หนังสอื เรยี น สาระความรูพ้นื ฐาน
รายวชิ า ภาษาไทย
(พท21001)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551
หามจาํ หนา ย
หนงั สอื เรยี นเลม นี้ จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน
ลิขสทิ ธเิ์ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
หนงั สอื เรยี นสาระความรพู ื้นฐาน
รายวิชาภาษาไทย (พท21001)
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน
ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560
ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 2 /2555
3
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอก
โรงเรยี น ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลัก
ปรชั ญาและความเชื่อพ้นื ฐานในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี นที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรู
และส่งั สมความรู และประสบการณอ ยา งตอ เนอ่ื ง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน
นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ
ทีส่ ามารถสรางรายไดท ม่ี ่ังคั่งและมัน่ คง เปน บุคลากรทมี่ ีวินัย เปย มไปดวยคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมี
จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง และเนอ้ื หาสาระ ทงั้ 5 กลมุ สาระการเรยี นรู ของหลกั สูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระ
เก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมี
ความเกยี่ วขอ งสมั พันธกนั แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพฒั นาหนงั สือท่ีใหผ ูเรียนศึกษาคน ควา
ความรูด ว ยตนเอง ปฏิบัตกิ จิ กรรม ทําแบบฝก หดั เพอ่ื ทดสอบความรคู วามเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยน
เรียนรกู ับกลมุ หรอื ศกึ ษาเพิม่ เติมจากภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน แหลงการเรียนรูและสื่ออ่นื
การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวิชา และผเู กย่ี วของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ
ตาง ๆ มาเรียบเรียงเน้ือหาใหครบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวชี้วัดและ
กรอบเน้ือหาสาระของรายวชิ า สํานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผมู ีสว นเก่ียวของทกุ ทานไว ณ โอกาสน้ี และ
หวังวาหนังสือเรียนชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมี
ขอเสนอแนะประการใด สํานกั งาน กศน. ขอนอมรบั ดว ยความขอบคุณยงิ่
4
สารบัญ
หนา
คํานํา
คาํ แนะนาํ การใชหนงั สือเรียน
โครงสรา งรายวชิ า
ขอบขายเนอื้ หา
บทที่ 1 การฟง การด.ู ........................................................................................... 1
เรอ่ื งที่ 1 หลกั เบอ้ื งตนของการฟง และการดู ..................................................... 2
เรอ่ื งท่ี 2 หลักการฟงเพ่ือจบั ใจความสาํ คัญ....................................................... 3
เรอื่ งที่ 3 หลกั การฟง การดู อยา งมวี ิจารณญาณ .............................................. 6
เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟง การดู .................................................................... 6
บทที่ 2 การพดู ................................................................................................. 9
เรื่องที่ 1 สรปุ ความ จับประเดน็ สาํ คญั ของเรอ่ื งทพ่ี ูด..................................... 10
เรื่องที่ 2 การพดู ในโอกาสตาง ๆ .................................................................... 11
เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทในการพูด............................................................................ 14
บทท่ี 3 การอาน ...............................................................................................17
เรื่องท่ี 1 การอานในใจ ................................................................................... 18
เรื่องที่ 2 การอา นออกเสยี ง ............................................................................ 18
เรอ่ื งที่ 3 การอา นจบั ใจความสาํ คัญ................................................................ 33
เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการอาน และนสิ ยั รักการอาน........................................ 38
บทท่ี 4 การเขียน ...............................................................................................40
เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี น การใชภาษาในการเขยี น.......................................... 41
เรื่องท่ี 2 หลกั การเขียนแผนภาพความคดิ ...................................................... 43
เรื่องที่ 3 การเขียนเรียงความและยอ ความ ..................................................... 49
เรื่องที่ 4 การเขียนเพ่อื การสื่อสาร.................................................................. 67
เรื่องที่ 5 การสรา งนิสยั รกั การเขียนและการศึกษาคนควา .............................. 80
บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา............................................................................................. 94
เรื่องที่ 1 การใชคําและการสรา งคาํ ในภาษาไทย............................................. 95
เรอ่ื งที่ 2 การใชเคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ .....................................105
เรอ่ื งที่ 3 ชนดิ และหนา ท่ีของประโยค...........................................................116
5
เร่อื งท่ี 4 หลกั ในการสะกดคํา.......................................................................121
เรอ่ื งท่ี 5 คําราชาศัพท..................................................................................127
เรื่องท่ี 6 การใชส าํ นวน สุภาษิต คาํ พังเพย..................................................130
เรอื่ งท่ี 7 หลกั การแตง คาํ ประพันธ................................................................135
เร่อื งท่ี 8 การใชภาษาท่เี ปนทางการและไมเปน ทางการ................................141
บทท่ี 6 วรรณคดี และวรรณกรรม ......................................................................144
เรื่องที่ 1 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดีและหลกั การพินจิ วรรณกรรม...............145
เรื่องที่ 2 หลกั การพินิจวรรณคดดี านวรรณศลิ ปและดา นสงั คม.....................149
เรอ่ื งที่ 3 เพลงพ้นื บา น เพลงกลอมเดก็ ........................................................155
บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี .................................................168
เรอื่ งท่ี 1 คุณคา ของภาษาไทย ......................................................................169
เรอ่ื งท่ี 2 ภาษาไทยกับชอ งการประกอบอาชีพ..............................................170
เรื่องท่ี 3 การเพิม่ พนู ความรูและประสบการณท างดา นภาษาไทย
เพอ่ื การประกอบอาชพี ..................................................................172
เฉลยแบบฝกหดั ......................................................................................................179
บรรณานกุ รม ......................................................................................................184
คณะผูจัดทํา ......................................................................................................186
6
คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น
หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เปนหนงั สอื เรียนท่จี ดั ทาํ ข้นึ สาํ หรบั ผเู รียนที่เปน นักศกึ ษานอกระบบ
ในการศึกษาหนงั สือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน ผเู รยี นควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเขา ใจในหวั ขอ และสาระสําคญั ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวัง
และขอบขา ยเนื้อหาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอยี ด
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยา งละเอียด ทํากิจกรรม แลว ตรวจสอบกับ
แนวตอบกิจกรรม ถาผเู รียนตอบผิดควรกลับไปศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใ หเขาใจ กอน
ท่จี ะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป
3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทา ยเรอ่ื งของแตละเรือ่ ง เพ่อื เปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเน้ือหา
ในเร่ืองน้ัน ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตล ะเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไป
ตรวจสอบกบั ครแู ละเพอ่ื น ๆ ท่รี วมเรียนในรายวชิ าและระดับเดยี วกันได
4. หนังสือเรยี นเลม นม้ี ี 7 บท
บทที่ 1 การฟง การดู
บทท่ี 2 การพูด
บทที่ 3 การอา น
บทที่ 4 การเขยี น
บทที่ 5 หลกั การใชภ าษา
บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม
บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี
7
โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย (พท21001)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน
สาระสาํ คญั
1. การอานเปนทักษะทางภาษาท่ีสําคัญเพราะชวยใหสามารถรับรูข า วสารและเหตุการณ
ตา ง ๆ ของสงั คม ทําใหปรับตวั ไดกับความเจรญิ กา วหนาทางวิทยาการตา ง ๆ สามารถวิเคราะห วิจารณ
และนําความรูไปใชใ นชวี ิตประจาํ วันได
2. การเขยี นเปนการส่ือสารที่จัดระบบความคดิ การเลอื กประเดน็ การเลอื กสรรถอ ยคํา
เพอ่ื ถายทอดเปน ตัวอักษรในการสื่อความรู ความคดิ ประสบการณ อารมณ ความรสู ึก จากผูเขียนไปยัง
ผอู าน
3. การฟง การดู และการพดู เปนทักษะที่สาํ คญั ของการส่ือสารในการดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั
จงึ จาํ เปนตอ งเขา ใจหลกั การเบอื้ งตน และตอ งคํานึงถงึ มารยาทในการฟง การดูและการพูดดว ย
4. การใชภาษาไทยใหถูกตองตามหลักภาษา ทาํ ใหเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของ
คนไทยจึงตองตระหนักถึงความสําคัญของภาษาและตองอนุรักษภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ
สบื ตอ ไป
5. การใชทักษะทางภาษาไทยในการแสวงหาความรู การเขาใจระดับของภาษาสามารถ
ใชคําพดู และเขยี นไดดี ทําใหเ กดิ ประโยชนตอ ตนเองและสวนรวม
6. วรรณคดไี ทยเปนมรดกของภาษาและวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา เปนมรดกทางปญ ญาของคนไทย
แสดงถึงความรุง เรืองของวัฒนธรรมทางภาษา เปน การเชดิ ชูความเปนอารยะของชาติ
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั
เมื่อศกึ ษาชุดวิชาแลว ผูเรยี นสามารถ
1. จับใจความสําคัญ และเลาเร่ืองได ตีความได อานในใจและอานออกเสียง วิเคราะห
วิจารณ ประเมนิ คาได เลอื กหนังสอื และสารสนเทศไดแ ละมีมารยาทในการอานและมนี ิสยั รักการอา น
2. อธิบายการเขียนเบ้ืองตนได เขียนเรียงความ ยอความ เขียนจดหมาย เขียนโตแยง
เขียนรายงาน เขียนคาํ ขวัญ เขียนประกาศ เขียนเชิญชวน กรอกแบบรายการ แตงคาํ ประพันธ
บอกคุณคา ของถอยคาํ ภาษาและสามารถเลือกใชถอยคาํ ในการประพันธ เขียนอางองิ เขียนเลขไทย
ไดถกู ตอ งสวยงาม
3. บอกหลกั เบอ้ื งตน และจดุ มุง หมายของการฟง การดูและการพูดได และสามารถพดู
ในโอกาสตา ง ๆ ได
4. บอกลกั ษณะสําคัญของภาษาและการใชภ าษาในการส่ือการ ใชพ จนานุกรมและสารานุกรม
ในชีวติ ประจาํ วันได
8
5. บอกชนิดและหนา ท่ขี องคาํ ประโยค และนําไปใชไ ดถ กู ตอง
6. ใชเคร่ืองหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศัพท หลักการประชุม การอภิปราย
การโตวาที
7. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม องคประกอบและรูปแบบลักษณะเดนของ
วรรณคดีได
8. บอกความหมายของวรรณกรรมมขุ ปาฐะ และวรรณกรรมลายลกั ษณได
9. บอกความหมายและลักษณะเดนของวรรณกรรมทอ งถิน่ ประเภทรปู แบบของวรรณกรรมไทย
ปจจบุ นั ได
10. อา นวรรณคดแี ละวรรณกรรม บอกแนวความคิด คา นิยม คุณคา หรอื แสดงความคดิ เหน็ ได
11. บอกลกั ษณะสาํ คัญและคณุ คา ของเพลงพ้นื บาน และบทกลอ มเดก็ พรอมทั้งรอ งเพลงพ้ืนบา น
และบทกลอ มเด็กได
ขอบขายเน้ือหา
บทที่ 1 การฟง การดู
บทท่ี 2 การพูด
บทที่ 3 การอาน
บทท่ี 4 การเขยี น
บทที่ 5 หลักการใชภ าษา
บทท่ี 6 วรรณคดี และวรรณกรรม
บทท่ี 7 ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ
1
บทท่ี 1
การฟง การดู
สาระสําคญั
การฟง การดู เปนทักษะสําคัญประการหนึ่งของการสื่อสารท่ีเราใชมากท่ีสุดทั้งเร่ืองของ
การศึกษาเลา เรียน การประกอบอาชีพ และการดําเนินชีวิตประจําวัน จึงจําเปนจะตองเขาใจหลักการ
เบ้ืองตน เพื่อเปนพื้นฐานในการประยุกตใชในข้ันสูงขึ้นไป นอกจากน้ีตองพัฒนาทักษะเหลานี้ใหมี
ประสิทธิภาพโดยคาํ นงึ ถงึ มารยาทในการฟง และการดดู วย
ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ผูเรยี นสามารถ
1. สรุปความจบั ประเด็นสาํ คัญของเรื่องท่ฟี งและดู
2. วิเคราะหความนาเชอ่ื ถือ จากการฟง และดูสอ่ื โฆษณา และขา วสารประจําวนั
อยา งมีเหตผุ ล
3. วเิ คราะหการใชน ํา้ เสียง กิรยิ า ทา ทาง ถอยคาํ ของผูพดู อยา งมเี หตผุ ล
4. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูมีมารยาทในการฟงและดู
ขอบขา ยเนอื้ หา
เรื่องที่ 1 หลักเบื้องตน ของการฟง และการดู
เร่อื งที่ 2 หลักการฟงเพอ่ื จับใจความสําคญั
เรื่องท่ี 3 หลกั การฟง การดู และการพูดอยา งมีวิจารณญาณ
เรื่องที่ 4 การมีมารยาทในการฟง และการดู
2
เรื่องที่ 1 หลกั เบอ้ื งตน ของการฟง และการดู
หลกั เบือ้ งตนของการฟง และการดู
ความหมายของการฟงและการดู
การฟงและการดูหมายถึง การรบั รเู รื่องราวตา ง ๆ จากแหลงของเสยี งหรอื ภาพ หรือเหตุการณ
ซง่ึ เปน การฟงจากผูพดู โดยตรง หรอื ฟงและดูผานอุปกรณ หรือส่ิงตาง ๆ แลวเกิดการรับรูและนําไปใช
ประโยชน โดยตอ งศกึ ษาจนเกิดความถูกตอ ง วอ งไว ไดป ระสิทธิภาพ
หลักการฟง และการดูทดี่ ี
1. ตอ งรูจุดมุง หมายของการฟง และดู และตอ งจดบันทึกเพื่อเตือนความจํา
2. ตอ งฟง และดูโดยปราศจากอคติ เพอื่ การวเิ คราะหวิจารณท่ตี รงประเดน็
3. ใหความรวมมอื ในการฟง และดูดวยการรว มกจิ กรรม
จุดมุงหมายของการฟง และการดู
การฟง มจี ดุ มงุ หมายที่สาํ คัญ ดังน้ี
1. ฟงเพอื่ จบั ใจความสําคัญไดวาเรือ่ งท่ีฟง น้ันเปนเรอ่ื งเกี่ยวกบั อะไร เกิดข้นึ ท่ีไหน เมื่อไร หรือ
ใครทาํ อะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร
2. ฟงเพ่ือจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง และอาจตองมีการบันทึกยอ
เพอื่ ชว ยความจํา
3. ฟงเพื่อหาเหตุผลมาโตแยงหรือคลอยตาม ผูฟงตองตั้งใจฟงเปนพิเศษ และตองใช
วิจารณญาณพิจารณาวาเร่ืองที่ฟงน้ันมีอะไรเปนขอเท็จจริง อะไรเปนขอคิดเห็น และมีความถูกตอง
มเี หตุผลนาเชอื่ ถือมากนอ ยเพียงใด ซ่งึ ผูฟ งควรพิจารณาเรื่องราวท่ฟี ง ดว ยใจเปน ธรรม
4. ฟง เพ่ือเกิดความเพลิดเพลิน และซาบซ้ึง ในคุณคาของวรรณคดี คติธรรม และดนตรี ผูฟง
ตอ งมคี วามรูใ นเรอื่ งทฟี่ ง เขาใจคาํ ศัพท สญั ลักษณต า ง ๆ และมคี วามสามารถในการตีความ เพื่อใหเกิด
ความไพเราะซาบซ้ึงในรสของภาษา
5. ฟงเพ่อื สง เสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค เปนความคิดที่เกิดข้ึนขณะที่ฟง หรือ
หลงั จากการฟง ซึ่งอาจจะออกมาในรูปของงานประพันธ งานศลิ ปะ หรอื การพดู
การดูมจี ดุ มงุ หมายที่สาํ คัญ ดังน้ี
1. ดูเพื่อใหร ู เปนการดูเพอ่ื ใหเปนคนทันโลกทันเหตุการณ
2. ดูเพื่อศึกษาหาความรู เปนการดูท่ีชวยสงเสริมการอาน หรือการเรียนใหมีความรูมากขึ้น
หรอื มคี วามชดั เจนลมุ ลกึ ข้นึ
3. ดูเพ่ือความเพลดิ เพลนิ เชน ละคร เกมโชว มิวสิควดิ ีโอ
3
4. ดเู พ่ือยกระดบั จิตใจ เปนการดูท่ีจะทําใหจิตใจเบิกบานและละเอียดออน เขาถึงธรรมชาติ
และสจั ธรรม ไดแก การชมธรรมชาติ การชมโขน ละคร การดูรายการเก่ยี วกับธรรมะ การดูกีฬา
เร่ืองท่ี 2 หลกั การฟงเพอื่ จบั ใจความสาํ คญั
การฟง เพื่อจบั ใจความสาํ คัญ เปน การฟงเพอื่ ความรู ผูฟ งตองตง้ั ใจฟงและพยายามสรุป เนื้อหา
โดยมหี ลกั การสําคัญ ดังนี้
1. มีสมาธดิ ี ต้ังใจฟง ติดตามเรื่อง
2. ฟง ใหเ ขาใจและลําดบั เหตกุ ารณใ หดีวา เรอื่ งท่ฟี ง เปนเรอ่ื งของอะไร ใครทาํ อะไร ทีไ่ หน
อยา งไร
3. แยกใหออกวา ตอนใดเปนใจความสาํ คญั ตอนใดเปนสว นขยาย
4. บนั ทึกขอ ความสําคัญจากเร่ืองทฟ่ี ง
ตวั อยาง การฟง เพ่อื จับใจความสําคญั
1. จับใจความสาํ คัญจากบทรอยแกว
รอ ยแกว คือ ความเรียงทส่ี ละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดวยเสียงและความหมาย แตไม
กําหนดระเบยี บบญั ญตั ิแหง ฉนั ทลกั ษณคอื ไมจ ํากดั ครุ ลหุ ไมกําหนดสัมผัส
ตัวอยาง “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” สุภาษิต “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” นี้โดยมากรูจัก
ความหมายกันแพรหลายอยูแลว คือวา เห็นผิดเปนชอบ เชน ตัวอยาง เห็นเพ่ือนของตนคาฝนเถื่อน
หามเทาไรก็ไมฟงจนเพื่อนผูนั้นถูกจับเสียเงินเสียทองมากมาย เชนนี้มักกลาวติเตียนทานผูนั้นวา
“เห็นกงจักรเปนดอกบัว”
(ชมุ นมุ นพิ นธ ของ อ.น.ก.)
