The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitayaporn, 2019-11-15 01:32:04

การจัดการเรียนรู้บูรณาการ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานบูรณาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

โครงงานบูรณาการนับว่าเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากนักเรียนจะได้ฝีกการคิดเป็น
ระบบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกความคิดสร้างสรรค์และฝึกการเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนมา
ทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาเข้าด้วยกัน และสามารถนำความรู้ที่เรียนมานั้นไปใช้ในชีวิตประจำวัน

โดยโครงงาน เรื่อง เครื่องแยกขวดและกระป๋อง มีจุดประสงค์เพื่อประดิษฐ์เครื่องขวดและกระป๋อง

เป็นโครงงานประดิษฐ์คือเป็นโครงงานที่นำความรู้หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดประดิษฐ์สิ่งของใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานเครื่องแยกขยะนี้สามารถแยกขวดและกระป๋องได้

รวมทั้งแยกกระป๋องเหล็กจากกระป๋องอื่นๆ ได้ ซึ่งเป็นขยะที่พบได้มากในชีวิตประจำวัน โดยคาดหวังว่า
จะสามารถลดปัญหาจากขยะที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่พบมากในปัจจุบัน ซึ่งเป็นปัญหาที่ก่อให้ปัญหาดิน
เป็นพิษจากการทิ้งขยะลงดิน น้ำเน่าเสียจากการทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลอง อากาศเป็นพิษจากการเผาขยะลงได้
รวมทั้งเสริมสร้างรายได้จากการนำขยะมาใช้ประโยชน์และได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการแยกสาร สมบัติของสาร
ขนาดของสาร และแรงเสียดทาน จึงก่อให้เกิดความรู้ และประสบการณ์ใหม่


สำหรับรายงานฉบับนี้จะมีเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและความสำคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์ของโครงงาน ปัญหาของโครงงาน สมมติฐาน เครื่องมือที่ใช้ นิยามเชิงปฏิบัติการแผนการดำเนิน
โครงงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการปฏิบัติโครงงาน


คณะผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในการทำโครงงาน เนื่องจากเป็นเรื่องการประดิษฐ์ที่น่าสนใจสามารถ
แก้ไขปัญหาใกล้ตัว รวมทั้งเป็นการบูรณาการเนื้อหาวิชาการในห้องเรียน คณะผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ
อ.วรดร ใบพักตร์, อ.กรรณิการ์ ปัญญาวิชัย และ อ.ณัฐิกา ลี้สกุล ผู้ให้ความรู้และคำปรึกษา คณะผู้จัดทำ

หวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ก็ต้อง
ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้


คณะผู้จัดทำ

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



สารบัญ



เรื่อง หน้า

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข

คำนำ ค
สารบัญ ง
บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1

วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2
ปัญหาของโครงงาน 2
สมมติฐาน 2
ขอบเขตของโครงงาน 2

นิยามเชิงปฏิบัติการ 3
แผนการดำเนินโครงงาน 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4
บทที่ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5

บทที่ 3 วิธีปฏิบัติโครงงาน 11
วัสดุอุปกรณ์ 11
วิธีปฏิบัติโครงงาน 11

บทที่ 4 ผลการปฏิบัติโครงงาน 12
ผลการปฏิบัติโครงงาน 12
ผลการศึกษาเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 16
บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ 20

สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน 20
อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน 20
ปัญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไข 20
ประโยชน์ที่ได้รับ 21

ข้อเสนอแนะ 21
เอกสารอ้างอิง 22
ภาคผนวก 23

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9



บทที่ 1



บทนำ


ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

โครงงานเครื่องแยกขวดและกระป๋องนั้นเป็นโครงงานที่มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการพัฒนา
การจัดการกับขยะให้สามารถแยกขยะตามประเภทได้สะดวกขึ้น โดยการประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและ
กระป๋องที่สามารถแยกสามารถแยกขวดและกระป๋องได้ ซึ่งขวดและกระป๋องเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
ขยะรีไซเคิล ให้แยกออกจากกันได้ ขยะเหล่านี้เป็นกลุ่มขยะที่พบมากที่สุดกลุ่มหนึ่งในชีวิตประจำวัน เพื่อเป็น
การลดมลภาวะและปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากขยะที่พบได้มากในปัจจุบัน เช่น อากาศเป็นมลพิษ
จากการเผาขยะ น้ำเน่าเสียจากการทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลอง ดินเป็นพิษจากการฝังขยะลงดิน เป็นต้น และ
ในโรงเรียนของเราก็มีขยะกลุ่มขวดพลาสติกเป็นจำนวนมาก จึงควรจะมีการจัดการกับขยะที่ดีพอนอกจากนี้
การแยกขยะยังสามารถนำขยะที่แยกแล้วไปรีไซเคิลเป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่มีประโยชน์และเสริมสร้างรายได้
ได้อีกด้วย
จากจุดมุ่งหมายที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น จะเห็นได้ว่าโครงงานเครื่องแยกขวดและกระป๋องเป็นประโยชน์
อย่างมากในยุคปัจจุบัน เนื่องจากผู้คนได้เพิ่มปริมาณการอุปโภคบริโภค และมีความต้องการอย่างมากมาย
ทำให้เกิดปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากการทิ้งขยะ การจัดการกับขยะอย่างผิดวิธี และเมื่อขาดการจัดการ
ที่ดีพอทำให้เกิดมลภาวะขึ้น ผู้คนส่วนใหญ่ตอนทิ้งขยะก็ไม่ได้สนใจที่จะแยกขยะโดยเฉพาะตามเมืองใหญ่ๆ
ที่มีผู้อยู่อาศัยเป็นจำนวนมาก จึงทำให้มีปริมาณการอุปโภคบริโภคมากตามไปด้วย อย่างโรงเรียนของเราก็มี
การทิ้งขยะหลากหลายประเภท และนักเรียนส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ใส่ใจว่าถังขยะนี้เป็นถังขยะสำหรับขยะประเภทใด
ทิ้งขยะใส่ลงไปโดยอาจใส่ถังขยะผิดประเภท จึงจำเป็นที่จะต้องมีเครื่องแยกขยะ เพื่อให้มีความสะดวกที่มากขึ้น
และเนื่องจากปัญหาจากขยะ อาจทำให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสีย และดินเสื่อมโทรม นอกจากนี้การเผาขยะ
อาจทำให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศได้อีก ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อนตามมา เป็นสิ่งที่มีผลกระทบ
ต่อชีวิตประจำวันของผู้คนทั่วโลก ที่นับวันปัญหาเหล่านี้ยิ่งรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สร้างความลำบากในการดำรงชีวิต
อีกประการหนึ่ง ในปัจจุบันนี้ เป็นโลกของทุนนิยม ค่าครองชีพสูง การนำขยะพวกขวดและกระป๋อง
มาคัดแยกโดยใช้เครื่องเครื่องขวดและกระป๋องจะสามารถแยกขยะและนำไปรีไซเคิลได้ง่ายและ
สะดวกสบายขึ้น และสามารถนำไปสร้างมูลค่าเป็นข้าวของเครื่องใช้ได้ จากที่กล่าวมา ทางคณะผู้จัดทำ
เห็นว่าควรจะมีการจัดการกับปํญหาเหล่านี้ โดยการประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและกระป๋องที่จะสามารถแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้นได้โดยการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการแยกสาร เช่น การกรอง การตกตะกอน
การใช้แม่เหล็กดูด สมบัติของสาร เช่น น้ำหนัก ความหนาแน่น และแรงที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของสาร ได้แก่
แรงเสียดทาน ในการแก้ปัญหา โดยการทำเครื่องแยกขยะ ซึ่งขยะแต่ละชนิดที่นำมาแยก จะมีคุณสมบัติ
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น ขวดพลาสติกจะมีลวดลายมากและผิวที่ไม่เรียบเหมือนกับกระป๋องอะลูมิเนียม
ทำให้มีแรงเสียดทานมากกว่า หรือกระป๋องเหล็กที่ทำจากเหล็กจะดูดติดกับแม่เหล็ก เป็นต้น ซึ่งเครื่องแยกขยะนี้
จะทิ้งขยะไปตามแนวพื้นเอียง และให้ขยะตกลงมาที่ละช่อง จากนั้นนำขยะที่คัดแยกเบื้องต้นแล้ว มาพักไว้
ในช่องเก็บขยะเพื่อให้น้ำหรือของเหลวในขวดหรือกระป๋องไหลออกมา การแยกขยะเหล่านี้จะใช้โดยหลักการ
ที่กล่าวไปแล้วข้างต้น การแยกขยะนี้จะแยกขยะกลุ่มที่เป็นขยะรีไซเคิล และสามารถแบ่งขยะที่แยกออกมา
แล้วได้เป็นกลุ่มขวด เช่น ขวดน้ำ ขวดน้ำอัดลม ขวดนม กลุ่มกระป๋องเหล็ก เช่น กระป๋องชา กระป๋องกาแฟ

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กระป๋องน้ำผลไม้ กระป๋องนมข้นหวาน กระป๋องอาหารกระป๋อง และกลุ่มกระป๋องอื่นๆ เช่น กระป๋องน้ำอัดลม
กระป๋องเบียร์ซึ่งขยะเหล่านี้พบได้มากในชีวิตประจำวัน และเป็นขยะกลุ่มที่ถูกทิ้งตามบริเวณสนาม ทางเดิน
หรือท้องถนนมากที่สุดอย่างหนึ่ง การจัดการโดยเครื่องแยกขยะนี้ จะสามารถลดเวลาเมื่อเทียบกับการแยก
ด้วยมือ และสามารถลดแรงงานที่ต้องใช้ในการแยกขยะได้อีกด้วย

ดังนั้น โครงงานนี้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเกิดขึ้น เพื่อเป็นการลดปัญหาจากขยะที่พบมาก
ในปัจจุบัน รวมทั้งปัญหาภาวะโลกร้อนที่เป็นผลกระทบส่วนหนึ่งจากปัญหาขยะซึ่งเป็นปัญหาที่ใกล้ตัว
มากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลกเริ่มตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งการที่เกิดภัยแล้ง จากฝนไม่ตกเป็นเวลานาน
ทำให้พืชผลทางการเกษตรไม่สามารถปลูกได้หรือฝนตกหนักเป็นเวลานานจนเกิดอุทกภัย การเกิดหมอกควันพิษ
ปกคลุม น้ำเน่าเสียตามคลองและแม่น้ำต่างๆ และการแยกขยะสามารถที่จะส่งเสริมรายได้ที่ได้จากการรีไซเคิล
เป็นสิ่งของที่มูลค่า และเพิ่มประสิทธิภาพในการแยกขยะได้สะดวกสบายยิ่งขึ้น จึงต้องมีการค้นหาความรู้
ใหม่ๆ มาพัฒนาโครงงานเครื่องแยกขวดและกระป๋องให้แก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้นไป จากสิ่งทั้งหมดนี้โครงงาน
เครื่องแยกขวดและกระป๋องสามารถสนับสนุนเพื่อเพิ่มความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นและเพิ่ม
การอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวันให้โครงงานนี้สำเร็จขึ้นได้


วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและกระป๋อง

2. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการแยกของเครื่องแยกขวดและกระป๋อง

ปัญหาของโครงงาน

การประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและกระป๋อง ให้มีประสิทธิภาพในการแยกทำได้อย่างไร
สมมติฐาน

ประดิษฐ์เครื่องแยกขวดและกระป๋อง โดยใช้หลักการของการแยกสาร คุณสมบัติของสาร
ขนาดของสาร และแรงที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของสาร ที่มีประสิทธิภาพในการแยก


ขอบเขตของโครงงาน
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น : เครื่องแยกขวดและกระป๋อง
ตัวแปรตาม : ประสิทธิภาพในการแยกขวดและกระป๋อง

ตัวแปรควบคุม : จำนวนขวดและกระป๋อง

เครื่องมือที่ใช้
1. ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระป๋อง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 รวมระยะเวลาแล้วประมาณ 6 เดือน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


สถานที่ดำเนินงาน
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน และบ้านของสมาชิกในกลุ่ม

งบประมาณ/ทรัพยากร
ประมาณ 2,000 บาท

สถานที่ดําเนินงาน
นิยามเชิงปฏิบัติการ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน และบานของสมาชิกในกลุม
เครื่องแยกขวดและกระป๋อง
งบประมาณ/ทรัพยากร
หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการคัดแยกขวดกับกระป๋องตามประเภท
ประมาณ 2,000 บาท

มีประสิทธิภาพในการแยก
นิยามเชิงปฏิบัติการ
หมายถึง สามารถแยกขวดและกระป๋องได้อย่างถูกต้อง 100% เช่น กระป๋องเหล็กตกอยู่ในช่อง

กระป๋องเหล็กทั้งหมด
เครื่องแยกขวดและกระปอง หมายถึง เครื่องมือที่ใชในการคัดแยกขวดกับกระปองตามประเภท

ค่อนข้างมีประสิทธิภาพในการแยก หมายถึง สามารถแยกขวดและกระปองไดอยางถูกตอง 100% เชน
มีประสิทธิภาพในการแยก
หมายถึง สามารถแยกขวดและกระป๋องได้อย่างถูกต้อง 80 - 100%
กระปองเหล็กตกอยูในชองกระปองเหล็กทั้งหมด
ขาดประสิทธิภาพในการแยก
คอนขางมีประสิทธิภาพในการแยก หมายถึง สามารถแยกขวดและกระปองไดอยางถูกตอง 80 

หมายถึง สามารถแยกขวดและกระป๋องได้อย่างถูกต้อง ต่ำกว่า 80%
100%
ขาดประสิทธิภาพในการแยก หมายถึง สามารถแยกขวดและกระปองไดอยางถูกตอง ต่ํากวา 80%
แผนการดำเนินโครงงาน
แผนการดําเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดำเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดําเนินโครงงาน
ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินงาน สถานที่ งบประมาณ/ทรัพยากร
1.คิดและเสนอชื่อ 916 มิถุนายน พ.ศ. โรงเรียน 
โครงงาน (ผูรับผิดชอบ 2558
สมาชิกทุกคนในกลุม)
2.ปรึกษาอาจารยที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2558 โรงเรียนและบานของ 
ปรึกษาและจัดเตรียมเคา ถึง 18 สิงหาคม พ.ศ. สมาชิกในกลุม
โครงงาน (ผูรับผิดชอบ 2558
สมาชิกทุกคนในกลุม)
3.สอบหัวขอโครงงาน 19 สิงหาคม พ.ศ.2558 โรงเรียน 
(ผูรับผิดชอบ สมาชิกทุก
คนในกลุม)
4.ทําการทดลองและ ประมาณเดือนสิงหาคม โรงเรียนและบานของ ประมาณ 2,000 บาท
ประดิษฐเปนผลงาน พ.ศ.2558 ถึง เดือน สมาชิกในกลุม
(ผูรับผิดชอบ สมาชิกทุก พฤศจิกายน พ.ศ.2558
คนในกลุม)
5.นําเสนอโครงงาน ประมาณเดือนธันวาคม โรงเรียน 
(ผูรับผิดชอบ สมาชิกทุก พ.ศ.2558
คนในกลุม)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถสร้างเครื่องแยกขวดและกระป๋องได้

2. สามารถแยกขวดและกระป๋องได้อย่างมีประสิทธิภาพ

9 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้


ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู


วิทยาศาสตร
คณิตศาสตร สังคมศึกษา

 การคํานวณขนาดของชองที่ขยะ  การแยกสาร  ปญหาสิ่งแวดลอมในประเทศ

จะตกลงไป  สมบัติของสาร ไทยและนานาชาติ
 การคํานวณปริมาตร  แรงเสียดทาน  สภาพสังคมและเศรษฐกิจของ

โดยประมาณของขวดและ ประเทศและนานาชาติ

กระปองแตละยี่หอ



การงานอาชีพ แผนภาพความคิด ความ ภาษาไทย

 การออกแบบใหเครื่องขวด เกี่ยวของที่สามารถ  การใชภาษารอยเรียงถอยคํา

และกระปองมีประสิทธิภาพ  การเขียนรายงาน
เชื่อมโยงไดกับแตละวิชา

 การประกอบตัวเครื่อง
 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอร

ในการทําโครงงาน

ภาษาอังกฤษ
 ศัพทภาษาอังกฤษที่เปนศัพท

ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา วิทยาศาสตร

 การตกแตงและออกแบบให  ความปลอดภัยในการทํางาน  การคนหาขอมูลที่เปน

รูปลักษณของเครื่องแยกขวด  การปฐมพยาบาล แหลงขอมูลภาษาอังกฤษ

และกระปองมีความสวยงาม

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 99



บทที่ 2



ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


ในการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่องเครื่องแยกขวดกระป๋อง ได้มีการศึกษาเอกสารต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

1.1 การแยกสาร
การแยกสาร คือ การนำสารที่เราต้องการออกมาจากสารอื่นๆ โดยใช้คุณสมบัติของสารนั้นๆ
ซึ่งการแยกสารมีหลายวิธี ได้แก่

1. การกรอง เป็นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสาร
แขวนลอยออกจากน้ำ โดยการใช้กระดาษกรอง หรือเซลโลเฟน
2. การใช้อำนาจแม่เหล็ก เป็นวิธีที่ใช้แยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่ง

มีสมบัติในการถูกแม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงกำมะถัน โดยใช้
แม่เหล็กถูไปมาบนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทั้งสอง แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา
3. การใช้มือหยิบออก เขี่ยออก หรือร่อนด้วยตะแกรง ใช้แยกของผสมเนื้อผสม ที่ของผสม
มีขนาดโตพอที่จะหยิบออก เขี่ยออก และร่อนด้วยตะแกรงได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าว
เปลือกปนอยู่

