The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitayaporn, 2019-11-15 01:32:04

การจัดการเรียนรู้บูรณาการ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 3



วิธีปฏิบัติโครงงาน


ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม
มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีปริมาณ
มากที่สุดโดยเม็ดสีไม่เสียสภาพโดยมีวิธีปฏิบัติโครงงาน ดังนี้


วัสดุอุปกรณ์
1. ต้นคราม อายุประมาณ 3 เดือน 30 กิโลกรัม
2. ปูนแดง 80 กรัม

3. โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ 8 กรัม
4. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 8 กรัม
5. ผ้าฝ้ายขนาด 10 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร 8 ชิ้น
6. ภาชนะสำหรับแช่ต้นคราม ขนาด 80 ลิตร 1 อัน
7. ตะแกรง 1 อัน

8. กระบอกตวง ขนาด 200 มิลลิลิตร 1 อัน
9. ภาชนะสำหรับเก็บน้ำแช่ต้นคราม (ตัวอย่าง) 8 อัน
10. อุปกรณ์สำหรับกวนน้ำครามกับปูน 1 อัน

11. กระดาษกรอง 8 ชิ้น

วิธีปฏิบัติโครงงาน
1. ตัดต้นครามอายุ 2-3 เดือน ที่ระดับความสูง 2/3 ของต้น จำนวน 30 กิโลกรัม

2. นำต้นครามมามัดเป็นฟ่อน
3. แช่ต้นครามในน้ำ 60 ลิตร แล้ววางตะแกรง และนำของหนักทับ เพื่อให้ฟ่อนครามจมน้ำ
4. เก็บตัวอย่าง น้ำแช่ต้นคราม 100 มิลลิลิตร ที่เวลาต่างๆ ดังนี้
0 ชั่วโมง,6 ชั่วโมง,12 ชั่วโมง,18 ชั่วโมง,24 ชั่วโมง,30 ชั่วโมง,36 ชั่วโมงและ 48 ชั่วโมง
5. นำตัวอย่างนำแช่ต้นครามที่ได้มาตีกวนกับปูนแดง ปริมาณปูนแดงที่ใช้ 10 กรัม บันทึกผล

ลงในตารางดังนี้

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 76

ตารางที่ 5 ตารางบันทึกผลการทดลองหลังจากนำน้ำครามมาตีกวนกับปูนแดง
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 76

หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม สารละลาย ตะกอน
ลักษณะสี
ตะกอน
สารละลาย
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 76
18 (สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18 (สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 76


สารละลาย
ตะกอน
6. ตั้งทิ้งไว้ให้ตกตะกอน แล้วนำมากรอง แยกน้ำใสทิ้ง และเก็บตะกอนสีเพื่อทดสอบปริมาณ
6.ตั้งทิ้งไวใหตกตะกอน แลวนํามากรอง แยกน้ําใสทิ้ง และเก็บตะกอนสีเพื่อทดสอบปริมาณ และคุณภาพของสี
6.ตั้งทิ้งไวใหตกตะกอน แลวนํามากรอง แยกน้ําใสทิ้ง และเก็บตะกอนสีเพื่อทดสอบปริมาณ และคุณภาพของสี
ภาพประกอบ
หนวยการทดลองที่
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18
ตอไป และคุณภาพของสีต่อไป เวลาที่ใชแชคราม สารละลาย ลักษณะสี ตะกอน
ตอไป

7.นําตะกอนเม็ดสีในแตละเวลา มาเปรียบเทียบความเขมของสีน้ําเงินคราม เพื่อดูปริมาณของเม็ดสีที่ได ในชวง
7. นำตะกอนเม็ดสีในแต่ละเวลา มาเปรียบเทียบความเข้มของสีน้ำเงินคราม เพื่อดูปริมาณ
7.นําตะกอนเม็ดสีในแตละเวลา มาเปรียบเทียบความเขมของสีน้ําเงินคราม เพื่อดูปริมาณของเม็ดสีที่ได ในชวง
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18
6.ตั้งทิ้งไวใหตกตะกอน แลวนํามากรอง แยกน้ําใสทิ้ง และเก็บตะกอนสีเพื่อทดสอบปริมาณ และคุณภาพของสี
เวลาตางๆกัน บันทึกผลลงตาราง ดังนี้
ของเม็ดสีที่ได้ ในช่วงเวลาต่างๆ กัน บันทึกผลลงตารางดังนี้

เวลาตางๆกัน บันทึกผลลงตาราง ดังนี้
ตอไป
ตารางที่ 6. ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม
6.ตั้งทิ้งไวใหตกตะกอน แลวนํามากรอง แยกน้ําใสทิ้ง และเก็บตะกอนสีเพื่อทดสอบปริมาณ และคุณภาพของสี
ตารางที่ 6 ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม
7.นําตะกอนเม็ดสีในแตละเวลา มาเปรียบเทียบความเ
ตารางที่ 6. ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม ขมของสีน้ําเงินคราม เพื่อดูปริมาณของเม็ดสีที่ได ในชวง
หนวยการ
ตอไป ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม น้ําหนัก(กรัม) ลักษณะสี
เวลาตางๆกัน บันทึกผลลงตาราง ดังนี้
B
ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม น้ําหนัก(กรัม)
หนวยการ ทดลองที่ R G ลักษณะสี
7.นําตะกอนเม็ดสีในแตละเวลา มาเปรียบเทียบความเขมของสีน้ําเงินคราม เพื่อดูปริมาณของเม็ดสีที่ได ในชวง
ตารางที่ 6
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
ทดลองที่ 18 . ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม R G B
เวลาตางๆกัน บันทึกผลลงตาราง ดังนี้
ลักษณะสี
ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม น้ําหนัก(กรัม)
หนวยการ
18 8.นําตะกอนเม็ดสีมายอมผาฝายขาวบาง เพื่อดูคุณภาพของเม็ดสี ในหนวยการทดลองตางๆ
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
ตารางที่ 6. ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม
R
G
ทดลองที่

8.1.เตรียมสารละลายโดยผสมโซเดียมไฮโดรซัลไฟต ปริมาณ 1 กรัม ในน้ํา 100 มิลลิลิตร
8.นําตะกอนเม็ดสีมายอมผาฝายขาวบาง เพื่อดูคุณภาพของเม็ดสี ในหนวยการทดลองตางๆ B
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18
หนวยการ
ลักษณะสี
ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม น้ําหนัก(กรัม)
8. นำตะกอนเม็ดสีมาย้อมผ้าฝ้ายขาวบาง เพื่อดูคุณภาพของเม็ดสี ในหน่วยการทดลองต่างๆ
8.2.เติมโซเดียมไฮดรอกไซดในสารละลายในขอ 8.1. ปริมาณ 0.1 กรัม
ทดลองที่
R
G
B
8.1.เตรียมสารละลายโดยผสมโซเดียมไฮโดรซัลไฟต ปริมาณ 1 กรัม ในน้ํา 100 มิลลิลิตร
8.นําตะกอนเม็ดสีมายอมผาฝายขาวบาง เพื่อดูคุณภาพของเม็ดสี ในหนวยการทดลองตางๆ
8.1. เตรียมสารละลายโดยผสมโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ ปริมาณ 1 กรัม ในน้ำ 100 มิลลิลิตร
18
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
8.3.เติมตะกอนเม็ดสี ในสารละลายขอ 8.2. แลวบันทึกผลลงในตารางตอไปนี้

8.1.เตรียมสารละลายโดยผสมโซเดียมไฮโดรซัลไฟต ปริมาณ 1 กรัม ในน้ํา 100 มิลลิลิตร
8.2. เติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ในสารละลายในข้อ 8.1. ปริมาณ 0.1 กรัม
8.2.เติมโซเดียมไฮดรอกไซดในสารละลายในขอ 8.1. ปริมาณ 0.1 กรัม
8.นําตะกอนเม็ดสีมายอมผาฝายขาวบาง เพื่อดูคุณภาพของเม็ดสี ในหนวยการทดลองตางๆ
ตารางที่ 7. ตารางบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ
8.2.เติมโซเดียมไฮดรอกไซดในสารละลายในขอ 8.1. ปริมาณ 0.1 กรัม

หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ ายขอ 8.2. แลวบันทึกผลลงในตารางตอไปนี้ ลักษณะสี

8.3. เติมตะกอนเม็ดสี ในสารละลายข้อ 8.2. แล้วบันทึกผลลงในตารางต่อไปนี้
8.3.เติมตะกอนเม็ดสี ในสารละล
8.1.เตรียมสารละลายโดยผสมโซเดียมไฮโดรซัลไฟต ปริมาณ 1 กรัม ในน้ํา 100 มิลลิลิตร

เวลาที่ใชแชคราม
8.3.เติมตะกอนเม็ดสี ในสารละลายขอ 8.2. แลวบันทึกผลลงในตารางตอไปนี้ ตะกอน
สารละลาย

8.2.เติมโซเดียมไฮดรอกไซดในสารละลายในขอ 8.1. ปริมาณ 0.1 กรัม
ตารางที่ 7 ตารางบันทึกลักษณะของสีย้อมที่ได้ หลังจากเติมสารเร่งปฏิกิริยารีดอกซ์
ตารางที่ 7. ตารางบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ
18
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
ตารางที่ 7. ตารางบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ

