The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitayaporn, 2019-11-15 01:32:04

การจัดการเรียนรู้บูรณาการ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 44
บทที่ 4 บทที่ 4
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง..............................................................................................


มีวัตถุประสงค์เพื่อ....................................................................... มีการนำเสนอผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง................................................................................................................
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาโครงงานประดิษฐ์/ทดลอง/สำรวจ ฯลฯ
มีวัตถุประสงคเพื่อ.................................................................................. มีการนําเสนอผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
ตอนที่ 2 การบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ตอนที่ 1 ผลการศึกษา/ประดิษฐ/ทดลอง/สํารวจ ฯลฯ
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาโครงงานประดิษฐ์/ทดลอง/สำรวจ ฯลฯ
ตอนที่ 2 การบูรณาการกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู


................. (ให้นำผลการปฏิบัติโครงงานโดยใช้ข้อมูลจากแบบฟอร์ม โครงงาน 3 ที่บันทึกการปฏิบัติ
ตอนที่ 1 ผลการศึกษา/ประดิษฐ/ทดลอง/สํารวจ ฯลฯ
โครงงานไว้ มาสรุปเป็นผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนโดยให้นำเสนอข้อมูลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
................. (ใหนําผลการปฏิบัติโครงงานโดยใชขอมูลจากแบบฟอรม โครงงาน 3 ที่บันทึกการปฏิบัติโครงงานไว
แต่ละข้อ ตามลำดับ โดยจัดกระทำข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น ตาราง แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น
เป็นต้น) มาสรุปเปนผลการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอนโดยใหนําเสนอขอมูลที่สอดคลองกับวัตถุประสงคแตละขอ ตามลําดับ
โดยจัดกระทําขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม เชน ตาราง แผนภูมิแทง กราฟเสน เปนตน)
ตัวอย่าง
ตัวอยาง
ตารางที่ 00 แสดงค่าเฉลี่ยของ.........................................................
ตารางที่ 00 แสดงคาเฉลี่ยของ.........................................................







ชื่อแกน......................
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5
0 ชื่อแกน......................

1 2 3

แผนภูมิ 00 แสดง........................................................................
แผนภูมิ 00 แสดง........................................................................
จากตาราง 00 / แผนภูมิ 00 พบว่า .................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
จากตาราง 00 / แผนภูมิ 00 พบวา .....................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ตอนที่ 2 การบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

......................... (เขียนอธิบายความรู้ที่ได้จากการทำโครงงานที่เชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง

8 กลุ่มสาระโดยละเอียด) ..................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


บทที่ 5
สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ


จากการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง..............................................................................................
สามารถสรุปและอภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้

................. (ให้ระบุชื่อโครงงานที่ทำ วัตถุประสงค์ ระยะเวลาและสถานที่) .....................................

..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน
................. (ให้สรุปผลการศึกษาเรียงตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อ) ....................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน

................. (อธิบายเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้นจากการศึกษาและปฏิบัติโครงงานตามข้อสรุปแต่ละข้อ)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ปัญหา/อุปสรรคและวิธีการแก้ไข

...............(อธิบายปัญหาในการทำโครงงานพร้อมระบุแนทางการแก้ไขปัญหาของนักเรียนเป็นข้อๆ)
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน








ประโยชน์ที่ได้รับ
.................. (ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงานครั้งนี้) ....................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................



ข้อเสนอแนะ
................. (ระบุข้อเสนอแนะ/คำแนะนำในการทำโครงงานครั้งนี้) ......................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


เอกสารอ้างอิง

.....................(เขียนให้ถูกต้องตามหลักการเขียนเอกสารอ้างอิง)........................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
......... ................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

...................................................................................................................... ..................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ภาคผนวก

(ใส่ภาพประกอบการทำโครงงาน โดยเริ่มตั้งแต่การประชุมกลุ่มการทำโครงงานแต่ละขั้นตอน)




















ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย........... ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย...........


















ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย........... ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย...........



















ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย........... ภาพที่ ...... ...........คำอธิบาย...........

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9

แบบฟอร์มโครงงาน 6


แบบประเมินโครงงานบูรณาการ ภาคเรียนที่ 2

นักเรียนห้อง ม.3/.......... กลุ่มที่ .......... เลขที่ .................................................................................................

ชื่อโครงงาน .....................................................................................................................................................
ห้องสอบที่ 1 2 3 วันที่ ............. เดือน ........................ พ.ศ...................
























































ความคิดเห็นเพิ่มเติม .....................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ กรรมการสอบ ลงชื่อ .......................................... กรรมการสอบ
ลงชื่อ ................................................ กรรมการสอบ ลงชื่อ .......................................... กรรมการสอบ



ตัวอย่างโครงงานบูรณาการ



การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิด



ในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


















การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิดในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ



ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 441 กลุ่มที่ 8


1. ด.ญ.กัญนภัส บำรุงพฤกษ์ เลขที่ 3
2. ด.ช.จิรัฐ พุทธธรรมวงศ์ เลขที่ 7
3. ด.ช.จิรายุส จินาพงษ์ เลขที่ 8
4. ด.ช.ฐานทัพ ดอกไม้ เลขที่ 13
5. ด.ญ.ญัฐรดา สุรเชษฐพงษ์ เลขที่ 17






อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ
อาจารย์วัฒนโชติ เพ็งพริ้ง
อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ



เสนอ
คณะกรรมการสอบโครงงานบูรณาการ





รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานบูรณาการ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


บทคัดย่อ


ชื่อโครงงาน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิดในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ
ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 441 กลุ่มที่ 2

1. ด.ญ.กัญนภัส บำรุงพฤกษ์ เลขที่ 3
2. ด.ช.จิรัฐ พุทธธรรมวงศ์ เลขที่ 7

3. ด.ช.จิรายุส จินาพงษ์ เลขที่ 8
4. ด.ช.ฐานทัพ ดอกไม้ เลขที่ 13
5. ด.ญ.ญัฐรดา สุรเชษฐพงษ์ เลขที่ 17



อาจารย์ที่ปรึกษา
1. อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ
2. อาจารย์วัฒนโชติ เพ็งพริ้ง

3. อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ


บทคัดย่อ

โครงงานบูรณาการเรื่องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิดในการลด
ปริมาณสารพิษในน้ำเป็นโครงงานประเภททดลอง โดยทางกลุ่มได้เลือกสาหร่ายน้ำจืดโดยดัดแปลง
มาจากโครงงานการใช้สาหร่ายทะเลดักจับน้ำมันทั้งนี้ทางกลุ่มจะใช้สาหร่ายในการลดปริมาณสารพิษ
ซึ่งก็คือไนเตรท แอมโมเนียในแหล่งน้ำจืดตามธรรมชาติให้ได้เกณฑ์มาตรฐานและเปรียบเทียบว่าสาหร่าย
ชนิดใดสามารถลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุดเป็นวิธีการบำบัดน้ำทางธรรมชาติโดยมีปัญหาหลัก
ของโครงงานคือ สาหร่ายชนิดต่างๆ จะสามารถลดสารพิษในน้ำได้จริงหรือไม่ และสาหร่ายชนิดใด
จะสามารถลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุดส่วนสาหร่ายที่ใช้คือสาหร่ายน้ำจืด 3 ชนิดคือสาหร่ายไก
สาหร่ายเทาน้ำ และสาหร่ายลอน พร้อมกับชุดทดสอบโดยอุปกรณ์วัดค่าสารโดยเทียบแถบสีเพื่อวัด
ค่าสารพิษที่ลดลงโดยสมมติฐานที่ตั้งไว้คือสาหร่ายไกสามารถลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุดและ
จากการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงได้เริ่มทำการทดลองโดยเลี้ยงสาหร่ายน้ำจืดจนสามารถเก็บ
ตัวอย่างไปทดลองลดสารพิษต่างๆ เป็นเวลา 10 วันได้ผลว่าสาหร่ายเทาน้ำสามารถลดปริทมารสารพิษ
ได้มากที่สุดโดยจากการที่ค่าไนเตรทในน้ำลดลงถึง 20 ppm และค่าแอมโมเนียในน้ำลดลงถึง 4 ppm
ส่วนค่าออกซิเจนในน้ำสาหร่ายเทาน้ำยังให้ออกซิเจนในแหล่งน้ำมากขึ้นกว่าสาหร่ายอื่นๆ โดยเพิ่มขึ้นถึง
9 ppmทั้งนี้กระบวนการที่เกี่ยวข้องคือกลไกการดูดซับสารของสาหร่ายน้ำจืดและในค่าออกซิเจนในน้ำ
ที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่ายซึ่งก็ขึ้นอยู่กับจำนวนคลอโรพลาสต์ในเซลล์
สาหร่ายแต่ละชนิด จากการทดลองของทางกลุ่มทำให้พบว่าสาหร่ายน้ำจืดสามารถลดสารพิษให้ได้เกณฑ์
มาตรฐานและสาหร่ายเทาน้ำลดสารพิษได้มากที่สุดเพื่อที่นำไปปรับใช้แทนวิธีการทางเคมีต่างๆ
ต่อไป
คำสำคัญ : สาหร่าย แอมโมเนีย ไนเตรท ออกซิเจน การดูดซับ

จำนวนหน้า : 29 หน้า

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กิตติกรรมประกาศ

การปฏิบัติโครงงานเรื่องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิดในการลดปริมาณ

สารพิษในน้ำได้รับความช่วยเหลือจากอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ อาจารย์ประจำชั้น
และอาจารย์กรรมการผู้คุมสอบ อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ หัวหน้างานหลักสูตรฯผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์
ด้านสถานที่ห้องปฏิบัติการเคมีรวมถึงอุปกรณ์และความรู้ในการปฏิบัติโครงงานและอาจารย์กรรณิการ์
ปัญญาวิชัย อาจารย์ที่ปรึกษาทั้งด้านการทำรายงานและการนำเสนอรวมถึงอาจารย์คณะกรรมการผู้คุมสอบ

ทั้งเทอม 1 และเทอม 2 ทุกท่านที่ให้ความรู้ความสามารถรวมถึงข้อแนะนำในการทำโครงงาน ขอขอบคุณ
ผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่มทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือทั้งเสียสละเวลาและการจัดหาอุปกรณ์
การทำรายงานต่าง ๆ ให้ทางกลุ่ม ขอบคุณโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวันที่เป็นสถานที่ทั้งในการปรึกษาและ
การทำงานของทางกลุ่ม


ขอขอบคุณทุกแรงผลักดันที่ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ขอขอบคุณอาจารย์
คณะวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ให้แหล่งซื้อหาสาหร่ายสำหรับการทดลอง
ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ทุกคนที่เป็นกำลังใจให้งานนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี


สุดท้ายนี้ขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ได้ให้ความร่วมมือเสียสละเวลาและช่วยกันให้
โครงงานชิ้นนี้ประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์


คณะผู้จัดทำ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


คำนำ

โครงงานบูรณาการนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากเป็นการวัดความสามารถของผู้เรียน

ในทางความคิดสร้างสรรค์การคิดเชื่อมโยงกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 รายวิชาหลักเข้าด้วยกันเป็นองค์ความรู้
ที่ถูกต้องครอบคลุมและนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาหัวข้อที่สนใจ
ตามหลักการกระบวนการที่ถูกต้องและเป็นวิทยาศาสตร์เพื่อค้าหาหรือสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ ที่เชื่อถือได้
โดยมีอาจารย์ผู้เป็นที่ปรึกษาทำให้โครงงานเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และมีปัญหาน้อยลง สุดท้ายคือการให้

ผู้เรียนนำเสนอโครงงานซึ่งสิ่งเหล่านี้นั่นก็ตรงกับเอกลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตปทุมวันคือ
สุภาพ เป็นมิตร กล้าคิด กล้าทำ กล้านำเสนอนั่นเอง

โครงงานบูรณาการเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิดในการลดปริมาณ

สารพิษในน้ำ เป็นโครงงานด้านการทดลองคือการศึกษาเพื่อหาคำตอบของปัญหาโดยมีการควบคุมตัวแปร
ในการศึกษาอย่างชัดเจน ดังนั้นเราจึงทำการออกแบบการทดลองขึ้นเพื่อตอบโจทย์ของปัญหานี้ซึ่งก็คือการลด
ปริมาณสารพิษในน้ำโดยใช้สาหร่ายแต่ละชนิด แล้วนำปริมาณนั้นมาเปรียบเทียบกันเพื่อสรุปผลการทดลอง
ขั้นตอนการดำเนินงานโดยย่อของกลุ่มเราจะเริ่มจาก การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง
การรวบรวมข้อมูล แปลผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง ซึ่งถือว่าเป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

โดยสมบูรณ์

สำหรับรายงานฉบับนี้ จะเน้นรายละเอียดในเรื่องของ ที่มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ของโครงงาน
ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ดำเนินงาน และผลที่ตาดว่าจะได้รับ รวมถึงผลการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ผังมโนทัศน์เรื่องการเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้กล่าวไปข้างต้นแล้ว


ในสุดท้ายนี้ ทางคณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษาทุกท่าน เพื่อนๆ ผู้ปกครองที่เป็น
ที่ให้คำปรึกษาชี้แนะ ให้กำลังใจจนสามารถริเริ่มทำโครงงานเรื่องนี้ได้อย่างสมบูรณ์



คณะผู้จัดทำ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
คำนำ ค
สารบัญ ง

บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 3

ปัญหาของโครงงาน 3
สมมติฐาน 3
ขอบเขตของโครงงาน 3
นิยามเชิงปฏิบัติการ 4
แผนการดำเนินโครงงาน 5

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6
ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 7
บทที่ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 8