4. การตกตะกอน ใช้แยกของผสมที่เป็นของแข็งแขวนลอยอยู่ในของเหลว ทำได้โดยนำของ
ผสมนั้นวางทิ้งไว้ให้สารแขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณีที่ตะกอนเบามาก
ถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึ้นอาจทำได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของตะกอนมาเกาะ

เมื่อมีมวลมากขึ้น น้ำหนักจะมากขึ้นจะตกตะกอนได้เร็วขึ้น เช่น ใช้สารส้มแกว่ง อนุภาค
ของสารส้มจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้โมเลกุลของสารที่ต้องการตกตะกอนมาเกาะตะกอน
จะตกเร็วขึ้น
1.2 สมบัติของสาร

สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติที่ต่างกัน เนื่องจากสารแต่ละชนิดมีองค์ประกอบที่แตกต่างกัน สมบัติของ
สารนี้จะสามารถช่วยในการจำแนกสารได้
- มวล คือปริมาณเนื้อสารที่รวมกันเป็นวัตถุ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารคงที่เสมอไม่ว่าอยู่ที่ใด
- ปริมาตร คือ บริเวณที่อนุภาคต่างๆ ครอบครองอยู่ในปริภูมิสามมิติ โดยกล่าวง่ายๆ ก็คือ

เป็นขนาดของวัตถุนั่นคือมีความกว้าง ความยาว และความสูง
- ความหนาแน่นของสารเป็นสมบัติเฉพาะของสารแต่ละชนิด และเป็นปริมาณที่บอกค่ามวล
ของสารในหนึ่งหน่วยปริมาตร

00 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



1.3 แรงเสียดทาน หรือความเสียดทาน
คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่เชิงสัมพัทธ์ หรือแนวโน้มของการเคลื่อนที่ดังกล่าว ของพื้นผิวสองอย่าง

ที่สัมผัสกัน มักจะเกิดตรงข้ามกับแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เสมอ ผิวหน้าสัมผัส จึงช่วยลดแรงเสียดทานได้
โดยขนาดของแรงเสียดทานจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับแรงหรือน้ำหนักที่กดลงไปบนพื้นผิวสัมผัส ซึ่งแรงนี้
จะตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดทับนี้มาก แรงเสียดทานก็จะมีค่ามากด้วย และลักษณะของผิวสัมผัสนั้นๆ
ถ้าผิวสัมผัสนั้นเรียบลื่น แรงเสียดทานก็จะมีค่าน้อย ถ้าผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระ แรงเสียดทานก็จะมีค่ามาก

โดยมีสูตรในการคำนวณคือ

ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน = แรงเสียดทาน / แรงปฏิกิริยาในแนวตั้งฉากกับผิวสัมผัส หรือ

μ =


2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2.1 การคำนวณขนาดของช่องที่ขยะจะตกลงไป
โดยใช้ความรู้ของการหาพื้นที่ เช่น สี่เหลี่ยมผืนผ้าหาพื้นที่ได้จาก กว้าง X ยาว


2.2 การคำนวณปริมาตรโดยประมาณของขยะแต่ละชนิด
โดยใช้ความรู้ของการหาปริมาตร เช่น กระป๋องน้ำอัดลมมีรูปร่างใกล้เคียงทรงกระบอก
ก็สามารถหาค่าโดยประมาณ ได้ด้วยสูตร เมื่อ r แทนรัศมีของฐาน และ h แทนสูง


3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

3.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยและนานาชาติ
ปัจจุบันทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยมีการร่วมมือในหลายๆ ด้าน เช่น โครงการ
สิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) พิธีสารเกียวโต เป็นต้น โดยปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดจาก 2 สาเหตุหลักๆ

คือ การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ ความก้าวหน้าทางวิทยาการ และการพัฒนาเศรษฐกิจและหนึ่งในสาเหตุ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ก็คือ ปัญหาจากขยะ โดยประเภทของขยะ ทั่วไปแบ่งได้ 4 ประเภท ได้แก่

1. ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหารและพืชผักที่เหลือจากการรับประทาน และการประกอบ-
อาหาร สามารถนำไปหมักทำปุ๋ยได้ จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดมีประมาณ 46 %
2. ขยะรีไซเคิลหรือขยะที่สามารถนำไปขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ

ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 42 %
3. ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล เช่น ซองบะหมี่สำเร็จรูป
เปลือกลูกอม ถุงขนม ถุงพลาสติก จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด ประมาณ 9 %
4. ขยะพิษ หรือขยะมีพิษที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง
หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 3 %

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


แนวทางจัดการขยะมูลฝอย การกำจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ
การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และการหมักทำปุ๋ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุน

การดำเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น
การจัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ
- Reduce คือ การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง
- Reuse คือ การนำมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น

- Repair คือ การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้
- Reject คือ การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
- Recycle คือ การแปรสภาพและหมุนเวียนนำกลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนำไปผ่านกระบวนการผลิต
ใหม่อีกครั้ง


การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนำไปกำจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น
- ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำมากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก
- ขยะเปียกสามารถนำมาหมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ
- ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย


การคัดแยก เก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จำเป็น
ต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ตามแต่ลักษณะองค์ประกอบโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ สามารถดำเนินการได้ตั้งแต่แหล่งกำเนิด โดยจัดวางภาชนะให้เหมาะสม

ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบการคัดแยก
ขยะมูลฝอย พร้อมทั้งพิจารณาควรจำเป็นของสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยและระบบขนส่งขยะมูลฝอย
ไปกำจัดต่อไป
3.2 สภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศและนานาชาติ

3.2.1 สภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทย
ไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มีเศรษฐกิจแบบผสม ประเทศไทยแสดงความก้าวหน้า
อย่างน่าทึ่งด้านการพัฒนามนุษย์ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา และประเทศไทยยังเป็นฐานการผลิตที่สำคัญ
ในหลายๆด้าน เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ สินค้าเกษตรเป็นต้น ประเทศไทยยังมีการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ที่เพิ่มมากขึ้น การลงทุนตามเมืองใหญ่ๆ ทำให้ปริมาณการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น

3.2.2 สภาพสังคมและเศรษฐกิจนานาชาติ
การพัฒนาเศรษฐกิจ เป็นกระบวนการที่ทำให้รายได้ต่อบุคคลที่แท้จริงของคนในประเทศ

เพิ่มขึ้นในระยะยาว โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ประเทศต่างๆ จำเป็น
ต้องพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือเพื่อการยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชน
ให้สูงขึ้น การวัดว่าประเทศมีการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่ในระดับใดขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งเครื่องมือ
สำคัญ คือ รายได้ต่อบุคคล และหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่ไม่ใช่เศรษฐกิจ ซึ่งค่าใช้จ่ายหรือรายได้ต่อบุคคลเป็นเครื่องวัด
ฐานะทางเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถแบ่งประเทศต่างๆ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มโลกที่หนึ่ง (ประเทศที่พัฒนาแล้ว)

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



เป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลสูงมาก และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมก้าวหน้ามาก เช่น สหรัฐอเมริกา
แคนาดา ญี่ปุ่น มีการอุปโภคบริโภคสูง แต่มีการจัดการที่ดี กลุ่มโลกที่สอง (ประเทศที่กำลังพัฒนา) เช่น

สาธารณรัฐประชาชนจีน บราซิล ไทย อินโดนีเซีย มีการอุปโภคและบริโภคที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการพัฒนา
อุตสาหกรรม แต่ส่วนใหญ่แล้วขาดแคลนการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และสุดท้ายกลุ่มโลกที่สาม
(ประเทศด้อยพัฒนา) เป็นประเทศที่ยากจน เช่น กินี ซูดาน ยูกันดา เอธิโอเปีย เนปาล เฮติ


4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ใช้ความรู้ภาษาอังกฤษในการแปลศัพท์ต่างๆ เช่น Reduce แปลว่า การลดปริมาณขยะ และ
การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภาษาอังกฤษ


5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การตกแต่งและออกแบบให้รูปลักษณ์ของเครื่องแยกขวดและกระป๋องมีความสวยงาม โดยใช้

ความรู้เรื่องของการออกแบบ การจัดวาง สี เส้น รูปร่างรูปทรง หรือที่ว่าง มาสร้างสรรค์ให้เครื่องแยกขยะ
ดูมีเอกลักษณ์ น่าใช้งาน

6. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

6.1 การออกแบบให้เครื่องแยกขวดและกระป๋องมีประสิทธิภาพ
ใช้ความรู้เรื่องของกระบวนการทางเทคโนโลยี หาทฤษฎีมารองรับ เลือกวิธีประดิษฐ์และทฤษฎี

ที่เหมาะสม เขียนแบบ ตรวจสอบหลังจากประดิษฐ์เสร็จ และคำนึงถึงความเป็นไปได้ในการประดิษฐ์
6.2 การประกอบตัวเครื่อง
ใช้ความรู้เรื่องของงานช่าง การใช้ประกอบส่วนต่างๆของเครื่องแยะขวดและกระป๋อง โดยใช้ค้อน
ไขควง การตัดแผ่นฟิวเจอร์บอร์ด อย่างเป็นระเบียบ โดยใช้กรรไกร และคัตเตอร์ รวมถึงการเลือกใช้วัสดุที่มี

ความทนทาน
6.3 การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการทำโครงงาน
ใช้ทักษะในการทำโปรแกรม Microsoft Office Word ที่เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการทำรายงาน

โปรแกรม Microsoft Office Powerpoint ที่ใช้ในการนำเสนอ รวมถึงการเลือกใช้สารสนเทศที่ใช้สืบค้น
ข้อมูลอย่างเว็บไซต์ สื่อมัลติมิเดีย และคลิปวิดีโอต่างๆ

7.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

7.1 การใช้ภาษาร้อยเรียงถ้อยคำ
ใช้ภาษาที่เป็นทางการหรือกึ่งทางการให้เหมาะสมตามสถานการณ์เหมาะกับรูปเล่มรายงาน และ
การเรียบเรียงถ้อยคำอย่างเหมาะสม ใช้การเปรียบเทียบ และการยกตัวอย่าง

7.2 การเขียนรายงาน
จัดเรียงรายงานให้ถูกต้องตามรูปแบบ มีการตรวจสอบคำผิด และข้อเท็จจริงต่างๆ มีคำนำ สารบัญ
และบรรณานุกรม โดยการเขียนคำนำมีหลักการดังนี้ คือ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0


1. การเขียนคํานํารายงานด้วยการเล่าเรื่อง
2. การเขียนคํานํารายงานด้วยการกล่าวถึงใจความสำคัญของเรื่องที่เขียน

3. การเขียนคํานํารายงานด้วยคำถามหรือปัญหาที่สนใจ
4. การอ้างอิงเนื้อเรื่อง
5. การเขียนคํานํารายงานด้วยคำพังเพยหรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง
6. การเขียนคํานํารายงานด้วยคำกล่าวถึงจุดประสงค์ของเรื่องที่เขียน

7. การเขียนคํานํารายงานด้วยการอธิบายชื่อเรื่อง
8. การเขียนคํานํารายงานโดยขึ้นต้นด้วยคำกล่าวของบุคคลสำคัญและการเขียนบรรณานุกรม
มีหลักการดังนี้
1. เขียนไว้ในส่วนท้ายของรายงาน

2. เขียนเรียงลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง ในกรณีที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เขียน
บรรณานุกรมภาษาไทยก่อน
3. บรรทัดแรกของบรรณานุกรมชิดด้านซ้ายที่เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา 1.5 นิ้ว ถ้ายัง
ไม่จบเมื่อขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 ช่วงตัวอักษรของบรรทัดแรก

ให้เขียนตรงกับช่วงตัวอักษรที่ 8
4. รูปแบบบรรณานุกรมมีดังนี้



























ภาพที่ 1 แสดงการเขียนบรรณานุกรม ที่มา http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5321600732/t919.jpg

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



8. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ในการทำงานต่างๆ โดยเฉพาะการประดิษฐ์ ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงานเสมอ

โดยการศึกษาวิธีทำอย่างชัดเจน ปรึกษาผู้รู้หรืออาจารย์ที่ปรึกษา การใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ แต่หากเกิด
เหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น เช่น อุบัติเหตุเล็กๆน้อย ควรปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้แก่

1. ผงเข้าตา ห้ามขยี้ตา ให้รีบลืมตาในน้ำสะอาด และกลอกตาไปมาหรือเทน้ำให้ไหลผ่านตา

ที่ถ่างหนังตาไว้ ถ้ายังไม่ออก ให้คนช่วยใช้มุมผ้าเช็ดหน้าที่สะอาดเขี่ยผงออก ถ้าไม่ออกควรรีบไปหาหมอ
2. บาดแผลตื้น (เลือดออกไม่มาก) หากมีสิ่งสกปรก ควรบีบให้เลือดชะเอาสิ่งสกปรกออกมาบ้าง
ถ้ามีฝุ่นผงหรือสกปรก ต้องล้างออกด้วยน้ำสุกกับสบู่ จากนั้นใส่ทิงเจอร์ใส่แผลสด หรือน้ำยาโพวิโดนไอโอดีน
พันรัดให้ขอบแผลติดกัน ควรทำความสะอาดแผลและเปลี่ยนผ้ากอซวันละ 1 ครั้ง จนกว่าแผลจะหาย



สรุปแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ดำเนินการ


ขยะมี 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะพิษ โดยเครื่องแยก
กระป๋องนี้จะแยกกลุ่มขวดและกระป๋อง โดยใช้หลักการของการแยกสาร ได้แก่ การกรอง จะสามารถแยก
ของเหลวออกมาได้ การใช้อำนาจแม่เหล็ก จะสามารถแยกขยะที่เป็นเหล็กออกมาได้ และใช้ความรู้เกี่ยวกับ

ขนาดและปริมาตรของสาร ในการแยกขวดและกระป๋อง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0



บทที่ 3




วิธีปฏิบัติโครงงาน

ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เครื่องแยกขวดและกระป๋อง มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์
เครื่องแยกขวดและกระป๋อง และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการแยกของเครื่องแยกขวดและกระป๋องโดยมี
วิธีปฏิบัติโครงงาน ดังนี้

วัสดุอุปกรณ์

1. ไม้อัดขนาด 30 X 60 เซนติเมตร 4 แผ่น
2. ไม้อัดขนาด 60 X 60 เซนติเมตร 1 แผ่น
3. อะคริลิกใส ขนาด 50 X 50 เซนติเมตร 1 แผ่น

4. ฟิวเจอร์บอร์ด ขนาด 120 X 120 เซนติเมตร 2 แผ่น
5. แม่เหล็กแรงสูง Neodymium 50 X 7 มิลลิเมตร หนา 3 มิลลิเมตร จำนวน 3 แท่ง
6. ฉาก จำนวน 16 อัน
7. สันปก จำนวน 4 อัน
8. รางครอบสายไฟ จำนวน 2 อัน


วิธีปฏิบัติโครงงาน

1. นำแผ่นไม้มาประกอบเป็นตัวถังขยะ โดยด้านหน้าทำใช้แผ่นอะคริลิกใสเพื่อที่จะให้

มองเห็นด้านในตัวถังได้ และด้านบนเว้นไว้ยังไม่ต้องประกอบ เชื่อมต่อแผ่นไม้แต่ละแผ่นและแผ่นอะคริลิก
โดยใช้ฉาก
2. นำแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดประกอบเป็นพื้นเอียง โดยตัดฟิวเจอร์บอร์ดบริเวณปลายฝั่ง
ที่ทิ้งขวดออก ให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 9 X 16 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ใหญ่ที่สุดของกระป๋องส่วนใหญ่

และตัดตรงปลายแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดให้เป็นช่องขนาดยาวเท่าขวดพลาสติก จากนั้นติดพื้นเอียงโดยใช้ราง
ครอบสายไฟ
3. ใช้คัตเตอร์กรีดด้านใดด้านหนึ่งของฟิวเจอร์บอร์ดเป็นร่อง แต่ไม่ขาด ตามแนวขวาง
ของฟิวเจอร์บอร์ดให้ทั่วแผ่น โดยให้แต่ละร่องห่างกัน 1 เซนติเมตร เพื่อให้สามารถดัดงอให้โค้งได้ จากนั้น

ตั้งพื้นโค้งไว้ใต้ช่องแรกริมฝั่งของแผ่นฟิวเจอร์บอร์ด
4. ติดตั้งแม่เหล็กไว้ใต้พื้นโค้ง
5. แบ่งช่องตรงปลายพื้นโค้งออกเป็น 2 ช่อง โดยใช้แผ่นฟิวเจอร์บอร์ด และใช้สันปก
เป็นตัวยึดกระป๋องเหล็กจะถูกแม่เหล็กดูด ทำให้ความเร่งลดลง จึงจะตกในช่องแรก แต่กระป๋องอื่นๆ

ความเร่งจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะตกในช่องที่สอง

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



6. ติดตั้งตะแกรง โดยทำจากฟิวเจอร์บอร์ดตัดเป็นรูห่างกันรูละ 1 นิ้ว ไว้ในช่องที่แยก
ขวดและกระป๋องเรียบร้อยแล้วทั้ง 3 ช่อง เพื่อใช้ในการรองรับของเหลวที่อาจหลงเหลืออยู่ในกระป๋อง
ขั้นตอนที่ 6 ติดตั้งตะแกรง โดยทําจากฟวเจอรบอรดตัดเปนรูหางกันรูละ 1 นิ้ว ไวในชองที่แยกขวดและ
หรือขวด กระปองเรียบรอยแลวทั้ง 3 ชอง เพื่อใชในการรองรับของเหลวที่อาจหลงเหลืออยูในกระปองหรือขวด
7. ทำช่องนำขยะออก
ขั้นตอนที่ 7 ทําชองนําขยะออก
8. ประกอบด้านบน และตัดช่องเว้นไว้เป็นช่องทิ้งขยะ
ขั้นตอนที่ 8 ประกอบดานบน และตัดชองเวนไวเปนชองทิ้งขยะ
แบบของเครื่องแยกขวดกระปอง
แบบของเครื่องแยกขวดกระป๋อง