ใจความสําคัญ เห็นกงจักรเปนดอกบัว คอื เหน็ ผดิ เปนชอบ
ตวั อยาง ครอบครัวของเราคนไทยสมัยกอน ผูชายก็ตองเปนหัวหนาครอบครัว ถามาจาก
ตระกลู ดีมวี ิชาความรูกม็ ักรบั ราชการ เพราะคนไทยเรานิยมการรับราชการมีเงินเดือน มีบานเรือนของ
ตนเองไดกม็ ี เชา เขาก็มี อยูกับบิดามารดาก็ไมนอย ไดเปนมรดกตกทอดกันก็มี ทรัพยสมบัติเหลาน้ีจะ
งอกเงยหรอื หมดไปก็อยูท่ีภรรยาผูเปน แมบ า น
(แมศรีเรอื น ของทิพยว าณี สนทิ วงศ)
ใจความสําคัญ ครอบครวั ไทยสมยั กอ น ผูชายที่มคี วามรนู ยิ มรบั ราชการ ทรัพยส มบตั ทิ ีม่ จี ะ
เพ่ิมขึ้นหรือหมดไปกอ็ ยทู ภี่ รรยา
4
2. จบั ใจความสาํ คญั จากบทรอยกรอง
รอ ยกรอง คือ ถอ ยคาํ ทีเ่ รยี บเรยี งใหเ ปน ระเบยี บตามบัญญตั ิแหง ฉนั ทลักษณ คือ ตาํ ราวา
ดวยการประพันธ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน
ตวั อยาง ฟงขอความตอ ไปน้แี ลว จบั ใจความสําคญั (ครูหรือนกั ศึกษาเปน ผูอา น)
นางกอดจบู ลบู หลังแลว สง่ั สอน อาํ นวยพรพลายนอ ยละหอ ยไห
พอไปดศี รสี วสั ดก์ิ าํ จดั ภัย จนเติบใหญย ง่ิ ยวดไดบวชเรียน
ลูกผชู ายลายมอื น้นั คอื ยศ เจา จงอตสา หทาํ สมาํ่ เสมียน
แลว พาลกู ออกมาขา งทาเกวียน จะจากเจยี นใจขาดอนาถใจ
(กาํ เนิดพลายงาม ของ พระสนุ ทรโวหาร (ภ)ู
ใจความสําคัญ การจากกนั ของแมล กู คอื นางวนั ทองกับพลายงาม นางวันทองอวยพรให
โอวาทและจากกันดวยความอาลยั อาวรณอ ยา งสดุ ซง้ึ
ตวั อยาง การฟงบทรอ ยกรองเพอื่ จบั ใจความสาํ คัญ (ครูอานใหฟง )
ถงึ บางแสนแลน สบายจรดชายหาด เดียรดาษคนลงสรงสนาน
เสยี งเจ๊ยี วจา วฉาวฉานา สําราญ ลวนเบิกบานแชม ชน่ื ร่ืนฤทยั
คลืน่ ซัดสาดฟาดฝงดงั ซูซา ถึงแสงแดดแผดกลา หากลวั ไม
เด็กกระโดดโลดเตน เลน น้ําไป พวกผใู หญค อยเฝา เหมือนเขา ยาม
เราหยดุ พักกินกลางวันกนั ท่ีน่ี ในรานมผี คู นอยลู น หลาม
มอี าหารจีนไทยรสไมท ราม คนละชามอ่ิมแปลม าแคค อ
(นิราศสตั หีบ พล.ร.ต.จวบ หงสกลุ )
ฟงบทรอ ยกรองขางบนแลวตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. เรือ่ งอะไร (เท่ยี วชายทะเล)
2. เกี่ยวกับใคร (เดก็ และผใู หญ)
3. ทําอะไร (สงเสียงดงั วง่ิ เลน ตามชายหาด)
4. ทีไ่ หน (บางแสน)
5. เม่อื ไร (ตอนกลางวัน)
ใจความสาํ คัญ เด็กและผใู หญไ ปเทีย่ วบางแสน รับประทานอาหารกลางวนั เดก็ เลนน้ํา
ผใู หญค อยเฝาสนกุ สนานมาก
3. จับใจความสําคัญจากบทความ
บทความ คือ ขอเขียนซึ่งอาจจะเปนรายงาน หรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพใน
หนังสอื พิมพ วารสาร สารานกุ รม เปน ตน
5
ตัวอยาง ใครทเี่ คยกินไขเยย่ี วมาคงประหลาดใจวา ทําไมเรียกวา ไขเยยี่ วมา ทัง้ ๆ ทตี่ ามปกติ
แลว ใชข ้ีเถา จากถานไมผ สมวตั ถุดิบอื่น ๆ พอกไขจนเกิดปฏิกิริยาระหวางสารท่ีพอกกับเนื้อไขจนเกิดวุน
สดี ํา ๆ เปนไขเยี่ยวมา ขึน้ มา โดยไมไ ด “เย่ียวมา ” สักกะหยดมากอนปฏิสนธิจนเปนไขกินอรอยแตก็น่ัน
แหละ นา จะสนั นิษฐานกนั ไดวา ตน ตาํ รบั เดิมของการทําไขวุนดําเชนน้ี มาจากการเอาไขไปแชเย่ียวมา
จริงๆ และเจา ฉม่ี า นีเ่ องทที่ าํ ปฏิกิรยิ ากับไขจนเปนวนุ ข้ึนมา
ทวา ในยุคหลัง ๆ ชะรอยจะหาฉี่มา ลาํ บากหรอื ไมส ะดวก กเ็ ลยหาสูตรทาํ ทาํ ไขป สสาวะมา
ใหมใ หสะดวกและงายดายรวมทงั้ ประหยดั เพราะไมตองเลย้ี งมา เอาฉเ่ี หมือนเดิมก็เปนได
สวนรสชาติจะเหมือนตํารับเดิมหรือเปล่ียนแปลงประการใด ก็ยังไมมีใครพิสูจนหรือ
พยายามทาํ ออกมาเทยี บเคียงกัน
ตัดตอนจากหนังสือสยามรฐั ฉบบั วันที่ 24 กมุ ภาพันธ 2530
ใจความสาํ คญั ไขเยย่ี วมา ไมไ ดใ ชเ ยย่ี วมา ในการทาํ
4. จับใจความสําคญั จากขา ว
ขาว คือ คาํ บอกเลา เรอ่ื งราวซึ่งโดยปกตมิ กั เปนเรื่องเกิดใหมห รอื เปนทนี่ า สนใจ
ตวั อยาง ทศ่ี าลจงั หวดั อบุ ลราชธานี พนักงานอัยการจังหวัดเปนโจทกฟ อ งนายวนั สนั สงู โนน
อายุ 44 ป เปนจําเลย ฐานเมื่อวันที่ 30 ก.ค.30 ในเวลากลางวัน จําเลยไดบังอาจตัดฟนตนไมประดู
1 ตน ในเขตปาสงวนแหงชาติ และบังอาจแปรรูปไมประดูดังกลาว จํานวน 8 แผน ประมาณ 0.48
ลกู บาศกเมตร และมีไมดังกลาวไวครอบครอง เหตุเกิดท่ีตําบลนาจะหลวย อําเภอนาจะหลวย จังหวัด
อุบลราชธานี
ศาลจงั หวัดอุบลราชธานี มีคาํ พพิ ากษาวา จําเลยมีความผิด พ.ร.บ.ปา สงวนแหง ชาติ พ.ร.บ.
ปา ไม และประมวลกฎหมายอาญา รวมลงโทษ จําคกุ 18 เดอื น จําเลยใหการสารภาพขณะจับกุมเปน
ประโยชนแ กก ารพจิ ารณาอยบู า ง จงึ มเี หตบุ รรเทาโทษ ลดโทษใหห นึ่งในส่ี คงจาํ คกุ 13 เดือน 15 วัน
ของกลางรบิ
ใจความสําคญั ตัดตน ประดู 1 ตน ถูกจาํ คกุ กวา 13 เดือน
6
เร่อื งท่ี 3 หลักการฟง การดู อยางมวี ิจารณญาณ
ผทู สี่ ามารถจะฟงและดูไดอยา งมีวิจารณญาณ จะตอ งมคี วามเขา ใจและสามารถปฏิบตั ิดงั นี้ได
1. การวเิ คราะห คือ ความสามารถในการแยกขอเทจ็ จรงิ ออกจากขอคิดเห็นรูว า อะไรเปน อะไร
อะไรเปนเหตอุ ะไรเปนผล
ตวั อยาง
ปที่ผานมาถึงแมก ารแขงขันธุรกิจกองทุนรวมสูง แตบริษัทวางกลยุทธดวยการแบงกลุมลูกคา
อยางชัดเจน เพอ่ื คดิ คนผลิตภณั ฑ และการบริการใหทัว่ ถงึ รวมทงั้ ตอบสนองความตองการลูกคาไดตรง
จุดเพราะเชอื่ วา ลูกคามคี วามตองการและรบั ความเสย่ี งเทา กนั
ขอคิดเหน็ คอื ผพู ดู ถอื วาลกู คา มีความตองการและรับความเสีย่ งเทากนั
2. การตีความ คอื ตองรูความหมายทแ่ี ฝงไวใ นใจเร่อื งหรือภาพนั้น ๆ
ตวั อยา ง
กองทนุ ไทยพาณิชยย ิ้มหนาบาน ผลงานทะลเุ ปาดนั ทรพั ยส นิ พุง
ย้มิ หนา บาน หมายถึง ยม้ิ อยา งมีความสุขมีความพงึ พอใจ
3. การประเมนิ คา เปน ทกั ษะทตี่ อเนอ่ื งมาจากการวเิ คราะหก ารตีความ การประเมนิ คาสิ่งใด ๆ
จะตองพิจารณาใหร อบดาน เชน จุดประสงค รูปแบบ ประเภทของสาร เชน ถาจะประเมินคุณคาของ
วรรณคดตี องดใู นเร่อื งคณุ คาวรรณศลิ ป ดานสังคม เน้ือหาและนาํ ไปใชในชีวิตประจําวัน
4. การตัดสินใจ คอื การวินิจฉยั เพื่อประเมนิ คา อันนําไปสูการตัดสินใจที่ถกู ตอ งวา สงิ่ ใดควร
เชอ่ื ไมควรเชื่อ ซึง่ การตดั สินใจทถ่ี ูกตอ งเปนเรือ่ งสาํ คัญมากในชีวติ ประจาํ วนั
5. การนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจําวนั ทักษะนจ้ี ะตอ งใชศลิ ปะและประสบการณข องแตล ะ
คนมาชวยดวย ซึ่งการฟง มาก ดมู ากกจ็ ะชวยใหต ัดสนิ ใจไมผ ดิ พลาด
เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟง การดู
มารยาทในการฟง และการดู
การฟงและการดูเปนกิจกรรมในการดําเนินชีวิตท่ีทุกคนในสังคมมักจะตองเขาไปมีสวนรวม
เกือบทุกวันการเปน ผูมีมารยาทในการฟงที่ดี นอกจากเปนการสรางบุคลิกภาพท่ีดีใหกับตนเองแลวยัง
เปนสิ่งแสดงใหเห็นวาเปนผูไดรับการอบรมฝกฝนมาอยางดี เปนผูมีมารยาทในสังคม การที่ทุกคนมี
มารยาทที่ดีในการฟงและการดู ยังเปนการสรางระเบียบในการอยูรวมกันในสังคม ชวยลดปญหา
การขดั แยง และชวยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการฟงอีกดวย ผูม มี ารยาทในการฟงและดู ควรปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี
1. เม่ือฟงอยูเฉพาะหนา ผูใหญ ควรฟงโดยสํารวมกริ ยิ ามารยาท
7
2. การฟง ในท่ีประชมุ ควรเขา ไปนัง่ กอนผพู ูดเริม่ พดู โดยนง่ั ทีด่ านหนา ใหเต็มเสยี กอน และควร
ตัง้ ใจฟง จนจบเรือ่ ง
3. ฟงดวยใบหนาย้ิมแยมแจมใสเปนกันเองกับผูพูด ปรบมือเมื่อมีการแนะนําตัวผูพูดและ
เม่ือผพู ดู พูดจบ
4. เมื่อฟงในทป่ี ระชมุ ตองต้งั ใจฟง และจดบันทกึ ขอความที่สนใจ หรือขอ ความทส่ี าํ คัญ หากมี
ขอสงสัยเกบ็ ไวถ ามเมื่อมโี อกาสและถามดวยกริ ิยาสุภาพ
5. เมอื่ ไปดูละคร ภาพยนตร หรือฟงดนตรี ไมควรสรางความรําคาญใหบุคคลอ่ืน ควรรักษา
มารยาทและสํารวมกิริยา
กิจกรรม บทที่ 1 การฟง การดู
กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเ รียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี
1.1 ความหมายของการฟง และการดู
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
1.2 บอกจดุ มงุ หมายของการฟงและการดู มา 3 ขอ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นใชว จิ ารณญาณใหร อบคอบวา เมอื่ ฟงขอความโฆษณานี้แลว นาเช่ือถอื หรือเปน
ความจรงิ มากนอ ย เพยี งไร
ครีมถนอมผิว ชว ยใหผวิ นิ่ม ผวิ ที่มรี ว้ิ รอยเหีย่ วยน จะกลบั เตง ตึง
เปลง ปลง่ั ผวิ ที่ออ นเยาวใ นวัยเด็กจะกลบั คนื มา คุณสภุ าพสตรี
โปรดไวว างใจ และเรยี กใชครีมถนอมเนื้อ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
8
กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบท่ีถูกตอ งเพยี งคาํ ตอบเดียว
1. การฟงท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ คอื การฟง ในขอใด
ก. จับสาระสําคัญได
ข. จดบันทกึ ไดทนั
ค. ปราศจากอคติ
ง. มีสมาธิในการฟง
2. ขอใดคอื ลักษณะของการฟง ที่ดี
ก. แสดงสหี นา เมือ่ สงสัยและรอถามเมื่อผพู ูดพดู จบ
ข. ดวงตาจับจอ งอยทู ี่ผูพูดแสดงความใสใจในคําพดู อยางจรงิ จงั
ค. กวาดสายตาไปมาพรอ มกบั จอ งหนาและทกั ทว งข้ึนเมื่อไมเ หน็ ดวย
ง. สบตากบั ผพู ดู เปน ระยะ ๆ อยา งเหมาะสมและเสรมิ หรอื โตแยง
ตามความเหมาะสม
3. การฟงทท่ี ําใหผ ฟู ง เกดิ สติปญ ญา หมายถงึ การฟง ลักษณะใด
ก. ฟง ดว ยความอยากรู
ข. ฟงดวยความตงั้ ใจ
ค. ฟงแลววิเคราะหส าร
ง. ฟง เพ่ือจับใจความสําคญั
4. ความสามารถในการฟงขอใดสําคัญทส่ี ุดสาํ หรบั ผเู รียน
ก. จดส่งิ ทฟี่ งไดครบถว น
ข. จับสาระสําคัญของเรอ่ื งได
ค. ประเมนิ คาเรอ่ื งท่ีฟงได
ง. จบั ความมงุ หมายของผพู ูดได
5. บุคคลในขอ ใดขาดมารยาทในการฟงมากทส่ี ดุ
ก. คยุ กบั เพื่อนขณะท่ีฟงผูอน่ื พดู
ข. ฟง ไปทานอาหารไปขณะทผี่ พู ูดพูด
ค. ไปถงึ สถานทฟ่ี ง หลังจากผพู ูดเรม่ิ พูดแลว
ง. จดบันทกึ ขณะทฟ่ี งโดยไมม องผูพ ูดเลย
9
บทที่ 2
การพูด
สาระสําคัญ
การพูดเปนทักษะสงสารเพ่ือรับรูเร่ืองราวตาง ๆ และถายทอดความรูและความคิดของเรา
ใหผูอื่นรับรู การสงสารจะประสบความสําเร็จ จําเปนตองจับประเด็นสําคัญเร่ืองที่จะพูดใหเหมาะสม
กับลกั ษณะโอกาส รวมทง้ั การมมี ารยาทในการพูดจะทําใหสามารถส่ือสารดวยการพูดมีประสิทธิภาพ
ย่ิงขนึ้
ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั ผเู รยี นสามารถ
1. พูดนําเสนอเพ่อื ความรู ความคดิ เหน็ สรา งความเขา ใจ โนม นา วใจ ปฏิเสธ เจรจาตอรอง
ดวยภาษากิรยิ าทาทางทส่ี ภุ าพ
2. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูมมี ารยาทในการพูด
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 สรปุ ความจับประเด็นสาํ คัญของเรือ่ งทีพ่ ูดได
เรอ่ื งท่ี 2 การพูดในโอกาสตาง ๆ
เร่อื งท่ี 3 มารยาทในการพดู
10
เรอื่ งที่ 1 สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาํ คัญของเร่อื งทพี่ ดู
การพูดเปน ทักษะหน่ึงของการส่อื สาร การพูดคือการเปลง เสยี งออกมาเปน ถอยคาํ หรือขอ ความ
ตาง ๆ เพื่อติดตอสื่อสารใหผูพูดและผูฟงเขาใจเรื่องราวตาง ๆ การพูดเปนการสื่อความหมายโดยใช
ภาษาเสียง กิริยาทาทางตาง ๆ เพื่อถายทอดความรูและความรูสึก รวมทั้งความคิดเห็นของผูพูดใหผูฟง
ไดร ับรู และเขาใจตามความมงุ หมายของผูฟงเปนเกณฑ
องคประกอบของการพดู ประกอบดว ย
1. ผพู ดู คือ ผทู ี่มีจดุ มงุ หมายสําคัญท่ีจะเสนอความรูความคิดเห็นเพื่อใหผฟู ง ไดร ับรูและเขาใจ
โดยใชศ ิลปะการพูดอยา งมีหลักเกณฑ และฝก ปฏิบัตอิ ยเู ปน ประจาํ
2. เนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวที่ผูพูดนําเสนอเปนความรูหรือความคิดเห็นใหผูฟงไดรับรู
อยางเหมาะสม
3. ผูฟง คือ ผูรับฟงเรื่องราวตาง ๆ ท่ีผูพูดนาํ เสนอ ซ่ึงผูฟงตองมีหลักเกณฑและมารยาท
ในการฟง
นอกจากน้ีผูพูดยังควรมีการใชสื่อ หรืออุปกรณตาง ๆ ประกอบการพูดเพื่อใหผูฟงมีความรู
