,4
√√ √ 3,4
√√ 3,4
3,4
√ 3,4
√√ √ 3,4
√ 3,4
√ 3,4


√√

85
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑใ นการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรอื หลกั เกณฑใ นการใหร ะดับคะแนน (เกรด)
การวัดผลและประเมินผลการศกึ ษา ใชระบบการใหคาระดบั คะแนน และ ไมมีคาระดับคะแนน ดังน้ี
1) การใหคะแนนแบบมคี า ระดับคะแนน แบง เปน 8 ระดับ ดงั น้ี
A คาระดบั คะแนน เทากบั 4.0
B+ คา ระดบั คะแนน เทากบั 3.5
B คา ระดับคะแนน เทากบั 3.0
C+ คา ระดับคะแนน เทากับ 2.5
C คา ระดบั คะแนน เทากบั 2.0
D+ คา ระดบั คะแนน เทา กับ 1.5
D คาระดบั คะแนน เทากับ 1.0
F คาระดับคะแนน เทา กับ 0
2) การใหคะแนนแบบไมมีคาระดับคะแนนในบางรายวิชา จะใหคะแนนเปน S หรือ U โดยมี

ความหมาย ดังน้ี
S หมายถึง ผลการประเมินผา นตามเกณฑ
U หมายถึง ผลการประเมนิ ไมผ า นตามเกณฑ

ท้ังน้ี การวัดผลและประเมินผลการศึกษา เปนไปตามขอบังคับสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
วา ดว ยการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนักศกึ ษา
1) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรขู ณะนักศกึ ษายงั ไมส ําเร็จการศกึ ษา
(1) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและ/หรืออาจารยท่ีไดรับมอบหมายตรวจสอบรายละเอียดของ

รายวิชา การฝกประสบการณภาคปฏิบัติ ประเมินขอสอบ หรือผลการเรียนรูของแตละรายวิชา รวมท้ังกํากับให
สอดคลองกับมาตรฐานผลการเรยี นรูของหลักสตู ร

(2) การประเมินผลของแตละรายวิชาตองผานท่ีประชุมของคณะวิชาหรือคณะกรรมการท่ีคณะวิชา
แตง ตงั้ กอนประกาศผลสอบ

(3) พิจารณาจากรายงานการประเมินผลการฝกงานในรายวิชาการเรียนรูภาคปฏิบัติดานการจัดการ
ธรุ กิจการคา สมยั ใหม ซง่ึ ทางสถานประกอบการเปน ผูรายงานวา นกั ศึกษาปฏิบตั ิงานไดต ามมาตรฐานหรือไม

(4) ผูท รงคุณวฒุ ภิ ายนอกหรอื ภายในสถาบนั มีสว นรวมในการทวนสอบผลการเรยี นรู
(5) นกั ศกึ ษาประเมนิ การเรยี นการสอนในระดับรายวิชา โดยใชประเมินผลการเรยี นรูด านตางๆ.
2) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรหู ลงั จากนกั ศึกษาสําเรจ็ การศกึ ษา
(1) ใชแบบประเมินศักยภาพทางความรูและทักษะที่เกี่ยวของในวิชาชีพ เพื่อประเมินนักศึกษาท่ี
สําเรจ็ การศึกษาวามคี วามพรอ มที่จะกา วเขาสตู ลาดแรงงานในวชิ าชพี
(2) พิจารณาผลการประเมินจากผูใชบัณฑิต โดยประเมินระดับความพึงพอใจในดานความรู ความ
พรอมของบณั ฑิตทีจ่ บการศึกษาและเขาทาํ งานในสถานประกอบการน้ันๆ

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 86
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
3. เกณฑก ารสาํ เร็จการศึกษาตามหลกั สูตร

1) เรียนครบตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร ครบถวนตามเกณฑข้ันต่ําของแตละรายวิชา
และเกณฑก ารสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร

2) มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAx) ของรายวิชาท้ังหมดท่ีนักศึกษาไดศึกษา ไมตํ่ากวา 2.00 จาก
ระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทยี บเทา

3) ผานการฝกปฏิบัตงิ านตามเกณฑทแ่ี ตล ะหลกั สตู รกําหนด
4) ความประพฤตดิ ี และไมมหี นส้ี นิ ใด ๆ ตอ สถาบัน
5) นักศึกษาทีโ่ อนหนว ยกติ จากสถาบันอ่นื ตองมีคุณสมบัติตามทีส่ ถาบันกําหนด
6) อื่น ๆ เปนไปตามขอบังคับสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี
พ.ศ. 2560

สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน 87
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดท่ี 6 การพัฒนาอาจารย

1. การเตรียมการสาํ หรับอาจารยใหม
1.1) มกี ารปฐมนิเทศแนะแนวการเปน ครแู กอ าจารยใ หม ใหม คี วามรูและเขาใจนโยบายของสถาบนั คณะ

ตลอดจนในหลักสูตรทส่ี อน
1.2) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอนและการวิจัย

อยางตอเนื่อง การสนับสนุนดานการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตา ง ๆ การประชุม
ทางวิชาการทง้ั ในประเทศและ/หรอื ตา งประเทศ หรือการลาเพ่อื เพิม่ พูนประสบการณ

2. การพฒั นาความรูและทกั ษะใหแกค ณาจารย
2.1 การพฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ ผล
1) การสงเสริมอาจารยใหเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพ่ือสงเสรมิ การสอนและการวิจยั

อยางตอ เนือ่ ง
2) การพฒั นาอาจารยใ นดา นการสอนระดบั อดุ มศกึ ษา
3) สนบัสนุนอาจารยดานการศกึ ษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตางๆ การ

ประชมุ วชิ าการทัง้ ในประเทศและ/หรอื ตา งประเทศ หรือการลาเพอ่ื เพม่ิ พนู ประสบการณ
4) การเพิ่มพนู ทกั ษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทนั สมัย

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชพี ดานอนื่ ๆ
1) การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและคุณธรรมในสาขา

วิชาชีพ
2) การกระตนุ อาจารยทําผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวชิ า
3) การสงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหมเปนหลักและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและมี

ความเช่ยี วชาญในสาขาวิชาชพี
4) การสงเสริมอาจารยในดานการผลิตสื่อเพื่อชวยในการเรียนการสอน ทั้งนี้ เพ่ือใหสอดคลองกับ

การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี เชน
- การอบรมการสรา งสือ่ การสอน
- การจัดการเรยี นรูผ านเกมส
- การอบรมเชิงปฏิบัติการเกีย่ วกับ Learning Outcomes
- การเขยี น มคอ.3+ เพื่อการสอน
- การจดั การเรียนการสอนผา นระบบออนไลน เชน Microsoft Teams, ZOOM

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 88
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร

หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการธรุ กจิ การคา สมัยใหม หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 มี
การบริหารจดั การหลกั สตู รใหเปน ไปตามเกณฑม าตรฐานหลักสตู รทปี่ ระกาศใช และตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ
ระดบั อดุ มศึกษาแหง ชาติ

1. การกาํ กับมาตรฐาน
ในการบริหารหลักสูตร จะมีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรจํานวน 5 คน โดยมีคณบดีเปนผูกํากับดูแล

และคอยใหคาํ แนะนาํ ตลอดจนกาํ หนดนโยบายปฏิบตั ิใหแกอ าจารยผรู ับผดิ ชอบหลักสตู ร
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรจะวางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับผูบริหารของคณะ อาจารย

ผูสอน ผูชวยสอนรายวิชา ติดตามและรวบรวมขอมูล สําหรับใชในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรโดยกระทําทุกป
อยางตอ เน่อื ง รวมท้งั มีขึ้นตอนการดําเนินงานดงั น้ี

1.1 จดั ใหมกี ารประกันคณุ ภาพภายใน
1.2 จดั ใหมกี ารรายงานผลการประกันคณุ ภาพภายในตอสถาบัน
1.3 จดั ใหมีการนําผลประเมนิ มาปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู ร
1.4 จดั ใหตวั บง ช้แี ละเกณฑการประเมนิ ควรมีอยางนอย 5 ขอดังตอ ไปน้ี

1.4.1 มกี ารพัฒนาปรบั ปรุงหลักสูตรมีการจดั การเรยี นการสอน
1.4.2 มีการวางแผนการดาํ เนินงานหลกั สตู ร ดงั น้ี

1.4.2.1 จดั ทาํ รายละเอียดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2
1.4.2.2 จดั ทาํ รายละเอียดของรายวชิ า ตามแบบ มคอ.3
1.4.2.3 จัดทาํ รายละเอยี ดประสบการณภ าคสนาม ตามแบบ มคอ.4
1.4.3 มีการดําเนินการตามแผนและจัดรายงานผล ดงั นี้
1.4.3.1 รายงานผลการดําเนนิ การรายวชิ า ตามแบบ มคอ.5
1.4.3.2 รายงานผลการดําเนนิ การประสบการณภาคสนาม ตามแบบ มคอ.6
14.3.3 รายงานผลการดําเนนิ การหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.7
1.4.4 จดั ใหมกี ารปรบั ปรุงการจดั การเรยี นการสอน กลยุทธก ารสอน และการประเมนิ ผลการเรียนรู
จากการประเมินผลการดําเนินงานทีผ่ า นมา
1.4.5 จัดใหมีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 89
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
2. บณั ฑติ

คุณภาพบัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ. 2565 เปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ โดยพิจารณาจากผลลัพธการ
เรยี นรู ดงั นี้

2.1 เปน นกั จัดการธุรกิจ มีความคิดสรา งสรรค คดิ วเิ คราะห และแกปญ หาเฉพาะหนา ไดอ ยางเหมาะสม
2.2 มีความสามารถในการนําความรูและประสบการณจากการฝก ปฏิบตั ิงานไปประยุกตใชในชวี ิตจริง
2.3 สามารถใชภาษาและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่ือการสื่อสารไดอยางดี
2.4 มีคณุ ธรรม ความเปนผนู าํ และใฝร ูอยางตอเนื่อง
3. นักศึกษา
3.1 การรับนกั ศกึ ษา

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565
มีการกําหนดเปา หมายและคณุ สมบัตใิ นการรับนักศึกษาจากแผนกลยุทธสถาบนั และคณะบรหิ ารธุรกิจ โดยผูส มัคร
ตองมีคุณสมบัติเปนไปตามระเบียบสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒนวา ดวยคุณสมบัติของผูเขาศึกษาระดับปริญญา
ตรี กําหนดหลักเกณฑและเคร่ืองมือในการคัดเลือกนักศึกษา โดยใชหลักเกณฑการออกขอสอบคัดเลือก ขอสอบ
พนื้ ฐานจากหลักสูตรระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

3.2 การเตรยี มความพรอมกอนเขาศกึ ษา
หลักสูตรมีการจัดกิจกรรมเพื่อใหอาจารยท่ีปรึกษาแนะแนวการศึกษา การลงทะเบียนเรียน การ

เตรยี มความพรอมการใชช ีวิตในสถาบันอุดมการศึกษา การปรบั พนื้ รายวิชา และการจัดอบรมเพื่อใหมีความรูความ
เขา ใจกอ นการลงฝก ปฏิบัตงิ าน

3.3 การควบคมุ การดูแล การใหค ําปรึกษา และการแนะแนวนกั ศึกษา
หลักสูตรมีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาเพ่ือควบคุมและดูแลการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะ

แนวแกนักศึกษา โดยมีการจัดช่ัวโมงใหนักศึกษาปรึกษา รวมถึงเปดชองทางการติดตอสื่อสารท่ีสะดวก เชน
โทรศัพทมือถือ อีเมล และชองทางออนไลน เปนตน โดยการใหคําปรึกษาจะจัดทําเปนบันทึกการใหคําปรึกษา
นักศึกษา เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุง พัฒนา แกไขปญหา หรือเปนขอมูลประกอบเพ่ือสงตอหนวยงานอื่นๆ ท่ี
เก่ียวของ