ไม
ชอง


พื้นเอียง
(ฟวเจอรบอรด)

แมเหล็ก





กระปอง กระปอง

เหล็ก อื่นๆ ขวด





ตะแกรง
(ตัดจากฟวเจอรบอรด)
ภาพที่ 2 แบบของเครื่องแยกขวดและกระปอง
ภาพที่ 2 แบบของเครื่องแยกขวดและกระป๋อง
ขั้นตอนที่ 9 นําขวด และกระปองทั้งหมดมาทดลองทิ้งในชองทิ้งขยะ โดยสังเกตการเคลื่อนที่ของขวด และ
กระปอง จากการมองผานอะคริลิกใสดานหนา ถาหากขวด กระปองเหล็ก และกระปองที่เหลือ ตกถูกตามชอง
9. นำขวด และกระป๋องทั้งหมดมาทดลองทิ้งในช่องทิ้งขยะ โดยสังเกตการเคลื่อนที่ของ
ที่กําหนดไวในแบบ ถือวาการแยกครั้งนั้นถูกตอง แตถาหากตกผิดชอง หรือติดคางอยูในสวนใดสวนหนึ่งของ
เครื่อง ถือวาไมถูกตอง
ขวดและกระป๋อง จากการมองผ่านอะคริลิกใสด้านหน้า ถ้าหากขวด กระป๋องเหล็ก และกระป๋องที่เหลือ

ตกถูกตามช่องที่กำหนดไว้ในแบบ ถือว่าการแยกครั้งนั้นถูกต้อง แต่ถ้าหากตกผิดช่อง หรือติดค้างอยู่ใน
ส่วนใดสวนหนึ่งของเครื่อง ถือว่าไม่ถูกต้อง


บทที่ 4

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 0



บทที่ 4


ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เครื่องแยกขวดและกระปอง มีวัตถุประสงคเพื่อ

ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เครื่องแยกขวดและกระปอง มีวัตถุประสงคเพื่อ
ประดิษฐเครื่องแยกขวดและกระปอง และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการแยกของเครื่องแยกขวดและ
ในการศึกษาโครงงานบูรณาการ เรื่อง เครื่องแยกขวดและกระป๋อง มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์
ประดิษฐเครื่องแยกขวดและกระปอง และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการแยกของเครื่องแยกขวดและ
กระปองโดยมีการนําเสนอผลปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
เครื่องแยกขวดและกระป๋อง และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการแยกของเครื่องแยกขวดและกระป๋องโดยมี
กระปองโดยมีการนําเสนอผลปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
การนำเสนอผลปฏิบัติโครงงาน ดังนี้
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
ผลการปฏิบัติโครงงาน
เครื่องแยกขวดและกระปองสําเร็จออกมา มีตัวโครงทําจากไม มีชองเปดดานบนและดานขาง เพื่อการ

เครื่องแยกขวดและกระป๋องสำเร็จออกมา มีตัวโครงทำจากไม้ มีช่องเปิดด้านบนและด้านข้าง เพื่อ
เครื่องแยกขวดและกระปองสําเร็จออกมา มีตัวโครงทําจากไม มีชองเปดดานบนและดานขาง เพื่อการ
แกไขและการเอาขยะออก พื้นเอียงทําจากฟวเจอรบอรด ติดตั้งแมเหล็กความเร็วสูง ตัวเครื่องมีขนาดกวาง 30
การแก้ไขและการเอาขยะออก พื้นเอียงทำจากฟิวเจอร์บอร์ด ติดตั้งแม่เหล็กความเร็วสูง ตัวเครื่องมีขนาดกว้าง
แกไขและการเอาขยะออก พื้นเอียงทําจากฟวเจอรบอรด ติดตั้งแมเหล็กความเร็วสูง ตัวเครื่องมีขนาดกวาง 30
เซนติเมตร ยาว 60 เซนติเมตร และสูง 60 เซนติเมตร แตเครื่องจะมีปญหาในการแยกขวดที่มีความยาวนอย
เซนติเมตร ยาว 60 เซนติเมตร และสูง 60 เซนติเมตร แตเครื่องจะมีปญหาในการแยกขวดที่มีความยาวนอย
30 เซนติเมตร ยาว 60 เซนติเมตร และสูง 60 เซนติเมตร แต่เครื่องจะมีปัญหาในการแยกขวดที่มีความยาว
กวา 18 เซนติเมตร
กวา 18 เซนติเมตร
น้อยกว่า 18 เซนติเมตร
การทดลองแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
การทดลองแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
การทดลองแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 1
สามารถบันทึกผลไดดังนี้
สามารถบันทึกผลได้ดังนี้
สามารถบันทึกผลไดดังนี้
สัญลักษณ √ คือ แยกไดถูกตอง สัญลักษณ X คือ ผิดพลาด
สัญลักษณ์ √ คือ แยกได้ถูกต้อง สัญลักษณ์ X คือ ผิดพลาด
สัญลักษณ √ คือ แยกไดถูกตอง สัญลักษณ X คือ ผิดพลาด
ตารางที่ 2 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
ตารางที่ 2 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 1
ตารางที่ 2 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
การแยก ครั้งที่
การแยก 1 2 3 4 5 ครั้งที่ 6 7 8 9 10
กระปองเหล็ก 1 √ 2 X 3 √ 4 √ 5 X 6 X 7 X 8 √ 9 X 10 √
กระปองอื่นๆ
กระปองเหล็ก √ √ X X √ √ √ √ X X X X X √ √ √ X X √ √
ขวดน้ํา
กระปองอื่นๆ √ √ X √ √ √ √ √ X X X √ √ √ √ √ X √ √ √
√ สามารถสรุปในเชิงสถิติและคิดเปนรอยละ โดยการเทียบสวนใหเปน 100 ได

ขวดน้ํา จากผลการทดลองที่ 2 √ √ X √ √ √ √ √
ดังนี้ จากผลการทดลองที่ 2 สามารถสรุปในเชิงสถิติและคิดเปนรอยละ โดยการเทียบสวนใหเปน 100 ได
ดังนี้
ตารางที่ 3 ตารางแสดงการสรุปข้อมูลในการแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 1
ตารางที่ 3 ตารางแสดงการสรุปขอมูลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
ตารางที่ 3 ตารางแสดงการสรุปขอมูลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 1
การแยก จํานวนครั้งที่ จํานวนครั้งที่ รอยละของจํานวน ประสิทธิภาพ
ถูกตอง
ผิดพลาด
ครั้งที่ถูกตอง
การแยก จํานวนครั้งที่ จํานวนครั้งที่ รอยละของจํานวน ประสิทธิภาพ
กระปองเหล็ก ถูกตอง ผิดพลาด  ครั้งที่ถูกตอง ขาดประสิทธิภาพ
5
5
x 100 = 50%
กระปองเหล็ก 5 5   ขาดประสิทธิภาพ
x 100 = 50%
กระปองอื่นๆ 6 4  X 100 = 60% ขาดประสิทธิภาพ

กระปองอื่นๆ 6 4   X 100 = 60% ขาดประสิทธิภาพ
ขวดน้ํา 9 1  X 100 =90% คอนขางมี

ขวดน้ํา 9 1   X 100 =90% ประสิทธิภาพ
คอนขางมี
จากขอมูลดังกลาว สามารถนํามาแสดงในรูปของแผนภูมิแทงดังนี้ ประสิทธิภาพ

จากขอมูลดังกลาว สามารถนํามาแสดงในรูปของแผนภูมิแทงดังนี้

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



จากข้อมูลดังกล่าว สามารถนำมาแสดงในรูปของแผนภูมิแท่งดังนี้



แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิแสดงรอยละของขวดและกระปองที่แยกไดถูกตองในครั้งที่ 1
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิแสดงรอยละของขวดและกระปองที่แยกไดถูกตองในครั้งที่ 1
100
100
80
80
60
60
40
40
20
20
0
0 กระปองเหล็ก กระปองอื่นๆ ขวด
กระปองเหล็ก กระปองอื่นๆ ขวด
รอยละที่แยกไดถูกตอง
รอยละที่แยกไดถูกตอง



จากการทดลองครั้งที่ 1 การแยกขวดนั้นค่อนข้างมีประสิทธิภาพ เพราะว่าขนาดของขวดนั้น
จากการทดลองครั้งที่ 1 การแยกขวดนั้นคอนขางมีประสิทธิภาพ เพราะวาขนาดของขวดนั้นใหญกวา
จากการทดลองครั้งที่ 1 การแยกขวดนั้นคอนขางมีประสิทธิภาพ เพราะวาขนาดของขวดนั้นใหญกวา
ใหญ่กว่าช่อง แต่อาจมีผิดพลาดเล็กน้อยจากการทิ้งแบบปา ขว้าง หรือเอาด้านก้นขวดลง ทำให้
ชอง แตอาจมีผิดพลาดเล็กนอยจากการทิ้งแบบปา ขวาง หรือเอาดานกนขวดลง ทําใหตกลงไปในชองกระปอง
ชอง แตอาจมีผิดพลาดเล็กนอยจากการทิ้งแบบปา ขวาง หรือเอาดานกนขวดลง ทําใหตกลงไปในชองกระปอง
มีวิธีแกไข
ตกลงไปในช่องกระป๋อง มีวิธีแก้ไข โดยการใส่ช่องทิ้งขยะแบบใหม่ที่เป็นการทิ้งแบบแนวนอน
โดยการใสชองทิ้งขยะแบบใหมที่เปนการทิ้งแบบแนวนอน
สวนการแยกกระปองนั้นขาด
มีวิธีแกไข โดยการใสชองทิ้งขยะแบบใหมที่เปนการทิ้งแบบแนวนอน สวนการแยกกระปองนั้นขาด
ประสิทธิภาพ เพราะมีแรงหลายๆแรงมากระทําตอกระปอง เชน แรงโนมถวง และความสูงในการปลอย ที่ทํา
ส่วนการแยกกระป๋องนั้นขาดประสิทธิภาพ เพราะมีแรงหลายๆแรงมากระทำต่อกระป๋อง เช่น แรงโน้มถ่วง
ประสิทธิภาพ เพราะมีแรงหลายๆแรงมากระทําตอกระปอง เชน แรงโนมถวง และความสูงในการปลอย ที่ทํา
ใหวัตถุมีความเรงเปลี่ยนไปจากที่คิดไว และแรงแมเหล็กมีผลนอยลง แกไขไดโดยการเปลี่ยนองศาของพื้นโคง
และความสูงในการปล่อย ที่ทำให้วัตถุมีความเร่งเปลี่ยนไปจากที่คิดไว้ และแรงแม่เหล็กมีผลน้อยลง แก้ไขได้
ใหวัตถุมีความเรงเปลี่ยนไปจากที่คิดไว และแรงแมเหล็กมีผลนอยลง แกไขไดโดยการเปลี่ยนองศาของพื้นโคง
และติดแมเหล็กเพิ่ม ตะแกรงดานลางก็สามารถระบายน้ําออกไดสวนหนึ่ง
โดยการเปลี่ยนองศาของพื้นโค้ง และติดแม่เหล็กเพิ่ม ตะแกรงด้านล่างก็สามารถระบายน้ำออกได้ส่วนหนึ่ง
และติดแมเหล็กเพิ่ม ตะแกรงดานลางก็สามารถระบายน้ําออกไดสวนหนึ่ง
การทดลองแยกขวดและกระปองครั้งที่ 2 (นําเครื่องมาปรับปรุงแกไข)
การทดลองแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 2 (นำเครื่องมาปรับปรุงแก้ไข)
การทดลองแยกขวดและกระปองครั้งที่ 2 (นําเครื่องมาปรับปรุงแกไข)
สามารถบันทึกผลได้ดังนี้
สามารถบันทึกผลไดดังนี้
สัญลักษณ์ √ คือ แยกได้ถูกต้อง สัญลักษณ์ X คือ ผิดพลาด
สามารถบันทึกผลไดดังนี้
สัญลักษณ √ คือ แยกไดถูกตอง สัญลักษณ X คือ ผิดพลาด
สัญลักษณ √ คือ แยกไดถูกตอง สัญลักษณ X คือ ผิดพลาด
ตารางที่ 4 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 2
ตารางที่ 4 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 2
ตารางที่ 4 ตารางแสดงการบันทึกผลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 2
การแยก
ครั้งที่
การแยก 1 2 3 4 5 ครั้งที่ 6 7 8 9 10

กระปองเหล็ก 1 X √ √ √ √ 6 X 7 √ 8 X 9 √ 10
2
3
5
4
กระปองอื่นๆ




กระปองเหล็ก √ X √ √ √ √ √ √ X √ √ X X √ √
X
ขวดน้ํา


กระปองอื่นๆ √ X √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ X √ √



จากผลการทดลองที่ 2 สามารถสรุปในเชิงสถิติและคิดเปนรอยละ โดยการเทียบสวนใหเปน 100 ไดดังนี้ √






ขวดน้ํา



จากผลการทดลองที่ 2 สามารถสรุปในเชิงสถิติและคิดเปนรอยละ โดยการเทียบสวนใหเปน 100 ไดดังนี้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 09


จากผลการทดลองที่ 2 สามารถสรุปในเชิงสถิติและคิดเป็นร้อยละ โดยการเทียบส่วนให้เป็น 100
ได้ดังนี้


ตารางที่ 5 ตารางแสดงการสรุปข้อมูลในการแยกขวดและกระป๋องครั้งที่ 2
ตารางที่ 5 ตารางแสดงการสรุปขอมูลในการแยกขวดและกระปองครั้งที่ 2

จํานวนครั้งที่
การแยก
ตารางที่ 5 ตารางแสดงการสรุปขอมูลในการแยกขวดและกร รอยละของจํานวน ประสิทธิภาพ
จํานวนครั้งที่ะปองครั้งที่ 2
ถูกตอง ผิดพลาด ครั้งที่ถูกตอง
การแยก จํานวนครั้งที่ จํานวนครั้งที่ รอยละของจํานวน ประสิทธิภาพ
กระปองเหล็ก 7 3  x 100 = 70% ขาดประสิทธิภาพ
ถูกตอง ผิดพลาด  ครั้งที่ถูกตอง
กระปองเหล็ก 8 7 2 3   X 100 = 80% ขาดประสิทธิภาพ
กระปองอื่นๆ
คอนขางมี
x 100 = 70%
 ประสิทธิภาพ

กระปองอื่นๆ 8 2  X 100 = 80% คอนขางมี

ขวดน้ํา 10 0 มีประสิทธิภาพ
 X 100 =100% ประสิทธิภาพ

0
จากขอมูลดังกลาว สามารถนํามาแสดงในรูปของแผนภูมิแทงดังนี้  X 100 =100% มีประสิทธิภาพ
10
ขวดน้ํา

จากข้อมูลดังกล่าว สามารถนำมาแสดงในรูปของแผนภูมิแท่งดังนี้
จากขอมูลดังกลาว สามารถนํามาแสดงในรูปของแผนภูมิแทงดังนี้
แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแสดงรอยละของขวดและกระปองที่แยกไดถูกตองในครั้งที่ 2
120 แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแสดงรอยละของขวดและกระปองที่แยกไดถูกตองในครั้งที่ 2
100
120
80
100
60
80
40
60
20
40
20 0
กระปองเหล็ก กระปองอื่นๆ ขวด
0
กระปองอื่นๆ
กระปองเหล็ก รอยละที่แยกไดถูกตอง ขวด

รอยละที่แยกไดถูกตอง
จากการทดลองครั้งที่ 2 การแยกขวดนั้นมีประสิทธิภาพ จากการแกไขแลว สวนกระปองนั้นยังมีปจจัย

หลายๆอยางอยู เชน ความเร็วในการปลอยแตละครั้ง จึงไมสามารถแยกได 100% จึงตองพัฒนาเครื่องตอไป
จากการทดลองครั้งที่ 2 การแยกขวดนั้นมีประสิทธิภาพ จากการแกไขแลว สวนกระปองนั้นยังมีปจจัย
จากการทดลองครั้งที่ 2 การแยกขวดนั้นมีประสิทธิภาพ จากการแก้ไขแล้ว ส่วนกระป๋อง

หลายๆอยางอยู เชน ความเร็วในการปลอยแตละครั้ง จึงไมสามารถแยกได 100% จึงตองพัฒนาเครื่องตอไป
นั้นยังมีปัจจัยหลายๆ อย่างอยู่ เช่น ความเร็วในการปล่อยแต่ละครั้ง จึงไม่สามารถแยกได้ 100% จึงต้อง

ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู
พัฒนาเครื่องต่อไป
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุมสาระการเรียนรู
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โดยการแยกขวดและกระปองนั้น อาศัยวิธีการ
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
แยกสารดวยวิธีตางๆไดเปนอยางดี เชน การกรอง ที่นํามาใชในการแยกน้ําและของเหลวที่หลงเหลืออยูออกไป
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โดยการแยกขวดและกระปองนั้น อาศัยวิธีการ
ไวใตตะแกรง การใชแมเหล็กดูด ลดความเร็วของกระปองเหล็กที่ตกลงมา และยังไดทราบความรูทางฟสิกส ที่
แยกสารดวยวิธีตางๆไดเปนอยางดี เชน การกรอง ที่นํามาใชในการแยกน้ําและของเหลวที่หลงเหลืออยูออกไป
มีปจจัยหลายๆอยางที่สงผลกระทบตอการแยก ไดแก แรงโนมถวง แรงเสียดทาน แรงแมเหล็ก ความเร็ว
ไวใตตะแกรง การใชแมเหล็กดูด ลดความเร็วของกระปองเหล็กที่ตกลงมา และยังไดทราบความรูทางฟสิกส ที่
พลังงาน เปนตน ปจจัยเหลานี้มีผลอยางมากตอลักษณะการเคลื่อนที่ของขวดและกระปอง ซึ่งการแยกโดยใช
มีปจจัยหลายๆอยางที่สงผลกระทบตอการแยก ไดแก แรงโนมถวง แรงเสียดทาน แรงแมเหล็ก ความเร็ว
วิธีการแยกสาร และสมบัติของสารที่ตางกันนั้น สามารถแยกไดสวนหนึ่ง
พลังงาน เปนตน ปจจัยเหลานี้มีผลอยางมากตอลักษณะการเคลื่อนที่ของขวดและกระปอง ซึ่งการแยกโดยใช
วิธีการแยกสาร และสมบัติของสารที่ตางกันนั้น สามารถแยกไดสวนหนึ่ง

