The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitayaporn, 2019-11-15 01:32:04

การจัดการเรียนรู้บูรณาการ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพอังกฤษถูกนาซีเยอรมันล้อมไว้ ยาเคมีเกิดขาดแคลน
รัฐบาลอังกฤษได้กว้านซื้อกระเทียมจำนวนมาก เพื่อนำมารักษาบาดแผลของทหาร

ที่ถูกปิดล้อมเหล่านั้น

4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
Fungas is a cause of spoilage in bread. The common of food born fungal pathogen

is Aspergillus sp.

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
5.1 เทคนิคและศิลปะในการนวดแป้งขนมปัง

5.2 การออกแบบขนมปัง ทั้งรูปร่าง รูปทรง กลิ่น สี สัมผัส

6. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
6.1 การเสื่อมเสียของขนมปัง เกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่ การเสื่อมเสียจากเชื้อรา การ

เสื่อมเสียจากแบคทีเรีย การแห้งของขนมปัง

6.2 วัตถุดิบ Homemade bread ได้แก่ แป้งขนมปัง น้ำตาล เกลือ ยีสต์แห้ง น้ำ และเนยเค็ม

6.3 วิธีการดูแลรักษาอาหารอย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในที่ที่มีความชื้นสูง


7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
7.1 ทักษะทางภาษา ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การนำเสนอ การทำรายงาน

7.2 สุนทรียภาพทางภาษาที่เกี่ยวข้อง

- จากพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 เรื่อง ผลไม้ในวรรรคดีไทย กล่าวว่า

“ทับทิมพริ้มตาตรู
ใส่จานดูดุจเม็ดพลอย

สุกแสงแดงจักย้อย
อย่างแหวนก้อยแก้วตาชาย”

- จากสำนวน สุภาษิต
มะนาวไม่มีน้ำ หมายถึง พูดไม่น่าฟัง ไม่ไพเราะ ไม่รื่นหู ห้วนๆ ขาดความนุ่มนวล

องุ่นเปรี้ยว มะนาวหวาน
(จากนิทานอีสป แต่ใช้กันมานาน จนรู้สึกราวกับเป็นสำนวนไทยแท้) หมายถึง เลี่ยงที่
จะยอมรับในสิ่งที่ตนต้องการ เนื่องจากไม่ประสบความสำเร็จ หรือเป็นไปไม่ได้ และยอมรับ
สิ่งที่ไม่ต้องการแทน)

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



- นอกจากนี้ยังมีการเล่นของเด็ก เรียกว่า “ซักส้าว” ที่มีเนื้อร้องกล่าวถึง “มะนาว” ดังนี้
ซักส้าวเอย มะนาวโตงเตง

ขุนนางมาเอง จะเล่นซักส้าว
มือใครยาวสาวได้สาวเอา มือใครสั้นเอาเถาวัลย์ต่อเข้า

8. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ

ขนมปังมีคุณค่าทางอาหารเหมือนกับข้าวขาวที่หุงสุกแล้ว มีทั้งคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน
ซึ่งจะมีการเติมเนยด้วย ใช้รับประทานเป็นอาหารเช้าได้ แต่ต้องมีอาหารชนิดอื่นเสริมด้วย

สรุปแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ดำเนินงาน

การจัดทำโครงงานเรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก
มะนาว ทับทิม กระเจี๊ยบและกระเทียม ได้แนวคิดมาจากการที่เก็บขนมปังไว้นานๆ ในอากาศที่มีความชื้น
นั้นก็จะมีเชื้อราเกิดขึ้นบนขนมปังได้ง่าย เกิดปัญหารับประทานขนมปังยังไม่หมดก็เกิดเชื้อราขึ้นแล้วจนต้อง

ทิ้งไปทั้งหมด และจากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น พบว่ามะนาว ทับทิม กระเจี๊ยบและกระเทียม มีคุณสมบัติ
ช่วยชะลอการเกิดของเชื้อรา ดังนั้นจึงได้คิดทดลองทำขนมปังที่มีส่วนผสมของสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม
กระเจี๊ยบและกระเทียม เพื่อให้ได้ขนมปังที่มีเชื้อราขึ้นช้ากว่าขนมปังทั่วไป ทำให้สามารถเก็บรักษาได้นาน
และรับประทานได้ ทั้งนี้ทางผู้จัดทำได้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องในกลุ่มสาระวิชาต่างๆทั้ง 8 กลุ่มสาระตาม

รายละเอียดซึ่งได้กล่าวไว้ข้างต้น เพื่อก่อให้เกิดการบูรณาการความรู้ในทุกๆกลุ่มสาระวิชา ทำให้ได้รับ
องค์ความรู้ที่หลากหลายและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



บทที่ 3



วิธีปฏิบัติโครงงาน


ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง
โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเทียมและ กระเจี๊ยบแดง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ
สารสกัดของ มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบต่อการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง และ เพื่อศึกษาอัตราส่วน
ของสารสกัดจากสมุนไพร ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และ ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราโดยมีวิธีปฏิบัติ

โครงงาน ดังนี้

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. ผลมะนาว
2. ผลกระเจี๊ยบ
3. ผลทับทิม

4. กระเทียม
5. แป้งขนมปัง 240 กรัม
6. แป้งสาลี 60 กรัม
7. น้ำตาลทราย 55 กรัม

8. นมผง 10 กรัม
9. ยีสต์ 2 ช้อนชา
10. Bread Improver 1 ช้อนชา
11. ไข่ 1 ฟอง

12. น้ำเย็น-จากตู้เย็น 150 มิลลิลิตร (ซีซี)
13. มาการีน ชนิดเค็ม 30 กรัม
14. เกลือ 5 กรัม

15. เครื่องครัวที่ใช้ทำเบเกอรี่ เช่น เตาอบขนมปัง , เครื่องตีแป้ง ,ถ้วยตวง , ช้อนตวง ,

ถาดขนมปัง เป็นต้น
16. มีด
17. ถุงมือ
18. เครื่องชั่ง

19. ถุงบรรจุขนมปัง
20. เครื่องปั่นน้ำผลไม้

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


วิธีปฏิบัติโครงงาน
การออกแบบการทดลอง

การออกแบบการทดลอง

1:4
ทําขนมปง
ธรรมดา ผสม 2:3
สมุนไพรแต วางไวใน
ผสมน้ํากระเจี๊ยบ ละชนิด 3:2 หอง ณ

ขนมปง โดยเปลี่ยน อุณหภูมิหอง
ผสมน้ํามะนาว อัตราสวน 4:1
ของสมุนไพร
ผสมน้ําทับทิม
แตละชนิดที่ 5:0
ผสม
ผสมน้ํากระเทียม ตอน้ํา


สังเกตการขึ้น

ทําซ้ํา 3 ครั้ง ของเชื้อรา
และเก็บผล


การดําเนินงาน

การดำเนินงาน
1.ขั้นตอนการผลิตขนมปง (สูตรควบคุม)
ขั้นตอนที่ 1 การผลิตขนมปัง (สูตรควบคุม)
สวนผสมขนมปงหวานสูตรนิ่ม
ส่วนผสมขนมปังหวานสูตรนิ่ม
(ก) แปงขนมปง 240 กรัม
60 กรัม

แปงสาลี
(ก) - แป้งขนมปัง 240 กรัม
55 กรัม
น้ําตาลทราย
- แป้งสาลี 60 กรัม
นมผง

10 กรัม
- น้ำตาลทราย 55 กรัม
ยีสต
2 ชอนชา

Bread Improver นมผง
- 1 ขอนชา 10 กรัม

- ยีสต์
(ข) ไข 1 ฟอง 2 ช้อนชา

น้ําเย็นจากตูเย็น
(ค) มาการีนชนิดเค็ม 150 มิลิลิตร (ซีซี) 1 ข้อนชา
- Bread Improver
30 กรัม
(ข) - ไข่ 5 กรัม 1 ฟอง

เกลือ

วิธีทํา ขนมปงหวานสูตรนิ่ม น้ำเย็น-จากตู้เย็น 150 มิลลิลิตร (ซีซี)
-
(ค) - มาการีนชนิดเค็ม 30 กรัม
- เกลือ 5 กรัม

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


วิธีทำ ขนมปังหวานสูตรนิ่ม
1. ผสมส่วนผสม (ก) ให้เข้ากัน โดยตวงทุกอย่างใส่ชามอ่าง แล้วใช้ช้อนคนไป-มา

2. คนส่วนผสม (ข) ให้เข้ากัน แล้วใส่ไปในส่วนผสม (ก) ใช้ไม่พาย หรือ มือนวด
ตะล่อมให้เป็นก้อน
3. ใส่ส่วนผสม (ค) ซึ่งทิ้งให้นิ่มก่อนหน้านี้ แล้วนวดแป้งให้เหนียว นุ่ม เนียน
4. เมื่อได้ที่ ตะล่อมให้เป็นก้อน ใส่ชามอ่างที่ทาเนยเล็กน้อย ปิดด้วยพลาสติกใส พักไว้ 50-60 นาที

5. นำแป้งออกมา ไล่ลม แล้วม้วนเป็นท่อนยาวๆ ตัดเป็นก้อนๆ ให้ได้ขนาด 50 -60 กรัม แล้วแต่ชอบ
ปั้นเป็นก้อนกลมๆ พักไว้ 10 นาที
6. คลึงแป้งก้อนเล็กๆออก ใส่ไส้ที่เตรียมไว้ บีบให้แน่น นำไปเรียงบนถาดที่ทาน้ำมันนิดหน่อย
แล้ว พักอีก 50-60 นาที หรือ จนกว่าจะขึ้นเป็น 2 เท่า

7. นำเข้าอบ ไฟ 180-190 องศาเซลเซียส ประมาณ 12 นาที

ขั้นตอนที่ 2 การทดลอง
1. นำกระเจี๊ยบ มะนาว ทับทิม และ กระเทียม ล้างน้ำให้สะอาด ระวังการปนเปื้อน

2. นำสมุนไพรแต่ละชนิด ชั่งน้ำหนักด้วยเครื่องชั่งดิจิตัล ผสมกับน้ำตามที่กำหนดในตารางแสดง
การสกัดน้ำสมุนไพรในอัตราส่วนต่างๆ ปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นน้ำผลไม้ แยกกากออก
จนได้น้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด
3. ทำขนมปัง 5 ชนิด ผสมกับน้ำสมุนไพรที่จัดเตรียมไว้ในข้อ 2 เปรียบเทียบประสิทธิภาพ

ในการยับยั้งเชื้อรา
ชนิดที่ 1 เป็นขนมปังธรรมดา
ชนิดที่ 2 เป็นขนมปังผสมน้ำกระเจี๊ยบ
ชนิดที่ 3 เป็นขนมปังผสมน้ำมะนาว

ชนิดที่ 4 เป็นขนมปังผสมน้ำทับทิม
ชนิดที่ 5 เป็นขนมปังผสมน้ำกระเทียม

เกลือ

5 กรัม
วิธีทํา ขนมปงหวานสูตรนิ่ม
1. ผสมสวนผสม (ก) ใหเขากัน โดยตวงทุกอยางใสชามอาง แลวใชชอนคนไปมา
2. คนสวนผสม (ข) ใหเขากัน แลวใสไปในสวนผสม (ก) ใชไมพาย หรือ มือ นวดตะลอมใหเปนกอน
3. ใสสวนผสม (ค) ซึ่งทิ้งใหนิ่มกอนหนานี้ แลวนวดแปงใหเหนียว นุม เนียน
4. เมื่อไดที่ ตะลอมใหเปนกอน ใสชามอางที่ทาเนยเล็กนอย ปดดวยพลาสติกใส พักไว 5060 นาที
5. นําแปงออกมา ไลลม แลวมวนเปนทอนยาวๆ ตัดเปนกอนๆ ใหไดขนาด 50 60 กรัม แลวแตชอบ
ปนเปนกอนกลมๆ พักไว 10 นาที
6. คลึงแปงกอนเล็กๆออก ใสไสที่เตรียมไว บีบใหแนน นําไปเรียงบนถาดที่ทาน้ํามันนิดหนอยแลว พัก
อีก 5060 นาที หรือ จนกวาจะขึ้นเปน 2 เทา
7. นําเขาอบ ไฟ 180190 องศาเซลเซียส ประมาณ 12 นาที
2. ขั้นตอนการทดลอง
1.นํากระเจี๊ยบ มะนาว ทับทิม และ กระเทียม ลางน้ําใหสะอาด ระวังการปนเปอน
2.นําสมุนไพรแตละชนิด ชั่งน้ําหนักดวยเครื่องชั่งดิจิตัล ผสมกับน้ําตามที่กําหนดในตารางแสดงการ
สกัดน้ําสมุนไพรในอัตราสวนตางๆ ปนใหละเอียดดวยเครื่องปนน้ําผลไม แยกกากออก จนไดน้ํา
สมุนไพรทั้ง 4 ชนิด
3.ทําขนมปง 5 ชนิด ผสมกับน้ําสมุนไพรที่จัดเตรียมไวในขอ 2 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการ
ยับยั้งเชื้อรา
ชนิดที่ 1 เปนขนมปงธรรมดา
ชนิดที่ 2 เปนขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ
ชนิดที่ 3 เปนขนมปงผสมน้ํามะนาว
ชนิดที่ 4 เปนขนมปงผสมน้ําทับทิม
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
ชนิดที่ 5 เปนขนมปงผสมน้ํากระเทียม


ตารางที่ 2 แสดงการสกัดน้ำสมุนไพรในอัตราส่วนต่างๆ
ตารางที่ 2 แสดงการสกัดน้ําสมุนไพรในอัตราสวนตางๆ
สูตร
ชนิดของสมุนไพร
1 2 3 4 5 ควบคุม
กระเจี๊ยบ 1(30กรัม) 2(60กรัม) 3(90กรัม) 4(120กรัม) 5(150กรัม) 0
น้ําที่ใชสกัด 4(120กรัม) 3(90กรัม) 2(60กรัม) 1(30กรัม) 0 5(150กรัม)
มะนาว 1(30กรัม) 2(60กรัม) 3(90กรัม) 4(120กรัม) 5(150กรัม) 0
น้ําที่ใชสกัด 4(120กรัม) 3(90กรัม) 2(60กรัม) 1(30กรัม) 0 5(150กรัม)
ทับทิม 1(30กรัม) 2(60กรัม) 3(90กรัม) 4(120กรัม) 5(150กรัม) 0
น้ําที่ใชสกัด 4(120กรัม) 3(90กรัม) 2(60กรัม) 1(30กรัม) 0 5(150กรัม)
กระเทียม 1(30กรัม) 2(60กรัม) 3(90กรัม) 4(120กรัม) 5(150กรัม) 0
น้ําที่ใชสกัด 4(120กรัม) 3(90กรัม) 2(60กรัม) 1(30กรัม) 0 5(150กรัม)
4. นําขนมปงแตละกอน แยกใสในถุงพลาสติก แลววางไว ณ อุณหภูมิหอง
5.สังเกตการขึ้นของเชื้อราในขนมปงแตละแผนและบันทึกผล
4. นำขนมปังแต่ละก้อน แยกใส่ในถุงพลาสติก แล้ววางไว้ ณ อุณหภูมิห้อง
5. สังเกตการขึ้นของเชื้อราในขนมปังแต่ละแผ่นและบันทึกผล
6. ทำการทดลองซ้ำ 3 ครั้ง และ หาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 การสำรวจความพึงพอใจ
1. ออกแบบสำรวจความพึงพอใจ
2. กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน โดยสุ่มสำรวจจากเพื่อนในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
3. สำรวจความพึงพอใจ รวบรวมข้อมูล
4. วิเคราะห์ข้อมูล
5. สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 4