บทที่ 3 วิธีปฏิบัติโครงงาน 18
วัสดุอุปกรณ์และปริมาณตัวแปรที่ใช้ศึกษา 18
วิธีปฏิบัติโครงงาน 18
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติโครงงาน 19
ผลการปฏิบัติโครงงาน 19

ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 23
บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ 26
สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน 26

อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน 26
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 27
ประโยชน์ที่ได้รับ 27
ข้อเสนอแนะ 27
เอกสารอ้างอิง 28

ภาคผนวก 29

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 1





บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน


ประเทศไทยนั้นเป็นประเทศเกษตรกรรมโดยภาพรวมแล้วอาชีพหลักของคนไทยก็คือเกษตรกรรม
การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ทั่วๆ ไปตามต่างจังหวัดอาจเป็นเพราะภูมิลักษณ์ของไทยนั้นมีที่ราบจำนวนมาก
อีกทั้งแหล่งน้ำก็อุดมสมบูรณ์การใช้ระบบชลประทานก็เป็นไปอย่างสะดวกแต่ข้อเสียที่ตามมาภายหลัง

คือคุณภาพน้ำที่ลดลงเรื่อยๆจนก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำขึ้น อาจเนื่องจากสิ่งมีชีวิตจากการเลี้ยงลงสู่แหล่งน้ำ
แบคทีเรียที่เจริญในน้ำเยอะเกินไปหรือจากสารพิษของเสียจากสารเคมีทางการเกษตร เราผู้เป็นผู้อุปโภค
บริโภคใช้แหล่งน้ำเหล่านี้ก็พลอยได้รับผลกระทบด้วยแต่การใช้น้ำเสียจากการเกษตรก็ถือว่ายังมีผลกระทบ
น้อยกว่าในปัจจุบันที่มีการนำโรงงานอุตสาหกรรมเข้ามาเปิดมากมายทั่วไปหมดน้ำเสียมีมลพิษมากขึ้นถึง

ขนาดไม่สามารถใช้น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติได้เลยแม้กระทั่งน้ำฝนก็ใช้ไม่ได้ รวมกับน้ำเสียจากครัวเรือน
ที่อยู่ใกล้ตัวที่มีการทิ้งลงสู่แม่น้ำทุกๆช่วงเวลา ดังนั้นการอุปโภคบริโภคก็ลำบากมากขึ้นเพราะต้องมี
กระบวนการในการลดมลพิษก่อนส่งให้พวกเราใช้ได้ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คือเรื่องใกล้ตัวทั้งสิ้น

มลพิษในน้ำนั้นมีมากมายมากเริ่มจากสิ่งที่ตามองเห็นได้หยิบจับได้ นั่นคือสารแขวนลอยต่างๆ

ที่ลอยอยู่เหนือน้ำซึ่งวิธีการกำจัดก็ก็ไม่ยากมากนัก ส่วนสารที่จะลายอยู่ในน้ำก็จะมีตั้งแต่สิ่งที่แยกได้ไปจนถึง
สิ่งที่เปลี่ยนสมบัติทางเคมีของน้ำ โดยจากการค้นคว้าข้อมูลโดยเบื้องต้นทางกลุ่มจึงรู้ถึงสาเหตุหลัก
ของการมีมลพิษในน้ำคือการที่ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลงซึ่งการเลี้ยงพืชน้ำนั้นก็น่าจะมีผลในการเพิ่ม
ออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสงของคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์พืช ทางกลุ่มจึงทำการศึกษามลพิษทางน้ำ

อย่างอื่นและสนใจในส่วนของ ไนเตรทและแอมโมเนียซึ่งเป็นสาเหตุของความขุ่นและกลิ่นของน้ำด้วยอีกทั้ง
ยังเป็นสารประกอบจากธาตุไนโตรเจนเหมือนกัน ดังนั้นทางกลุ่มจึงสนใจตัวแปรที่จะศึกษาเป็นสารพิษในน้ำ
คือไนเตรทและแอมโมเนียนั่นเอง


แหล่งกำเนิดน้ำ ผ่านแม่น้ำลำคลองต่างๆ กว่าจะถึงมือผู้บริโภคนั้นน้ำจืดเหล่านี้ก็ต้องผ่านมลพิษ
ที่กล่าวข้างต้นมาไม่น้อยจึงต้องผ่านกรรมวิธีจำนวนมากเพื่อให้สามารถอุปโภคบริโภคใช้ได้ซึ่งแน่นอนการค้นหา
วิธีการใหม่ๆในการลดสารพิษเหล่านี้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการกรรมวิธีรีไซเคิลน้ำที่ซับซ้อนก็มีเกิดขึ้นมา
มากขึ้นแต่วิธีใหม่ๆเหล่านี้จะมีผลตามมาหรือไม่ก็ยังไม่แน่ชัด เพราะส่วนใหญ่คือการใช้สารเคมีหรือการทำให้
ตกตะกอนยิ่งในกระแสสังคมปัจจุบันนั้นก็สนใจเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและกระแสสุขภาพทำให้

การใช้สารเคมีตกตะกอนสารยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีในสังคม

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



แหล่งน้ำที่จะทางกลุ่มสนใจนั้นก็เป็นแหล่งน้ำที่ใช้กันอย่างทั่วไปอย่างแม่น้ำเจ้าพระยาเนื่องจาก
ใกล้ตัวเป็นชีวิตประจำวันของคนภาคกลางอยู่แล้วที่ต้องรู้จักและใช้แหล่งน้ำนี้ในการอุปโภคบริโภคอีกทั้ง

ยังใช้ประโยชน์ในหลายเรื่องนั่นคือเป็นแหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภคซึ่งต้องผ่านกระบวนการ
ก่อนนำไปใช้ การประมง การอนุรักษ์สัตว์น้ำ และกีฬาทางน้ำและเป็นระบบนิเวศที่มีสาหร่ายอาศัยอยู่ได้รวม
ถึงยังเป็นแหล่งที่สามารถเก็บน้ำมาทดลองได้ในจุดที่มีคุณภาพน้ำเท่ากัน

จากที่กล่าวมาทั้งหมดทางกลุ่มจึงเสนอวิธีการลดมลพิษโดยใช้วิธีธรรมชาติบำบัดนั่นก็คือการใช้

สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติสามารถลดสารพิษในน้ำได้นั่นเองทางกลุ่มได้เลือกใช้พืชน้ำเพราะนอกจากคุณสมบัติ
ในการลดมลพิษแล้วยังมีการสังเคราะห์ด้วยแสงของคลอโรพลาสต์ภายในทำให้เพิ่มออกซิเจนในน้ำพร้อมกับ
การลดสารพิษในน้ำด้วยซึ่งพืชน้ำที่รู้จักกันแพร่หลายใกล้ตัวคือพืชใต้น้ำอย่างสาหร่ายเนื่องจากมีการวิจัย
ว่าสาหร่ายน้ำเค็มสามารถลดสารพิษในน้ำทะเลได้หลายชนิด จึงเห็นสมควรที่จะทดลองการลดมลพิษจาก

แหล่งน้ำจืดที่สำคัญโดยใช้สาหร่ายน้ำจืด อีกทั้งการเลือกสาหร่ายยังไม่มีผลต่อการบังแสงแดดเหนือผิวน้ำ
เหมือนพืชลอยน้ำชนิดอื่นอีกทั้งการเพาะเลี้ยงก็เป็นไปได้ง่ายทางกลุ่มจึงคิดว่าสามารถนำสาหร่ายน้ำจืด
มาเป็นตัวแปรที่ใช้ศึกษาการลดมลพิษในแหล่งน้ำจืดได้โดยเลือกสาหร่ายน้ำจืด 3 ชนิด

ทั้งนี้ความสำคัญของโครงงานก็คือ การที่เรานำพืชน้ำนั้นมาใช้ลดปริมาณสารพิษในแหล่งน้ำ

โดยเฉพาะเป็นพืชใต้น้ำเท่ากับเป็นกรรมวิธีการลดของเสียโดยใช้ธรรมชาติบำบัดคือสารให้สิ่งมีชีวิตที่มี
คุณสมบัติในการลดสารพิษที่ต่างกันมาอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศเดียงกันเพื่อสารพิษเหล่านี้จะถูกลดปริมาณ
จนหมดสิ้นไปโดยไม่เสียวงจรธรรมชาติ หรือระบบนิเวศโดยรวมจากการใช้สารเคมีหรือสารอื่นๆ มาลด

สารพิษเหล่านี้อีกทั้งหากทำสำเร็จการบำบัดแหล่งน้ำก็ไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมากด้วยทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับสถานที่ของแหล่งน้ำนั้นๆด้วยเพราะทางกลุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างแหล่งน้ำเพียงประเภทเดียว

กล่าวโดยสรุปคือโครงงานบูรณาการของกลุ่มเราจะทดลองใช้สาหร่ายในการลดปริมาณสารพิษ
เหล่านี้จากแหล่งน้ำระบบนิเวศเดียวกันและหาชนิดของสาหร่ายที่สามารถลดปริมาณสารในน้ำได้มากที่สุด

จากการเปรียบเทียบค่าสารพิษชนิดต่างๆหลังการเพาะเลี้ยงสาหร่ายไว้ในระยะเวลาหนึ่ง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายที่สามารถนำมาใช้ลดสารพิษบางประเภทในแหล่งน้ำจืดได้

ด้วยวิธีธรรมชาติบำบัด
2. เพื่อเปรียบเทียบชนิดของสาหร่ายว่าสาหร่ายชนิดใดสามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้ดีที่สุด

ปัญหาของโครงงาน

สาหร่ายชนิดต่างๆจะสามารถลดสารพิษในน้ำได้จริงหรือไม่ และสาหร่ายชนิดใดจะสามารถ
ลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุด


สมมติฐาน
สาหร่ายไกจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการที่จะสามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้เมื่อเทียบกับ
สาหร่ายอีกสองชนิดคือสาหร่ายเทาน้ำและสาหร่ายลอน


ขอบเขตของโครงงาน
ตัวแปรที่ใช้ศึกษา

ตัวแปรต้น คือ ชนิดของสาหร่าย 3 ชนิด
ตัวแปรตาม คือ ปริมาณสารพิษในน้ำที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวแปรควบคุม คือ แหล่งน้ำที่มีคุณภาพของน้ำเหมือนกัน เครื่องมือที่ใช้วัด
ประเภทเดียวกันปริมาณน้ำที่ใช้ทดสอบ ปริมาณแสงที่

สาหร่ายได้รับ
เครื่องมือที่ใช้
ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดลอง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ระยะเวลาดำเนินงาน
ระหว่างวันที่ 22 กันยายน พ.ศ.2558 ถึงประมาณเดือนมกราคม พ.ศ.2559


สถานที่ดำเนินงาน
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน และบ้านของสมาชิกในกลุ่ม

งบประมาณ/ทรัพยากร
วัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการทดลอง และ เครื่องวัดค่าแอมโมเนีย, ไนเตรต และ ออกซิเจน ในน้ำ


นิยามเชิงปฏิบัติการ

น้ำเสีย หมายถึง น้ำที่มีสารใด ๆ หรือสิ่งปฏิกูลที่ไม่พึงปรารถนาปนอยู่ การปนเปื้อนของ
สิ่งสกปรกเหล่านี้กำหนดจากค่า DO ไม่ต่ำกว่า 6 มิลลิกรัมต่อลิตรและค่า BOD
ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร

สารพิษในน้ำ หมายถึง สารปนเปื้อนในน้ำที่ทำให้คุณภาพเปลี่ยนไปหรือทำให้คุณสมบัติทางเคมี
ของน้ำเปลี่ยนไปโดยทำให้ค่า DO,COD,BOD หรือค่าสารพิษของน้ำเปลี่ยนไป
การบำบัดน้ำ หมายถึง การทำให้สารหรือมลพิษต่างๆในน้ำหายไป คุณภาพของน้ำดีขึ้นเป็น
การกำจัดหรือทำลายสิ่งปนเปื้อนในน้ำเสียให้หมดไป หรือเหลือน้อยที่สุดให้ได้

มาตรฐาน

นิยามเชิงปฏิบัติการ
น้ําเสีย

หมายถึงน้ําที่มีสารใด ๆ หรือสิ่งปฏิกูลที่ไมพึงปรารถนาปนอยู การปนเปอนของสิ่ง
สกปรกเหลานี้กําหนดจากคา DO ไมต่ํากวา 6 มิลลิกรัมตอลิตรและคา BOD ไมเกิน 100 มิลลิกรัมตอลิตร
สารพิษในน้ํา หมายถึงสารปนเปอนในน้ําที่ทําใหคุณภาพเปลี่ยนไปหรือทําใหคุณสมบัติทางเคมี

ของน้ําเปลี่ยนไปโดยทําใหคา DO,COD,BOD หรือคาสารพิษของน้ําเปลี่ยนไป
การบําบัดน้ํา หมายถึงการทําใหสารหรือมลพิษตางๆในน้ําหายไป คุณภาพของน้ําดีขึ้นเปนการ
การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2
กําจัดหรือทําลายสิ่งปนเปอนในน้ําเสียใหหมดไป หรือเหลือนอยที่สุดใหไดมาตรฐาน

แผนการดำเนินโครงงาน
แผนการดําเนินโครงงาน
ตารางที่ 2 แสดงแผนการดำเนินงาน
ตารางที่ 2 แสดงแผนการดําเนินงาน
ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ สถานที่ งบประมาณ/ทรัพยากร
ขั้นตอนที่1 1สัปดาห โรงเรียนสาธิตปทุมวัน 
วางแผนงาน
วางแผนในการปฏิบัติงาน
และแบงหนาที่ของ
สมาชิกในกลุม
ขั้นตอนที่ 2 2 สัปดาห โรงเรียนสาธิตปทุมวัน คอมพิวเตอร
ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ
หาขอมูลตางๆที่เกี่ยวของ
ผานทางคอมพิวเตอร
และหองสมุด
ขั้นตอนที่ 3 2 สัปดาห  วัสดุอุปกรณตางๆที่ใชใน
จัดหาสาหรายและ การทดลอง
ตัวอยางแหลงน้ําที่จะ
ศึกษา จัดหาอุปกรณที่ใช
ในการวัดคาไนเตรท และ
แอมโมเนียในน้ํา
ขั้นตอนที่ 4 46 สัปดาห บานของสมาชิกในกลุม 
ทําการทดลองและ
บันทึกผลการทดลอง
เปนระยะๆ
ทดลองการนําสาหรายแต
ละชนิดมาลดสารพิษใน
น้ําสังเกตการเปลี่ยน
แปลงเปนระยะ,บันทึกผล