ความเขาใจย่ิงข้ึน สื่อตาง ๆ อาจเปน แผนภาพ ปายนิเทศ เทปบันทึกเสียง หรือ วีดิทัศน เปนตน
และส่ิงท่ีสําคัญคือผูพูดตองคํานึงถึงโอกาสในการพูด เวลาและสภาพแวดลอมท่ีเก่ียวของกับการพูด
เพอื่ ใหก ารพูดนน้ั เกิดประสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ
การพดู ทด่ี ี คือ การสื่อความหมายที่ดนี นั้ ยอ มส่อื ความเขาใจกับใคร ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค
ของผูพูด การท่ีผฟู ง ฟงแลวพึงพอใจ สนใจ เกดิ ความศรทั ธาเลอ่ื มใสผูพูด เรยี กวาผนู ้นั มีศลิ ปะในการพดู
ลกั ษณะการพดู ท่ีดี มดี งั น้ี
1. มีบุคลิกภาพที่ดี การฟงคนอื่นพูดน้ันเราไมไดฟงแตเพียงเสียงพูด แตเราจะตองดูการพูด
ดูบุคลิกภาพของเขาดวย บุคลิกภาพของผูพูดมีสวนที่จะทําใหผูฟงสนใจ ศรัทธาตัวผูพูด บุคลิกภาพ
ไดแก รูปราง หนาตา ทา ทาง การยืน การน่งั การเดิน ใบหนาท่ียม้ิ แยม ตลอดจนอากัปกิริยาทแี่ สดงออก
ในขณะท่พี ูดอยา งเหมาะสมดวย
2. มคี วามเชื่อม่นั ในตนเองดี ผูพูดจะตองเตรียมตัวลวงหนา ฝกซอมการพูดใหคลองสามารถ
จดจาํ เร่อื งทีพ่ ูดได ควบคมุ อารมณไ ด ไมตนื่ เตน ประหมา หรือลุกลีล้ ุกลน รบี รอ นจนทําใหเสยี บุคลิก
3. พูดใหตรงประเด็น พูดในเร่ืองท่ีกําหนดไว ไมนอกเร่ือง พูดอยางมีจุดมุงหมายมุงใหผูฟง
ฟงแลวเขา ใจ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคท่ีผูพ ดู ตอ งการ
4. ตอ งใชภาษาท่ีเหมาะสมกบั ระดบั ผฟู ง ตามปกตนิ ยิ มใชภาษาธรรมดา สภุ าพ สัน้ ๆ กะทัดรัด
สื่อความเขา ใจไดงา ย หลกี เล่ยี งสาํ นวนโลดโผน ศัพทเทคนิคหรือสาํ นวนที่ไมไ ดม าตรฐาน
11
5. ตองคํานึงถึงผฟู ง ผูพดู ตองทราบวา ผูฟงเปนใคร เพศ วยั อาชพี ระดับการศกึ ษา ความสนใจ
ความเช่ือถือเปนอยางไร เพ่ือจะไดพูดใหถูกกับสภาพของผูฟง หลีกเล่ียงการแสดงความคิดเห็นและ
ความเชือ่ ทขี่ ดั แยง กับผูฟง
6. มีมารยาทในการพูด ผูพดู ตองพจิ ารณาเลือกใชถอยคําทีถ่ ูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและ
บคุ คลเพอื่ แสดงถงึ ความมีมารยาทที่ดีและใหเกยี รตผิ ูฟง
การสรุปความ จบั ประเดน็ สําคญั ของเรอื่ งทพี่ ดู
1. ผพู ดู จะตองทราบรายละเอยี ดของผูฟง ดงั นี้
1.1 เปนชายหรือหญงิ
1.2 อายุ
1.3 การศกึ ษา
1.4 อาชพี
เปน เบื้องตน เพ่อื มากําหนดเนือ้ หาสาระท่ีจะพูดใหเ หมาะสมกบั ผูฟง
2. ผูพูดตองมีวตั ถุประสงคที่จะพดู จะเปน การพดู วิชาการ เพอ่ื ความบนั เทิง หรือเพ่ือสั่งสอน
เปน ตน
3. เนื้อหาสาระ ผูพูดอาจเพียงกาํ หนดหัวขอ แตเม่ือพูดจริงจะตองอธิบายเพิ่มเติม
อาจเปนตัวอยา ง อาจเปน ประสบการณ ที่จะเลาใหผ ูฟง ไดฟง
ผูฟง จะสรุปความเรอื่ งที่รบั ฟง ได หากผพู ดู พดู มสี าระสาํ คญั และมกี ารเตรียมตัวที่จะพูดมาอยา งดี
เรือ่ งท่ี 2 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ
การพูดเปน การส่ือสารท่ีทําใหผูฟงไดรับทราบเนื้อหารายละเอียดของสารไดโดยตรงหากเปน
การส่ือสารในลักษณะการสนทนาโดยตรงก็ยอมทําใหเห็นอากัปกิริยาตอกันเปนการเสริมสราง
ความเขาใจมากย่งิ ขนึ้ การพดู มหี ลายลักษณะ ไดแก การพดู อภิปราย พดู แนะนําตนเอง พูดกลา วตอ นรบั
พดู กลาวขอบคณุ พดู โนม นา วใจ เปนตน จะมีรูปแบบนําเสนอในหลายลักษณะ เชน การนําเสนอ เพื่อต้ัง
ขอ สังเกต การแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือตงั้ ขอเทจ็ จริง การโตแ ยง และการประเมนิ คา เปนตน
ความสาํ คัญของการพูด
การพดู มีความสาํ คญั ดังนี้
1. การพดู ทาํ ใหเกิดความเขาใจในประเดน็ ของการสื่อสารตาง ๆ ทั้งการสื่อสารเพ่ือใหความรู
ทางวิชาการ การสนทนาในชีวิตประจําวัน หรือการพูดในรูปแบบตาง ๆ ยอมทําใหผูฟงเขาใจประเด็น
เกิดความคดิ สรา งสรรคนาํ ไปสูการปฏบิ ัตไิ ดถ กู ตอ ง
12
2. การพดู สามารถโนม นาวจติ ใจของผูฟง ใหค ลอยตามเพ่ือเปลย่ี นความเช่อื หรือทศั นคตติ า ง ๆ
เพ่ือใหเกิดการปฏิบัติส่ิงตาง ๆ อยางมีหลักเกณฑมีความถูกตอง ซึ่งผูฟงตองใชวิจารณญาณ
ในการพจิ ารณาเรื่องราวท่ีผูพูดเสนอสารในลกั ษณะตา ง ๆ อยางมีเหตผุ ล
3. การพูดทาํ ใหเกิดความเพลิดเพลิน โดยเฉพาะการพูดที่มุงเนนเรื่องการบันเทิงกอใหเกิด
ความสนกุ สนาน ทําใหผ ฟู ง ไดรบั ความรูดวยเชนกนั
4. การพูดมปี ระโยชนท ช่ี วยดาํ รงสังคม ใชภ าษาพูดจาทักทาย เปนการสรางมนุษยสัมพันธแก
บุคคลในสังคม การพูดยังเปนการสอ่ื สารเพื่อเผยแพรความรูค วามคิดใหผูฟงปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดความสุข
สงบในสังคม
การพูดในโอกาสตา ง ๆ
1. การพูดแนะนาํ ตนเอง
การพูดแนะนําตนเอง เปนการพูดท่ีแทรกอยูกับการพูดในลักษณะตาง ๆ เปนพื้นฐาน
เบ้ืองตนที่จะทาํ ใหผ ูฟงมีความรเู กย่ี วกับผพู ูด การแนะนําตนเองจะใหร ายละเอยี ดแตกตางกนั ไปตาม
ลกั ษณะของการพูด
1. การพดู แนะนําตนเองในกลุมของผเู รียน ควรระบรุ ายละเอียด ชื่อ - นามสกุล การศึกษา
สถานศึกษา ที่อยปู จจบุ นั ภูมลิ าํ เนาเดมิ ความถนดั งานอดิเรก
2. การพูดแนะนาํ ตนเองเพ่อื เขาปฏิบตั ิงาน ควรระบุ ชอื่ - นามสกุล รายละเอียดเก่ียวกับ
การศึกษาตําแหนง หนา ทท่ี ่จี ะเขามาปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลาทีจ่ ะเรม่ิ ปฏบิ ัตหิ นาที่
3. การแนะนําบุคคลอื่นในสังคมหรือท่ีประชุม ควรใหรายละเอียด ชื่อ – นามสกุล
ผูทเ่ี ราแนะนาํ ความสามารถของผทู ่ีเราแนะนํา การแนะนาํ บคุ คลใหผ อู ่นื รูจกั ตองใชคาํ พูด เพื่อสรา งไมตรี
ที่ดรี ะหวางบุคคลทงั้ สองฝา ย
2. การกลา วตอนรบั
การกลา วตอ นรับเปน การกลาวเพอ่ื บอกความรูส ึกที่มตี อผทู ีม่ าโดย
1. กลา วถึงความยินดขี องการเปน เจา ของสถานที่
2. กลาวยกยองผูมาเยือน เชน เปนใคร มีผลงานดีเดนอะไร มีความสัมพันธอยางไรกับ
ผูตอ นรับ
3. แสดงความยนิ ดีทีใ่ หก ารตอนรับ
4. ขออภยั หากมสี ่งิ ใดบกพรอง และหวังวาจะกลับมาเยย่ี มอกี
3. การกลาวอวยพร
โอกาสที่กลาวอวยพรมีหลายโอกาส เชน การกลาวอวยพรวันเกิด วันปใหม ข้ึนบานใหม
การอวยพรคบู า วสาว หรือในโอกาสทีจ่ ะมีการโยกยายอําลาไปรับตําแหนง ใหม ฯลฯ
หลักการกลาวอวยพร มีขอ ปฏิบตั ิที่ควรจาํ ดงั นี้
1. ควรกลา วถึงโอกาสและวันสาํ คญั นั้น ๆ ทไ่ี ดมาอวยพรวา เปนวันสําคญั อยางไร ในโอกาส
ดีอยา งไร มคี วามหมายตอ เจา ภาพหรือการจดั งานนน้ั อยา งไร
13
2. ควรใชค าํ พูดท่ีสภุ าพ ไพเราะ ถกู ตอ ง เหมาะสมกบั กลมุ ผฟู ง
3. ควรกลาวใหส น้ั ๆ ใชคาํ พูดงายๆ ฟง เขา ใจดี กะทัดรดั กระชับความ นา ประทบั ใจ
4. ควรกลาวถงึ ความสมั พนั ธระหวา งผอู วยพรกบั เจา ภาพ กลา วใหเ กยี รติ ชมเชยในความดี
ของเจา ภาพ และแสดงความปรารถนาดีท่มี ีตอ เจาภาพ
5. ควรใชค ําพูดอวยพรใหถ กู ตอ ง หากเปน การอวยพรผูใหญ นิยมอา งส่ิงศกั ดส์ิ ิทธ์ทิ เี่ คารพ
นบั ถือมาประทานพร
4. การกลาวขอบคุณ
การกลาวขอบคุณเปนการแสดงน้ําใจไมตรี หรือความดีท่ีผูอื่นกระทําให เชน ขอบคุณ
วิทยากรท่บี รรยาย ดังน้ี
1. ควรกลาวขอบคุณวิทยากรใหเ กยี รตบิ รรยาย
2. มกี ารสรุปเรือ่ งทว่ี ิทยากรบรรยายจบไปอยางส้นั ๆ ไดใ จความ
3. ควรกลา วถงึ คณุ คาของเรือ่ งท่ีฟงและประโยชนท ไี่ ดร ับจากการบรรยาย
4. กลา วใหม ีความหวงั จะไดร บั เกยี รตจิ ากวทิ ยากรอกี ในโอกาสตอไป
5. กลา วขอบคุณวิทยากรอกี คร้ังในตอนทาย
5. การพดู ใหโอวาท
การพูดใหโ อวาท จะมลี กั ษณะ ดังน้ี
1. กลา วถงึ ความสําคญั และโอกาสทมี่ ากลาวใหโ อวาทวา มคี วามสาํ คญั อยางไร
2. พูดใหต รงประเดน็ เลือกประเดน็ สําคัญ ๆ ทม่ี ีความหมายแกผูรับโอวาท
3. ควรมีขอแนะนํา ตักเตอื น และเสนอแนะประสบการณท มี่ ปี ระโยชน
4. ควรพดู ชแี้ จงและเกล้ยี กลอ มใหผ ูฟงตระหนักและนําโอวาทไปใชใ หเ กิดประโยชนไ ดอ ยา งแทจ ริง
5. กลา วสนั้ ๆ ไดใจความดี ตอนทา ยของการใหโอวาทกค็ วรกลาวอวยพรทีป่ ระทบั ใจ
การพูดแสดงความคดิ เห็น
การพูดเพื่อแสดงความรูและความคิดเหน็ ไดแ ก การพูดอภปิ ราย การรายงาน การสอ่ื ขาว
และการสนทนาความรู เปนตน ซ่ึงการพูดตาง ๆ เหลานี้มีแนวทาง ดังนี้
1. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหา โดยคํานึงถึงเนื้อหาตามจุดประสงคที่จะพูด เพ่ือใหรายละเอียด
ท่ถี ูกตอ งตรงประเดน็ ตามทีต่ องการเสนอความรู
2. วิเคราะหเ ร่อื งราวอยา งมีหลักเกณฑ โดยพิจารณาแยกแยะออกเปนสวน ๆ เพ่ือทําความเขาใจ
แตล ะสว นใหแ จมแจง และตองคาํ นงึ ถึงความสัมพนั ธเ ก่ยี วเน่อื งกนั ของแตล ะสวน
3. ประเมินคา เรอื่ งท่ีจะพูด
4. ใชภาษาอยางเหมาะสม มีการเรียงลาํ ดับใจความที่ดี แบงเนื้อหาเปนเร่ืองเปนตอน
ใชตวั อยา งประกอบการพดู มกี ารเปรียบเทยี บ เพอ่ื ใหผ ูฟงเหน็ ภาพพจนไดอยางชัดเจน มกี ารย้าํ ความ
เพื่อเนน สาระสําคญั รวมทั้งยกโวหารคําคมมาประกอบเพอ่ื สรางความเขาใจและเกิดความประทับใจ
ย่ิงข้ึน
14
เรื่องที่ 3 มารยาทในการพดู
การพูดท่ดี ไี มว าจะเปน การพูดในโอกาสใด ผูพูดจะตองคํานึงถึงมารยาทในการพูด ซ่ึงจะชวย
สรา งความชน่ื ชมจากผฟู ง มผี ลใหการพดู แตล ะครั้งประสบความสําเร็จตามวตั ถุประสงคท ่ีตั้งไว มารยาท
ในการพดู สรุปได ดังน้ี
1. เรอ่ื งที่พดู นั้นควรเปนเรือ่ งท่ที ัง้ สองฝายสนใจรว มกนั หรอื อยูใ นความสนใจของคนท่ัวไป
2. พูดใหต รงประเดน็ จะออกนอกเร่อื งบางก็เพียงเลก็ นอ ย
3. ไมถามเร่ืองสวนตัว ซ่งึ จะทําใหอ ีกฝา ยหนึ่งรูส กึ อดึ อดั ใจ หรือลําบากใจในการตอบ
4. ตองคาํ นึงถึงสถานการณแ ละโอกาส เชน ไมพดู เรอ่ื งเศรา เรื่องทน่ี า รงั เกียจ ขณะรบั ประทาน
อาหารหรอื งานมงคล
5. สรางบรรยากาศที่ดี ยิ้มแยมแจมใสและสนใจเรอื่ งทีก่ าํ ลงั พดู
6. ไมแ สดงกริ ยิ าอนั ไมส มควรในขณะท่ีพดู เชน ลว ง แคะ แกะ เกา สวนใดสว นหน่งึ ของรา งกาย
7. หลกี เลย่ี งการกลา วราย การนนิ ทาผูอ่ืน ไมย กตนขมทา น
8. พูดใหม ีเสยี งดงั พอไดยนิ กันทั่ว ไมพ ดู ตะโกน หรือเบาจนกลายเปน กระซบิ กระซาบ
9. พดู ดวยถอ ยคําวาจาท่สี ุภาพ
10.พยายามรักษาอารมณใ นขณะพูดใหเปนปกติ
11.หากนาํ คาํ กลาวหรือมีการอางอิงคําพูดของผูใดควรระบุนามหรือแหลงท่ีมา เพื่อใหเปน
เกยี รติแกบ คุ คลทกี่ ลาวถึง
12.หากพูดในขณะที่ผอู ื่นกาํ ลงั พดู อยคู วรกลาวขอโทษ
13.ไมพูดคยุ กนั ขามศรี ษะผูอนื่
จากมารยาทในการพดู ท้ัง 13 ขอ ผูเรียนควรจะนาํ ไปปฏิบัตไิ ดในชวี ิตประจาํ วัน
กจิ กรรมบทที่ 2 การพูด
กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบทถี่ ูกทสี่ ุดเพียงขอเดียว
1. ขอใดไมใ ชอ งคประกอบสําคญั ของการพูด
ก. ผูพดู ข. ผฟู ง
ค. สาระท่พี ูด ง. อปุ กรณป ระกอบการพดู
2. ขอใดเปน การพูดแบบเปน ทางการ
ก. พูดกับพ่นี อง ข. พดู บรรยายใหความรู
ค. พูดกับเพอื่ นรวมงาน ง. พดู ในงานสังสรรค
15
3. สิง่ ทส่ี ําคัญที่สดุ ท่ีผูพ ูดควรเตรยี มลว งหนา คือขอใด
ก. การแตง กาย ข. การฝกซอม
ค. การเตรยี มตน ฉบบั พดู ง. การใชเ สียงและทาทาง
4. การพูดแสดงความคดิ เหน็ คือการพดู ในลักษณะใด
ก. พูดทกั ทาย ข. พูดแนะนาํ ตัว
ค. พดู อภปิ ราย ง. พูดอวยพร
5. ขอ ใดเปนจุดมุงหมายในการพดู เพื่อหาเสยี งเลือกตั้ง
ก. สรา งจินตนาการ ข. ใหขอ มูลความรู
ค. โนมนา วชักจงู ง. ใหค วามเพลดิ เพลนิ
กิจกรรมท่ี 2 ใหผ ูเรียนเขียนคาํ พดู ตามหวั ขอตอไปน้ี
1. เขยี นคาํ ขอบคุณสน้ั ๆ ทีเ่ พ่ือนคนหนงึ่ เก็บกระเปา สตางคท่หี ลน หายมาใหเ รา
2. เขียนคาํ พดู อวยพรวนั เกิดของเพ่อื น
3. เขียนคํากลาวแสดงความยนิ ดใี นโอกาสที่เพ่อื นสอบสัมภาษณเขาทาํ งานได
4. เขียนคําแนะนาํ ตนเองในกลมุ ผเู รียน
กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รยี นยกตัวอยางการกระทาํ ทไี่ มม ีมารยาทในการพดู มา 5 ตัวอยา ง
1. ..............................................................................................................................
