92
ขอ แนะนําในการกรอกแบบรายการ ควรระมัดระวงั ในเรอื่ ง ตอไปนี้
1. กรอกดวยความเขาใจ กอนจะกรอกตองอานขอความใหถี่ถวน และควรสอบถาม ถามี
ขอ ความที่ยังไมเ ขาใจ
2. กรอกขอ ความทเ่ี ปนจรงิ ไมกรอกขอความทเี่ ปนเทจ็ เพราะอาจมีผลเสยี หาย ตอตัวผูกรอก
ในภายหลงั
3. กรอกใหครบถวน ชองวางที่ไมไดกรอกขอความตองขีดเสนใตใหเต็มชอง ไมเวนท่ีวางไว
เพราะอาจมผี มู ากรอกขอความเพมิ่ เติมไดภ ายหลงั
4. กรอกขอความดวยตนเอง ไมควรใหผูอ่ืนกรอกแบบรายการแทน ยกเวนในกรณีที่จําเปน
อยางย่ิง เชน ไมอยูในสภาพที่จะเขียนหนังสือได ถาใหผูอื่นกรอกขอความในแบบรายการตองอาน
ขอความน้นั กอ นเพอ่ื ความแนใ จวา ถูกตอง
5. ตรวจทานทกุ คร้ัง เมือ่ กรอกแบบรายการหรอื ลงนามในเอกสาร
กิจกรรม บทที่ 4 การเขียน
1. ใหผูเ รียนเรยี บเรียงขอ ความตอ ไปน้ีใหถกู ตอ งมีความหมายท่สี มบูรณ พรอมระบเุ หตุผล
1.1 การชาํ เราจาํ เปนตองหาท่ีเหมาะ ๆ ใตตนไมยงิ่ ดี
1.2 ฉนั ไปตลาดเพอ่ื ซ้อื ปลาหางมาทาํ แกงสม
1.3 เพ่ือนจะไปเทย่ี วจังหวัดจนั ทบุรี
2. ใหผูเรยี นเขียนแผนภาพความคดิ เรอ่ื ง การเขียน จากเน้ือหาวิชาภาษาไทย
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน พรอ มท้งั ระบุวาเปน แผนภาพความคิดรปู แบบใด
3. ใหผเู รียนเขยี นเรยี งความเรือ่ งทตี่ นเองสนใจ จาํ นวน 1 เรอ่ื ง โดยใชห ลักการเขียนเรยี งความดวย
4. ใหผ เู รยี นเขียนจดหมายถงึ ครู กศน. ท่ีสอนภาษาไทยเพื่อขอลาปวยเน่ืองจากเปนไขหวัดใหญ
ไมสามารถไปพบกลมุ ตามวนั เวลา และสถานท่ีได พรอ มใสซองตดิ แสตมปสงทางไปรษณยี
เพ่ือใหค รู กศน. ใหคะแนนเกบ็ ระหวางภาคเรียนดว ย
5. จงบอกคาํ ขวัญประจาํ จงั หวดั ของทาน
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
6. ใหผ ูเรยี นรวบรวมคําขวัญท่ีไดพบ พรอ มจดบนั ทกึ ไวอยางนอ ย 10 คําขวัญ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
93
7. จงเขียนคําขวัญชักชวนคนในชุมชนของทานใหชวยกันรักษาความสะอาดของแหลงนํ้า
หรอื สถานที่สาธารณะอยางใด อยางหน่งึ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
เฉลยกจิ กรรม บทที่ 4 การเขียน
1. ใหผ ูเรียนเรยี บเรยี งขอความตอ ไปนใี้ หถ ูกตอ งมีความหมายทส่ี มบูรณ พรอมระบเุ หตผุ ล
1.1 การชาํ เราจาํ เปน ตองหาทเ่ี หมาะๆ ใตตน ไมยงิ่ ดี เพราะตองเวน วรรคคําวา การชํา