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ สถานที่ งบประมาณ/ทรัพยากร

ขั้นตอนที่5 1 สัปดาห โรงเรียนสาธิตปทุมวัน 
ประเมินผลการทดลอง

นําผลที่ไดรับจากการ
ทดลองนี้ มาประเมินผล
วาเปนไปตามผลที่คาดวา
จะไดรับหรือไม และ
เปรียบเทียบวาสาหราย
ชนิดใดสามารถลด
สารพิษเหลานี้ไดมาก
ที่สุด

ขั้นตอนที่ 6 1สัปดาห โรงเรียนสาธิตปทุมวัน 
สรุปผลการทดลอง
นําผลที่ไดจากการทดลอง
มาสรุปผลวาเปนไปตาม
วัตถุประสงคและ
สมมติฐานหรือไม
ขั้นตอนที่ 7 2 สัปดาห บานสมาชิกในกลุม คอมพิวเตอร
จัดทํารูปเลมรายงาน
และนําเสนอขอมูล


หมายเหตุ:*ระยะเวลาดําเนินงานอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
หมายเหตุ : *ระยะเวลาดำเนินงานอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทราบถึงประสิทธิภาพของสาหร่ายที่สามารถนำมาใช้ลดปริมาณสารพิษบางประเภทในแหล่งน้ำจืด
1.ทราบถึงประสิทธิภาพของสาหรายที่สามารถนํามาใชลดปริมาณสารพิษบางประเภทในแหลงน้ําจืด
2.ทราบถึงชนิดของสาหรายที่สามารถลดปริมาณสารพิษในน้ําไดมากที่สุดและนําไปปรับใชตอไป
2. ทราบถึงชนิดของสาหร่ายที่สามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้มากที่สุดและนำไปปรับใช้ต่อไป

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2

ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้


ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู ( Mind map )

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 2




ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิด
ในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ ได้มีการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้


1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1.1 สาหร่าย

สาหร่าย เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซ์คาวาตา ไรซาเรีย
มีลักษณะคล้ายพืช แต่ไม่มีส่วนที่เป็นราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีขนาดตั้งแต่เล็กมากมีเซลล์เดียว ไปจนถึง
ขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมาก อาจเป็นเส้นสายหรือมีลักษณะคล้ายพืชชั้นสูงก็มี การแบ่งพวก

สาหร่ายแบ่งตามรูปร่างลักษณะภายนอกหรือดูตามสี จึงมีสาหร่ายสีเขียว เขียวแกมน้ำเงิน น้ำตาล และสีแดง
สาหร่ายสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศก็มี อาศัยเพศก็มี

1.2 การจัดหมวดหมู่ของสาหร่าย
Smith (1950) ได้จำแนกหมวดหมู่สาหร่ายโดยใช้รูปร่างและลักษณะภายนอกที่เหมือนกันและ

คล้ายคลึงจัดรวมไว้ในกลุ่มเดียวกัน และดูจากสิ่งที่ปรากฏออกมาให้เห็นจึงแยกออกเป็น 7 กลุ่มดังนี้
1. Division Cyanophyta (blue-green algae)
2. Division Chlorophyta (green algae)
3. Division Rhodophyta (red algae)

4. Division Phaeophyta (brown algae)
5. Division Chrysophyta (Golden, yellow green,Diatom)
6. Division Pyrrhophyta (dinoflagellate)
7. Division Euglenophyta (euglenoids)


สำหรับการจัดหมวดหมู่ในหนังสือของ Bold and Wyne (1978) มีทั้งหมด 9 Division
1. Division Cyanophyta ได้แก่ พวกสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue green algae)
2. Division Chlorophyta ได้แก่ พวกสาหร่ายสีเขียว (Green algae)

3. Division Charophyta ได้แก่ สาหร่ายไฟ (Stoneworts)
4. Division Euglenophyta ได้แก่ Euglenoids
5. Division Phaeophyta ได้แก่ สาหร่ายสีน้ำตาล (Brown algae)
6. Division Chrysophyta ได้แก่ สาหร่ายสีน้ำตาลแกมทอง (Golden algae)
สาหร่ายสีเขียวแกม-เหลือง (Yellow green algae และ diatom)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


7. Division Pyrrhophyta ได้แก่ Dinoflagellates
8. Division Cryptophyta ได้แก่ Cryptomonads

9. Division Rhodophyta ได้แก่ สาหร่ายสีแดง (Red algae)
แหล่งที่อยู่ของสาหร่ายมีต่างๆกันส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม คุณค่า
ทางอาหารของสาหร่ายพบว่าไม่สูงมากนัก คาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่เป็นพวกที่ย่อยยากในตัวคน
โปรตีนก็มีน้อยแต่สิ่งที่ได้จากสาหร่าย คือ แร่ธาตุและวิตามินหลายชนิด นอกจาก

เป็นอาหารคน

1.3 สาหร่ายที่พบมากในแหล่งน้ำจืดของไทย
1. สาหร่ายไก เป็นสาหร่ายน้ำจืดสีเขียวสกุล Cladophora และ Rhizocronium โดยพบ

ในประเทศไทยทางตอนบนชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cladophora kutzing
2. สาหร่ายเตา หรือ เทาน้ำ เป็นสาหร่ายในสกุล Spirogyra ซึ่งมีหลายชนิด มักพบอยู่ใน
แหล่งน้ำนิ่งหรือน้ำไหลเอื่อยๆ พบมากในฤดูฝน สไปโรไจราเป็นสาหร่ายน้ำจืดสีเขียวอยู่ใน Division
Chlorophyta ที่มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Spirogyra Kutzing และมีชื่อสามัญว่า “เทาน้ำ เตา ไก” และ

เราสามารถพบสไปโรไจราได้ตามแหล่งน้ำจืดในธรรมชาติ เช่น คลอง โดยจะพบบริเวณน้ำนิ่งสะอาดใส
ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกของประเทศไทย
3.สาหร่ายลอน หรือ อองลอน เป็นสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินสกุล Nostochopsis พบมาก
ในบริเวณทางตอนเหนือของไทย บริเวณลำน้ำน่าน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nostochopsis lobatus


1.4 สารพิษและออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
1.4.1 ไนเตรท
ในทางอนินทรีย์เคมีเป็นเกลือของกรดไนตริกไนเตรทไอออนเป็นพอลิอะตอมิไอออน


(polyatomic ion) ซึ่งมีสูตรเอมไพริกัล ดังนี้ NO และมีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากับ 62.01 ดัลตัน (daltons)
3
มันเป็นด่างร่วม (conjugate) ของกรดไนตริก ไนเตรทไอออนมีโครงสร้างเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ
(trigonal planar-โดยแต่ละออร์บิทัลทำมุมกัน 120 องศา) และสามารถแทนด้วยลูกผสม (hybrid)
ดังรูปข้างล่างนี้












ภาพที่ 1 ไนเตรตไอออน ที่มา https://d2jmvrsizmvf4x.cloudfront.net/YS3utq31SO3zRDX4c8Pw_
Nitrate_ion_resonance_structures.png

เกลือไนเตรทเกิดเมื่อไอออนประจุไฟฟ้าบวกเข้าเชื่อมต่อกับอะตอมของออกซิเจน ประจุไฟฟ้าลบ
ตัวหนึ่งของไนเตรทไอออน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



1.4.2 แอมโมเนีย
เป็นสารประกอบเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไนโตรเจนและไฮโดรเจน โดยมีสูตรเคมีดังนี้ NH
3
ที่ STP แอมโมเนียเป็นแก๊สมันเป็นพิษและกัดกร่อนวัสดุบางชนิด มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว โมเลกุลของ
แอมโมเนียไม่แบนราบ แต่จะมีลักษณะถูกอัดเป็นทรงสี่หน้า (tetrahedron) หรือเรียกว่าพีระมิดฐาน
สามเหลี่ยม ซึ่งเป็นข้อสมมติฐานของทฤษฎี VSEPR รูปร่างโมเลกุลลักษณะนี้โดยรวมจะมีลักษณะเป็น
ไดโพล (dipole) และทำให้มันเป็นขั้ว ดังนั้นแอมโมเนียจึงละลายใน น้ำ ได้ดีมาก อะตอมไนโตรเจนในโมเลกุล

จะมี อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone electron pair) และทำให้แอมโมเนียมีฤทธิ์เป็น เบส ใน สารละลายน้ำ
+
(aqueous solution) ที่ เป็นกรด หรือเป็นกลางมันสามารถจะมีพันธะกับ ไฮโดรเนียมไอออน (H O )
3
+
ปลดปล่อยโมเลกุลของน้ำ (H O) แล้วเกิดเป็นประจุบวกของแอมโมเนียมไอออน (NH ), ซึ่งรูปร่างปกติ
4
2
ทรงสี่หน้าที่แอมโมเนียจะเกิด แอมโมเนียมไอออน จะขึ้นอยู่กับ pH ของ สารละลาย
1.4.3 ค่า DO คือค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเป็นลักษณะสำคัญที่จะบอกถึง
ความเหมาะสมของน้ำมากน้อยเพียงใดต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้ำโดยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ความดัน
บรรยากาศและสิ่งเจือปนในน้ำ ค่า DO ที่เหมาะสมในแหล่งน้ำที่จะศึกษานี้ควรมีค่าไม่น้อยกว่า 6.0 มิลลิกรัม
ต่อลิตรซึ่งเป็นตัวกำหนดระบบนิเวศในแหล่งน้ำนั้นเป็นปัจจัยหลัก โดยเป็นหนึ่งในตัวกำหนดมลพิษในน้ำด้วย


1.4.4 ค่า COD คือ ปริมาณ O ที่ใช้ในการออกซิไดซ์ในการสลายสารอินทรีย์ด้วยสารเคมี
2
โดยใช้สารละลาย เช่น โพแทสเซียมไดโครเมต (K Cr O ) ในปริมาณมากเกินพอ ในสารละลายกรดซัลฟิวริก
2 2 7
ซึ่งสารอินทรีย์ในน้ำทั้งหมดทั้งที่จุลินทรีย์ย่อยสลายได้และย่อยสลายไม่ได้ก็จะถูกออกซิไดซ์ภายใต้ภาวะ

ที่เป็นกรดและการให้ความร้อน โดยทั่วไปค่า COD จะมีค่ามากกว่า BOD เสมอ ดังนั้นค่า COD จึงเป็นตัวแปร
ที่สำคัญตัวหนึ่งที่แสดงถึงความสกปรกของน้ำเสีย

1.4.5 ค่า BOD เป็นปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ
น้ำที่มีคุณภาพดี ควรมีค่า BOD ไม่เกิน 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ถ้าค่า BOD สูงมากแสดงว่าน้ำนั้นเน่ามาก แหล่งน้ำ

ที่มีค่า BOD สูงกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตรจะจัดเป็นน้ำเน่าหรือน้ำเสียการหาค่า BOD หาได้โดยใช้แบคทีเรีย
ย่อยสลายอินทรียสารซึ่งจะเป็นไปช้า ๆ ดังนั้นจึงต้องใช้เวลานานหลายสิบวัน

1.5 อุปกรณ์การวัดค่าสารในน้ำ

1.5.1. Nitrate test kit (API)
-
ชุดทดสอบน้ำแบบของเหลว สำหรับตรวจวัดหาปริมาณไนเตรท (Nitrate/NO ) ในน้ำ สามารถ
3
วัดระดับค่าไนเตรทได้ตั้งแต่ 0-160 ppm ใช้ทดสอบได้ 90 ครั้ง

1.5.2. Ammonia test kit(API)
+
ชุดทดสอบน้ำแบบของเหลว สำหรับตรวจวัดหาปริมาณแอมโมเนีย (Ammonia/NH /NH )
3 4
ในน้ำ สามารถวัดระดับค่าไนเตรทได้ตั้งแต่ 0-8 ppm ใช้ทดสอบได้ 130 ครั้ง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


1.5.3. Tetra test O2 (tetra)
ชุดทดสอบ Tetra Test O เป็นชุดทดสอบที่เป็นของเหลวซึ่งทำงานโดยการเปลี่ยนสีน้ำ
2
ที่นำมาทดสอบเพื่อแสดงระดับค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (dissolved oxygen) ใช้งานง่ายโดยการเทียบสี
กับตารางสีที่แสดงค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำ Tetra Test O เป็นชุดทดสอบน้ำที่ใช้ได้กับทั้งน้ำทะเลและ
2
น้ำจืด
1.6 กระบวนการดูดซับสารพิษของสาหร่ายน้ำจืด

กลไกการดูดซับสารของสาหร่ายน้ำจืดซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ เริ่มต้นขั้นตอนแรก สารพิษ
จะมีการขนส่งอนุภาคไปเจอกับผิวสัมผัสน้ำของสาหร่ายที่ห่อหุ้มด้วยตัวดูดซับ ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการขนส่ง
สารแทรกเข้าสู่ผิวหน้าของตัวดูดซับโดยการแพร่ และขั้นตอนสุดท้าย คือ สารแพร่โมเลกุลตัวถูกละลายเข้าสู่