2. ..............................................................................................................................
3. ..............................................................................................................................
4. ..............................................................................................................................
5. ..............................................................................................................................
กจิ กรรมที่ 4 ใหผ ูเรียนจัดทาํ ตน รา งเร่ืองทจ่ี ะพดู ในโอกาสดังตอไปน้ี
1. กลา วอวยพรคูบ า ว – สาว ในงานเลีย้ งฉลองมงคลสมรส
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
16
2. กลาวตอ นรบั ผทู ม่ี าศกึ ษา – ดงู านในชุมชน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….……………...
3. กลา วขอบคณุ วทิ ยากรในงานฝก อบรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………...
17
บทที่ 3
การอาน
สาระสําคัญ
การอานเปนทักษะทางภาษาที่สําคัญ และจําเปนอยางยิ่งในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็วเชนปจจุบัน เพราะชวยใหสามารถรับรูขาวสารและเหตุการณตาง ๆ ของสังคม ชวยให
ปรับตวั ไดทนั กบั ความเจรญิ กา วหนา ทางวทิ ยาการทุกสาขา เปนเคร่ืองมือสําคัญในการแสวงหาความรู
ที่แปลกใหม การอานยังชวยใหเกดิ ความเพลดิ เพลนิ การอา นจะประสบผลสาํ เรจ็ ตอ งสามารถจบั ใจความ
สําคญั วิเคราะห วิจารณ และมีมารยาทในการอาน
ผลการเรยี นรูท ีค่ าดหวัง ผเู รยี นสามารถ
1. อานในใจไดค ลองและเร็ว
2. อานออกเสยี งและอานทาํ นองเสนาะไดอยางถกู ตองตามลกั ษณะคําประพนั ธ
3. วิเคราะหแยกแยะขอ เทจ็ จริง ขอคดิ เหน็ และจุดมุง หมายของเรอ่ื งทอี่ า น
4. เลือกอา นหนังสอื และสือ่ สารสนเทศ เพอ่ื พฒั นาตนเอง
5. ปฏิบัติตนเปน ผูม มี ารยาทในการอา น และมีนิสยั รกั การอา น
ขอบขายเนอื้ หา
เรอ่ื งท่ี 1 การอานในใจ
เรื่องท่ี 2 การอา นออกเสียง
เร่อื งที่ 3 การอา นจบั ใจความสาํ คญั
เร่อื งที่ 4 มารยาทในการอา น และนิสัยรักการอาน
18
เร่อื งที่ 1 การอา นในใจ
การอานในใจ หมายถึง การแปลตัวอักษรออกมาเปนความรู ความเขาใจ และความคิด
แลว นาํ ไปใชอีกทอดอยา งไมผ ดิ พลาด โดยทว่ั ไป จะเปนการอา นเพอ่ื ความรู และความบนั เทิง
จดุ ประสงคข องการอา นในใจ
1. เพื่อจับใจความไดถกู ตองและรวดเรว็
2. เพอ่ื ใหเ กิดความรู ความเขาใจ และความคดิ อยางกวา งขวางและลึกซึ้ง
3. เพอ่ื ใหเกิดความเพลิดเพลนิ และเปน การใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชน
4. เพ่อื ใหถ า ยทอดสิง่ ทอ่ี านใหผอู ืน่ รับรูโดยไมผดิ พลาด
หลักการอา นในใจ
1. ต้งั จุดมงุ หมาย วาจะตองอา นเพอ่ื อะไร อานเพ่อื ความรู หรอื จะอานเพ่ือความเพลดิ เพลนิ
2. ตั้งสมาธิในการอา น ใหจ ดจออยูก บั หนังสอื ทอ่ี าน จติ ใจไมว อกแวกไปทอี่ ่ืนซึง่ จะทาํ ใหอาน
ไดเรว็ และเขา ใจไดดี
3. ตั้งเปาการอานโดยกาํ หนดปริมาณที่จะอานไวลวงหนา แลว จับเวลาในการอานเพ่ือท่ีจะ
พัฒนาการอา นครง้ั ตอไปใหเ รว็ ขน้ึ
4. ไมอานหนังสือทีละคาํ การอานกวาดสายตาใหกวางขึ้นอานใหครอบคลุมขอความที่อยู
ตอหนาอยา งเร็วไปเร่อื ย ๆ
5. ลองถามตนเองวาเปนเรอื่ งเกยี่ วกบั อะไร เกดิ กับใคร ท่ีไหน อยา งไร ถา ตอบไดแปลวา
เขาใจ แตถ าตอบไมไ ดกต็ อ งกลบั ไปอา นใหม
6. จับใจความสาํ คัญใหได และบันทึกเปนความรูความเขาใจ และความคิดไวเพราะจะทําให
จดจําเรอ่ื งที่อา นไดอยา งแมน ยาํ และสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนไดท ันที
เรอ่ื งท่ี 2 การอา นออกเสยี ง
การอานออกเสียง หมายถึง การอานท่ีผูอ่ืนสามารถไดยินเสียงอานดวยการออกเสียง
มักไมนิยมอานเพื่อการรับสารโดยตรงเพียงคนเดียว เวนแตในบางคร้ังเราอานบทประพันธเปน
ทวงทํานองเพื่อความไพเราะเพลิดเพลนิ สวนตวั แตสว นใหญแ ลวการอานออกเสียงมกั เปน การอา นให
ผูอ นื่ ฟง การอานประเภทนม้ี หี ลายโอกาส คือ
19
1. การอา นออกเสียงเพ่อื บคุ คลในครอบครัวหรอื ผูที่คุนเคย
เปน การอา นท่ีไมเปน ทางการ การอา นเพื่อบคุ คลในครอบครัว เชน อา นนิทาน หนังสือพิมพ
ขาว จดหมาย ใบปลวิ คําโฆษณา ใบประกาศ หนังสือวรรณคดีตาง ๆ เปนการเลาสูกันฟง อานเพ่ือให
เพื่อนฟง อานใหค นบางคนทอ่ี า นหนังสือไมอ อกหรอื มองไมเ ห็น เปนตน
2. การอานออกเสยี งทเี่ ปน ทางการหรอื อา นในเรื่องของหนา ทกี่ ารงาน
เปน การอา นท่เี ปน ทางการ มีระเบียบแบบแผนในการอา นอยางรดั กมุ กวาการอานออกเสียง
เพอ่ื บุคคลในครอบครัวหรืออยูท ่คี นุ เคย เชน การอานในหองเรียน อานในที่ประชุม อานในพิธีเปดงาน
อา นคําปราศรัย อานสารในโอกาสทสี่ าํ คญั ตา ง ๆ การอานของสือ่ มวลชน เปน ตน
การอา นออกเสียงใหผฟู ง จะตองอา นใหช ดั เจนถูกตอ งไดขอความครบถวนสมบูรณ มีลีลา
การอานทน่ี าสนใจและนาติดตามฟงจนจบ
จุดมุงหมายในการอานออกเสียง
1. เพ่ือใหอานออกเสียงไดถ กู ตองตามอกั ขรวธิ ี
2. เพื่อใหร จู ักใชน ํ้าเสียงบอกอารมณแ ละความรูสึกใหสอดคลองกบั เน้อื หาของเร่อื งที่อา น
3. เพ่ือใหเ ขาใจเรื่องที่อา นไดถูกตอ ง
4. เพือ่ ใหผ ูอานมีความรแู ละเขาใจในเน้อื เรอ่ื งทอ่ี า นไดอ ยางชดั เจน
5. เพอ่ื ใหผ ูอา นและผูฟ งเกดิ ความเพลิดเพลิน
6. เพอ่ื ใหเปนการรบั สารและสงสารอกี วธิ ีหน่งึ
หลักการอา นออกเสียง
1. อานออกเสียงใหถ ูกตอ งและชดั เจน
2. อานใหฟงพอทีผ่ ฟู ง ไดย นิ ท่วั ถึง
3. อานใหเ ปนเสยี งพดู โดยธรรมชาติ
4. รูจักทอดจงั หวะและหยุดหายใจเมือ่ จบขอความตอนหนึ่ง ๆ
5. อานใหเขาลักษณะของเนื้อเร่ือง เชน บทสนทนา ตองอานใหเหมือนการสนทนากัน
อานคําบรรยาย พรรณนาความรสู ึก หรือปาฐกถากอ็ า นใหเ ขากับลักษณะของเรอ่ื งน้ัน ๆ
6. อา นออกเสียงและจงั หวะใหเ ปน ตามเนือ้ เรอ่ื ง เชน ดุหรอื โกรธ กท็ ําเสียงแขง็ และเรว็ ถา เปน
เร่อื งเกี่ยวกบั ครา่ํ ครวญ ออ นวอน กท็ อดเสียงใหช าลง เปน ตน
7. ถาเปนเรือ่ งรอยกรองตองคํานงึ ถงึ ส่งิ ตอ ไปนด้ี ว ย
7.1 สัมผสั ครุ ลหุ ตองอา นใหถกู ตอง
7.2 เนนคํารบั สัมผัสและอานเอ้ือสัมผสั ใน เพื่อเพ่มิ ความไพเราะ
7.3 อา นใหถ กู ตอ งตามจงั หวะและทํานองนยิ ม ตามลักษณะของรอ ยกรองนน้ั ๆ
ยังมีการอานออกเสียงอีกประการหน่ึง การอานทํานองเสนาะ เปนลักษณะการอาน
ออกเสยี งที่มจี งั หวะทาํ นองและออกเสยี งสูงตํา่ เพ่ือใหเกิดความไพเราะ การอานทํานองเสนาะน้ีผูอาน
20
จะตองเขาใจลักษณะบังคับของคําประพันธแตละชนิดและรูวิธีอานออกเสียงสูงตํ่า การทอดเสียง
การเอื้อนเสียง ซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของคําประพันธชนิดตาง ๆ ดวย การอานทํานองเสนาะน้ี
เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาชานาน ซึ่งเปนสิ่งที่คนไทยทุกคนควรภูมิใจและรักษา
วัฒนธรรมล้ําคานไ้ี วเ พื่อถายทอดสืบตอ กนั ไปช่วั ลกู ชว่ั หลาน
การอานเร็ว
คนที่มีนิสัยรักการอาน ยอมเปนผูที่มีความรอบรู มีความนึกคิดลึกซึ้งและกวางขวาง
ทั้งยังไดรับความบันเทงิ ในชวี ิตมากขนึ้ อีกดวย
การอา นที่ใชม ากในชวี ติ ประจาํ วัน คือ การอานในใจ เพราะสามารถอา นไดรวดเร็ว ไมต องกังวล
กับการเปลงเสียงกับตัวหนังสือ การอานในใจที่ดี ผูอานจะตองรูจักใชสายตา กิริยาทาทาง มีสมาธิ
ความต้งั ใจและกระบวนการอา นในใจ เชน การเขาใจความหมายของคํา รูจักคนหาความหมายของคํา
หรือเดาความหมายได รูจักจับใจความแลวรจู กั พิจารณาตาม รวมทงั้ ตองเปนผูที่สามารถอานไดรวดเร็ว
อกี ดว ย
เพื่อเปน การทดสอบตนเองวา สามารถอานหนังสือไดเ ร็วหรอื ไม
ใหผ เู รียนอานขอความตอ ไปนี้ แลวจับใจความของเร่อื งโดยใชเ วลา 8 นาที
ลมเหนือ
ลมทงุ นาหอมกลน่ิ ฟางขาวพดั รวยรินอยรู อบตวั นุชลูกสาวครปู รชี าวง่ิ มาบอกพอวา
“พอคะ นชุ ขอไปดเู ขาแลกขา วทบี่ านจําเนียรนะคะ”
“บานจาํ เนยี รไหน”
“บา นจาํ เนียรทมี่ ีตนมะขามโนนไงคะ มีคนเขาเอาของเยอะแยะมาแลกขาว นุชไปนะพอ”
“เด๋ยี วกอน”
“โธ พอ นชุ ชา ไมได นุชจะไปชวยจาํ เนยี รเขาแลกเส้อื ประเด๋ียวจาํ เนียรกอ็ ดไดเ สอ้ื สวยๆ หรอก”
ผมชะเงอ ดทู ี่บานหลงั หนึ่ง อยเู กอื บกลางทุงนา บรเิ วณบา นลอมดว ยกอไผ ผมเห็นคนเปนกลุมๆ
ยนื อยกู ลางบานน้นั นชุ เหน็ ผมมองอยางอยากรูอ ยากเหน็ จึงเอยวา
“พี่โชคไปกับหนไู หมละ”
“เออ โชคไปเปน เพ่อื นนองก็ดีนะ แดดรอนอยางน้ีหาหมวกใสสักใบเถอะ ประเด๋ียวจะเปนไข”
ครปู รชี าพูด
“นุชไมม ีหมวก”
“เออ ...เอาผาขาวมาของพอ ไป” ครปู รีชาสง ผาขาวมาใหลูกสาว นุชไดผาก็เอามาเคียนหัวแลว
ออกว่งิ นาํ หนาผมไป
ผมเห็นคน ๆ หนึ่งแตงตัวแปลกไปกวาชาวนา ที่วาแปลกก็คือเขาใสเสื้อนุงกางเกงเหมือนคน
ในจังหวดั อยตู รงกลาง ขา งหนา มหี าบใสสิง่ ของเครอื่ งใช เชน เสื้อผา หมออะลูมเิ นียม เปน ตน
21
วันน้ีผมเห็นพอของจําเนียรยอมแลกขา วเปลือกสองถงั กับเสื้อผาดอกสีสดใสใหจําเนียรตัวหนึ่ง
ปา แมน ยอมเสยี ขาวเปลอื กถงั หนึง่ แลกกับแกว น้ํา 3 ใบ
ผมกลบั มาเลา ใหครูปรีชาฟง ครูปรชี ากถ็ อนหายใจยาวพูดวา
“คนพวกนี้แหละเปน เหลือบคอยดูดเลือดชาวนา”
“เขาเหน็ จําเนียรอยากไดเสื้อผา เลยจะเอาขาวเปลือกต้ัง 2 ถังแลกกับเสื้อตัวเดียว ผมวาเสื้อ
ตวั นั้นราคาไมกบ่ี าทหรอกครบั ”
“โธครถู งึ วาพวกน้ีเปน เหลือบไงละ เอาเปรียบกันเกนิ ไป”
“แตพวกน้ันไปยอมแลกกบั เขาเอง” ผมพูดเสียงออ น
“ก็เพราะง้ันนะซิ ครูถึงหนักใจแทน โชคคิดดูสิวากวาจะทํานาไดขาวถังหนึ่งนะ หมดแรงไป
เทาไรมันคุมกันไหมละ”
“ทาํ ไมชาวนาถงึ โง...”