1.2 ฉนั ไปตลาดเพือ่ ซ้ือปลาหางมาทาํ แกงสม เพราะคําวาปลาหางเปนคาํ ราชาศพั ท
1.3 เพ่อื นจะไปเทย่ี วจงั หวดั จันทบรุ ี เพราะคาํ วา จันทรบรุ ีเขียนผดิ
2. ใหผเู รียนเขียนแผนภาพความคดิ เรอ่ื ง การเขียน จากเนอื้ หาวชิ าภาษาไทย ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน พรอมทงั้ ระบวุ าเปน แผนภาพความคดิ รปู แบบใด
94
บทท่ี 5
หลกั การใชภาษา
สาระสําคญั
การใชทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู การระดมความคิด การประชุม การวิเคราะห
การประเมิน การเขาใจระดับของภาษา สามารถใชพูดและเขียนไดดี ทําใหเกิดประโยชนท้ังตอสวนตน
และสว นรวม ทัง้ ยงั เปน การอนรุ กั ษข นบธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ผเู รยี นสามารถ
1. อธบิ ายความแตกตางของคาํ พยางค วลี ประโยค ไดถ กู ตอง
2. ใชเครือ่ งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ คาํ ราชาศพั ทไ ดถ ูกตอ ง
3. อธบิ ายความแตกตางระหวางภาษาพดู และภาษาเขียนได
4. อธิบายความแตกตาง ความหมายของสํานวน สุภาษติ คาํ พงั เพย และนาํ ไปใชใ น
ชีวิตประจําวนั ไดถ กู ตอง
ขอบขายเน้อื หา
เรอ่ื งที่ 1 การใชค าํ และการสรา งคําในภาษาไทย
เรอ่ื งท่ี 2 การใชเคร่อื งหมายวรรคตอน และอกั ษรยอ
เรอ่ื งที่ 3 ชนิดและหนา ทีข่ องประโยค
เรอ่ื งท่ี 4 หลักในการสะกดคํา
เรื่องท่ี 5 คําราชาศพั ท
เรอ่ื งท่ี 6 การใชสํานวน สภุ าษติ คําพงั เพย
เรื่องท่ี 7 หลกั การแตง คาํ ประพันธป ระเภทตา ง ๆ
เรื่องท่ี 8 การใชภาษาทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการ
95
เร่ืองท่ี 1 การใชค าํ และการสรางคาํ ในภาษาไทย
การใชคํา
การส่ือสารดวยการพูดและเขียนจะมีประสิทธิภาพหรือสื่อสารไดดีนั้นตองใชคําใหถูกตอง
โดยใชคําท่ีมีความหมายชัดเจน ใชคําใหถูกกับกาลเทศะและบุคคล การใชเคร่ืองหมาย การเวนวรรค
ตอน การสะกดการันตตอ งถกู ตอง ซ่งึ การใชค าํ ใหถ ูกตอ งมีหลักการ ดงั นี้
1. ใชคาํ ใหถ กู ตองเหมาะสมกับประโยคและขอ ความ การใชค าํ บางคําในประโยคหรือขอ ความ
บางครงั้ มกั ใชคําผิด เชน คําวา มวั่ สมุ กบั หมกมุน บางคนจะใชว า “นกั เรยี นมกั ม่วั สมุ กับตาํ ราเรยี นเมื่อ
ใกลสอบ” ซ่ึงไมถูกตองควรใชคําวา หมกมุน แทนคาํ วา ม่ัวสุม มักจะใชคาํ วา รโหฐาน
ในความหมายวา ใหญโต ซ่ึงความหมายของคาํ น้ี หมายถึง ที่ลับ ควรใชคาํ วา มโหฬาร แทน