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยงกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยการแยกขวดและกระป๋องนั้น อาศัยวิธีการ
แยกสารด้วยวิธีต่างๆได้เป็นอย่างดี เช่น การกรอง ที่นำมาใช้ในการแยกน้ำและของเหลวที่หลงเหลืออยู่ออกไป
ไว้ใต้ตะแกรง การใช้แม่เหล็กดูด ลดความเร็วของกระป๋องเหล็กที่ตกลงมา และยังได้ทราบความรู้ทางฟิสิกส์

ที่มีปัจจัยหลายๆอย่างที่ส่งผลกระทบต่อการแยก ได้แก่ แรงโน้มถ่วง แรงเสียดทาน แรงแม่เหล็ก ความเร็ว
พลังงาน เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้มีผลอย่างมากต่อลักษณะการเคลื่อนที่ของขวดและกระป๋อง ซึ่งการแยก
โดยใช้วิธีการแยกสาร และสมบัติของสารที่ต่างกันนั้น สามารถแยกได้ส่วนหนึ่ง


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สามารถคำนวณขนาดและปริมาตรของขวด
และกระป๋องได้ดังนี้ ขวดที่นำมามีรัศมีประมาณ 4 ซม. มีความสูงประมาณ 20 ซม. จะได้ปริมาตรโดยประมาณ
3.14 X 4 X 4 X 20 ≈ 1,004.8 ลบ.ซม. และกระป๋องน้ำอัดลมที่ทำจากอะลูมิเนียมที่นำมาเป็นตัวอย่าง
มีขนาดค่อนข้างใหญ่ และคาดว่าน่าจะเป็นขนาดที่ใหญ่ที่สุดแล้ว โดยมีรัศมีประมาณ 4 ซม. มีความสูงประมาณ

15 ซม. จะได้ปริมาตรโดยประมาณ 3.14 X 4 X 4 X 15 ≈ 753.6 ลบ.ซม และกระป๋องกาแฟที่ทำจากเหล็ก
มีขนาดเล็กกว่ากระป๋องน้ำอัดลม จึงสามารถตกลงไปในช่องกระป๋องได้ ซึ่งขวดนั้นมีขนาดใหญ่กว่ากระป๋อง
พอสมควร นอกจากนี้ยังนำความรู้ในเรื่องของแผนภูมิ และสถิติมาใช้ในการนำเสนอข้อมูลที่ได้


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปัจจุบันนี้เศรษฐกิจขยายตัว
มีการอุปโภคบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทั่วโลกได้พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยมูลค่าตลาด

ของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ
GDP ของแต่ละประเทศสามารถสรุปได้ดังนี้

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร สามารถคํานวณขนาดและปริมาตรของขวดและ
กระปองไดดังนี้ ขวดที่นํามามีรัศมีประมาณ 4 ซม. มีความสูงประมาณ 20 ซม. จะไดปริมาตรโดยประมาณ
3.14 X 4 X 4 X 20 ≈ 1,004.8 ลบ.ซม. และกระปองน้ําอัดลมที่ทําจากอะลูมิเนียมที่นํามาเปนตัวอยาง มี
ขนาดคอนขางใหญ และคาดวานาจะเปนขนาดที่ใหญที่สุดแลว โดยมีรัศมีประมาณ 4 ซม. มีความสูงประมาณ
15 ซม. จะไดปริมาตรโดยประมาณ 3.14 X 4 X 4 X 15 ≈ 753.6 ลบ.ซม และกระปองกาแฟที่ทําจากเหล็กมี
ขนาดเล็กกวากระปองน้ําอัดลม จึงสามารถตกลงไปในชองกระปองได ซึ่งขวดนั้นมีขนาดใหญกวากระปอง
พอสมควร

นอกจากนี้ยังนําความรูในเรื่องของแผนภูมิ และสถิติมาใชในการนําเสนอขอมูลที่ได
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปจจุบันนี้เศรษฐกิจขยายตัว

มีการอุปโภคบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทั่วโลกไดพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตนเองอยางตอเนื่อง โดยมูลคาตลาด
การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2
ของสินคาและบริการขั้นสุดทายที่ผลิตในประเทศในชวงเวลาหนึ่งๆ หรือผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ หรือ
GDP ของแตละประเทศสามารถสรุปไดดังนี้
ตารางที่ 6 ตารางแสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 10 อันดับแรกของโลก
ตารางที่ 6 ตารางแสดงผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ 10 อันดับแรกของโลก
มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (หมื่นลานดอลลารสหรัฐฯ)
อันดับ (ปจจุบัน) ประเทศ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558
(ทั้งป) (ทั้งป) (ถึงพฤศจิกายน)
1 สหรัฐอเมริกา 16,663 17,348 17,968
2 จีน 9,491 10,357 11,385
3 ญี่ปุน 4,920 4,602 4,116
4 เยอรมนี 3,746 3,874 3,371
5 สหราชอาณาจักร 2,678 2,950 2,865
6 ฝรั่งเศส 2,811 2,834 2,423
7 อินเดีย 1,875 2,051 2,183
8 อิตาลี 2,138 2,148 1,819
9 บราซิล 2,391 2,347 1,800
10 แคนาดา 1,839 1,785 1,573
จากการศึกษา พบวามีการบริโภคเครื่องดื่มเปนจํานวนมากในชุมชน ทําใหมีขยะเปนจํานวนมาก โดย
สินคาอุตสาหกรรมเกษตรคิดเปน 9.3% ของมูลคาการสงออกทั้งหมด (ป 2558) และเครื่องดื่มเปนสินคา
จากการศึกษา พบว่ามีการบริโภคเครื่องดื่มเป็นจำนวนมากในชุมชน ทำให้มีขยะเป็นจำนวนมาก
โดยสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรคิดเป็น 9.3% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด (ปี 2558) และเครื่องดื่มเป็นสินค้า
อันดับ 4 ในกลุมของสินคาอุตสาหกรรมเกษตร ดังนี้
อันดับ 4 ในกลุ่มของสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร ดังนี้


ตารางที่ 7 ตารางแสดงมูลค่าการส่งออกของสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 5 อันดับแรก

ตารางที่ 7 ตารางแสดงมูลคาการสงออกของสินคาอุตสาหกรรมการเกษตร 5 อันดับแรก
อันดับ สินคา มูลคาการสงออก (ลานบาท)
1 อาหารทะเลกระปองและแปรรูป 36,367.4
2 น้ําตาลทราย 22,014.7
3 ผลไมกระปองและแปรรูป 11,399.9
4 เครื่องดื่ม 10,200.9
5 อาหารสัตวเลี้ยง 8,521.9
ปจจุบันนี้พบวาสิ่งแวดลอมภายในเมืองใหญๆของประเทศไทย เชน กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ
นนทบุรี พบมลพิษเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะตามทองถนนที่มีมลพิษจากพาหนะ บนทางเทาก็มีขยะเปน
ปัจจุบันนี้ พบว่าสิ่งแวดล้อมภายในเมืองใหญ่ๆของประเทศไทย เช่น กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ
จํานวนมาก โดยพบขยะกลุมขวดพลาสติก ถุงขนม และขยะที่เกี่ยวของกับการบริโภคอาหารมากที่สุด
นนทบุรี พบมลพิษเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามท้องถนนที่มีมลพิษจากพาหนะ บนทางเท้าก็มีขยะ

กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
เป็นจำนวนมาก โดยพบขยะกลุ่มขวดพลาสติก ถุงขนม และขยะที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหารมากที่สุด
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ จากการศึกษาความหมายของศัพทตางๆ ได

ความหมายดังนี้

Aluminum แปลวา อะลูมิเนียม เปนโลหะที่มันวาว ดัดงาย และน้ําหนักเบา

Force แปลวา แรง

Friction แปลวา แรงเสียดทาน

Magnet แปลวา แมเหล็ก

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ใชสี รูปราง รูปทรง หลักดุลยภาพ และหลักเอกภาพ ใน
การออกแบบตัวเครื่อง ใหเครื่องดูมีความสวยงาม และนาใช

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ใชกระบวนการทางเทคโนโลยีใน
การออกแบบใหเครื่องมีความแข็งแรงในระดับหนึ่ง มีขั้นตอนดังนี้

1. กําหนดปญหาหรือความตองการ (Identify the problem)

2. รวบรวมขอมูล (Information gathering)

3. เลือกวิธีการ (Selection)

4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)

5. ทดสอบ (Testing)

6. ปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จากการศึกษาความหมายของศัพท์ต่างๆ

ได้ความหมายดังนี้
Aluminum แปลว่า อะลูมิเนียม เป็นโลหะที่มันวาว ดัดง่าย และน้ำหนักเบา
Force แปลว่า แรง
Friction แปลว่า แรงเสียดทาน

Magnet แปลว่า แม่เหล็ก

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ใช้สี รูปร่าง รูปทรง หลักดุลยภาพ และหลักเอกภาพ

ในการออกแบบตัวเครื่อง ให้เครื่องดูมีความสวยงาม และน่าใช้

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
ในการออกแบบให้เครื่องมีความแข็งแรงในระดับหนึ่ง มีขั้นตอนดังนี้


1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identify the problem)
2. รวบรวมข้อมูล (Information gathering)
3. เลือกวิธีการ (Selection)

4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
5. ทดสอบ (Testing)
6. ปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement)
7. ประเมินผล (Assessment)


ใช้เครื่องมือช่างต่างๆ ในการทำงานช่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างกรรไกร เลือกอันที่คมและ
ไม่ขึ้นสนิม หรือค้อน เลือกอันที่แข็งแรงทนทาน

ใช้โปรแกรม Microsoft Office Word ในการทำรายงาน โปรแกรม Microsoft Office Powerpoint
ในการนำเสนอ และโปรแกรม Adobe Photoshop ในการปรับแสงรูปและปรับความคมชัดให้เห็นได้ง่าย


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ใช้ภาษากึ่งทางการและทางการในการพิมพ์รายงาน
ใช้หลักภาษาที่ถูกต้อง คำเหมาะสมกับสถานการณ์ และจัดรูปเล่มอย่างเหมาะสม สะกดคำได้อย่างถูกต้อง

ได้แก่

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


1. บรรณานุกรม คำที่มักเขียนผิด บรรนานุกรม
2. บูรณาการ คำที่มักเขียนผิด บูรณการ

3. ประมาณ คำที่มักเขียนผิด ประมาน
4. เปอร์เซ็นต์ คำที่มักเขียนผิด เปอร์เซนต์
5. สันนิษฐาน คำที่มักเขียนผิด สันนิฐาน, สันนิษฐาณ

ใช้รูปแบบเล่มรายงานโดยมีคำนำ สารบัญ เนื้อเรื่อง บรรณานุกรม อย่างถูกต้อง


กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
เชื่อมโยงเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา ได้ใช้การปฐมพยาบาลพื้นฐาน เมื่อถูกฝุ่นเข้าตา
โดยลืมตาในน้ำสะอาด และเมื่อพลาดถูกค้อนทุบ ให้ไปประคบ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 5



สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ


จากการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่อง เครื่องแยกขวดกระป๋อง สามารถสรุปและอภิปรายผล
การปฏิบัติโครงงาน ดังนี้


สรุปผลปฏิบัติโครงงาน
เครื่องแยกขวดและกระป๋องประดิษฐ์ขึ้นเป็นเครื่องที่มีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 60

เซนติเมตร และสูง 60 เซนติเมตร มีรูปลักษณ์ภายนอกคือทำจากไม้ และมีด้านอะคริลิกใสทำให้เห็น
ด้านในได้ ด้านในมีทางลาดพื้นเอียง และพื้นโค้งที่ติดแม่เหล็กไว้ โดยในครั้งแรก เครื่องสามารถแยกขวดได้
ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ ส่วนการแยกกระป๋องนั้น ขาดประสิทธิภาพเท่าที่ควร แต่หลังจากปรับปรุงแก้ไขแล้ว
เครื่องสามารถแยกขวดได้มีประสิทธิภาพ การแยกกระป๋องเหล็กและอะลูมิเนียม ก็ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ
แต่อาจจะติดปัญหาบ้างเล็กน้อย


อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน
เครื่องแยกขวดน้ำและกระป๋องนี้ทางกลุ่มสามารถประดิษฐ์ผลงานออกมาได้ค่อนข้างเป็นไปตาม

สิ่งที่กลุ่มได้วางแผนไว้และตรงตามรูปแบบ และผลของการทดสอบการใช้เครื่องแยกขวดและกระป๋องอันนี้
ผลปรากฏว่าการแยกกระป๋องจะมีอุปสรรคและปัญหาอยู่บ้าง การแยกกระป๋องจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง
ความเร็ว แรงต่างๆ ความสูงที่ปล่อยกระป๋องลงมา เลยส่งผลให้ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรและตรงบริเวณ

ของพื้นเอียงที่ทำจากฟิวเจอร์บอร์ดจะไม่ค่อยแข็งแรงและทนทานเท่าที่ควร เนื่องจากลองทดสอบการทิ้งขวด
และกระป๋องจำนวนหลายๆ ครั้ง ทำให้พื้นเอียงเกิดการเอียงและองศาเปลี่ยน ทำให้เกิดการคลาดเคลื่อน
ในรอบหลังๆ ได้ ส่วนการแยกขวดออกจากกระป๋อง มีหลักการที่ค่อนข้างง่าย และชัดเจน อาจมีปัญหาบ้างเล็กน้อย
แต่สามารถหาวิธีใหม่ๆแก้ปัญหาต่อไปได้ เช่น การเปลี่ยนรูปร่างของเส้นทางที่ขวดจะตกลงไป นอกจากนี้
เครื่องนี้สามารถพิสูจน์หลักฟิสิกส์ได้หลายๆ อย่างอีกด้วย พลังงานจลน์จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามเวลาที่เคลื่อนที่

ส่วนพลังงานศักย์จะค่อยๆ ลดลงเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์

ปัญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไข


1. มีแรงที่มีมากระทำต่อการแยกหลายแรง ซึ่งทำให้ผลคลาดเคลื่อนได้ ซึ่งแรงที่มีผลอย่างมาก คือ
แรงโน้มถ่วง ที่ทำให้กระป๋องที่ตกลงมาจากที่สูงดว่าจะมีพลังงานศักย์สะสมมากกว่า และตกลงมาด้วยความ
เร่งที่มากกว่า

วิธีการแก้ไข : เพิ่มขนาดแม่เหล็กทำให้ลดความเร็วของกระป๋อง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



2. การทิ้งขยะของคนทิ้งอาจทิ้งได้ไม่ดีนัก บางคนอาจจะปา เขวี้ยง หรือกลิ้งลงมา ทำให้อาจจะผ่าน
ช่องที่แยกไปได้
วิธีการแก้ไข : สร้างช่องในการใส่กระป๋องเพื่อให้การทิ้งกระป๋องมีทิศทางเดียวกันในการเข้าสู่

เครื่องแยกกระป๋อง

3. ขวดบางชนิดมีรูปร่างที่ค่อนข้างเล็ก เช่น ขวดน้ำของโรงเรียน และขวดมีรูปทรง
ที่หลากหลายมาก เครื่องจึงไม่รองรับกับขวดแบบอื่นๆ ได้

วิธีการแก้ไข : แนะนำและระบุขนาดกระป๋องที่เครื่องสามารถแยกได้

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. สามารถสร้างเครื่องแยกขวดและกระป๋องได้
2. สามารถแยกขวดและกระป๋องได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะ

1. การเลือกวัสดุที่จะใช้ ควรจะเลือกวัสดุที่มีความทนทานและแข็งแรง เช่น พลาสติก
2. โครงงานประดิษฐ์ที่เกี่ยวกับการแยก ควรจะคำนึงถึงหลักฟิสิกส์ต่างๆ เช่น แรงโน้มถ่วง
แรงเสียดทาน ความเร็ว เป็นต้น และคำนึงถึงหลักความเป็นจริง เนื่องจากการคิดในทางทฤษฎีอาจทำได้

แค่ส่วนหนึ่ง
3. การประกอบเครื่อง ควรทำอย่างรอบคอบ และคิดหาทางแก้ไขเพื่อไว้ เช่น การทำให้เครื่องมีฝา
เปิดดูข้างใน จะได้แก้ปัญหาได้สะดวกขึ้น
4. เครื่องอาจนำไปใช้งานจริงไม่ได้ ถ้าหากมีหลักการที่ค่อนข้างซับซ้อน และยุ่งยาก จึงควรหา

ข้อมูลมาอย่างมาก และปรึกษาอาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



เอกสารอ้างอิง

การคัดแยกขยะมูลฝอย. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 19 สิงหาคม 2558, จาก

http://www.lpn.co.th/th/press/viewitem.aspx?nid=12

การแยกขยะ. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 19 สิงหาคม 2558, จาก
http://arts.kmutt.ac.th/ssc210/Group%20Project/ASSC210/2.48%20anurak%20forest


เบญจมาพร เพืองนุสร. (9 สิงหาคม 2556). วิธีการแยกสารด้วยวิธีต่างๆ. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 19 สิงหาคม
2558, จาก http://pimzazaza11.blogspot.com
ไพศาล นาคพิพัฒน์. “พลาสติกในชีวิตประจำวัน,” ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. เล่มที่ 28.