ท้ังนี้ หลักสูตรมีการดําเนินการพัฒนาทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ใหแกนักศึกษา เพื่อเตรียม
ความพรอมนักศึกษาเขาสูโลกการทํางานที่มีความซับซอนมากข้ึนในปจจุบัน ไดแก ความคิดริเริ่มสรางสรรคและ
นวัตกรรม การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณและการแกปญหา การสือ่ สารและการรวมมอื นอกจากนี้ ยังมกี ารจัดกจิ กรรม
พฒั นานกั ศกึ ษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิของหลักสตู รทงั้ 5 ดาน ไดแก ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดาน
ทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิง
ตัวเลข การสอ่ื สารและการใชเทคโนโลยีดิจิทลั เชน การสรา งความผูกพันระหวางอาจารยและนักศกึ ษา (Teacher-
Student Relationship: TSR)

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 90
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
4. อาจารย

หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 มี
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรจํานวน 5 คน โดยมีคณบดีเปนผูกํากับดูแลและคอยใหคําแนะนํา ตลอดจนกําหนด
นโยบายใหอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร มีกระบวนการบริหารและพัฒนาอาจารยตั้งแตระบบการรับอาจารยใหม
การคัดเลือกอาจารย ความเช่ียวชาญทางสาขาวิชาและมีความกาวหนาในการผลิตผลงานทางวิชาการ มี
รายละเอยี ดดังนี้

4.1 กําหนดคุณสมบัตขิ องอาจารยโ ดยพจิ ารณาจากคุณวุฒิ สาขาวชิ าทจี่ บ ประสบการณท่ีเกี่ยวของ และ
เกณฑม าตรฐานการสรา งหลักสูตรของสาํ นกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวตั กรรม

4.2 ดําเนนิ การขออนมุ ตั อิ ัตรากาํ ลงั
4.3 สํานกั ทรัพยากรมนษุ ยประชาสมั พนั ธรบั สมคั รอาจารยต ามคุณสมบัติที่หลักสูตรกาํ หนด
4.4 สาํ นกั ทรพั ยากรมนษุ ยต รวจสอบคุณสมบตั แิ ละสมั ภาษณเ บื้องตน
4.5 คัดเลอื กบุคลากรผา นการสมั ภาษณโดยผูบรหิ ารของสถาบันและตนสงั กดั
4.6 สํานักทรัพยากรมนุษยสรุปผลการสัมภาษณ และชี้แจงรายละเอียดการลงนามในสัญญาจางแก
บุคลากรใหม
4.7 สาํ นักทรพั ยากรมนษุ ยจดั ปฐมนเิ ทศ

(1) บุคลากรใหม แนะนําสถาบัน ระเบียบขอบังคับตางๆ ดานการปฏิบัติงาน สวัสดิการ และ
ผลประโยชน จรรยาบรรณของบคุ ลากร รวมทงั้ มาตรการอ่ืนๆ ทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การทาํ งาน

(2) อาจารยใหม ชี้แจงขอมูลเก่ียวกับกรเรียนการสอนและภาระหนาท่ีตางๆ ในความรับผิดชอบ
ประกอบดว ยหัวขอตางๆ ดงั นี้

- แนวปฏิบัติของอาจารยผูสอน อาจารยท่ีปรึกษา (Teacher-Student Relationship: TSR) ระบบการ
เรียนการสอนของสถาบนั การจดั ทาํ มคอ. 3-6 ระบบงานทะเบียน โดยสาํ นกั สงเสรมิ วชิ าการ

- การทําวิจัย การขอทุนวิจัย มาตรการสงเสริมการวิจัย การประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารยโดย
นักศกึ ษาผา นระบบออนไลน โดยสาํ นักวิจยั และพฒั นา

- การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา บุคลิกภาพและอัตลักษณของนักศึกษา สวัสดิการนักศึกษา เชน
ทนุ การศกึ ษาของสถาบนั กยศ. กรอ. การประกนั อบุ ตั ิเหตุ โดยสาํ นกั กิจการนกั ศึกษา

4.8 กําหนดอาจารยพ่ีเลี้ยงใหแกอาจารยประจําหลักสูตรใหมทุกคน เพื่อใหอาจารยไดเกิดความคุนเคย
สามารถปรบั ตัวเขา กับวฒั นธรรมองคกร และพฒั นาขดี ความสามารถในการปฏิบตั ิงานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

4.9 ในกรณีท่ีหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงรายนามอาจารยประจําหลักสูตรหรือการแตงต้ังใหม ในการ
เสนอ/ปรับปรุงหลักสูตร ทางหลักสูตรจะเสนอรายชื่ออาจารยประจําหลักสูตรตามคุณสมบัติท่ีกําหนดในเกณฑ
มาตรฐานหลกั สูตร และเสนอรายชื่อใหสํานักสง เสรมิ วิชาการ

4.10 สํานักสงเสริมวิชาการนํารายชื่ออาจารยประจําหลักสูตรท่ีมีการแตงต้ังใหม/เปลี่ยนแปลง เขาที่
ประชมุ คณะกรรมการวิชาการเพอ่ื ขออนุมัติ หลังจากไดร ับอนุมตั จิ ะนําเขา ประชุมสภาสถาบันเพ่ือขออนุมัติตอไป

4.11 สํานักสงเสริมวิชาการนํารายชื่ออาจารยประจําหลักสูตรที่แตงต้ังใหม/เปล่ียนแปลง แจงหลักสูตร
และสาํ นกั งานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม เพ่ือรบั ทราบ

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 91
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
5. หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู รียน

หลักสูตรมีกระบวนการบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลอยางตอ เนื่อง โดยการออกแบบ
หลักสูตร ควบคุม กํากับการจัดทํารายวิชา การวางระบบผูสอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอนแตละ
รายวิชา การประเมินผูเรียน การกํากับใหมีการประเมินตามสภาพจริง มีวิธีการประเมินท่ีหลากหลาย การจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอน และผลการดําเนินงานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหงชาติ ดังนี้

5.1 การออกแบบหลกั สตู ร ควบคุม กํากบั การจัดทาํ รายวิชาตางๆ ใหม เี น้ือหาที่ทนั สมัย
5.1.1 กําหนดคณะทาํ งานยกรางหลกั สูตร
5.1.2 สํารวจความตองการ แนวโนมทิศทางการพัฒนาหลักสูตรจากผูที่เกี่ยวของ เชน ผูใชบัณฑิต

ผทู รงคณุ วุฒทิ างการศึกษา ผปู ระกอบการ ศษิ ยเกา ศษิ ยป จ จุบัน เปนตน
5.1.3 แตงต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู ร ประกอบดว ย
(1) คณบดีที่หลักสูตรสงั กดั หรอื คณาจารยประจําคนหน่งึ เปนประธานกรรมการ
(2) ผทู รงคุณวฒุ ิ ไมนอ ยกวา 2 คน เปนกรรมการ
(3) ผแู ทนองคก รวชิ าชีพ (ถา ม)ี 1 คน เปน กรรมการ
(4) คณาจารยผรู ับผิดชอบหลักสูตรไมนอยกวา 2 คน เปนกรรมการ โดยใหค นหนง่ึ ทําหนาท่ี

เปน เลขานุการดวย
ผทู รงคุณวุฒิตามขอ (2) ตองเปนผูทรงคุณวฒุ ิหรือผูเชี่ยวชาญในสาขาวชิ านั้นๆ และเปนบุคลากร

ภายนอกสถาบนั
5.1.4 ดาํ เนนิ การยกรา งหลักสตู รตามแผนงาน กรอบระยะเวลาพัฒนาหลกั สูตร
5.1.5 นําเสนอหลักสูตรเพอ่ื ขออนมุ ตั ิจากคณะกรรมการวิชาการ และสภาสถาบนั
5.1.6 ดําเนินการสงหลักสูตรที่ไดรับการอนุมัติจากสภาสถาบันไปยังสาํ นักงานปลัดกระทรวงการ

อุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม เพอื่ รับทราบการเห็นชอบและรบั รองหลกั สตู รของสถาบนั
5.2 การวางระบบผสู อนและกระบวนการจัดการเรยี นการสอนในแตละรายวชิ า
กําหนดผูสอนและการจัดตารางสอนรวมกบั คณะและสาํ นักสงเสรมิ วชิ าการ โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้
5.2.1 สํานักสงเสริมวิชาการรวบรวมขอมูลนักศึกษา จํานวนรายวิชาตามแผนการศึกษาของ

หลักสูตร และขอมูลอ่ืนๆ ในระบบ ไดแก ระเบียบ ขอกําหนดตางๆ แนวทางการดําเนินงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือเปน
ขอมูลสาํ หรับการจดั ตารางสอน

5.2.2 สํานักสงเสริมวิชาการแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการจัดตารางสอน ตารางสอบ และ
ตารางคมุ สอบ โดยมีตวั แทนของอาจารยทุกหลักสูตรรว มเปนคณะกรรมการ และตัวแทนสํานักสง เสริมวชิ าการเปน
เลขานุการ ทําหนาท่ีประสานงานดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการ เพ่ือกําหนดจํานวนผูสอน จํานวนรายวิชา
รปู แบบการเรยี นการสอนของแตล ะหลกั สตู ร

5.2.3 หลักสูตรพิจารณาคุณสมบัติของผูสอนทั้งอาจารยประจําและอาจารยพิเศษ โดยพิจารณา
จากคุณวุฒิ ความเช่ียวชาญ สําหรับอาจารยพิเศษจะมีคณะกรรมการสรรหาและวาจางอาจารยพิเศษพิจารณา
อนุมตั ิผสู อนทหี่ ลกั สูตรเชิญมาอีกคร้ัง

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 92
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

5.2.4 คณบดอี นมุ ัตริ ายชื่ออาจารยผสู อน และสงใหคณะกรรมการจดั ตารางสอนเพื่อดาํ เนนิ การ
5.2.5 ดําเนนิ การจดั ตารางสอน โดยมีรายละเอียดของรายวชิ า อาจารยผสู อน กลุม นกั ศึกษา และ
จาํ นวนนกั ศึกษาที่เรียน วันเวลาท่ที าํ การเรยี นการสอน
5.2.6 หลักสูตรตรวจสอบความถูกตองของตารางสอนและอนุมัติตารางสอนของแตละหลักสูตร
โดยคณบดตี นสังกัดของหลกั สูตร
5.2.7 สํานักสงเสรมิ วชิ าการประกาศตารางสอนประจําภาคการศึกษาผานระบบทะเบยี นของสถาบัน
5.3 การประเมนิ ผเู รยี น กํากับใหมกี ารประเมินตามสภาพจริง มีวิธีการประเมนิ ทห่ี ลากหลาย
แตงต้ังคณะกรรมการพิจารณาขอสอบ การวัดและประเมินผล เพ่ือกํากับติดตามการประเมิน
ผูเรียน และดําเนินการประเมินผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารวมกับคณะและสํานัก
สงเสรมิ วิชาการ โดยมีขั้นตอนดงั นี้
5.3.1 วางแผนประเมนิ ผลการเรียนรตู ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ โดย

(1) อาจารยผูสอนทําความเขาใจเน้ือหารายวิชาของหลักสูตร จุดมุงหมายของหลักสูตร
ตลอดจนคําอธบิ ายรายวิชา

(2) อาจารยผูสอนกําหนดน้ําหนักองคประกอบในการประเมินผูเรียนใหสอดคลองกับ
จุดเนนของรายวิชา โดยกําหนดน้ําหนักการเรียนรูใน มคอ.3 โดยพิจารณาตามแผนท่ีแสดงการกระจายความ
รับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) ท่ีระบุไวใน มคอ.2 ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศึกษา ดงั นี้

- ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
- ดา นความรู
- ดา นทกั ษะทางปญ ญา
- ดา นทักษะความสมั พนั ธร ะหวา งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
- ดานทักษะการวเิ คราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.2 อาจารยผูสอนแตละรายวิชาช้ีแจงเกณฑการประเมินผลการเรียนรูแกนักศึกษาในสัปดาห
แรกท่ีทาํ การเรียนการสอน
5.3.3 อาจารยผูสอนแตละรายวิชาดําเนินการเรียนการสอนพรอมทั้งประเมินผลนักศึกษาตามที่
กําหนดในรายละเอียดของรายวิชา มคอ.3 และ มคอ.4 (ถามี) การประเมินผลการเรียนรูจะใชการประเมินตาม
สภาพจริง ในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน ขอสอบอัตนัย การพิจารณาจากการทํารายงาน การสังเกตพฤติกรรม
นักศกึ ษา การทาํ งานตามท่ไี ดรับมอบหมาย และการฝกภาคปฏบิ ตั ิ
- คณะกรรมการวิชาการคณะพิจารณาขอสอบ การวัดและการประเมินผลการศึกษา จัด
ประชุมพจิ ารณาขอสอบ และแนะนาํ ใหอ าจารยผ ูส อนปรับแกตามมตทิ ี่ประชมุ
5.3.4 เมื่อทําการทดสอบแลว คณะกรรมการวิชาการคณะพิจารณาขอสอบ การวัดและ
ประเมินผลการศึกษาจะจดั ประชุมอกี ครง้ั เพ่อื พิจารณาดาํ เนนิ การทวนสอบผลสมั ฤทธข์ิ องรายวิชาในหลักสตู ร โดย
คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมนิ และความเหมาะสมของการใหคะแนนทุกภาคการศึกษา
5.3.5 อาจารยผ สู อนแตละรายวิชาจดั ทาํ รายงานผลการดําเนนิ งานของรายวิชา (มคอ.5)
5.3.6 ดําเนินการตรวจสอบความถูกตองและใหอาจารยแตละรายวิชาดําเนินการแกไขหากมี
ขอผดิ พลาด และสงใหก บั หลักสตู รตามระยะเวลาทกี่ ําหนด
5.3.7 ดาํ เนนิ การสงผลการศึกษาใหสํานกั สง เสริมวิชาการ เพือ่ ประกาศผลการศกึ ษา
5.3.8 ดาํ เนนิ การประชุมเพอื่ ประเมนิ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสตู รประจาํ ภาคการศกึ ษา
5.3.9 ดําเนินการรวบรวมขอมูลและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7)
ประจาํ ปก ารศกึ ษา

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 93
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2
6. สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู

6.1 ทรพั ยากรสว นกลางในการจดั การเรียนการสอน
6.1.1 หองเรียนสําหรับการเรียนการสอน
6.1.2 หอ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร
6.1.3 หองสมุด ซ่ึงมีหนังสือ วารสาร สื่อวิดีทัศน และอ่ืนๆ โดยมีหนังสือในสวนของหลักสูตร และ

ว า ร ส า ร เ ฉ พ า ะ ท า ง business Owner, Business Plus, E-Commerce, Forbes Thailand, Strategy +
Marketing, การเงินการธนาคาร เปนตน รวมทง้ั ระบบสบื คน ขอมูลทรัพยากรหองสมุดผานระบบหองสมุดอตั โนมัติ
(Web OPAC) และ Application PIM e-Library

6.1.4 คอมพิวเตอรสว นกลางบรกิ ารนักศึกษา โดยมคี วามความเรว็ ของระบบ Network 2.5 Gbps
6.1.5 บรกิ าร Wi-Fi ของสถาบันผานระบบ PIM Hotspot โดยมคี วามเร็วของระบบ Wi-Fi 2.5 Gbps
6.2 ทรัพยากรของหลกั สูตรในการจดั การเรียนการสอน
6.2.1 PIM e-Learning ซ่ึงเปนส่ือที่ใชประกอบการเรียนการสอน โดยอาจารยผูสอนสามารถนํา
เน้ือหารายวิชาเขาสูระบบออนไลน และใหนักศึกษาศึกษาบทเรียนในรายวิชาตางๆ ผานระบบดวยตนเอง ไดแก
การดาวนโหลดเอกสารเพ่ือใชประกอบในการเรียน แบบเรียนออนไลนเพื่อศึกษาคนควาและทบทวนบทเรียน การ
สงงานผา นระบบ และแบบทดสอบ/แบบฝก หัด
6.2.2 การจดั ทาํ โครงการพัฒนาส่ือการสอนออนไลนร ะบบเปด ของสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
(PIM MOOC) เพ่ือพัฒนารายวิชา สื่อ ขอสอบ ตามแนวทางการจัดทํารายวิชา สําหรับการเรียนการสอนในระบบ
เปด (MOOC) โดยมีการอบรมใชเคร่ืองมือ “การสรางรายวิชาและการบริหารจัดการขอมูลในระบบ Open edX”
เพื่อเตรียมความพรอมกอนใชงานระบบ PIM MOOC ของสถาบัน ซึ่งทางหลักสูตรไดดําเนินการจัดทํารายวิชา
ออนไลน (Online Course) เพอ่ื รองรับการเปล่ยี นแปลงทางการศกึ ษาในรปู แบบออนไลนเ พ่ิมมากขึ้น
6.2.3 ฐานขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสจาํ นวน 4 ฐานขอมูล ไดแก
- ฐานขอมูล CNKI เปนฐานขอมูลวารสารภาษาจีนที่มีเน้ือหาครอบคลุมดานวรรณกรรม ประวัติศาสตร
ปรัชญา กฎหมาย สงั คมศาสตร การศึกษา เศรษฐศาสตรแ ละการบริหาร โดยมเี น้อื หาภาษาจนี และภาษาอังกฤษ
- ฐานขอมูล Emerald ซ่ึงเปนฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส ท่ีครอบคลุมดานการจัดการ
(Management), บริหารธุรกิจ (Business Administration) และวิทยาการสารสนเทศ (Information Science)
รวมท้ังสาขาอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ
- ฐานขอมูล CEIC เปนฐานขอมูลเศรษฐกิจมหภาคเชิงสถิติ ตัวเลข ครอบคลุมกลุมประเทศ
เศรษฐกจิ กวา 121 ประเทศท่ัวโลก ซึ่งขอ มลู เหลานม้ี ีท่มี าจากแหลงหนว ยงานของขอ มลู โดยตรงเชน หนวยงานของ
ภาครัฐ สถาบันตางๆ และภาคเอกชนที่มีความนาเชื่อถือ โดยมีลักษณะของขอมูลท่ีเก่ียวของกับสถานการณ
เศรษฐกิจ การลงทนุ ทมี่ ีการรวบรวม จัดเกบ็ และทําการวเิ คราะหอ ยางเปน ระบบจากหนวยงานที่เปน ที่ยอมรับและ
เชอื่ ถือได รวมทง้ั มีการแสดงขอมูลประกอบดว ยตัวเลขและแผนภมู ิทาํ ใหส ะดวกในการนาํ มาใชง าน
- SAGE Journals Online ประกอบดวยวารสารมากกวา 440 รายชื่อ ในสาขามนุษยศาสตร
สังคมศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการแพทย ในรูปของบทความฉบับสมบูรณ สําหรับสถาบันไดบอกรับ
วารสาร New Media & Society และวารสาร Mobile Media & Communication ของฐานขอมูลดงั กลา ว
6.2.4 โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อใชพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษ English Discoveries ซ่ึงเปน
โปรแกรมที่พัฒนาและออกแบบเนื้อหาที่เปนตามกรอบมาตรฐาน CEFR สามารถฝกทักษะดานภาษาไดครบทั้ง 4
ทักษะ (ฟง, พูด, อาน, เขียน) ซึ่งสามารถเทียบเคียงผลกับมาตรฐาน Common European Framework of
Reference for Language (CEFR) ท่ีสํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมได
ประกาศไวใ นนโยบายการยกระดับมาตรฐานภาษาองั กฤษในสถาบนั อุดมศึกษา

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน 94
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
ขอดีของการใชโปรแกรมดังกลาว คือ สามารถแกไขขอจํากัดในการวัดและประเมินผล
ความกาวหนาดานภาษาอังกฤษของนักศึกษาได โดยในแตละบทเรียนจะใชการสอบประเมินความรูทายบทเรียน
เพ่ือประเมินผล รวมทั้งการทดสอบวัดระดับสามารถดําเนินการไดหลายครั้งทําใหสามารถติดตามความกาวหนา
ดา นทกั ษะภาษาอังกฤษของนกั ศกึ ษาไดอยางตอเนอื่ ง
6.2.5 แอพพลิเคชั่น P.O.S. หลักสูตรรวมกับ บจก.ปญญธารา จัดอบรมกอนการลงรานเพื่อทําให
นักศึกษาเกิดความคุนเคยกับการลงฝกปฏิบัติงาน สามารถแกไขปญหาภายในราน เชน สินคาขาดสงจากศูนย
กระจายสนิ คา สินคาหมดอายุ รวมถึงปญ หาภายนอก เชน การใหบ รกิ ารลูกคา นักศึกษาสามารถโหลดแอพลิเคชั่น
มาฝกปฏบิ ตั ดิ ว ยการสแกนสินคาผานมอื ถือ (Smart Device) และสามารถคดิ เงนิ ผานมือถือไดเ สมือนอยใู นรานจริง
เกิดความสนุกสนานอยากเรียนรูประสบการณใหมผานเทคโนโลยี ทําใหนักศึกษาทําความคุนเคยและสามารถ
ปรับตัวกับระบบการจดั การรา นคา ไดต ้ังแตเร่มิ ตน
6.2.6 หองปฏิบตั ิการ Store Model เพ่อื ใหน ักศกึ ษาไดทดลองการลงรา น การคดิ เงิน การจัดเรียง
สินคา การเรียงลําดับสินคาตามวันหมดอายุ (First In First Out, FIFO) นักศึกษาสามารถปรับตัว ทดลองลงมือ
ปฏบิ ตั ิจริงกอนการลงรา น

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 95
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

7. ตัวบงช้ีผลการดาํ เนนิ งาน (Key Performance Indicators)

ดชั นบี ง ชี้ผลการดําเนนิ งาน ปท ่ี 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปท ี่ 4 ปท ่ี 5

1. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุม     
วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดาํ เนินการงานหลกั สูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ. 2 ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐาน
คณุ วุฒแิ หงชาติ หรอื มาตรฐานคุณวฒุ ิสาขา/สาขาวชิ า (ถาม)ี     

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (ถา
มี) ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อยางนอยกอนการเปดสอนใน     
แตล ะภาคการศกึ ษาใหครบทกุ รายวิชา
4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดําเนินการ
ของประสบการณภาคสนาม (ถา มี) ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน     
หลังส้ินสดุ ภาคการศกึ ษาท่ีเปด สอนใหค รบทกุ รายวชิ า
5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 ภายใน 60
วนั หลังสิ้นสดุ ปการศึกษา     

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู ท่ี
กําหนดใน มคอ. 3 และมคอ. 4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาท่ี     
เปดสอนในแตละปการศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการ
ประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินงานท่ีรายงานใน มคอ. 