2. ควรใชใหถูกตองตามหลักภาษา เชน มักจะใชหมายกาํ หนดการแทนคํา กาํ หนดการ
ในงานปกติทัว่ ไปซึ่งคาํ วา หมายกําหนดการ จะใชก บั งานพระราชพธิ ี กาํ หนดการ จะใชก บั งานท่ัวไป
เปนตน
3. ควรแบงวรรคตอนของคําไทยใหถกู ตอง เพราะหากแบง วรรคตอนผดิ กจ็ ะทาํ ให ความหมาย
ผิดไปได เชน คนกิน กลว ย แขกรอนจนตาเหลือก ควรเขยี น กลวยแขกใหติดกัน ยานี้กินแลวแข็ง แรง
ไมม ี โรคภยั เบียดเบยี น ควรเขียน แข็งแรงใหต ดิ กนั
4. ใชลักษณะนามใหถูกตอง ลักษณะนามเปนลักษณะพิเศษของภาษาไทย ควรใชใหถูกตอง
โดยเฉพาะลักษณะนามบางคําท่ีไมมีโอกาสใชบอยอาจจะจําไมได เชน “ชาง” ซึ่งลักษณะนามชาง
เปน เชือก ตวั อยาง ชา ง 2 เชอื ก มกั จะใชผิดเปนชา ง 2 ตัว หรอื ชาง 2 ชา ง เปน ตน
5. ใชคําใหตรงความหมาย คําไทย คําหนึ่งมีความหมายไดหลายอยาง บางคํามีความหมาย
โดยตรง บางคํามีความหมายแฝง บางคํามีความหมายโดยนัย และบางคํามีความหมายใกลเคียง
จงึ ตองเลอื กใชใหตรงความหมาย
5.1 คาํ ท่มี ีความหมายไดห ลายอยาง เชน “ขนั ” ถา เปนคาํ นาม หมายถึง ภาชนะใชตักน้ํา
เชน ขนั ใบนด้ี แี ท “ขนั ” ถาเปน คํากริยาก็จะหมายถึง ทําใหตึง เสียงรองของไกและนก เชน นกเขาขัน
เพราะจริง ๆ “ขนั ” ถา เปน คาํ วิเศษณ หมายถงึ นาหัวเราะ เชน เธอดูนา ขันจรงิ ๆ เปน ตน
5.2 ความหมายใกลเคยี ง การใชค าํ ชนดิ น้ีตองระมัดระวังใหดี เชน มืด มัว ยิ้ม แยม เล็ก
นอย ใหญ โต ซอม แซม ขบ กัด เปน ตน
ตัวอยาง มืด หมายถงึ ไมส วา ง มองไมเหน็ เชน หอ งนีม้ ดื มาก
มัว หมายถงึ คลุม มนึ หลง เพลนิ
เชน ลูก ๆ มัวแตรองราํ ทําเพลง
มืดมัว เชน วันน้ีอากาศมืดมัวจริง ๆ
96
6. การใชคําที่มีความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัย เราตองศึกษาที่มาของคําและ
ดูสภาพแวดลอ ม เราจะทราบความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัยของคาํ นนั้
ตัวอยาง แม หมายถึง หญิงท่ีใหกําเนิดแกลูกเปนความหมายหลัก แตคําตอไปน้ีไมมี
ความหมายหลกั เชน แมนํ้า แมครัว แมเหล็ก แมม ด แมเ ลา แมส่อื ฯลฯ
เสือ หมายถงึ สตั วช นดิ หน่ึงอยูในปากินเน้ือสัตวเปนอาหาร มีนิสัยดุราย แตคําวา “เสือ”
ตอไปน้ไี มไดม คี วามหมายตามความหมายหลัก เชน เสอื ผูหญิง เสอื กระดาษ เปนตน
7. ใชคําทมี่ ีตัวสะกดการันต ใหถูกตองในการเขียนเพราะคําที่ออกเสียงเหมือนกัน แตเขียน