วงษ์พาณิชย์. (13 ธันวาคม 2556). รีไซเคิลขยะวัสดุพลาสติก. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 19 สิงหาคม 2558, จาก
http://wongpanit56.blogspot.com/2012/12/smes.html

สมไทย วงษ์เจริญ. (2551). คู่มือคัดแยกขยะประจำบ้าน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ วงษ์พาณิชย์.

สมพงษ์ จันทรโพธิ์ศรี. (2553). คู่มือวิทยาศาสตร์ ม.1-2-3 (ภาคเคมี). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.


สสารและการจำแนก. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 19 สิงหาคม 2558, จาก
http://nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Matter.htm

ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน, กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร์ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

อาณัติ ต๊ะปินตา. (2553). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2



ภาคผนวก

































ภาพที่ 3 ภาพทางลาดตรงในขณะที่ยังไม่ได้ ภาพที่ 4 ภาพทางพื้นเอียงในขณะที่ยังไม่ได้
ประกอบกับตัวเครื่อง ประกอบกับตัวเครื่อง



























ภาพที่ 5 ภาพการประดิษฐ์ตะแกรง โดยใช้ ภาพที่ 6 ภาพการวัดขนาดของกระปองชนิดต่างๆ
ฟวเจอร์บอร์ดตัดตรงกลางให้เป็นช่องๆ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




ภาคผนวก




























ภาพที่ 7 ภาพตัวโครงของเครื่อง ภาพที่ 8 ภาพเครื่องที่ติดพื้นเอียงและ
ช่องต่างที่กระปองจะตกลงไป
























ภาพที่ 9 ภาพเครื่องที่ติดทางลาดตรงด้านบน ภาพที่ 10 ภาพเครื่องที่ติดทางลาดตรงด้านบน
ที่ตัดเป็นช่องตามขนาดของขวด ที่ตัดเป็นช่องตามขนาดของขวดและ
และกระปอง และช่องสำหรับขวด กระปองและช่องสำหรับขวดและกระปอง

หลังปรับปรุงแก้ไข

เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง


โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม



กระเทียม และกระเจี๊ยบแดง

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


















เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก
มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบแดง



ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 441 กลุ่มที่ 8


1. ด.ช.จิตติภัทร ชนแสง เลขที่ 6
2. ด.ญ.ปภากร อัจฉรานุกูล เลขที่ 28
3. ด.ช.สรวิชญ์ มุกดาวรรณกร เลขที่ 44
4. ด.ญ.สุพิชญา เวทวงษ์ เลขที่ 45

5. ด.ญ.อิงคิศรา มุติตาภรณ์ เลขที่ 48





อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ
อาจารย์วัฒนโชติ เพ็งพริ้ง
อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ





เสนอ

คณะกรรมการสอบโครงงานบูรณาการ


รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงงานบูรณาการ

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


บทคัดย่อ


ชื่อโครงงาน เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม
กระเทียมและ กระเจี๊ยบแดง

ชื่อผู้ปฏิบัติโครงงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 441 กลุ่มที่ 8

ด.ช.จิตติภัทร ชนแสง เลขที่ 6

ด.ญ.ปภากร อัจฉรานุกูล เลขที่ 28
ด.ช.สรวิชญ์ มุกดาวรรณกร เลขที่ 44
ด.ญ.สุพิชญา เวทวงษ์ เลขที่ 45
ด.ญ.อิงคิศรา มุติตาภรณ์ เลขที่ 48


อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ
อาจารย์วัฒนโชติ เพ็งพริ้ง
อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ



บทคัดย่อ

โครงงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก มะนาว
ทับทิม กระเจี๊ยบ และกระเทียม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดของ มะนาว
ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบ ต่อการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง และเพื่อศึกษาอัตราส่วนของสารสกัด
จากสมุนไพร ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และ ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา โดยมีวิธีการทดลองดังนี้
ขั้นตอนที่1 ผลิตขนมปังปกติ ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ผสมน้ำทับทิม ผสมน้ำกระเทียมและผสม
น้ำกระเจี๊ยบ นำมาทดสอบว่าน้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดสามารถชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อรา
ในขนมปังได้หรือไม่ โดยเปรียบเทียบกับระยะเวลาในการเกิดเชื้อราของขนมปังปกติ โดยควบคุมให้อยู่
ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน ทดลองทั้งหมด 3 ครั้ง และมีการสังเกต บันทึกผลทุกวัน ปรากฏว่าค่าเฉลี่ย
ในการเกิดเชื้อราแต่ละชนิดดังนี้ 1) ขนมปังปกติที่ไม่ได้ผสมน้ำสมุนไพร 3.33 วัน 2) ขนมปังผสมน้ำกระเจี๊ยบ
5.33 วัน 3) ขนมปังผสมน้ำกระเทียม 6 วัน 4) ขนมปังผสมน้ำมะนาว 6.33 วัน และ 5) ขนมปังผสมน้ำทับทิม
6.33 วัน ขั้นตอนที่ 2 นำขนมปังที่ผสมน้ำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด ในอัตราส่วน 1:4, 2:3, 3:2, 4:1, 5:0
โดยควบคุมให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน สังเกตการเกิดเชื้อราในขนมปังแต่ละอัตราส่วน โดยบันทึก
ผลทุกวัน ทดลองซ้ำ 3 ครั้ง ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยในการเกิดเชื้อราแต่ละชนิดดังนี้ 1) ขนมปังที่ผสม น้ำทับทิม
ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.67 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่
6.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม
ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำทับทิม ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.67
วัน 2) ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม
ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 6 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียมในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




6.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเทียม
ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน 3) ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่
5.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่ 5.67 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว
ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.67
วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำมะนาว ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อราที่ 7.33 วัน 4) ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ
ในอัตราส่วน 1:4 เริ่มมีเชื้อราที่ 4.67 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 2:3 เริ่มมีเชื้อราที่
5.33วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 3:2 เริ่มมีเชื้อราที่ 6 วัน ,ขนมปัง ที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ
ในอัตราส่วน 4:1 เริ่มมีเชื้อราที่ 6.33 วัน ,ขนมปังที่ผสมน้ำกระเจี๊ยบ ในอัตราส่วน 5:0 เริ่มมีเชื้อรา
ที่ 7 วัน

ดังนั้นจากผลการทดลองจึงสรุปได้ว่า น้ำสมุนไพรที่นำมาใช้เป็นส่วนประกอบของขนมปัง
เพื่อชะลอและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราแต่ละชนิด สามารถใช้ในการชะลอและยับยั้ง
การเจริญเติบโตของเชื้อราได้จริง โดยให้ผลที่แตกต่างกัน โดยน้ำจากทับทิมจะสามารถใช้ได้ดีที่สุด
มะนาวและกระเทียมใช้ได้ดีรองลงมาและกระเจี๊ยบใช้ได้ดีน้อยที่สุดและขนมปังที่ใส่น้ำสมุนไพร
เป็นส่วนประกอบ จะส่งผลให้เชื้อราใช้เวลาในการเจริญเติบโตช้ากว่าขนมปังที่ไม่มีน้ำสมุนไพร
เป็นส่วนประกอบ ยิ่งใช้อัตราส่วนของการใช้น้ำสมุนไพรมากขึ้น จะส่งผลให้ระยะเวลาในการขึ้นรา
ของขนมปังมากขึ้นเช่นเดียวกัน หรือก็คือน้ำสมุนไพรที่ใส่เป็นส่วนประกอบของขนมปังสามารถ
ช่วยชะลอและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้จริง


คำสำคัญ : เชื้อรา ขนมปัง ประสิทธิภาพการยับยั้ง สารสกัด
จำนวนหน้า : 42 หน้า

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม

กระเจี๊ยบ และกระเทียม นี้ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เป็นผลมาจากการเอื้อเฟื้อในการให้คำแนะนำและแก้ไข
ข้อบกพร่องต่างๆ จากบุคคลหลายท่าน คณะผู้จัดทำรู้สึกขอบคุณและซาบซึ้งในความช่วยเหลือจากทุกๆ ท่าน
อย่างยื่ง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณทุกๆท่าน ดังนี้

กราบขอบพระคุณ อาจารย์สุกัลยา ฉายสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ให้ความรู้ คำแนะนำ

และได้เมตตาให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน

กราบขอบพระคุณ อาจารย์วัฒนโชติ เพ็งพริ้ง อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ให้ความรู้ คำแนะนำ
ในการจัดทำโครงงาน


กราบขอบพระคุณ อาจารย์สุนทร ภูรีปรีชาเลิศ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ให้ความรู้พื้นฐาน
ในการจัดทำโครงงานและคำแนะนำในการจัดทำรูปเล่ม

กราบขอบพระคุณ อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ทุกท่านที่ให้ความรู้ คำแนะนำ ในการจัดทำโครงงาน


กราบขอบพระคุณ ผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่มทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือทั้งเสียสละเวลาและ
การจัดหาอุปกรณ์ในการทดลอง การทำรายงานต่างๆให้ทางกลุ่ม

อีกทั้งขอขอบพระคุณ ผู้เป็นเจ้าของเอกสารงานวิจัยและตำราที่คณะผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้า
และนำมาอ้างอิงจนทำให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี


สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ได้ให้ความร่วมมือเสียสละเวลาและช่วยกันให้โครงงาน
ชิ้นนี้ประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์





คณะผู้จัดทำ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



คำนำ

โครงงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม

กระเจี๊ยบ และกระเทียม เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้กิจกรรมโครงการบูรณาการ ซึ่งโรงเรียนได้เปิด
โอกาสให้เลือกศึกษาได้อย่างอิสระ ตามความถนัดและตามความสนใจ ทำให้นักเรียนได้มีโอกาสได้พัฒนา
ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ มีความเชื่อมโยงกับความรู้ที่ได้จากชั้นเรียนมาประยุกต์ใช้หรือนำมาใช้เป็น
เครื่องมือในการค้นหาคำตอบในโครงงานบูรณาการที่ได้เลือกศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยศึกษาความเชื่อมโยง

ผ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพแลเทคโนโลยี
และภาษาต่างประเทศ


โครงงานนี้ได้แนวคิดมาจากการที่เก็บขนมปังไว้นานๆในอากาศที่มีความชื้นนั้นก็จะมีเชื้อรา
เกิดขึ้นบนขนมปังได้ง่าย เกิดปัญหารับประทานขนมปังยังไม่หมดก็เกิดเชื้อราขึ้นแล้วจนต้องทิ้งไปทั้งหมด
และพบว่ามะนาว ทับทิม กระเจี๊ยบและกระเทียม มีคุณสมบัติช่วยชะลอการเกิดของเชื้อรา ดังนั้นจึงได้คิด
ทดลองทำขนมปังที่มีส่วนผสมของสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเจี๊ยบและกระเทียม เพื่อให้ได้ขนมปัง
ที่มีเชื้อราขึ้นช้ากว่าขนมปังทั่วไป ทำให้สามารถเก็บรักษาได้นานและรับประทานได้ นอกจากจะเปรียบเทียบ

ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปังของพืชสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดแล้ว ยังศึกษาอัตราส่วนของสารสกัด
จากสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราด้วย

ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานบูรณาการเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้มา
ศึกษาเป็นอย่างดี และทางคณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนให้รายงานโครงงานบูรณาการฉบับนี้สำเร็จมา

ณ โอกาสนี้ด้วย







คณะผู้จัดทำ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ค
คำนำ ง
สารบัญ จ

บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2

ปัญหาของโครงงาน 2
สมมติฐาน 2
ขอบเขตของโครงงาน 3
นิยามเชิงปฏิบัติการ 3
แผนการดำเนินโครงงาน 4

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5
ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 6
บทที่ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 7

บทที่ 3 วิธีปฏิบัติโครงงาน 20
วัสดุอุปกรณ์ 20
วิธีปฏิบัติโครงงาน 21
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติโครงงาน 24
ผลการปฏิบัติโครงงาน 24

ผลการสำรวจความพึงพอใจ 31
ผลการศึกษาโครงงานเชื่อมโยง 8 กลุ่มสาระ 33
บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับและข้อเสนอแนะ 36

สรุปผลการปฏิบัติโครงงาน 36
อภิปรายผลการปฏิบัติโครงงาน 37
ปัญหา/อุปสรรคและวิธีการแก้ไข 37
ประโยชน์ที่ได้รับ 38
ข้อเสนอแนะ 38

เอกสารอ้างอิง 39
ภาคผนวก 40
รูปภาพประกอบการทำขนมปัง 40

แบบสอบถามความพึงพอใจ 42

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 1



บทนำ

ที่มาและความสำคัญ
ในชีวิตประจำวันรอบๆตัวเรามีสารเคมีต่างๆมากมาย ซึ่งมีลักษณะต่างกัน และก่อให้เกิดผล

ทั้งที่เป็นประโยชน์และที่เป็นโทษแก่ตัวเรา โดยเฉพาะสารเคมีที่มีผลต่อสุขภาพของเราโดยตรง
คือ สารเคมีทีเจือปนลงในอาหาร โดยผู้ผลิตมักใส่สารเคมีเพื่อเพิ่มความสดใส รสชาติ หรืออายุของอาหาร
ในปริมาณที่มากเกินไป จึงทำให้เกิดสารตกค้าง และก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค

ปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องใช้ชีวิตด้วยความเร่งรีบ เพื่อแข่งกับเวลา ทั้งสภาพที่อยู่อาศัย และลักษณะ

นิสัยในการบริโภคอาหารก็เปลี่ยนไปจากอดีต ขนมปังจึงเป็นอาหารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตมากขึ้น
เพราะหาซื้อง่ายสะดวกและมีหลากหลายชนิดให้เลือกตามความต้องการ ขนมปังนอกจากมีสารอาหาร
ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้ว ผู้ผลิตบางรายยังใส่สารป้องกันเชื้อรา เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีอายุที่ยาวนานขึ้น

สารที่นิยมใช้เป็นสารกันเชื้อราในผลิตภัณฑ์ขนมปัง เช่น กรดโปรปิโอเนต เกลือโปรปิโอเนต แคลเซียมโปรปิโอเนต
ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสารปรุงแต่งอาหารที่ปลอดภัยตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปี 2547
โดยเติมลงในอาหารได้ในปริมาณที่เหมาะสมซึ่งหมายถึงปริมาณที่น้อยที่สุด ที่ทำให้เกิดผลที่ต้องการภายใต้
กระบวนการผลิตที่ดี (GMP) แม้ว่ากฏหมายจะไม่ได้ระบุปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ได้ เนื่องจากกรดโปรปิโอนิก
และเกลือโปรปิโอเนต ไม่ทำให้เกิดพิษที่เฉียบพลันหรือรุนแรงหากบริโภคในปริมาณน้อย แต่มีรายงาน

การวิจัยว่าการบริโภคอาหารที่มีสารแคลเซียมโปรปิโอเนตปริมาณสูงติดต่อกันเป็นเวลานาน จะมีผลยับยั้ง
การเจริญเติบโตในสัตว์ทดลอง และอาจส่งผลให้เกิดพฤติกรรมสมาธิสั้นในเด็ก โดยสาเหตุที่ผู้ผลิตเจือปน
สารเหล่านี้ลงในอาหาร ก็คือ เพื่อป้องกันการเน่าบูด อาหารเสีย ทำให้ช่วงเวลาที่รับประทานได้นานขึ้น ทำให้

สามารถจำหน่ายได้มากขึ้นจากการเปรียบเทียบวันหมดอายุของอาหารกับอาหารของเครื่องหมายการค้าอื่น
ขนมปังเป็นอาหารที่เกิดจากการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการเปลี่ยนแป้งเป็นขนมปัง ซึ่งส่งผลให้ขนมปัง
เป็นอาหารที่มีช่วงเวลาหลังวันผลิตถึงวันหมดอายุเพียงไม่นาน และถ้ามีอากาศถ่ายเทจะทำให้ราขึ้นได้ง่ายมาก
เมื่อขนมปังหมดอายุจะสังเกตได้จากรสชาติที่เปลี่ยนไป เนื้อขนมปังจะแข็งขึ้น และจะมีเชื้อราเกิดขึ้นบนขนมปัง
เชื้อรา เป็นจุลินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสังเคราะห์แสงสร้างอาหารเองได้ ดํารงชีวิต

ได้โดยการดูดซึมสารอาหารจากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต และการอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เชื้อรา
ส่วนใหญ่เจริญได้ดีที่อุณหภูมิประมาณ 25-30 องศาเซลเซียสและมีความชื้นสูง เชื้อราเป็นพวกที่ต้องการ
ออกซิเจนและชอบความเป็นกรด เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใกล้ชิดกับคนเรา อย่างที่เราเองก็คาดไม่ถึง เมื่อมองไปรอบๆ

ไม่ว่าจะเป็นใน ดิน น้ำ อากาศ ต้นไม้ สัตว์ สิ่งไม่มีชีวิตหรือแม้กระทั่งภายในร่างกายของเรา เชื้อราจะมีอยู่
ทุกๆ ที่ เรามักจะคุ้นเคยกับภาพเส้นใยเชื้อราที่ขึ้นพองฟูตามขนมปังและเมล็ดพืชต่างๆ รวมทั้งโรคที่เกิดจาก
เชื้อรา เช่น โรคเชื้อราในหนังศีรษะ หรือ รังแค โรคน้ำกัดเท้า หรือ ฮ่องกงฟุต