7 ปทแ่ี ลว
8. อาจารยใ หม (ถา มี) ทุกคน ไดร ับการปฐมนเิ ทศหรือคําแนะนาํ ดานการจัดการ
เรียนการสอน     

9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ อยาง     
นอ ยปล ะหน่งึ ครงั้
10. จํานวนบุคลากรสนับสนนุ การเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพฒั นาวิชาการ
และ/หรอื วชิ าชพี ไมน อ ยกวารอยละ 50 ตอป     

11. ระดับความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาปสดุ ทา ย/บณั ฑติ ใหมทม่ี ีตอ คณุ ภาพ 
หลกั สูตร เฉลย่ี ไมน อ ยกวา 3.5 จากคะแนนเตม็ 5
12. ระดับความพึงพอใจของผูใ ชบัณฑติ ทม่ี ตี อบัณฑิตใหม เฉลยี่ ไมน อยกวา 3.5
จากคะแนนเต็ม 5 

รวมตัวบงช้ี (ขอ ) ในแตล ะป 9 10 10 11 12
ตวั บง ชี้ตองผา นรวม (ขอ) 8 8 8 9 10
เกณฑประเมิน: หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ตองผานเกณฑประเมินดังน้ี ตัวบงช้ี
บังคับ (ตัวบงช้ีท่ี 1-5) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงช้ีท่ีมีผลดําเนินการบรรลุเปาหมาย
ไมน อยกวา 80% ของตวั บงชร้ี วม โดยพจิ ารณาจากจํานวนตัวบง ชบ้ี งั คับและตัวบง ช้ีรวมในแตล ะป

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 96
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดาํ เนินการของหลกั สูตร

1. การประเมนิ ประสทิ ธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธการสอน
กระบวนการทใ่ี ชใ นการประเมินกลยุทธการสอนที่ไดวางแผนไวสําหรับการพัฒนาการเรียนรูในดาน

ตางๆ โดยการประเมินความเห็นหรือขอเสนอแนะของอาจารยภายหลังการเขารับการอบรม การนํากลยุทธการ
สอนไปใช การปรึกษาหารือกับผูเช่ียวชาญดานหลักสูตรหรือวิธีการสอน การวิเคราะหผลประเมินของนักศึกษา
และหลักสูตรฝกอบรมดานทฤษฎีการเรียนรูและวิธีการสอนที่เก่ียวของ และอธิบายกระบวนการท่ีจะนําผลการ
ประเมนิ ท่ไี ดม าปรับปรงุ แผนกลยทุ ธการสอน

1.2 กระบวนการประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยทุ ธการสอน
นักศึกษามีการประเมินผลการสอนของอาจารยในทุกดาน ท้ังดานทักษะและกลยุทธการสอน

รวมถึงการใชส ่อื ในทกุ รายวชิ า

2. การประเมนิ หลกั สูตรในภาพรวม
การประเมินคุณภาพของหลักสูตรในภาพรวมและการบรรลุผลการเรียนรูท่ีคาดหวังจากกลุมบุคคล ดังนี้

1) นักศึกษาและบัณฑิต 2) ผูทรงคุณวุฒิ และ/หรือผูประเมินภายนอก 3) ผูใชบัณฑิต และ/หรือผูมีสว นไดสวนเสีย
อ่นื ๆ โดยการศึกษาสํารวจความคิดเห็นเกย่ี วกับความตองการและสภาพการณของหลกั สตู ร ตลอดจนความตองการ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร สาระและโครงสรางของหลักสูตร การผลิตบัณฑิต วามีสอดคลองกับความตองการ
และสภาพการเปล่ียนแปลงทางการศึกษาและสังคมปจจุบัน สอดคลองกับความตองการในการจัดการซึกษาใน
สถานศึกษาทุกระดับ ความพรอมในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงคุณภาพการสอนของอาจารยผูสอน ความ
ทนั สมัยในการสอน และการเอาใจใสดูแลนักศึกษา การนาํ ประสบการณท ่ีไดจากการเรยี นไปใชในการปฏิบัติงานใน
ชีวิตจริง โดยการสํารวจ อภิปราย จากศิษยเกา ศิษยปจจุบัน และบุคลากรอ่ืนท่ีเกี่ยวของ ในการพัฒนาปรับปรุง
หลักสูตรเม่ือครบรอบจะมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิ/ผูบริหารสถานศึกษา/ผูบริหารการศึกษามารวมเปนกรรมการ
พจิ ารณาปรบั ปรุง ดงั น้ี

2.1 ประเมนิ จากนกั ศกึ ษาและศษิ ยเ กา
ดาํ เนินการประเมนิ จากนักศึกษาโดยสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาตอคณุ ภาพหลักสูตรใน

ชั้นปสุดทายเปนหลัก หรือในทุกปการศึกษาตามความเหมาะสม สําหรับบัณฑิตนั้น ประเมินโดยใชแบบสอบถาม
หรืออาจจดั ประชุมศิษยเ กาตามโอกาสที่เหมาะสม

2.2 ประเมนิ จากนายจางหรือสถานประกอบการ
ดําเนินการโดยเชิญผูทรงคุณวุฒิหรือผูประเมินภายนอกมาใหความเห็น หรือจากขอมูลใน

รายงานผลการดาํ เนนิ งานหลกั สตู ร หรือจากรายงานของการประเมนิ ผลการประกับคณุ ภาพภายใน

สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน 97
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2
2.3 ประเมนิ โดยผูทรงคุณวฒุ หิ รอื ทปี่ รกึ ษา

ดําเนินการโดยสัมภาษณผูใชบัณฑิตหรือผูมีสวนไดสวนเสียจากสถานประกอบการท่ีนักศึกษา
ไปฝกงาน หรอื ใชว ธิ กี ารสง แบบสอบถามไปยังผใู ชบ ณั ฑิต
3. การประเมนิ ผลการดาํ เนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

การประเมินคุณภาพการศึกษาประจําปตามดัชนีบงช้ีผลการดําเนินงานท่ีระบุในหมวดท่ี 7 ขอ 7 โดย
คณะกรรมการประเมินอยางนอย 3 คน ประกอบดวยผูทรงคุณวฒุ ใิ นสาขาอยางนอย 1 คน ท่ีไดรับการแตงต้ังจาก
สถาบัน
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุง

หัวหนาสาขาวิชา/อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร รวบรวมขอมูลจากการประเมินการเรียนการสอนของ
อาจารย นักศึกษา บัณฑิต และผูใชบัณฑิต และขอมูลจาก มคอ.5, 6, 7 เพื่อทราบปญหาของการบริหารหลักสูตร
ทั้งในภาพรวมและในแตล ะรายวิชา นําไปสกู ารดําเนนิ การปรับปรุงรายวชิ าและหลกั สตู รตอไป สาํ หรับการปรบั ปรุง
หลักสตู รน้ันจะกระทําทุกๆ 5 ป ท้งั น้ี เพ่ือใหหลกั สูตรมีความทันสมยั และสอดคลองกบั ความตองการของผูใชบัณฑิต

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 98
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ภาคผนวก

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 99
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ภาคผนวก ก
ประวตั อิ าจารยผูรับผิดชอบหลกั สูตรและอาจารยประจําหลักสตู ร

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน 100
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผ รู ับผดิ ชอบหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ การคา สมัยใหม หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน จังหวดั นนทบรุ ี

________________________

ผูชว ยศาสตราจารยเ หมือนจิต จติ สุนทรชัยกลุ อาจารยผ ูร บั ผิดชอบหลกั สตู รบริหารธุรกิจบัณฑิต
คณะบริหารธุรกจิ สถาบันการจดั การปญ ญาภิวฒั น
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน 3 1020 0233X XX X

1. วฒุ ิการศึกษา ปริญญาโท
2. สถานทต่ี ดิ ตอ M.B.A. (Business Administration)
3. โทรศพั ทท ี่ติดตอสะดวก Dominican University, Illinois, U.S.A., 2545
4. ประสบการณทาํ งาน
ปริญญาตรี
5. ประสบการณดานการสอน/ฝก อบรม ศศ.บ. (ญ่ีปนุ ธรุ กจิ )
มหาวิทยาลยั อัสสัมชัญ, 2542

85/1 หมู 2 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0294
พ.ศ. 2552 – ปจ จบุ นั

อาจารยผ ูรบั ผิดชอบหลกั สตู รบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การคา สมัยใหม
คณะบริหารธรุ กจิ สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2550 – 2552
อาจารยป ระจํา/อาจารยพเิ ศษ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑิตย
พ.ศ. 2547 – 2550
อาจารยพ ิเศษ คณะบรหิ ารธรุ กจิ
มหาวิทยาลยั บรู พา โครงการนานาชาติ
พ.ศ. 2546 – 2547
อาจารยป ระจาํ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชญั คณะบริหารธรุ กจิ
วิชาท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน
- 1101101 การตลาดเพอ่ื การจัดการธุรกจิ
- 1101102 การจดั การองคก ารและทรัพยากรมนษุ ยใ นยุคดิจดิ ัล

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 101

ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย มคอ. 2
- 1112101 การจัดการธุรกจิ การคาสมยั ใหม
- 1103203 การบรหิ ารแบรนดเชงิ กลยทุ ธ
- MT60204 การวิจัยและวิเคราะหพฤตกิ รรมผบู รโิ ภค
บทความวิจัย
Muenjit Jitsoonthornchaikul. (2018). Broaden Educational
Opportunity in the Thailand Context. International and
National Conference on Learning Innovation in Science
and Technology 6th (March). Bangkok: King Mongkut’s
University of Technology Thonburi. pp.405-414. (บทความ
วิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม
วชิ าการระดับชาต;ิ 0.4)
วารสารวชิ าการระดบั ชาติ
เหมือนจิต จิตสุนทรชัยกุล. (2562). พหุวิธีกับการพัฒนาคุณภาพงาน
บริการ. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ. ปท ี่ 8 ฉบบั ที่ 3
(เดอื นกรกฎาคม-กันยายน), หนา 115-125. (TCI กลมุ ท่ี 2; 0.6)
Muenjit Jitsoonthornchaikul. (2018). Awaken passionate
customer with innovated CRM. UTCC International Journal
of Business and Economics, Vol. 10 No. 2 (August), pp 3-20.
(TCI กลุมท่ี 2; 0.6)

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 102
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผรู บั ผิดชอบหลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการคา สมัยใหม หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวฒั น จงั หวดั นนทบรุ ี

________________________

อาจารยศ ิขรนิ ถวลิ ประวตั ิ อาจารยผ ูรับผิดชอบหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน คณะบรหิ ารธุรกิจ สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น
3 7105 0017X XX X

1. วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาโท
2. สถานที่ตดิ ตอ บธ.ม. (การตลาด)
3. โทรศพั ทท ่ีติดตอสะดวก มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม, 2546
4. ประสบการณท ํางาน
ปรญิ ญาตรี
5. ประสบการณด า นการสอน/ฝก อบรม บธ.บ. (การจัดการทว่ั ไป)
มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ , 2543

85/1 หมู 2 ถ.แจง วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
02-855-0292
พ.ศ. 2558 – ปจ จุบนั

อาจารยผูรับผดิ ชอบหลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคา สมยั ใหม
คณะบริหารธรุ กิจ สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2557 – 2558
อาจารยป ระจาํ คณะบรหิ ารธรุ กิจ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร
พ.ศ. 2551 – 2557
อาจารยประจาํ คณะบรหิ ารธุรกจิ
สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2547 – 2551
อาจารยป ระจําภาคการตลาด โรงเรยี นไทยบรหิ ารธรุ กจิ
อาจารยพเิ ศษ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ
วิชาท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน
- 1101101 การตลาดเพอื่ การจัดการธรุ กจิ
- 1112101 การจัดการธุรกิจการคา สมยั ใหม
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบรกิ าร

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน 103

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย มคอ. 2

- 1103203 การบริหารแบรนดเ ชิงกลยทุ ธ
- 1103204 การจัดการประสบการณลูกคา
บทความวิจยั
กัมพล มณฑลจรัส, ธีรวีร วราธรไพบูลย, วัลลภ สถิตาภา และศิขริน
ถวิลประวัติ. (2564). ปจจัยทางการตลาดที่สงผลตอการใชบริการ
หองซอมดนตรีในจังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการปญญา
ภิวัฒนระดับชาติครั้งท่ี 11 และระดับนานาชาติคร้ังที่ 5 (กรกฎาคม).
นนทบุรี: สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน. หนา 399-413.
(บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ
ประชมุ วิชาการระดับชาต;ิ 0.2)