“ไมใ ช” ครปู รชี าขดั ข้ึน “ไมไดโ ง แตไ มทันเลหเหล่ียมพอคา ตา งหากละ”
“ครบู อกแลว บอกอีก บอกจนไมร ูจะบอกยังไงแลว ”
“ไมเ ชอ่ื ครหู รอื ครบั ”
“พูดไมถูก อยางพอจําเนียรน่ันแกรูดีวาอะไรเปนอะไร หากแลกขาวนะยังดีกวาพวกอื่นนะ
น่นั ไงละมากันเปนแถว” ครูปรีชาช้ีใหผมดู คนข่ีจักรยานตามกันเปนแถว แทบทุกคนสวมหมวกกะโล
มีไมกลม ๆ ขนาดแขนผูกตดิ รถจักรยานมาดวย
“ใครครับ” ผมสงสัย
“พวกพอ คาคนกลางตัวจริง” ครปู รีชาตอบเสียงตํ่า “เปน พวกนายหนารับซ้ือขาวใหโรงสี อีกที
หน่งึ เธอเหน็ ไมท อ นกลมนัน่ ไหมละ ”
“ครับ”
“ไมน น้ั แหละเขาเอาไวร ีดขาวเปลือกดเู มล็ดกอ นตรี าคา”
“ทาํ ไมตอ งตีราคาดว ยเลา ”
“เพราะวาขาวท่ชี าวนาทําไดมคี ณุ ภาพตา ง ๆ กนั นะสิโชค น่แี หละเปนโอกาสใหพอคา มีชองทาง
กดราคาขา วละ”
“เขาทํายังไงครับ”
“เขาจะรีดขาวดู ถา ไดข า วเมล็ดงามไมลีบเลก็ ก็ตรี าคาเอาตามใจ ถา ชาวนาพอใจราคาท่ีเขาให
เกดิ ตกลงขาย เขาก็จะจา ยเงนิ ใหลวงหนาจาํ นวนหนงึ่ แลว ก็มาขนขาวไปโรงสี สว นมากคนท่ีรับซ้ือถึงท่ี
มักจะกดราคาขาวจนต่าํ มาก”
“ราคาตา่ํ เราก็ไมขาย” ผมบอก
“แตชาวนาตอ งการเงนิ ”
“ง้ันเอาไปขายเองก็ไดนค่ี รับ”
“น้ันยงิ่ แลว ใหญเลย ถา หากเธอขนขาวไปโรงสจี ะถกู กดราคามาก เพราะเขาถอื วา เธอไปงอเขา”
22
“อา ว ทําไมถึงเปนอยางนั้นเลา”
ครูปรชี าหวั เราะหึ ๆ แตแ ววตาหมอง “ทาํ ไมถงึ เปน เชนนน้ั นะ หรอื ครตู อบเธอเดยี๋ วน้ี เธอกค็ ง
ไมเขา ใจหรอก...โชคด”ี
ผเู รียนอา นจบภายในเวลา 8 นาทหี รือไม
อา นจบแลว ลองตอบคําถามดู เพราะการอา นหนงั สอื ไดเ รว็ นน้ั ตอ งจับใจความไดดวย
1. ผทู ใี่ ชสรรพนามวา ผมในเร่อื งน้ีชอื่ อะไร
2. พอของจาํ เนียรมีอาชีพอะไร
3. ทาํ ไมครูปรชี าจงึ เรยี กพวกทเ่ี อาของมาแลกขาววา ตัวเหลือบ
4. จากเร่ืองน้ี ใครเปนผูทเ่ี อาเปรียบชาวนามากทส่ี ดุ
5. ผเู รียนอา นเร่ืองนแ้ี ลวไดข อคิดอะไรบา ง
การอานหนังสือใหเร็ว นอกจากใชเวลาชวงสั้น ๆ อานหนังสือใหไดมากที่สุดแลว จะตองจับ
ใจความเปนหนังสอื ใหไ ดค รบถวน อานแลวเขาใจเร่อื งตลอดดว ย
ลองคิดดซู วิ า เหตทุ อี่ านไมท นั หรือจับใจความไมไดตลอดเพราะเหตุใด
ถาเราลองคิดหาเหตุผล โดยเอาตัวเองเปนหลัก อาจไดคําตอบหลายอยาง เชน ไมมีสมาธิ
อานกลบั ไปกลับมา สบั สนจึงทําใหอานชา หรอื ไมเ ขาใจคาํ ศัพทบ างคาํ เปนตน
หลกั การอา นเร็ว
ในการฝกตนเองใหเปน คนอา นเร็ว ควรไดเ ร่ิมตน ฝก สมาํ่ เสมอทีละเลก็ ละนอ ย โดยฝกอานในใจ
ท่ถี กู วิธีและจะตองฝกฝนในสิง่ ตอ ไปนี้
1. มีสมาธิในการอาน ในขณะท่ีอาน จะตองสนใจและเอาใจจดจอตอส่ิงท่ีอาน ไมปลอยใจ
วอกแวกคิดเร่ืองอื่น จะทาํ ใหจบั ใจความของเร่อื งไมไ ดต ลอดและความสามารถในการอานชา ลงไป
2. จับตาที่ตัวหนังสือ โดยใชสายตาจับอยูในชวงเวลาเล็กนอยแลวเคลื่อนสายตาตอไปอยาง
รวดเรว็ การฝก จับตาเชน น้ีตอ งกระทาํ บอย ๆ และจับเวลาทดสอบความสามารถในการจับสายตา และ
เคลื่อนสายตาใหไดร วดเร็วเพ่อื ทดสอบความกา วหนา
3. ขยายชวงสายตาใหก วาง ชวงสายตาหมายถึง ระยะจากจุดท่ีสายตาจับจุดหนึ่งไปยังจุดท่ี
สายตาจบั ในคราวตอไป การรจู กั ขยายสายตาใหก วา งจะชวยใหอา นหนงั สอื ไดเร็ว
4. ไมอ า นยอนกลับไปกลบั มา หมายถึง การทวนสายตายอนกลับไปกลับมายังคําที่ไมเขาใจ
ซึง่ ทาํ ใหเสยี เวลา
5. เปลี่ยนบรรทัดใหแมน ยํา โดยกวาดสายตากลับมาทางซายเพ่ือข้ึนบรรทัดใหม เมื่ออานจบ
แตละบรรทัดและตองกําหนดบรรทัดใหแมนยําไมอานขามบรรทัด หรืออานซ้ําบรรทัดเดิม ซ่ึงทําให
ความคิดสับสนการฝก ในระยะแรกเริ่มอาจใชไมบรรทดั หรอื กระดาษปด ขอ ความบรรทัดลา งไว แลว เล่อื น
ลงเร่อื ย ๆ คอ ย ๆ เพมิ่ ความเรว็ ข้นึ จนชาํ นาญจงึ อานโดยไมต อ งใชส ิง่ อนื่ มาปด
23
การอานเพือ่ เขา ใจความหมายของสาํ นวน
การอา นเพือ่ ทาํ ความเขาใจ ความหมายของสาํ นวน ตองอาศัยถอยคําส่ิงแวดลอ ม บริบท
เพื่อสรุปสาระสาํ คญั
1. ความหมายของสาํ นวน สาํ นวน คอื ถอยคําทีม่ คี วามหมายไมตรงตามความหมายปกติของ
คาํ นัน้ ๆ
2. หลักการอาน เพื่อเขาใจความหมายของสํานวน
2.1 อา นขอความอยา งละเอียด เพื่อจับใจความสําคญั เขาใจเนอื้ เรอ่ื งและเขา ใจ
ความหมายของสาํ นวน
2.2 สงั เกตเนือ้ ความตามบรบิ ท ทําใหตีความหมายของสาํ นวนไดถ ูกตอ ง
2.3 ตคี วามหมายของสาํ นวน ตองตรงประเด็นตามบริบท
ตวั อยา ง การอา นเพ่อื เขา ใจความหมายของสาํ นวน
ออยเขา ปากชาง หมายถงึ ของตกไปอยูใ นมอื ผูอนื่ แลว ไมม ที างไดคืน
ไกแกแ มป ลาชอน หมายถึง ผทู ่ีมคี วามจัดจาน เจนสงั เวียน
วัวหายลอ มคอก หมายถงึ เม่ือเกดิ ความเสียหายแลว จึงหาทางปองกนั
กินขาวตมกระโจมกลาง หมายถงึ การกระทําทไ่ี มร อบคอบ ผลีผลาม
ชน้ี กบนปลายไม หมายถึง การพดู ถงึ สิ่งสุดวสิ ยั ทจ่ี ะทําได
สาํ นวนตา ง ๆ ทน่ี าํ ไปกลา วเปรียบเทียบใหเขา กบั สถานการณ เรียกวา คําพังเพย เชน เมื่อของ
หายแลวจงึ คดิ หาทางปองกนั ก็เปรยี บวา ววั หายลอ มคอก เปน ตน
ความหมายของสาํ นวนมีลักษณะเหมอื นความหมายโดยนยั คอื ตอ งตคี วาม หรอื แปลความตาม
นยั ยะของคําหรอื ขอ ความน้นั ๆ
การอา นเพอื่ เขา ใจโวหารตาง ๆ
ผเู ขียนตองใชโวหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร สาธกโวหาร ฯลฯ
เพอ่ื ใหง านเขียนมีคณุ คา
1. ความหมายของโวหาร
โวหาร คือ ทวงทํานองในการเรียบเรียงถอยคําทั้งในวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง
โวหารทีใ่ ชกนั ทว่ั ไปมี 5 โวหาร ดงั น้ี
1.1 บรรยายโวหาร คือ การเลาเร่ืองไปตามเหตุการณ เชน การเขยี นบทความ การเลา
นิทาน เลา ประวตั บิ ุคคล ตํานาน ตอ งอธิบายใหเปนไปตามลาํ ดับ
ตัวอยา ง บรรยายโวหาร
มนษุ ยม คี วามเชื่ออยูอยา งหนง่ึ ซงึ่ สืบมาแตโ บราณนานไกล วาคนท่เี กิดมาทัง้ เดก็ และผูใ หญไมว า
จะเปน หญิง หรือชาย ยอมมอี ะไรอยอู ยางหนึ่งสงิ อยภู ายในรางกายมาแตกําเนิดสง่ิ ท่ีวาน้ถี าอยูกบั เนือ้ กับ
24
ตัวของผใู ดผนู น้ั ก็จะมีความสขุ ความสบาย ไมปวยไขไดท ุกขถาสงิ่ นั้นหนหี ายไปจากตัวก็จะทาํ ใหผ นู ้นั เปน
ไขไดทุกขแ ละอาจถงึ แกค วามตายได ถาส่งิ นัน้ ไมก ลบั คืน อยใู นรางกาย ส่ิงที่กลาวน้ภี าษาไทยเรียกวา
ขวัญ อันเปนคํามคี วามหมายในภาษาท่ีเขาใจกันอยางเลา ๆ แลวก็ยุงดวย ท่ีวายุงเพราะเปนส่ิงมองไม
เหน็ ตวั วา มรี ปู รา งเปน อยา งไร
(ขวญั และประเพณีทําขวญั ของ เสฐยี รโกเศศ)
1.2 พรรณนาโวหาร คือ การเขียนเลนเรือ่ งอยางประณีตมักแทรกความรูสึกของผูเขียน
ดวยทําใหผ อู า นเกดิ ความรูและอารมณค ลอ ยตาม เชน การพรรณนาความสวยงามคุณความดีตลอดจน
พรรณนาอารมณและความรสู ึกในใจ ฯลฯ
ตัวอยา ง พรรณนาโวหาร
ไมผ ล เชน ละมดุ มะมวง ขนุน พอ ปลกู ไวขา งสนามและบรเิ วณมุมขา ง สว นทเ่ี ลื้อยรอบบา น
กม็ ีเถาวัลยและสายหยุดขึ้นอยูคนละมุม ราตรีอยูตรงบันไดขึ้นหอหนาบาน ซ่ึงเปนทางไปหองรับแขก
ชะลดู ปลกู อยทู ีส่ ะพานขา มทองรองเลก็ ๆ อยกู ง่ึ กลางระยะจากตัวบา นไปยังประตรู ั้วบา น คนละดา นกบั
เถาพวงครามดอกสีมว ง ใบแข็งดว ย ถาไปถกู มันจะคนั แตด อกเปนสีครามเปน ชอ ยาวมองดูสวยและบาน
อยไู ดหลายวัน ถาดอกรวงจะหมุนเพราะกลีบของมนั เปนเฟองมี 5 - 6 กลีบ คลายใบพัด มันหมุนตัวลง
มากวา จะถึงพน้ื เหมอื นกังหันตอ งลม ดูสวยงามเพลินตาดี ผมชอบเก็บดอกมันข้ึนไปปลอยบนหนาตาง
สงู ๆ ใหมันหมนุ จล๋ี งมาสูพ้ืนดนิ เปน ของเลน สนกุ เมอ่ื สมัยเด็กกอ นเขา โรงเรียน
(เด็กบานสวน ของ พ.เนตรรงั สี)
1.3 เทศนาโวหาร คือ กระบวนความอบรมสั่งสอน อธิบายในเหตุผล หรือช้ีแจงใหเห็น
คุณและโทษ เพอื่ ใหผ ูอ า นเชื่อถือตาม
ตวั อยาง เทศนาโวหาร
บรรดาของมคี า ทัง้ หลายจะหาส่งิ ไรมีคาเกินวิชาดีกับจรรยาดีไมไดเลย ทรัพยอื่น ๆ อาจจะถูก
ขโมยลกั หรอื ลดนอยลงดว ยการจับจายใชส อย แตว ิชากบั จรรยาดนี ี้เปน อมตะไมรจู กั ตายย่ิงจา ยมากก็ยิ่ง
เพมิ่ ทวีคณู ขนึ้ และเราจะแยกแบงใครก็ไมได แมขโมยจะลักเอาไปก็ไมได แตจงทราบดวยวาโดยเฉพาะ
วิชาดีท่ีแหลมคมนั้นถาไมมีสติคอยควบคุม ปลอยเพงมองแสหาความสุขในทางที่ผิดแลว ก็จะเปนตัว
มหาอุบาทว มหาพินาศ มหาจัญไร ดูเถอะ มนุษยบางเหลาถือตัววาฉลาดแตขาดสติ ประพฤติตัว
เลวทราม กอกวนหมูคณะใหยุงเหยิงเดือดรอนอยูทุกวันน้ีก็เพราะเขามีวิชาดีที่แหลมคมและใชวิชาดี
ทีแ่ หลมคมไปในทางที่ผิด ซ่ึงไมมีสติควบคมุ นั้นเอง
(โลกานศุ าลนี ของ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ (พมิ พ ธมมฺ ธโร))
1.4 สาธกโวหาร คือ การเขยี น โดยยกตวั อยางประกอบเพื่อใหผอู า นเขาใจเรอื่ งไดชัดเจน
ยิ่งขนึ้ นยิ มใชในการบรรยายโวหาร และเทศนาโวหาร
ตัวอยา ง สาธกโวหาร
ในที่น้ีจะชักนิยายมาเปนอุทาหรณใหเห็นวา ผูที่ต้ังความเพียรไดรับรางวัลของธรรมดาโลก
อยางไร
25
ชายชาวนาผูหนึ่ง เม่ือปวยจนจะสิ้นใจอยูแลว จึงเรียกบุตรชาย 3 คน เขามาบอกวาบิดาจะ
สิ้นชีพไปในครั้งน้ีก็หามีสิ่งใดที่จะหยิบยื่นใหเปนมรดกแกเจาไม แตบิดาจะบอกความลับใหเจาวา
ในพื้นทนี่ าของเรามขี ุมทรัพยใหญซอ นอยู เจาจะตองขดุ ขึน้ ดู พอพดู เทาน้ันแลว กข็ าดใจยังหาทันจะบอก
วาขุมทรัพยนั้นอยูตรงไหน ๆ ไม ฝายบุตรท้ัง 3 ต้ังแตบิดาตายแลวก็ชวยกันตั้งหนาขุดพื้นที่ดินขึ้น
จนทัว่ คนหาจนสิน้ เชิง กห็ าพบขุมทรัพยไมแตไดรับผลที่ขุดได คือ เมื่อขุดพรวนดินขึ้นดีแลว จึงหวาน
เพาะพืชไดผลเปนรางวัลของธรรมดาโลกและอีกนัยหน่ึงเปนขุมทรัพยท่ีบิดาไดบอกไววาอยูในพื้นที่นา
นั้นเอง
(ความเพยี ร ธรรมจริยา ของ เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี)
1.5 อุปมาโวหาร คอื การเขยี น โดยยกขอความเปรยี บเทยี บเพ่ือใหผูอานเขาใจเรื่องราว
ตาง ๆ ไดด ยี ง่ิ ขึ้น ใชแทรกในโวหารตาง ๆ
ตัวอยาง อุปมาโวหาร
ขณะน้ันโจโฉจึงวาแกทหารท้ังปวงวา เลาปครั้งนี้อุปมาเหมือนปลาขังอยูในถังเสือตกอยู
ในหลุม ถา แกจะละเสียใหเ ลด็ ลอดหนไี ปได บัดนกี้ ็เหมอื นปลอ ยเสอื เขาปา ปลอ ยปลาลงในสมุทร ทหาร
ท้ังปวงจงชวยกันขะมักเขมนจับตัวเลาปใหจงได ทหารท้งั ปวงตางคนตางรีบขน้ึ หนา ขบั กนั ตามไป
(สามกก ตอนจลู งฝา ทพั รบั อาเตา )
การอานออกเสยี งรอยกรอง
การอานบทรอ ยกรองตา ง ๆ ใหเ ปน ไปตามทํานองลีลาและจังหวะอันถูกตองจะทําใหเกิดความ
ไพเราะเสนาะหู และทาํ ใหผฟู งไดร บั อรรถรสทางภาษาดว ย
หลกั การอานออกเสียงรอยกรอง
1. อา นออกเสยี งใหด ังพอเหมาะ กับสถานที่และจาํ นวนผูฟ ง
2. อา นใหค ลอง ร่นื หู ออกเสียง ใหชัดเจนโดยเฉพาะตวั ร ล ตวั ควบกล้าํ
3. อานใหถูกฉนั ทลักษณข องคาํ ประพนั ธ เชน จํานวนคํา จํานวนวรรค สัมผัส ครุ ลหุ คําเปน
คาํ ตาย
4. อานใสอารมณ ตามลีลาของบทรอยกรองดวยความรูสึกซาบซ้ึงชื่นชมในคุณคาของ
บทรอ ยกรองนัน้ ๆ โดยใหมีทว งทาํ นอง สูง ต่ํา หนกั เบา เพอื่ ใหไดรสถอย รสเสยี ง รสความ รสภาพ
การอา นกลอนสุภาพ
1. จาํ นวนคาํ ในกลอนสุภาพ
ooo oo ooo ooo oo ooo
ooo oo ooo ooo oo ooo
2. คณะ กลอนสภุ าพ บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คือ วรรคสดับ
วรรครับ บาทที่ 2 เรยี กวาบาทโท มี 2 วรรค คือ วรรครอง และวรรคสง พยางคในกลอนวรรคหน่ึง ๆ
จะบรรจคุ ําประมาณ 6 - 9 คาํ กลอนแปด มวี รรคละ 5 คาํ รวม 4 วรรค เปน 32 คํา
26
3. วธิ ีอานกลอนสุภาพ
กลอนมีหลายชนิด ไดแก กลอนหก กลอนแปด กลอนดอกสรอย กลอนสักวา กลอนบท
ละคร การอานคลา ยคลึงกนั จะแตกตางกันบา งเพียงเลก็ นอ ย ดังน้ี
1. อานทํานองชาวบาน คือ เสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงตํ่า
ในวรรครอง และลดตํ่าลงไปอีกในวรรคสง
2. อา นทาํ นองอาลักษณ คือ อานเสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงต่ํา
ในวรรครอง และลดตํ่าลงไปอีกในวรรคสง
การแบง จํานวนคํา วรรคหนึง่ จะมี 8 - 9 คาํ ดังน้ี
3 2 3 เขาคลอขลุย ครวญเสยี ง เพยี งแผวผิว
ชะลอนิ้ว พล้วิ ผา น จนมานหมอง
ถา มี 9 คําจะแบง วรรคเปน 3 3 3
สรวงสวรรค ชนั้ กวี รุจรี ตั น