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


สาเหตุที่ผู้จัดทำเลือกใช้ขนมปังในการทดสอบ คือ ขนมปังสามารถหาได้ง่ายตามท้องตลาด
หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป เป็นอาหารที่คนทั่วไปนิยมรับประทาน เพราะให้พลังงานเพียงพอสำหรับดำเนิน

ชีวิตประจำวัน ใช้เวลาทานไม่นาน และขนมปังมีแป้งเป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้เหมาะสมต่อการอาศัยและ
การเจริญเติบโตของเชื้อรา โดยทั่วไปการเก็บขนมปังในตู้เย็นจะยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราทำให้ขนมปัง
มีอายุการเก็บรักษาที่ยาวนานยิ่งขึ้น แต่ในกรณีนี้ผู้จัดทำเลือกศึกษาการเก็บขนมปังไว้ที่อุณหภูมิห้อง
จึงทำให้ขนมปังมีอายุการเก็บรักษาที่สั้นกว่าการเก็บในตู้เย็น รวมทั้งเป็นสภาวะที่ทำให้เชื้อราเจริญเติบโตได้เร็ว

ส่งผลให้การศึกษาในครั้งนี้เห็นผลการทดลองได้เร็ว มีกรอบระยะเวลาการศึกษาอยู่ในระยะเวลาที่เหมาะสม

จากการศึกษาข้อมูลในเบื้องต้นพบว่า สมุนไพรหลายๆชนิดมีสารที่เป็นประโยชน์ที่สามารถชะลอ
ยับยั้ง และกำจัดเชื้อราได้ ผู้จัดทำจึงได้วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมของสมุนไพรต่างๆที่มีความสามารถ
ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรามาใช้ในทดลอง และเพื่อให้มีความน่าสนใจผู้จัดทำการทดลองจึงเลือก

ทับทิมและกระเจี๊ยบมาในเปรียบเทียบในการทดลอง และเพื่อที่จะให้สารที่นำมาทดลองมีค่าความเป็นกรด-เบส
(pH) ที่แตกต่างกัน ผู้ทดลองจึงเลือกใช้มะนาวที่มีความเป็นกรดมาเป็นหนึ่งในสมุนไพรตัวที่ใช้ในการทดลอง
และเพื่อที่จะได้เปรียบเทียบกับขนมปังที่มีผู้ทดลองทำออกมาแล้วจึงได้ใช้กระเทียม สมุนไพรที่คนไทย
นิยมใช้ประกอบอาหารหลายๆชนิดเป็นหนึ่งในสมุนไพรทดลองด้วยเช่นกัน


ผู้จัดทำจึงสนใจการผลิตขนมปังโดยใช้สารสกัดจากสมุนไพรที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่มะนาว ทับทิม
กระเจี๊ยบ และกระเทียม เป็นส่วนผสม เปรียบเทียบกับขนมปังธรรมดา ซึ่งจากการค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้น
พบว่า มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบ มีสรรพคุณในการยับยั้งและชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อรา

ผู้จัดทำจึงสนใจเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบน ขนมปัง และพิสูจน์ว่าพืชดังกล่าวสามารถ
ยับยั้งเชื้อราได้จริง รวมทั้งศึกษาอัตราส่วนที่ใช้เป็นส่วนผสมต่อประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา และความพึงพอใจ
ในรสชาติของขนมปัง

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

1. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดของ มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบต่อการ
ยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง
2. เพื่อศึกษาอัตราส่วนของสารสกัดจากสมุนไพร ที่มีผลต่อรสชาติขนมปัง และ ประสิทธิภาพ
ในการยับยั้งเชื้อรา


ปัญหาของโครงงาน
1. มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบ สมุนไพรชนิดใดยับยั้งเชื้อราบนขนมปังได้ดีกว่ากัน

2. ความเข้มข้นของสารสกัดจากสมุนไพรสูงมีประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อราสูงกว่าความเข้มข้นต่ำ
ใช่หรือไม่

สมมติฐาน

1. ขนมปังที่มีส่วนผสมของสมุนไพรชนิดต่างๆขึ้นราช้ากว่าขนมปังธรรมดา
2. ความเข้มข้นของสารสกัดจากสมุนไพรมีผลต่อการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ขอบเขตของโครงงาน
ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น : สมุนไพร 4 ชนิด คือ มะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบแดง,
อัตราส่วนในการผสมน้ำสมุนไพร
ตัวแปรตาม : ระยะเวลาที่สามารถชะลอเชื้อรา
ตัวแปรควบคุม : ชนิดของขนมปัง อุณหภูมิเก็บรักษา ส่วนผสมอื่นๆของขนมปัง


เครื่องมือที่ใช้
1. ตารางแสดงเปรียบเทียบระยะเวลาในการเกิดเชื้อรา ของขนมปังที่มีสมุนไพรชนิดต่างๆ
เป็นส่วนผสม
2. แบบบันทึกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลและแบบสอบถามความพึงพอใจ


ระยะเวลาดำเนินงาน
ระหว่างวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2558 ถึงประมาณเดือนมกราคม พ.ศ. 2559

สถานที่ดำเนินงาน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน และบ้านของสมาชิกในกลุ่ม

งบประมาณ/ทรัพยากร
งบประมาณในการดำเนินการ 600 บาท


นิยามเชิงปฏิบัติการ
1. ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา หมายถึง ระยะเวลา ตั้งแต่เสร็จสิ้นกระบวนการผลิตขนมปัง
จนถึง ขนมปังเริ่มมีเชื้อราขึ้น โดยถ้าระยะเวลามาก ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราก็จะมาก

2. เชื้อรา หมายถึง ราดำในขนมปัง (Rhizopus) เป็นสกุลของราที่สร้างเส้นใย พบในดิน ผักและ
ผลไม้ที่กำลังย่อยสลาย และขนมปังเก่า
3. ขนมปังที่มีส่วนผสมของสมุนไพร หมายถึง การนำสมุนไพรผสมกับขนมปัง ในอัตราส่วนต่างๆ
ตามที่กำหนดใน บทที่ 3

4. ขนมปังธรรมดา หมายถึง ขนมปังที่มีส่วนผสมปกติ ตามที่กำหนดในบทที่ 3 โดยไม่มีการผสม
สมุนไพรลงไป
5. การสกัดสมุนไพรด้วยน้ำ หมายถึง การใช้น้ำเป็นตัวทำละลายในการสกัดในอัตราส่วนต่างๆ
ตามที่กำหนดใน บทที่ 3 โดยนำสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดมาปั่นให้ละเอียด กรองเอาส่วนที่เป็นกาก

ออกไป
6. อัตราส่วน ในการผสมน้ำสมุนไพร หมายถึง น้ำหนักของสมุนไพร(กรัม) ต่อ น้ำหนักของน้ำที่ใช้
สกัด (กรัม)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9

แผนการดำเนินโครงงาน
แผนการดําเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดำเนินโครงงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดําเนินโครงงาน

ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณ/ ผูรับผิดชอบ
ดําเนินงาน ทรัพยากร
1.ขั้นตอนการ
เตรียมการ
การตกลงคัดเลือกหัวขอ 15 ก.ค. 58 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ที่สนใจ ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
ปทุมวัน
การตั้งชื่อเรื่อง 29 ก.ค. 58 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
ปทุมวัน
การออกแบบ 1 ส.ค. 58 – สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
กระบวนการ 12 ส.ค. 58 ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
ปทุมวัน

การวางแผนดําเนินงาน 1 ส.ค. 58 – สาธิตมหาวิทยาลัย  สมาชิกทุกคนใน
12 ส.ค. 58 ศรีนครินทรวิโรฒ กลุม
ปทุมวัน
การนําเสนอโครงงาน 26 ส.ค. 58 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ผานอาจารยที่ปรึกษา ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
3 ทาน ปทุมวัน
การปรับปรุงวิธีการ เริ่มตั้งแต 26 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ออกแบบกระบวนการ ส.ค. 58 จนจบ ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
ตามคําแนะนําของ การทําโครงงาน ปทุมวัน
อาจารยที่ปรึกษา
2. ขั้นตอนการ
ดําเนินการ
จัดเตรียมอุปกรณในการ 3 ต.ค. 58 –4 รานเบเกอรี่ 300 บาท จิตติภัทร
ทําขนมปง ต.ค. 58

จัดหามะนาว ทับทิม 3 ต.ค. 58 –4 ตลาด 200 บาท สุพิชญา
กระเจี๊ยบ กระเทียม ต.ค. 58 สรวิชญ
นํามาสกัด โดยใช
อัตราสวนของสารสกัด
จากสมุนไพรตอน้ํา ที่
แตกตางกัน

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณ/ ผูรับผิดชอบ
ดําเนินงาน ทรัพยากร
ทําขนมปง 5 ชนิด 5 ต.ค. 58 รานเบเกอรี่ 100 บาท จิตติภัทร
ขนมปง Homemade ปภากร
ธรรมดา อิงคิศรา
ขนมปง Homemade
ผสมกระเทียม
ขนมปง Homemade
ผสมน้ํามะนาว
ขนมปง Homemade
ผสมน้ําทับทิม
ขนมปง Homemade
ผสมน้ํากระเจี๊ยบ
นําขนมปง 5 ชนิดมา 5 ต.ค. 58 – 5 บานจิตติภัทร จิตติภัทร
เปรียบเทียบสังเกตการ พ.ย. 58
ขึ้นรา โดยควบคุม 
อุณหภูมิ ที่ อุณหภูมิหอง
บันทึกผลการทดลอง 5 พ.ย. 58 บานจิตติภัทร  สมาชิกทุกคน
ประเมินความพึงพอใจ 6 พ.ย. 58 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ในรสชาติของขนมปง ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
ปทุมวัน
เรียบเรียงขอมูล จัดทํา 7 พ.ย. 58 – 6 สาธิตมหาวิทยาลัย สุพิชญา
เปนรูปเลม และนําเสนอ ธ.ค. 58 ศรีนครินทรวิโรฒ  สรวิชญ
โครงงาน ปทุมวัน
3.ขั้นตอนการ
ประเมินผล
นักเรียนรวมกัน 7 ธ.ค. 58 สาธิตมหาวิทยาลัย สมาชิกทุกคนใน
ประเมินผลดาน ศรีนครินทรวิโรฒ  กลุม
กระบวนการทํางาน ปทุมวัน


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ทราบถึงประสิทธิภาพสารสกัดของมะนาว ทับทิม กระเทียม และกระเจี๊ยบ ต่อการยับยั้งเชื้อรา
1. สารสกัดจากสมุนไพรชนิดตางๆ สามารถยืดอายุขนมปงเมื่อถูกเก็บในสภาวะที่ไมเหมาะสมไดจริง
2. ไดขนมปงที่มีรสชาติแปลกใหม สามารถรับประทานได
บนขนมปัง

2. ทราบถึงอัตราส่วนของสารสกัดจากสมุนไพรที่มีผลต่อรสชาติและประสิทธิภาพในการยับยั้ง
เชื้อราบนขนมปัง

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2





ผังความคิดการบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน




บทที่ 2



ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


ในการศึกษาโครงงานบูรณาการเรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราบนขนมปัง
โดยสารสกัดจาก มะนาว ทับทิม กระเทียม และ กระเจี๊ยบแดง กลุ่มผู้ปฏิบัติโครงงานได้ศึกษาเอกสารและ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. นิยามศัพท์เฉพาะ
1.1 เชื้อรา หมายถึง สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ หรือที่เราเรียก จุลชีพ จัดอยู่ในกลุ่มสิ่งมีชีวิตประเภท

Eukaryote จำพวกหนึ่ง ที่แยกจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อปรสิต คือ Kingdom Mycota หรือ FUNGI
Fungal refers to what we call the tiny organisms or organisms classified as one creature
type Eukaryote species isolated from bacteria, viruses and parasites, the Kingdom Mycota

or FUNGI.
1.2 เชื้อ Aspergillus flavus และ A.parasiticus หมายถึง เป็นเชื้อรา (mold) ชนิดหนึ่ง
อยู่วงศ์ Aspergillus เป็นสาเหตุสำคัญทีทำให้อาหารเสื่อมเสีย (microbial spoilage)และผลิตสารพิษ
ไมโคทอกซิน (mycotoxin) ซึ่งมีชื่อว่า อะฟลาทอกซิน (aflatoxin) ที่เป็นอันตรายเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งตับ


Infections Aspergillus flavus and A.parasiticus refers to a fungus (mold) species.
located Wong Aspergillus as a major cause of food deterioration (microbial spoilage) and.
produce toxins no cattle toxin (mycotoxin) called AFB Xin. (aflatoxin) that are harmful
to the cause of liver cancer


2. ประวัติขนมปัง
ชาวสวิสที่อาศัยอยู่ตามทะเลสาบในยุคหินเป็นผู้ริเริ่มนำเมล็ดช้าวสาลีมาบดโดยใช้ครกหยาบๆ ตำ

แล้วนำไปผสมน้ำ แล้วนำไปเทลงบนหินร้อนๆ เพื่อให้สุก ผลที่ได้คือขนมปังที่ขึ้นฟูโดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งค้นพบ
มากว่า 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล ประวัติที่ยอมรับสืบเนื่องกันมาก็คือพวกทาสในสมัยราชวงศ์อียีปต์ ได้ผสม
ก้อนแป้งที่ลืมทิ้งไว้ลงไปในแป้งที่ผสมเสร็จใหม่ๆ ผลที่ได้คือแป้งที่เบาและเลิศรส


ความรู้เกี่ยวกับขนมปัง ได้แพร่หลายจากอียิปต์ไปสู่ภูมิภาคต่างๆ แถบเมดิเตอเรเนียนในกลุ่ม
เยรูซาเล็มโบราณ รวมทั้งเมืองเล็กเมืองน้อยที่อยู่บนเส้นทางค้าขายของพวกตะวันออกกลาง การทำผลิตภัณฑ์
เบเกอรี่ก็ได้เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ซึ่งในยุคนั้นขนมปังที่ผลิตออกมาจะมีขนาดเล็ก คล้ายกับ
ขนมปังดินเนอร์โรลในปัจจุบัน คนโบราณส่วนมากนิยมใช้ขนมปังแบนๆ ที่ไม่ทิ้งให้ขึ้นฟูในโอกาสพิเศษ เช่น

พิธีทางศาสนา พวกกลุ่มพ่อค้าชาวโพนิเชียน เป็นพวกแรกที่เผยแพร่การทำขนมปังในขณะที่พวกเขา
มุ่งไปค้าขายทางตะวันออก ไปยังเปอร์เซียและไกลกว่านั้น และดูเหมือนว่า ชาวกรีกยุคแรกได้เรียนรู้
การทำขนมปังที่ขึ้นฟูมาจากพวกกลุ่มโพนิเซียน 1000 ปีก่อนคริสตกาล ในศตวรรษต่อมา วิวัฒนาการในศิลปะ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


การทำขนมปังก้าวหน้ามาก พวกกลุ่มก้าวหน้ากรีกได้ประดิษฐ์หินโม่แป้งสาลี และผลิตแป้งออกมา
ถึงสี่ชนิด ซึ่งชนิดหนึ่งนั้นเป็นแป้งขาว White flour ได้ดัดแปลงเตาอบแบบอียีปต์โบราณมาเป็นเตาอบ

แบบใช้อิฐก่อเป็นรูปโดม ซึ่งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขิ้น พวกกรีกนั้นใช่แต่จะเป็นผู้ผลิตขนมปังขาวที่มีคุณภาพ
เยี่ยมเท่านั้น แต่ยังได้ผลิตขนมเค้ก และขนมนานาชนิด โดยใช้ส่วนผสมกับนม น้ำมัน เหล้าไวน์ เนยแข็ง และ
น้ำผึ้งผสมเข้าไปด้วยตลอดกาล จากกรีก ไปโรม ถึงยุโรปตอนกลาง ศิลปะการทำขนมอบดำเนินไปอย่างเชื่องช้า
แต่ได้ผลคงที่ ความเจริญก้าวหน้าอย่างมหาศาลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ทำให้เกิดวิวัฒนาการ

อย่างใหญ่หลวงแก่การทำขนมอบในปัจจุบัน พื้นฐานของวิทยาการเหล่านี้ เนื่องมาจากสาเหตุใหญ่
2 ประการ คือ ในกลางปี 1800 ได้มีการแนะนำเกี่ยวกับโรงโม่แป้งสาลี และได้มีการผลิตแป้งสาลีที่ดีออกสู่ตลาด
และในตอนปลายศตวรรษนั้น ได้มีการใช้ยีสต์ ซึ่งเป็นตัวสำคัญในการทำให้แป้งขนมปังขึ้นฟู และ
มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ในปัจจุบันนี้ การทำขนมอบนับว่าเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องการความชำนาญ

เป็นอย่างมาก แต่วิวัฒนาการด้านเครื่องมือ และเครื่องทุ่นแรงต่างๆ ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ก็ได้รับ
การพัฒนาคิดค้นอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นเตาอบที่ควบคุมด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแบ่งก้อนแป้ง
และปั้นกลมอัตโนมัติ เพื่อให้การทำขนมปังมีวิวัฒนาการ เจริญก้าวหน้า และทันสมัยต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

ขนมปัง (bread) เป็น ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ (bakery) ที่มีวัตถุดิบหลัก คือ แป้งสาลี (wheat

flour) ผสมกับน้ำแล้วนวด (knead)ให้เกิดโด (dough) มักขึ้นฟูได้ด้วยยีสต์ (baker yeast) สายพันธุ์
Saccharomyces cerevisiae ซึ่งจะหมักน้ำตาลให้ได้คาร์บอนไดออกไซด์ แล้วนำไปอบ (baking)









3. ขั้นตอนการผลิตขนมปัง
3.1 การผสมแป้ง (sponge mixing)