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 104
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผ รู บั ผิดชอบหลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ การคาสมยั ใหม หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวฒั น จงั หวดั นนทบรุ ี

________________________

อาจารยอ สิ ราภรณ ลาดละคร อาจารยผรู บั ผิดชอบหลกั สูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะบริหารธุรกจิ สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น
3 4106 0118X XX X

1. วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาโท
2. สถานท่ตี ดิ ตอ บธ.ม. (การตลาด)
3. โทรศพั ทท ตี่ ิดตอสะดวก มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2546
4. ประสบการณท ํางาน
ปริญญาตรี
บธ.บ. (การตลาด)
มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542

85/1 หมู 2 ถ.แจง วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-1264
พ.ศ. 2558 – ปจ จุบนั

อาจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม
คณะบรหิ ารธุรกจิ สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2557 – 2558
ผชู ว ยผอู ํานวยการฝา ยพฒั นาธุรกจิ
โรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอรเ นชน่ั แนล
พ.ศ. 2556 – 2557
ผชู วยผูอาํ นวยการหลกั สตู รบริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต
และหลกั สูตรการจดั การมหาบัณฑติ
วทิ ยาลัยบณั ฑติ ศึกษาดานการจัดการ
มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ วิทยาเขตบางเขน
พ.ศ. 2554 – 2556
ผูจัดการสํานกั งานเลขานุการ
วทิ ยาลัยบัณฑติ ศึกษาดา นการจัดการ
มหาวิทยาลัยศรปี ทุม วทิ ยาเขตบางเขน

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 105
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณดานการสอน/ฝก อบรม พ.ศ. 2550 – 2554
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย รองผูอ าํ นวยการศูนยว ิจัยพฤติกรรมผูบ รโิ ภค คณะบรหิ ารธุรกจิ
มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ วทิ ยาเขตบางเขน

พ.ศ. 2548 – 2550
อาจารยป ระจํา ภาควชิ าการตลาด คณะบริหารธุรกิจ
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตบางเขน
อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม วทิ ยาเขตชลบรุ ี

พ.ศ. 2547 – 2548
เจาหนาทอ่ี าวโุ สการตลาด ฝา ยการตลาด
บรษิ ัท ไทยเทพรส ผลติ ภัณฑอาหาร จํากดั (มหาชน)

พ.ศ. 2547
เลขานกุ ารประธานบริษทั เอ่ียมจติ ตก รุป จํากัด

พ.ศ. 2546 – 2547
เจาหนา ทีก่ ารตลาด บริษัท ไทยแลนด แอนทราไซท จาํ กดั

วชิ าที่สอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน

- 1101101 การตลาดเพื่อการจดั การธรุ กิจ
- 1112101 การจัดการธุรกจิ การคาสมยั ใหม
- MT60204 การวิจยั และวเิ คราะหพฤตกิ รรมผูบริโภค
- MT60222 กลยุทธก ารส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการ
บทความวจิ ยั
กิติชัย ศรีสุขนาม, อิสราภรณ ลาดละคร, นันทนา วิจิตรวาริช และอุทัย
สรแพทย. (2562). การเลอื กใช QR Code ในการชาํ ระเงินยุคสังคม
ไรเงินสดของกลุมวัยทํางานในกรุงเทพมหานคร. ในการประชุม
วชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 11 ประจําป 2562 THE 11th NATIONAL
ACADEMIC CONFERENCE OF 2019 (มีนาคม). กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยสยาม. หนา 143-153. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ี
ตพี ิมพในรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาต;ิ 0.2)
วารสารวิชาการระดบั ชาติ
กนิษฐา ฤทธิ์คํารพ, อิสราภรณ ลาดละคร, ชัยวัฒน สุมังคะละ และรัชภร
รงุ ต้ังธนาบญุ . (2562). รปู แบบการดําเนนิ ชีวิตของประชากรกลุมเบ
บี้บูมเมอรใ นเขตกรงุ เทพมหานคร. วารสารชอ พะยอม. ปท ี่ 30 ฉบบั
ท่ี 1 (เดือนมกราคม-พฤษภาคม), หนา 271-282. (TCI กลุมที่ 2;
0.6)

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 106
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวัติอาจารยผ รู บั ผิดชอบหลกั สูตรบริหารธุรกิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ การคาสมัยใหม หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน จงั หวดั นนทบรุ ี

________________________

อาจารยกิตชิ ัย ศรีสขุ นาม อาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบัณฑติ
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน คณะบริหารธรุ กจิ สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน
3 7301 0094X XX X

1. วุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท
2. สถานทตี่ ิดตอ บธ.ม. (บริหารธรุ กจิ )
3. โทรศพั ทที่ตดิ ตอสะดวก สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน, 2554
4. ประสบการณท าํ งาน
5. ประสบการณดานการสอน/ฝก อบรม ปรญิ ญาตรี
ร.บ. (บริหารรัฐกิจ)
มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2556
ศศ.บ. (การตลาด)
สถาบันราชภฏั สวนดสุ ิต, 2543

85/1 หมู 2 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี 11120
02-855-1059
พ.ศ. 2557 – ปจ จบุ ัน

อาจารยผ ูร ับผิดชอบหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม
คณะบรหิ ารธรุ กจิ สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2555 – 2556
ผจู ดั การฝา ยสนับสนนุ รา นสาขา
บมจ. คอมเซเวน อินเตอรเ นช่ันแนล
พ.ศ. 2543 – 2555
ผูจดั การแผนกสถติ ิวเิ คราะห
บมจ. ซีพี ออลล
วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน
- 1112101 การจัดการธุรกิจการคา สมยั ใหม
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบรกิ าร
- MT60216 ธรุ กจิ คาปลกี อเิ ล็กทรอนิกส
- MT60427 หวั ขอ เลอื กสรรทางธุรกิจการคาสมยั ใหม

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 107

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย มคอ. 2
บทความวจิ ยั
กิติชัย ศรีสุขนาม, อิสราภรณ ลาดละคร, นันทนา วิจิตรวาริช และอุทัย

สรแพทย. (2562). การเลือกใช QR Code ในการชําระเงินยุคสังคม
ไรเงินสดของกลุมวัยทํางานในกรุงเทพมหานคร. ในการประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 11 ประจาํ ป 2562 THE 11th NATIONAL
ACADEMIC CONFERENCE OF 2019 (มนี าคม). กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยสยาม. หนา 143-153. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ี
ตีพิมพในรายงานสืบเนือ่ งจากการประชุมวชิ าการระดับชาต;ิ 0.2)
วารสารวิชาการระดับชาติ
กิติชัย ศรีสุขนาม. (2563). ตัวแบบสมรรถนะวิชาชีพคาปลีกสําหรับ
ผูบริหารและสรางประสิทธิภาพองคกร. วารสารวิชาการ
มหาวทิ ยาลยั หอการคาไทย มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. ปท ่ี 41
ฉบับท่ี 2 (เดือนเมษายน-มิถุนายน), หนา 18-33. (TCI กลุมท่ี 1;
0.8)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 108
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวัติอาจารยผูรบั ผดิ ชอบหลักสตู รบริหารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคา สมัยใหม หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น จงั หวดั นนทบรุ ี

________________________

อาจารย ดร.สุรัชดา เชดิ บญุ เมอื ง อาจารยผ รู บั ผิดชอบหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบนั การจัดการปญ ญาภิวัฒน
3 1020 0237X XX X

1. วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาเอก
2. สถานที่ติดตอ บธ.ด. (บรหิ ารธรุ กจิ )
3. โทรศัพททีต่ ดิ ตอสะดวก มหาวทิ ยาลยั รังสิต, 2560
4. ประสบการณท ํางาน
ปริญญาโท
M.B.A. (Business Administration)
University of Central Oklahoma, Oklahoma, U.S.A., 2537

ปริญญาตรี
ศษ.บ. (บรหิ ารธุรกิจ)
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, 2532

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
02-855-0311
พ.ศ. 2556 – ปจจบุ นั

อาจารยผูร บั ผิดชอบหลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธรุ กจิ การคา สมยั ใหม
คณะบริหารธรุ กิจ สถาบนั การจดั การปญญาภิวฒั น
พ.ศ. 2552 – 2556
อาจารยพเิ ศษ คณะบริหารธรุ กจิ สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2549 – 2552
Credit Monitoring and Recovery Manage,
Standard Chartered Bank Thai
พ.ศ. 2548 – 2549
Relationship Manager, UOB Leasing Co.,Ltd.
พ.ศ. 2542 – 2544
Assistant Manager,
Bangkok Capital Alliance Co.,Ltd. (The Joint Venture of GE
Capital and Goldman Sachs Groups)

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 109

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณด า นการสอน/ฝกอบรม พ.ศ. 2538 – 2541
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย Senior Lending Officer; Marketing and Credit Apartment,
The Book Club Finance and Securities PLC

วชิ าที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน

- 1101101 การตลาดเพ่ือการจดั การธุรกจิ
- 1112101 การจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
- MT60221 การเปนผูประกอบการธุรกิจการคาสมัยใหม
วารสารวิชาการระดับชาติ
หัฏฐพัชร เคนพะนาน และ สุรัชดา เชิดบุญเมือง. (2562). พหุปจจัยท่ี
สงผลตอความพึงพอใจในการใชบริการ Video Streaming Netflix
ประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน. ปท่ี 8 ฉบับท่ี 1 (เดือน
มกราคม-กุมภาพันธ), หนา 169-183. (TCI กลุม ท่ี 1; 0.8)

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 110
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวัติอาจารยผูร ับผิดชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการคา สมยั ใหม หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น วิทยาเขตอีอีซี จงั หวดั ชลบรุ ี

________________________

อาจารย ดร.บิวณิชา พุทธเกดิ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ
หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน คณะบริหารธุรกจิ สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน
3 8602 0001X XX X

1. วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาเอก
ปร.ด. (บริหารธรุ กจิ )
2. สถานท่ีตดิ ตอ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร, 2564
3. โทรศพั ทท ตี่ ิดตอสะดวก
4. ประสบการณท าํ งาน ปริญญาโท
5. ประสบการณดา นการสอน/ฝกอบรม บธ.ม. (บริหารธรุ กิจ)
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย มหาวิทยาลยั พายัพ, 2556
วท.ม. (โภชนศาสตรศึกษา)
มหาวิทยาลยั เชียงใหม, 2550

ปรญิ ญาตรี
วท.บ. (เกษตรศาสตร)
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร, 2548

85/1 หมู 2 ถ.แจงวฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
02-855-0200
พ.ศ. 2564 – ปจ จุบนั

อาจารยผ ูร ับผิดชอบหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การคา สมัยใหม
คณะบริหารธรุ กิจ สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2551 – 2557
อาจารยประจํา สาขาวชิ าการจัดการโรงแรมและการทองเท่ียว
คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยพายัพ
วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน
- MT60205 กลยุทธการตลาดดิจทิ ลั
วารสารวิชาการระดับชาติ
บิวณิชา พุทธเกิด และ ทิพยรัตน เลาหวิเชียร. (2562). ความสัมพันธ
ระหวางการรับรูคุณภาพบริการและความภักดีของลูกคาโรงแรม

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 111

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2
ราคาประหยัดในจังหวัดเชียงใหม. วารสารเกษมบัณฑิต. ปท่ี 20
ฉบับท่ี 1 (เดือนมกราคม-มิถุนายน), หนา 40-52. (TCI กลุมท่ี 1;
0.8)

สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 112
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผรู บั ผดิ ชอบหลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน วิทยาเขตอีอีซี จังหวดั ชลบุรี