หนวยการทดลองที่ 8.3.เติมตะกอนเม็ดสี ในสารละลายขอ 8.2. แลวบันทึกผลลงในตารางตอไปนี้ ลักษณะสี
8.4.นําผาฝายขนาด 10 เซนติเมตร*10 เซนติเมตร ลงยอม
เวลาที่ใชแชคราม
ภาพประกอบ
ลักษณะสี
หนวยการทดลองที่
เวลาที่ใชแชคราม
ภาพประกอบ
ตารางที่ 7. ตารางบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ
สารละลาย
8.5.สังเกต เปรียบเทียบ สีที่ไดใน 1 หนวยการทดลอง สารละลาย ตะกอน ตะกอน
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
หนวยการทดลองที่
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18 18 ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
9.บันทึกผลการทดลองโดยใชตารางตอไปนี้ โดยนําขอมูลจากตารางที่ 2. มาประกอบ
8.4.นําผาฝายขนาด 10 เซนติเมตร*10 เซนติเมตร ลงยอม
18 8.4.นําผาฝายขนาด 10 เซนติเมตร*10 เซนติเมตร ลงยอม สารละลาย ตะกอน
8.4. นำผ้าฝ้ายขนาด 10 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร ลงย้อม
ตารางที่ 8. ตารางบันทึกลักษณะสีกอนและหลังยอมผา
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
8.5.สังเกต เปรียบเทียบ สีที่ไดใน 1 หนวยการทดลอง
8.5.สังเกต เปรียบเทียบ สีที่ไดใน 1 หนวยการทดลอง ลักษณะสี
8.5. สังเกต เปรียบเทียบ สีที่ได้ใน 1 หน่วยการทดลอง
8.4.นําผาฝายขนาด 10 เซนติเมตร*10 เซนติเมตร
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลงยอม
9.บันทึกผลการทดลองโดยใชตารางตอไปนี้ โดยนําขอมูลจากตารางที่ 2. มาประกอบ หลังยอม(ผา)
กอนยอม(ตะกอน)
8.5.สังเกต เปรียบเทียบ สีที่ไดใน 1 หนวยการทดลอง

9.บันทึกผลการทดลองโดยใชตารางตอไปนี้ โดยนําขอมูลจากตารางที่ 2. มาประกอบ R G B
9. บันทึกผลการทดลองโดยใช้ตารางต่อไปนี้ โดยนำข้อมูลจากตารางที่ 6. มาประกอบ
ตารางที่ 8. ตารางบันทึกลักษณะสีกอนและหลังยอมผา
R
G
B
9.บันทึกผลการทดลองโดยใชตารางตอไปนี้ โดยนําขอมูลจากตารางที่ 2. มาประกอบ
18
(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
ตารางที่ 8. ตารางบันทึกลักษณะสีกอนและหลังยอมผา
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม
ตารางที่ 8 ตารางบันทึกลักษณะสีก่อนและหลังย้อมผ้า ลักษณะสี
ตารางที่ 8. ตารางบันทึกลักษณะสีกอนและหลังยอมผา

หลังยอม(ผา)
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม กอนยอม(ตะกอน) ลักษณะสี
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
B
G
G
B
R กอนยอม(ตะกอน) R หลังยอม(ผา)
กอนยอม(ตะกอน)
18 (สําหรับบันทึกผลการทดลอง) หลังยอม(ผา)
R R G G B B R R G G B B

(สําหรับบันทึกผลการทดลอง)
18 18 (สําหรับบันทึกผลการทดลอง)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 4 การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 77


ผลการปฏิบัติโครงงาน
บทที่ 4
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม
มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีปริมาณมากที่สุด
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง อิทธิพลของเวลาที่สงผลตอคุณภาพของผายอมคราม มี
โดยเม็ดสีไม่เสียสภาพโดยมีผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
วัตถุประสงคเพื่อเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใชในการแชครามโดยทําใหสียอมมีปริมาณมากที่สุดโดย
เม็ดสีไมเสียสภาพโดยมีผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
ผลการปฏิบัติโครงงาน
4.1.ผลการปฏิบัติโครงงาน
ตารางที่ 9 ตารางแสดงการบันทึกผลการทดลองหลังจากนำน้ำครามมาตีกวนกับปูนแดง
ตารางที่ 9 ตารางแสดงการบันทึกผลการทดลองหลังจากนําน้ําครามมาตีกวนกับปูนแดง

หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
(ชั่วโมง) สารละลาย ตะกอน
1 0 ใสไมมีสี ตะกอนสีขาว











2 6 ใสไมมีสี ตะกอนสีขาวอม
ฟา











3 12 ใสไมมีสี ตะกอนสีฟา

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 78


หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
(ชั่วโมง) สารละลาย ตะกอน
4 18 สีใสออกเหลือง ตะกอนสีน้ําเงิน













5 24 สีเหลืองใส ตะกอนสีน้ําเงิน













6 30 ใส สีเหลืองเขม ตะกอนสีน้ําเงิน
อมเทา












7 36 เหลืองขุน ตะกอนสีน้ําเงิน
อมเขียว

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 79
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 79

ภาพประก
เวลาที่ใชแชค
หนวยการทดลอ
ลักษณะสี
หนวยการทดลองที่ งที่ ภาพประกอบ อบ เวลาที่ใชแชครามราม ลักษณะสี
(ชั่วโ
(ชั่วโมง) มง) สารละลาย ตะกอน
สารละลาย
ตะกอน
สีเขม เหลืองขุน
ตะกอนสีเ
8 8 42 42 สีเขม เหลืองขุน ตะกอนสีเขียวขียว
ขี้มา ขี้มา











ตารางที่ 10 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม
ตารางที่ 10 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม าม
ตารางที่ 10 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะสีของตะกอนคร
เวลาที่ใ
หนวย
ภาพประก
ลักษณะสี
หนวยการการ ภาพประกอบ อบ เวลาที่ใชแชชแช น้ําหนัก น้ําหนัก ลักษณะสี ความ ความ
ความ
ทดลองที่ งที่ คราม คราม (กรัม) (กรัม) R R G G B B เขม เขม
เข้มข้น
ทดลอ
(%)
(ชั่วโมง) มง) (%) (%)
(ชั่วโ
1 1 0 0 14.87 14.87 156 156 172 169 35.0 35.0
172 169

2 2 6 6 14.78 14.78 146 146 167 168 37.1 37.1
167 168


3 3 12 12 14.88 14.88 112 112 157 163 43.5 43.5
157 163



4 4 18 18 15.25 15.25 80 80 144 154 50.6 50.6
144 154





143 145
5 5 24 24 16.43 16.43 78 78 143 145 52.2 52.2

การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 79

ภาพประกอบ
หนวยการทดลองที่
ลักษณะสี
(ชั่วโมง)
ตะกอน
สารละลาย
8
42
ขี้มา
เวลาที่ใชแชคราม สีเขม เหลืองขุน ตะกอนสีเขียว
9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

ตารางที่ 10 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม
หนวยการ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแช น้ําหนัก การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 80
ลักษณะสี
ความ
ความ
ทดลองที่ คราม (กรัม) R G B เข้มข้น
เขม
(%)
หนวยการ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแช น้ําหนัก ลักษณะสี ความ
(%)
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 80
(ชั่วโมง)

6 30 15.48 111 155 142 46.7
14.87
0
172 169 35.0
1
156
หนวยการ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแช น้ําหนัก ลักษณะสี ความ
6 30 15.48 111 155 142 46.7

2 6 14.78 146 167 168 37.1

7 36 15.37 110 153 133 48.2
7 36 15.37 110 153 133 48.2

3 12 14.88 112 157 163 43.5
8 8 42 42 14.89 14.89 181 182 142 34.0
181
182 142 34.0

4 18 15.25 80 144 154 50.6



ตารางที่ 11 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะของสีย้อมที่ได้ หลังจากเติมสารเร่งปฏิกิริยารีดอกซ์


ตารางที่ 11 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ
143 145
16.43
78
ตารางที่ 11 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะของสียอมที่ได หลังจากเติมสารเรงปฏิกิริยารีดอกซ 52.2
5
24
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
ลักษณะสี
หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ (ชั่วโมง) ตะกอน
เวลาที่ใชแชคราม ของเหลว
1 0 (ชั่วโมง) สีขาวขุน ของเหลว สีขาว ตะกอน

1 0 สีขาวขุน สีขาว

2 6 สีขาวขุน สีขาว

2 6 สีขาวขุน สีขาว

3 12 สีเหลืองขุน สีขาว

3 12 สีเหลืองขุน สีขาว
4 18 สีออกเขียวอม สีเหลืองออน
เหลือง มีฟองสีน้ํา
เงินเกาะที่ผิวหนา

4 18 สีออกเขียวอม สีเหลืองออน
เหลือง มีฟองสีน้ํา
เงินเกาะที่ผิวหนา

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 99
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 81

หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแชคราม ลักษณะสี
(ชั่วโมง) ของเหลว ตะกอน
5 24 สีเขียวขุน สีฟาออน