โดยผสมแป้งข้าวสาลี (wheat flour) ชนิด แป้งขนมปัง กับยีสต์ น้ำตาล และน้ำ คลุกเคล้า
ให้เป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อแป้งสาลีรวมกับน้ำจะทำให้เกิดกลูเตน (gluten) ซึ่งทำให้แป้งเกิดลักษณะ
เหนียว ยืดหยุ่น และการผสมยังทำให้ยีสต์ได้รับออกซิเจน และเริ่มเจริญแบ่งเซลล์ ใช้น้ำตาลเป็นอาหาร
และผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์


3.2. การหมักสปองจ์ (sponge fermentation)
แป้งผสม (sponge) จะถูกหมัก โดยตั้งทิ้งไว้ในสภาวะที่ควบคุมอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์
เพื่อให้เหมาะสมกับการเจริญของยีสต์ (อุณหภูมิ ประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส ความชื้น สัมพัทธ์
70-80%) ในช่วงนี้ เม็ดแป้งข้าวสาลีจะดูดน้ำเต็มที่ โปรตีนในแป้งข้าวสาลีเมื่อรวมกับน้ำจะเกิดเป็น

โครงสร้างของกลูเตน ซึ่งเหนียว ยืดหยุ่น สามารถกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ยีสต์ผลิตได้จากการหมัก
น้ำตาล การหมักจะค่อยๆ เกิดขึ้น ทำให้แป้งผสมมีปริมาตรเพิ่มขึ้น มีรูอากาศ (air cell) กระจายอยู่ภายใน
ก้อนแป้ง มีลักษณะคล้ายฟองน้ำ จึงเรียกว่า สปองจ์ (sponge) ซึ่งแปลว่า ฟองน้ำ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



3.3 การผสมโด (dough mixing)
เป็นการผสมส่วนผสมอื่นๆ ทีเหลือ ได้แก่ ไขมัน ซึ่งมักใช้ เนยขาว (shortening) น้ำตาล

และส่วนผสมอื่นๆ ขั้นตอนนี้จะเป็นการนวดผสม (kneding) เพื่อทำให้เกิดโด (dough) ซึ่งหมายถึงก้อนแป้ง
ที่มีลักษณะยืดหยุ่นได้ดี เหนียว นุ่ม ไม่ขาดง่าย ไขมันจะใส่หลังจากที่แป้งดูดซึมน้ำเข้าไปในเม็ดแป้ง (starch
granule) เต็มที่ และทั่วถึงแล้ว ซึ่งไขมันมีหน้าที่เพื่อให้ความชุ่มชื้นโดยไปหุ้มเม็ดแป้ง (starch granule)
ทำให้โด (dough) เหนียวนุ่ม ยืดหยุ่นพอดี dough ที่ดีต้องชุ่มชื้น แต่ไม่แฉะ ไม่ติดมือหรือภาชนะผสม

โดที่ดีต้องสามารถดึงเป็นแผ่นบางได้โดยไม่ฉีกขาด

3.4 การแบ่งก้อนโด (dough dividing) และปั้นให้เป็นก้อนกลม ( rounding)
หลังการนวดผสมเพื่อให้ได้โดแล้ว แป้งโดจะถูกแบ่งให้เป็นก้อนตามขนาดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ

แล้วคลึงให้เป็นก้อนกลม การนวดคลึง ทำให้เนื้อโดแน่น รูอากาศ (air cell) สม่ำเสมอ และผิวหน้าก้อนโด
เรียบตึง เพื่อให้กักก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ยีสต์ผลิตไว้ในก้อนโดได้ดี

3.5 การหมักก้อนโด (Intermediate proofing)
วิธีขั้นตอนเดียว ใช้เวลาในการหมัก 2-4 ชั่วโมง วิธีสปันและโด ใช้เวลาหมักประมาณ 3-5 ชั่วโมง

สำหรับขั้นโด หมักต่ออีก 20-25 นาที อุณหภูมิในตู้หมัก 37-40 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ
75%

3.6 การอบ (baking)

นำก้อนแป้งที่ขึ้นได้ที่ดีแล้ว ไปอบที่อุณหภูมิ 200-220 องศาเซลเซียส สำหรับขนมปังจืด
และขนมปังหวานที่ 180-190 องศาเซลเซียส จนมีน้ำตาลหรือสุกจึงแซะออกจากพิมพ์

3.7 การแกะออกจากพิมพ์ (depanning) และทำให้เย็น (cooling)

วางขนมที่อบแล้วบนตะแกรง เพื่อให้เย็นลงก่อน แล้วจึงนำเข้าเครื่องสไลด์เป็นแผ่นๆ
สำหรับขนมปังจืด

3.8 การหั่นเป็นชิ้น (slicing)


3.9. การบรรจุถุง (bagging)
บรรจุขนมปังที่ได้ในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม


4. ชนิดของขนมปัง
ขนมปังที่มีขายในท้องตลาดบ้านเรา มีมากมายหลายชนิดหลายรูปแบบ ตามแต่ร้านผลิตจะทำ
ผลิตภัณฑ์ออกขาย แต่ขนมปังเหล่านั้นสามารถแยกได้ตามชนิดของขนมปัง คือ


4.1 ขนมปังแซนด์วิช
ขนมปังปอนด์ขนมปังชนิดนี้ จัดเป็นขนมปังที่มีปริมาณไขมันน้อย นิยมใช้แซนด์วิช มีลักษณะ
เป็นแท่ง โดยใช้พิมพ์ขนาดยาวแคบเพื่อบังคับรูปร่างและปริมาตรของโดให้เสมอกันทั้งสองข้าง

มีเนื้อละเอียดนุ่ม

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


4.2 ขนมปังฝรั่งเศส
ขนมปังชนิดนี้ จัดเป็นขนมปังที่มีปริมาณไขมันต่ำประมาณ 0.3% แป้งที่ใช้ทำต้องมีปริมาณ

กลูเต้นสูงเพื่อที่จะสามารถทนทานต่อการหมักได้ โดที่ผสมปั้นเป็นรูปร่างแล้วจะต้องทาผิวด้วยน้ำ จึงตัดให้
เป็นรอยเฉียงขวางบนก้อนโดด้วยมีดโกนคม ๆ ก่อนที่จะนำไปอบให้แห้งและกรอบผิวนอก ควรมีไอน้ำฉีด
เข้าตู้อบก่อนจะนำโดเข้าอบ


4.3 ซอฟท์โรล
ซอฟท์โรลทำจากโดที่มีความเข้มข้นสูง จะมีไขมันและน้ำตาล 12 - 15 % ของแป้ง โรลที่อบได้
จะมีรสหวานนุ่ม และเนี้อละเอียด ซอฟท์โรลจะมีการพักตัวเพื่อให้ขึ้นฟูเต็มที่ วางก้อนโดให้ห่างกันในถาดอบ
เพื่อไม่ให้โรลติดกันเมื่ออบแล้ว ซึ่งเป็นลักษณะของโรลประเภทนี้ เช่น แฮมเบเกอร์ ฮอทดอท


4.4 ขนมปังหวาน
ขนมปังหวานมีหลายชนิด เช่น ขนมปังลูกเกด ขนมปังไส้ต่าง ๆ คอฟฟี่เค้ก ฯลฯ ขนมปังหวาน
จะต่างจากขนมปังจืดที่ส่วนผสม เพราะโดของขนมปังหวานจะมีสูตรเข้มข้นกว่าโดของขนมปังจืด โดยมี
ประมาณน้ำตาล นม ไขมัน ไข่ สูงกว่าขนมปังจืด ขนมปังหวานจากสูตรเดียวกันสามารถดัดแปลงให้เกิดเป็น

ขนมปังหวานมากมายหลายชนิด โดยกำหนดรูปร่างและไส้ให้แตกต่างกัน แล้วเรียกชื่อตามรูปร่างหรือไส้
ของขนมปังชนิดนั้น ๆ


5. สารกันราในขนมปัง
สุรินทร์ อยู่ยง ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ชำนาญงานพิเศษ) ภาควิชาเภสัชเคมี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องใช้ชีวิตด้วยความเร่งรีบ

เพื่อแข่งกับเวลา ทั้งสภาพที่อยู่อาศัย และลักษณะนิสัยในการบริโภคอาหารก็เปลี่ยนไปจากอดีต ขนมปัง
จึงเป็นอาหารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตมากขึ้น เพราะหาซื้อง่าย สะดวก และมีหลากหลายชนิดให้เลือก
ตามความต้องการ ขนมปังนอกจากมีสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้ว ผู้ผลิตบางรายยังใส่สาร
ป้องกันเชื้อรา เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีอายุที่ยาวนานขึ้น สารที่นิยมใช้เป็นสารกันเชื้อราในผลิตภัณฑ์ขนมปัง
เช่น กรดโปรปิโอเนต เกลือโปรปิโอเนต แคลเซียมโปรปิโอเนต ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสารปรุงแต่งอาหารที่ปลอดภัย

ตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปี 2547 โดยเติมลงในอาหารได้ในปริมาณที่เหมาะสม
ซึ่งหมายถึงปริมาณที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดผลที่ต้องการภายใต้กระบวนการผลิตที่ดี (GMP) แม้ว่ากฏหมาย
จะไม่ได้ระบุปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ได้ เนื่องจากกรดโปรปิโอนิก และเกลือโปรปิโอเนตไม่ทำให้เกิดพิษ

ที่เฉียบพลันหรือรุนแรงหากบริโภคในปริมาณน้อย แต่มีรายงานการวิจัยว่าการบริโภคอาหารที่มีสารแคลเซียม
โปรปิโอเนตปริมาณสูงติดต่อกันเป็นเวลานาน จะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตในสัตว์ทดลอง และอาจส่งผล
ให้เกิดพฤติกรรมสมาธิสั้นในเด็ก ในประเทศไทยเคยมีระบุปริมาณที่อนุญาตให้ใช้ได้ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 84 (พ.ศ.2527) และฉบับที่ 119 (พ.ศ.2532) อนุญาตให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละ 0.2

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



แคลเซียมโปรปิโอเนต เป็นสารกันเชื้อราในผลิตภัณฑ์ขนมปัง เป็นเกลือของกรดโปรปิโอเนต
ซึ่งเป็นกรดอ่อน มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดี ไม่มีกลิ่นและสี จึงไม่ส่งผลกระทบต่อกลิ่นและรสชาติของผลิตภัณฑ์

ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ดี

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการสำรวจปริมาณแคลเซียม
โปรปิโอเนตในขนมปัง โดยเก็บตัวอย่างขนมปังจากแหล่งขายที่เป็นร้านค้าท้องถิ่นในปริมณฑลรอบ
กรุงเทพมหานคร ทั้งหมด 3 แหล่ง จำนวนรวมทั้งสิ้น 23 ตัวอย่าง พบว่ามี 20 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 87)

ที่ตรวจพบปริมาณแคลเซียมโปรปิโอเนตสูงเกินร้อยละ 0.2 และตัวอย่างส่วนใหญ่ที่นำมาตรวจสอบ
ไม่มีเลขที่อนุญาต ไม่ระบุสถานที่ผลิต วันผลิต และวันหมดอายุ ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
ในระยะยาวควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ขนมปังสำหรับรับประทานที่เพิ่งทำเสร็จใหม่ๆ โดยสามารถสัมผัส
ดูเนื้อของขนมปังจะมีความนุ่ม และหอมกลิ่นของขนมปังที่พึ่งผ่านการอบมาใหม่ๆ และที่สำคัญควรเลือก

ผลิตภัณฑ์ที่ระบุข้อมูลที่สำคัญ เช่น เลขที่อนุญาต ผู้ผลิต สถานที่ผลิต วันผลิต และวันหมดอายุด้วย

6. การเสื่อมเสียของขนมปัง

6.1 การเสื่อมเสียจากเชื้อรา เชื้อรามีหลายชนิดมีทั้งแบบให้โทษ และแบบที่มีประโยชน์
ใช้ทำยาต่างๆ ลักษณะของเชื้อรามีสองแบบคือ ไมซีเลีย เป็นลักษณะคล้ายเส้นไหม ขึ้นปกคลุมอาหาร
เป็นหย่อมๆ หรือแผ่เป็นวงกว้างได้ และ สปอร์ เป็นส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา เป็นเม็ดกลมๆเล็กๆ น้ำหนักเบา

สามารถปลิวไปในอากาศได้ ดังนั้นเจ้าสปอร์นี้จึงมีอยู่ทั่วทุกหนแห่ง ขนมปังนั้นมีลักษณะที่เชื้อราสามารถ
เจริญเติบโตได้ดี ยิ่งถ้าขนมปังเกิดสัมผัสกับอากาศชื้นๆ เชื้อรานี้ก็จะเจริญเติบโตดีขึ้น แต่ถ้าหาก
ขนมปังถูกเก็บในที่ที่มีความชื้นต่ำ เชื้อราก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ ดังนั้นควรเก็บขนมปังไว้ในที่แห้ง
และสะอาดก็จะสามารถป้องกันการเสื่อมเสียจากเชื้อราได้ ภายในแป้งซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญ

ในการทำขนมปังนั้นมีสปอร์ของเชื้อราอยู่จำนวนมาก อาจเป็นตัวการทำให้ขนมปังเกิดเน่าเสียได้
แต่จริงๆ แล้วสาเหตุจากวัตถุดิบนั้นมีน้อยมาก เพราะการอบขนมปังด้วยอุณหภูมิสูงก็ไม่มีเชื้อราใดๆ
สามารถทนทานได้ ดังนั้นปัจจัยที่ควรคำนึงถึงมีดังนี้คือ

- สถานที่เก็บขนมปัง ควรเป็นที่สะอาด มีอากาศถ่ายเทดี และมีอุณหภูมิต่ำ

- เครื่องหั่นขนมปัง ควรทำความสะอาดบ่อยๆ โดยเฉพาะใบมีด ควรใช้ แอลกอฮอล์เช็ดให้สะอาด
วัสดุหีบห่อ ขนมปังที่ทำเสร็จใหม่ๆ ต้องพักไว้ให้เย็นลงก่อนบรรจุ เพราะหากบรรจุขนมปังร้อนๆ ลงในหีบห่อ
ขนมปังจะคลายความร้อนและความชื้นออกมา หากมีสปอร์ของเชื้อราหรือแบคทีเรียปะปนอยู่ก็จะทำให้
ขนมปังเน่าเสียเร็วขึ้น


6.2 การเสื่อมเสียจากแบคทีเรีย ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากขนมปังมีเชื้อแบคทีเรียปะปนอยู่ และสปอร์
ของแบคทีเรียสามารถทนต่อความร้อนภายในเตาอบได้ ดังนั้น เชื้อแบคทีเรียจะเจริญเติบโตภายในขนมปัง
ทำให้ขนมปังเปลี่ยนสี เปลือกนอกจะมีสีแดง เนื้อภายในจะเหนียว และมีกลิ่นเน่า ถึงแม้ปัจจุบันจะพบ

การเน่าเสียแบบนี้ไม่มาก แต่หากเกิดขึ้นก็แก้ไขได้ดังนี้

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


- ลดปริมาณน้ำตาลลงเล็กน้อย
- เพิ่มความเป็นกรดให้ขนมปัง โดยทั่วไปใช้สารละลายกรดน้ำส้ม 12.5% อัตราส่วน 110 กรัม

ต่อแป้ง 100 กิโลกรัม
- ใช้โดที่หมักแล้วเล็กน้อย ผสมลงในโดที่ผสมเสร็จใหม่ๆ
- ลดอุณหภูมิเตาอบ ใช้เวลาอบให้นานขึ้นอีกเล็กน้อย
- เมื่อนำขนมปังออกจากเตาอบ ควรทำให้เย็นลงให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ก่อนการบรรจุหีบห่อ

- รักษาความสะอาดของเครื่องมือเครื่องใช้ พื้นห้อง ตลอดจนคนงานให้สะอาดอยู่เสมอ

6.3 การแห้งของขนมปัง การสูญเสียความชื้นไปกับบรรยากาศ หรืออากาศ ขนมปังที่อยู่ในสภาพดี
นั้นจะมีความชื้นอย่างต่ำ 30% และจะสูญเสียความชื้นไปหากบรรยากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำหรืออากาศ

มีลักษณะแห้งๆ ผิดกับคุกกี้หรือบิสกิตซึ่งมีความชื้นประมาณ 2-3% เท่านั้น ซึ่งมีโอกาสจะดูดความชื้น
ในบรรยากาศได้มาก และเก็บได้นานกว่า การป้องกันหรือยืดอายุการแห้งของขนมปังนั้นอาจทำได้ดังนี้

- ควรใช้แป้งที่มีโปรตีนสูงและใส่น้ำให้มากหน่อย แต่อย่ามากเกินไปเพราะจะทำให้โดเหนียว
- ระยะเวลาในการอบควรสั้น เพื่อให้แป้งสุก และได้ผิวขนมปังบางๆ โดยปกติแล้วเวลาที่ใช้

ในการอบขนมปังควรใช้เวลาประมาณ 24 นาที

การทำให้ขนมปังเย็นอย่างถูกต้อง ขนมปังซึ่งอบเสร็จใหม่ๆ ควรนำเข้าห้องพักซึ่งมีการควบคุม
อุณหภูมิประมาณ 70 องศาฟาเรนไฮน์ ความชื้นสำพัทธ์ประมาณ 80% และมีการหมุนเวียนอากาศอยู่เสมอ
อย่างไรก็ตาม ข้อแนะนำที่ดีที่สุดสำหรับผู้ผลิตขนมปังคือ ควรผลิตขนมปังให้เสร็จแต่เช้าตรู่ และขาย

ให้หมดภายในวันเดียว แบบวันต่อวันจะดีที่สุด

7. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

7.1 โครงงานการชะลอการเจริญเติบโตของราขนมปัง
ชีวิต จักรพัน บุญมา, จักรพรรดิ์ บุญมา และมายเด จอเด นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนกลุ่มนักข่าวหญิง 2 (บ้านบ่อหวี) ขนมปังที่ขายทั่วไปตามท้องตลาดเก็บไว้รับประทานได้ไม่นาน