________________________

อาจารย ดร.พรี ภาว ทวีสุข อาจารยผ ูร บั ผิดชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น
3 1012 0263X XX X

1. วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาเอก
บธ.ด. (การวางแผนการตลาดและพฤติกรรมผบู ริโภค)
2. สถานท่ีติดตอ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย, 2556
3. โทรศพั ทท่ีติดตอสะดวก
4. ประสบการณท าํ งาน ปริญญาโท
บธ.ม. (การเงนิ และการธนาคาร)
5. ประสบการณดา นการสอน/ฝกอบรม มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, 2550
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย
สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน ปรญิ ญาตรี
รป.บ. (รฐั ประศาสนศาสตร)
มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2547

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี 11120
02-855-0311
พ.ศ. 2557 – ปจจุบนั

อาจารยผรู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ การคาสมัยใหม
คณะบริหารธรุ กิจ สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2553 – 2554
อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยเวสเตอร
พ.ศ. 2552 – 2553
อาจารยพ เิ ศษ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ
วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน
- 1101101 การตลาดเพือ่ การจดั การธุรกิจ
- 1112101 การจดั การธุรกิจการคา สมยั ใหม
บทความวจิ ยั
นันทมนัส อัครพรชัยสถิต และ พีรภาว ทวีสุข. (2563). ความสัมพันธ
ระหวางกลยุทธสวนประสมการตลาดบริการที่มีตอการสื่อสารแบบ

113

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2
บอกตอ บานบริษัทพฤกษาในจังหวัดนนทบุรี. ในการประชุม
วิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 13 (ตุลาคม). อุดรธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. หนา 2824 – 2837. (บทความวิจัย
ฉบับสมบูรณที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
ระดบั ชาติ; 0.2)
พจนี ลัทธิประสาตร และ พีรภาว ทวีสุข. (2563). ความแตกตางของ
พฤติกรรมผูบริโภคท่ีมีตอกลยุทธสวนประสมทางการตลาดบริการ
(7Ps)ของผูบริโภครานอาหารญี่ปุน Izakaya Shakariki 432 ใน
กรุงเทพมหานครผานชองทางออนไลน. ในการประชุมวิชาการ
บัณฑิตศึกษาระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 (ตุลาคม). อุดรธานี: มหาวิทยาลัย
ราชภฎั อุดรธานี. หนา 2666 – 2676. (บทความวจิ ยั ฉบับสมบูรณที่
ตพี มิ พใ นรายงานสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ; 0.2)
วารสารวิชาการระดบั ชาติ
วีรพร จอมแปง และ พีรภาว ทวีสุข. (2563). การสื่อสารการตลาดแบบ
บูรณาการท่ีมีอิทธิพลตอกระบวนการตัดสินใจใชบริการ. วารสาร
การวิจัยการบริหารการพัฒนา. ปที่ 10 ฉบับที่ 3 (เดือนกรกฎาคม-
กันยายน), หนา 153-167. (TCI กลมุ ที่ 2; 0.6)
เพ็ญนภา กมลาสนมรกต และ พีรภาว ทวีสุข. (2562). อิทธิพลของ
ปจจัยทางจิตวิทยาที่มีตอกระบวนการตัดสินใจซ้ืออาหารคลีนของ
ผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารปญญาภิวฒั น. ปท่ี 12 ฉบับท่ี
1 (เดือนมกราคม-เมษายน), หนา 78-91. (TCI กลมุ ท่ี 1; 0.8)
มัลลิกา รัศมีศรีตระกูล และ พีรภาว ทวีสุข. (2562). อิทธิพลของ
ทัศนคติที่มีผลตอกระบวนการตัดสินใจซ้ือบรรจุภัณฑท่ีเปนมิตรกับ
ส่ิงแวดลอมในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน. ปที่ 34
ฉบับที่ 110 (เดือนเมษายน-มิถุนายน), หนา 251-267. (TCI กลุมที่
2; 0.6)

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 114
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน วทิ ยาเขตอีอีซี จงั หวดั ชลบุรี

________________________

อาจารย ดร.เพญ็ พตั รา ทาสระคู อาจารยผ รู บั ผิดชอบหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต
หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน คณะบริหารธรุ กจิ สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ฒั น
1 1014 9904X XX X

1. วุฒกิ ารศกึ ษา ปริญญาเอก
2. สถานทีต่ ิดตอ ปร.ด. (การจดั การ)
3. โทรศัพทที่ติดตอสะดวก สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร, 2563
4. ประสบการณท าํ งาน
ปรญิ ญาโท
M.Sc. (International Management)
University of Exeter, Exeter, U.K., 2553

ปริญญาตรี
น.บ. (นติ ิศาสตร)
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2551

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-1371
พ.ศ. 2559 – ปจจุบนั

อาจารยผรู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม
คณะบรหิ ารธุรกจิ สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2558
- อาจารยพ เิ ศษ วิชากฎหมายธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยหอการคาไทย
- ผชู วยวจิ ัย วิทยาลยั นานาชาติ สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร
พ.ศ. 2557
ผูจัดการฝายผลิตภัณฑ ฝายการตลาด
บริษัท ชิเซโด (ไทยแลนด) จํากดั
พ.ศ. 2553 – 2557
ผบู ริหารผลิตภณั ฑอาวุโส ฝา ยการตลาด
บริษัท แอมเวย (ประเทศไทย) จํากัด

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 115
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณด านการสอน/ฝก อบรม วิชาท่ีสอนระดับปริญญาโท
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน

- 1172701 การวเิ คราะหขอมูลและการวิจยั ทางธรุ กิจ
วชิ าที่สอนระดบั ปริญญาตรี

- 1101101 การตลาดเพอ่ื การจดั การธุรกิจ
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบริการ
- MT60222 กลยุทธการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
- MM60207 การจัดการนวตั กรรมเชิงปฏิบัตกิ ารทางธรุ กจิ การคา
สมยั ใหม 2
บทความวจิ ยั
Peerayuth Charoensakmongkol and Penpattra Tasakoo.
(2019). Social Media Marketing Communication and Social
Media Business Performance: Do Firm Age, Social Media
Business Experience, and Presence of Physical Store
Matter. in Proceeding of the IWEMB 2019 The third
international workshop on entrepreneurship in electronic
and mobile business (October). Bangkok: NIDA. pp 93-121.
(บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการ
ประชมุ วชิ าการระดบั ชาต;ิ 0.4)
วารสารวชิ าการระดบั ชาติ
Penpattra Tarsakoo and Peerayuth Charoensukmongkol.
(2019). Contribution of Marketing Capability to Social Media
Business Performance. Asian Journal of Management &
Innovation, Vol. 6 No. 1 (January-June), pp 75-87. (TCI กลุมท่ี
2; 0.6)

สถาบนั การจดั การปญญาภิวัฒน 116
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผ ูร บั ผดิ ชอบหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ การคาสมัยใหม หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบันการจดั การปญญาภิวฒั น วทิ ยาเขตอีอีซี จังหวดั ชลบุรี

________________________

อาจารยเพชรลดา พลู สวสั ดิ์ อาจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ
หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน คณะบริหารธรุ กจิ สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน
1 1037 0073X XX X

1. วฒุ กิ ารศกึ ษา ปริญญาโท
2. สถานที่ติดตอ บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กจิ )
3. โทรศพั ทท ่ีตดิ ตอสะดวก มหาวิทยาลยั รังสติ , 2561
4. ประสบการณทํางาน
ปริญญาตรี
5. ประสบการณด า นการสอน/ฝก อบรม บธ.บ. (ธรุ กจิ ระหวา งประเทศ) หลักสูตรนานาชาติ
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย วิทยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557

85/1 หมู 2 ถ.แจง วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0200
พ.ศ. 2564 – ปจ จุบนั

อาจารยผ รู ับผดิ ชอบหลักสตู รบริหารธุรกิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการคาสมัยใหม
คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2563
Creative and Production Senior Analyst, Lazada
พ.ศ. 2557 – 2562
Marketing Support Supervisor
Unilever Thai Trading
วชิ าท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
- 1103203 การบรหิ ารแบรนดเชงิ กลยทุ ธ
- 1132205 การวิเคราะหข อมลู ธรุ กิจ
- MT60307 การวเิ คราะหขอมลู ขนาดใหญทางธุรกจิ
บทความวจิ ัย
Chalermkeit Pareejun, Chirawut Lomprakhon and Phetlada
Poonsawat. (2021). Opinion Factors and Marketing Mix
Influencing Generation Z Audiences Decision-Making

สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน 117

ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2
Behavior on Social Media Video Content Viewing. In The
International Postgraduate Research Colloquium (October).
Bangkok: Srinakharinwirot University. pp 100-110. (บทความ
วิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุม
วชิ าการระดบั ชาต;ิ 0.4)

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 118
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยผูร ับผิดชอบหลักสตู รบริหารธุรกิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการคาสมัยใหม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน วิทยาเขตออี ีซี จังหวัดชลบรุ ี

________________________

อาจารยณชิ ยา ศรสี ชุ าต อาจารยผรู บั ผิดชอบหลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะบรหิ ารธุรกิจ สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน
3 1017 0225X XX X

1. วฒุ กิ ารศกึ ษา ปริญญาโท
2. สถานทตี่ ิดตอ วท.ม. (การตลาด)
3. โทรศัพทท ตี่ ิดตอสะดวก มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, 2552
4. ประสบการณทาํ งาน
ปริญญาตรี
วท.บ. (เทคโนโลยีทางอาหาร)
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั , 2545

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-1239
พ.ศ. 2558 – ปจ จบุ นั

อาจารยผูรับผิดชอบหลักสตู รบริหารธรุ กจิ บัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การคา สมัยใหม
คณะบริหารธรุ กิจ สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2557 – 2558
Channel marketing manager – Myanmar,
Uniliver Thai Trading Co.,Ltd.
พ.ศ. 2554 – 2557
Catagory marketing manager – South East Asia,
Uniliver Thai Trading Co.,Ltd.
พ.ศ. 2553 – 2554
Retailer Service Senior Executive,
The Nielsen Company (Thailand)
พ.ศ. 2548 – 2553
Business Development Manager, Surin Thip Co.,Ltd.
พ.ศ. 2547 – 2548
Export Sales Executive, Surin Thip Co.,Ltd.

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 119
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณด า นการสอน/ฝกอบรม พ.ศ. 2545 – 2547
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย Research & Development Staff,
Ajinomoto Sales (Thailand) Co.,Ltd.