โพรงของสารดูดซับซึ่งขั้นตอนสุดท้ายจะเป็นตัวกำหนดอัตรากาดูดซับสารพิษของสาหร่าย

1.7 กระบวนการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายน้ำจืดสีเขียว
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการที่พืชและสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนพลังงานแสง

ให้มาอยู่ในรูปของพลังงานเคมีที่อยู่ในโมเลกุลของสารอินทรีย์ที่สร้างขึ้น พลังงานที่อยู่ในโมเลกุลสารอินทรีย์นี้
ถูกใช้เป็นแหล่งพลังงานในการดำรงชีวิตของพืชและสิ่งมีชีวิตทั้งหลายบนโลก กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงนี้อาจถือได้ว่าเป็นเพียงกระบวนการเดียวของพืชและสิ่งมีชีวิตที่สามารถดึงพลังงานจากดวงอาทิตย์
ให้เข้ามาหมุนเวียนในโลก สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัยพลังงานที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
เพื่อการเจริญเติบโตทั้งทางตรงและทางอ้อม สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้

เรียกว่า “phototrophs” โดยโมเลกุลที่มีความสามารถในการดูดกลืนแสงที่มีอยู่ในพืชและสิ่งมีชีวิตนี้คือ
รงควัตถุโดยการศึกษาเกี่ยวกับการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายสีเขียวที่ศึกษาโดยสาหร่ายที่ศึกษานี้มีลักษณะ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเช่นเดียวกับพืชทั้งในด้านรงควัตถุและการบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงดังนี้

สมการการสังเคราะห์ด้วยแสง 6CO + 12H O + พลังงานแสง  C H O + 6O + 6H O
2 2 6 12 6 2 2
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2.1 การใช้อุปกรณ์วัดค่าสารต่างๆในน้ำ
การวัดค่าสารต่างๆในน้ำจากการใช้อุปกรณ์ที่กล่าวข้างต้นเป็นการวัดค่าจากการเทียบแถบสีแล้ว
จะได้ค่าเป็นช่วงข้อมูลดังนั้นต้องอาศัยความรู้เรื่องอสมการมาเกี่ยวข้อง


2.2 การเทียบหน่วย
จากการใช้อุปกรณ์ที่กล่าวข้างต้นนั้นจะได้หน่วยเป็น ppm หรือหนึ่งในล้านส่วนซึ่งเปรียบเทียบ
ได้กับมิลลิกรัมต่อลิตร เพราะ 1 ลิตร เท่ากับ 103 มิลลิลิตร หรือ 103 กรัมซึ่ง 1กรัม ก็เท่ากับ 103 มิลลิกรัม
ดังนั้นจะได้ว่า 1ลิตร เท่ากับ 106 มิลลิกรัม ซึ่งก็คือ 1 ในล้านส่วน เหมือนค่า ppm นั่นเอง (ใช้ได้เฉพาะ

กับสารพิษในน้ำเท่านั้น)

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

3.1 ประเภทของน้ำเสียและกรรมวิธีที่ใช้ในการบำบัดโดยทั่วไป
(พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535)
3.1.1. ประเภทของน้ำเสีย
น้ำเสียที่มาจากแหล่งต่างๆ นั้น มีสารที่อยู่ในน้ำเสียไม่เหมือนกัน สารเหล่านั้นจะเป็นสารประเภท
ใดขึ้นอยู่กับแหล่งและกรรมวิธีการผลิตในอุตสาหกรรมนั้นๆ จึงได้มีการรวบรวม และแบ่งประเภทตามสารหลัก

ที่ให้ลักษณะเด่นของน้ำเสียนั้น ซึ่งพอสรุปเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ดังนี้

1. น้ำเสียประเภทที่มีสารอินทรีย์
2. น้ำเสียประเภทที่มีสารอนินทรีย์
3. น้ำเสียประเภทที่แพร่กระจายเชื้อโรค
4. น้ำเสียที่มีความเป็นกรด-เบสสูง

5. น้ำเสียที่มีโลหะหนักที่เป็นพิษ
6. น้ำเสียที่มีสารกัมมันตภาพรังสี
7. น้ำเสียที่มีอิฐ หิน ดิน ทรายปนอยู่

การแบ่งประเภทน้ำเสียดังกล่าวข้างต้น ทำให้การเลือกระบบบำบัดน้ำเสียง่ายขึ้น แต่ก่อน
ที่จะเลือกระบบบำบัด จำเป็นที่จะต้องหาลักษณะสมบัติต่างๆ ของน้ำเสียเสียก่อน ลักษณะสมบัติของน้ำเสียนั้น
หาได้โดยการวิเคราะห์ในห้องทดลอง

3.1.2. ลักษณะสมบัติที่วิเคราะห์ แบ่งออกเป็น

1. ลักษณะสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ สี กลิ่น อุณหภูมิ การนำไฟฟ้า และความขุ่น
2. ลักษณะสมบัติทางเคมี ได้แก่ สภาพด่าง (alkalinity) สภาพกรด (acidity) ความต้องการ
ออกซิเจนทางชีวเคมี หรือ BOD ความต้องการออกซิเจนทางเคมี หรือซีโอดี (chemical
oxyegn demand; COD) ปริมาณโลหะหนัก สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ และสารต่างๆ
ที่อาจมาจากแหล่งตะกอนที่มีอยู่ในน้ำ ซึ่งอาจเป็นตะกอนหนัก ตะกอนแขวนลอย

ตะกอนคอลอยด์ และอื่นๆ
3. ลักษณะสมบัติทางชีวภาพ ส่วนใหญ่มักไม่ได้วิเคราะห์ นอกจากกรณีพิเศษ เมื่อได้ลักษณะ
สมบัติต่างๆ ของน้ำเสียแล้ว จึงมาพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูล ก็จะทำให้สามารถแยกประเภท

น้ำเสียออกได้ ทำให้สามารถเลือกใช้ระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างเหมาะสม

3.1.3. มาตรฐานแหล่งน้ำบางแหล่งน้ำที่ศึกษา
มาตรฐานแหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถใช้ประโยชน์เพื่อ
1. การอุปโภค และบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุง

2. การอนุรักษ์สัตว์น้ำ
3. การประมง
4. การว่ายน้ำและกีฬาทางน้ำ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทนี้ ต้องมีมาตรฐานดังนี้
1. ต้องไม่มีวัตถุหรือสิ่งของที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งทำให้สี กลิ่น และรสของน้ำ

เปลี่ยนไปจากธรรมชาติ
2. อุณหภูมิของน้ำต้องไม่สูงกว่าอุณหภูมิของน้ำตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส
3. ความเป็นกรด-เบสของน้ำ (pH) ต้องมีค่าระหว่าง 5.0-9.0
4. ออกซิเจนละลายในน้ำ (dissolved oxygen; DO) ต้องมีค่าไม่น้อยว่า 6.0 มิลลิกรัมต่อลิตร

5. ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี หรือบีโอดี (biochemical oxygen demand; BOD)
ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
6. บัคเตรีชนิดโคลิฟอร์ม (coliform bacteria) ในน้ำ ต้องมีค่ารวมไม่เกิน 5,000 เอ็มพีเอ็น
(most probable number; mpn) ต่อ 100 มิลลิลิตร

7. บัคเตรีชนิดฟีคอลโคลิฟอร์ม (feacal coliform bacteria) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 1,000
เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร
-
8. ไนเทรต (NO ) ในน้ำในหน่วยไนโตรเจน ต้องมีค่าไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
3
9. แอมโมเนีย (NH 3 ) ในน้ำในหน่วย ไนโตรเจน ต้องมีค่าไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
10. ฟีนอล (phenol) ในน้ำต้องมีค่าไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร
11. ทองแดง (copper; Cu) ในน้ำต้องมีค่าไม่เกิน 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
12. นิกเกิล (nickel; Ni) ในน้ำ ต้องมีค่า ไม่เกิน 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
13. แมงกานีส (manganese; Mn) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร

14. สังกะสี (zinc; Zn) ในน้ำต้องมีค่าไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
15. แคดเมียม (cadmium; Cd) ในน้ำที่มีความกระด้างในรูปของแคลเซียมคาร์บอเนต (C CO )
a
3
ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ต้องมีค่าแคดเมียมไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร และในน้ำ
ที่มีความกระด้างในรูปของแคลเซียมคาร์บอเนตเกินกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ต้องมี

ค่าแคดเมียมไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร
16. โครเมียมชนิดเฮกซาวาเลนต์ (chromium hexavalent; Cr hexavalent) ในน้ำ
ต้องมีค่าไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร
17. ตะกั่ว (lead; Pb) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร

18. ปรอท (mercury; Hg) ในน้ำ ต้องมีค่ารวมไม่เกิน 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร
19. สารหนู (arsenic; As) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร
20. ไซยาไนด์ (cyanide) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร
21. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) ในน้ำ ต้องมีค่าความแรงรังสีรวมแอลฟาไม่เกิน 0.1

เบ็กเคอเรลต่อลิตร และค่าความแรงรังสีรวมบีตาไม่เกิน 1.0 เบ็กเคอเรลต่อลิตร
22. สารเคมีที่ใช้ในการป้องกัน และกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ (pesticides) ในน้ำ ต้องมีค่ารวม
ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร
23. ดีดีที (dichlorodiphenyltrichlorethane; DDT) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 1.0 ไมโครกรัม

ต่อลิตร

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



24. บีเอชซีชนิดแอลฟา (alpha BHC) ในน้ำ ต้องมีค่าไม่เกิน 0.02 ไมโครกรัมต่อลิตร
25. ดีลดริน (dieldrin) ในน้ำ ต้องมีค่า ไม่เกิน 0.1 ไมโครกรัมต่อลิตร

26. แอลดริน (aldrin) ในน้ำ ต้องมีค่า ไม่เกิน 0.1 ไมโครกรัมต่อลิตร
27. เฮปทาคลอร์ (heptachlor) และเฮปทาคลอร์อีพ็อกไซด์ (heptachlor epoxide) ในน้ำ
ต้องมีค่าไม่เกิน 0.2 ไมโครกรัมต่อลิตร
28. เอนดริน (endrin) ในน้ำ ต้องไม่สามารถตรวจพบได้ตามวิธีการตรวจสอบที่กำหนด


3.1.4. กรรมวิธีที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย
ระบบบำบัดน้ำเสีย ประกอบด้วยกรรมวิธีต่างๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ และการทำงาน เพื่อขจัด
มลพิษออกจากน้ำเสีย ก่อนที่จะปล่อยออกสู่ลำน้ำสาธารณะ ระบบบำบัดระบบใดระบบหนึ่ง จะประกอบด้วย
กรรมวิธีใดบ้าง ขึ้นอยู่กับสารมลพิษ ที่มีอยู่ในน้ำเสียนั้น ผู้เลือกและออกแบบคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย จะต้อง

เป็นผู้ที่มีความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์ จึงจะเลือกใช้ระบบบำบัด ที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประหยัด และสามารถควบคุมให้ระบบบำบัดนั้น ทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ กรรมวิธีที่ใช้โดยทั่วไปได้แก่
1. การทำสะเทิน (neutralization)
2. การปรับสภาพ (equalization)

3. การตกตะกอน (sedimentaiton)
4. การรวมตัวและการสมานตะกอน (coagulation and flocculation)
5. การทำให้เป็นตะกอน (precipitation)
6. กรรมวิธีทางชีววิทยา (biological treatment)


3.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแหล่งน้ำที่ศึกษา
แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายหลักของประเทศไทยถือเป็นเส้นเลือดใหญ่โดยเฉพาะ
ของคนภาคกลางเกิดขึ้นจากการรวมตัวของแม่น้ำ4สายคือแม่น้ำปิง วัง ยม และน่าน โดยแม่น้ำวังไหลลงมา

ที่แม่น้ำปิงที่จังหวัดตาก แม่น้ำยมไหลลงมาที่แม่น้ำน่านที่จังหวัดนครสวรรค์และสุดท้ายไหลรวมเป็น
แม่น้ำเจ้าพระยาที่ปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ไหลผ่าน10จังหวัดรวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ
372 กิโลเมตรโดยใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมเป็นหลัก


4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
กลุ่มสาระนี้ใช้เป็นความรู้ที่ใช้ในการแปลและตีความของข้อมูลเพื่อที่จะได้มีข้อมูลในการทำโครงงาน
จากแหล่งข้อมูลอื่นๆที่หลากหลายมากขึ้นอีกทั้งรากศัพท์หรือหน่วยทางวิทยาศาสตร์ก็ล้วนมีรากศัพท์และ

ที่มามาจากภาษาต่างประเทศทั้งสิ้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้การแปลคำศัพท์ต่างๆช่วยในการทำโครงงาน

4.1 หนังสืออ้างอิงที่เป็นภาษาอังกฤษ
th
4.1.1. Campbell Biology, Global Edition (10 Edition)
4.1.2. Textbook of Algae
4.1.3. Algae for biofuels and energy
4.1.4. Growing algae

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ในการจัดทำรูปเล่มรายงานและการนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษาซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของ

โครงงานนั้นจำเป็นต้องใช้ทักษาทางด้านศิลปะเข้าไปช่วยในส่วนการวางตัวหนังสือ การใส่รูปภาพและรูปแบบ
การนำเสนอที่น่าสนใจล้วนต้องใช้วิชาศิลปะทั้งสิ้น

6. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

6.1 การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้สารสนเทศต่างๆเช่นคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและสื่ออื่นๆในการทำโครงงานนั้นก็ควร
เลือกข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้มีการอ้างอิงข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือสถิติถ้าเป็นข้อมูลบรรยายอาจมี