สะกดการันตตางกันยอมมีความหมายตางกัน เชน สัน สันต สรร สรรค สันทน ท้ังหาคําน้ีเขียน
ตางกัน ออกเสียงเหมือนกันแตความหมายไมเหมือนกัน คําวา สันต หมายถึง สงบ สรร หมายถึง
เลอื กสรร สรรค หมายถึง สราง เปนตน จึงตองระมัดระวังในการเขียนคําใหถูกตองตามสะกดการันต
และตรงความหมายของคํานน้ั ๆ
การเขยี นคาํ การเลอื กใชคํา ยังมีขอควรระวังอีกหลายลักษณะ ขอใหผูเรียนศึกษาและสังเกต
ใหด ี เพ่ือจะไดใ ชภาษาในการสื่อสารไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ
การสรางคํา
คาํ ทีใ่ ชในภาษาไทยดัง้ เดมิ สวนมากจะเปน คําพยางคเ ดียว เชน พ่ี นอ ง เดือนดาว จอบ ไถ
หมู หมา กิน นอน ดี ชัว่ สอง สาม เปน ตน เมื่อโลกววิ ฒั นาการ มีสง่ิ แปลกใหมเพม่ิ ข้นึ ภาษาไทยก็
จะตองพฒั นาทงั้ รปู คาํ และการเพมิ่ จาํ นวนคํา เพือ่ ใหม ีคาํ ในการสอื่ สารใหเ พียงพอกับการเปลย่ี นแปลง
ของวัตถุส่ิงของและเหตุการณตาง ๆ ดวยการสรางคํา ยืมคาํ และเปล่ียนแปลงรูปรางคาํ ซ่ึงจะมี
รายละเอียด ดงั นี้
แบบสรางคํา
แบบสรา งคํา คือ วิธีการนาํ อักษรมาประสมเปนคําเกิดความหมายและเสียงของแตละพยางค
ใน 1 คํา จะตองมีสวนประกอบ 3 สวน เปนอยางนอย คือ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต อยางมาก
ไมเ กิน 5 สว น คือ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต ตวั สะกด ตัวการนั ต
รปู แบบของคํา
คาํ ไทยทีใ่ ชอ ยปู จ จบุ ันมีทงั้ คําท่ีเปนคาํ ไทยดงั้ เดิม คําทม่ี าจากภาษาตา งประเทศ คําศัพทเ ฉพาะ
ทางวชิ าการ คําที่ใชเ ฉพาะในการพูด คาํ ชนิดตาง ๆ เหลา น้ีมีชอ่ื เรียกตามลักษณะและแบบสรางของคํา
เชน คํามลู คาํ ประสม คําสมาส คําสนธิ คําพองเสียง คําพองรูป คําเหลาน้ีมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
ผูเรียนจะเขาใจลกั ษณะแตกตา งของคาํ เหลา นี้ไดจากแบบสรา งของคาํ
97
ความหมายและแบบสรางของคาํ ชนดิ ตาง ๆ
คาํ มลู
คาํ มูล เปน คําเดยี วที่มิไดป ระสมกับคาํ อน่ื อาจมี 1 พยางค หรอื หลายพยางคก็ได แตเม่ือแยก
พยางคแลวแตละพยางคไมม คี วามหมายหรอื มีความหมายเปนอยางอ่ืนไมเหมือนเดิม คําภาษาไทยที่ใช
มาแตเ ดมิ สว นใหญเปน คํามลู ท่ีมีพยางคเ ดียวโดด ๆ เชน พอ แม กิน เดนิ เปนตน
ตวั อยางแบบสรา งของคํามูล
คน มี 1 พยางค คือ คน
สิงโต มี 2 พยางค คือ สงิ - โต
นาฬกิ า มี 3 พยางค คอื นา - ฬิ - กา