ผอ งประภสั สร พลอยหาว พราวเวหา
การอานกาพยยานี
1. จาํ นวนคาํ ในกาพยย านี
oo ooo ooo ooo
oo ooo ooo ooo
2. วิธีอาน
วรรคที่ 1 และ 2 ในบาทเอกจะออกเสียงตา่ํ วรรคที่ 1 ในบาทโท จะอานออกเสยี งสงู ข้ึน
หรือ อา นออกเสียงเหมือนวรรคท่ี 1 ก็ไดต ามความเหมาะสม วรรคที่ 2 ในบาทโท อา นออกเสียงตํา่
กาพยยานมี จี งั หวะการอาน ดังน้ี
มัสหมั่น แกงแกวตา หอมยี่หรา รสรอ นแรง
ชายใด ไดกลนื แกง แรงอยากให ใฝฝนหา
การอา นโคลงส่สี ุภาพ
1. จํานวนคาํ ในโคลงสี่สุภาพ
oo ooo oo oo
oo ooo oo
oo ooo oo oo
oo ooo oooo
2. คณะโคลงบทหนง่ึ มี 4 บท บทที่ 1 2 3 4 บาทหนึง่ มี 2 วรรค คือ วรรคหนา และ
วรรคหลัง มจี าํ นวนคําเทากนั คอื 5 คํา และ 2 คาํ ยกเวน วรรคหลงั ในบาทที่ 4 จะมี 4 คํา
27
3. วิธีการอาน
การอานโคลงส่ีสุภาพสามารถอา นได 2 ลีลา คือ
1. อา นแบบรอยแกว
2. อานแบบทํานองเสนาะ
การแบง ชวงเสยี ง วรรคแรกเปน 2 ชวง เปน 3 2 หรือ 3 2 วรรคหลัง เปน 2 การแบงชวงเสียง
ตอ งพิจารณาใหคงความหมาย แทนท่จี ะแกตามปกตบิ ทรอ ยกรองที่ไพเราะ กวีจะจดั กลมุ คําไวด แี ลว
การเอ้ือนเสียงทอดเสียง ตามปกติจะเอ้ือนเสียงทายวรรคแรกของแตละบาท ในบาทที่ 2
อาจเอ้ือนเสยี งไดถ ึงคาํ ที่ 1 คําที่ 2 ของวรรคหลงั และบาทที่ 4 ระหวางคาํ ที่ 2 กบั คาํ ท่ี 3 ของวรรคท่ี 2
และทอดเสยี งตามตาํ แหนงสมั ผสั
ตวั อยา งโคลงสส่ี ุภาพ
เรืองเรอื ง ไตรรตั นพน พนั แสง
รนิ รส พระธรรมแสดง ค่าํ เชา
เจดีย ระดงแซง เสยี ดยอด
ยลย่งิ แสงแกว เกา แกนหลา หลากสวรรค
(นริ าศนรนิ ทร)
การอา นฉันท
ฉันท มีลักษณะบังคับพิเศษแตกตางไปจากคําประพันธชนิดอ่ืนโดยบังคับ ครุ ลหุ แทนคํา
ธรรมดา และบงั คบั สัมผสั เชนเดียวกับคําประพันธช นดิ อน่ื ๆ
คาํ ลหุ ( , ) คอื พยางคท่มี ลี กั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ ดังนี้
1. การประสมสระเสยี งส้นั ในแม ก กา เชน จะ ทิ ปุ ยกเวน พยางคท่ีประสมดวย สระ อํา ใอ
ไอ เอา ซงึ่ จดั เปนคําครุ เชน คํา ไกล ใจ เรา
2. คาํ บ บ จดั เปน คาํ ลหุ
คาํ ครุ คือ พยางคทม่ี ีลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ ดังน้ี
1. ประสมสระเสียงยาวในแม ก กา เชน อา ดี เธอ ปู
2. ประสมสระ อํา ใอ ไอ เอา
3. มตี ัวสะกด เชน มด กดั เด็ก
แผนบงั คับอินทรวเิ ชียรฉนั ท
อินทรวิเชียรฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา
มกี ารแบง จงั หวะการอา น ดงั นี้
สายันห ตะวนั ยาม ขณะขา ม ทฆิ ัมพร
เขาภาค นภาตอน ทิศตะตก กร็ าํ ไร
28
หนังสือและสือ่ สารสนเทศ
หนังสือ
ปจจุบันน้ีมีหนังสือออกมาจําหนายหลายประเภท ท้ังตาํ ราวิชาการ วารสาร นิตยสาร
หนังสือพิมพ นวนิยาย เร่ืองส้ัน สารคดี ฯลฯ การท่ีมีหนังสือออกมาจาํ หนายมากมายเชนน้ี ผูอาน
จึงจําเปนที่จะตองรูวิธีการเลือกหนังสือ เพ่ือจะไดอานหนังสือที่เหมาะกับความตองการของตนเอง
เหมาะกบั เวลาและโอกาส
วธิ กี ารเลือกหนังสอื ประเภทตาง ๆ
ในการเลือกอานหนังสือประเภทตาง ๆ นั้น ผูอานควรพิจารณาใหรอบคอบ ละเอียดถี่ถวน
เพื่อประโยชนในการพจิ ารณาคุณคา ของหนงั สือน้ัน ๆ หนงั สือแตล ะประเภทควรเลอื กพจิ ารณา ดงั น้ี
1. ตําราวชิ าการ เปนหนงั สอื ทใ่ี หความรูด า นตาง ๆ โดยเฉพาะอาจจะเสนอทฤษฎีหรือเนอ้ื หา
สาระอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะดานใดดานหนึ่ง โดยผูแตงมีจุดมุงหมายทางดานวิชาการโดยตรง
การพจิ ารณาควรดูรายละเอยี ดในดานตาง ๆ ดงั น้ี
1.1 พิจารณาดานเนื้อหา เนื้อหาจะตองถูกตองกับชื่อหนังสือ เชน วิชาวิทยาศาสตร
กฎหมาย ภาษาศาสตร ประวัติศาสตร คณิตศาสตร ฯลฯ หนังสือวิชาการแขนงใด เน้ือหาก็ควรจะ
เนนแขนงนั้นโดยเฉพาะ
1.2 พิจารณาขอมูลและภาพประกอบ ขอมูลและภาพประกอบควรถูกตองชัดเจน
โดยเฉพาะภาพประกอบ ควรดูวาตรงกับคําบรรยายหรือไม และภาพน้ันนาสนใจเพียงใดเหมาะสม
กบั วชิ าน้ันหรอื ไม
1.3 การใชภ าษา ภาษาที่ใชค วรเปนภาษาที่เหมาะสมกบั แขนงวิชานนั้ ๆ และดูการสะกด
คาํ ดว ยถาหากมีคําผดิ ก็ควรจะเลอื กดูหนงั สอื ที่มคี ําผิดนอยท่ีสุด
นอกจากนกี้ ารพิจารณาตาํ ราวชิ าการควรดูสว นประกอบอน่ื ๆ ดวย เชน รปู เลม ควรมีคาํ นํา
สารบัญ ฯลฯ
2. สารคดี เปนหนังสอื ท่ีมีสาระในดานใหความรู ความคิด พรอมทั้งใหความเพลิดเพลินดวย
หนังสือประเภทน้ีมีหลายชนิด เชน วิทยาศาสตร ประวัติศาสตร ประวัติบุคคลสําคัญ ฯลฯ หนังสือ
สารคดีท่มี ีคณุ ภาพนัน้ พจิ ารณาในรายละเอยี ดตา ง ๆ ดังนี้
2.1 พจิ ารณาดา นเนอ้ื หาสาระ คณุ คา ของสารคดีน้ันอยูท ่เี นอื้ หาสาระเปนประการสําคัญ
เนื้อหาท่ีดีจะตองถูกตองและสมบูรณ รวมท้ังเสนอความคิดเห็นที่เปนประโยชนตอผูอานและสังคม
สวนรวม เชน
2.1.1 สารคดีประเภทชีวประวัติ เน้ือหาสาระจะตองตรงตอความเปนจริง ผูเขียน
จะตอ งเขียนดวยใจเปนธรรม ไมอคติตอเจา ของประวตั ินน้ั ๆ เนื้อหาจงึ ควรมที งั้ สว นดแี ละสว นบกพรอ ง
ของเจา ของประวัติ
2.1.2 สารคดีประเภททอ งเทีย่ ว ควรมีเนอ้ื หาท่ีใหท้ังความรูแ ละความบนั เทงิ รวมท้ัง
ประสบการณท ่ีแปลกใหมน า สนใจ เพ่อื ใหผูอ า นไดท ราบขอ เท็จจรงิ เก่ยี วกับสถานทีน่ น้ั ๆ
29
2.1.3 สารคดปี ระเภทเชิงวชิ าการ ควรมีเน้ือหาทใี่ หค วามรูอ ยางถูกตองแมนยาํ
ควรมีภาพหรอื แผนที่ประกอบใหถ กู ตองตรงกับสาระของเรื่องดว ย
2.2 พจิ ารณาวิธีการเขยี น วธิ ีการเขียนสารคดพี จิ ารณาไดจากหลักเกณฑตอ ไปนี้
2.2.1 การวางโครงเรอื่ งและการดาํ เนนิ เรอ่ื ง สารคดีตองมีวิธีการดาํ เนินเรอื่ ง
ตามลาํ ดับ
2.2.2 เราความสนใจ ขอเขียนทดี่ ผี เู ขียนจะมีวธิ กี ารเขียนท่ีจะดึงดูดความสนใจของ
ผูอานใหติดตามอานไปเรื่อย ๆ โดยไมเกิดความเบื่อหนาย เชน การสอดแทรกความคิดเห็นหรือ
เหตุการณปจจุบันที่นาสนใจหรือการเลาตํานาน นิทาน เกร็ดขําขันตาง ๆ เปนตน ตอนปดเรื่องก็จบ
อยางซาบซึ้งประทบั ใจหรือใหข อคดิ อยา งใดอยา งหนึง่ เพอ่ื ใหผ อู า นอยากติดตามอา นตอไป
2.2.3 สํานวนภาษา ภาษาทใ่ี ชในการเขยี นสารคดีเปนถอยคําภาษาท่ีไพเราะงดงาม
มีสาํ นวนกะทดั รัด อา นเขา ใจงา ย ไมใชสาํ นวนทีไ่ มสุภาพ
2.2.4 สว นประกอบอืน่ ๆ ควรพิจารณาเก่ียวกบั ผแู ตงและสว นประกอบรปู เลมของ
หนังสือถาสารคดีนั้นเปนหนังสือเลม ซ่ึงจะมีคาํ วา สารบัญ เน้ือเรื่อง บรรณานุกรม ฯลฯ
ตามรูปแบบของหนังสือ
3. บันเทิงคดี เปนหนังสือทแ่ี ตง เพอื่ มงุ ใหผอู า นเกดิ ความสนุกสนานเพลดิ เพลิน อาจจะแทรก
วรรณคดี บทรอยกรอง บทละคร ซ่ึงสามารถแตงเปนรอยแกวหรือรอยกรองก็ไดตามความเหมาะสม
ในการพิจารณาเร่อื ง บันเทงิ คดี ควรพิจารณาในดานตาง ๆ ดังนี้
3.1 โครงเรื่องและเนือ้ เรือ่ งสวนสําคัญของนวนิยายและเรื่องส้นั คือ การเลา เรอ่ื ง
โดยเลาวาเปนเรื่องของใคร เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไร มีความสมั พันธระหวางเหตุการณตาง ๆ ในเร่ืองและ
ระหวา งบคุ คลในเรื่องเกยี่ วเนอื่ งกันไปโดยตลอด มีการสรา งความสนใจใหผ ูอานอยากตดิ ตาม นอกจากน้ี
เหตุการณท ่เี กิดขึ้นในเรื่องควรสมจรงิ และเปนไปอยา งสมเหตุสมผล และมีสวนประกอบปลีกยอ ยอ่ืน ๆ
เพอื่ ใหนา ติดตาม
3.2 การดําเนินเรอ่ื ง สว นสําคญั ทช่ี วยใหเรอ่ื งนา สนใจชวนตดิ ตามขน้ึ อยูกับการดําเนินเร่ือง
การดําเนินเร่ืองมีอยูหลายวิธี เชน ดําเนินเร่ืองตามลําดับวัย คือ เร่ิมต้ังแตตัวละครเกิดจนกระท่ัง
ถึงแกกรรมดําเนินเร่ืองยอนตน คือ เลาเหตุการณในตอนทายเสียกอน แลวยอนกลับไปเลาต้ังแตตน
จนกระทง่ั จบ เปนตน ฉากที่ดตี อ งมีสภาพความเปนจริงท้ังสภาพภูมิศาสตรและประวัติศาสตร นอกจากนี้
ยงั ตองสอดคลองกับเรื่องดว ย
3.3 ตัวละคร ผูเขียนมีวิธีการแนะนําตัวละครไดหลายวิธี เชน ดวยการบรรยายรูปราง
ลกั ษณะของตวั ละครเอง ดวยการบรรยายพฤติกรรมของตัวละคร หรือดวยการใหตัวละครสนทนากัน
เปนตน การบรรยายลักษณะนิสยั ของตวั ละครทด่ี นี น้ั ควรบรรยายอยางสมจรงิ ตัวละครตัวหน่ึง ๆ จะมี
ลกั ษณะนิสยั หลาย ๆ อยาง ไมใชด ีจนหาท่ีติมิได หรอื เลวจนไมมีความดีท่จี ะใหช มเชย ความตองการของ
ตวั ละครทีด่ ีควรจะเหมอื นคนธรรมดาทว่ั ๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลียด หรือตองการความสนใจ
จากผอู ื่น เปนตน
30
3.4 แนวคิดของเรื่อง แนวคิดของเร่ืองสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรง ๆ ผูอานจะตอง
คน หาเองวาไดแนวคิดอยางไร ตัวอยางเชน เร่ืองลูกชายของศรีบูรพา ตองการแสดงวา “ลูกผูชายนั้น
มีความหมายอยางไร” จดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอดีขอเสียของคนไทย
โดยเฉพาะ “นาํ้ ใจ” ซงึ่ ไมเหมอื นกนั กบั ชาตอิ ่นื เปนตน
นวนิยายหรือเร่ืองส้ันที่ดีน้ัน ผูอานตองพิจารณาคุณคาที่จะไดจากเรื่องนั้น ๆ ไมทางใด
ก็ทางหนึง่ ดวย
3.5 สาํ นวนภาษา เปนส่ิงสําคัญมากอยางหนึ่ง ในการพิจารณาเลือกอานนวนิยายและ
เร่ืองส้ันผูอานมักจะรูสึกวาตนเองชอบหรือไมชอบสาํ นวนของนักเขียนคนนั้นคนน้ี แตบางคนก็ไม
สามารถบอกวาเพราะเหตุใด สิ่งที่ควรพิจารณาเก่ียวกับสํานวนภาษาคือสาํ นวนภาษาของตัวละคร
ในบทสนทนา ตอ งสมจริงและเหมาะสมกับตวั ละคร ประโยคท่แี ตกตา งควรกะทดั รัด สละสลวย เขาใจงา ย
หากเปน ประโยคยาวกค็ วรเปน สาํ นวนทส่ี ามารถสรา งอารมณ และความรสู ึกไดด ี
4. วารสารและหนงั สอื พิมพ หนังสือประเภทนี้คนทว่ั ไปไดอ า นบอยกวา หนงั สอื ประเภทอ่ืน ๆ
ในการผลติ หนงั สอื ประเภทนต้ี องแขงกับเวลา ดังน้ัน โดยการพิจารณาหนังสือประเภทนี้ควรพิจารณา
ดงั น้ี
หนังสือพิมพ หนังสือพิมพเปนเครื่องมือสื่อสารท่ีจะกระจายขาวคราวเหตุการณตาง ๆ
ไปทั่วประเทศหรืออาจทว่ั โลก โดยเฉพาะหนังสือพมิ พร ายวนั เปน เครื่องมือส่อื สารทีเ่ สนอขาวท่ีนา สนใจ
ท่ีเกดิ ข้นึ ในแตล ะวนั ดงั นน้ั หัวใจของหนังสอื พิมพรายวันก็คือ “ขาว” การพิจารณาหนังสือพิมพรายวัน
จึงควรพจิ ารณาเกยี่ วกบั ขา ววามสี ว นในการชว ยยกระดับสงั คมใหสงู ขึน้ หรือมีประโยชนตอชนหมูมาก
หรอื ไม หากขา วนัน้ ไมเ กยี่ วกับความเปน อยูข องคนหมมู าก หรอื กระทบกระเทอื นตอประชาชนสวนใหญ
เหตุการณเหลาน้ันก็ไมควรนํามาเสนอในหนาหนังสือพิมพ ขาวที่ควรนําเสนอควรเปนขาวที่เกี่ยวกับ
การปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศกึ ษา การอนามยั การประกอบอาชีพ ฯลฯ
เหตุการณที่ไมสมควรนํามาเสนอเปนขาวอีกอยางหน่ึงก็คือ เหตุการณที่อาจจะสงผลทําลาย
ความมน่ั คงของชาติ หรอื ทําลายวัฒนธรรม และประเพณีอนั ดงี าม
บทวจิ ารณ ในหนังสอื พิมพร ายวันทุกฉบับจะมบี ทวจิ ารณ หรือบทวิเคราะหขา ว ซงึ่ เปน ลักษณะ
บทความ แสดงความคิดเห็นของผูเขียนเอง ประกอบกับขาวที่ตองการวิจารณ หรือวิเคราะหนั้น
การพจิ ารณาบทวิจารณในหนังสอื พิมพ ควรพจิ ารณาถงึ ลกั ษณะตอ ไปนี้
1. พจิ ารณาขอ มลู ทผ่ี ูเ ขยี นอางองิ วาถูกตอ งและมีขอเท็จจริงเพียงใด
2. พิจารณาวาผเู ขยี นบทความน้นั ชใ้ี หเหน็ ปญหาและวธิ แี กป ญ หาอยางไร
3. พจิ ารณาวา ผูเขียนบทวจิ ารณใชอารมณ และนําความรสู กึ สว นตวั เขาไปเก่ียวขอ งหรอื ไม
4. พิจารณาภาษาทใี่ ชวา มคี วามประณีตและถูกตอ งตามหลกั ภาษาเพียงใด
วารสาร เปนหนังสือพิมพจําหนายตามกําหนดระยะเวลา เชน 7 วัน 10 วัน รายเดือน
ราย 3 เดือน หรือรายป เปนตน หนังสือวารสารจึงมีเนื้อหาเนนทั้งสารคดี และบันเทิงคดี ขาวสารท่ี
31
ปรากฏมกั เปน ขาวสารที่มรี ะยะเวลาตอเนอื่ งกันเปนเวลานาน เชน ขา วเกีย่ วกับนโยบายโครงการตาง ๆ
หรือขา วเกยี่ วกับการเมืองบางเรือ่ ง เปน ตน
ดังนัน้ การอานวารสาร จงึ ควรพิจารณาเลือกอา นเร่ืองทเ่ี ราสนใจ และควรพยายามอาน
อยา งสมาํ่ เสมอ
นอกจากพิจารณาเก่ียวกับขาวสารดังกลาวแลว สิ่งท่ีควรพิจารณาอีกอยางหนึ่ง คือ รูปเลม
ควรพิจารณาความเรยี บรอ ยและความคงทนของการจดั รูปเลม ใหเ หมาะสมกับราคาดวย
ประโยชนข องการเลือกหนงั สือ
การเลือกหนงั สอื ควรคาํ นึงถึงประโยชนที่จะไดร ับ ดงั ตอ ไปนี้