รูปภาพหรือหนังสืออ้างอิงประกอบด้วย อีกทั้งการเลือกเว็ปไซต์ที่จะศึกษานั้นก็ควรเลือกจากหลายๆ แห่ง
แล้วนำมาเปรียบเทียบกันว่ามีข้อมูลส่วนใดตรงกันจึงจะนำไปใช้รวมถึงควรเรียงลำดับความสำคัญของ
เว็ปไซต์ด้วย

6.2 การเพาะเลี้ยงสาหร่ายที่ศึกษา

สาหร่ายน้ำจืดนั้นไม่จำเป็นต้องเพาะเลี้ยงอะไรมากเนื่องจากเป็นสาหร่ายที่อยู่อาศัยตามแหล่งน้ำ
ได้ปรับสภาพเร็วและทนต่อความเชี่ยวของแหล่งน้ำจึงไม่จำเป็นที่จะต้องดูแลอะไรมากมายนักเพียงแต่ต้อง
คอยดูว่าจำนวนนั้นเพิ่มขึ้นหรือไม่เนื่องจากอาจมีอายุมากหรือตายแล้วนั่นเองเพราะระยะเวลาของสาหร่ายน้ำจืด
นั้นไม่แน่นอนการเพาะเลี้ยงสาหร่ายก่อนทำการทดลองทำได้โดยการเลี้ยงในอ่างน้ำที่บรรจุน้ำธรรมชาติ

ควรวางไว้ในที่ที่มีแสงปานกลางหรือรำไรและน้ำในอ่างควรอยู่ในสภาพนิ่งไม่ขุ่นหรือตกตะกอน

6.3 ผลิตภัณฑ์จากสาหร่ายที่ศึกษา
สาหร่ายทั้งสามชนิดนั้นเป็นสาหร่ายที่ใช้ในเรื่องของการมาค้าขายโดยแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
หลายชนิดเพื่อการพาณิชย์ของคนบริเวณนั้น โดยเฉพาะสาหร่ายไกนำมาทำอาหารแปรรูป สาหร่ายเตาหรือ

เทาน้ำจะทำเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์

7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

7.1 การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรูปเล่มโครงงานนั้นก็ใช้ทักษะการใช้ภาษากึ่งทางการหรือทางการเพื่อให้ได้ตัวภาษา
ในการเขียนโครงงานที่เป็นเหมาะที่สุดกับการส่งรายงานโครงงานบูรณาการ

7.2 การอ้างอิงเอกสารต่างๆ
7.2.1 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ และสื่ออีเล็กทรอนิกส์
ที่นำมาเป็นหลักฐานอ้างอิงในการเขียนรายงาน โดยเรียงตามลำดับอักษรไว้ท้ายเรื่อง

7.2.2. จุดมุ่งหมายในการเขียนบรรณานุกรม
1. ทำให้รายงานนั้นเป็นรายงานที่มีเหตุผล มีสาระน่าเชื่อถือ
2. เป็นการเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่นจึงนำมาอ้างไว้

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



3. เป็นแนวทางสำคัญสำหรับผู้สนใจต้องการศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมโดยศึกษา
ได้จากบรรณานุกรมนั้น ๆ

4. สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างได้
7.2.3. วิธีเขียนบรรณานุกรม

การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลจากหน้าปกในและด้านหลัง
ของหน้าปกใน ของหนังสือเล่มที่บันทึกข้อมูลมาเขียนบรรณานุกรม การเขียนบรรณานุกรมจากวารสาร
นำข้อมูลจากหน้าปก ของวารสารฉบับที่บันทึกข้อมูล มาเขียนบรรณานุกรม และการเขียนบรรณานุกรม

จากหนังสือพิมพ์ นำข้อมูลจากหน้าแรกของหนังสือพิมพ์มาเขียนบรรณานุกรม และการเขียนบรรณานุกรม
จากสื่ออีเล็กทรอนิกส์ นำข้อมูลจากหน้าแรกของเว็บเพจมาเขียนบรรณานุกรม ดังนี้

1. เขียนไว้ในส่วนท้ายของรายงาน
2. เขียนเรียงลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง ในกรณีที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เขียน
บรรณานุกรมภาษาไทยก่อน

3. บรรทัดแรกของบรรณานุกรมชิดด้านซ้ายที่เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา 1.5 นิ้ว
ถ้ายังไม่จบ เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 ช่วงตัวอักษร
ของบรรทัดแรก ให้เขียนตรงกับช่วงตัวอักษรที่ 8
4. รายละเอียดในโครงสร้างรูปแบบบรรณานุกรมหนังสือ มีดังนี้





















ภาพที่ 2 แสดงการเขียนบรรณานุกรม ที่มา http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5321600732/t919.jpg

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


8. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ในรายวิชานี้นับว่าเป็นวิชาที่ใกล้ตัวเรามากเนื่องจากเป็นรายวิชาเกี่ยวกับร่างกาย จิตใจและสังคม

ในชีวิตประจำวันโดยมีความเกี่ยวโยงกับหัวข้อโครงงานคือมลพิษในน้ำก็เป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเช่นกัน อีกทั้ง
มลพิษต่างๆ ก็ยังเชื่อมโยงถึงสุขภาพทางร่ายกายของตัวเราอีกด้วยมลพิษทางน้ำมีอันตรายต่อสุขภาพและ
ระบบต่างๆ ของร่างกาย มีดังนี้

1. ระบบทางเดินอาหาร หากประชาชนนำน้ำที่มีมลพิษไปดื่มอาจทำให้เกิดโรค เช่น อหิวาตกโรค

โรคบิด โรคอุจจาระร่วง ไข้รากสาดน้อยหรือไข้ไทฟอยด์
2. ระบบประสาท น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีสารพิษเจือปน เช่น สารปรอท ซึ่งเป็นสารพิษ
ที่มีอันตรายร้ายแรง ดังเหตุการณ์ในประเทศญี่ปุ่นที่พบผู้ป่วยโรคมินามาตะ สาเหตุเกิดจาก
การรับประทานปลาจากอ่าวนิมาตะที่มีสารปรอทสูง ทำให้มีอาการเกี่ยวกับระบบประสาทคือ

มือและเท้าชา บางรายรุนแรงถึงขั้นทุพพลภาพและเสียชีวิต
3. ผิวหนัง น้ำเสียเป็นอันตรายต่อผิวหนังเป็นอย่างมาก ถ้านำมาอาบชำระล้างร่างกายอาจทำให้
เป็นโรคผิวหนังชนิดต่างๆได้

4. ไต สารพิษในน้ำเมื่อเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะต้องขับออกโดยผ่านไต ทำให้มีการสะสมตกค้างอยู่
ในไตและกระเพาะปัสสาวะ เกิดการอักเสบ เป็นนิ่วที่ไตและกระเพาะปัสสาวะ
5. สุขภาพจิต น้ำเสีย น้ำเน่า หรือน้ำโสโครก มักจะส่งกลิ่นเหม็นและมีสภาพไม่น่ามองทำให้คนเรา

เกิดความหงุดหงิด รำคาญ และเกิดความตึงเครียดได้

สรุปแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ดำเนินงาน

จากการศึกษาข้อมูลโดยเบื้องต้นทางกลุ่มเห็นว่ามาตรฐานของแหล่งน้ำที่ศึกษาข้างต้นนั้นได้มี
-
การบังคับสารคือไนเตรต (NO ) ในน้ำในหน่วยไนโตรเจน ต้องมีค่าไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตรและแอมโมเนีย
3
(NH ) ในน้ำในหน่วยไนโตรเจน ต้องมีค่าไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรซึ่งจากการศึกษาเครื่องมือวัดปริมาณ
3
สารในน้ำที่ทางกลุ่มจะน้ำมาทดสอบให้ค่าเป็นหน่วย ppm ซึ่งก็คือมิลลิกรัมต่อลิตรซึ่งตรงกันนั่นเอง

ส่วนของสาหร่ายนั้นทางกลุ่มศึกษาจากแหล่งน้ำจืดซึ่งจะต้องจัดการศึกษาให้เหมือนกันกับทุกสาหร่าย
เพื่อนำข้อมูลมาเปรียบเทียบดังนั้นสาหร่ายที่ใช้ก็เป็นสาหร่ายน้ำจืดที่พบในประเทศไทยมีสามชนิด คือ
สาหร่ายไก สาหร่ายเตา หรือเทาน้ำ และสาหร่ายลอน ซึ่งส่วนใหญ่พบในภาคเหนือของไทยโดยทำการเลี้ยง
ตามหลักการเลี้ยงสาหร่ายอย่างถูกต้อง


ในส่วนแหล่งน้ำที่ทางกลุ่มเลือกมาศึกษานั้นคือแม่น้ำเจ้าพระยาเนื่องจากเป็นแหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์
เพื่อการอุปโภคบริโภคมีความสำคัญต่อประเทศไทยมากและยังเป็นแหล่งน้ำที่สาหร่ายสามารถอาศัยอยู่ได้
อีกด้วยโดยการเก็บตัวอย่างแหล่งน้ำนั้นก็ต้องเก็บแหล่งน้ำในบริเวณเดียวกันเพื่อให้น้ำมีคุณภาพเริ่มต้น

ทดลองเท่ากัน โดยอาจใช้ค่า DO และสารพิษตัวอื่น เป็นตัววัด

ทางกลุ่มยังได้ศึกษาความรู้ด้านการเขียนอ้างอิง การจัดทำรูปเล่มรายงานและการนำข้อมูลมาใช้
อย่างถูกต้องครบถ้วนอีกด้วย

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 3




วิธีปฏิบัติโครงงาน

ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิด

ในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายที่สามารถนำมาใช้ลดสารพิษ
บางประเภทในแหล่งน้ำจืดได้ ด้วยวิธีธรรมชาติบำบัดและเพื่อเปรียบเทียบชนิดของสาหร่ายว่าสาหร่าย
ชนิดใดสามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้ดีที่สุด โดยมีวิธีปฏิบัติโครงงาน ดังนี้



วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้
ตัวแปรที่ใช้ศึกษา

แหล่งน้ำที่ศึกษา 1.5 ลิตร
สาหร่ายทั้งสามชนิด ชนิดละ 30 – 50 กรัม
วัสดุอุปกรณ์

1. บีกเกอร์ขนาดสามารถบรรจุน้ำได้ 0.5 ลิตรขึ้นไป 4 บีกเกอร์
2. อ่างขนาดสามารถบรรจุน้ำได้ 0.5 ลิตรขึ้นไป 3 อ่าง
3. เครื่องวัดค่าออกซิเจนในน้ำแบบเทียบแถบสี 1 เครื่อง
4. เครื่องวัดค่าแอมโมเนียในน้ำแบบเทียบแถบสี 1 เครื่อง

5. เครื่องวัดค่าไนเตรทในน้ำแบบเทียบแถบสี 1 เครื่อง
6. ดินทรายกรวดในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย จำนวนตามความเหมาะสม

วิธีปฏิบัติโครงงาน

1. เก็บตัวอย่างแหล่งน้ำในบริเวณเดียวกันมาแยกเป็น 3 กลุ่มย่อย โดยแต่ละกลุ่มใช้น้ำ
จำนวน 0.25 ลิตร และการตั้งชุดควบคุม 1 ชุดการทดลองคือปริมาณน้ำเท่ากับ
3 ชุดการทดลอง คือ 0.25 ลิตร แต่ไม่เลี้ยงสาหร่าย

2. วัดค่าออกซิเจนและตรวจคุณภาพน้ำว่าทั้ง 4 กลุ่มมีคุณภาพน้ำตั้งต้นเหมือนกันหรือไม่
นั่นคือการตรวจค่ามลพิษตอนเริ่มต้น (จากการเทียบแถบสี ตามสเกลของอุปกรณ์)
3. ทดลองโดยการเลี้ยงสาหร่ายทั้งสามชนิดไว้ในน้ำสามกลุ่มในปริมาณที่เท่ากันเป็นเวลา 1 วัน
4. วัดค่าปริมาณสารในน้ำโดยใช้อุปกรณ์วัดค่าออกซิเจน ไนเตรท และแอมโมเนีย (เทียบแถบสี

ตามสเกลของอุปกรณ์)โดยเก็บตัวอย่างมาทดสอบและทำการทดสอบทุกๆ วัน
5. เมื่อสิ้นสุดการทดลองให้นำข้อมูลมาเปรียบเทียบอาจใช้กราฟหรือตารางแสดงค่าก็ได้เป็น
การประเมินผลการทดลอง
6. สรุปผลการทดลอง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



บทที่ 4



ผลการปฏิบัติโครงงาน
บทที่ 4
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิด
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหรายแตละชนิดในการลด
ในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายที่สามารถนำมาใช้ลดสารพิษ
ปริมาณสารพิษในน้ํา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหรายที่สามารถนํามาใชลดสารพิษบาง
บางประเภทในแหล่งน้ำจืดได้ ด้วยวิธีธรรมชาติบำบัดและเพื่อเปรียบเทียบชนิดของสาหร่ายว่าสาหร่าย
ประเภทในแหลงน้ําจืดได ดวยวิธีธรรมชาติบําบัดและเพื่อเปรียบเทียบชนิดของสาหรายวาสาหรายชนิดใด
ชนิดใดสามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้ดีที่สุด โดยมีการนำเสนอผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
สามารถลดปริมาณสารพิษในน้ําไดดีที่สุด โดยมีการนําเสนอผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
ผลการปฎิบัติโครงงาน
ผลการปฎิบัติโครงงาน
จากการทดลองเลี้ยงสาหรายทั้งสามชนิดคือสาหราย หรือสาหรายไก,
จากการทดลองเลี้ยงสาหร่ายทั้งสามชนิดคือสาหร่าย Cladophora kutzing หรือสาหร่ายไก, สาหร่าย
สาหราย   หรือสาหรายเทาน้ําและสาหราย  หรือสาหรายลอน
Spirogyra Kutzing หรือสาหร่ายเทาน้ำและสาหร่าย Nostochopsis lobatus หรือสาหร่ายลอนในแหล่งน้ำ
ในแหลงน้ําที่ตองการศึกษาเปนเวลารวม 10 วัน โดยใชเครื่องทดสอบสารตางๆแบบเทียบแถบสีจึงสามารถนํา
ที่ต้องการศึกษาเป็นเวลารวม 10 วัน โดยใช้เครื่องทดสอบสารต่างๆแบบเทียบแถบสีจึงสามารถนำผล
การทดลองมาแปรผลและเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ของสารพิษที่ลดลงตามวันเวลาต่างๆ ของสาหร่าย
ผลการทดลองมาแปรผลและเขียนกราฟแสดงความสัมพันธของสารพิษที่ลดลงตามวันเวลาตางๆของสาหราย
แต่ละชนิดได้ดังนี้
แตละชนิดไดดังนี้


กราฟที่1 : กราฟแสดงปริมาณสารตางๆในน้ําที่ลดลงหลังการทดลองเลี้ยงสาหรายไก

20.0

18.0

16.0

14.0
12.0
ปริมาณสารตางๆ ในน้ํา ( mg/L.)