บทที่ 4
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปง
โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเทียมและ กระเจี๊ยบแดง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ
โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเทียมและ กระเจี๊ยบแดง มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ
สารสกัดของ มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบต่อการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง และ เพื่อศึกษาอัตราส่วน
สารสกัดของ มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบตอการยับยั้งเชื้อราบนขนมปง และ เพื่อศึกษาอัตราสวน
ของสารสกัดจากสมุนไพร ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และ ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราโดยมีการนำเสนอ
ของสารสกัดจากสมุนไพร ที่มีผลตอรสชาติขนมปง และ ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราโดยมีการนําเสนอผล
ผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
การปฏิบัติโครงงาน ดังนี้

ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ตารางที่ 3 ตารางแสดงวันและเวลาที่เริ่มเกิดเชื้อราของขนมปังชุดทดลอง กับขนมปัง
ชุดควบคุม
ตารางที่ 3 ตารางแสดงวันและเวลาที่เริ่มเกิดเชื้อราของขนมปงชุดทดลอง กับขนมปงชุดควบคุม
ขนมปง การทดลองครั้งที่ จํานวนวันในการเกิดเชื้อรา คาเฉลี่ย(วัน)

1 3

1.ขนมปงปกติ 2 3 3.33

3 4

1 6

2. ขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ 2 5 5.33

3 5

1 6

3. ขนมปงผสมน้ํามะนาว 2 6 6.33

3 7

1 7

4. ขนมปงผสมน้ําทับทิม 2 6 6.33

3 6

1 6

5. ขนมปงผสมน้ํากระเทียม 2 6 6

3 6


หมายเหตุ : วัน/เวลาที่เริ่มเกิดเชื้อรา นับจากวันที่เริ่มเก็บผล

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




หมายเหตุ วัน/เวลาที่เริ่มเกิดเชื้อรา นับจากวันที่เริ่มเก็บผล
หมายเหตุ วัน/เวลาที่เริ่มเกิดเชื้อรา นับจากวันที่เริ่มเก็บผล

กราฟที่ 1: การเปรียบเทียบความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา
กราฟที่ 1: การเปรียบเทียบความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา
8 7 6 5 4 6 6 5 5 6 6 6 6 6 6 7 7 7 7 7 7 6 6 6 6 7 7 6 6
8
จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 5 4 3 2 1 0 4 3 2 1 0 3 3 3 3 4
7
6













การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3



กราฟที่ 2 : คาเฉลี่ยจํานวนวันในการเกิดเชื้อราของขนมปงที่ผสมสมุนไพรชนิดตางๆ
กราฟที่ 2 : ค่าเฉลี่ยจำนวนวันในการเกิดเชื้อราของขนมปังที่ผสมสมุนไพรชนิดต่างๆ
กราฟที่ 2 : คาเฉลี่ยจํานวนวันในการเกิดเชื้อราของขนมปงที่ผสมสมุนไพรชนิดตางๆ



7
7

6
6

5 
5

4 
4
  3 3 



2 2 

1
1

0
0 


การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ตารางที่ 4 แสดงวันและเวลาที่เริ่มเกิดเชื้อราของขนมปังชุดทดลอง กับขนมปังชุดควบคุม
ตารางที่ 4 แสดงวันและเวลาที่เริ่มเกิดเชื้อราของขนมปงชุดทดลอง กับขนมปงชุดควบคุม
ในอัตราส่วน 1:4, 2:3, 3:2, 4:1 ,5:0
ในอัตราสวน 1:4, 2:3, 3:2, 4:1 ,5:0

สูตร (อัตราสวนระหวาง การทดลองครั้งที่ จํานวนวันที่ใชในการเกิด คาเฉลี่ย(วัน)
น้ําหนักสมุนไพรกับน้ําหนักน้ํา เชื้อรา
ที่ใชสกัด)

ขนมปงที่มีสวนผสมของน้ํากระเจี๊ยบ

1 5

1. (1:4) 2 5 4.67

3 4

1 5

2. (2:3) 2 5 5.33
3 6

1 6

3. (3:2) 2 6 6

3 6

1 7

4. (4:1) 2 6 6.33

3 6

1 7

5. (5:0) 2 7 7
3 7

ขนมปงที่มีสวนผสมของน้ํามะนาว



1 5

1.(1:4) 2 6 5.33

3 5

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




สูตร (อัตราสวนระหวาง การทดลองครั้งที่ จํานวนวันที่ใชในการเกิด คาเฉลี่ย(วัน)
น้ําหนักสมุนไพรกับน้ําหนักน้ํา เชื้อรา
ที่ใชสกัด)

1 5

2. (2:3) 2 6 5.67

3 6

1 6

3. (3:2) 2 7 6.33

3 6

1 6

4. (4:1) 2 7 6.67

3 7

1 7

5. (5:0) 2 8 7.33

3 7

ขนมปงที่มีสวนผสมของน้ําทับทิม



1 5

1.(1:4) 2 6 5.67

3 6

1 6

2. (2:3) 2 7 6.33

3 6

1 6

3. (3:2) 2 7 6.67
3 7

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



สูตร (อัตราสวนระหวาง การทดลองครั้งที่ จํานวนวันที่ใชในการเกิด คาเฉลี่ย(วัน)
น้ําหนักสมุนไพรกับน้ําหนักน้ํา เชื้อรา
ที่ใชสกัด)

1 7
7.33
4. (4:1) 2 7

3 8

1 8

5. (5:0) 2 7 7.67

3 8
ขนมปงที่มีสวนผสมของน้ํากระเทียม

1 5

1.(1:4) 2 5 5.33

3 6

1 6

2. (2:3) 2 6 6

3 6

1 6

3. (3:2) 2 6 6.33

3 7

1 7

4. (4:1) 2 7 6.67

3 6
1 7


5. (5:0) 2 7 7.33
3 8



หมายเหตุ วัน/เวลาที่เริ่มเกิดเชื้อรา นับจากวันที่เริ่มเก็บผล

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมน้ำสมุนไพรต่อระยะเวลาที่เชื้อราใช้เติบโต สามารถ
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ําสมุนไพรตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
นำเสนอด้วยแผนภูมิประเภทกราฟแท่งได้ดังนี้
สามารถนําเสนอดวยแผนภูมิประเภทกราฟแทงไดดังนี้
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ําสมุนไพรตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
สามารถนําเสนอดวยแผนภูมิประเภทกราฟแทงไดดังนี้
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเจี๊ยบตอระยะเวลาที่เชื้อราใช
การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมน้ำกระเจี๊ยบต่อระยะเวลาที่เชื้อราใช้เติบโต
เติบโต
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเจี๊ยบตอระยะเวลาที่เชื้อราใช
เติบโต กราฟที่ 3: การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเจี๊ยบตอ
ระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
กราฟที่ 3: การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเจี๊ยบตอ
8 8 ระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 5 จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 7 6 5 4 3
7
6

4
3
2
1
0
2
(2:3)
(3:2)
(1:4)
1
0
(2:3)
(1:4) การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 (3:2) การทดลองครังที 3 (4:1) (4:1) (5:0) (5:0)
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํามะนาวตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมน้ำมะนาวต่อระยะเวลาที่เชื้อราใช้เติบโต
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํามะนาวตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
กราฟที่ 4: การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนํามะนาว
ต่อระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
กราฟที่ 4: การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนํามะนาว
9 9 ต่อระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 6 จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 8 7 6 5
8
7

5
4
3
2
1
0 4 3 2 1 (1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)


0 การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
(1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2







การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมน้ำทับทิมต่อระยะเวลาที่เชื้อราใช้เติบโต
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ําทับทิมตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ําทับทิมตอระยะเวลาที่เชื้อราใชเติบโต

กราฟที่ 5: การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนําทับทิมต่อ
กราฟที่ 5: การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนําทับทิมต่อ
ระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
ระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
9 9 8 8 7
จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 7 6 6 5 5 4 4 3 3











0 2 2 1 1
0
(1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)
(1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเทียมตอระยะเวลาที่เชื้อราใช
การหาความสัมพันธระหวางอัตราสวนของการผสมน้ํากระเทียมตอระยะเวลาที่เชื้อราใช
การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมน้ำกระเทียมต่อระยะเวลาที่เชื้อราใช้เติบโต
เติบโต
เติบโต

กราฟที่ 6 :การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนํากระเทียมต่อ
กราฟที่ 6 :การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของการผสมนํากระเทียมต่อ
ระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
ระยะเวลาทีเชือราใช้เติบโต
9
9
8 8 7 7
จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา จํานวนวันทีใช้ในการเกิดเชือรา 6 6 5 5 4 4 3 3











1 2 2 1
0 0
(1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)
(1:4) (2:3) (3:2) (4:1) (5:0)
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3
การทดลองครังที 1 การทดลองครังที 2 การทดลองครังที 3

กราฟที่7 : คาเฉลี่ย จํานวนวัน ในการเกิดเชื้อรา ของขนมปงที่ผสมน้ําสมุนไพรในอัตราสวนตางๆ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


กราฟที่ 7 : ค่าเฉลี่ย จำนวนวัน ในการเกิดเชื้อรา ของขนมปังที่ผสมน้ำสมุนไพรในอัตราส่วนต่างๆ
8
กราฟที่7 : คาเฉลี่ย จํานวนวัน ในการเกิดเชื้อรา ของขนมปงที่ผสมน้ําสมุนไพรในอัตราสวนตางๆ
7.5


7
8
6.5 ขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ
7.5 ขนมปงผสมน้ํามะนาว
6
7 ขนมปงผสมน้ําทับทิม
ขนมปงผสมน้ํากระเทียม
5.5 ขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ
6.5
ขนมปงผสมน้ํามะนาว
6 5 ขนมปงผสมน้ําทับทิม
ขนมปงผสมน้ํากระเทียม
5.5 4.5

5 4
20% 40% 60% 80% 100%
4.5
4
20% 40% 60% 80% 100%


ผลสำรวจความพึงพอใจ
ผลสํารวจความพึงพอใจ
โดยสำรวจความพึงพอใจในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน โดยสุ่มสำรวจจากเพื่อนในชั้นเรียน
โดยสํารวจความพึงพอใจในกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน โดยสุมสํารวจจากเพื่อนในชั้นเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
ผลสํารวจความพึงพอใจ

มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
โดยสํารวจความพึงพอใจในกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน โดยสุมสํารวจจากเพื่อนในชั้นเรียน
แบบประเมินแบ่งเป็น 3 ตอน
แบบประเมินแบงเปน 3 ตอน
มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม


ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม
แบบประเมินแบงเปน 3 ตอน
ตอนที่ 2 ทัศนคติที่มีต่อ “ขนมปัง”
ตอนที่ 2 ทัศนคติที่มีตอ “ขนมปง”
ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 3 ความพีงพอใจต่อชนิดขนมปัง
ตอนที่ 3 ความพีงพอใจตอชนิดขนมปง
ตอนที่ 2 ทัศนคติที่มีตอ “ขนมปง”
ผลการประเมินความพึงพอใจ ปรากฏ ดังนี้

ตอนที่ 3 ความพีงพอใจตอชนิดขนมปง
ผลการประเมินความพึงพอใจ ปรากฏ ดังนี้
ผลการประเมินความพึงพอใจ ปรากฏ ดังนี้

กราฟที่ 8 : กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามแยกรายเพศ

กราฟที่ 8: กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามแยกรายเพศ
กราฟที่ 8: กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามแยกรายเพศ

ผู้ตอบแบบสอบถาม
ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชาย 18 คน คิดเปนรอย
เป็นเพศชาย 18 คน คิดเป็นร้อยละ 60
ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชาย 18 คน คิดเปนรอย
ละ 60 เปนเพศหญิง 12 คน คิดเปนรอยละ 40
เป็นเพศหญิง 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40
ละ 60 เปนเพศหญิง 12 คน คิดเปนรอยละ 40

40% 40%
60% 60%

% ของสมุนไพรในขนมปง ปง
% ของสมุนไพรในขนม

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



กราฟที่ 9 : ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังใน 1 สัปดาห์
กราฟที่ 9 : ระยะเวลาที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงใน 1 สัปดาห
กราฟที่ 9 : ระยะเวลาที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงใน 1 สัปดาห













ผูตอบ ผู้ตอบแบบสอบถาม
ผูตอบ
แบบสอบถามสวนใหญรอยละ 33.33 รับประทานขนมปง 23 ครั้ง/สัปดาห รองลงมา คือรอยละ 26.67
แบบสอบถามสวนใหญรอยละ 33.33 รับประทานขนมปง 23 ครั้ง/สัปดาห รองลงมา คือรอยละ 26.67
ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.33 รับประทานขนมปัง 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ รองลงมา คือร้อยละ 26.67
รับประทานขนมปง 45 ครั้ง/สัปดาห รอยละ 23.33 รับประทานขนมปงมากกวา 5 ครั้ง/สัปดาห และนอย
รับประทานขนมปง 45 ครั้ง/สัปดาห รอยละ 23.33 รับประทานขนมปงมากกวา 5 ครั้ง/สัปดาห และนอย
รับประทานขนมปัง 4-5 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 23.33 รับประทานขนมปังมากกว่า 5 ครั้ง/สัปดาห์
ที่สุด รับประทานขนมปง 1 ครั้ง/สัปดาห รอยละ 16.67
ที่สุด รับประทานขนมปง 1 ครั้ง/สัปดาห รอยละ 16.67
และน้อยที่สุด รับประทานขนมปัง 1 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 16.67

กราฟที่ 10 : เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงในชีวิตประจําวัน
กราฟที่ 10 : เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงในชีวิตประจําวัน
กราฟที่ 10 : เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังในชีวิตประจำวัน

















เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงในชีวิตประจําวัน มากที่สุด คือ สามารถหาซื้อมาบริโภคไดงาย

เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังในชีวิตประจำวัน มากที่สุด คือ สามารถหาซื้อ
เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงในชีวิตประจําวัน มากที่สุด คือ สามารถหาซื้อมาบริโภคไดงาย
รอยละ 30.56 รองลงมา ไดแกมีประโยชนตอสุขภาพ รอยละ 27.78 มีรสชาติอรอยถูกปาก รอยละ 25
รอยละ 30.56 รองลงมา ไดแกมีประโยชนตอสุขภาพ รอยละ 27.78 มีรสชาติอรอยถูกปาก รอยละ 25
มาบริโภคได้ง่าย ร้อยละ 30.56 รองลงมา ได้แก่ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ร้อยละ 27.78 มีรสชาติอร่อยถูกปาก
เก็บรักษาไดนานรอยละ 9.72 และเหตุผลในการชอบรับประทานลําดับสุดทายคือ มีราคาถูกรอยละ 6.94
ร้อยละ 25 เก็บรักษาได้นานร้อยละ 9.72 และเหตุผลในการชอบรับประทาน ลำดับสุดท้ายคือ มีราคาถูก
เก็บรักษาไดนานรอยละ 9.72 และเหตุผลในการชอบรับประทานลําดับสุดทายคือ มีราคาถูกรอยละ 6.94
ร้อยละ 6.94