6 30 สีเหลืองขุน สีเขียว





7 36 สีเขียวอมเหลือง มี สีเหลือง
ฟองสีน้ําเงินเกาะที่
ผิวหนา

8 42 สีเหลืองใส สีเหลือง

00 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 82

ตารางที่ 12 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะของสีย้อมที่ได้ หลังจากเติมสารเร่งปฏิกิริยารีดอกซ์
ตารางที่ 12 ตารางแสดงการบันทึกลักษณะสีกอนและหลังยอมผา

หนวยการทดลองที่ ภาพประกอบ เวลาที่ใชแช ลักษณะสี
คราม กอนยอม(ตะกอน) ความ หลังยอม(ผา) ความ
(ชั่วโมง) R G B เขม R G B เขม
(%) (%)
1 0 156 172 169 35.0 205 205 205 19.6




2 6 146 167 168 37.1 206 206 206 19.2




3 12 112 157 163 43.5 134 166 187 36.3




4 18 80 144 154 50.6 102 137 169 46.7



5 24 78 143 145 52.2 69 114 155 55.8





6 30 111 155 142 46.7 90 124 159 51.1



7 36 110 153 133 48.2 140 172 187 34.8




8 42 181 182 142 34.0 191 193 192 24.7



ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ในการทำรูปเล่มโครงงาน ทำให้ผู้จัดทำโครงงานได้ฝึกฝน และใช้ทักษะการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
สื่อความชัดเจน น่าสนใจ ถูกกาลเทศะ และตรงตามรูปแบบในการทำโครงงาน เช่น การตั้งชื่อโครงงาน
การกำหนดสมมติฐานและนิยามเชิงปฏิบัติการ การบันทึกผลการทดลองและเนื่องจากในการปฏิบัติโครงงาน
มีการใช้คำทับศัพท์ภาษาต่างๆ อยู่มากพอสมควร จึงต้องมีหลักการในการเขียนคำทับศัพท์โดยสังเขป

ดังต่อไปนี้
การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน
1. สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ โดยเทียบเสียงสระภาษาไทย

ตามตารางเทียบเสียงสระภาษาอังกฤษ
2. พยัญชนะ ให้ถอดเป็นพยัญชนะภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบพยัญชนะภาษาอังกฤษ
3. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต
3.1 พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น
horn = ฮอร์น

3.2 คำหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัว ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต
ไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้าย แต่เพียงแห่งเดียว เช่น Barents = แบเร็นตส์
3.3 คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกด ที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีก

ให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออก และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะ
ตัวสุดท้าย เช่น world = เวิลด์ (ไม่ใช่ เวิร์ล)
4. การใช้ไม้ไต่คู้ ควรใช้ในกรณีต่อไปนี้
4.1 เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคำไทย เช่น ล็อก = log (ให้ต่างจากคำว่า ลอก ในภาษาไทย)
4.2 เพื่อช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง เช่น โอค็อตสก์ = Okhotsk

5. การใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ การเขียนคำทับศัพท์ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ ยกเว้น
ในกรณีที่คำนั้นมีเสียงซ้ำกับคำไทย จนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้
เช่น coma = โคม่า (ไม่ใช่ โคมา (วัวมา))

6. พยัญชนะซ้อน (double letter) คำที่มีพยัญชนะซ้อนเป็นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไป
ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น football = ฟุตบอล แต่ถ้าเป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนาม
ให้เก็บไว้ทั้ง 2 ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย เช่น cell = เซลล์ (ไม่ใช่ เซล)
ถ้าพยัญชนะซ้อนอยู่กลางศัพท์ให้ถือว่า พยัญชนะซ้อนตัวแรกเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า
และพยัญชนะซ้อนตัวหลัง เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น broccoli = บรอกโคลี

7. คำที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วยให้ถือ
หลักเกณฑ์ดังนี้

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



7.1 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียงสระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศ ให้ซ้อน
พยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้า เข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น double = ดับเบิ้ล

7.2 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นสระอื่นที่ไม่ใช่สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษ
โดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ เช่น California = แคลิฟอร์เนีย
7.3 ถ้าเป็นคำที่เกิดจากการเติมปัจจัย เช่น -er, -ing, -ic, -y และการทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะ
ภาษาอังกฤษดังข้อ 7.2 อาจทำให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิมมาก ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์

ต้นอีกหนึ่งเพื่อให้เห็นเค้าคำเดิม เช่น booking = บุกกิง

8. คำประสมที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (hyphen) ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป เช่น
Cross-stitch = ครอสสติตช์ (ไม่ใช่ ครอส-สติตช์)
ยกเว้น ในกรณีที่เป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้คงไว้ เช่น Cobalt-60 = โคบอลต์-60

9. คำประสมซึ่งในภาษาอังกฤษเขียนแยกกัน เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไป ไม่ต้องแยกคำ
ตามภาษาเดิม เช่น night club = ไนต์คลับ


10. คำคุณศัพท์ที่มาจากคำนาม ซึ่งมีปัญหาว่าจะทับศัพท์ในรูปคำนามหรือคำคุณศัพท์นั้น
ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
10.1 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายเหมือนคำนาม หรือหมายความว่า “เป็นของ” หรือ
“เป็นเรื่องของ” คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนาม เช่น hyperbolic curve = ส่วนโค้ง

ไฮเพอร์โบลา(ไม่ใช่ ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลิก)
10.2 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายว่า “เกี่ยวข้องกับ” หรือ “เกี่ยวเนื่องจาก” คำนามนั้น
ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามโดยใช้ คำประกอบ เชิง แบบ อย่าง ทาง ชนิด ระบบ ฯลฯ
แล้วแต่ความหมาย เช่น electronic power conversion = การแปลงผันกำลังเชิง

อิเล็กทรอนิกส์
10.3 ในกรณีที่การทับศัพท์ในรูปคำนามตามข้อ 10.1 และข้อ 10.2 ทำให้เกิดความหมาย
กำกวมหรือคลาดเคลื่อน ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์ เช่น metric system = ระบบเมตริก
(ไม่ใช่ ระบบเมตร)

11. คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล ให้ทับศัพท์ตามชื่อของบุคคลนั้น ๆ โดยใช้คำประกอบ
ของแบบ ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น Euclidean geometry = เรขาคณิต
ระบบยุคลิด ยกเว้นในกรณีที่คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล เป็นชื่อเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกัน
ทั่วไปในแต่ละวงการ ซึ่งอาจสังเกตได้จากการที่ในภาษาอังกฤษไม่ได้ใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้น

ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์
12. คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น Swedish
people = คนสวีเดน (ไม่ใช่ คนสวีดิช) Hungarian dance = ระบำฮังการี (ไม่ใช่ระบำฮังกาเรียน)
ยกเว้นชื่อที่เคยใช้มานานแล้ว ได้แก่ …เยอรมัน …กรีก …ไอริช …ดัตช์ …สวิส …อังกฤษ และ

…อเมริกัน เช่น เรือกรีก (ไม่ใช่ เรือกรีซ) รถอเมริกัน (ไม่ใช่ รถอเมริกา)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


13. การวางตำแหน่งคำคุณศัพท์ในคำทับศัพท์ ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
13.1 คำคุณศัพท์ที่ประกอบคำนามที่เป็นภาษาไทย หรือเป็นคำทับศัพท์ แต่ได้ใช้ในภาษาไทย

มาจนถือเป็นคำไทยแล้ว ให้วางคำคุณศัพท์ไว้หลังคำนาม เช่น cosmic ray = รังสีคอสมิก
13.2 ถ้าทั้งคำคุณศัพท์และคำนามเป็นคำทับศัพท์ที่ยังไม่ถือเป็นคำไทย ให้ทับศัพท์
ตรงตามศัพท์เดิม เช่น Arctic Circle = อาร์กติกเซอร์เคิล (ไม่ใช่ วงกลมอาร์กติก)
13.3 ถ้าต้องการเน้นว่าคำนามนั้นเป็นสิ่งที่มีหลายชนิดและคำคุณศัพท์ที่ประกอบเป็นชนิดหนึ่ง

ของคำนามนั้น อาจทับศัพท์โดยใช้คำประกอบ แบบ ชนิด ระบบ ฯลฯ มาแทรกไว้ระหว่าง
คำนามกับคำคุณศัพท์ เช่น normal matrix = เมทริกซ์แบบนอร์แมล
14. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ ลงเป็นภาษาไทย คำย่อให้เขียนติดกัน โดยไม่ใส่จุด
และไม่เว้นวรรค ได้แก่ DDT เขียน ดีดีที และ F.B.I. เขียน เอฟบีไอ

15. คำทับศัพท์ที่ผูกขึ้นจากตัวย่อ ซึ่งอ่านออกเสียงได้เสมือนคำคำหนึ่ง มิได้ออกเสียง
เรียงตัวอักษร ให้เขียนตามเสียงที่ออกและไม่ต้องใส่จุด เช่น UNESCO = ยูเนสโก
16. ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใส่จุด และเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล เช่น D.N. Smith
= ดี.เอ็น. สมิท


ตารางที่ 13 แสดงคำศัพท์และคำแปลภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 85