1. เพอื่ ใหไ ดหนงั สือท่ีตรงกบั ความสนใจ และตอ งการทจี่ ะศกึ ษาคนควา
2. เพ่อื ใหไ ดอานหนงั สือทีด่ ีมีประโยชนต อ ชีวิต
3. เพือ่ เลอื กหนงั สอื ใหเ หมาะสมกับเวลา
1. การเลือกหนังสือทตี่ รงกับความสนใจ และตองการทีจ่ ะศึกษาคนควา
ผูที่จะเลือกอานหนังสือประเภทน้ีก็คือ ผูที่มีความสนใจหนังสือเลมนั้นโดยตรง หรือผูที่
มีความตองการศึกษาคนควา เรื่องนั้น ๆ โดยเฉพาะ เชน ผูศึกษาคนควาตามแนวทางที่ตนไดเรียนมา
ผูที่เรยี นทางดานภาษาก็จะคน ควาทางดานน้ี เพอ่ื จะไดรบั ประโยชนจากการอานอยางคุม คา
2. เพ่อื ใหไ ดอานหนงั สือทด่ี ีมปี ระโยชนตอชีวติ
ผูท่ีอานหนังสือทุกคนยอมหวังท่ีจะไดรับประโยชนจากการอาน เชน ขอคิดเห็น ความรู
ทางวิชาการ ขาวที่ทันเหตุการณ แนวทางดําเนินชีวิตที่ดี ฯลฯ แมวาจะไดรับประโยชนเพียงเล็กนอย
ก็ตาม เพราะการทไ่ี ดรับประโยชนโดยตรงจากการอานนย้ี อมทําใหไมเ สยี เวลาโดยเปลา ประโยชน
3. เพอื่ เลือกหนงั สือใหเ หมาะสมกับเวลา
การอานหนังสือนั้นจะเสียเวลามากหรือนอยยอมแลวแตเร่ืองที่อานวามีขนาดส้ัน ยาว
แคไ หน มคี วามยากงายตอ การอา นมากนอ ยเพยี งใด ถาหากมเี วลานอยควรอานเรอื่ งสน้ั ทจ่ี บไดท ันเวลา
ท่มี อี ยู ถามเี วลามากก็อานเรอ่ื งยาวขึน้ โดยเลอื กใหเ หมาะสมกับเวลา เพราะการอา นหนงั สือน้นั หากไม
เลือกใหเหมาะสมกับเวลาอาจทาํ ใหผ ูอา นรสู ึกเบอื่ และไมอยากอา นอีกตอ ไป
ประโยชนท ่ีไดร บั จากการอานหนงั สือ
การอานหนังสอื ยอมไดรับประโยชนหลายประการ ซง่ึ พอจะสรปุ ได ดังนี้
1. อา นหนังสอื ตรงกบั ความตอ งการของตน
2. ไดร ับความรูจากเรื่องนน้ั สมความตั้งใจ
3. ทําใหรักการอานมากยิง่ ข้ึน เพราะไดอานหนังสอื ท่ตี นเลือกเอง
4. ชว ยพฒั นาอาชีพใหกา วหนา
5. ชว ยใหเกดิ ความคดิ สรางสรรค
6. ทาํ ใหเ กดิ ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน
32
7. ทําใหท ราบความเปน ไปของบานเมือง ทนั โลก ทันเหตกุ ารณ
8. เพ่มิ พูนความรูความสามารถ เปน การพัฒนาตนเอง
9. ไดอ า นหนังสือทีม่ คี ณุ คา คุมกบั เวลาที่เสียไป
สอื่ สารสนเทศ
ปจจบุ ันไดมีการนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชประโยชนทางการศึกษา ทั้งในดานการบรหิ าร
การจัดการและการเรียนรูดานสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส เปนการใชประโยชนจากแหลงความรูจากส่ือตาง ๆ
ทห่ี ลากหลายมากขึน้ เพื่อใหประชาชนสามารถเรยี นรูแ ละพฒั นาตนเองไดอ ยางตอ เนอ่ื ง
สอื่ สารสนเทศมีทงั้ ส่ือส่ิงพมิ พ และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส
สอ่ื ส่ิงพมิ พ
ส่ิงพิมพท่ีจัดพิมพขึ้นเพ่ือนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน เชน หนังสือเรียน ตําราเรียน
แบบเรียน แบบฝกหัด ใบงาน คูมือการสอนและสงเสริมการเรียนรู เชน หนังสือสงเสริมความรู
สารานกุ รม พจนานกุ รม หนังสือพิมพ หนังสือบันเทิงคดี และสารคดีท่ีมีเน้ือหาเปนประโยชน สวนสื่อ
สิ่งพิมพที่ใหความรูขาวสารตาง ๆ เชน หนังสือเลม หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร เอกสาร จุลสาร
แผนพับ แผน เปลา เปนตน
สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส
สังคมยุคปจจุบัน การส่ือสารดวยเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกสมีใชกันอยางกวางขวางท่ัวประเทศ
การใชส่ืออิเล็กทรอนิกสในสังคมยุคโลกาภิวัตนเปนเรื่องจาํ เปน เพราะชวยใหประชาชนเขาถึงขอมูล
ขาวสารความรูตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว อันเปนการสงเสริมสรางโอกาสในการเขาถึงการศึกษาของ
ประชาชน ใหส ามารถเรยี นไดอ ยางตอเนือ่ งตลอดชวี ติ สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส ไดแก วทิ ยุ โทรทัศน เทปเสียง
วดี ิทัศน โปรแกรมคอมพิวเตอรซอฟตแ วรในรปู แบบตา ง ๆ คอมพิวเตอรช วยสอน เปน ตน
1. วทิ ยุ เปน สอ่ื มวลชนท่ใี ชเสยี งเปน ส่ือ เรือ่ งราวท่สี อื่ สารมที ัง้ เรื่องทีใ่ หความบันเทงิ และเร่อื ง
ทใ่ี หส าระความรู เชน ขาว บทความ รายการตอบปญ หา สัมภาษณบ คุ คลสาํ คัญ รายการวทิ ยุ
เพ่อื การศึกษา เปน ตน
2. โทรทัศน เปนส่ือมวลชนท่ีใชทั้งเสียงและภาพเปนส่ือ การชมรายการทางโทรทัศน
นอกจากเราจะสมั ผัสดวยหูแลว ยงั สมั ผัสไดดวยตาอกี ดว ย รายการโทรทศั นจงึ นาสนใจกวารายการวิทยุ
และทําใหผูชมตื่นตวั อยูตลอดเวลา จึงประทับใจหรือจดจาํ ไดด ีกวา รายการวทิ ยุ
รายการตาง ๆ ทางโทรทัศนไ มต า งกับรายการทางวิทยุ คือ มีทั้งรายการที่ใหความบันเทิงและ
รายการทใ่ี หทงั้ ขอมูล ขาวสาร และความรูทท่ี นั สมยั ทนั เหตกุ ารณ รวมท้งั ใหความบันเทิง เชน รายการ
ขาวทั้งในประเทศและตางประเทศ รายการโทรทัศนเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคําแหง รายการสัมภาษณบุคคลสําคัญ รายการ
รัฐบาลพบประชาชน รายการทดสอบเชาวน ความจาํ และอ่ืน ๆ
3. คอมพวิ เตอรช ว ยสอน เปนส่ือที่ผูเรียนสามารถนาํ ไปศึกษาดวยตนเองในเวลาและสถานท่ี
ท่ีผูเรียนสะดวก ทําใหมีความเปนอิสระและเปนสวนตัวในการเรียนรู สามารถโตตอบหรือให
33
ผลยอ นกลับไดท ันที ทําใหผ เู รยี นทราบความกา วหนาในการเรียนของตนซึ่งหากไมเขาใจก็ยอนกลับไป
ทบทวนไดห ลาย ๆ ดาน ทาํ ใหผเู รยี นไดพัฒนาความรูตามความพรอ มและศักยภาพของตน
4. อนิ เตอรเน็ต (Internet) หรือเทคโนโลยเี ครอื ขา ยเปนการเชอื่ มโยงแหลง ขอ มลู จากท่วั โลก
ทหี่ ลากหลายคลา ยกับ “หองสมดุ โลก” ใหผูเรียนไดค นควา เน้ือหาสาระทตี่ องการไดอยางสะดวกรวดเร็ว
และราคาประหยัด
เรื่องที่ 3 การอา นจับใจความสําคัญ
การอานจะเกิดประโยชนสงู สดุ แกผ ูอานไดนั้น ผูอานจะตองจับใจความสําคัญของเร่ืองที่อาน
ใหไดแ ลวนาํ ไปปฏบิ ตั ิ
ใจความสําคญั หมายถงึ ขอ ความท่ีเปน แกนหรอื หัวใจของเรอ่ื ง
การจับใจความสําคัญในการอานก็คือ กรณีเอาขอความหรือประโยคที่เปนหัวใจของเรื่องนั้น
ออกมาใหไ ด เพราะใจความสาํ คัญของเร่ืองจะเปน ใจความหลกั ของแตละบทแตล ะตอน หรือ แตละเรื่อง
ใหรูวาแตละบทตอนน้นั กลา วถึงเรอื่ งอะไรเปน สาํ คญั ดังนน้ั การจบั ใจความสาํ คัญของเรื่อง ที่อานจะทํา
ใหมคี วามเขาใจในเรอ่ื งน้ัน ๆ อยางแจม แจง
หลักการอานจับใจความ
1. การเขา ใจความหมาย
หลักเบื้องตนในการจับใจความของสาระท่ีอาน คือ การเขาใจความหมาย ความหมาย
มีหลายระดับนับต้ังแตระดับคํา สํานวน ประโยค และขอความ คําและสํานวนเปนระดับภาษาที่ตอง
ทาํ ความเขาใจเปน อนั ดบั แรก เพราะนาํ ไปสคู วามเขา ใจความหมายของประโยคและขอความ
1.1 ความหมายของคํา
ความหมายของคําโดยทั่วไปมี 2 อยา ง คือ ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย
ก. ความหมายโดยตรง เปนความหมายตามรูปคําท่ีกําหนดขึ้น และรับรูไดเขาใจ
ตรงกันความหมายประเภทน้ีเปน ความหมายหลกั ทใ่ี ชส อ่ื สารทาํ ความเขาใจกนั
คําที่มีความหมายโดยตรงในภาษาไทยมีลักษณะอยางหน่ึงที่อาจเปนอุปสรรค
ในการสื่อสารลักษณะดังกลาว คือ การพองคํา คําพองในภาษาไทยมีอยู 3 อยาง ไดแก คําพองรูป
คําพอ งเสยี ง และคําพอ งรปู พอ งเสียง คําที่พอ งทัง้ 3 ลักษณะนีม้ คี วามหมายตางกัน
คาํ พองรปู คือ คําท่ีสะกดเหมือนกัน แตออกเสียงตาง เชน เพลารถ กับ เพลาเย็น
คําแรก ออกเสียง เพลา คาํ หลังออกเสียง เพ ลา คําพองรูปเปนอปุ สรรคตอการอานและทําความเขาใจ
คําพองเสียง คือ คําท่ีออกเสียงเหมือนกัน แตสะกดตางกัน เชน การ กาน กานต
กานท กาล กาฬ กาญจน ทง้ั หมดนอ้ี อกเสยี ง “กาน” เหมือนกนั การพอ งเสยี งเปนอุปสรรคตอการอาน
เพ่ือความเขาใจ
34
คําพองรูปพองเสียง คอื คําทส่ี ะกดเหมอื นกันและออกเสยี งอยางเดยี วกัน โดยรูปคํา
จะเหน็ วา เปน คาํ เดียวกัน แตมคี วามหมายแตกตางกนั ดงั ตวั อยา งตอไปน้ี
ขนั หมายถงึ การทําใหแนน
ขัน หมายถงึ ภาชนะตกั นา้ํ
ขนั หมายถงึ ความรูส ึกชอบใจ
ขัน หมายถงึ การสงเสียงรองของไกตัวผู
ขัน หมายถงึ การรับ ฯลฯ
คาํ พองรูป พองเสียงเปนอุปสรรคตอการฟงและอานเพื่อความเขาใจ วิธีท่ีจะชวยใหเขาใจ
ความหมายของคาํ พอง จะตองดูคําขางเคียงหรือคาํ ท่ีประกอบกันในประโยค หรือขอความน้ัน
ทเ่ี รยี กวา บรบิ ท ดงั ตวั อยา งตอไปน้ี
ขนั ชะเนาะใหแ นน
หยบิ ขันใหท ีซิ
เขารูสกึ ขัน
ไกข ันแตเ ชามดื
เขาขันอาสาจะไปตดิ ตอ ให
นอกจากดูคาํ ขางเคยี ง หรอื คําประกอบในประโยคแลว บางทีต่ องอาศยั สถานการณ เชน
ประโยคท่วี า
“ทําไมตอ งดกู ัน”
คาํ วา “ดู” ในสถานการณท ว่ั ไป หมายถึง การมอง แตในสถานการณเ ฉพาะ เชน การสอบ
ดจู ะมีความหมายวา ลอกกัน เอาอยา งกัน
ในบทรอยกรอง ตองอาศัยฉันทลกั ษณ เชน สัมผัส เปนตน ตวั อยางเชน
อยา หวงแหนจอกแหนใหแ กเรา แหน แ หน
พอลมเพลาก็เพลาสายณั ห เพลา เพ ลา
คําท่ีมีความหมายโดยตรงไดแก คําศัพท คําศัพท คือ คําที่ตองแปลความ เปนคําไทยที่มาจาก
ภาษาอื่น สันสกฤต เขมร เปนตน เชน สมโภช รโหฐาน สุคติ โสดาบัน บุคคล จตุราบาย เปนตน
รวมทั้งศัพทบัญญัติทั้งหลายท่ีใชในวงวิชาการหรือกิจบางอยาง เชน มโนทัศน เจตคติ กรมธรรม
เปน ตน คําศัพทดังกลาวน้ีจําเปนตองศึกษาวามีมูลมาอยางไร ประกอบข้ึนอยางไร และมีความหมาย
อยา งไร
ข. ความหมายโดยนัย เปนความหมายท่ีสื่อหรือนําความคิดใหเกี่ยวโยงถึงบางส่ิง
บางอยา งท่มี ลี ักษณะหรือคุณสมบัติเหมือนกับคําที่มีความหมายโดยตรง บางทานเรียกวา ความหมาย
รอง หรือความหมายแฝง
ความหมายโดยนัย มหี ลายลกั ษณะ กลาวคอื มคี วามหมายเปนเชิงเปรยี บเทียบ เชน
เปรยี บเทียบโดยอาศยั นยั ของความหมายของคําเดิม ตัวอยางเชน
35
เธอมใี บหนา ยมิ้ แยม แจม ใส
เขาทาํ งานเอาหนา หมายถงึ ทาํ งานเพ่อื ผลประโยชนข องตน
เด็กสาดโคลนกันเลอะเทอะ
เขาสาดโคลนคณุ พอ หมายถึง ใสร าย
ตน ไมต นนเ้ี ปลอื กสวย
หลอนรวยแตเปลอื ก หมายถึง ไมรา่ํ รวยจริง
มกี ารเปรียบเทยี บกบั คุณสมบตั ขิ องสิง่ ท่ีนํามากลา ว เชน
เขาเปน สิงหส นาม หมายถึง เปนคนเลนกฬี าเกง
1.2 ความหมายของสํานวน
สาํ นวนเปนขอความที่มีความหมายพิเศษไปจากคําที่ประกอบอยูในขอความนั้น
ไมไดมีความหมายตามรูปคาํ ความหมายของสาํ นวนมีลักษณะเปนเชิงเปรียบเทียบโดยอาศัยนัยของ
ความหมายตามลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิของขอ ความน้นั เชน
ออยเขาปากชา ง หมายถงึ ของตกไปอยูในมือผอู น่ื แลวไมม ที างไดคืน
ไกแ กแมปลาชอ น หมายถึง ผูทมี่ คี วามจัดจานเจนสงั เวยี น
วัวหายลอ มคอก หมายถึง เม่อื เกดิ ความเสยี หายแลวจึงหาทางปองกนั
กนิ ขา วตมกระโจมกลาง หมายถึง การพดู ถงึ สงิ่ สุดวิสัยทจ่ี ะทาํ ได
สว นตาง ๆ ที่นาํ ไปกลาวเปรยี บเทยี บใหเ ขากบั สถานการณ เรียกวา คาํ พังเพย เชน เมอ่ื ของ
หายแลวจงึ คิดหาทางปองกนั ก็เปรียบวา วัวหายลอมคอก เปนตน
ความหมายของสํานวนมีลักษณะเหมือนความหมายโดยนัย คือ ตองตีความ หรือ แปล
ความหมายตามนัยของคําหรือขอ ความนั้น ๆ
2. การเขา ใจลักษณะของขอ ความ
ขอ ความแตล ะขอความตอ งมีใจความอนั เปน จดุ สําคัญของเร่ือง ใจความของเรื่องจะปรากฏ
ท่ีประโยคสําคัญ เรียกวาประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูในตอนใดของขอความก็ได
โดยปกติจะปรากฏในตอนตา ง ๆ ดงั น้ี
ปรากฏอยูในตอนตนของขอ ความ ตวั อยางเชน
“ภัยอันตรายทีจ่ ะเปน เครอื่ งทาํ ลายชาติอาจเกดิ ข้ึนและมีมาไดต้ังแตภายนอก ทั้งที่ภายใน
อนั ตรายทีจ่ ะมมี าต้ังแตภ ายนอกนัน้ ก็คือ ขา ศึกศตั รูยกมาย่าํ ยีตบี านตีเมืองเรา การที่ขาศึกศัตรูจะมาตีนั้น
เขายอมจะเลือกหาเวลาใดเวลาหน่ึงซ่ึงชาติกําลังออนแอและมิไดเตรียมตัวไวพรอม เพ่ือตอสูปองกันตน
เพราะฉะน้ันในบทที่ 2 ขาพเจาจึงไดเตือนทานทั้งหลายอยาไดเผลอตัว แตขอสําคัญที่สุดเปนเครื่องทอน
กําลังและเสยี หลักความมนั่ คงของชาติ คือ ความไมส งบภายในชาตินั้นเอง จงึ ควรอธบิ ายความขอ นส้ี ักหนอ ย
(พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว ปลกุ ใจเสือปา)
36