10.0
8.0
6.0

4.0


2.0

0.0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
คาไนเตรท 20.0 20.0 15.0 15.0 15.0 10.0 10.0 10.0 10.0 5.0
คาแอมโมเนีย 4.0 4.0 4.0 2.0 2.0 1.0 0.5 0.5 0.5 0.5

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




กราฟที่2 : กราฟแสดงปริมาณสารตางๆในน้ําที่ลดลงหลังการทดลองเลี้ยงสาหรายลอน

20.0
18.0

ปริมาณสารตางๆในน้ํา ( mg/L) 14.0
16.0



12.0
10.0

8.0

6.0
4.0

2.0

0.0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
คาไนเตรท 20.0 20.0 20.0 15.0 15.0 10.0 10.0 10.0 5.0 5.0
คาแอมโมเนีย 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 2.0 1.0 0.25



กราฟที่3 : กราฟแสดงปริมาณสารตางๆในน้ําที่ลดลงหลังการทดลองเลี้ยงสาหรายเทาน้ํา

20.0
18.0
ปริมาณสารตางๆ ในน้ํา ( mg/L) 14.0
16.0



12.0
10.0

8.0
6.0

4.0
2.0

0.0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
คาไนเตรท 20.0 20.0 15.0 10.0 10.0 5.0 5.0 0.0 0.0 0.0
คาแอมโมเนีย 4.0 4.0 4.0 2.0 2.0 2.0 1.0 0.5 0.0 0.0

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



กราฟที่4 : กราฟแสดงปริมาณสารตางๆ ในชุดควบคุม

22.0
20.0 กราฟที่4 : กราฟแสดงปริมาณสารตางๆ ในชุดควบคุม

18.0 22.0
ปริมาณสารตางๆในน้ํา (mg/L.) 14.0 18.0
20.0
16.0
ปริมาณสารตางๆในน้ํา (mg/L.)
16.0
12.0
14.0
10.0
12.0
8.0
6.0
8.0
4.0 10.0
2.0 6.0

0.0 4.0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
คาไนเตรท 2.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0
คาแอมโมเนีย 0.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0

วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
คาไนเตรท
20.0
หมายเหตุ: คาไนเตรทมาตรฐานในน้ําคือนอยกวา5ppm 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0 20.0
20.0
20.0

คาแอมโมเนีย
4.0
4.0
4.0
คาแอมโมเนียมาตรฐานคือนอยกวา0.5ppm 4.0
หมายเหตุ: ค่าไนเตรทมาตรฐานในน้ำ คือ น้อยกว่า 5 ppm 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0
ค่าแอมโมเนียมาตรฐาน คือ น้อยกว่า 0.5 ppm
หมายเหตุ: คาไนเตรทมาตรฐานในน้ําคือนอยกวา5ppm
ทั้งนี้การวัดคาผานเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนํามาแปรผลการทดลองสามารถนํามาสรางตารางแสดงผล
การวัดคาสารตางๆในน้ําไดดังนี้

คาแอมโมเนียมาตรฐานคือนอยกวา0.5ppm
ทั้งนี้การวัดค่าผ่านเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนำมาแปรผลการทดลองสามารถนำมาสร้างตารางแสดง
ทั้งนี้การวัดคาผานเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนํามาแปรผลการทดลองสามารถนํามาสรางตารางแสดงผล
ผลการวัดค่าสารต่างๆ ในน้ำได้ดังนี้
ตารางที่ 3 : ตารางแสดงผลการวัดคาไนเตรทในน้ํา
การวัดคาสารตางๆในน้ําไดดังนี้
คาความเขมขน
5 mg/l
0 mg/l

ตารางที่ 3 : ตารางแสดงผลการวัดค่าไนเตรทในน้ำ 10 mg/l 20 mg/l
(mg/L)
ตารางที่ 3 : ตารางแสดงผลการวัดคาไนเตรทในน้ํา
คาความเขมขน 0 mg/l 5 mg/l 10 mg/l 20 mg/l
(mg/L)
คาปริมาณ

ไนเตรทในน้ํา

คาปริมาณ
ไนเตรทในน้ํา

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ตารางที่ 4 : ตารางแสดงผลการวัดค่าแอมโมเนียในน้ำ
ตารางที่ 4 : ตารางแสดงผลการวัดคาแอมโมเนียในน้ํา
คาความเขมขน 0 mg/l 0.25 mg/l 0.5 mg/l 1.0 mg/l 2.0 mg/l 4.0 mg/l
ตารางที่ 4 : ตารางแสดงผลการวัดคาแอมโมเนียในน้ํา
(mg/L)
คาความเขมขน 0 mg/l 0.25 mg/l 0.5 mg/l 1.0 mg/l 2.0 mg/l 4.0 mg/l







(mg/L)

คาปริมาณ
แอมโมเนียในน้ํา
คาปริมาณ
แอมโมเนียในน้ํา
จากการศึกษาในขอมูลเบื้องตนจะสังเกตเห็นไดจากตารางที่1และ2สีของชุดทดสอบมีความเขมขึ้น
แปรผันตามความเขมขนของสารพิษนั่นแสดงวาการทดลองของมางกลุมจะเริ่มตนจากการมีสารพิษมาก(สีเขม)
จากการศึกษาในข้อมูลเบื้องต้นจะสังเกตเห็นได้จากตารางที่ 1 และ 2 สีของชุดทดสอบ
จากการศึกษาในขอมูลเบื้องตนจะสังเกตเห็นไดจากตารางที่1และ2สีของชุดทดสอบมีความเขมขึ้น
มีความเข้มขึ้นแปรผันตามความเข้มข้นของสารพิษนั่นแสดงว่าการทดลองของมางกลุ่มจะเริ่มต้นจาก
จนลดลงไปถึงสีจางหรือสารมีความเขมขนนอยนั่นเอง
แปรผันตามความเขมขนของสารพิษนั่นแสดงวาการทดลองของมางกลุมจะเริ่มตนจากการมีสารพิษมาก(สีเขม)
การมีสารพิษมาก(สีเข้ม)จนลดลงไปถึงสีจางหรือสารมีความเข้มข้นน้อยนั่นเอง
นอกจากนี้ทางกลุมไดศึกษาปริมาณออกซิเจนในน้ําควบคูไปดวยเพื่ออางอิงถึงผลการทดลองในการลด

จนลดลงไปถึงสีจางหรือสารมีความเขมขนนอยนั่นเอง
สารพิษของสาหรายวาจะทําใหคาDOเปนมาตรฐานหรือไมจึงสามารถสรุปผลไดดังนี้
นอกจากนี้ทางกลุ่มได้ศึกษาปริมาณออกซิเจนในน้ำควบคู่ไปด้วยเพื่ออ้างอิงถึงผลการทดลอง
นอกจากนี้ทางกลุมไดศึกษาปริมาณออกซิเจนในน้ําควบคูไปดวยเพื่ออางอิงถึงผลการทดลองในการลด
ในการลดสารพิษของสาหร่ายว่าจะทำให้ค่า DO เป็นมาตรฐานหรือไม่จึงสามารถสรุปผลได้ดังนี้
สารพิษของสาหรายวาจะทําใหคาDOเปนมาตรฐานหรือไมจึงสามารถสรุปผลไดดังนี้
กราฟที่3 : กราฟแสดงปริมาณออกซิเจนในน้ําที่เพิ่มขึ้นหลังการทดลองเลี้ยงสาหรายชนิดตางๆ
12.0
กราฟที่ 5
กราฟที่3 : กราฟแสดงปริมาณออกซิเจนในน้ําที่เพิ่มขึ้นหลังการทดลองเลี้ยงสาหรายชนิดตางๆ
12.0 10.0
10.0
8.0
ปริมาณออกซิเจน ในน้ํา ( mg/L) ปริมาณออกซิเจน ในน้ํา ( mg/L) 8.0 6.0



6.0
4.0
4.0
2.0

2.0
0.0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 8 วันที่ 9 วันที่ 10
สาหรายไก 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 5.0 5.0 5.0 8.0 8.0
0.0
สาหรายลอน วันที่ 1 2.0 วันที่ 2 2.0 วันที่ 3 2.0 วันที่ 4 2.0 วันที่ 5 5.0 วันที่ 6 5.0 วันที่ 7 5.0 วันที่ 8 5.0 วันที่ 9 5.0 วันที่ 10 8.0
สาหรายไก 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 5.0 2.0 5.0 5.0 8.0 5.0 8.0 5.0 8.0 8.0 11.0 8.0 11.0
สาหรายเทาน้ํา 2.0
สาหรายลอน 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 5.0 2.0 5.0 2.0 5.0 2.0 5.0 2.0 5.0 2.0 8.0 2.0
ชุดควบคุม
5.0
5.0
2.0
2.0
2.0
สาหรายเทาน้ํา
หมายเหตุ: คาออกซิเจนในน้ํามาตรฐานคือ มากกวา6 ppm 8.0 8.0 8.0 11.0 11.0
ชุดควบคุม 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0
ทั้งนี้การวัดคาผานเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนํามาแปรผลการทดลองสามารถนํามาสรางตารางแสดงผล
หมายเหตุ: คาออกซิเจนในน้ํามาตรฐานคือ มากกวา6 ppm
การวัดคาสารตางๆในน้ําไดดังนี้
หมายเหตุ: ค่าออกซิเจนในน้ำมาตรฐานคือ มากกว่า 6 ppm
ทั้งนี้การวัดคาผานเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนํามาแปรผลการทดลองสามารถนํามาสรางตารางแสดงผล
ทั้งนี้การวัดค่าผ่านเครื่องเทียบแถบสีเพื่อนำมาแปรผลการทดลองสามารถนำมาสร้างตาราง

การวัดคาสารตางๆในน้ําไดดังนี้
แสดงผลการวัดค่าสารต่างๆ ในน้ำได้ดังนี้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ตารางที่ 5 : ตารางแสดงผลการวัดค่าออกซิเจนในน้ำ

ตารางที่ 5 : ตารางแสดงผลการวัดคาออกซิเจนในน้ํา
จากการศึกษาในข้อมูลเบื้องต้นจะสังเกตเห็นได้จากตารางที่ 2 และ 3 สีของชุดทดสอบมี
ความเข้มขึ้นแปรผันตามความเข้มข้นของออกซิเจนนั่นแสดงว่าการทดลองของมางกลุ่มจะเริ่มต้นจาก
จากการศึกษาในขอมูลเบื้องตนจะสังเกตเห็นไดจากตารางที่2และ3สีของชุดทดสอบมีความเขมขึ้น
แปรผันตามความเขมขนของออกซิเจนนั่นแสดงวาการทดลองของมางกลุมจะเริ่มตนจากการมีออกซิเจนต่ํา
การมีออกซิเจนต่ำ
คาความเขมขน 2 mg / l 5 mg / l 8 mg / l 11 mg / l
(mg/L)


คาปริมาณ
ออกซิเจนในน้ํา





(สีจาง)จนเพิ่มขึ้นถึงสีเขมหรือสารมีความเขมขนมากนั่นเอง
(สีจาง) จนเพิ่มขึ้นถึงสีเข้มหรือสารมีความเข้มข้นมากนั่นเอง

ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู
ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

การทําการทดลองที่หองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีน
การทำการทดลองที่ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนทรวิโรฒ ปทุมวัน
ทรวิโรฒ ปทุมวันเปนการใชทักษะในการทําการทดลองและการศึกษาและบันทึกผลที่เกิดขึ้นจากการทดลอง
เพื่อที่นํามาใชทําเปนกราฟและตารางแสดงผลตอไป การบันทึกผลการสังเกตตามตารางแสดงผลการทดสอบ
เป็นการใช้ทักษะในการทำการทดลองและการศึกษาและบันทึกผลที่เกิดขึ้นจากการทดลองเพื่อที่นำมาใช้
ขางตน เปนตน
ทำเป็นกราฟและตารางแสดงผลต่อไป การบันทึกผลการสังเกตตามตารางแสดงผลการทดสอบข้างต้น
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เป็นต้น เชื่อมโยงกับการแปรผลขอมูลจากการสังเกต ทดลอง และบันทึกผลอีกทั้งใชในการแปลง