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กราฟที่ 11 : ชนิดของขนมปงทดลองที่กลุมตัวอยางชอบรับประทาน
กราฟที่ 11 : ชนิดของขนมปังทดลองที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทาน
กราฟที่ 11 : ชนิดของขนมปงทดลองที่กลุมตัวอยางชอบรับประทาน
















จากการนําขนมปงปกติ และขนมปงที่ผสมน้ําสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด มาใหกลุมตัวอยางไดทดลองรับประทาน


จากการนำขนมปังปกติ และขนมปังที่ผสมน้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด มาให้กลุ่มตัวอย่างได้ทดลอง
ขนมปงปกติ เปนขนมปงที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานมากที่สุด รอยละ 36.67 รองลงมาคือ ขนมปงผสมน้ํา
จากการนําขนมปงปกติ และขนมปงที่ผสมน้ําสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด มาใหกลุมตัวอยางไดทดลองรับประทาน
รับประทาน ขนมปังปกติเป็นขนมปังที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานมากที่สุด ร้อยละ 36.67 รองลงมาคือ
ทับทิม รอยละ 33.33 ขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ รอยละ 13.33 ขนมปงผสมน้ํามะนาว รอยละ 10 ตามลําดับ
ขนมปงปกติ เปนขนมปงที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานมากที่สุด รอยละ 36.67 รองลงมาคือ ขนมปงผสมน้ํา
ขนมปังผสมน้ำทับทิม ร้อยละ 33.33 ขนมปังผสมน้ำกระเจี๊ยบ ร้อยละ 13.33 ขนมปังผสมน้ำมะนาว
และขนมปงที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานนอยที่สุด คือขนมปงผสมน้ํากระเทียมรอยละ 36.67
ทับทิม รอยละ 33.33 ขนมปงผสมน้ํากระเจี๊ยบ รอยละ 13.33 ขนมปงผสมน้ํามะนาว รอยละ 10 ตามลําดับ
ร้อยละ 10 ตามลำดับ และขนมปังที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานน้อยที่สุด คือขนมปังผสมน้ำกระเทียม
และขนมปงที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานนอยที่สุด คือขนมปงผสมน้ํากระเทียมรอยละ 36.67
ร้อยละ 36.67
กราฟที่ 12 : : เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงทดลองที่นํามาใหรับประทาน
กราฟที่ 12 : เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังทดลองที่นำมาให้รับประทาน
กราฟที่ 12 : : เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงทดลองที่นํามาใหรับประทาน












เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงทดลองที่นํามาใหรับประทานมากที่สุด คือ รสชาติอรอย

รอยละ 40 รองลงมา ไดแกคุณประโยชนของสมุนไพรที่ผสมในขนมปง รอยละ 33.33 ระยะเวลาในการเกิด
เหตุผลที่กลุมตัวอยางชอบรับประทานขนมปงทดลองที่นํามาใหรับประทานมากที่สุด คือ รสชาติอรอย

เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังทดลองที่นำมาให้รับประทานมากที่สุด คือ รสชาติอร่อย
รอยละ 40 รองลงมา ไดแกคุณประโยชนของสมุนไพรที่ผสมในขนมปง รอยละ 33.33 ระยะเ
เชื้อราชาที่สุด 20 และเหตุผลในการชอบรับประทานลําดับสุดทายคือ สีสันสวยงามรอยละ 6.67 วลาในการเกิด
ร้อยละ 40 รองลงมา ได้แก่คุณประโยชน์ของสมุนไพรที่ผสมในขนมปัง ร้อยละ 33.33 ระยะเวลาในการเกิด
เชื้อราชาที่สุด 20 และเหตุผลในการชอบรับประทานลําดับสุดทายคือ สีสันสวยงามรอยละ 6.67
เชื้อราช้าที่สุด 20 และเหตุผลในการชอบรับประทานลำดับสุดท้ายคือ สีสันสวยงามร้อยละ 6.67

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


ผลการศึกษาโครงงาน (เชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้)


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การทำการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเกิดเชื้อราช้าในขนมปัง โดยการผสมสมุนไพร
4 ชนิด ได้แก่ กระเจี๊ยบ มะนาว ทับทิม และกระเทียม เปรียบเทียบกับชุดควบคุม คือขนมปังปกติ ในอุณหภูมิ
ห้องที่เหมือนกัน เป็นการใช้ทักษะทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ในการทำการทดลอง การศึกษา และบันทึก

ผลที่เกิดขึ้นจากการทดลองเพื่อนำมาใช้ทำเป็นกราฟและตารางแสดงผลต่อไป การบันทึกผลการสังเกต
ตามตารางแสดงผลการทดสอบข้างต้น เป็นต้น

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เชื่อมโยงกับการแปรผลข้อมูลจากการสังเกต ทดลอง และบันทึกผล การคำนวณส่วนผสม
ในการทำขนมปังโดยใช้การเทียบบัญญัติไตรยางค์ การใช้สถิติ ในการวิเคราะห์ผลการทดลองและวิเคราะห์
ความพึงพอใจของผู้จัดทำโครงงาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการแปรผลข้อมูลจากการศึกษาเป็นกราฟแสดง
ข้อมูลข้างต้นผ่านโปรแกรมการทำกราฟ ( Excel )ชนิดต่างๆ ได้แก่แผนภูมิแท่ง แผนภูมิเส้น แผนภูมิวงกลม
เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปโดยมีรายละเอียดข้างต้น


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เชื่อมโยงกับหลักการเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค การคำนึงถึงความปลอดภัยจริยธรรมของผู้ผลิต
ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ ความเชื่อและค่านิยมของผู้บริโภคต่อพืช 4 ชนิด ทับทิม กระเจี๊ยบ

มะนาว และกระเทียม เป็นการอนุรักษ์สมุนไพรไทยให้คงอยู่ ใช้สมุนไพรที่สามารถปลูกเองได้และสามารถ
นำมาผลิตเองได้ ซึ่งตรงกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นการคิดค้นการสร้างมูลค่าให้กับสินค้า
สอดคล้องกับผลการประเมินความพึงพอใจในกลุ่มตัวอย่างสำรวจความพึงพอใจในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน

ที่สุ่มสำรวจจากเพื่อนในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างชอบรับประทานขนมปังทดลองที่นำมาให้รับประทานมากที่สุด คือ รสชาติอร่อย ร้อยละ
40 รองลงมา ได้แก่คุณประโยชน์ของสมุนไพรที่ผสมในขนมปัง ร้อยละ 33.33 ระยะเวลาในการเกิดเชื้อรา
ช้าที่สุด 20 และเหตุผลในการชอบรับประทานลำดับสุดท้ายคือ สีสันสวยงามร้อยละ 6.67


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
การศึกษาเปรียบเทียบนี้ ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการศึกษาเชื้อรา ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของเชื้อรา
ชื่อสารสำคัญที่มีในสมุนไพรแต่ละชนิด และวัสดุ อุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการทำขนนมปัง วิธีการและข้อมูลที่ใช้
อีกทั้งการสื่อสารผ่านข้อมูลบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษ เช่น

1. Using English competency for searching the information related to the project.
2. Gathering the research from other countries in order to be additional knowledge
to this project.

3. Learning scientific language in English.
4. Fungas is a cause of spoilage in bread. The common of food born fungal pathogen
is Aspergillus sp.

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ในการทำขนมปังต้องเชื่อมโยงกับ เทคนิคและศิลปะในการนวดแป้งขนมปัง การออกแบบขนมปัง

ทั้งรูปร่าง รูปทรง กลิ่น สี สัมผัส ในการจัดทำรูปเล่มรายงานและการนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษา
ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของโครงงานนั้นจำเป็นต้องใช้ทักษาทางด้านศิลปะเข้าไปช่วยในส่วนการวางตัวหนังสือ
การใส่รูปภาพและรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจล้วนต้องใช้วิชาศิลปะทั้งสิ้น


กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เชื่อมโยงกับการเสื่อมเสียของขนมปัง เกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่ การเสื่อมเสียจากเชื้อรา
การเสื่อมเสียจากแบคทีเรีย การแห้งของขนมปัง วัตถุดิบที่ใช้ในการทำขนมปัง Homemade bread ได้แก่
แป้งขนมปัง น้ำตาล เกลือ ยีสต์แห้ง น้ำ และเนยเค็ม

วิธีการดูแลรักษาอาหารอย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในที่ที่มีความชื้นสูง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เชื่อมโยงกับการใช้ทักษะทางภาษา ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้
การสืบค้นข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การนำเสนอ การทำรายงาน การเขียนรูปเล่มโครงงานนั้น

ก็ใช้ทักษะการใช้ภาษากึ่งทางการ หรือทางการ เพื่อให้ได้ตัวภาษาในการเขียนโครงงานที่เป็นที่เหมาะสมที่สุด
กับการส่งรายงานโครงงานบูรณาการ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา

เชื่อมโยงกับ วิธีการผลิต การทำขนมปังแบบถูกสุขลักษณะ ถูกหลักอนามัยเนื่องจากขนมปัง
มีคุณค่าทางอาหารเหมือนกับข้าวขาวที่หุงสุกแล้ว มีทั้งคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ซึ่งจะมีการเติมเนยด้วย
ใช้รับประทานเป็นอาหารเช้าได้ แต่ต้องมีอาหารชนิดอื่นเสริมด้วย


การใช้สมุนไพรเป็นส่วนผสมแทนสารเคมีที่ก่อให้เกิดสารตกค้างในร่างกาย ซึ่งทำให้ไม่มีสารตกค้าง
เหลือในร่างกาย การใช้สมุนไพรแทนสารเคมีทำให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มขึ้น ทำให้ได้รสชาติใหม่
ที่น่าสนใจและดีกว่าเดิม มะนาวและกระเจี๊ยบมีคุณสมบัติในการช่วยขับถ่าย การผสมสมุนไพรช่วย
ในการถนอมขนมปังให้มีอายุยาวนานมากขึ้น การศึกษาสารที่อยู่ในสมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งและ

ชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อรา

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



บทที่ 5



สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ


จากการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง
โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเทียม และ กระเจี๊ยบแดง สามารถสรุปและอภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน
ดังนี้


สรุปผลการปฏิบัติโครงาน

โครงงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม
กระเจี๊ยบและกระเทียม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดของ มะนาว ทับทิม
กระเทียม และกระเจี๊ยบต่อการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง และเพื่อศึกษาอัตราส่วนของสารสกัดจากสมุนไพร
ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และ ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา ผลการทดลองที่ได้มีดังนี้


ขั้นตอนที่1 ผลิตขนมปังปกติ ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ผสมน้ำทับทิม ผสมน้ำกระเทียม
และผสมน้ำกระเจี๊ยบ นำมาทดสอบว่าน้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดสามารถชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อรา
ในขนมปังได้หรือไม่ โดยเปรียบเทียบกับระยะเวลาในการเกิดเชื้อราของขนมปังปกติ โดยควบคุมให้อยู่
ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน ค่าเฉลี่ยในการเกิดเชื้อราแต่ละชนิด

1) ขนมปังปกติที่ไม่ได้ผสมน้ำสมุนไพร 3.33 วัน
2) ขนมปังผสมน้ำกระเจี๊ยบ 5.33 วัน
3) ขนมปังผสมน้ำกระเทียม 6 วัน
4) ขนมปังผสมน้ำมะนาว 6.33 วัน และ

5) ขนมปังผสมน้ำทับทิม 6.33 วัน

ขั้นตอนที่ 2 นำขนมปังที่ผสมน้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด ในอัตราส่วน 1:4, 2:3, 3:2, 4:1, 5:0
โดยควบคุมให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน สังเกตการเกิดเชื้อราในขนมปังแต่ละอัตราส่วน โดยบันทึกผลทุกวัน

ทดลองซ้ำ 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ยในการเกิดเชื้อราแต่ละชนิดดังนี้

1) ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.67 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67วัน

ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.67 วัน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



2) ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.33 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 6 วัน

ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียมในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน
3) ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.33 วัน

ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.67 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน


4) ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 4.67 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.33วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6 วัน
ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน

ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7 วัน

อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน

จากการที่ได้ทำการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล ทำให้ได้ทราบว่า
น้ำสมุนไพรที่นำมาใช้เป็นส่วนประกอบของขนมปังเพื่อชะลอและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราแต่ละชนิด
สามารถใช้ในการชะลอและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้จริง โดยให้ผลที่แตกต่างกัน โดยน้ำจากทับทิม
จะสามารถใช้ได้ดีที่สุด มะนาวและกระเทียมใช้ได้ดีรองลงมาและกระเจี๊ยบใช้ได้ดีน้อยที่สุดและขนมปัง

ที่ใส่น้ำสมุนไพรเป็นส่วนประกอบ จะส่งผลให้เชื้อราใช้เวลาในการเจริญเติบโตช้ากว่าขนมปังที่ไม่มีน้ำสมุนไพร
เป็นส่วนประกอบ ยิ่งใช้อัตราส่วนของการใช้น้ำสมุนไพรมากขึ้น จะส่งผลให้ระยะเวลาในการขึ้นราของขนมปัง
มากขึ้นเช่นเดียวกัน หรือก็คือน้ำสมุนไพรที่ใส่เป็นส่วนประกอบของขนมปัสามารถช่วยชะลอและยับยั้ง

การเจริญเติบโตของเชื้อราได้จริง

ปัญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไข

1. การทำงานเป็นทีม ที่ต้องอาศัยการประชุมกลุ่ม ยังทำได้ไม่ดีพอ เนื่องจากแต่ละคนมีเวลาว่าง
ไม่ตรงกัน ทำให้ไม่สามารถประชุมได้อย่างพร้อมเพรียงกัน จึงมีความจำเป็นต้องใช้การประชุมกลุ่มแบบ
ไม่เป็นทางการด้วยข้อความแบบกลุ่ม (group chat)ทางอินเตอร์เน็ตหรือการประสานงานทางโทรศัพท์

2. การทำรูปเล่มรายงานยังขาดความสมบูรณ์ในบางส่วน เนื่องจากไม่เคยมีประสบการณ์ การใช้
ภาษายังไม่ดีพอ และมีเวลาที่จำกัด จึงจำเป็นจะต้องทำรูปเล่มรายงานโดยใช้ต้นฉบับและให้อาจารย์ที่ปรึกษา
ตรวจสอบให้และนำมาปรับรุงแก้ไข

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


3. ผลการทดลองสังเกตได้ยาก เนื่องจากราขึ้นจากด้านใน จึงควรปรับเป็นแบ่งขนมปังเป็นชิ้นบางๆ
เพื่อให้สังเกตได้ชัดเจนขึ้น

ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ทำให้ทราบได้ว่า สารสกัดจากสมุนไพรชนิดต่างๆ สามารถยืดอายุขนมปังเมื่อถูกเก็บในสภาวะที่
ไม่เหมาะสมได้จริง

2. ทำให้ได้ขนมปังที่มีรสชาติแปลกใหม่ สามารถรับประทานได้

นอกจากนี้ ในการจัดทำโครงงานบูรณาการในครั้งนี้ทำให้สมาชิกในกลุ่มได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ
ที่มีคุณค่าในหลายๆด้านได้แก่ การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการทำโครงงาน ประสบการณ์ในการทำงานกลุ่ม
การวางแผนการทำงาน การบริหารเวลา การประสานงาน การสื่อสารและสัมพันธภาพที่ดี ตลอดจน
การทำให้สมาชิกมีความสามัคคีกันและรู้จักยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เกิดกระบวนการการทำงานเป็นทีม

ซึ่งจะเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ที่สามารถนำไปใช้ได้ในอนาคตต่อไป

ข้อเสนอแนะ

1. การออกแบบรูปทรงขนมปังควรทำเป็นแผ่น เพื่อให้สามารถสังเกตการขึ้นราได้ง่ายขึ้น
2. สามารถนำโครงงานนี้ไปต่อยอดทดลองกับสมุนไพรอื่นๆที่สนใจได้

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


เอกสารอ้างอิง


โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิสอวน. (2554). ชีววิทยา1. กรุงเทพมหานคร : ด่าน
สุทธาการพิมพ์.