ปรากฏอยใู นตอนกลางของขอ ความ ตัวอยา งเชน
“อันความรกั ความชัง ความโกรธ ความกลวั ความขบขัน เหลา นี้เปนสามญั ลกั ษณะของปถุ ุชน
ใครหวั เราะไมเ ปน ย้ิมไมอ อก กอ็ อกจะพกิ ลอยู คนสละความรกั ความชงั ไดก็มีแตพระอรหันต อารมณ
ความรูส ึกดงั น้ี เปนธรรมชาติของมนษุ ย กวีและนักประพันธยอมจะแตงเรือ่ งยั่วเยา อารมณ ความรูสกึ
เหลาน้ี และถาเขาแตงเปน แตงดี ก็จะปลุกอารมณของผูอานผูฟงใหเกิดข้ึน ทานคงจะเคยเห็นคน
อานเร่อื งโศกจบั ใจจนนาํ้ ตาไหล สงสารตวั นางเอก พระเอก อานเร่ืองขบขันจนหัวเราะทองคัดทองแข็ง
ท้ัง ๆ ที่รูวามันเปนเรื่องอานเลน และคนที่อานก็ไมไดมีสวนเสียอะไรกับตัวนาง ก็พลอยโศกเศราไป
ดวยได อยางไรกด็ คี วามเศราของอารมณอนั เกิดจากความยวั่ เยาของศิลปะวรรณคดี ตลอดจนนาฏกรรม
ตา ง ๆ น้นั เปน ความสขุ ชนิดหน่ึง มฉิ ะนนั้ เร่ืองทํานองโศกนาฏกรรมคงจะไมม ใี ครดเู ลย”
(นายตํารา ณ เมอื งใต ภาษาและวรรณคด)ี
ปรากฏใจความอยูทา ยยอ หนา ตัวอยางเชน
“ทานกลาววา คนเปนสัตวท่ีเรียนรู คือ รูดู เห็นอะไรแลวเมื่อเห็นวาดีก็เอาไว ถาเห็นวาไมดี
กไ็ มเ อาและหลีกเล่ียง เด็กรรู สหวาน กอ็ ยากไดอ ีก ถา รรู สขมของบอระเพด็ หรือเมื่อถูกไฟก็รูสึกรอนจะ
ไมตองการกินบอระเพ็ดหรือเขาใกลไฟอีก นี่เปนเรื่องของการผานพบเคยรูเคยเห็นเรื่องน้ี ตอ ๆ มา
หลาย ๆ ครั้ง เกิดความชาํ นาญชดั เจนขนึ้ โลกมีความเจรญิ กาวหนาเร่อื งวัฒนธรรมก็เพราะการผานพบ
และการจดั เจนของมนุษย
(เสถียรโกเศศ ชวี ติ ชาวไทยสมยั กอ นและการศกึ ษาเรอื่ งประเพณีไทย)
ประโยคใจความอยตู อนตนและตอนทา ยของขอ ความ ตวั อยางเชน
“คนไทยนั้นถือวา บา นเปนสิ่งจําเปนตอชีวิตต้ังแตเกิดไปจนตาย เพราะคนไทยโบราณนั้นใช
บา นเปนทีเ่ กดิ การคลอดลูกจะกระทํากันท่ีบานโดยมีหมอพื้นบาน เรียกวา หมอตําแย เปนผูทําคลอด
มไิ ดใชโรงพยาบาลหรือสถานผดงุ ครรภอ ยา งในปจจบุ นั น้ี และท่สี ดุ ของชีวติ เม่อื มีการตายเกิดขนึ้ คนไทย
กจ็ ะเก็บศพของผูตายที่เปนสมาชิกของบานไวในบานกอนท่ีจะทําพิธีเผา เพื่อทําบุญสวดและเปนการ
ใกลช ิดกับผูตายเปน ครัง้ สุดทาย ดังนนั้ บา นจึงเปนทีท่ ่ีคนไทยใชช วี ิตอยูเกือบตลอดเวลาต้ังแตเกิดจนตาย”
(วิบูลย ล้สี ุวรรณ “บานไทย” ศลิ ปะชาวบา น)
การเขา ใจถงึ การปรากฏของประโยคใจความในตอนตาง ๆ ของขอ ความดงั ที่กลา วแลว จะชวย
ใหจ ับใจความไดด ยี ่ิงขน้ึ
3. การเขา ใจลักษณะประโยคใจความ
เม่ือเขาใจถึงลักษณะของขอความวาตองมีประโยคใจความ และปรากฎอยูในตอนตาง ๆ
ของขอ ความแลว ตอ งเขาใจตอ ไปวาประโยคใจความเปน อยา งไร
ประโยคใจความ คือ ขอ ความทเ่ี ปนความคดิ หลกั ของหวั ขอ หรือเร่ืองของขอ ความน้ัน
37
ตัวอยา งเชน
หวั ขอ บา น
ความคิดหลัก บา นเปน ท่ีอยูอาศัย
หวั ขอ ราชสีห
ความคดิ หลัก ราชสีหไ ดช อ่ื วาเปนเจา ปา ในบรรดาสัตวท ้งั หลาย
ความคิดหลกั น้ี คอื ประโยคใจความท่จี ะปรากฏในตอนใดตอนหนึง่ ของขอความท่ีกลา วแลว
ฉะน้ันการท่ีจะทราบวา ประโยคใดเปน ประโยคใจความ ตอ งพจิ ารณาจากหัวเร่ือง ประโยคใจความมักมี
เน้ือหาสอดคลอ งกบั หวั เรื่อง
ในกรณที ไี่ มท ราบหัวขอ เรอื่ ง ตองเขา ใจวา สวนที่เปนประโยคใจความน้ันจะมเี นือ้ ความหลกั
ของเนอ้ื ความอ่นื ท่ปี ระกอบกนั ขนึ้ เปน หวั ขอน้ัน ถาขาดสวนที่เปนใจความ เนื้อความอ่ืนก็เกิดข้ึนไมได
หรอื ความหมายออนลง
การอา นอยางวเิ คราะห
การอานอยางวิเคราะห หมายถึง การอานท่ีมีการพิจารณาแยกรายละเอียดออกเปนสวน ๆ
เพือ่ ทําความเขาใจ และใหเห็นถึงความสัมพนั ธร ะหวา งสวนตาง ๆ เหลานั้น
การอานอยา งวิเคราะหเร่ิมตนจากพ้ืนฐานขอมูลและความคิดจากการอานเองเปนอันดับแรก
เพ่อื ใหเขาใจเนอื้ เรื่องโดยตลอด ตอจากน้ันจึงแยกเร่ืองในบทอานออกเปนสวน ๆ ไดรูวา ใครทําอะไร
เพื่ออะไร อยางไร ในเร่ืองมีใครบาง หรือตัวละครก่ีตัว และที่มีบทบาทสําคัญมีกี่ตัว ทําไมเหตุการณ
จงึ เปนอยางน้นั หรือเพราะเหตใุ ด ตอไปนา จะเปนอยา งไร
ตอ ไปน้ีจะนํานทิ านเรือ่ ง “กระตายบนดวงจันทร” มาเลาใหฟง
นิทานเรื่อง กระตายบนดวงจันทร
กาลครงั้ หนง่ึ มกี ระตา ย ลิง นกน้าํ และสนุ ขั จ้ิงจอก สาบานรวมกันวาจะไมฆาสัตวตัดชีวิต และ
บาํ เพ็ญตนเปนฤๅษีอยูในปา พระอินทรขอทดสอบในศรัทธาของสัตวทั้งสี่ จึงปลอมตัวเปนพราหมณ
เท่ียวขอบรจิ าคทานโดยไปขอจากลงิ เปน ตวั แรก ลงิ มอบมะมว งให จากนั้นพราหมณไปขอทานจากนกน้ํา
นกนาํ้ ถวายปลาซ่งึ มาเกยตนื้ อยรู ิมฝง แมนาํ้ สว นสุนัขจิ้งจอกก็ถวายนมหมอหนึ่งกับผลไมแ หง
เมอ่ื พราหมณไปขอบริจาคทานจากกระตาย กระตายพูดกับพราหมณวา “ขากินแตหญาเปน
อาหารหญาก็ไมมีประโยชนใด ๆ กับทา นเลย” พราหมณจ งึ เอย ขนึ้ วา ถากระตายบําเพญ็ พรตเปนฤๅษี
ท่แี ทจ รงิ ขอใหส ละชีวิตของตนเปนอาหารแกพราหมณ กระตายตอบตกลงทันทีและทําตามที่พราหมณ
ขอรอ งวา ใหกระโดดลงกองไฟแดง พราหมณจะไมลงมอื ฆา และปรงุ กระตายเปนอาหาร กระตายปนข้ึน
ยืนบนกอนหินและกระโดดลงกองไฟ ในขณะท่ีกระตายกําลังจะตกสูเปลวไฟน้ัน พราหมณไดควา
กระตายไว แลวเปด เผยตัวตนทแ่ี ทจรงิ วาคือใคร แลวพระอินทรก ็นํากระตา ยไปไวบ นดวงจนั ทร
(จากนิตยสารสารคดี ฉบบั ท่ี 147 ปท ี่ 13 หนา 30)
38
เม่ืออานเรือ่ งนอ้ี ยางวเิ คราะหก ็จะตอ งใหค วามคดิ ติดตามประเด็นตา ง ๆ ตัวละครในนทิ านเรื่องน้ี
มใี ครบา ง มีลักษณะนิสัยอยางไร ตัวละครแตละตัวไดกระทําสิ่งใดบาง ทําอยางไร ผลของการกระทํา
เปนอยางไร ทําไมสัตวทงั้ 4 จึงสาบานรว มกนั วา จะไมฆาสตั วแ ละบําเพญ็ ตนเปนฤๅษีอยูในปา เพราะเหตุใด
สัตวทั้ง 4 จึงบริจาคทานไมเหมือนกัน ทําไมพราหมณจึงนํากระตายไปไวบนดวงจันทรเพียงตัวเดียว
หากพระอนิ ทรน าํ สัตวท้งั 4 ไปไวบนดวงจันทรเ ราจะเหน็ รปู ของสัตวทั้ง 4 บนดวงจนั ทรทั้งหมดหรือไม
เรอื่ งที่ 4 มารยาทในการอาน และนสิ ยั รักการอา น
การอา นอยา งมมี ารยาทเปน เรอื่ งท่ีจาํ เปนและสาํ คญั เพราะการอานอยางมีมารยาทเปน เรื่อง
การประพฤติปฏบิ ตั ิอยา งมวี นิ ยั และรบั ผิดชอบ รวมทั้งการมจี ติ สาํ นึกและแสดงถึงความเจรญิ ทางดาน
จติ ใจทค่ี วรยดึ ถือใหเ ปนนสิ ยั
มารยาทในการอา น
คาํ วา มารยาท หมายถงึ กิริยา วาจาทเี่ รียบรอย หรอื การกระทาํ ท่ดี ีงาม ผอู า นที่ดีตอ งมี
มารยาทที่ดีในการอา น ดังตอ ไปนี้
1. ไมสงเสียงดังรบกวนผูอ ืน่
2. ไมทําลายหนงั สอื โดยการ ขูด ลบ ขีด ทับ หรือฉกี สวนทต่ี อ งการ
3. เม่อื คดั ลอกเนอื้ หาเพือ่ อา งองิ ในขอ เขียนของตน ตอ งอา งองิ แหลง ทีม่ าใหถ กู ตอ ง
ตามหลกั การเขียนอางองิ โดยเฉพาะงานเขยี นเชงิ วชิ าการ
4. เมือ่ อานหนงั สือเสรจ็ แลว ควรเก็บหนังสือไวท เี่ ดมิ
5. ไมควรอา นเรอ่ื งทเี่ ปน สว นตัวของผอู น่ื
6. อานอยา งต้ังใจ และมสี มาธิ รวมทัง้ ไมทาํ ลายสมาธผิ อู นื่
7. ไมใชสถานทอี่ านหนังสือทาํ กิจกรรมอยางอื่น เชน นอนหลบั รบั ประทานอาหาร
นิสยั รักการอา น
การทบ่ี ุคคลใดบุคคลหนึง่ จะมีนสิ ัยรกั การอานไดจ ะตอ งไดรบั การฝก ฝนมาต้ังแตเ ดก็ ๆ แตก ม็ ใิ ช
วาเม่ือโตเปนผูใหญแลวจะไมสามารถสรางนิสัยรักการอานได ท้ังน้ีเราจะตองสรางบรรยากาศ
สภาพแวดลอมทเี่ อื้อใหเ ด็ก ๆ หนั มาสนใจการอาน ดงั น้ี
1. อา นหนงั สอื ที่ตนเองชอบ จะทําใหอานไดอ ยางตอ เน่อื ง และไมเบอื่ หนา ย
2. ทําตนใหเปนผใู ฝร ู
3. การอานจะตอ งมสี มาธเิ พอื่ จับใจความของเร่ืองท่อี านได
4. เริม่ อานหนังสอื จากระยะเวลาสัน้ ๆ กอน แลวคอ ย ๆ กําหนดเวลาเพิ่มขึ้น
5. การอานจะตอ งมสี มาธิเพอื่ จบั ใจความของเรือ่ งท่ีอานได
39
6. จัดตารางเวลาสาํ หรบั การอานหนังสอื เปน ประจาํ ทกุ วันใหเกดิ ความเคยชินจนเกิดเปนนิสัย
รกั การอาน
กิจกรรม บทที่ 3 การอาน
กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. การอานในใจมจี ดุ มุงหมายอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….……………
2. การอา นออกเสียงมีลกั ษณะอยางไร
………………………………………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….……………
3. จงยกตัวอยา งการอานออกเสยี งท่เี ปน ทางการมา 5 ตัวอยา ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………….…………………………………………….………
กจิ กรรมท่ี 2 การจบั ใจความสําคัญ คอื การอานอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………
กิจกรรมที่ 3 สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสชวยใหเ กิดการเรยี นรูตลอดชีวิตไดแกอ ะไรบา ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………..……………………
กิจกรรมที่ 4 การอานอยางไร จึงจะเรียกวา เปน การอา นวเิ คราะหว ิจารณ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….…………………………………
กิจกรรมที่ 5 ผูอ า นทดี่ ี ควรมมี ารยาทอยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….………………….……………
40
บทท่ี 4
การเขียน
สาระสาํ คญั
การเขยี น เปนทักษะสาํ คญั หนง่ึ ในทกั ษะท้งั สี่ของรายวิชาภาษาไทย คอื การฟง อา น เขียน และ
พูด การเขยี นหนงั สอื ใหไ ดดีจะเปน พน้ื ฐานในการเรียนรู และการนาํ เสนอผลการเรียนรใู นเรอ่ื งตา ง ๆ
ไดดี ทําใหความรูขยายไปอยา งกวางขวาง ผเู รยี นจึงควรไดรจู ักและฝกฝนการเขยี นประเภทตา ง ๆ
ผลการเรียนทค่ี าดหวัง ผเู รียนสามารถ
1. เลอื กใชภ าษาในการนําเสนอตามรปู แบบของงานเขียนประเภทรอยแกว และ
รอยกรอง ไดอ ยางสรางสรรค
2. ใชแผนภาพความคดิ จัดลาํ ดับความคดิ กอนการเขยี น
3. แตง บทรอ ยกรอง ประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพ
4. เขียนบทรอ ยแกว ประเภทประวตั ติ นเอง อธบิ ายความ ยอ ความ ขา ว
5. เขยี นรายงานการคนควา สามารถอา งอิงแหลง ความรไู ดถกู ตอ ง
6. กรอกแบบรายการตา ง ๆ
7. ปฏิบัตติ นเปน ผมู มี ารยาทในการเขยี น และการจดบันทกึ อยา งสมา่ํ เสมอ
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี น การใชภ าษาในการเขียน
เรื่องที่ 2 หลกั การเขียนแผนภาพความคิด
เร่ืองที่ 3 การเขยี นเรยี งความและยอ ความ
เร่อื งท่ี 4 การเขยี นเพอื่ การสือ่ สาร
เรอื่ งท่ี 5 การสรา งนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควา
41
เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียน การใชภาษาในการเขยี น
หลักการเขียน
การเขยี นเพื่อส่อื ความหมายใหผ ูอน่ื เขา ใจตามตอ งการน้นั มีความจําเปน ตองระมัดระวังใหม าก
เก่ียวกับการใชภาษา ควรใชถ อยคําทค่ี นอาน อา นแลว เขาใจทันที เขียนดวยลายมอื ทช่ี ดั เจนอานงายเปน
ระเบียบและผูเขียนจะตองใชภาษาใหถูกตองตามหลักการเขียน ใชคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะและ
บคุ คลดว ย จึงจะถือวาผเู ขยี นมหี ลักการใชภ าษาไดด มี ีประสิทธิภาพ
การเขียนมหี ลกั ท่ีควรปฏบิ ตั ิดงั ตอ ไปน้ี
1. เขยี นใหชัดเจน อา นงาย เปนระเบยี บ
2. เขียนใหถูกตอ ง ตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยุกต
3. ใชถ อ ยคาํ ท่ีสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล
4. ใชภ าษาทง่ี าย ๆ สน้ั ๆ กะทดั รดั สือ่ ความหมายเขา ใจไดด ี
5. ใชภาษาเขียนที่ดี ไมควรใชภาษาพดู ภาษาโฆษณาหรอื ภาษาทไ่ี มไ ดม าตรฐาน
6. ควรใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนใหถ ูกตอ ง เชน เวนวรรค ยอ หนา ฯลฯ
7. เขยี นใหสะอาด
ตวั อยา ง
ขอ ความการเขยี นชองซา ยมือมีขอบกพรองอยางไร พรอมขอ วิจารณ
ขอความท่ีเขยี น ขอวจิ ารณ
1. ความรกั โคถกึ 1. เขียนไมช ดั เจน อา นเขา ใจยาก ควรเขียน
ใหชดั เจนวา “ความรักเหมอื นโคถกึ ”
2. ชวี ิตของฉนั มีหมานาํ 2. ใชคําไมส ภุ าพในภาษาพดู สุนขั
3. หมอเด็กยงั ไวใ จไมไ ด 3. คําขีดเสน ใตเ ขา ใจยาก ควรเปน
“หมอคนนัน้ ยงั เด็กอยยู งั ไวใ จไมไ ด
4. คนกินกลว ย แขกรอนจนตาเหลือก 4. แบงวรรคไมถูก ควรเปน
“คนกนิ กลวยแขกรอ นจนตาเหลือก
5. นายมาเปน ไขโ ปง ดับอนาถ 5. ใชสาํ นวนส่ือมวลชน ควรแกไ ขเปน
"นายมาถกู ยิงถงึ แกก รรมแลว "