วชิ าที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน

- 1101101 การตลาดเพอ่ื การจดั การธรุ กจิ
- 1112101 การจดั การธุรกจิ การคาสมัยใหม
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบริการ
- 1103204 การจดั การประสบการณลูกคา
- 1132103 การจัดการธุรกิจดจิ ิทัล
- 1212204 การจัดการผลติ ภณั ฑส ําหรับธรุ กจิ การคา สมัยใหม
- MT60217 การขายเชงิ กลยุทธ
- MT60222 กลยุทธการส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการ
วารสารวิชาการระดับชาติ
ณิชยา ศรีสุชาต. (2563). พฤติกรรมของผูบริโภคที่ซ้ือสินคาอาหารผาน
แอปพลิชันโทรศัพทมือถือในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการ
จัดการ มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ. ปที่ 9 ฉบับที่ 3 (เดอื นกรกฎาคม-
กันยายน), หนา 1-15. (TCI กลมุ ที่ 2; 0.6)
ณิชยา ศรีสุชาต, วราภรณ เหลืองวิไล และวรงรอง ศรีศริริรุง. (2562).
ปจจัยท่ีสงผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาจากบริษัทจัดสงอาหาร
ออนไลนผานแอปพลิเคชันโทรศัพทมือถือของผูบริโภคในเขต
กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน. ปท่ี
13 ฉบับท่ี 4 (เดือนตุลาคม-ธันวาคม), หนา 63-79. (TCI กลุมท่ี 2;
0.6)
ณิชยา ศรีสุชาต. (2561). การพัฒนานวัตกรรมท่ีเหมาะสมสําหรับธุรกิจ
เอสเอ็มอีไทย. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. ปที่ 37 ฉบับที่ 5 (เดือนกนั ยายน-ตุลาคม), หนา 11-19.
(TCI กลุม ที่ 2; 0.6)

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 120
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวัติอาจารยป ระจําหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการคา สมยั ใหม หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจัดการปญญาภวิ ัฒน

________________________

ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปาลดิ า ศรีศรกาํ พล อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต
คณะบริหารธรุ กจิ สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน 3 1006 0169X XX X

1. วฒุ ิการศึกษา ปรญิ ญาเอก
2. สถานทีต่ ิดตอ วท.ด. (ธรุ กิจเทคโนโลยแี ละการจดั การนวัตกรรม)
3. โทรศพั ททตี่ ดิ ตอสะดวก จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2556
4. ประสบการณทํางาน
ปริญญาโท
M.B.A. (Business Administration)
University of Colorado, Denver, U.S.A., 2540
M.Sc. (Finance)
University of Colorado, Denver, U.S.A., 2540

ปริญญาตรี
วท.บ. (พันธศุ าสตร)
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2536

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-1248
พ.ศ. 2558 – ปจจบุ ัน

อาจารยประจาํ หลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม
คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน
พ.ศ. 2547 – 2551
Senior Brand Manager, ผลิตภณั ฑ Nutrogena,
บรษิ ัท จอหน สนั แอนด จอหนสนั (ไทย) จาํ กัด
พ.ศ. 2545 – 2547
Brand Manager, Citra Brand,
Unilever Thai Trading Ltd.
พ.ศ. 2543 – 2545
Brand Manager, ผลติ ภณั ฑ Parrot,
Berli Jucker (Thailand) Ltd.

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 121

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณด านการสอน/ฝกอบรม พ.ศ. 2540 – 2543
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย Brand Manager, Nivea Body Lotion, Nivea Visage,
Beiersdorf (Thailand) Ltd.

วิชาที่สอนระดบั ปริญญาโท
สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน

- 1171702 การตลาดธุรกิจและการตลาดดจิ ิทัล
วชิ าท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี

- MT60216 ธุรกิจคาปลีกอเิ ล็กทรอนิกส
บทความวิจัย
จุฑามาศ กาญจนโกมล และ ปาลิดา ศรีศรกําพล. (2563). ปจจัยสวน

ประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจใช
บรกิ ารรา นขายของชา ในเขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร. ในการประชุม
วิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ คร้ังที่ 13 (ตุลาคม). อุดรธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. หนา 2757-2768. (บทความวิจัย
ฉบับสมบูรณที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
ระดบั ชาติ; 0.2)
ศริ วิ รรธน กระโจมทอง และ ปาลิดา ศรศี รกําพล. (2563). แนวทางการ
พัฒนาผลิตภัณฑจากนํ้ามะพราวสําหรับผูบริโภคท่ีออกกําลังกายใน
เขตกรงุ เทพมหานคร. ในการประชมุ วชิ าการบณั ฑิตศกึ ษาระดับชาติ
คร้ังที่ 13 (ตุลาคม). อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. หนา
2552-2564. (บทความวจิ ยั ฉบับสมบูรณท่ตี ีพิมพใ นรายงานสืบเน่ือง
จากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ; 0.2)
วารสารวิชาการระดับชาติ
กัญญาภัทร เสนหหา และ ปาลิดา ศรีศรกําพล. (2563). ปจจัยสวน
ประสมการตลาดบริการ (7 Ps) ทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ กระบวนการตัดสินใจ
เ ลื อ ก ซื้ อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ส มุ น ไ พ ร ข อ ง ผู บ ริ โ ภ ค ใ น จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี
กรณีศึกษารานใสใจคุณ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน. ปท่ี
15 ฉบับท่ี 2 (เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม), หนา 23-31. (TCI กลุมที่
2; 0.6)
จิระวดี ตั้นเสง และ ปาลิดา ศรีศรกําพล. (2563). ปจจัยการส่ือสาร
การตลาดแบบออนไลนท่ีมีอิทธิพลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อ
ผลติ ภณั ฑแวนตา ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา
ปจจัยการส่ือสารการตลาดของรานหอแวน. วารสารวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี. ปท่ี 7 ฉบับท่ี 2 (เดือน
กรกฎาคม-ธนั วาคม), หนา 267-281. (TCI กลมุ ที่ 1; 0.8)

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 122
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยประจาํ หลักสูตรบริหารธุรกจิ บณั ฑิต
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการคาสมยั ใหม หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน

________________________

ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ภญ.ธญั ญา สุพรประดิษฐชัย อาจารยประจาํ หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต
คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ฒั น
หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน 1 0074 1206X XX X

1. วุฒิการศกึ ษา ปริญญาเอก
2. สถานทีต่ ดิ ตอ Ph.D. (Marketing)
3. โทรศัพทท ต่ี ิดตอสะดวก University of Technology Sydney (UTS), Sydney,
4. ประสบการณทํางาน Australia, 2553

ปริญญาตรี
ภ.บ. (เภสชั ศาสตร)
มหาวทิ ยาลัยรังสิต, 2540

85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี 11120
02-855-0312
พ.ศ. 2553 – ปจ จบุ นั

อาจารยป ระจาํ หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2550 – 2553
Tutor, University of Technology Sydney (UTS)
พ.ศ. 2546 – 2550
Sales Staff, Worldkitchen, Sydney
พ.ศ. 2544 – 2546
Product Supervisor, EISAI (Thailand) Marketing

5. ประสบการณดานการสอน/ฝกอบรม วิชาท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน

- 1112101 การจดั การธุรกิจการคาสมยั ใหม
- MT60204 การวจิ ัยและวิเคราะหพฤติกรรมผูบรโิ ภค

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 123
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย มคอ. 2
บทความวิจยั
ณัฏฐนันธ เพ็งพิทักษ และ ธัญญา สุพรประดิษฐชัย. (2563).

เปรียบเทียบ กา รรั บรู คุ ณภ า พบ ริ กา รก อ น แล ะห ลั ง จ า ย
ภาษีมูลคาเพ่ิมออนไลน (e-filing) จําแนกตามคุณลักษณะของ
ผูประกอบการ. ในกรุงเทพมหานครผานชองทางออนไลน. ในการ
ประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งท่ี 13 (ตุลาคม).
อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. หนา 2652 – 2665.
(บทความวิจัยฉบับสมบูรณที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ
ประชมุ วิชาการระดับชาต;ิ 0.2)
วราภรณ กุลชาติ และ ธัญญา สุพรประดิษฐชัย. (2563). การ
เปรียบเทียบกลยุทธสวนประสมทางการตลาดของผูบริโภคใน
กรงุ เทพมหานครท่ีมีตอมนิ ิบิ๊กซีและโลตสั เอ็กซเพรส. ในการประชุม
วิชาการระดับชาติคร้ังที่ 17 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต
กําแพงแสน (ธันวาคม). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต
กําแพงแสน. หนา 4426-4429. (บทความวิจัยฉบบั สมบูรณที่ตีพิมพ
ในรายงานสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาต;ิ 0.2)
วารสารวชิ าการระดบั ชาติ
ปภัค อุดมธรรมกุล, ธัญญา สุพรประดิษฐชัย และสิทธิกรณ คํารอด.
(2563). ปจจัยดานประชากรศาสตร ปจจัยทางจิตวิทยา ปจจัยทาง
สังคมและสวนประสมทางการตลาด 7Ps ท่ีมีผลตอการตัดสินใจใช
บริการศูนยออกกําลังกายของผูบริโภคในกรุงเทพมหานครในชวง
การแพรระบาดของโควิด-19. วารสารปญญาภวิ ัฒน. ปท ี่ 12 ฉบบั ที่
3 (เดอื นกนั ยายน-ธนั วาคม), หนา 25-37. (TCI กลมุ ท่ี 1; 0.8)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 124
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยประจาํ หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ การคาสมัยใหม หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญญาภิวฒั น

________________________

อาจารย ดร.สายพณิ ปน ทอง อาจารยประจาํ หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑิต
หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน คณะบริหารธุรกจิ สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน
3 1022 0166X XX X

1. วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาเอก
2. สถานทตี่ ดิ ตอ ปร.ด. (การจดั การ)
3. โทรศพั ทท ่ตี ดิ ตอสะดวก มหาวทิ ยาลัยสยาม, 2561
4. ประสบการณท าํ งาน
ปริญญาโท
บธ.ม. (การจดั การ)
มหาวิทยาลยั สยาม, 2547

ปริญญาตรี
บธ.บ. (การจดั การ)
มหาวิทยาลยั ธนบุรี, 2544

85/1 หมู 2 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0886
พ.ศ. 2561 – ปจจุบนั

อาจารยประจําหลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม
คณะบรหิ ารธุรกิจ สถาบันการจดั การปญญาภิวัฒน
พ.ศ. 2552 – 2561
อาจารยป ระจาํ คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั ธนบุรี
พ.ศ. 2547 – 2552
ผจู ัดการฝายจัดซอื้ บรษิ ัท ไทย เจ.เพรส จาํ กดั

5. ประสบการณดา นการสอน/ฝก อบรม พ.ศ. 2540 – 2547
ผจู ัดการฝายจัดซื้อ บริษัท ว.ี สแตนดารด จํากัด

วิชาท่ีสอนระดับปริญญาโท
สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน

- 1172701 การวิเคราะหข อมูลและการวจิ ยั ทางธรุ กจิ

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 125
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย มคอ. 2
วิชาที่สอนระดบั ปริญญาตรี

- MT60426 การจดั การเชงิ กลยุทธท างธรุ กจิ
- MM60212 ทักษะสําหรับนักธุรกจิ มอื อาชพี
บทความวิจยั
พงศปณต หมูขาว และ สายพิณ ปนทอง. (2563). ปจจัยทางการตลาด
ท่ีมีผลตอการตัดสินใจใชบริการรานสะดวกซักผานระบบออนไลน
บริษัท AAA ของลูกคาในจังหวัดนนทบุรี. ในการประชุมวิชาการ
ระดับชาติดานธุรกิจ สารสนเทศ และการจัดการ คร้ังที่ 3 ใน
รูปแบบออนไลน (กันยายน). กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. หนา 440-447. (บทความ
วิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุม
วิชาการระดับชาต;ิ 0.2)
ดรุณฉัตร สมรรคเสวี และ สายพิณ ปนทอง. (2563). ปจจัยที่มีผลตอ
การตัดสนิ ใจซอ้ื เสื้อผาแฟชัน สตรีขนาดใหญ ผานชอ งทาง ออนไลน
Facebook ของผูบริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ. ในการประชุม
วิชาการระดับชาติดานธุรกิจ สารสนเทศ และการจัดการ คร้ังท่ี 3
ในรูปแบบออนไลน (กันยายน). กรุงเทพมหานคร: สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. หนา 372-382.
(บทความวิจัยฉบับสมบูรณที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ
ประชมุ วิชาการระดบั ชาต;ิ 0.2)
วารสารวิชาการระดบั ชาติ
ไชยภพ คัมภีรพงศ และ สายพิณ ปนทอง (2563). คุณภาพการ
ใหบริการการรับประกันสินคาที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกใช
บริการหลังการขายของลูกคา บริษัทเอสเซนต้ี รีซอรสเซส จํากัด.
วารสารสุทธิปริทัศน. ปท่ี 35 ฉบับท่ี 2 (เดือนเมษายน-มิถุนายน),
หนา 112-129. (TCI กลุมท่ี 2; 0.6)
เอกธนัช ศรีบุญมา, สายพิณ ปนทอง และ ณัฐินี ชุติมันตพงศ. (2563).
การยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกชําระ
คาบริการผาน QR CODE สําหรับนักทองเที่ยวท่ีเขาพักโรงแรม
ขนาดกลางในจังหวัดเชียงใหม. วารสารวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ปท่ี 2 ฉบับที่ 4 (เดือนกรกฎาคม-
สิงหาคม), หนา 49-62. (TCI กลมุ ท่ี 2; 0.6)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 126
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยประจาํ หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการคา สมยั ใหม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ฒั น