คําในภาษาอังกฤษ คําทับศัพท
Reduce รีดิวซ
Histogram ฮิสโตแกรม
Percent เปอรเซ็นต
Glucoside Indican กลูโคไซด อินดิแคน
Indigo อินดิโก
Anthraquinone แอนทราควิโนน
Diquinone ไดควิโนน
Indoxyl อินดอกซิล
Oxydize ออกซิไดส

Leuco ลิวโค
Alcalite แอลคาไล
Hydrolys ไฮโดรไลส
Oxygen ออกซิเจน


อีกอยางหนึ่งคือการเรียนรูเกี่ยวกับศัพทเฉพาะเกี่ยวกับการยอมคราม เนื่องจากการยอมครามเปน
วัฒนธรรมที่มีมานานในภาคอีสาน ทําใหมีคําศัพทเฉพาะที่เปนคําภาษาอีสานเกิดขึ้น เชน

1.หมอนิล คือ ภาชนะที่ใชในการบรรจุน้ําสียอมเพื่อที่จะนําผาลงยอมในน้ําสีนั้น โดยทั่วไปจะเปนหมอ
ดินเผา

2.การกอหมอนิล คือกระบวนการนํานาครามมาปรับสภาพเพื่อเตรียมยอม โดยใชภาขนะเรียกวา หมอ
นิล

3.การโจกคราม คือการใชกระบวยหรือภาชนะ ตักน้ําครามขึ้นมาจากหมอคราม แลวเทกลับลงไป
(สันนิษฐานวาขณะเท เกิดเสียง”โจก” ทําใหเกิดคําวาโจกคราม)


4.เบือกคราม คือ เม็ดสีครามที่ถูกสกัดออกมา มีลักษณะคลายโคลน สามารถเก็บไวใชไดหลายป
2. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

จากผลการปฏิบัติโครงงาน ผูจัดทําสามารถกําหนดความเขมของสีไดตามใจชอบ ทําใหเกิดกระบวนการ
แบบใหมในการยอมผาคราม คือ ใชสียอมที่เกิดจากการแชครามดวยระยะเวลาตางๆกัน และในการปฏิบัติการ
ทดลอง ในสวนการยอมผา ทําใหผูจัดทําโครงงานไดฝกฝน และใชทักษะดานความคิดสรางสรรค ในการยอมผา
ดวยสียอมครามใหเปนลวดลายตางๆตามที่ตองการอีกดวย

1. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

การยอมผาดวยสียอมคราม เปนการยอมผาจากภูมิปญญาชาวบาน ซึ่งเปนอาชีพหลัก และสรางรายได
ใหกับชาวบานในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะในจังหวัดสกลนคร ซึ่งอาชีพการยอมผาดวยสียอม
ครามขายนั้นตองใชทักษะทั้งดานเกษตรกรรม คือ การปลูก ดูแล และเก็บเกี่ยวตนคราม และดานเทคโนโลยีสา

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



อีกอย่างหนึ่งคือการเรียนรู้เกี่ยวกับศัพท์เฉพาะเกี่ยวกับการย้อมคราม เนื่องจากการย้อมคราม
เป็นวัฒนธรรมที่มีมานานในภาคอีสาน ทำให้มีคำศัพท์เฉพาะที่เป็นคำภาษาอีสานเกิดขึ้น เช่น

1. หม้อนิล คือ ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุน้ำสีย้อมเพื่อที่จะนำผ้าลงย้อมในน้ำสีนั้น โดยทั่วไป
จะเป็นหม้อดินเผา
2. การก่อหม้อนิล คือกระบวนการนำน้าครามมาปรับสภาพเพื่อเตรียมย้อม โดยใช้ภาขนะเรียกว่า
หม้อนิล

3. การโจกคราม คือการใช้กระบวยหรือภาชนะ ตักน้ำครามขึ้นมาจากหม้อคราม แล้วเทกลับลงไป
(สันนิษฐานว่าขณะเท เกิดเสียง”โจก” ทำให้เกิดคำว่าโจกคราม)
4. เบือกคราม คือ เม็ดสีครามที่ถูกสกัดออกมา มีลักษณะคล้ายโคลน สามารถเก็บไว้ใช้ได้หลายปี



2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
จากผลการปฏิบัติโครงงาน ผู้จัดทำสามารถกำหนดความเข้มของสีได้ตามใจชอบ ทำให้เกิด
กระบวนการแบบใหม่ในการย้อมผ้าคราม คือ ใช้สีย้อมที่เกิดจากการแช่ครามด้วยระยะเวลาต่างๆกัน
และในการปฏิบัติการทดลอง ในส่วนการย้อมผ้า ทำให้ผู้จัดทำโครงงานได้ฝึกฝน และใช้ทักษะด้านความคิด

สร้างสรรค์ ในการย้อมผ้าด้วยสีย้อมครามให้เป็นลวดลายต่างๆตามที่ต้องการอีกด้วย

3. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การย้อมผ้าด้วยสีย้อมคราม เป็นการย้อมผ้าจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งเป็นอาชีพหลัก

และสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะในจังหวัดสกลนคร ซึ่งอาชีพ
การย้อมผ้าด้วยสีย้อมครามขายนั้นต้องใช้ทักษะทั้งด้านเกษตรกรรม คือ การปลูก ดูแล และเก็บเกี่ยวต้นคราม
และด้านเทคโนโลยีสาสนเทศ คือ การใช้คอมพิวเตอร์ในการระบุคุณภาพ ของสีครามที่ได้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ

ซึ่งง่ายต่อการเปรียบเทียบ รวมถึงฝึกทักษะการทำอาชีพ คือ การสกัดสีครามจากต้นคราม และการย้อมผ้า

4. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
จากการศึกษาข้อมูลพบว่า การย้อมผ้าครามด้วยน้ำครามปริมาตร 100 มิลลิลิตร ต้องใช้สารเคมี

คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 กรัม และโซเดียมไฮโดรซัลไฟด์ 1 กรัม ดังนั้น หากเราต้องการทราบว่า
จะต้องใช้สารเคมีต่างๆปริมาณเท่าไรในการย้อมผ้าครามด้วยสีย้อมปริมาณ x ลิตร สามารถหาได้โดยการใช้
ความรู้เกี่ยวกับบัญญัติไตรยางค์ ดังนี้

เนื่องจาก 1,000 มิลลิลิตร เท่ากับ 1 ลิตร
1,000 1
ดังนั้น 10 มิลลิลิตร เท่ากับ 10 ลิตร

จะได้ 100 มิลลิลิตร เท่ากับ 0.1 ลิตร

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


การหาปริมาณโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้
เนื่องจากสีย้อมคราม 0.1 ลิตร ใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 กรัม


ดังนั้น สีย้อมคราม 0.1× x ลิตร ใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1× x กรัม
0.1 0.1
จะได้ สีย้อมคราม x ลิตร ใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ x กรัม

การหาปริมาณโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ที่ใช้

เนื่องจากสีย้อมคราม 0.1 ลิตร ใช้โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ 1 กรัม
x x
ดังนั้น สีย้อมคราม 1× ลิตร ใช้โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ 1× กรัม
0.1 0.1
จะได้ สีย้อมคราม x ลิตร ใช้โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ 10x กรัม


ดังนั้น การย้อมผ้าครามด้วยสีย้อมปริมาตร x ลิตร จะต้องใช้สารเคมีคือ
1.โซเดียมไฮดรอกไซด์ ปริมาณ x กรัม
2.โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ ปริมาณ 10x กรัม


5. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ในการปฏิบัติการทดลองในหัวข้อโครงงาน สมาชิกต้องศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อนำมาใช้ในระหว่างการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแสวงหา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ตารางที่ 14 แสดงวิธีการทางวิทยาศาสตร์


ขั้นตอน กิจกรรมของสมาชิกในกลุ่ม
1. ขั้นสังเกตเพื่อระบุปัญหา คือการระบุปัญหา สมาชิกในกลุ่มได้พิจารณาปัญหาพบว่า

หรือสิ่งที่ต้องการศึกษาและกำหนดขอบเขต อุตสาหกรรมผ้าย้อมครามในจังหวัดสกลนครนั้น
ของปัญหา ยังมีกำลังผลิตไม่เพียงพอและต้นทุนสูง เมื่อ
พิจารณาต่อพบว่าต้นเหตุของปัญหาคือ ชาวบ้าน
ผู้ผลิตสีย้อมครามยังไม่ทราบว่าปัจจัยใดบ้าง
ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของสีย้อมผ้าที่สกัดออก
มาได้ เป็นเหตุให้คุณภาพไม่คงที่ และต้นทุนสูง
สมาชิกกลุ่มจึงได้เลือกหัวข้อโครงงานนี้เพื่อศึกษา
ทดลอง และนำระยะเวลาที่เหมาะสมไปบอก
ให้ชาวบ้านได้ทราบ


2. ขั้นตั้งสมมติฐาน คือการคิดคำตอบที่คาดหวัง สมาชิกกลุ่มได้ตั้งสมมติฐานว่าระยะเวลา
ว่าควรจะเป็น หรือการคาดเดาคำตอบที่จะได้รับ ในการแช่คราม เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลกระทบ
ต่อคุณภาพของสีย้อมที่ได้