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
หนวยของขอมูลใหมีความเทากันคือ mg/l และการแปรผลขอมูลจากการศึกษาเปนกราฟแสดงขอมูลขางตน
ผานโปรแกรมการทํากราฟ ( Excel ) เพื่อนํามาวิเคราะหขอมูลตอไปโดยมีรายละเอียดดังนี้
เชื่อมโยงกับการแปรผลข้อมูลจากการสังเกต ทดลอง และบันทึกผลอีกทั้งใช้ในการแปลงหน่วย
จากการศึกษาในเบื้องตนเห็นวากราฟที่เกิดขึ้นคาไนเตรทและแอมโมเนียในน้ํามีคาลดลงในชุดทดลองที่มี
ของข้อมูลให้มีความเท่ากันคือ mg/l และการแปรผลข้อมูลจากการศึกษาเป็นกราฟแสดงข้อมูลข้างต้น
สาหรายมีลักษณะเปนกราฟที่แนมโนมลดลงเรื่อยๆสวนคาออกซิเจนในน้ํานั้นก็มีคาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในชุดการ
ผ่านโปรแกรมการทำกราฟ ( Excel ) เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปโดยมีรายละเอียดดังนี้ือลดลง
ทดลองที่มีสาหราย สวนในชุดควบคุมสารตางๆในน้ําก็มีคาคงที่เสมอไมมีแนวโนมที่จะมีการเพิ่มขึ้นหร
ซึ่งตองนํามาวิเคราะหและสรุปผลตอไป
จากการศึกษาในเบื้องต้นเห็นว่ากราฟที่เกิดขึ้นค่าไนเตรทและแอมโมเนียในน้ำมีค่าลดลง
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ในชุดทดลองที่มีสาหร่ายมีลักษณะเป็นกราฟที่แนมโน้มลดลงเรื่อยๆส่วนค่าออกซิเจนในน้ำนั้นก็มีค่าเพิ่มขึ้น


เชื่อมโยงในเรื่องของสิ่งแวดลอมและกฎหมายสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะในเรื่องคาสารพิษในน้ํา
เรื่อยๆในชุดการทดลองที่มีสาหร่าย ส่วนในชุดควบคุมสารต่างๆในน้ำก็มีค่าคงที่เสมอไม่มีแนวโน้มที่จะมี
ตางๆที่เปนคามาตรฐานของประเภทแหลงน้ําตัวอยางเพื่อศึกษาแนวโนมรวมถึงความเปนไปไดในการใช
สาหรายในการลดแหลงน้ําเสียใหเปนมาตรฐานตามกฎหมายสิ่งแว
การเพิ่มขึ้นหรือลดลง ซึ่งต้องนำมาวิเคราะห์และสรุปผลต่อไปดลอมจากผลการทดลองที่ปรากฏ
โดยจากการศึกษาพบวาคาปริมาณสารตางๆเริ่มตนและคาปริมาณสารพิษของสารพิษในน้ําเปนดังตาราง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เชื่อมโยงในเรื่องของสิ่งแวดล้อมและกฎหมายสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะในเรื่องค่าสารพิษในน้ำต่างๆ
ที่เป็นค่ามาตรฐานของประเภทแหล่งน้ำตัวอย่างเพื่อศึกษาแนวโน้มรวมถึงความเป็นไปได้ในการใช้สาหร่าย
ในการลดแหล่งน้ำเสียให้เป็นมาตรฐานตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมจากผลการทดลองที่ปรากฏ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



โดยจากการศึกษาพบว่าค่าปริมาณสารต่างๆเริ่มต้นและค่าปริมาณสารพิษของสารพิษในน้ำ
เป็นดังตาราง

ตารางที่ 6 : ตารางแสดงปริมาณสารพิษที่สาหร่ายสามารถลดได้เทียบกับค่ามาตรฐาน
ตารางที่ 6 : ตารางแสดงปริมาณสารพิษที่สาหรายสามารถลดไดเทียบกับคามาตรฐาน
สารตางๆในแหลงน้ําที่ คาปริมาณเริ่มตน คาปริมาณที่ดีที่สุด คามาตรฐาน
ใชศึกษา(ที่สนใจ) (สาหรายเทาน้ํา)
ออกซิเจน 2.0 mg/l 11.0 mg/l มากกวา6.0 mg/l
ตารางที่ 6 : ตารางแสดงปริมาณสารพิษที่สาหรายสามารถลดไดเทียบกับคามาตรฐาน
ไนเตรท
20.0 mg/l
0.0 mg/l
นอยกวา5.0 mg/l
คามาตรฐาน
0.0 mg/l
แอมโมเนีย คาปริมาณเริ่ม คาปริมาณที่ดีที่สุด นอยกวา0.5 mg/l
สารตางๆในแหลงน้ําที่
4.0 mg/l ตน
ใชศึกษา(ที่สนใจ) (สาหรายเทาน้ํา)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ออกซิเจน 2.0 mg/l 11.0 mg/l มากกวา6.0 mg/l
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
ไนเตรท การศึกษามาตรฐานแหลงน้ําที่ใชศึกษารวมถึงการใชเครื่องมือวัดคาสารตางๆในน้ําตองใช
การศึกษามาตรฐานแหล่งน้ำที่ใช้ศึกษารวมถึงการใช้เครื่องมือวัดค่าสารต่างๆ ในน้ำต้องใช้ภาษาอังกฤษ
20.0 mg/l
0.0 mg/l
นอยกวา5.0 mg/l

ในการศึกษาวิธีการและข้อมูลที่ใช้อีกทั้งการสื่อสารผ่านข้อมูลบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษเช่นกัน
นอยกวา0.5 mg/l
0.0 mg/l
แอมโมเนีย
4.0 mg/l
ภาษาอังกฤษในการศึกษาวิธีการและขอมูลที่ใชอีกทั้งการสื่อสารผานขอมูลบางอยางจําเปนตองใชภาษาอังกฤษ
(ตัวอย่างในการใช้โปรแกรมและการทำการทดลอง)

เชนกัน(ตัวอยางในการใชโปรแกรมและการทําการทดลอง)
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

การศึกษามาตรฐานแหลงน้ําที่ใชศึกษารวมถึงการใชเครื่องมือวัดคาสารตางๆในน้ําตองใช
ในการจัดทํารูปเลมรายงานและการนําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาซึ่งเปนขั้นตอนสุดทาย

ในการจัดทำรูปเล่มรายงานและการนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษาซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของ
ภาษาอังกฤษในการศึกษาวิธีการและขอมูลที่ใชอีกทั้งการสื่อสารผานขอมูลบางอยางจําเปนตองใชภาษาอังกฤษ
ของโครงงานนั้นจําเปนตองใชทักษาทางดานศิลปะเขาไปชวยในสวนการวางตัวหนังสือ การใสรูปภาพและ
โครงงานนั้นจำเป็นต้องใช้ทักษาทางด้านศิลปะเข้าไปช่วยในส่วนการวางตัวหนังสือ การใส่รูปภาพและรูปแบบ
เชนกัน(ตัวอยางในการใชโปรแกรมและการทําการทดลอง)
รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจลวนตองใชวิชาศิลปะทั้งสิ้น(ตัวอยางในรายงานและเพาเวอรพอยด)
การนำเสนอที่น่าสนใจล้วนต้องใช้วิชาศิลปะทั้งสิ้น (ตัวอย่างในรายงานและเพาเวอร์พอยด์)
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ในการจัดทํารูปเลมรายงานและการนําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาซึ่งเปนขั้นตอนสุดทาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาหรายน้ําจืดนั้นไมจําเปนตองเพาะเลี้ยงอะไรมากเนื่องจากเปนสาหรายที่อยูอาศัยตาม
ของโครงงานนั้นจําเปนตองใชทักษาทางดานศิลปะเขาไปชวยในสวนการวางตัวหนังสือ การใสรูปภาพและ
สาหร่ายน้ำจืดนั้นไม่จำเป็นต้องเพาะเลี้ยงอะไรมากเนื่องจากเป็นสาหร่ายที่อยู่อาศัยตามแหล่งน้ำได้
แหลงน้ําไดปรับสภาพเร็วและทนตอความเชี่ยวของแหลงน้ําจึงไมจําเปนที่จะตองดูแลอะไรมากมายนักเพียงแต
รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจลวนตองใชวิชาศิลปะทั้งสิ้น(ตัวอยางในรายงานและเพาเวอรพอยด)
ตองคอยดูวาจํานวนนั้นเพิ่มขึ้นหรือไมเนื่องจากอาจมีอายุมากหรือตายแลวนั่นเองเพราะระยะเวลาการ
ปรับสภาพเร็วและทนต่อความเชี่ยวของแหล่งน้ำจึงไม่จำเป็นที่จะต้องดูแลอะไรมากมายนักเพียงแต่ต้อง
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ดํารงชีวิตของสาหรายน้ําจืดนั้นไมแนนอน

คอยดูว่าจำนวนนั้นเพิ่มขึ้นหรือไม่เนื่องจากอาจมีอายุมากหรือตายแล้วนั่นเองเพราะระยะเวลาการดำรงชีวิต
แตจากการศึกษาจะพบวากอนการทดลองจําเปนจะตองนําสาหรายแตละชนิดมาเพาะเลี้ยง
สาหรายน้ําจืดนั้นไมจําเปนตองเพาะเลี้ยงอะไรมากเนื่องจากเปนสาหรายที่อยูอาศัยตาม
ของสาหร่ายน้ำจืดนั้นไม่แน่นอน
กอนเก็บตัวอยางไปทําการทดลองซึ่งน้ําหนักสดของสาหรายกอนและหลังเลี้ยงสามารถสรุปผลดังตาราง
แหลงน้ําไดปรับสภาพเร็วและทนตอความเชี่ยวของแหลงน้ําจึงไมจําเปนที่จะตองดูแลอะไรมากมายนักเพียงแต
หมายเหตุ: ปริมาณสาหรายที่เก็บตัวอยางไปทดลองชนิดละ 7 กรัม(น้ําหนักสด)
แต่จากการศึกษาจะพบว่าก่อนการทดลองจำเป็นจะต้องนำสาหร่ายแต่ละชนิดมาเพาะเลี้ยงก่อนเก็บ
ตองคอยดูวาจํานวนนั้นเพิ่มขึ้นหรือไมเนื่องจากอาจมีอายุมากหรือตายแลวนั่นเองเพราะระยะเวลาการ
ตัวอย่างไปทำการทดลองซึ่งน้ำหนักสดของสาหร่ายก่อนและหลังเลี้ยง สามารถสรุปผลดังตาราง
ตารางที่ 7 : ตารางแสดงน้ําหนักสดของสาหรายกอนและหลังการเลี้ยง
ดํารงชีวิตของสาหรายน้ําจืดนั้นไมแนนอน
น้ําหนักสดเริ่มตน
ชนิดของสาหรายที่ใช แตจากการศึกษาจะพบวากอนการทดลองจําเปนจะตองนําสาหรายแตละชนิดมาเพาะเลี้ยง
น้ําหนักที่เพิ่ม
น้ําหนักสดหลังการเลี้ยง
หมายเหตุ : ปริมาณสาหร่ายที่เก็บตัวอย่างไปทดลองชนิดละ 7 กรัม (น้ำหนักสด)
กอนเก็บตัวอยางไปท
ศึกษาทําการทดลอง ําการทดลองซึ่งน้ําหนักสดของสาหรายกอนและหลังเลี้ยงสามารถสรุปผลดังตาราง
ตารางที่ 7 : ตารางแสดงน้ำหนักสดของสาหร่ายก่อนและหลังการเลี้ยง 8 g
16 g ปทดลองชนิดละ 7 กรัม(น้ําหนักสด)
หมายเหตุ: ปริมาณสาหรายที่เก็บตัวอยางไ
24 g
สาหรายไก
ตารางที่ 7 : ตารางแสดงน้ําหนักสดของสา
สาหรายเทาน้ํา 12 g หรายกอนและหลังการเลี้ยง 8 g
20 g
ชนิดของสาหรายที่ใช
11.5 g ิ่มตน
20 g การเลี้ยง
8.5g ี่เพิ่ม
สาหรายลอน น้ําหนักสดเร น้ําหนักสดหลัง น้ําหนักท

ศึกษาทําการทดลอง
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 16 g
สาหรายไก 24 g 8 g
20 g
สาหรายเทาน้ํา การเขียนรูปเลมโครงงานนั้นก็ใชทักษะการใชภาษากึ่งทางการหรือทางการเพื่อใหไดตัวภาษา
8 g

12 g
20 g
8.5g
สาหรายลอน
11.5 g
ในการเขียนโครงงานที่เปนเหมาะที่สุดกับการสงรายงานโครงงานบูรณาการ(ตัวอยางในการทํารูปเลม)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
การเขียนรูปเลมโครงงานนั้นก็ใชทักษะการใชภาษากึ่งทางการหรือทางการเพื่อใหไดตัวภาษา
ในการเขียนโครงงานที่เปนเหมาะที่สุดกับการสงรายงานโครงงานบูรณาการ(ตัวอยางในการทํารูปเลม)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การเขียนรูปเล่มโครงงานนั้นก็ใช้ทักษะการใช้ภาษากึ่งทางการหรือทางการเพื่อให้ได้ตัวภาษา

ในการเขียนโครงงานที่เป็นเหมาะที่สุดกับการส่งรายงานโครงงานบูรณาการ (ตัวอย่างในการทำรูปเล่ม)

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
จากการศึกษาแหล่งน้ำมลพิษพบว่าการทดลองบางครั้งการสัมผัสกับแหล่งน้ำมีผลทำให้เกิดอาการ
คันตามผิวหนังซึ่งเกิดจากสารในแหล่งน้ำทั้งนี้ปัจจัยสภาพแวดล้อมเป็นตัวกำหนด การศึกษาชุมชน
ใกล้แหล่งน้ำที่มีมลพิษพบว่าได้รับผลกระทบอย่างมากจากการที่อยู่ในสภาะแวดล้อมทั้งกลิ่นและสารพิษ

ส่งผลต่อสุขภาพและสุขภาพจิตอีกด้วย

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 5




สรุปการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาหร่ายแต่ละชนิด
ในการลดปริมาณสารพิษในน้ำ สามารถสรุปและอภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้


สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน
การศึกษาโครงงานในขั้นตอนต่างๆจนถึงการเริ่มทำการทดลองโดยทางกลุ่มทำการเลี้ยงสาหร่าย

แต่ละชนิดพร้อมเก็บเกี่ยวตัวอย่างไปใช้ในการศึกษาประสิทธิภาพในการลดสารพิษในน้ำได้ผลสรุปว่า

1. สาหร่ายเทาน้ำสามารถลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุดจากการที่ค่าไนเตรทในน้ำลดลงถึง
20 ppm และค่าแอมโมเนียในน้ำลดลงถึง 4 ppm ส่วนค่าออกซิเจนในน้ำสาหร่ายเทาน้ำ
ยังให้ออกซิเจนในแหล่งน้ำ มากขึ้นกว่าสาหร่ายอื่นๆโดยเพิ่มขึ้นถึง 9 ppm

2. สาหร่ายทั้ง3ชนิดมีประสิทธิภาพในการลดมลพิษและสามารถนำไปปรับใช้และเกิดประสิทธิภาพ
สูงที่สุด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมของแหล่งน้ำที่ใช้ลดสารพิษด้วย


อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องและมีความสอดคล้องกับการลดลงของสารพิษในน้ำ คือ
1. กลไกการดูดซับสารของสาหร่ายน้ำจืดซึ่งแบ่งออกเป็น3ช่วงคือเริ่มต้นขั้นตอนแรกสารพิษ
จะมีการขนส่งอนุภาคไปเจอกับผิวสัมผัสน้ำของสาหร่ายที่ห่อหุ้มด้วยตัวดูดซับขั้นตอนต่อมา

จะเป็นการขนส่งสารแทรกเข้าสู่ผิวหน้าของตัวดูดซับโดยการแพร่และขั้นตอนสุดท้าย คือ
สารแพร่โมเลกุลตัวถูกละลายเข้าสู่โพรงของสารดูดซับซึ่งจะเป็นตัวกำหนดอัตราการดูดซับด้วย
2. ค่าออกซิเจนในน้ำที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่ายซึ่งก็ขึ้นอยู่กับจำนวน
คลอโรพลาสต์ในเซลล์สาหร่ายแต่ละชนิด


ในด้านการตั้งสมมติฐานไว้ว่าสาหร่ายไกจะสามารถลดปริมาณสารพิษได้มากที่สุดเนื่องด้วย
การพบเจอสาหร่ายชนิดนี้ในธรรมชาติมากที่สุดรวมถึงภายในเซลล์ของสาหร่ายไกยังมีผนังเซลล์ที่ยื่นออกมา
จำนวนมากคาดว่าน่าจะทำให้ดูดซับสารพิษได้ดีแต่ในผลการทดลองพบว่าสาหร่ายที่สามารถลดปริมาณ

สารพิษได้มากที่สุดคือสาหร่ายเทาน้ำการที่สมมติฐานและผลการทดลองไม่สอดคล้องกันแสดงว่า
การคาดการณ์ข้างต้นไม่เป็นข้อถูกต้องเพราะหากศึกษาในตัวของสาหร่ายสีเขียวขนาดใหญ่ที่เกิดจาก
การรวมกลุ่มเซลล์แล้วจะพบว่าผนังเซลล์จะมีส่วนยื่นออกมาเพื่อง่ายต่อการรวมกลุ่มของเซลล์รวมถึงปัจจัย
ด้านการกำหนดอัตราการดูดซับสารพิษก็ขึ้นอยู่กับการแพร่เข้าสู่โพรงภายในเซลล์ซึ่งขึ้นกับสาหร่ายแต่ละชนิด
นั่นเอง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ปัญหา/อุปสรรคพร้อมวิธีการแก้ไข

1. ปัญหาด้านการจัดหาอุปกรณ์การทดสอบและการจัดหาสาหร่าย
วิธีแก้ไข : ควรศึกษาแหล่งหาซื้อต่างๆล่วงหน้าก่อนทำโครงงานประมาณ 1-2 เดือน
เนื่องจากการสั่งซื้อและการเสาะหาจะต้องใช้เวลาในการขนส่งหรือเก็บตัวอย่าง
2. ปัญหาด้านเวลาการเพาะเลี้ยงสาหร่าย

วิธีแก้ไข : ในการเตรียมสาหร่ายเพื่อเก็บตัวอย่างนำมาทดสอบควรเตรียมเวลาล่วงหน้าไว้ก่อน
ที่จะทดลองเนื่องจากต้องมีการเพาะเลี้ยงก่อนทำการทดลอง
3. ปัญหาด้านประสิทธิภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ทดสอบแบบเทียบแถบสีของทางกลุ่ม

วิธีแก้ไข : การใช้อุปกรณ์ของทางกลุ่มมีความละเอียดปานกลางโดยสามารถบอกเป็น
ช่วงข้อมูลได้บางส่วน แต่ยังไม่ละเอียดถึงค่าการแสดงเป็นตัวเลขส่วนการใช้อุปกรณ์ชุดทดสอบ
ที่มีคุณภาพสูงหรือมีความละเอียดถึงขั้นบอกเป็นตัวเลขได้มีราคาสูงมากจึงแนะนำให้แก้ไข
โดยใช้การขอยืมชุดทดสอบต่างๆ จากห้องปฏิบัติการต่างๆ เพื่อนำมาทดสอบ

4. ปัญหาด้านการวิเคราะห์การมีชีวิตของสาหร่าย
วิธีแก้ไข : ควรใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาการมีชีวิตของสาหร่ายต่างๆเป็นการดูระดับ
เซลล์แทน การดูจากลักษณะภายนอกเพื่อให้มีความชัดเจนในการทดลองมากขึ้น


ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ทราบถึงความสามารถในการลดปริมาณสารพิษในน้ำของสาหร่ายต่างๆให้อยู่ในเกณฑ์

มาตรฐานของสาหร่ายทุกชนิดรวมถึงความสามารถในการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำ
ของสาหร่าย
2. ทราบถึงชนิดของสาหร่ายที่สามารถลดปริมาณสารพิษในน้ำได้มากที่สุดซึ่งคือสาหร่ายเทาน้ำ


ข้อเสนอแนะ
1. ควรศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้สาหร่ายเทาน้ำไปลดสารพิจริงๆในแหล่งน้ำตามธรรมชาติ
2. การศึกษาผ่านอุปกรณ์เครื่องมือที่มีคุณภาพสูงกว่านี้จะทำให้เห็นผลชัดเจนทำให้สามารถ
วิเคราะห์ข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น

3. ควรทำการเลือกสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดอื่นๆมาทำการทดสอบจะมีข้อเปรียบเทียบ
มากขึ้น รวมถึงการศึกษาการลดลงของสารพิษชนิดอื่นๆเช่นสารฟอสเฟต ไนไตรท์
ค่าไฮโดรเนียมไอออนก็ทำให้ได้ข้อมูลมากขึ้น

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



เอกสารอ้างอิง

ปรีชา สุวรรณพินิจ. (2537). ชีววิทยา1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีชา สุวรรณพินิจ. (2537). ชีววิทยา2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มลิวรรณ บุญเสนอ. (2552). นิเวศพิษวิทยา. นครปฐม.
มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์. (2557). คู่มือวิเคราะห์คุณภาพน้ำ. พิมพ์ครั้งที่5. กรุงเทพฯ : แซน อี.
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์. (2553). น้ำเสียและการลดมลพิษทางน้ำ. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2558

จาก http://www.il.mahidol.ac.th/
เล็ก จินดาสงวนและปราโทมย์ ไม้กลัด. (2537) “การพัฒนาแหล่งน้ำ,” ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ.
เล่ม 12. หน้า249-287. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เล็ก จินดาสงวนและสุเมธ ตันติเวชกุล. (2537) “น้ำเสีย,” ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. เล่ม15.

หน้า 227-250. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัฒนา จูฑะพันธุ์. (2545). วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง. (2553). งานวิจัยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายน้ำเค็มและน้ำจืด. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 30 สิงหาคม 2558. จากhttp://www.nicaonline.com

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). สาหร่ายน้ำจืดไทย. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 30 สิงหาคม 2558 จาก http://biology.ipst.ac.th
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2548). ชีวิตสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



ภาคผนวก





ประมวลภาพกิจกรรมการทำการทดลอง






















ภาพที่ 3 การปฏิบัติการทดลอง ภาพที่ 4 การปฏิบัติการทดลอง




















ภาพที่ 5 การเก็บตัวอย่างแหล่งน้ำ ภาพที่ 6 การเลี้ยงสาหร่ายในปฏิบัติการทดลอง




















ภาพที่ 7 การวัดสารพิษในน้ำ ภาพที่ 8 ตัวอย่างผลการทดลอง



การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9









เครื่องแยกขวดและกระป๋อง

90 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


















เครื่องแยกขวดกระป๋อง



ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 446 กลุ่มที่ 10


1. ด.ช.เธียร ฐิรโฆไท เลขที่ 17
2. ด.ญ.พิมภัทร์ ธำรงวรสวัสดิ์ เลขที่ 27
3. ด.ช.เอกดนัย รถกิจ เลขที่ 46
4. ด.ญ.เอมขวัญ เตชะวิเชียร เลขที่ 47







อาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ณัฐิกา ลี้สกุล
อาจารย์กรรณิการ์ ปัญญาวิชัย
อาจารย์วรดร ใบพักตร์





เสนอ
คณะกรรมการสอบโครงงานบูรณาการ





รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานบูรณาการ

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


บทคัดย่อ


ชื่อโครงงาน เครื่องแยกขวดและกระป๋อง
ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 446

1. ด.ช.เธียร ฐิรโฆไท เลขที่ 17
2. ด.ญ.พิมภัทร์ ธำรงวรสวัสดิ์ เลขที่ 27

3. ด.ช.เอกดนัย รถกิจ เลขที่ 46
4. ด.ญ.เอมขวัญ เตชะวิเชียร เลขที่ 47

อาจารย์ที่ปรึกษา

1. อาจารย์ณัฐิกา ลี้สกุล
2. อาจารย์กรรณิการ์ ปัญญาวิชัย
3. อาจารย์วรดร ใบพักตร์






บทคัดย่อ
ขยะรีไซเคิลเป็นกลุ่มขยะที่พบมากที่สุดกลุ่มหนึ่งในชีวิตประจำวัน โดยการกำจัดขยะที่ผิด
วิธีจะสร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆมากมาย จึงควรมีการจัดการกับขยะที่ดีพอเช่นการแยกประเภทของ
ขยะก่อนนำไปกำจัดทิ้งอย่างถูกวิธี นอกจากนี้ การแยกขยะยังสามารถนำขยะที่แยกแล้วไปรีไซเคิล
เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่มีประโยชน์และเสริมสร้างรายได้ได้อีกด้วย

โครงงานนี้จึงจัดทำการประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและกระป๋องเพื่อใช้ในการแยกขยะประเภท
ขวดและกระป๋องชนิดต่างๆ ก่อนที่จะนำไปรีไซเคิลหรือกำจัดอย่างถูกวิธี โดยตัวถังเครื่องแยกทำจากไม้
ด้านหน้า ทำเป็นแผ่นอะคริลิกใสเพื่อให้มองเห็นด้านในตัวถัง โดยมีกลไกภายในที่ใช้ในการแยกขยะ
3 วิธี คือ ใช้ฟิวเจอร์บอร์ดตัดเป็นพื้นเอียงและเจาะรูไว้เพื่อให้ขวดและกระป๋องที่มีขนาดต่างๆ กัน
ตกลงในคนละช่องกัน ใช้แม่เหล็กในการแยกสิ่งที่เป็นโลหะ และใช้ตะแกรงในการแยกของเหลว
ที่ยังเหลืออยู่ในขวดและกระป๋อง ถ้าหากแยกได้ถูกต้อง 100% ถือว่ามีประสิทธิภาพ

จากการทดลองปรากฏว่า เครื่องแยกขวดน้ำและกระป๋องสามารถแยกได้ค่อนข้างมี
ประสิทธิภาพ แต่ยังมีปัญหาบางอย่างเช่นวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ไม่แข็งแรงเท่าที่ควร เมื่อทิ้งกระป๋อง
หลายๆ ครั้ง ทำให้พื้นเอียงมีการเปลี่ยนองศา

คำสำคัญ ขยะ พื้นเอียง ตะแกรง แม่เหล็ก มีประสิทธิภาพ
จำนวนหน้า 24 หน้า

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่องเครื่องแยกขวดและกระป๋องนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเพราะความอนุเคราะห์ของ

อาจารย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันทุกท่านที่ได้ช่วยเหลือ และให้คำแนะนำ
จนโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปได้

ขอขอบคุณอาจารย์ณัฐิกา ลี้สกุล อาจารย์ที่ได้ช่วยให้คำปรึกษาแนะนำในด้านการออกแบบตัวเครื่อง
แยกขวดและกระป๋อง จนโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ขอขอบคุณอาจารย์กรรณิการ์ ปัญญาวิชัย อาจารย์ทำได้ช่วยให้คำปรึกษาในด้านโครงสร้าง
ภายในของตัวเครื่องแยกขวดและกระป๋อง จนโครงงานนี้สำเร็จไปได้ด้วยดี

ขอขอบคุณอาจารย์วรดร ใบพักตร์ อาจารย์ประจำชั้นที่ได้ช่วยให้คำปรึกษาในด้านต่างๆ ดูแล
ในเรื่องการปฏิบัติโครงงาน ตรวจแก้ไขรายงาน จนโครงงานนี้สำเร็จไปได้ด้วยดี


ขอขอบคุณคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองที่ได้ให้คำปรึกษาในการปฏิบัติโครงงาน ดูแลในการปฏิบัติ
โครงงานและให้กำลังใจจนโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี


คณะผู้จัดทำ


Click to View FlipBook Version