________________________

อาจารยพรหมสร เดชากวนิ กุล อาจารยประจาํ หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน คณะบริหารธรุ กจิ สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ฒั น
3 1007 0026X XX X

1. วฒุ กิ ารศึกษา ปริญญาโท
2. สถานท่ีติดตอ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)
3. โทรศพั ทท่ตี ดิ ตอสะดวก จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , 2553
4. ประสบการณทํางาน
ปรญิ ญาตรี
บธ.บ. (การตลาด)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2546

85/1 หมู 2 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0887
พ.ศ. 2561 – ปจ จบุ ัน

อาจารยป ระจาํ หลักสตู รบริหารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจดั การธุรกิจการคาสมยั ใหม
คณะบริหารธุรกิจ สถาบนั การจดั การปญญาภวิ ัฒน
พ.ศ. 2560 – 2561
Business Development Manager
VP Coaching & Consulting Co.,Ltd.
พ.ศ. 2558 – 2560
Business Development Manager, Anchasorn Co.,Ltd.
พ.ศ. 2550 – 2558
Sales Manager and Lecturer, Thanapoom Co.,Ltd.

พ.ศ. 2548 – 2550
Service Marketing Manager, Thepratee Co.,Ltd.

พ.ศ. 2546 – 2548
Agency, AIA (Thailand) Co.,Ltd

สถาบนั การจดั การปญ ญาภิวัฒน 127
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

5. ประสบการณด านการสอน/ฝกอบรม วชิ าท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย สถาบันการจดั การปญ ญาภวิ ัฒน

- 112101 การจดั การธรุ กิจการคา สมยั ใหม
- 1212106 การจัดการธุรกิจดิจิทลั
- MT60205 กลยุทธการตลาดดิจทิ ลั
- MT60216 ธรุ กิจคา ปลีกอเิ ล็กทรอนิกส
- MT60221 การเปน ผูป ระกอบการธุรกิจการคาสมัยใหม
บทความวจิ ยั
ณัฏฐชัย ออนคง และ พรหมสร เดชากวินกุล. (2564). ปจจัยที่มีผลตอ
การตัดสินใจซ้ือสินคาเพ่ือสุขภาพ และความงาม ผานแอพพลิเคช่ัน
ไลน ภายใตวิถีชีวิตใหม ของผูบริโภคในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด.
ในการประชุมวิชาการระดับชาติดานบริหารธุรกิจ ครั้งที่ 8 คณะ
บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแมโจ (กุมภาพันธ). เชียงใหม:
มหาวิทยาลัยแมโจ. หนา 901-915. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ี
ตีพิมพใ นรายงานสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ; 0.2)
ยุวรินธร ไชยโชติชวง, พรหมสร เดชากวินกุล และสิทธิโชค รัชนิพนธ.
(2564). ปจจัยท่ีสงผลตอการเลือกซื้ออาหารพรอมทานของกลุม
ผูบริโภคเจเนอรเรชั่น Z. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและ
นานาชาติ คร้ังที่ 2 หวั ขอ "สหวทิ ยาการเพ่อื การพัฒนานวัตกรรมใน
ศตวรรษท่ี 21 (มีนาคม). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บานสมเด็จเจาพระยา. หนา 69-80. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณที่
ตพี มิ พใ นรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาต;ิ 0.2)

สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน 128
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวัติอาจารยประจาํ หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ การคาสมยั ใหม หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น

________________________

อาจารย ดร.บัญชา ลิมปะพันธุ อาจารยประจําหลักสูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ
หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปญ ญาภิวฒั น
3 1002 0007X XX X

1. วุฒิการศกึ ษา ปรญิ ญาเอก
2. สถานท่ตี ดิ ตอ บธ.ด. (การจัดการ)
3. โทรศพั ทที่ตดิ ตอสะดวก มหาวทิ ยาลยั ชนิ วัตร, 2560
4. ประสบการณท ํางาน
ปริญญาโท
M.Sc. (International Business Management)
University of Surray, Guildgord, United Kingdom, 2550

ปริญญาตรี
ศศ.บ. (สอ่ื สารมวลชน)
มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2544

85/1 หมู 2 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0297
พ.ศ. 2562 – ปจจบุ ัน

อาจารยป ระจาํ หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กิจการคา สมัยใหม
คณะบริหารธรุ กจิ สถาบันการจดั การปญ ญาภิวฒั น
พ.ศ. 2555 – 2561
อาจารยป ระจาํ คณะการจดั การ มหาวิทยาลัยชนิ วัตร
พ.ศ. 2550 – 2555
ธุรกจิ สว นตัว

5. ประสบการณดา นการสอน/ฝก อบรม วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบันการจัดการปญญาภวิ ัฒน

- 1101101 การตลาดเพ่อื การจดั การธุรกจิ
- MT60205 กลยุทธการตลาดดิจิทัล
- MT60221 การเปนผูประกอบการธรุ กิจการคาสมัยใหม

สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน 129
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย มคอ. 2
วารสารวชิ าการระดับชาติ
Sawagvudcharee, O., & Limpabandhu, B. (2019). Understanding

the Multifaceted Dynamics of Organizational Change within
the Hospitality Industry. ABC Journal. Vol. 39 No. 1 (January-
June), pp 34-56. (TCI กลุม ท่ี 1; 0.8)
ปกรณเกียรติ จันทรกุล ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, บัญชา ลิมปะพันธุ
และอุษณีย เสวกวัชรี. (2561). ความสําเร็จของกลยุทธการตลาด
บริการของสถานบริการที่พักสูงอายุ. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใช
สังคม. ปที่ 4 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-มิถุนายน), หนา 67-78. (TCI กลุมที่
2; 0.6)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 130
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยประจาํ หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ การคา สมยั ใหม หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบันการจัดการปญ ญาภวิ ัฒน

________________________

อาจารย ดร.วรรณนัฏฐา ขนษิ ฐบตุ ร อาจารยประจาํ หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บัณฑติ
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะบรหิ ารธุรกิจ สถาบนั การจดั การปญญาภิวฒั น
1 1201 0014X XX X

1. วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาเอก
ปร.ด. (การบรหิ ารการพฒั นา)
2. สถานทต่ี ิดตอ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา, 2564
3. โทรศพั ทท ี่ติดตอสะดวก
4. ประสบการณท ํางาน ปรญิ ญาโท
5. ประสบการณดานการสอน/ฝกอบรม M.Sc. (Supply Chain Management)
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย Aston University, Birmingham, United Kingdom, 2557

ปรญิ ญาตรี
บธ.บ. (การจดั การผลติ )
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร, 2554

85/1 หมู 2 ถ.แจง วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-1243
พ.ศ. 2559 – ปจจุบนั

อาจารยป ระจําหลักสตู รบริหารธุรกจิ บณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กจิ การคาสมัยใหม
คณะบริหารธรุ กจิ สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน
พ.ศ. 2554 – 2555
Team Member inRegional Sea Freight Rate,
Kuehne+Nagel Ltd.
วชิ าที่สอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน
- BA60205 การจัดการโลจิสตกิ สและซัพพลายเชน
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบริการ
บทความวิจัย
สทิ ธพิ ทั ธ เลิศศรีชยั นนท, ณัฐพชั ร อภริ ุงเรอื งสกลุ , วรรณนฏั ฐา ขนิษฐบุตร
และสุดาสวรรค งามมงคลวงศ. (2563). การตัดสินใจซ้ือผลิตภัณฑ
ความงามของผูหญิงผานชองทางพาณิชยอิเล็กทรอนิกส. ในการ

สถาบนั การจัดการปญ ญาภวิ ัฒน 131

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2
ประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสรางสรรค ครั้งท่ี 6 รูปแบบ
ออนไลน (กันยายน). เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ลา นนา. หนา 22-32. (บทความวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณท ต่ี ีพมิ พในรายงาน
สืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดับชาต;ิ 0.2)
Sujittra Sukkang, Palida Srisornkompon & Wannattha Khanitthabud.
(2019). Factors affecting decision making on using wedding
planner services of people in Bangkok. In Panyapiwat
International Conference 2nd (July). Nonthaburi: Panyapiwat
Institute of Management. pp. G99-G104. (บทความวิจัยฉบับ
ส ม บู ร ณ ท่ี ตี พิ ม พ ใ น ร า ย ง า น สื บ เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร
ระดับชาติ; 0.4)

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 132
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ. 2

ประวตั ิอาจารยประจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมยั ใหม หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจัดการปญญาภิวฒั น

________________________

อาจารยก ฤษณา วงศไชยพรหม อาจารยประจาํ หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบันการจัดการปญ ญาภิวัฒน
3 5202 0015X XX X

1. วฒุ กิ ารศึกษา ปรญิ ญาโท
2. สถานที่ติดตอ บธ.ม. (การตลาด)
3. โทรศัพทท ี่ติดตอสะดวก มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม, 2555
4. ประสบการณทํางาน
ปรญิ ญาตรี
5. ประสบการณดานการสอน/ฝก อบรม บธ.บ. (การตลาด)
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย วทิ ยาลัยอีสเทอรน, 2547

85/1 หมู 2 ถ.แจงวฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
02-855-0200
พ.ศ. 2555 – ปจจุบัน

อาจารยประจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ การคาสมยั ใหม
คณะบริหารธุรกจิ สถาบันการจัดการปญญาภวิ ฒั น
พ.ศ. 2548 – 2555
อาจารยประจาํ สาขาการตลาด
โรงเรยี นลําปางพาณชิ ยการและเทคโนโลยี
พ.ศ. 2547 – 2548
อาจารย โรงเรียนกวดวิชาพฒั นศึกษาลาํ ปาง
วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบันการจดั การปญ ญาภิวัฒน
- 1101101 การตลาดเพ่ือการจัดการธุรกจิ
- 1112102 การขายและมาตรฐานการบริการ
บทความวจิ ัย
ดวงแกว ศรีบัวงาม, สรชาติ รังคะภูติ และกฤษณา วงศไชยพรม. (2561).
การศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารสําเร็จรูปของผูสูงอายุในราน
สะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยกลุมศรีอยุธยา คร้ังที่ 9 วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสังคม

สถาบันการจดั การปญญาภวิ ัฒน 133

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ. 2
(ตลุ าคม). ปทมุ ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณใ นพระบรมรา
ชูปถัมป. หนา 1025-1035. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพใน
รายงานสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาต;ิ 0.2)
อุเทน จําปาหอย, สรชาติ รังคะภูติ และกฤษณา วงศไชยพรม. (2561).
การศึกษาสวนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลตอการซื้อยาในราน
สะดวกซื้อเชตกรุงเทพมหานคร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยกลุมศรีอยุธยา คร้ังที่ 9 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคม
(ตุลาคม). ปทมุ ธานี: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณใ นพระบรมรา
ชูปถัมป. หนา 1008-1016. (บทความวิจัยฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพใน
รายงานสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการระดับชาต;ิ 0.2)

สถาบนั การจดั การปญ ญาภวิ ัฒน 134
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั


Click to View FlipBook Version