นภาวดี พยัคฆโส. (2558). Easy bread easy cooking. กรุงเทพมหานคร : Happy Kitchen.

สุภาภรณ์ ปิติพร. (2557). บันทึกของแผ่นดิน 2 ผักเป็นยา รักษาชีวิต. กรุงเทพมหานคร :
ปรมัตถ์การพิมพ์.

วิไล รังสาดทอง. (2557). เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. กรุงเทพมหานคร :สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ.

เสรี พวงพิศ. (2553). กินอยู่พอดี มีความสุข 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์พลังปัญญา.

เชื้อรา สิ่งมีชีวิตมหัศจรรย์. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2558, จาก
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=66393

ราดำ บนขนมปัง. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2558, จาก

http://www.oknation.net/blog/Kannika22/2015/01/11/entry-1

ทำไมขนมปัง ขึ้นรา และเสียเร็วจัง. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2558,
จาก https://www.facebook.com/keep2gether/posts/286790371471116

รู้ไว้ใช่ว่า ทำไมขนมปังเสียเร็วจัง. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2558,
จาก http://www.bakeryeasy.net/known/2002/known_t1144.htm

เรื่องน่ารู้ ของมะนาว ทับทิม กระเทียมและกระเจี๊ยบแดง. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2558,
จาก http://frynn.com/มะนาว/ทับทิม/กระเจี๊ยบแดง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



ภาคผนวก





1. การทำขนมปัง





















ภาพที่ 1 อุปกรณ์การทดลอง ภาพที่ 2 อุปกรณ์การทดลอง





















ภาพที่ 3 การผสมแป้ง ภาพที่ 4 การนวดแป้ง




















ภาพที่ 5 การทำขนมปัง ภาพที่ 6 การทำขนมปัง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




ภาคผนวก





2. ระยะปล่อยให้เชื้อราเติบโต





















ภาพที่ 7 ปล่อยให้เชื่อราเจริญเติบโต ภาพที่ 8 ปล่อยให้เชื่อราเจริญเติบโต





















ภาพที่ 9 เชื้อราบนขนมปังตัวอย่าง ภาพที่ 10 เชื้อราบนขนมปังตัวอย่าง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9







อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพ


ของผ้าย้อมคราม

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




















อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม



ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 445 กลุ่มที่ 9


1. ด.ญ.ธมกร เกียรติไกรกุล เลขที่ 20
2. ด.ช.ภูมิภากร สาระนันท์ เลขที่ 31
3. ด.ช.รชต อักกะโชติกุล เลขที่ 32
4. ด.ญ.อันนา บุนนาค เลขที่ 46



อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ชนัยสุดา ทองอยู่

อาจารย์ณัฐพล สัจกุล
อาจารย์พงศธร นันทธเนศ
อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ



เสนอ
คณะกรรมการสอบโครงงานบูรณาการ



รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานบูรณาการ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


บทคัดย่อ


ชื่อโครงงาน : อิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม

ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 445 กลุ่มที่ 9

ด.ญ. ธมกร เกียรติไกรกุล เลขที่ 20

ด.ช. ภูมิภากร สาระนันท์ เลขที่ 31
ด.ช. รชต อักกะโชติกุล เลขที่ 32
ด.ญ. อันนา บุนนาค เลขที่ 46



อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ชนัยสุดา ทองอยู่
อาจารย์ณัฐพล สัจกุล
อาจารย์พงศธร นันทธเนศ

อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ


บทคัดย่อ

ในปัจจุบัน ผู้คนเริ่มสนใจผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมากขึ้น ผ้าย้อมครามเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์
ที่มีชื่อเสียงของไทย แต่ผ้าย้อมครามนั้นสามารถผลิตได้น้อย และมีต้นทุนค่อนข้างสูง เกิดจาก

ความแตกต่างของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าคราม ที่ทำให้คุณภาพของการย้อมผ้า
ยังไม่เสถียร

ผู้จัดทำมีแนวคิดที่จะเปรียบเทียบสีของสีย้อมที่ได้จากกระบวนการซึ่งมีปัจจัยที่
เกี่ยวข้องต่างๆกัน ซึ่งผู้จัดทำได้เลือกศึกษาด้วยปัจจัยเกี่ยวกับเวลาในการแช่คราม มีวัตถุประสงค์
คือ เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการแช่คราม เพื่อให้ได้สีเข้มที่สุดโดยเม็ดครามยังไม่เสียสภาพ
โดยผู้จัดทำได้ดำเนินการปฏิบัติโครงงานในช่วงเดือนตุลาคม 2558 โดยทำตามขั้นตอนย้อมคราม

ตั้งแต่การเก็บเกี่ยวต้นคราม การแช่ครามด้วยระยะเวลาต่างๆ และการย้อมผ้า และนำผลที่ได้มา
เปรียบเทียบความเข้มเป็นร้อยละ

ได้ผลสรุปว่าการแช่ใบครามในน้ำ ด้วยเวลา 24 ชั่วโมง ทำให้สีที่ได้มีความเข้มมากที่สุด

ที่ความเข้มร้อยละ 55.8 ผลนี้สามารถนำไปบอกให้ชาวบ้านที่ทำอาชีพย้อมผ้าครามได้ทราบและ
ลดต้นทุนการผลิตผ้าย้อมครามได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คำสำคัญ : อิทธิพลของเวลา ผ้าย้อมคราม
จำนวนหน้า : 43 หน้า

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานบูรณาการชิ้นนี้ได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องด้วยจาก อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ

อาจารย์ชนัยสุดา ทองอยู่ อาจารย์พงศธร นันทธเนศ และ อาจารย์ณัฐพล สัจกุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ซึ่งท่านได้ให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการทดลอง อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่างๆ
ที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินงานอีกด้วย ขอขอบคุณโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
ที่ได้มีการสนับสนุนให้พวกเราได้ทำการทดลองที่สนใจ ได้ทำให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ได้รู้จักการบูรณาการ

ในสิ่งที่ตนเองสนใจกับวิชาต่างๆ ทั้ง 8 กลุ่มสาระ ได้ฝึกความสามัคคี การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งจะเป็น
การส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนในหลายๆด้าน ซึ่งพวกเราก็เชื่อว่าจะได้นำศักยภาพที่ได้จากการฝึกฝน
มาใช้ในภายภาคหน้า ไม่เร็วก็ช้า และนอกจากนี้ยังอำนวยความสะดวกในเรื่องของสถานที่ในการปฏิบัติการ
ทดลองอีกด้วย


สุดท้ายทางคณะผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ อาจารย์ทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ ทุกคน ผู้ปกครอง และครอบครัว
ที่คอยสนับสนุนและเป็นกำลังใจ ตลอดจนช่วยเหลือพวกเรามาโดยตลอด

คณะผู้จัดทำ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


คำนำ

รายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมโครงงานบูรณาการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดทำขึ้นมา

เพื่อเป็นเนื้อหาของการปฏิบัติโครงงาน 3 บทแรก โดยโครงงาน การพัฒนากระบวนการเก็บเม็ดสีจากต้นคราม
จัดทำขึ้นมาเนื่องจากต้องการพัฒนา และสร้างความเป็นมาตรฐานในการผลิตผ้าย้อมคราม โดยเนื้อหา
ในเอกสารประกอบด้วย ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงเหตุที่ผู้จัดทำ
มีความคิดที่จะทำโครงงานชิ้นนี้ และแผนการดำเนินการเพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบกระบวนการปฏิบัติโครงงาน

ของผู้จัดทำโดยสังเขป ในบทที่ 2 ประกอบด้วย ข้อมูลต่างๆที่ใช้ประกอบในการทำโครงงาน ซึ่งผู้จัดทำได้
ทำการค้นคว้ามาโดยละเอียด เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจในกระบวนการต่างๆในการย้อมคราม ตั้งแต่ลักษณะ
ประเภทของต้นคราม กรรมวิธีการปลูกและดูแล การเก็บเกี่ยว ไปจนถึงปฏิกิริยาเคมีต่างๆที่เกิดขึ้นระหว่าง
กระบวนการเตรียมสีและกระบวนการย้อม ต่อมาในบทที่ 3 ประกอบด้วยขั้นตอนการปฏิบัติโครงงาน

โดยละเอียด เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความกระจ่างมากขึ้นในขั้นตอนการปฏิบัติโครงงานของผู้จัดทำ

ทั้งนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณอาจารย์ที่ปรึกษาทุกท่าน ที่ได้แนะนำแนวทางในการทำโครงงานตั้งแต่
ขั้นตอนการจัดทำเค้าโครง ไปจนถึงการจัดทำเอกสารฉบับนี้ และหวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะเข้าใจกระบวนการ
ทำโครงงานของผู้จัดทำได้เป็นอย่างดี

คณะผู้จัดทำ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
คำนำ ค
สารบัญ ง

บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2

ปัญหาของโครงงาน 2
สมมติฐาน 2
เครื่องมือที่ใช้ 2
ขอบเขตของโครงงาน 2
นิยามเชิงปฏิบัติการ 3

แผนการดำเนินงาน 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4
ผังความคิดบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4

บทที่ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5
บทที่ 3 วิธีปฏิบัติโครงงาน 19
วัสดุและอุปกรณ์ 19
วิธีปฏิบัติโครงงาน 19
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติโครงงาน 21

ผลการปฏิบัติโครงงาน 21
ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 27
บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ 38

สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน 38
อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน 38
ปัญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไข 39
ประโยชน์ที่ได้รับ 39
ข้อเสนอแนะ 39

เอกสารอ้างอิง 40
ภาคผนวก 41

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



บทที่ 1



บทนำ

ความสำคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันอุตสาหกรรมต่างๆ กำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว สำหรับการย้อมผ้านั้นมีการปรับเปลี่ยนมาใช้
สีสังเคราะห์เพราะย้อมง่าย สะดวก สีเข้มสม่ำเสมอ และราคาถูก แต่สีย้อมสังเคราะห์นั้นมีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม

มีงานวิจัยรายงานว่าสีย้อมสังเคราะห์ก่อมะเร็งต่อสัตว์ทดลองเนื่องจากสารตกค้าง มนุษย์จึงหันกลับสู่ธรรมชาติ
ทั้งอาหาร ยา เครื่องนุ่งห่ม ที่มาจากธรรมชาติกำลังได้รับความนิยม ซึ่งมีแนวโน้มว่าความนิยมจะสูงขึ้นเรื่อยๆ
เพราะมีความปลอดภัยต่อสุขภาพและช่วยอนุรักษ์ทรัพยากร สีย้อมผ้าจากต้นครามนั้นเป็นทางเลือกหนึ่ง
ของคนไทย เพราะประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสีย้อมและแหล่งย้อมผ้าที่มีคุณภาพ ทำให้หาซื้อได้ง่ายและ

ราคาไม่แพงนัก และการซื้อผลิตภัณฑ์ของไทยด้วยกันยังช่วยเพิ่มความคล่องทางเศรษฐกิจ และทำให้
ประเทศไทยมีรายได้มากขึ้นจากการใช่จ่ายของนักท่องเที่ยวต่างชาติ

การสกัดสีธรรมชาติจากพืชเกือบทุกชนิดใช้วิธีการต้มเพื่อสกัดเม็ดสีออกมา และย้อมขณะร้อน
มีเพียงสีจากผลมะเกลือ และใบครามที่ใช้วิธีการย้อมเย็น ปัญหาใหญ่ของการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ คือ

สีตกและสีซีด เมื่อผ่านการซักล้างหลายครั้งหรือเมื่อใช้งานไปนานๆ เนื่องจากผลกระทบจากอากาศและ
แสงแดดการย้อมผ้าด้วยสีจากต้นครามนั้นมีมาประมาณ 6,000 ปี มีต้นกำเนิดมาจากอินเดีย และได้เผยแพร่
มาในแถบทวีปเอเชียมีการค้นพบหลักฐานเกี่ยวกับการย้อมครามในวัฒนธรรมโบราณในเมโสโปเตเมีย อียิปต์
กรีซ และในเอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ประเทศในหมู่เกาะสุมาตราเช่นอินโดนีเซีย ในแต่ละประเทศ

จะมีวิธีการย้อมที่ต่างกัน เช่น ในอินเดียและอินโดนีเซียใช้การย้อมซ้ำหลายๆครั้งเพื่อให้เข้ม ในประเทศไทย
มีผ้าย้อมครามมานานเท่าไรยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดนัก แต่จากภาพถ่ายเก่าๆหรือแม้แต่ในชนบทในปัจจุบัน
ก็ยังปรากฏการแต่งกายด้วยผ้าครามให้เห็นอย่างต่อเนื่อง จนเมื่อประมาณ 50 ปีที่แล้ว มีการนำเข้าสีย้อม
การย้อมครามก็ลดน้อยลงจนเกือบสูญหาย ไปเช่นเดียวกับที่เกิดในทั่วโลก นับตั้งแต่อุบัติการณ์ของอุตสาหกรรม

สีสังเคราะห์ แต่เมื่อถึงช่วงที่ผู้คนโหยหาธรรมชาติอีกครั้งก็มีการฟื้นฟูการย้อมครามในสกลนคร เมื่อประมาณ
พ.ศ.2535 การย้อมผ้าด้วยต้นครามแพร่ หลายในภาคอีสานของประเทศไทย โดยการย้อมผ้าด้วยสี
จากต้นครามนั้นมีกรรมวิธีที่ค่อนข้างซับซ้อนและละเอียดอ่อน ตั้งแต่การเก็บใบคราม ต้องเก็บใบคราม
จากต้านครามอายุ 3-4 เดือนและต้องเก็บในตอนเช้าก่อนน้ำค้างแห้งเพื่อนำมาแช่น้ำทันที การเตรียมคราม