3. ขั้นการรวบรวมข้อมูล คือการรวบรวมข้อมูล สมาชิกกลุ่มได้ตั้งสมมติฐานว่าระยะเวลา
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบ สมมติฐาน ในการแช่คราม เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลกระทบ
ที่ตั้งไว้ว่าถูกหรือผิด โดยมีหลักฐานยืนยันอาจทำได้ ต่อคุณภาพของสีย้อมที่ได้
โดยการสังเกต หรือการทดลอง


4. ขั้นสรุปผล คือการสรุปว่าจะปฏิเสธ หรือยอมรับ จากการทดลองในเดือนตุลาคม 2558
สมมติฐานตามหลักเหตุและผลเพื่อให้ได้คำตอบ สมาชิกกลุ่มสรุปได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการแช่
ของปัญหา ครามนั้นมีผลต่อคุณภาพของสีย้อมที่ได้ โดยพบว่า
น้ำครามที่ถูกแช่น้ำด้วยระยะเวลาต่างกันจะสามารถ
สกัดเม็ดสีได้ในปริมาณที่ต่างกัน แสดงว่าสมมติฐาน
ที่สมาชิกกลุ่มได้ตั้งไว้เป็นจริง


และเนื่องจากในระหว่างการปฏิบัติโครงงาน มีความจำเป็นต้องใช้สถานที่ คือ ห้องปฏิบัติการเคมี
อาคารสาธิตปทุมวัน 1 ชั้น 3 และต้องใช้สารเคมีและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์หลายชนิดในขั้นตอนการปฏิบัติ

โครงงาน ดังนั้น สมาชิกกลุ่มมีความจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ ดังนี้

5.1 ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการจะเกิดขึ้นได้ ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ทดลองช่วยกันป้องกัน

อันตรายที่จะเกิดขึ้น ฉะนั้นผู้ทดลองต้องมีความรู้ความเข้าใจต่อการปฏิบัติตนในห้องปฏิบัติการเป็นพื้นฐาน
เช่น รู้ระเบียบข้อบังคับ รู้ถึงอันตรายที่แอบแฝงอยู่ในสารเคมี ไม่ทำงานด้วยความประมาท สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้
มีความสำคัญมากที่ต้องศึกษาให้มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งก่อนที่จะปฏิบัติการทดลอง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


5.2 ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
1. ต้องระลึกอยู่เสมอว่า ห้องปฏิบัติการทดลองเป็นสถานที่ทำงาน ต้องทำการทดลอง

ด้วยความตั้งใจ
2. ต้องอ่านคู่มือห้องปฏิบัติการทดลองก่อนที่จะห้องปฏิบัติการทดลอง และพยายาม
ทำความเข้าใจถึงขั้นตอนการทดลอง หากไม่เข้าใจให้ถามอาจารย์ผู้ควบคุมก่อนการทดลอง
3. อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการทดลองต้องสะอาด ความสกปรกเป็นปัจจัยสำคัญทำให้

ผลการทดลองผิดพลาด
4. เมื่อต้องการใช้สารละลายที่เตรียมไว้ ต้องรินลงในบีกเกอร์ โดยรินออกมาประมาณเท่ากับ
จำนวนที่ต้องใช้ ถ้าสารละลายเหลือให้เทลงในอ่าง อย่าเทกลับลงในขวดเดิม
5. ถ้ากรดหรือสารเคมีที่เป็นอันตรายถูกผิวหนังหรือเสื้อผ้าต้องรีบล้างด้วยน้ำทันทีเพราะ

สารเคมีหลายชนิดซึมเข้าไปผิวหนังอย่างรวดเร็ว และเกิดเป็นพิษขึ้นมาได้
6. อย่าเทน้ำลงบนกรดเข้มข้นใดๆ แต่ค่อยๆ เทกรดเข้มข้นลงในน้ำช้าๆ พร้อมกวน
ตลอดเวลา
7. เมื่อต้องการดมสาเคมี อย่าดมโดยตรง ควรใช้มือพัดกลิ่นสารเคมีเข้าจมูกเพียงเล็กน้อย

(อย่าสูดแรง)
8. ออกไซด์ ของธาตุบางชนิดเป็นพิษหรือสารที่ไวต่อปฏิกิริยาหรือสารที่มีกลิ่นเหม็น การทดลอง
ใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับก๊าซนี้ควรทำในตู้ควัน
9. อย่ากินอาหารในห้องปฏิบัติการ เพราะอาจมีสารเคมีปะปน ซึ่งสารเคมีบางชนิดอาจมีพิษ

หรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
10. ต้องทำการทดลองด้วยความระมัดระวังที่สุด ความประมาทเลินเล่ออาจทำให้เกิดอันตราย
ต่อตัวเองได้


6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
จากผลการทดลอง การย้อมผ้าด้วยน้ำครามซึ่งได้มาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ได้ควบคุมระยะเวลา
จะทำให้สีที่ได้มีความจางกว่าผ้าที่ย้อมด้วยน้ำครามที่ผลิตโดยควบคุมระยะเวลา ดังนั้น ในการย้อมผ้า
เพื่อให้ได้ความเข้มที่ต้องการ เราสามารถลดจำนวนครั้งในการย้อมลงได้น้อยกว่าเดิม เมื่อจำนวนครั้ง

ในการย้อมลดลง จะทำให้ปริมาณน้ำครามที่ใช้ลดลง สามารถลดต้นทุนให้กับผลิตภัณฑ์ของชาวบ้าน ทำให้
ชาวบ้านที่ผลิตผ้าย้อมครามมีรายได้สูงขึ้น โดยอ้างอิงจากกฎของอุปสงค์และกฎของอุปทาน ดังนี้

ปัจจัยที่ 1 ต้นทุนการผลิตลดลง
การที่ต้นทุนลดลง จะทำให้ผู้ผลิตได้กำไรสูงขึ้น และต้องการผลิตสินค้าขายในปริมาณมากขึ้น

ตามกฎของอุปทาน (ผู้จัดทำมั่นใจว่าสินค้าจะไม่ล้นตลาด เพราะในปัจจุบัน ผ้าย้อมครามค่อนข้างขาดตลาด)
ทำให้ผู้ผลิตมีรายได้สูงขึ้น

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ปัจจัยที่ 2 ราคาขายลดลง
การที่ราคาขายลดลงนั้น ทำให้ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าสูงขึ้นตามกฎของอุปสงค์

ประกอบกับผลจากปัจจัยที่ 1 ทำให้ตลาดอยู่ในสภาวะสมดุล เพราะทั้งจำนวนสินค้าและจำนวนผู้บริโภค
เพิ่มขึ้นเหมือนกัน ทำให้มีการซื้อขายมากขึ้น

7. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา

ในการจูงใจให้ผู้คนหันไปสนใจผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ สามารถทำได้อีกวิธีหนึ่ง คือ ทำให้ได้เห็น
ข้อเสียของวัสดุสังเคราะห์ สมาชิกกลุ่มจะนำเสนอข้อเสียของสีย้อมผ้าสังเคราะห์ต่อสุขภาพ ดังนี้

ผลกระทบจากสีย้อมผ้าสังเคราะห์
อันตรายต่อผู้บริโภค สีย้อมผ้าจะมีโลหะในปริมาณสูงเช่น สารตะกั่ว สารหนู โดยสารตะกั่วจะมีพิษ

ต่อระบบประสาทอาจทำให้เป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ส่วนสารหนูจะสะสมอยู่ในกล้ามเนื้อกระดูกและผิวหนัง
ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง เกิดโลหิตจาง นอกจากนี้สารบางชนิดยังมีผลต่อการตกค้างของเม็ดเลือดแดง
การได้ รับสีย้อมผ้าในปริมาณน้อยแต่เป็นระยะเวลานานอาจมีผลทำให้เกิดเนื้องอกหรือมะเร็งที่อวัยวะ
ในระบบทาง เดินอาหารและกระเพาะปัสสาวะได้


1. พิษจากโลหะตะกั่ว
ในบรรดาโลหะในโลก ตะกั่ว เป็นโลหะที่มนุษย์สนใจ กับความเป็นพิษของมันมากที่สุด เนื่องจาก
การใช้ประโยชน์อย่างมากมาย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม แบตเตอรี่รถยนต์ เรือดำน้ำ ใช้ตะกั่วเกือบร้อยละ
50 ของผลิตผลตะกั่วทั้งหมด และยังใช้ในรูปตะกั่วอินทรีย์ (Alkyl lead) เป็นสารเคมีที่ใช้ เติมในน้ำมันเบนซิน

เพื่อป้องกันเครื่องยนต์เดินสะดุด แต่ปัจจุบันได้หันมาใช้สารชนิดอื่นทดแทน

ในอุตสาหกรรมสี และสารเคมี ใช้สารประกอบตะกั่วมาก เช่น สีแดง ของตะกั่วออกไซด์ (Red lead)
สีเหลือง จากตะกั่วโครเมต (Lead chromate) สีขาว จากตะกั่วคาร์บอเนต (Lead carbonate) และ
ตะกั่วซัลเฟต (Lead sulfate) สารฆ่าแมลงจากตะกั่วอาร์เซนเนทใช้ผสมสีทาอาคาร ซึ่งสีที่มีตะกั่วเหล่านี้