ไม่สามารถบริโภคได้ทันในปริมาณที่ทาขายและพื้นที่อาศัยก็ห่างไกลเพราะอยู่ชายแดน กว่าจะได้รับขนมปัง
ก็ลดระยะเวลาของการกินลงไปอีก 2-3 วัน จึงคิดว่าจะทาอะไรได้บ้างเพื่อยืดอายุขนม จึงลองเอาพืชสมุนไพร
มาช่วยแก้ปัญหา และที่คัดเลือกได้ 3 ชนิด คือ ว่านหางจระเข้ กระเทียม และมะเขือเทศ จากนั้นก็นำ
เนื้อมาปั่นรวมกับน้ำกรองเอาแต่น้ำแล้วนำมาทาบนขนมปังให้ทั่วแผ่นก่อนวางในกล่องพลาสติกในลักษณะ

เปิดฝา ปิดไม่สนิท และปิดสนิท ผลการทดลองที่ได้พบว่า แผ่นขนมปังทาด้วยว่านหางจระเข้ในกล่อง
ที่ปิดสนิทสามารถชะลอการเกิดเชื้อราได้มากถึง 4.4 วัน รองลงมาคือกระเทียม 3.3 วัน ส่วนมะเขือเทศ
ไม่สามารถชะลอการเกิดราได้เลย สิ่งที่ทำให้ราไม่ขึ้นขนมปังก็คือ สารบาบาเลียนในเมือกสีขาวที่มีอยู่
ในว่านหางจระเข้ ส่วนกระเทียมก็มีสารหอมระเหยที่ช่วยให้ราขึ้นขนมปังได้ช้าลง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



7.2 วิธีทำขนมปังปอนด์ สูตรนิ่ม
ส่วนผสมขนมปังหวานสูตรนิ่ม

(ก) - แป้งขนมปัง 240 กรัม
- แป้งสาลี 60 กรัม
- น้ำตาลทราย 55 กรัม
- นมผง 10 กรัม

- ยีสต์ 2 ช้อนชา
- Bread Improver * 1 ข้อนชา
(ข) - ไข่ 1 ฟอง
- น้ำเย็น-จากตู้เย็น 150 มิลิลิตร (ซีซี)

(ค) - มาการีนชนิดเค็ม 30 กรัม
- เกลือ 5 กรัม

วิธีทำ ขนมปังหวานสูตรนิ่ม
1. ผสมส่วนผสม (ก) ให้เข้ากัน โดยตวงทุกอย่างใส่ชามอ่าง แล้วใช้ช้อนคนให้เข้ากัน

2. คนส่วนผสม (ข) ให้เข้ากัน แล้วใส่ไปในส่วนผสม (ก) ใช้ไม่พาย หรือ มือ นวดตะล่อมให้เป็นก้อน
3. ใส่ส่วนผสม (ค) ซึ่งทิ้งให้นิ่มก่อนหน้านี้ แล้วนวดแป้งให้เหนียว นุ่ม เนียน
4. เมื่อได้ที่ตะล่อมให้เป็นก้อน ใส่ชามอ่างที่ทาเนยนิดหน่อย ปิดด้วยพลาสติก พักไว้ 50-60 นาที
หรือ จนขึ้นเป็น 2 เท่า

5. นำแป้งออกมา ไล่ลม แล้วม้วนเป็นท่อนยาวๆ ตัดเป็นก้อนๆ ให้ได้ขนาด 50 -60 กรัม แล้วแต่ชอบ
ปั้นเป็นก้อนกลมๆ พักไว้ 10 นาที
6. คลึงแป้งก้อนเล็กๆออก ใส่ไส้ที่เตรียมไว้ บีบให้แน่น นำไปเรียงบนถาดที่ทาน้ำมันนิดหน่อยแล้ว
พักอีก 50-60 นาที หรือ จนกว่าจะขึ้นเป็น 2 เท่า

7. นำเข้าอบ ไฟ 180-190 องศาเซลเซียส ประมาณ 12 นาที

หมายเหตุ
* bread improver คือ วิตามินซี (ascorbic acid) สำหรับช่วยให้โดว์ยืดหยุ่น ขนมปังจะอยู่ตัวดี

ทรงตัวดี นุ่มใน และช่วยให้ขนมปังมีอายุยืนกว่าปกติ

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 9


การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ 8 สาระวิชา

1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
1.1 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
- ขั้นสังเกตเพื่อระบุปัญหา คือการระบุปัญหา หรือสิ่งที่ต้องการศึกษาและกำหนด
ขอบเขตของปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน คือการคิดคำตอบที่คาดหวังว่าควรจะเป็น หรือการคาดเดาคำตอบ

ที่จะได้รับ
- ขั้นการตรวจสอบสมมติฐาน คือ การสังเกต และรวบรวมข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดจาก
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ รวมทั้งการทำการทดลอง

- ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล คือ การนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลอง
หรือการรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง มาทำการวิเคราะห์ผล อธิบายความหมาย
ของข้อเท็จจริง แล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
- ขั้นสรุปผล คือการสรุปว่าจะปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐาน ตามหลักเหตุและผล
เพื่อให้ได้คำตอบของปัญหา


1.2 กระบวนการเกิดราในขนมปัง Rhizopus เป็นสกุลของราที่สร้างเส้นใย พบในดิน
ผักและผลไม้ที่กำลังย่อยสลาย อุจจาระสัตว์ และขนมปังเก่า เป็นราที่พบในลูกแป้ง และมีบทบาทในการทำ
ข้าวหมาก

บทบาทของเชื้อราไรโซปัสในอาหาร
- ทำให้เกิดโรคพืชไรโซปัสผลิตเอนไซม์ (enzyme) เพกทิเนส (pectinase) ทำให้เกิด
โรคเน่าในพืช ผัก (vegetable) ผลไม้
- ทำให้อาหารเสื่อมเสีย (microbial spoilage) เช่น Rhizopus stolonifer หรือราขนมปัง

(bread mold) เป็นราที่ทำให้ขนมปัง (bread) เสื่อมเสีย
- ใช้ในการแปรรูปอาหาร เพื่อการหมัก (fermentation) เช่น เทมเป้ (tempeh) ใช้เชื้อ
ไรโซปัส โอลิโกสปอรัส (Rhizopus oligosporus)

1.3 สรรพคุณของพืชทั้ง 4 ชนิดที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษา


- ทับทิม มีสารแทนนินอยู่ในปริมาณมาก มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบมากที่น้ำและเปลือก
ทับทิม มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Punica granatum L.วงศ์ Punicaceae ภาษาอังกฤษเรียก
Pomegranate เป็นผลไม้ที่สวยงามและมีกลิ่นหอมมาก ทับทิมสามารถปลูกได้

ในประเทศไทย แต่ที่แท้จริงเป็นผลไม้ที่มีต้นกำเนิดมาจากเปอร์เซีย (ประเทศอิหร่าน
ในปัจจุบัน) ทับทิมเป็นผลไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์ ในประวัติศาสตร์ พบว่าได้มีการนำทับทิม
มาทำเป็นยารักษาโรคตั้งแต่ 8,000 ปีมาแล้ว ในประเทศเปอร์เซียโบราณมีความเชื่อว่า
คุณค่าทางอาหารทุกชนิดที่มีอยู่ในผลไม้ต่าง ๆ นั้น รวมกันอยู่ในทับทิม ทับทิมเป็นผลไม้

0 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ที่ได้รับการเพาะปลูกอย่างแพร่หลาย และทำเป็นผลิตภัณฑ์ ไปทั่วโลก ในทับทิม มีสาร
ต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด ซึ่งมีมากทั้งใน เปลือก เมล็ด และน้ำทับทิม ได้แก่ polyphenols,

anthocyanins, anthrocyanidins, ellagic acid derivatives, และ hydrolyzable
tannins

ทับทิมเป็นผลไม้มีรสหวานหรือเปรี้ยวอมหวาน น้ำคั้นจากเมล็ดทับทิมมีกลิ่นหอม
ชวนดื่ม ประกอบด้วยน้ำตาลและกรดที่เป็นประโยชน์ รวมถึงวิตามินเอ ซี อี ธาตุเหล็ก

แคลเซียมและแมกนีเซียม

- กระเจี๊ยบแดง กระเจี๊ยบมีชื่อวิทยาศาสตร์ Abelmoschus esculentus (L.) Moench
วงศ์ Malvaceae มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่โอคร่า (Okra) กอมโบ้ (Gombo)

เบนดี (Bendee) และ Ladys finger กระเจี๊ยบแดงมีสารไฮบิสซิน ซึ่งสามารถต้านเชื้อรา
อะฟลาท็อกซินได้

- มะนาว (lime) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Citrus aurantifolia Swing วงศ์ส้ม หรือ
Rutaceae ชื่ออื่นคือ ส้มมะนาว มะลิว โกรยชะม้า หมากฟ้า ในผลมะนาวมีน้ำมัน

หอมระเหยถึง 7% มีประโยชน์สำหรับใช้เป็นส่วนผสมน้ำยาทำความสะอาด เครื่องหอม
และการบำบัดด้วยกลิ่น (aromatherapy) หรือน้ำยาล้างจาน ป้องกันและรักษา
โรคลักปิดลักเปิด เพราะในมะนาวมีวิตามินซีเป็นปริมาณมาก มะนาวมีน้ำมันหอมระเหย
ที่ให้กลิ่นสดชื่น เพราะมีส่วนประกอบของสารซิโตรเนลลัล (Citronellal) ซิโครเนลลิล
อะซีเตต (Citronellyl Acetate) ไลโมนีน (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์พีนีออล

(Terpeneol) ฯลฯ รวมทั้งมีกรดซิตริค (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid)
และกรดแอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) ซึ่งถือเป็นกรดผลไม้ (AHA : Alpha Hydroxy
Acids) กลุ่มหนึ่ง เป็นที่ยอมรับว่าช่วยให้ผิวหน้าที่เสื่อมสภาพหลุดลอกออกไป พร้อมๆ

กับช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ใหม่ๆ ช่วยให้รอยด่างดำหรือรอยแผลเป็นจางลง บรรเทา
อาการคันบริเวณผิวหนัง แก้ปัญหากลาก เกลื้อน ผิวหนัง รักษาโรคน้ำกัดเท้า

- กระเทียม ชื่อสามัญ Garlic ชื่อวิทยาศาสตร์ คือคำว่า Allium sativum L. จัดอยู่ในวงศ์
พลับพลึง (AMARYLLIDACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อย ALLIOIDEAE (ALLIACEAE)

กระเทียมมีรสเผ็ดร้อน มีสารอัลลิซิน ซึ่งมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา
และเชื้อแบคทีเรีย

ฤทธิ์ในการยับยั้งฟันกัส (Fun-gus) : สารออกฤทธิ์ในกระเทียมหรือน้ำจากการแช่
กระเทียม หรือกระเทียมที่ตำจนแหลกละเอียด จากการทดลองนอกร่างกายพบว่า

มีฤทธิ์ยับยั้งและทำลายฟันกัส (fun-gus) หลายชนิด รวมทั้งแคนตินา อัลบิแคนส์
(Candida albicans)

การจัดการเรียนรู้บูรณาการด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2


ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย : ในบรรดาพืชทั้งหลายที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อได้ดีที่สุด
คือ กระเทียมสารที่พบคือ อัลลิซิน (Allicin) น้ำจากกระเทียมหรือน้ำจากการแช่กระเทียม

มีฤทธิ์ยับยั้ง และทำลายเชื้อ Staphylococcus, Streptococcus, Bacillus
dysenteriae, Colibacillus, Typhoid bacill, Paratyphoid bacillus. Bacillus
tubercle, Comma bacillus, สำหรับเชื้อที่ดื้อยา เพนิซิลลิน (Peanicillin),
สเตรปโตมัยซิน (Streptomycin), โคแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol), ออริโอมัยซิน

(Aureomycin) แต่ยาที่ได้จากการสกัดจากกระเทียม จะมีฤทธิ์ยับยั้งและทำลายเชื้อ
เหล่านั้น

1.4 การใส่ยีสต์ เพื่อให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้ขนมปังฟู


2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ
2.1 การคำนวณส่วนผสมในการทำขนมปังโดยใช้การเทียบบัญญัติไตรยางค์ ดังนี้

2.2 การใช้สถิติ ในการวิเคราะห์ผลการทดลองและวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้จัดทำโครงงาน

ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย

3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคือ

3.1 หลักการเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค ควรคำนึงถึงความปลอดภัย จริยธรรมของผู้ผลิตใน
กระบวนการผลิตสินค้าและบริการ


3.2 ความเชื่อและค่านิยมของแต่ละประเทศต่อพืช 4 ชนิด ทับทิม กระเจี๊ยบ มะนาว และกระเทียม
- คุณประโยชน์ของทับทิม
ในตำราแพทย์สมัยโบราณ เปอร์เซีย ในผลทับทิมมีวิตามินมากมายหลายชนิด รวมทั้ง
แมกนีเซียมและแคลเซียม ซึ่งมีประโยชน์ต่อระบบฟอกโลหิต และระบบการหมุนเวียน

ในร่างกาย ในตำราแพทย์โบราณของเปอร์เซีย (ซึ่งถือว่าเป็นต้นตำรับของวิชาแพทย์
ตะวันตกในปัจจุบัน) ระบุว่าทับทิมมีประโยชน์มากมาย

- คุณประโยชน์ของกระเจี๊ยบ

ชาวอียิปต์กินผลกระเจี๊ยบกับเนื้อสัตว์เป็นอาหาร หรือนำไปดอง ประชาชนในประเทศอียิปต์

เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน อิรัก กรีซ ตุรกี และประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียน
ตะวันออกอื่นๆ จะใช้ฝักกระเจี๊ยบมอญในการปรุงสตูว์ผักและสตูว์เนื้อน้ำข้น

ทางใต้ของสหรัฐอเมริกาใช้ผลอ่อนต้มสตูว์กับมะเขือเทศเรียก “กัมโบ้”

ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย ชาวพื้นเมืองจะนำฝักกระเจี๊ยบมาผัดหรือใส่ในซอสข้น

ชาวศรีลังกา ลวกฝักกระเจี๊ยบมอญกินเป็นผักสลัด

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน



ชาวฟิลิปปินส์ กินฝักสด ย่างหรือใช้ประกอบอาหาร

ชาวญี่ปุ่นเริ่มปรุงอาหารด้วยฝักกระเจี๊ยบมอญในช่วงท้ายศตวรรษที่ 20 โดยชุบแป้ง

ปุระทอดกินกับซีอิ้ว

ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกามีการปรุงอาหารที่เรียก “กัมโบ้” โดยใส่ฝักกระเจี๊ยบมอญ
ให้น้ำข้น ฝักอ่อน ดองกินได้ หั่นเป็นแว่นตากแห้งเก็บได้ หรือบดเป็นแป้งก็ได้ คนไทย
ลวกฝักอ่อนจิ้มน้ำพริก หรือใส่ในแกงส้ม


- คุณประโยชน์ของมะนาว
ชาวฮังการีชงชาเติมน้ำผึ้งบีบมะนาว จิบแก้ไอเช้าหลังตื่นนอน ดื่มน้ำอุ่น 1 แก้ว
บีบมะนาว 1/4 ผล (หรือใส่เกลือเล็กน้อย) บรรเทาอาการท้องผูก และช่วยขจัดสารพิษ
ออกจากร่างกาย


ชาวตะวันตกทั่วไปมักดื่มน้ำมะนาวประกอบกับอาหารเช้า เพราะมีวิตามินซีและมีสารกลุ่ม
ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) ประกอบด้วยสารเฮสเพอริดิน (hesperidin) รูทิน (rutin)
และนาริงจิน (naringin) และลิโมนิน เป็นฟลาโวนอยด์หลักของพืชตระกูลส้ม สารกลุ่ม

ฟลาโวนอย์ส้มนี้มีรายงานทางการแพทย์ตะวันตกว่าใช้ในการรักษามาลาเรีย โรครูมาติสม์
เรื้อรังและโรคเกาต์ ใช้ในการป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
และช่วยบรรเทาอาการระคายคอจากการติดเชื้อ

- คุณประโยชน์ของกระเทียม

ในอียิปต์โบราณได้มีพระราชโองการให้คนงานที่ก่อสร้างปิรามิดทุกคนกินกระเทียม
เป็นอาหารทุกวัน เพราะเชื่อว่ากระเทียมทำให้เกิดพลัง จะช่วยให้การสร้างปิรามิดเสร็จ
เร็วขึ้น นอกจากนี้นักรบอียิปต์ที่ออกรบทุกคนจะต้องกินกระเทียมเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
และมีจิตใจกล้าหาญในการรบ

นักกีฬากรีกในสมัยโบราณกินกระเทียมเป็นประจำเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง

ชาวอินเดียในสมัยโบราณเชื่อว่า กระเทียมจะทำให้ร่างกายแข็งแรงมีสมองแจ่มใส

มีเสียงไพเราะ
ชาวซีเรียตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน มีประเพณีที่สืบทอดมา คือ หลังเก็บเกี่ยวจะกิน

อาหารที่มีกระเทียมปรุง

ชาวตุรกี ฮังการีมีประเพณีที่จะต้องนำกระเทียมไปแขวนไว้ที่ประตู หรือหัวเตียงของสตรี
ตั้งครรภ์เพื่อให้มีความสุขและให้ประสบโชคดี

ชาวสเปนในวันปีใหม่ อาหารที่ขาดเสียมิได้ คือ น้ำแกงต้มกระเทียมและถือว่าเป็นคืน

แห่งโชคดี ในสเปนจะมีการประกวดกระเทียมประจำปี สำหรับผู้ชนะเลิศจะได้รับ
รางวัลด้วย


Click to View FlipBook Version