ด้วยการหมักใบครามจากน้ำขี้เถ้า และเติมส่วนของพืชที่เป็นแหล่งกรด เช่นมะขาม มะเฟือง ใบโมง ใบสมอ
หรือแม้กระทั่งกรดจากมดแดง มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อคุณภาพของสีย้อมที่ได้ มีกระบวนการซับซ้อน
มากมายในกระบวนการผลิตนับตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ต้นครามเพื่อนำไปปลูก ไปจนถึงการกระบวนการ
ย้อมคุณภาพของสีย้อมครามอาจแตกต่างกันมากเพราะตัวแปรที่ส่งผลมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย

ยกตัวอย่างเช่น แบคทีเรียที่ใช้ในการหมักครามนั้นเป็นตัวการที่ทำให้เกิด ปฏิกิริยารีดักชั่นที่ช่วยปรับ
สภาพเม็ดสีในครามให้อยู่ในสภาพที่สามารถย้อมได้ซึ่งแบคทีเรียชนิดนี้ต้องทำงานในสภาพที่เหมาะสม
คือต้องมีค่าpHประมาณ 10.5-11 ถ้าความเป็นกรด-เบสของน้ำครามสูงหรือต่ำกว่านี้ อาจทำให้แบคทีเรีย

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ตายได้ สำหรับการย้อมครามในครัวเรือนนั้นยังใช้วิธีแบบภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดกันมาแบบ
ปากต่อปากมาตั้งแต่อดีต ปัจจัยต่างๆ อาศัยประสบการณ์ในการประมาณ ทำให้คุณภาพสีย้อมในแต่ละครั้ง

ยังไม่มีความเป็นมาตรฐานมากนัก บางครั้งออกมาดี บางครั้งออกมาไม่ดี หรือบางครั้งสีย้อมก็ไม่สามารถ
นำมาใช้ได้เลย เพราะการแช่ใบครามนานเกินไปจะทำให้เม็ดสีเสียสภาพ ไม่เกิดสีน้ำเงินเข้ม หรือย้อมผ้าไม่ติด
เป็น สาเหตุหนึ่งที่ทำให้การย้อมผ้าครามมีต้นทุนสูง และการย้อมครามคุณภาพยังจำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่ม
ผู้ที่มีประสบการณ์หรือผู้ที่ประกอบอาชีพย้อมผ้าครามมานาน

1
ผู้จัดทำจึงได้จัดทำโครงงานนี้ เพื่อหาระยะเวลาในการแช่คราม ที่เหมาะสมที่สุด เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ในกระบวนการผลิตโดยจะเริ่มจากการศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆโดยละเอียด เพื่อให้ทราบกระบวนการ
ทางเคมีต่างๆที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการแช่ไปจนถึงกระบวนการย้อม ผลที่เกิดขึ้นสามารถนำไปใช้
อ้างอิงในการย้อมผ้าเพื่อให้ได้ความเข้มของสีตามที่ต้องการ และยังทำให้การย้อมผ้ามีมาตรฐานมากขึ้น

และมีคุณภาพเพียงพอ สามารถลดต้นทุนในการย้อมผ้าได้ส่วนหนึ่งและโครงงานชิ้นนี้ยังสามารถนำไป
ต่อยอดเพื่อทดลองกับปัจจัยอื่นๆ เพื่อเป็นก้าวแรกของอุตสาหกรรมผ้าครามในจังหวัดสกลนครอีกด้วย

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีปริมาณมากที่สุดโดยเม็ดสี
ไม่เสียสภาพ
สมมติฐาน

ระยะเวลาที่ใช้ในการแช่ครามมีผลต่อปริมาณของเม็ดสีที่สกัดได้
ขอบเขตของโครงงาน

ตัวแปรที่ใช้ศีกษา
ตัวแปรต้น ระยะเวลาที่ใช้ในการแช่คราม
ตัวแปรตาม ปริมาณของสีย้อมที่สกัดได้
ตัวแปรควบคุม ปริมาณใบครามสด อายุของต้นครามที่ใช้ อุณหภูมิของน้ำที่ใช้แช่คราม

ชนิดของผ้าที่ใช้ย้อม ค่า pH ของน้ำที่ใช้แช่คราม
เครื่องมือที่ใช้
1. ตารางบันทึกผลการทดลองหลังจากนำน้ำครามมาตีกวนกับปูนแดง
2. ตารางบันทึกลักษณะสีของตะกอนคราม

3. ตารางบันทึกลักษณะของสีย้อมที่ได้ หลังจากเติมสารเร่งปฏิกิริยารีดอกซ์
4. ตารางบันทึกลักษณะสีก่อนและหลังย้อมผ้า
ระยะเวลาดำเนินงาน
ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 ถึงประมาณเดือนมกราคม พ.ศ. 2559





1 การแช่คราม คือกระบวนการหนึ่งในการเตรียมสีย้อมผ้าคราม โดยการน้ำใบครามมาแช่ในน้ำ เพื่อเร่งปฏิกิริยาให้
เอนไซม์ในใบครามทำปฏิกิริยากับรงควัตถุในใบคราม ทำให้รงควัตถุในใบครามสามารถละลายในน้ำได้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


สถานที่ดำเนินงาน
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน และบ้านของสมาชิกในกลุ่ม
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 59

งบประมาณ/ทรัพยากร
งบประมาณในการดำเนินการ 1,500 บาท
งบประมาณ/ทรัพยากร
งบประมาณในการดําเนินการ 1,500 บาท
นิยามเชิงปฏิบัติการ

ปริมาณของสีย้อมที่สกัดได้ วัดจากความเข้มหรือความทึบของผ้าที่ได้รับการย้อม กล่าวคือปริมาณ
นิยามเชิงปฏิบัติการ
แสงที่ถูกดูดกลืนโดยผ้า สามารถวัดได้โดยการนำสีไปผ่านการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยแยกสี

ปริมาณของสียอมที่สกัดได วัดจากความเขมหรือความทึบของผาที่ไดรับการยอม กลาวคือปริมาณแสงที่
ที่ได้ออกเป็นส่วนผสมของสีแดง เขียว และน้ำเงิน และนำปริมาณสีทั้งหมดมาคิดเป็นร้อยละเทียบกับ 765
ถูกดูดกลืนโดยผา สามารถวัดไดโดยการนําสีไปผานการประมวลผลดวยคอมพิวเตอร โดยแยกสีที่ไดออกเปน
สวนผสมของสีแดง เขียว และน้ําเงิน และนําปริมาณสีทั้งหมดมาคิดเปนรอยละเทียบกับ 765
แผนการดำเนินโครงงาน
แผนการดําเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดำเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดําเนินโครงงาน
ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ สถานที่ งบประมาณ/ทรัพยากร

1.หาหัวขอและประชุมเลือก กันยายน 2558 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน 
หัวขอ

2.จัดทําเคาโครงของ กันยายน 2558 บานของผูจัดทํา 
โครงงาน

3.เสนอเคาโครงของ กันยายน 2558 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน 
โครงงานเพื่อขออนุมัติ

4.จัดทําเอกสารโครงงาน 3 กันยายน 2558 บานของผูจัดทํา 
บทแรก


5.สอบโครงงานบูรณาการ 3 กันยายน 2558 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน ประมาณ 1,500 บาท
บท

6.ทําการทดลองตามหัวขอ ตุลาคม 2558 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน 
โครงงาน
และบานของผูจัดทํา

7.จัดทําเอกสารโครงงาน พฤศจิกายนธันวาคม บานของผูจัดทํา 
ฉบับสมบูรณ 2558

8.สอบโครงงานบูรณาการ ธันวาคม 2558 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน
9.นําเสนอโครงงาน กุมภาพันธ 2559 รร.สาธิต มศว ปทุมวัน
รวม ประมาณ 1,500 บาท




ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ได้ระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ในการแช่ครามโดยทำให้สีย้อมมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน
โดยเม็ดสีไม่เสียสภาพ

ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 61



วิทยาศาสตร สังคมศึกษา
ศึกษาปฏิกิริยาเคมีตางๆที่  ศึกษาผลของอุตสาหกรรม
เกิดขึ้นในกระบวณการยอม ผาครามตอเศรษฐกิจ
คณิตศาสตร คราม  ศึกษาประวัติความเปนมา
การคํานวณอัตราสวนของสารที่ ของการยอมคราม

ใช


ภาษาไทย
การงานอาชีพ แผนภาพความคิด ความ  การเขียนเรียงความ

 ศึกษาวิธีการยอมผา เกี่ยวของที่สามารถ โดยเฉพาะในหวขอความ
 ศึกษากระบวนการปลูกตน สําคัญของโครงงาน
เชื่อมโยงไดกับแตละวิชา
คราม  การนําเสนอหัวขอโครงงาน
 การจัดทําโครงงานดวย
โปรแกรมคอมพิวเตอร


ภาษาอังกฤษ
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ  การศึกษาผลกระทบของสาร  การหาขอมูลจากหนังสือ
 ใชความรูศิลปะในขั้นตอนการ ปนเปอนตางๆในสียอมผา

ยอมผา สังเคราะห ตอผูบริโภค












บทที่2

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 2



ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 62
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่องอิทธิพลของเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผ้าย้อมคราม
กลุ่มผู้ปฏิบัติโครงงานได้ศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
ขอมูลที่เกี่ยวของ
1. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
1.กลุมสาระวิทยาศาสตร
1.1 พืชที่ให้สีคราม
สีครามมีในพืชหลายชนิดในปริมาณมากน้อยแตกต่างกัน ในประเทศไทยมีพืชหลายวงศ์ที่ให้สีคราม
1.1 พืชที่ใหสีคราม
ดังนี้ สีครามมีในพืชหลายชนิดในปริมาณมากนอยแตกตางกัน ในประเทศไทยมีพืชหลายวงศที่ใหสีคราม ดังนี้

ตารางที่ 2 แสดงพืชวงศ์ที่ให้สีครามท่พบในประทศไทย
ตารางที่ 2 แสดงพืชวงศที่ใหสีครามทพบในประทศไทย

ชื่อทองถิ่น ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อวงศ ลักษณะตน
ฮอม,ฮอมเมือง Baphicacanthus cusia Brom. Acanthaceae ลมลุก
ครามแงะ Tetraglochidium bibracteatum (BI.) Acanthaceae พุมเตี้ย
ครามเถา(เปก) Marsdenia tinctoria R. Asclepiadaceae ไมเลื้อย
ครามน้ํา Breynia retusa Alston Euphorbiaceae พุม
ครามปา Caryopteris paniculata Clarke Verbnaceae พุม
ครามปา Tephrosia purpurea Pers. Leguminosae พุมเลื้อย
พืชสกุลที่ใหปริมาณครามมากและคนไทยโบราณนิยมใชทําสีครามเปนพืชสกุล indigofera วงศ
Papilionaceae (Leguminoceae) มีในประเทศไทยประมาณ 13 ชนิด นอกจากนี้ในตางประเทศยังกลาวถึงพืช
พืชสกุลที่ให้ปริมาณครามมากและคนไทยโบราณนิยมใช้ทำสีครามเป็นพืชสกุล indigofera
วงศ์ Papilionaceae (Leguminoceae) มีในประเทศไทยประมาณ 13 ชนิด นอกจากนี้ในต่างประเทศ
สกุล Indigofera อีกประมาณ 700 ชนิด
ยังกล่าวถึงพืชสกุล Indigofera อีกประมาณ 700 ชนิด
ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือผลิตสีครามจากครามชนิด Indigofera tinctoria Linn. มี
ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือผลิตสีครามจากครามชนิด Indigofera tinctoria Linn.
ลักษณะทางพฤกษศาสตรเปนไมพุม ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ปลายใบเดี่ยว ใบยอยรูปรี ดอกชอออก
ตามซอกใบ ดอกยอยรูปดอกถั่ว กลีบดอกสีชมพู ผลเปนฝกเล็กๆ ฝกออกเปนกระจุก สูงประมาณ 11.5 เมตร
มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์เป็นไม้พุ่ม ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ปลายใบเดี่ยว ใบย่อยรูปรี ดอกช่อ
หรือสูงกวา ขนาดของดอกยาว 5 มิลลิเมตร ฝกตรงหรือโคงเล็กนอย ภายในฝกมีเมล็ด 712 เมล็ด
ออกตามซอกใบ ดอกย่อยรูปดอกถั่ว กลีบดอกสีชมพู ผลเป็นฝักเล็กๆ ฝักออกเป็นกระจุก สูงประมาณ
1-1.5 เมตร หรือสูงกว่า ขนาดของดอกยาว 5 มิลลิเมตร ฝักตรงหรือโค้งเล็กน้อย ภายในฝักมีเมล็ด 7-12 เมล็ด


















ภาพที่ 1 ใบคราม
ภาพที่ 1 ใบคราม
ภาพที่ 1 ใบคราม



1.2 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดระหวางการยอมคราม

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


1.2 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดระหว่างการย้อมคราม














































แผนภูมิแสดงปฏิกิริยาต่างๆที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการย้อมคราม


1.3 สีคราม
สีครามสีน้ำเงิน (indigo blue) ที่เกาะจับเนื้อผ้าฝ้ายเป็นสารอินทรีย์พวกแอนทราควีโนน
(anthraquinone) มีไดควิโนน (diquinone) ในโครงสร้าง เป็นสารสีน้ำเงินเข้มไม่ละลายน้ำ แต่ถูกรีดิวซ์

ในสารละลายด่างได้สารที่ละลายน้ำได้ ต้นตอของสีครามเป็นกลูโคไซด์ในใบครามชื่อ กลูโคไซด์อินดิแคน
(glucoside indican) ซึ่งไม่มีสีและไม่ละลายน้ำ ถูกไฮโดรไลส์ด้วยเอนไซม์ในใบครามสดแยกน้ำตาลกลูโคสออก
เหลือส่วนที่ชื่ออินดอกซิล (indoxyl) ซึ่งเป็นสารไม่มีสีเช่นกันแต่ละลายน้ำได้ อินดอกซิลในสารละลายด่าง

ถูกออกซิไดส์ได้ง่ายโดยออกซิเจนในอากาศ เกิดเป็นสีคราม แต่เนื่องจากสีครามน้ำเงินไม่ละลายน้ำ
จึงเป็นสีย้อมไม่ได้ ในภาวะเช่นนี้ ต้องรีดิวซ์สีครามในสารละลายด่าง เปลี่ยนเป็นสารพวกลิวโค (leuco indigo)
ซึ่งไม่มีสี ละลายน้ำได้ เรียกว่า indigo white หรืออาจอยู่ในรูปเกลือแอลคาไลของสีครามซึ่งไม่มีสี
ละลายน้ำได้เช่นกัน สารไม่มีสีละลายน้ำได้นี้สามารถแทรกเข้าไปในเนื้อผ้าได้ขณะย้อม แต่เมื่อสารนี้สัมผัส
อากาศจะถูกออกซิไดส์เป็นครามสีน้ำเงินไม่ละลายน้ำดังเดิม สีน้ำเงินจึงเกาะจับเนื้อผ้าฝ้ายทนนาน