อาจผสมในสีของเล่นสำหรับเด็ก สีวาดภาพ สีที่ใช้พิมพ์ในวารสาร หนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็นสีซึ่งต้องสัมผัส
เสมอในชีวิต ประจำวัน ทำให้บุคคลที่สัมผัส มีโอกาสได้รับสารตะกั่วเข้าสู่ร่างกายได้สูง ประโยชน์ของตะกั่ว
มีมาก แต่ก็มีโทษมากเช่นกัน


นอกจากนี้ ยังมีการนำตะกั่วออกไซด์ มาใช้เป็นเครื่องสำอางด้วย กองพิษวิทยาเคยตรวจพบ
แป้งโรยตัวเด็ก เป็นผงสีขาว และ สีแดงอ่อน มีตะกั่วปนอยู่ร้อยละ 74 ซึ่งอันตรายต่อเด็กมาก เนื่องจาก
ผิวหนังเด็กดูดซึมตะกั่วได้ดีกว่าผู้ใหญ่

2. พิษจากสารหนู

สารหนูเป็นแร่ธาตุที่พบในธรรมชาติคือ ในดิน ถ่านหิน และในน้ำ โดยปะปนอยู่กับแร่อื่น
เช่น ดีบุก วุลแฟรม อลูมิเนียม มนุษย์นำสารหนูมาใช้เป็นเวลานานมาแล้ว ตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน
โดยนำมาใช้เป็นยารักษาโรค ต่อมาเมื่อมีความรู้มากขึ้นก็นำมาใช้ในอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
ทางอุตสาหกรรมใช้ในอุตสาหกรรมผลิตแก้วและกระจก อุตสาหกรรมป่าไม้ โดยผสมในยารักษาเนื้อไม้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 09


กำจัดเชื้อราและใช้เป็นปุ๋ยทางเกษตรกรรมใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยากำจัดวัชพืช และยาเบื่อหนู
ส่วนในรูปของยารักษาโรค เคยใช้กันแพร่หลายในสมัยต้นศตวรรษที่ ๑๙ โดยใช้รักษาโรคผิวหนังชนิดเรื้อรัง

และโรคหืด โดยทำเป็นยาน้ำมีชื่อเป็นที่รู้จักว่า “น้ำยาฟาวเร่อ” ใช้กิน ยาโอซาลวาซานรักษาซิฟิลิสและ
คุดทะราด ต่อมาพบว่าผู้ที่ได้รับยาดังกล่าวเกิดมีอาการแทรกซ้อนขึ้นเนื่องจากพิษสารหนู ความนิยม
ในการใช้ยาที่ผสมสารหนูจึงน้อยลงทุกทีจนเลิกไปในที่สุด จะมีที่ใช้อยู่บ้างก็เป็นส่วนผสมในยาแผนโบราณที่
เรียกว่า ยาต้ม ยาหม้อ ทั้งหมอไทยและหมอจีนแผนโบราณยังนิยมผสมสารหนูลงไปในยาต้มครอบจักรวาล

โดยอ้างสรรพคุณเป็นยาบำรุงกำลัง รักษาโรคภูมิแพ้ โรคผิวหนัง ฯลฯ ซึ่งชาวบ้านยังมีความเชื่อว่าแพทย์
แผนโบราณอาจช่วยให้โรคเหล่านี้หายขาดได้ เนื่องจากสารหนูมีสรรพคุณลดอาการอักเสบได้ เพราะฉะนั้น
เมื่อได้รับเข้าไปในตอนต้นๆ อาการของโรคจะดีขึ้น อีกทั้งช่วยกระตุ้นให้เจริญอาหาร ผู้ที่ได้รับยาที่ผสม
สารหนูเข้าไปเมื่อเห็นว่าโรคทุเลาลง อาการดีขึ้น ก็เข้าใจว่ายาดี แล้วกินต่อไปอีกด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์

อาการพิษจากสารหนูเกิดได้ในสองกรณีคือ 1.อาการเป็นพิษแบบเฉียบพลัน 2.อาการเป็นพิษเรื้อรัง

1. อาการพิษเฉียบพลัน จะพบเมื่อผู้ป่วยได้รับสารหนูขนาดสูงเพียงครั้งเดียว เช่น กินยาผิดหรือ
ในรายที่ใช้ยาเบื่อหนูหรือยาฆ่าแมลงเป็นยาฆ่าตัวตาย โดยการดื่มเข้าไปเป็นปริมาณมาก กรณีเช่นนี้จะเกิดอาการ
ร้อนปาก ร้อนท้อง ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน แน่นหน้าอก ความดันโลหิตตก เม็ดเลือดแดงแตกจนไตวาย

หมดสติ และถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าไม่เสียชีวิตในเวลาสั้นก็อาจพบอาการทางผิวหนัง เป็นแผลพุพองลอกเป็นแผ่น
ทั่วตัว มีผมร่วงจนหมดศีรษะในเวลาต่อมา

2. อาการเป็นพิษเรื้อรัง พบบ่อยกว่าชนิดเฉียบพลันเพราะไม่ใช่อุบัติเหตุแต่ค่อยๆเป็น โดยผู้ที่ได้รับ

สารพิษไม่รู้สึกตัวและกว่าจะเกิดอาการหลังจากได้รับยาเป็นเวลานานมาแล้ว อาจนานถึง 5-10 ปี บางครั้ง
ผู้ป่วยเองแทบไม่เชื่อว่าโรคที่เกิดขึ้นเป็นผลจากยาซึ่งเคยกินมาเมื่อ 10 ปีก่อน แล้วเพิ่งจะมาออกฤทธิ์ เนื่องจาก
การเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างช้าๆ อาการพิษเกิดได้กับอวัยวะและตับ ระบบไต ระบบประสาท และผิวหนัง
เนื่องจากผิวหนังเป็นอวัยวะที่ผู้ป่วยเห็นได้ด้วยตัวเองก่อนอาการอื่น จึงเป็นส่วนสำคัญที่นำผู้ป่วย
มาหาแพทย์หรือแพทย์ตรวจพบเมื่อผู้ป่วยมาหาด้วยอาการทางระบบอื่น กล่าวคือ ผิวหนังของผู้ได้รับพิษ

สารหนูเรื้อรังจะเกิดผิวสีคล้ำลงเป็นสีดำ มีหน้าดำ มีจุดดำขึ้นตามฝ่ามือและลำตัว ลักษณะของจุดดำ
กระจายทั่วไปมีสลับด้วยจุดขาว ทำให้เห็นผิวดำๆด่างๆ ที่ฝ่ามือฝ่าเท้าจะมีตุ่มแข็งๆ เกิดขึ้นเนื่องจากเซลล์ที่ผิว
หนังหนาตัวขึ้น ตุ่มนูนเหล่านี้เริ่มเป็นใหม่ๆ จะมีขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด ต่อมาขยายขนาดโตขึ้นหลายๆตุ่ม

อาจรวมกันเป็นปื้นใหญ่แข็งและหนา เป็นสีน้ำตาล ตุ่มเหล่านี้ต่อไปอาจมีการเปลี่ยนแปลงกลายเป็นมะเร็ง
ของผิวหนัง ขณะเดียวกันมะเร็งผิวหนังก็อาจเกิดขึ้นบริเวณลำตัวที่ด่างดำได้อีกด้วย สำหรับอาการทางระบบ
อื่นได้แก่ ร่างกายทรุดโทรม ผอม ซีด เบื่ออาการ อ่อนเพลีย มีอาการชาตามปลายมือปลายเท้า อาการรุนแรง
ขั้นต่อไป คือเกิดเป็นมะเร็งของอวัยวะภายใน เช่น หลอดลม ปอด กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ


การรักษาเมื่อมีผู้ป่วยได้รับพิษสารหนูแบบเฉียบพลัน การรักษาได้ทันท่วงทีจะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ ได้แก่
การล้างท้อง การให้ยาตามอาการที่เกิดขึ้น เช่น ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน แก้กระเพาะอักเสบ และฉีดยาแก้พิษ
สารหนูให้ครบชุด ส่วนอาการพิษเรื้อรังเมื่อเป็นแล้วรักษาให้หายยาก เนื่องจากมีสารสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อ
ของร่างกาย การรักษาใช้วิธีรักษาตามอาการที่ตรวจพบ เช่น ตุ่มที่หน้าขึ้นมาใช้ยาทาให้ลอกออกไป หรือ

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



มีเซลล์มะเร็งที่ผิวหนังก็ตัดทิ้งไป ส่วนมะเร็งที่อวัยวะภายในก็อาจใช้วิธีผ่าตัดหรือฉายแสงตามแต่
ความเหมาะสมและความเป็นมากน้อย ในรายที่เป็นมากขนาดมีตุ่มมะเร็งผิวหนังกระจายทั่วไปและ

แสดงอาการลุกลามอาจต้องใช้ยายับยั้งเซลล์ไม่ให้ลามมาก ซึ่งยานี้ราคาแพงและเพิ่งมีขายตามท้องตลาดในเวลา
5-6 ปีนี้เอง ซึ่งมีผู้ใช้แล้วได้ผลดี