ทะมดั ทะแมง มี 4 พยางค คอื ทะ - มัด - ทะ - แมง
กระเหย้ี นกระหือรือ มี 5 พยางค คอื กระ - เหี้ยน - กระ - หือ - รอื
จากตัวอยางแบบสรางของคํามูล จะเห็นวาเม่ือแยกพยางคจากคําแลว แตละพยางคไมมี
ความหมายในตัวหรืออาจมีความหมายไมครบทุกพยางค คําเหลาน้ีจะมีความหมายก็ตอเม่ือนํา
ทุกพยางคมารวมเปนคาํ ลกั ษณะเชนนี้ ถือวาเปนคําเดยี วโดด ๆ
คาํ ประสม
คําประสม คือ คําท่ีสรางข้ึนใหมโดยนําคํามูลต้ังแต 2 คําข้ึนไปมาประสมกัน เกิดเปน
คําใหมขนึ้ อกี คําหน่ึง
1. เกิดความหมายใหม
2. ความหมายคงเดิม
3. ความหมายใหกระชับข้นึ
ตัวอยา งแบบสรางคําประสม
แมยาย เกิดจากคํามลู 2 คาํ คือ แมก ับยาย
ลูกนํ้า เกดิ จากคาํ มลู 2 คํา คือ ลกู กับนํ้า
ภาพยนตรจ ีน เกิดจากคาํ มลู 2 คาํ คอื ภาพยนตรกับจีน
จากตัวอยางแบบสรา งคําประสม จะเห็นวาเมือ่ แยกคําประสมออกจากกนั จะไดคํามูลซ่ึงแตละ
คาํ มคี วามหมายในตวั เอง
ชนิดของคําประสม
การนาํ คาํ มาประสมกัน เพ่อื ใหเกดิ คาํ ใหมข ึ้นเรียกวา “คาํ ประสม” นน้ั มวี ธิ สี รางคํา
ตามแบบสรางอยู 5 วธิ ดี ว ยกนั คือ
1. คาํ ประสมทเ่ี กดิ จากคาํ มลู ทม่ี ีรปู เสียง และความหมายตางกัน เมือ่ ประสมกันเกดิ เปน
ความหมายใหม ไมตรงกบั ความหมายเดมิ เชน
98
แม หมายถึง หญิงทใ่ี หก ําเนิดลูก
ยาย หมายถงึ แมข องแม
แมกับยาย ไดคาํ ใหม คอื แมย าย หมายถึง แมข องเมีย
คาํ ประสมชนดิ นมี้ ีมากมาย เชน แมค รวั ลูกเสือ พอ ตา มอื ลงิ ลูกนา้ํ ลกู นอ ง ปากกา เปน ตน
2. คําประสมท่ีเกิดจากคํามูลที่มีรูป เสียง และความหมายตางกัน เม่ือประสมกันแลวเกิด
ความหมายใหม แตยังคงรักษาความหมายของคําเดมิ แตล ะคาํ เชน
หมอ หมายถึง ผูร ู ผูชาํ นาญ ผูรกั ษาโรค
ดู หมายถึง ใชสายตาเพ่ือใหเ ห็น
หมอกับดู ไดค ําใหม คือ หมอดู หมายถึง ผทู าํ นายโชคชะตาราศี
คาํ ประสมชนิดน้ี เชน หมอความ นักเรียน ชาวนา ของกนิ รอนใจ เปนตน
3. คําประสมท่เี กดิ จากคาํ มลู ทม่ี ีรูป เสยี ง ความหมายเหมอื นกัน เม่ือประสมแลวเกิดความหมาย
ตางจากความหมายเดิมเลก็ นอย อาจมคี วามหมายทางเพิ่มขน้ึ หรือลดลงก็ได การเขียนคําประสมแบบนี้
จะใชไมย มก ๆ เติมขางหลงั เชน
เรว็ หมายถึง รีบ ดวน
เรว็ ๆ หมายถงึ รบี ดว นย่ิงข้ึน เปนความหมายที่เพิ่มข้นึ
ดาํ หมายถงึ สีดาํ
ดาํ ๆ หมายถึง ดาํ ไมส นทิ เปนความหมายในทางลดลง
คําประสมชนิดน้ี เชน ชา ๆ ซํ้า ๆ ดี ๆ นอย ๆ ไป ๆ มา ๆ เปน ตน