นอกจากนี้ยังมีกลิ่นหอมด้วย

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2

สรุปปฏิกิริยาเคมีทีเกิดขึ้นระหว่างการย้อมคราม

การผลิตสีครามจากต้นครามที่ทำกันอยู่ในปัจจุบันใช้ครามชนิด Indigofera tinctoria 2 พันธุ์
โดยนิยมใช้ครามฝักงอมากกว่าครามฝีกตรง เพราะให้ผลผลิตสูงกว่า และเก็บใบได้หลายครั้งใน 1 ปี
การผลิตสีครามทั้ง 4 ขั้น เป็นปฏิกิริยาเคมีของสารกลูโคไซด์อินดิแคน ในใบครามซึ่งไม่มีสีและไม่ละลายน้ำ

กับเอนไซม์ไฮโดรเลสในธรรมชาติ เมื่อแช่ใบครามสดในน้ำ เอนไซม์จะตัดกลูโคสออก เหลืออินดอกซิล
ซึ่งละลายในน้ำคราม อินดอกซิลทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศอย่างรวดเร็ว เปลี่ยนเป็นอินดิโกสีน้ำเงิน
ไม่ละลายน้ำ จึงตกตะกอนแยกจากน้ำคราม อินดิโกสีน้ำเงินถูกรีดิวซ์ในน้ำขี้เถ้าเกิดเกลือของอินดิโกซึ่งไม่มีสี
และละลายน้ำ เกลือของอินดิโกจึงแทรกเนื้อฝ้ายขณะย้อม เมื่อบิดฝ้ายให้หมาดจากสีย้อม เกลือของ

อินดิโกในเนื้อฝ้ายสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศจะถูกออกซิไดส์ กลับไปเป็นอินดิโกสีเงิน ไม่ละลายน้ำดังเดิม
เกาะเนื้อฝ้ายได้ดี ถ้ามีส่วนตกสีออกมา จะไม่กลับไปย้อมเสื้อผ้าอื่นอีก

























ภาพที่ 2 ดอกคราม



2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ
2.1. อัตราส่วน (Ratio)
อัตราส่วนเป็นการเปรียบเทียบข้อมูลประเภทเดียวกันหรืออย่างเดียวกัน อาจจะเป็นลักษณะ

ที่มีหน่วยเดียวกัน เช่น การเปรียบเทียบคะแนนสอบของนักศึกษา รายได้ของประชากร ผลผลิตการเกษตร
จำนวนนักศึกษา เป็นต้น

ลักษณะของอัตราส่วนจะอยู่ในรูปของเศษส่วน เช่น หรืออาจจะอยู่ในรูป a:b (เรียกว่า a ต่อ b

หรืออัตราส่วน a ต่อ b โดยมี เป็นฐาน (base)

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



2.2 สัดส่วน (Proportion)
สัดส่วนจะมีลักษณะเป็นอัตราส่วนประเภทหนึ่ง แต่เป็นอัตราส่วนระหว่างส่วนหนึ่งของข้อมูล

ต่อข้อมูลทั้งหมด ฉะนั้นสัดส่วนจะมีค่าน้อยกว่าหนึ่งเสมอ เช่น a และ b เป็นข้อมูลของประชากร คือ
กลุ่มหนึ่งมีข้อมูล a หน่วย และกลุ่มที่สองมีจำนวนข้อมูล b หน่วย ประชากรทั้งหมดคือ a + b

2.3 เปอร์เซ็นต์ (Percent)

เปอร์เซ็นต์ หรือร้อยละ เป็นลักษณะของอัตราส่วนที่เป็นสัดส่วนชนิดหนึ่งซึ่งเปรียบต่อ 100
ซึ่งในการคำนวณก็สามารถทำได้โดยการนำเอา 100 ไปคูณอัตราส่วนที่ต้องการหา ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น
เปอร์เซ็นต์หรือร้อยละของจำนวนข้อมูล

สถิติ (Statistic) หมายถึง

1. ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษา
หาความรู้ เช่นต้องการทราบปริมาณน้ำฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น
2. ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยาม
ทางคณิตศาสตร์ เช่นคำนวณหาค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน ค่าที่คำนวณได้เรียกว่าค่าสถิติ (A Statistic)

ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลาย ๆ ค่า (Statistics)
3. วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์
ประยุกต์ และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษา
ได้แก่

1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data)
2. การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data)
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)


ข้อมูล (Data) หมายถึง รายละเอียดข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ซึ่งตรงกับสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา

ประเภทของวิชาสถิติ แบ่งประเภทตามลักษณะของข้อมูลได้เป็นสองประเภทคือ
1. สถิติเชิงอนุมาน (Inductive Statistics) หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทำกับข้อมูลที่ได้มาเพียง
บางส่วนของข้อมูลทั้งหมด

2. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทำกับข้อมูลที่ได้มา
เฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เป็นประเภทตามลักษณะ
ของการวิจัย เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายของข้อมูล


การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution table) จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. แจกแจงข้อมูลเป็นตัว ๆ ไป ใช้กับข้อมูลดิบที่มีจำนวนไม่มากนัก
2. แจกแจงข้อมูลเป็นช่วงคะแนน (อันตรภาคชั้น) เช่น
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 66
การจัดการเรียนรูบูรณาการดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2 หนา 66

ตารางที่ 3 แสดงการแจกแจงข้อมูล จํานวนนักเรียน
คะแนน
คะแนน
จํานวนนักเรียน

 
 
 
 


 
 


 
 


 
 



รวม 
รวม 


หลักการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. พิจารณาจำนวนข้อมูลดิบทั้งหมดว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด
หลักการสรางตารางแจกแจงความถี่
หลักการสรางตารางแจกแจงความถี่
1. พิจารณาจํานวนขอมูลดิบทั้งหมดวามีมากหรือนอยเพียงใด
1. พิจารณาจํานวนขอมูลดิบทั้งหมดวามีมากหรือนอยเพียงใด
2. หาค่าสูงสุดหรือต่ำสุดของข้อมูลดิบที่มีอยู่
2. หาคาสูงสุดหรือต่ําสุดของขอมูลดิบที่มีอยู
3. หาค่าพิสัยของข้อมูลนั้นจากสูตร
2. หาคาสูงสุดหรือต่ําสุดของขอมูลดิบที่มีอยู
3. หาคาพิสัยของขอมูลนั้นจากสูตร
3. หาคาพิสัยของขอมูลนั้นจากสูตร


พิสัย = คาสูงสุด  คาต่ําสุด
พิสัย = คาสูงสุด  คาต่ําสุด
4. พิจารณาว่าจะแบ่งเป็นกี่ชั้น(นิยม 5 – 15 ชั้น)
4. พิจารณาวาจะแบงเปนกี่ชั้น(นิยม 5 – 15 ชั้น)
4. พิจารณาวาจะแบงเปนกี่ชั้น(นิยม 5 – 15 ชั้น)
5. หาความกวางของแตละอันตรภาคชั้น จากสูตร (นิยมปรับคาใหเปน 5 หรือ 10 )
5. หาความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น จากสูตร (นิยมปรับค่าให้เป็น 5 หรือ 10)
5. หาความกวางของแตละอันตรภาคชั้น จากสูตร (นิยมปรับคาใหเปน 5 หรือ 10 )

พิสัย
ความกวางของอันตรภาคชั้น = พิสัย
ความกวางของอันตรภาคชั้น = จํานวนชั้น
จํานวนชั้น

6. ควรเลือกคาที่นอยที่สุด หรือคาที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นใหเปนคาที่สังเกตไดงายๆ
6. ควรเลือกคาที่นอยที่สุด หรือคาที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นใหเปนคาที่สังเกตไดงายๆ
6. ควรเลือกค่าที่น้อยที่สุด หรือค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นให้เป็นค่าที่สังเกตได้ง่ายๆ
ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือแทงความถี่ คือ การแจกแจงความถี่ขอมูลโดยใชกราฟแทง เพื่อใหเกิดความ
ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือแทงความถี่ คือ การแจกแจงความถี่ขอมูลโดยใชกราฟแทง เพื่อใหเกิดความ
เปนรูปธรรมของขอมูลมากยิ่งขึ้นและงายตอการวิเคราะห หรือตีความหมายขอมูล
เปนรูปธรรมของขอมูลมากยิ่งขึ้นและงายตอการวิเคราะห หรือตีความหมายขอมูล


คากลางของขอมูล มีทั้งหมด 6 ชนิด
คากลางของขอมูล มีทั้งหมด 6 ชนิด
1.คาเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmetic mean)
1.คาเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmetic mean)
2.มัธยฐาน(median)
2.มัธยฐาน(median)
3.ฐานนิยม(mode)
3.ฐานนิยม(mode)
4.ตัวกลางเรขาคณิต(geometric mean)
4.ตัวกลางเรขาคณิต(geometric mean)
5.ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)
5.ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือแท่งความถี่ คือ การแจกแจงความถี่ข้อมูลโดยใช้กราฟแท่ง
เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการวิเคราะห์ หรือตีความหมายข้อมูล


ค่ากลางของข้อมูล มีทั้งหมด 6 ชนิด
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต (arithmetic mean)
2. มัธยฐาน (median)
3. ฐานนิยม (mode)

4. ตัวกลางเรขาคณิต (geometric mean)
5. ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)
6. ตัวกึ่งกลางพิสัย (mid-range)


ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต (arithmetic mean)
หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

1. นำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน
2. นำผลรวมที่ได้จากข้อ 1 มาหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด

3. ผลหารที่ได้ในข้อ 2 คือ ค่าเฉลี่ย

มัธยฐาน (median) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลังจากเรียงลำดับ
ข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจากมากไปน้อย

ตัวอย่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล 3 , 7 19, 25, 12, 18 , 10

วิธีทำ เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ 3 , 7, 10, 12, 18, 19, 25 ข้อมูลมีทั้งหมด 7 ตัวเรียงข้อมูล
แล้วตัวเลขที่อยู่ตรงกลางคือตัวเลขตำแหน่งที่ 4 ตัวเลขตำแหน่งที่ 4 คือ 12 เป็นมัธยฐาน

ฐานนิยม (mode) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้น


ตัวอย่าง จงหาฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ 3, 2, 5, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 5
วิธีทำ ข้อมูลมี 2 จำนวน 1 ค่า มี 3 จำนวน 8 ค่า มี 5 จำนวน 2 ค่า ฉะนั้นฐานนิยมของข้อมูลคือ 3

3. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี


3.1.การงานอาชีพ
1. การปลูก

เตรียมพื้นที่ดอน น้ำไม่ท่วมขัง ดินร่วนซุยไม่อุ้มน้ำและแดดจัด เช่น พื้นที่ชายป่า หัวไร่ปลายนา
ไถพรวนดินประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม หว่านเมล็ดครามให้ห่างหรือใช้วิธีหยอดหลุมเป็นแถว
หลุมละ 3-4 เมล็ด แต่ละแถวห่างกันประมาณ 40-60 เซนติเมตร เมื่อย่างเข้าฤดูฝน เมล็ดครามจะเริ่มงอก

เป็นต้นเล็กๆ ค่อนข้างบอบบาง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


2. การดูแล
เมื่อครามงอกเป็นต้นเล็กๆ ต้องดายหญ้าทุกสัปดาห์ ต้นครามที่ใกล้กันเกินไปควรถอนทิ้งบ้าง
ครามที่ห่างพอดีได้รับปุ๋ยและแดดอย่างเต็มที่ กิ่งก้านกางออก ใบหนา สีเขียวเข้ม เมื่อครามอายุ 3-4 เดือน

หรือสังเกตได้จากการออกดอก หรือตอนเช้าตรู่สังเกตเห็นสีน้ำเงินหยดใต้ต้นคราม แสดงว่าครามแก่
จนให้สีครามได้แล้ว

3. การเก็บเกี่ยว
ถ้าเป็นครามฝักตรง ใบค่อนข้างกลม กิ่งก้านกางออก ต้นเตี้ย ใบแก่เกือบพร้อมกันทั้งต้น

ไม่ค่อยมียอดอ่อนๆ และจะแก่เร็วกว่าครามงอ จะเก็บโดยวิธีเกี่ยวกิ่งก้านทั้งต้น เหลือเพียงตอซึ่งจะ
แตกกิ่งใบอีก และเก็บได้อีกหนึ่งครั้ง จึงเก็บครามพันธุ์นี้ได้ 2 ครั้งต่อการปลูก 1 ครั้งหรือในเวลา 1 ปี
ครามบ้านมีอายุเพียงปีเดียว หากเป็นครามงอฝักโค้งใบค่อนข้างรีรูปไข่ ใบใหญ่กว่าครามบ้าน ต้นสูงกว่า
มียอดอวบอ่อน การเก็บครั้งแรกให้เก็บใบแรก ที่แก่ก่อนไปใช้งาน ครั้งต่อไปตัดกิ่งล่างซึ่งใบส่วนใหญ่แก่แล้ว

ครั้งต่อๆ ไปจึงตัดกิ่งถัดขึ้นไป ครามงอ แตกกิ่งใหม่ได้เรื่อยๆ เก็บโดยวิธีเดิมคือเก็บใบแก่ก่อนและไล่ตามใบ
ส่วนบนไปเรื่อยๆ ปีหนึ่งๆ สามารถเก็บครามพันธุ์นี้ได้ถึง 12 ครั้ง และครามงอมีอายุถึง 2-3 ปี ช่วงเวลา
ที่เหมาะต่อการเก็บครามแต่ละครั้งคือช่วงเช้าตรู่ก่อนพระอาทิตย์ขึ้น หากเก็บช่วงสายแดดจัดใบครามจะแห้ง
และกรอบง่ายต้นครามมีขนเล็กจำนวนมากทำให้ระคายเคือง ดังนั้นเวลาเก็บครามจึงควรแต่งตัวให้มิดชิด


4. การเก็บเมล็ดพันธุ์
เก็บได้เมื่อฝักเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีเหลืองออกน้ำตาล เก็บทั้งฝักผึ่งแดดให้แห้ง และเก็บในที่ร่ม
อากาศถ่ายเท อย่าปล่อยไว้จนฝักเป็นสีดำคาต้นเมล็ดจะงอกยาก ก่อนนำไปหว่านหรือหยอดหลุมให้โขลก

ฝักครามเบาๆ พอให้แตก หรือแช่เมล็ดในน้ำ 2 วัน คลุกขี้เถ้าไม้ก่อนเพื่อป้องกันแมลงรบกวน

ผู้ที่ปลูกครามและทำผ้าย้อมครามปริมาณน้อยหรือทำระหว่างเวลาว่างจากการทำนาจะนิยม
ปลูกครามบ้านในบริเวณพื้นที่ดอนว่างเปล่าปลูกข้าวไม่ได้ซึ่งเป็นพื้นที่ไม่มากนัก เกี่ยวครามได้พร้อมๆ
กันในช่วงเวลาหลังจากดำนาเสร็จแล้วและทำเนื้อครามให้แล้วเสร็จก่อนฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ส่วนผู้ที่ทำคราม

เป็นอาชีพมักนิยมปลูกครามงอในพื้นที่เฉพาะซึ่งเป็นพื้นที่ค่อนข้างมาก เก็บครามได้ต้นละไม่มากจึงต้องใช้
หลายๆ ต้นและเก็บครามได้ต่อเนื่องกันตลอดปี



















ภาพที่ 3 ฝักคราม

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



5. การผลิตสีครามจากใบคราม
ผู้ทำสีครามในประเทศไทย เกาหลี อินโดนีเซีย อิหร่าน และอินเดีย ใช้ใบครามสดเป็นวัตถุดิบ