8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

สมาชิกกลุ่มได้ทำการศึกษาจากหนังสือภาษาอังกฤษ ดังนี้
Indigo use in Thailand.
1.Introduction
The colour blue – both light and dark – is important to the people of easan; their

use of blue has a long tradition. Farmers especially use these colours often. There is a saying:
“Blue is a colour of the farmers”. Farmers wear blue cotton for their work in the fields,
because cotton wears well and lasts long. The dyestuff that gives the blue colour to these
cotton clothes is indigo, in Thailand we called Kraam. Indigo can also be used to dye silk,

wool ,etc. The villagers in the south of the Easan, in Surin, Buri Ram and Si Sa Ket, know
remarkably well how to dye silk yarn with Indigo. They carry out their top dyeing with Indigo
after Lac and Maj Prahoot dyeing, to prepare the yarn for Mee Hole, the famous and beautiful
Mudmee process (tying-off of yarns and then dyeing, more often called Ikat)


Nowadays , Indigo dyeing is still done only in a few plaein the Easan, such as Surin,
Udon Thani, Kalasin, and Sakon Nakhon. Most of the villages where Indigo dyeing is still
carried out are located far from town. The above mentioned bigger communities are
renowned for the sale of indigo clothes. There are several reasons for the gradual disappearance

of Indigo dyeing from the Easan:

1. Indigo dyeing is challenging, elaborate and time consuming. Dyers must have
a great deal of experience in caring for the dye pots. Only two persons in a village can be
Indigo dyers. It is hard work and dyers have to be genuinety committed.


2. The knowledge of Indigo dyeing is transmitted from mother to daughter, aunt
to niece; therefore, Indigo dyeing cannot be transmitted to many difference persons.
There is a lot of secrecy around Indigo dyeing.


3. The Indigo dye pots smell; some dyers claim it is a good smell, whereas other
refer to it as a bad smell. The hands of Indigo dyers eventually turn blue’
just like the Indigo colour. Due to the smell and the blue hands, not everybody
wants to be an Indigo dyer. You cannot eliminate the smell or the blue

hands.

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


4. There is much superstition surrounding Indigo, such as that indigo dye pots are
alive and a spirit dwells in the Indigo pot. In some place villagers believe that

when the Indigo dyers are old, they will become ghost themselves. Because of
this beliefs, people are afraid to learn Indigo dyeing

5. With the coming of “civilization”, villagers can now wear synthetically dyed
Indigo clothes, bought from the market, without having to dye them themselves.

Also, they can dye their cloth with chemical blue, which is easy to obtain and
simple to use

ตารางที่ 15 ตารางแสดงคำศัพท์และคำแปลภาษาอังกฤษ


คําศัพท ความหมาย คําศัพท ความหมาย

Obtain จัดหา, ไดรับ, บรรลุ Elaborate ประณีต, วิจิตร

Synthetically สังเคราะห Consuming แรงกลา, มุงมั่น
Superstition ไสยศาสตร Mentioned ซึ่งถูกอางถึง

Surrounding รอบตัว, บริเวณรอบๆ Renowned ขึ้นชื่อ
Eventually ในที่สุด, ไปๆมาๆ Remarkably ผิดสังเกต, อยางนาทึ่ง
eliminate กําจัด, กวาดลาง genuinety แทจริง

especially โดยเฉพาะ several หลากหลาย

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 5




สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาโครงงานบูรณาการอิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม สามารถ
สรุปและอภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้


สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน
คณะผู้จัดทำได้ทำโครงงานบูรณาการ เรื่อง อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม

โดยต้องการทดลองหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีคุณภาพตรงตาม
มาตรฐานโดยเม็ดสีไม่เสียสภาพ ซึ่งดำเนินการทดลองโดยแช่ใบครามในน้ำด้วยระยะเวลาต่างๆ จากนั้นนำ
ของเหลวที่ได้มาเติมปูนขาวและกรองตะกอนที่ได้ แล้วนำมาวิเคราะห์สีด้วยคอมพิวเตอร์ ได้ความเข้มตั้งแต่
ขวดที่ 1 ถึงขวดที่ 8 เป็นร้อยละ 35.0, 37.1, 43.5, 50.6, 46.7, 48.2 และ 34.0 ตามลำดับ และมีน้ำหนัก

ตะกอนตั้งแต่ขวดที่ 1 ถึงขวดที่ 8 เป็น 14.87, 14.78, 14.88, 15.25, 16.43, 15.48, 15.37 และ 14.89 กรัม
ตามลำดับ จากนั้นนำตะกอนเม็ดสีที่ได้นำมาผสมกับสารเร่งปฏิกิริยาริดิวซ์ และนำของเหลวที่ได้ไปย้อมผ้า
และนำผ้าไประบุความเข้มของสีด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อเปรียบเทียบความเข้มของแต่ละหน่วย
การทดลอง ได้ผลความเข้มสีตั้งแต่หน่วยการทดลองที่ 1 ถึง 8 เป็นร้อยละ 19.6, 19.2, 36.3, 46.7, 55.8,

51.1, 34.8 และ 24.7 ตามลำดับ

ผู้จัดทำได้ผลลัพธ์ออกมาว่า การแช่ใบครามในน้ำเป็นเวลา 24 ชม. คือ ระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุด
โดยได้ปริมาณสีย้อม 50.6 กรัม และเมื่อนำไปย้อมผ้า ผ้าที่ผ่านการย้อมมีความเข้มสีถึงร้อยละ 55.8
โดยผลที่ได้นี้ ผู้จัดทำจะนำไปบอกให้ชาวบ้านที่ทำอาชีพย้อมครามได้ทราบ จะช่วยให้ชาวบ้านที่ทำอาชีพ

ย้อมผ้าครามจำหน่ายใช้เป็นเวลาที่แน่นอนในการแช่คราม เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพในการย้อมด้วย

อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน

จากผลการทดลองที่ได้ ผู้จัดทำได้พบว่า ความเข้มของสีย้อมที่ได้ มีความแตกต่างกันตามระยะเวลา
ที่ใช้ในการแช่ใบครามในน้ำ ซึ่งความเข้มของสีต่างกันตามระยะเวลาโดยมีความเข้มเพิ่มขั้นเรื่อยๆ จนมากที่สุด
เมื่อแช่ใบครามไปแล้ว 30 ชั่วโมง จากนั้นความเข้มก็ค่อยๆลดลง การที่ความเข้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เกิดจาก
การที่เอนไซม์และรงควัตถุในใบครามทำปฏิกิริยากัน โดยมีน้ำเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อใช้เวลามาก

สารทั้งสองชนิดก็ย่อมทำปฏิกิริยากันได้มากขึ้น ปฏิกิริยานี้แปรสภาพรงควัตถุในใบครามให้สามารถละลาย
น้ำได้ การแช่ใบครามในเวลานานจึงทำให้รงควัตถุละลายน้ำออกมาได้มาก แต่เนื่องจากรงควัตถุนี้สามารถ
ถูกย่อยสลายไปได้ตามธรรมชาติ เมื่อแช่ใบครามเป็นระยะเวลานานมากๆ จึงทำให้รงควัตถุมีปริมาณน้อยลง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ปัญหา อุปสรรคและวิธีการแก้ไข

1. ในการปฏิบัติโครงงานช่วงแรกๆ สมาชิกกลุ่มใช้สถานที่เป็นที่บ้านของสมาชิกในการทดลอง

ทำให้อุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการ

วิธีการแก้ไข : ผู้ทำการทดลองจึงหาอุปกรณ์ที่สามารถหาได้ในครัวเรือนนำมาปรับใช้
ในการดำเนินการทดลอง


ประโยชน์ที่ได้รับ

1. ได้ระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน

โดยเม็ดสีไม่เสียสภาพ

ข้อเสนอแนะ


1. ควรศึกษาปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการติดสีย้อมของผ้า เช่น ปัจจัยทางด้านของค่า pH ชนิดของผ้า
ที่นำมาย้อมเป็นต้น
2. ควรศึกษาความเป็นไปได้ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการย้อมผ้าจริง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



เอกสารอ้างอิง

การย้อมผ้าคราม. (ม.ป.ป.).สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2558.
http://parkramsk.blogspot.com/p/blog-page_5278.html เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต. (2539).

ข้อมูลเศรษฐกิจพื้นฐาน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2558 จาก
http://cm.nesdb.go.th/pop_summary20.asp?ClusterID=C0039

ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ. (ม.ป.ป). สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2558 จาก
http://www.envi.cmru.ac.th/instrument/chapter1_t1.html
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์. (ม.ป.ป..) สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2558 จาก
https://sites.google.com/site/chanwid2555/khwam-ru-beuxng-tn-keiyw-kab-sersth
sastr/12-rakha-dulyphaph-laea-priman-dulyphaph-khxng-sinkha

ทำผ้ามัดย้อม. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2558 จาก
http://huaisan.rmutl.ac.th/pagemenu/mudyom.html

แนวทางการเขียนบทคัดย่อ (Abstract). (ม.ป.ป..) สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2558 จาก
http://graduate.psru.ac.th/service/guideabstract.pdf

พิษจากโลหะตะกั่ว. (2532). สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2558 จาก
http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_txR_search.asp?info_id=41

พิษสารหนู. (2540). สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2558 จาก http://www.doctor.or.th/article/detail/3952
ภูมิปัญญาชาวบ้าน:การย้อมคราม. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2558 จาก
http://student.nu.ac.th/teerapat

วิธีการทางวิทยาศาสตร์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2558 จาก
http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cpornth1/Web_SciProject/a02.htm

สถิติ. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558 http://www.thaistudyfocus.com

หลักการทับศัพท์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2558 จาก http://www.royin.go.th/?page_id=617

อนุรัตน์, สายทอง,ผ.ศ. (2544). การผลิตสีครามจากต้นคราม. สกลนคร:คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎ สกลนคร.

อัตราส่วน สัดส่วนและเปอร์เซ็นต์. (ม.ป.ป.) สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2558 จาก https://sites.google.
com/site/faengseekham/haelng-khxmul/xatraswn-sadswn-laea-pexrsent

indigo dyeing. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2558 จาก https://en.wikipedia.org/wiki/indigo dyeing

Jenny Balfour-Paul. (2543). Indigo. New york:Routledge;taylor and Francis Group.

marjo moeyes. (2557). Natural dyeing in thailand. กรุงเทพมหานคร:white lotus Co.,Ltd. 2557.
Vivien Prideaux. (2545). A handbook of indigo dyeing. กรุงเทพมหานคร :

บริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก.

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



ภาคผนวก





ภาพการปฏิบัติโครงงาน





















ภาพที่ 6 การเก็บต้นคราม ที่ จ.สกลนคร ภาพที่ 7 ต้นครามมามัดเป็นฟอน




















ภาพที่ 8 แช่ต้นครามในน้ำ นำของหนักทับ ภาพที่ 9 อุปกรณ์สำหรับตีปูนแดงให้เข้ากับน้ำ
ครามและเก็บตัวอย่างที่เวลาต่างๆ




















ภาพที่ 10 ตะกอนครามที่ได้จาก ภาพที่ 11 กรองน้ำออกจากตะกอน
8 หน่วยการทดลอง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน























ภาพที่ 12 ชั่งน้ำหนักตะกอน ภาพที่ 13 เตรียมสารสำหรับ
รีดิวซ์ตะกอนคราม




















ภาพที่ 14 ความช่วยเหลือจากสมาชิกกลุ่มอื่น ภาพที่ 15 ผสมตะกอน กับสารละลาย เพื่อรีดิวซ์























ภาพที่ 16 ตะกอนครามที่ถูกรีดิวซ์เปลี่ยนเป็น ภาพที่ 17 นำผ้าลงย้อม
สีเหลือง เม็ดสีครามถูกรีดิวซ์แล้วละลาย

อยู่ในน้ำ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2





















ภาพที่ 18 นำผ้าที่ย้อมเสร็จแล้ว วางในตะกร้า ภาพที่ 19 ล้างตะกอนครามที่ติดอยู่กับผ้าออก























ภาพที่ 20 ผ้าที่ผ่านการย้อมเรียบร้อยแล้ว

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ประมวลผลภาพกิจกรรมสำหรับนักเรียนในการดำเนินโครงงานบูรณาการ

1. ขั้นวางแผนการดำเนินงาน (Plan)
วางแผนการดำเนินงานโครงงานบูรณาการ โดยการศึกษาหาความรู้ ทฤษฎี เลือกเนื้อหาที่สนใจ
สร้างโครงงาน และดำเนินการปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานบูรณาการ































ดำเนินการวางแผนดำเนินงานโครงงานบูรณาการ































วางแผนดำเนินโครงการและปรึกษาโครงงานบูรณาการ
กับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9





































วางแผนดำเนินโครงการและปรึกษาโครงงานบูรณาการกับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

































ปรึกษาโครงงานบูรณาการและดำเนินการแก้ไขตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


2. การดำเนินการตามแผน (Do)

ดำเนินการปฏิบัติการตามแผนการที่วางไว้ ดำเนินการทดลอง และบันทึกผลการปฏิบัติโครงงาน































ดำเนินการปฏิบัติการตามแผนการดำเนินงานที่วางเอาไว้

































ดำเนินการปฏิบัติการตามแผนการดำเนินงานที่วางเอาไว้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2

2. การดำเนินการตามแผน (Do)

ดำเนินการปฏิบัติการตามแผนการที่วางไว้ ดำเนินการทดลอง และบันทึกผลการปฏิบัติโครงงาน































ทำการทดลองโครงงานโดยมีอาจารย์คอยเป็นผู้ให้คำชี้แนะ

































ทำการทดลองโครงงานโดยมีอาจารย์คอยเป็นผู้ให้คำชี้แนะ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


3. ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check)

ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนการที่วางไว้ ตรวจสอบผลการดำเนินงานโครงงาน โดยอาจารย์
ที่ปรึกษาโครงงานเพื่อให้คำแนะนำในการพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขโครงงาน






























อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบผลงานของนักเรียน

































อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบผลงานของนักเรียน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2






























อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบผลงานของนักเรียนและให้คำแนะนำ




4. นำเสนอโครงงานบูรณาการ (Act)
รายงานผลการดำเนินโครงงานบูรณาการโดยนักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการ
































นักเรียนนำเสนอโครงงานบูรณาการ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน





































นักเรียนนำเสนอโครงงานบูรณาการ

































นักเรียนนำเสนอผลงานจากการปฏิบัติโครงงาน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2

ตัวอย่างขั้นตอนในการจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียน























อาจารย์แนะนำหลักการทำโครงงานบูรณาการ




















นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดหัวข้อโครงงาน























นักเรียนนำเสนอโครงงานบูรณาการ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
















































นักเรียนนำเสนอชิ้นงาน / ผลการดำเนินงาน อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะในการศึกษาเพิ่มเติม
























อาจารย์ซักถามข้อสงสัยบางประการ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


รายชื่อคณะกรรมการจัดกิจกรรมโครงงานบูรณาการปีการศึกษา 2557


ที่ปรึกษา
นางอรพินธุ์ คนึงสุขเกษม ผู้อำนวยการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

คณะกรรมการดำเนินงาน
นายสุนทร ภูรีปรีชาเลิศ นางสุจุฑา สีทองสุรภณา
นางเยาวลักษณ์ สุขุมินท นางสาววราภรณ์ กรุดทอง

นางสาวสุกัลยา ฉายสุวรรณ นายวรงค์ เจนพิทักษ์พงศ์
นายชลภูมิ บรรหาร นางชนัยสุดา ทองอยู่
นางสมพิศ กาญจนาเพ็ญกุล นายพิชาคม โอเขียว
นางสาวธันย์จิรา ภูริอุดมเศรษฐ์ นายสันติ อิทธิพลนาวากุล

นายพงศธร นันทธเนศ นางสาวกัญจน์ณัฏฐ์ ตะเภาพงษ์

รายชื่อคณะกรรมการจัดกิจกรรมโครงงานบูรณาการปีการศึกษา 2558

คณะกรรมการดำเนินงาน
นายสุนทร ภูรีปรีชาเลิศ นางเยาวลักษณ์ สุขุมินท
นายวรงค์ เจนพิทักษ์พงศ์ นางสาวสุกัลยา ฉายสุวรรณ

นายณัฐพล สัจกุล นายพงศพิชญ์ แก้วกุญธร
นายพงศธร นันทธเนศ นางสาววราภรณ์ กรุดทอง
นางสมพิศ กาญจนาเพ็ญกุล นายพิชาคม โอเขียว
นางสาวธันย์จิรา ภูริอุดมเศรษฐ์ นายสันติ อิทธิพลนาวากุล

นายเชิด เจริญรัมย์ นางชนัยสุดา ทองอยู่
นางสาวกัญจน์ณัฎฐ์ ตะเภาพงษ์ นายวรดร ใบพักตร์

228 โรงเร�ยนสาธ�ตมหาว�ทยาลัยศร�นคร�นทรว�โรฒ ปทุมวัน















รายช�่อผูสนับสนุนการจัดพิมพ





















1. คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี 10. คุณศักดิ์ชัย วงศแจมเจริญ

2. นางธนวรรณ คงรัศมี 11. คุณยิ่งแกว – รองศาสตราจารยจงอร พีรานนท

3. คุณนวลพรรรณ ล่ำซำ 12. พ.ต.อ.พันธนะ นุชนารถ

(บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)) 13. พ.ต.อ.ฉัตรชัย คำวิสัย

4. คุณวรวรรณ สนองชาติ 14. พ.ต.อ.ปติ นิธินนทเศรษฐ
5. คุณกษิรา สิริวันต 15. คุณวิวัฒน อุทารวงศสกุล

6. คุณวิวัฒน – คุณจารุณี สิงหชัย 16. พ.ต.อ.พันลภ แอรมหลา

7. ดร.กีรติ รัชโน 17. คุณสมหวัง กัลยาวุฒิพงศ – คุณศศิวิรัล จารุศิริพิพัฒน

8. คุณสมพงศ เลิศอัษฏมงคล 18. คุณสมโภชณ อุณหนัย

9. คุณวีระชัย – คุณบุศยา พรธิสาร




Click to View FlipBook Version