4. คําประสมที่เกิดจากคํามูลที่มีรูปและเสียงตางกัน แตมีความหมายเหมือนกัน เม่ือนํามา
ประสมกันแลว ความหมายไมเปลย่ี นไปจากเดมิ เชน
ยมิ้ หมายถงึ แสดงใหป รากฏวาชอบใจ
แยม หมายถึง คลี่ เผยอปากแสดงความพอใจ
ย้ิม แยม ไดค าํ ใหม คือ ยิ้มแยม หมายถึง ย้ิมอยางชื่นบาน คําประสมชนิดน้ี
มมี ากมาย เชน โกรธเคือง รวดเร็ว แจม ใส เสอ่ื สาด บานเรอื น วดั วาอาราม ถนนหนทาง เปนตน
5. คําประสมที่เกิดจากคํามูลท่ีมีรูป เสียง และความหมายตางกัน เม่ือนํามาประสมจะตัด
พยางค หรอื ยน พยางคใหสั้นเขา เชน คาํ วา ชันษา มาจากคาํ วา ชนมพรรษา
ชนม หมายถึง การเกดิ
พรรษา หมายถงึ ป
ชนม พรรษา ไดค ําใหม คอื ชนมพรรษา หมายถงึ อายุ
คําประสมประเภทน้ี ไดแ ก
เดียงสา มาจาก เดียง ภาษา
สถาผล มาจาก สถาพร ผล
เปรมปรีดิ์ มาจาก เปรม ปรดี า
99
คําสมาส
คาํ สมาสเปน วิธสี รา งคาํ ใหมในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนําคาํ ตง้ั แต 2 คาํ ขึ้นไปมาประกอบ
กนั คลา ยคําประสม แตคาํ ท่นี าํ มาประกอบแบบคําสมาสนั้นนํามาประกอบหนา ศัพท การแปลคําสมาส
จึงแปลจากขา งหลังมาขางหนา เชน
บรม ยงิ่ ใหญ ครู บรมครู ครผู ูยง่ิ ใหญ
สุนทร ไพเราะ พจน คาํ พดู สุนทรพจน คําพูดท่ีไพเราะ
การนําคํามาสมาสกัน อาจเปนบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต หรือบาลี
สมาสสนั สกฤตกไ็ ด
ในบางครั้งคําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกันกับคําบาลีหรือสันสกฤตบางคํามีลักษณะคลาย
คําสมาสเพราะแปลจากขางหลงั มาขางหนา เชน ราชวัง แปลวา วังของพระราชา อาจจัดวาเปนคําสมาส
ไดส วนคําประสมท่ีมคี วามหมายจากขา งหนา ไปขางหลงั และมิไดใ หค วามผิดแผกแมคาํ นั้นประสมกับคํา
บาลีหรือสนั สกฤตกถ็ ือวาเปน คําประสม เชน มูลคา ทรัพยส ิน เปน ตน
การเรียงคาํ ตามแบบสรา งของคําสมาส
1. ถา เปน คาํ ที่มาจากบาลีและสันสกฤต ใหเรียงบทขยายไวขางหนา เชน
อุทกภัย หมายถงึ ภัยจากนา้ํ
อายขุ ัย หมายถึง สน้ิ อายุ
2. ถา พยางคทา ยของคาํ หนาประวิสรรชนยี ใหตัดวิสรรชนียอ อก เชน
ธรุ ะ สมาสกับ กจิ เปน ธรุ กิจ
พละ สมาสกับ ศกึ ษา เปน พลศึกษา
3. ถาพยางคท ายของคาํ หนามตี ัวการันตใหต ดั การันตออกเมือ่ เขาสมาส เชน
ทัศน สมาสกบั ศึกษา เปน ทัศนศึกษา
แพทย สมาสกับ สมาคม เปน แพทยสมาคม