การเก็บใบครามสดต้องระมัดระวังให้ได้ใบครามสดที่สุดเท่าที่จะทำได้ อาจเก็บตอนเช้ามืดก่อนพระอาทิตย์ขึ้น
ขณะที่ยังมีน้ำค้างอยู่ หรือชาวเกาหลีเก็บใบครามไว้ใกล้น้ำแข็ง แม้การแช่ใบครามก็แช่ในน้ำแข็งเมื่อได้น้ำคราม
สีเขียวสดก็ย้อมฝ้ายได้ทันที การผลิตสีครามของชาวชนบทในอินโดนีเซียก็ใช้ใบครามสดเช่นกัน ต่างจาก
ชาวเกาหลีบ้างเล็กน้อย โดยการแช่ใบครามสดในน้ำราว 1 สัปดาห์ให้ใบครามเปื่อยเละ จึงแยกกากครามออก

เติมกากน้ำตาลหรือปูนดิบในเนื้อครามเละๆนั้น เพื่อรีดิวซ์สีครามให้อยู่ในรูปที่ละลายน้ำได้ จุ่มผ้า
ในหม้อครามประมาณ 15 นาที จึงน้ำผ้าออกผึ่งในที่ร่ม 15 นาที และจุ่มย้อมซ้ำจนได้สีน้ำเงินเข้มตามต้องการ
ซึ่งอาจต้องย้อมซ้ำ 20-30 ครั้ง จึงล้างด้วยน้ำสะอาดเพื่อกำจัดสิ่งสกปรกอื่นๆ เช่น เศษปูนดิบและฟอง
ถ้าต้องการสีเข้มขึ้นอีกให้ย้อมอย่างเดิมอีก 3 วัน แหล่งผ้าบาติกย้อมครามที่มีชื่อของอินโดนีเซียอยู่ที่

เมือง Kerek ซึ่งมีภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูน ชาวบ้านใช้โคลนที่นี่ผสมในหม้อน้ำคราม ทำให้การเกาะติดสี
ของผ้าแน่นขึ้นและได้สีเข้มเป็นพิเศษ จึงทำให้ผ้าบาติกจากเมือง Kerek เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อที่ดึงดูด
นักท่องเที่ยวเขามาในท้องถิ่น

ชาวอิหร่านจะใช้แอมโมเนีย (NH 3 ) หรือโซเดียมไฮดรอกไซด์แทนปูนดิบ ทำให้น้ำคราม

เปลี่ยนเป็นเนื้อครามจมลงแยกตัวจากน้ำ จึงรินน้ำทิ้ง และเตรียมน้ำย้อมโดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 7 กรัม
กับเนื้อครามผง 60 กรัม เติมน้ำ กวนให้เข้ากันและปรับปริมาตรให้ได้ 3 ลิตร พักน้ำย้อมผสมไว้ครึ่งชั่วโมง
จะได้น้ำย้อมสีเหลืองอ่อน ถ้าหยดน้ำย้อมลงบนแผ่นกระจกจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน ย้อมผ้าในน้ำย้อมสีเหลืองนั้น


ชาวอินเดียใช้เนื้อครามผงผสมน้ำ 1 คืน จึงเติมโซเดียมไฮดรอกไซด์คนให้เข้ากันดี
-
เติมไฮโดรเจนซัลเฟต (HSO ) คนให้เข้ากันดี กรองเอาน้ำย้อมไปใช้ย้อมผ้าซ้ำๆ หลายครั้งจึงล้างด้วยน้ำ
4
และตากให้แห้ง

สำหรับวิธีการผลิตสีครามแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน การผลิตจะที่ 2 ขั้นตอน คือ การเตรียม

เนื้อครามและการเตรียมน้ำย้อม

5.1. การเตรียมเนื้อคราม
โดยแช่ต้นครามสดในน้ำให้ได้น้ำครามซึ่งมีวิธีแตกต่างกันตามความรู้ที่ได้สืบทอดต่อๆ กันมา
โดยวิธีหนึ่งคือตัดต้นครามสดมาม้วนเป็นฟ่อนพอดีกำมือ และใช้กิ่งครามมัด จากนั้นเรียงมัดครามให้เป็นระเบียบ

ลงในโอ่งดินโดยไม่ต้องกดให้แน่น ถ้าเป็นครามงอจะจุครามจนเต็มโอ่งเติมน้ำ ¾ ของโอ่งแล้วแช่ ประมาณ
1 วัน แล้วจึงกลับครามส่วนบนลงแช่น้ำเอาครามส่วนล่างขึ้นทับไว้อีกประมาณ 1 วัน บีบมัดคราม
ในน้ำครามอยู่ในโอ่งดิน ส่วนกากครามทิ้งไป แล้วทำการกวนน้ำคราม ถ้าเป็นครามฝักตรงใบบาง
ให้ผลผลิตต่ำกว่า จะบรรจุไม่เต็มโอ่ง เติมน้ำระดับเดียวกันกับมัดคราม ใช้วัตถุหนักทับมัดครามให้จม

แช่ 2-3 วัน จนใบครามเปื่อย ร่วงหลุดจากกิ่งครามจึงแยกกิ่งครามออก แล้วใช้ครามสดชุดใหม่แช่ลงไป
อีกชุดละ 1 วัน หลายชุดจนกว่าจะได้น้ำครามที่เข้มข้น เมื่อได้น้ำครามที่มีสีเขียวปนเหลือง จึงนำปูนดิบ
ผสมลงไปพร้อมกับกวนน้ำย้อมและสังเกตสีของน้ำคราม เมื่อน้ำครามเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและฟอง
สีน้ำเงิน จึงหยุดเติมปูนและทำการกวนคราม ให้น้ำครามสัมผัสกับอากาศมากที่สุด อาจใช้มือกวน หรืออาจใช้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


วัสดุสานไม้ไผ่รูปกรวยคว่ำ กระแทกน้ำครามให้เกดฟองสีน้ำเงินมากๆ กระทั่งฟองมีขนาดใหญ่และแตกเร็ว
จึงหยุดกวนการกวนครามใช้เวลาประ มาณ 10-15 นาที ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้หรือปริมาณเนื้อครามในน้ำคราม

สังเกตจากการแตกของฟองครามดัง กล่าวแล้ว พักน้ำครามที่กวนแล้วไว้ 1 คืน เนื้อครามจะแยกจมอยู่ชั้นล่าง
ส่วนฟองที่แตกไม่หมดเกาะลอยอยู่ที่ผิวหน้า รินน้ำย้อมใสสีน้ำตาลเหลืองทิ้ง แยกเอาฟองกับเนื้อคราม
ชั้นล่างซึ่งสีน้ำเงินลักษณะเหลว เหมือนโคลนเก็บไว้ในโอ่งดินอีกต่างหาก หมั่นดูแลไม่ให้เนื้อครามแห้ง
โดยการเติมน้ำขี้เถ้าเล็กน้อย ให้ครามชื้นตลอด เนื้อคราม ลักษณะนี้เก็บไว้ใช้ได้ประมาณ 2-3 ปี


5.2. การเตรียมน้ำย้อม หรือการก่อหม้อนิล
แต่ละท้องถิ่นก่อหม้อนิลด้วยวัตถุดิบหลัก 3 ชนิด คือ เนื้อคราม น้ำขี้เถ้า และปูนดิบ เนื้อคราม
ที่ได้จากครามงอและครามฝักตรงไม่ต่างกัน ปูนดิบดิบอาจได้มาจากการเผาเปลือกหอย หรือซื้อปูนกินหมาก
จากท้องตลาด แต่น้ำขี้เถ้าจากขี้เถ้าของไม่ต่างชนิดกันจะให้ความเค็มต่างกัน และให้สีน้ำเงินจางหรือเข้ม

เป็นเงางาม แตกต่างกัน เล่ากันว่าต้นผักขมหนามผึ่งแดดพอหมาดแล้วเผาจะได้น้ำขี้เถ้านำมา
ก่อหม้อนิลให้สีครามเข้มเป็นเงางาม นอกจากนั้นสามารถใช้ขี้เถ้าจากพืชต่างๆต่อไปนี้ คือ ต้นมะละกอ
เหง้ากล้วย เปลือกของผลนุ่น ใบมะขาม ต้นเพกา ใบจามจุรี ก้านมะพร้าว และกาบมะพร้าว เป็นต้น

5.3. การเตรียมน้ำขี้เถ้า

เจาะรูที่ก้นภาชนะ รองด้วยปุยฝ้ายหรือใยมะพร้าว บรรจุขี้เถ้าเต็มพอดี กดขี้เถ้าให้แน่น จึงเติมน้ำ
ให้ท่วมพอดีกับขี้เถ้า กรองเอาน้ำขี้เถ้า เติมน้ำอีกครั้งเท่าเดิมและกรองเอาน้ำขี้เถ้ารวมกับครั้งแรก ผู้ทำคราม
ใช้นิ้วจุ่มในน้ำขี้เถ้าและนำมาแตะลิ้นเพื่อทดสอบรสเค็ม จะได้ใช้สัดส่วนที่เหมาะสมในการเตรียมน้ำย้อม

น้ำขี้เถ้าที่เหมาะสมควรมีความถ่วงจำเพาะประมาณ 1.005 สัดส่วนวัตถุดิบสำหรับก่อหม้านิลของแต่ละ
ท้องถิ่นจะแตกต่างกัน เนื่องจากมีวัตถุดิบอื่นเป็นตัวแปรด้วย

























ภาพที่ 4 การย้อมคราม

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



3.2. คอมพิวเตอร์
1. การระบุสีในคอมพิวเตอร์



















ภาพที่ 5 การระบุสีในคอมพิวเตอร์


รูปแบบสีที่ใช้ใน HTML CSS และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวอื่นๆ ใช้ในลักษณะของเลขฐานสิบหก
ในแต่ละหลักแสดงถึงส่วนประกอบของแม่สีแสงได้แก่ สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ซึ่งทุกสีสามารถ

ประกอบขึ้นได้จากปริมาณที่แตกต่างกันของแม่สีแสงทั้งสาม โดยแต่ละสีถูกแบ่งความเข้มออกเป็น 255 หน่วย
จากภาพ จะเห็นได้ว่า มีสีแดงผสมอยู่ 88 หน่วย จาก 255 หน่วย ที่เหลือเป็นสีดำ กล่าวคือ หน่วยที่ใช้
บอกนั้นเป็นการเปรียบเทียบเสมือนการที่แสงตกกระทบวัตถุชิ้นหนึ่ง 255 หน่วย แล้วสะท้อนออกมา 88 หน่วย
หรือสามารถเรียกอีกอย่างว่าถูกดูดกลืนไป 167 หน่วย ก็ได้ ซึ่งร้อยละปริมาณแสงที่ถูกดูดกลืนก็คือความดำ

หรือความเข้มของวัตถุนั่นเอง

2. การเปรียบเทียบความเข้มสีครามจากการระบุสีด้วยคอมพิวเตอร์
ก่อนอื่น สมาชิกกลุ่มต้องขอนิยามเกี่ยวกับความเข้มสี เพื่อใช้ในการอ้างอิงและเปรียบเทียบ
ผลการปฏิบัติโครงงาน ดังนี้

ความเข้มของสี คือ ปริมาณแสงที่ถูกดูดกลืนไปโดยรงควัตถุ โดยคิดเป็นร้อยละเทียบกับ
ปริมาณแสงทั้งหมดที่ตกกระทบกับรงควัตถุนั้น
เนื่องจาก คอมพิวเตอร์กำหนดปริมาณแสงแต่ละสีไว้มากที่สุดที่ 255 ดังนั้น ปริมาณสูงสุด
ที่แสงจะตกกระทบรงควัตถุ คือ 255*3=765 หน่วย ดังนั้น ในการหาความเข้ม เราสามารถนำปริมาณสีทั้ง 3

มาบวกกันแล้วนำไปลบออกจาก 765 จะได้ปริมาณแสงที่ถูกดูดกลืนเป็นหน่วย จากนั้นจึงนำปริมาณที่ได้มา
คิดเป็นร้อยละเทียบกับ 765

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

4.1 ข้อมูลเศรษฐกิจพื้นฐาน
ผ้าครามคือผ้าย้อมสีธรรมชาติ โดยนำผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายไปย้อมสีจากคราม โดยอาณาบริเวณ
ที่ผลิตกันมากจะอยู่ในแถบพื้นที่ในลุ่มน้ำสงคราม (คำว่า “สงคราม” เป็นคำในภาษาอีสานที่มีความหมายว่า
เป็นแหล่งที่มีต้นครามขึ้นอย่างอุดมสมบูรณ์) โดยเฉพาะจังหวัดสกลนครเป็นแหล่งที่ยอมรับว่าเป็นแหล่งผลิต
ผ้าย้อมครามที่มีคุณภาพ รวมทั้งมีสีสัน รูปแบบที่เฉพาะตัว นอกจากนี้ ชุมชนที่อยู่ในท้องถิ่นแถบนี้มีความรู้

และทักษะในการทอผ้าและการย้อมด้วยสีธรรมชาติจากครามเพื่อใช้เองภายในครัวเรือนและใช้เป็นสินค้า
เพื่อแลกเปลี่ยนกันมาช้านานแล้ว สิ่งที่สร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นอีกประการหนึ่งก็คือ
การทำผ้าย้อมสีครามในโลกยังมีอยู่อย่างจำกัดโดยประเทศไทยนับเป็นเพียง 1 ใน 8 ของโลกที่ผลิต

ผ้าย้อมสีคราม

ผ้าครามจึงถือได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ประจำถิ่นของเขตพื้นที่สกลนคร โดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่า
ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทำให้การผลิตผ้าครามได้รับความสนใจในการผลักดันให้เป็น
ผลิตภัณฑ์หลักของจังหวัด โดยมีการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาในลักษณะต่าง ๆ ต่อเนื่องมาเป็นลำดับ


ในปัจจุบันความต้องการผ้าย้อมครามของตลาดมีมากขึ้น ขณะที่กลุ่มผู้ผลิตผ้าย้อมคราม
ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านการผลิต การตลาด ทำให้สินค้าและผลิตภัณฑ์ไม่ทัน
ความต้องการ ด้วยเหตุนี้สมาชิกที่ผลิตผ้าย้อมครามจึงได้รวมตัวกันโดยใช้แนวคิดของขบวนการคลัสเตอร์
ในการพัฒนาและได้จัดตั้งสหกรณ์คลัสเตอร์ ผ้าครามสกลนคร จำกัด ขึ้นมา โดยมีเป้าหมายในการบริหาร

จัดการด้านเงินทุน การจัดองค์กร การผลิตและการตลาด โดยส่วนหนึ่งสมาชิกได้ระดมหุ้นของตนเอง
จากสมาชิกผู้เริ่มก่อตั้ง 45 คน สามารถระดมทุนได้กว่า 50,000 บาท ในเดือนกันยายน 2548 และเข้าสู่
กระบวนการผลิตและการตลาดในเดือนตุลาคม 2548 ซึ่งสหกรณ์คลัสเตอร์ผ้าครามสกลนคร ตั้งเป้าหมายว่า
จะผลิตผ้าผืนได้เดือนละ 427,000 เมตร และหากมีตลาดรองรับจะสามารถสร้างรายได้ต่อเดือนไม่น้อยกว่า

25.65 ล้านบาทและก่อให้เกิดการจ้างงานในท้องถิ่นไม่น้อยกว่า 5,000 ราย

เงื่อนไขปัจจัยการผลิต
ดำเนินการวิเคราะห์ถึงปัจจัยการผลิตด้านต่างๆ รวมถึงระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับ
การแข่งขันของคลัสเตอร์ผ้าคราม ดังนี้

1. ทรัพยากรบุคคล
ปัจจุบันยังมีผู้ที่มีความรู้ความชำนาญในการก่อหม้อนิลและย้อมผ้าด้วยสีครามธรรมชาติ ได้แก่
แม่ครูที่มีอายุประมาณ 60 - 70 ปีขึ้นไป อยู่จำนวนหนึ่ง และมีกลุ่มแม่บ้านที่มีอายุราว 40-50 ปี ที่มีความรู้

และสนใจทำผ้าย้อมสีครามเพื่อจำหน่าย กระจายตัวอยู่ตามเครือข่ายผู้ผลิตผ้าครามกลุ่มต่าง ๆ
ในจังหวัดสกลนคร และนอกจากนี้ยังมีเยาวชนผู้ที่สนใจการย้อมผ้าครามเข้ามาเรียนรู้กับกลุ่มชาวบ้าน
อีกจำนวนหนึ่งซึ่งมีจำนวนมากขึ้นทุกวัน

90 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



2. สาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
ความพร้อมของระบบไฟฟ้านั้นอยู่ในระดับที่มีกระแสไฟฟ้าใช้ได้ในทุกอำเภอ โดยเป็นกระแสไฟฟ้า

จากเขื่อนลำโดมน้อย จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะที่ระบบประปาก็ยังมีความสามารถในการผลิตรองรับ
ความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้อีกร้อยละ 26 ส่วนระบบการสื่อสาร มีจำนวนหมายเลข โทรศัพท์ทั้งขององค์การ
โทรศัพท์ และไทยเทเลโฟน์แอนด์เทเลคอมมิวนิเคชั่น ที่มีจำนวนหมายเลขเพียงพอในการรองรับการขยายตัว
ของความต้องการอีกราวร้อยละ 12 ของการให้บริการในปัจจุบัน


3. โครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในปัจจุบันมีการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับผ้าย้อมคราม คือ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาชุดความรู้
ภูมิปัญญาไทญ้อด้านสิ่งทอ” และการวิจัยเคมีของสีครามในกระบวนการทำสีครามธรรมชาติ ได้ศึกษา
พัฒนากระบวนการทำสีครามจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เป็นระบบที่สามารถตรวจวัดและได้ผลผลิต

(สีครามสำหรับย้อมผ้า) แน่นอนมากยิ่งขึ้น โดยใช้หลักทางวิทยาศาสตร์และรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น
ในการทำสีครามของผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ยังมีเว็บไซต์เพื่อให้บริการความรู้ในเรื่องการผลิตและคุณลักษณะ
ของคราม งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีดังนี้

4. ทรัพยากรธรรมชาติ

การผลิตผ้าครามนั้นปัจจัยการผลิตที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ ต้นคราม ซึ่งบริเวณจังหวัดสกลนครและ
พื้นที่ในลุ่มน้ำสงคราม เป็นแหล่งที่มีต้นครามขึ้นอย่างอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติเนื่องจากมีสภาพดินฟ้าอากาศ
ที่เหมาะสม การปลูกต้นครามเพื่อใช้ในการย้อมผ้าครามในปัจจุบัน จึงมีทั้งที่ปล่อยให้ต้นครามขึ้นเอง

ตามธรรมชาติตามหัวไร่ปลายนา และที่เพาะปลูกเป็นแปลงขนาดใหญ่ สีของครามที่ได้จากแต่ละพื้นที่
มักจะให้เฉดสีที่มีความแตกต่างกัน ทั้งนี้เนื่องจากความเป็นกรด-ด่าง ในดินที่ไม่เท่ากัน ความไม่สม่ำเสมอ
ของสีในลักษณะนี้ ทำให้ปริมาณการฟอกย้อมแต่ละครั้งไม่สามารถทำได้ในปริมาณมาก อย่างไรก็ตาม
วัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตผ้าครามได้แก่ ฝ้าย ซึ่งยังมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของคลัสเตอร์
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนำเข้าจากต่างจังหวัด เช่น จังหวัดเลย แพร่ พะเยา ลำปาง เป็นต้น


ประวัติความเป็นมาของผ้าย้อมคราม
สีครามเป็นสีย้อมธรรมชาติที่เก่าแก่มาก ซึ่งมนุษย์รู้จักกันมามากว่า 6000 ปี ประชากรที่อาศัย
ในเขตร้อนของโลกล้วนเคยทำสีครามจากต้นไม้ชนิดต่างๆตามภูมิภาคนั้นๆ แต่สีครามคุณภาพดีผลิตจาก
เอเชีย ดังเช่น สีครามจากอินเดียเป็นที่นิยมของคนอังกฤษมากกว่าสีครามจากเยอรมันและฝรั่งเศส

แต่การใช้สีครามลดลงเหลือเพียง 4 % ของทั่วโลกในปี 2457 หลังจากการคิดค้นสีครามสังเคราะห์ในเยอรมัน
ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2535 ประเทศของเราพบกับปัญหา มลพิษจากสิ่งแวดล้อม สาเหตุหนึ่ง เกิดจาก
สารเคมีสังเคราะห์ซึ่งรวมถึงสีย้อมด้วย สีย้อมผ้าส่วนใหญ่เป็นออกไซด์ของโลหะหนัก ซึ่งโลหะหนักหลายชนิด

เป็นสารก่อมะเร็ง ใส่แล้วรู้สึกร้อน ดังนั้น จึงหันมานิยมสีย้อมธรรมชาติ ซึ่งในขณะ เดียวกันก็ได้นำภูมิปัญญาเก่า ๆ
ที่ได้สืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณจากเดิมเกือบลือหายไปแล้วนั้น กลับมาพัฒนาเป็นอาชีพหลัก
ของลูกหลานในทุกวันนี้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การมัดย้อม

5.1 ประวัติความเป็นมา
สันนิษฐานว่าการย้อมผ้ามีมากว่า 1000 ปี มีการย้อมสีแหหรืออวน จับปลาเพื่อป้องกัน
การเปื่อย และเก่าง่าย โดยใช้ไม้มะเกลือมาต้มให้เกิดสี ต่อมาใช้เปลือกไม้ต่างๆ เช่น ไม้โกงกาง ไม้โปรงแดง
ไม้โปรงดำ ไม้ตะบูน ไม้ตะบัน แต่ที่นิยมกันมาก คือไม้โปรง กับไม้ตะบูน ซึ่งเรียกการย้อมนั้นว่า การย้อมผ้า

น้ำกะเตา ซึ่งมีสีน้ำตาลอย่างเดียว การย้อมเสื้อผ้าสมัยก่อนเกิดจากผู้ที่มีอาชีพตัดไม้ โดยตัดไม้แล้วทำให้
ยางไม้ติดเสื้อผ้า ซักไม่ออก จึงเกิดการนำเปลือกไม้มาต้มแล้วนำเสื้อผ้ามาย้อมซึ่งทำให้ใส่แล้วเย็นสบาย
ผู้ที่มีอาชีพตัดไม้ และเผาถ่านจึงนิยมย้อมเสื้อผ้า เพื่อนำไปใส่ในการประกอบอาชีพ ต่อมามีการฟื้นฟู
พิพิธภัณฑ์เขายี่สาร จึงมีการคิดค้นเพื่อทำเป็นของที่ระลึกเวลามีนักท่องเที่ยว หรือนักศึกษาค้นคว้ามาเยี่ยมชม

พิพิธภัณฑ์เขายี่สาร โดยมีการสืบสานภูมิปัญญาการย้อมผ้าด้วยเปลือกไม้ธรรมชาติซึ่งนำมาจากพืชป่าชายเลน
ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาจัดทำเป็นเสื้อ กางเกง ผ้าเช็ดหน้า กระเป๋า เป็นต้น โดยเรียนการมัดย้อมจากสำนักงาน
พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดสมุทรสงคราม และพัฒนามาเป็นลวดลายของตนเอง โดยแต่ละชิ้นงานไม่ซ้ำแบบใคร
และยึดหลักการใช้สีธรรมชาติเป็นเอกลักษณ์สืบสานต่อมา


5.2 ขั้นตอนในการทำผ้ามัดย้อม
1. การเตรียมผ้า
ผ้าที่ใช้ทำผ้ามัดย้อม ควรใช้ผ้าสีขาวหรือผ้าสีอ่อนผ้าที่มีขายตามท้องตลาดเป็นผ้าที่ผ่านการ
แต่งมาก่อน เพื่อให้ผ้าแข็งตัวและเป็นเงาเรียบ ผู้ผลิตจะแต่งและอาบผ้าด้วยสารเรซิ่นหรือแป้งใช้เป็นส่วนมาก

สารตัวที่กล่าวมานี้นับว่าเป็น อุปสรรคต่อการแทรกซึมของน้ำสี ฉะนั้นก่อนจะลงมือย้อมสี ควรขจัดสิ่งเหล่านี้
ออกให้หมดเสียก่อน แต่ถ้ามีสารอาบผิวใส่จำนวนน้อยอาจทำความสะอาดได้ โดยการใช้ผงซักฟอกได้

2. การเตรียมลายมัดย้อม
ผู้ปฏิบัติผ้ามัดย้อมย่อมปรารถนาให้ลายที่เกิดขึ้นบนผ้าลายที่ไม่อยากให้ซ้ำกับผู้อื่น ดังนั้น

ผู้ที่ปฏิบัติงานมัดย้อมจึงผูกผ้าของตนเองได้อย่างอิสระ โดยการให้ความคิดคำนึงสร้างสรรค์ ลายที่ออกมา
ย่อมเป็นงานที่พึงพอใจของผู้ปฏิบัติเอง

3. การเตรียมน้ำย้อม
การทำผ้ามัดย้อมสามารถย้อมได้ตามวิธีกรรมถึงสีที่ย้อมได้ในอุณหภูมิสูงและต่ำได้ แต่ทั้งนี้

จะต้องคำนึงถึงประเภทของสีและผ้าให้ถูกต้องหลายๆ สี ภายหลังที่ได้ย้อมสีแรกเสร็จแล้ว เช่นนี้เรื่อยไปจน
กว่าจะได้สีและลายที่ต้องการ การมัดย้อมโดยการเล่นสีให้เป็นสีอ่อนสีแก่ในผืนเดียวกัน ในการย้อมสี
อาจทำได้โดยการเริ่มจากสีอ่อนไปจนถึงสีเข้มจัด


4. สีรีแอ๊คทีฟ
สีประเภทนี้มีความทนทานสูงให้สีสดใส ย้อมง่าย ซึมเข้าในเส้นใยได้ดี โดยทำปฏิกิริยากับ
สารเคมีจะทำให้สีสดใส แต่ราคาค่อนข้างสูงย้อมง่าย แต่ถ้าย้อมน้ำเข้มจะต้องเอาผ้าที่ย้อมเก็บค้างคืน
เสียก่อนจึงนำไปล้าง จะได้สีผ้าสีเข้มและสีที่ได้จะสดใสสวยงาม

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



5. วิธีย้อม
ละลายสีด้วยน้ำอุ่นหรือน้ำร้อน เติมน้ำเย็นให้ครบตามจำนวน ใส่เกลือแกงโซดาแอช ตามลำดับ

คนสารละลายให้เข้ากัน นำผ้าลงย้อม ใช้เวลาคนผ้ากลับไปกลับมา ประมาณ 20 นาที เพื่อให้ผ้าดูดซึม
สีได้ทั่วแล้วแช่ผ้าต่ออีก 40 นาที หลังจากนั้นจึงนำไปซักน้ำให้สะอาด

6. ขั้นตอนการมัดย้อมผ้า
1. เตรียมสารที่ใช้ย้อม

2. เตรียมวัสดุอุปกรณ์
3. ละลายสีด้วยน้ำอุ่น
4. ใส่เกลือแกงและโซดาแอช
5. ใส่น้ำให้ครบตามจำนวน

6. พักไว้
7. เตรียมผ้าที่มัดไว้แล้วใส่ลงในน้ำย้อม
8. คนพลิกไปพลิกมา
9. แช่ทิ้งไว้ประมาณ 40-50 นาที

10. ล้างน้ำให้สะอาดแล้วแกะเชือกออก
11. ได้ลวดลายตามต้องการ



สรุปแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ดำเนินการ

ในการปฏิบัติโครงงาน สมาชิกต้องทำการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน โดยหาข้อมูล
ต่างๆ เกี่ยวกับต้นคราม ทั้งลักษณะทางกายภาพ และสมบัติของอินทรียสารที่อยู่ในใบคราม และการเกิด

ปฏิกิริยา เพื่อนำมาใช้ในการตั้งสมมติฐาน และกำหนดรูปแบบการทดลอง โดยหาข้อมูลจากหนังสือ
ทั้งภาษาไทยและหนังสือภาษาต่างประเทศ พบว่า การผลิตสีครามทั้ง 4 ขั้น เป็นปฏิกิริยาเคมีของสาร
กลูโคไซด์อินดิแคน ในใบครามซึ่งไม่มีสีและไม่ละลายน้ำ กับเอนไซม์ไฮโดรเลสในธรรมชาติ เมื่อแช่

ใบครามสดในน้ำ เอนไซม์จะตัดกลูโคสออก เหลืออินดอกซิลซึ่งละลายในน้ำคราม อินดอกซิลทำปฏิกิริยา
กับออกซิเจนในอากาศอย่างรวดเร็ว เปลี่ยนเป็นอินดิโก สีน้ำเงินไม่ละลายน้ำ จึงตกตะกอนแยกจากน้ำคราม
อินดิโกสีน้ำเงินถูกรีดิวซ์ในน้ำขี้เถ้า เกิดเกลือของอินดิโกซึ่งไม่มีสีและละลายน้ำ เกลือของอินดิโกจึงแทรก
เนื้อฝ้ายขณะย้อม เมื่อบิดฝ้ายให้หมาดจากสีย้อม เกลือของอินดิโกในเนื้อฝ้ายสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ
จะถูกออกซิไดส์ กลับไปเป็นอินดิโกสีเงิน ไม่ละลายน้ำดังเดิม เนื่องจากสมาชิกตระหนักว่า ระยะเวลา

เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำปฏิกิริยา จึงได้เลือกใช้ระยะเวลาเป็นตัวแปรที่ต้องการศึกษา
หลังจากได้ผลการทดลอง สมาชิกต้องนำผลที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพมาวิเคราะห์เพื่อให้สามารถนำเสนอ
ได้ในรูปแบบข้อมูลเชิงปริมาณ ซึ่งกระบวนการนี้ สมาชิกต้องหาความรู้เกี่ยวกับระบบวัดค่าสีที่ใช้

กันในคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใช้อ้างอิงในการนำเสนอต่อไป


Click to View FlipBook Version