4. ถา คําซา้ํ ความ โดยคาํ หน่ึงไขความอกี คําหนงึ่ ไมมีวิธเี รยี งคาํ ท่ีแนนอน เชน
นร คน สมาสกบั ชน คน เปน นรชน คน
วถิ ี ทาง สมาสกบั ทาง ทาง เปน วถิ ที าง ทาง
คช ชาง สมาสกบั สาร ชา ง เปน คชสาร ชา ง
การอานคาํ สมาส
การอา นคําสมาสมีหลักอยวู า ถาพยางคทา ยของคําลงทายดวย สระอะ อิ อุ เวลาเขาสมาส
ใหอา นออกเสียง อะ อิ อุ น้ัน เพยี งครึ่ง เสียง เชน
เกษตร สมาสกับ ศาสตร เปน เกษตรศาสตร อานวา กะ เสด ตระ สาด
อุทก สมาสกบั ภยั เปน อทุ กภัย อานวา อุ ทก กะ ไพ
100
ประวตั ิ สมาสกับ ศาสตร เปน ประวัติศาสตร อา นวา ประ หวัด ติ สาด
ภูมิ สมาสกับ ภาค เปน ภูมิภาค อา นวา พู มิ พาก
เมรุ สมาสกบั มาศ เปน เมรมุ าศ อา นวา เม รุ มาด
ขอสงั เกต
1. มคี ําไทยบางคาํ ที่คาํ แรกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต สวนคําหลังเปนคําไทย คําเหลาน้ีได
แปลความหมายตามกฎเกณฑของคําสมาส แตอานเหมือนกับวาเปนคําสมาส ทั้งนี้ เปนการอานตาม
ความนยิ ม เชน
เทพเจา อา นวา เทพ พะ เจา
พลเรือน อานวา พล ละ เรอื น
กรมวงั อา นวา กรม มะ วัง
2. โดยปกตกิ ารอา นคําไทยท่ีมมี ากกวา 1 พยางค มกั อานตรงตัว เชน
บากบั่น อานวา บาก บนั่
ลกุ ลน อา นวา ลกุ ลน
มีแตคาํ ไทยบางคําทเี่ ราอา นออกเสยี งตัวสะกดดวย ท้ังท่ีเปนคําไทยมิใชคําสมาส ซึ่งผูเรียน
จะตอ งสังเกต เชน
ตุกตา อา นวา ตุก กะ ตา
จักจั่น อานวา จัก กะ จั่น
จัก๊ จี้ อานวา จัก๊ กะ จี้
ชักเยอ อา นวา ชกั กะ เยอ
สปั หงก อานวา สับ ปะ หงก
คําสนธิ
คําสนธิ คือ การเชื่อมเสียงใหกลมกลืนกันตามหลกั ไวยกรณบาลีสันสกฤต เปนการเชือ่ มอกั ษร
ใหต อเน่ืองกันเพ่อื ตดั อักษรใหนอ ยลง ทําใหค ําพดู สละสลวยนาํ ไปใชประโยชนในการแตงคําประพนั ธ
คําสนธิ เกิดจากการเช่ือมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเทานั้น ถาคําที่นํามาเช่ือมกัน
ไมใชภ าษาบาลสี ันสกฤต ไมถือวาเปนสนธิ เชน กระยาหาร มาจากคํา กระยา อาหาร ไมใชสนธิ เพราะ
กระยา เปนคาํ ไทยและถงึ แมว า คาํ ทนี่ ํามารวมกนั แตไมไดเ ชอื่ มกัน เปนเพียงประสมคําเทานั้น ก็ไมถือวา
สนธิ เชน
ทิชาชาติ มาจาก ทชิ า ชาติ
ทศั นาจร มาจาก ทศั นา จร
วทิ ยาศาสตร มาจาก วทิ ยา ศาสตร
แบบสรางของคาํ สนธทิ ีใ่ ชใ นภาษาบาลีและสนั สกฤต มีอยู 3 ประเภท คือ
101
1. สระสนธิ
2. พยญั ชนะสนธิ
3. นิคหิตสนธิ
สําหรับการสนธใิ นภาษาไทย สวนมากจะใชแ บบสรา งของสระสนธิ
แบบสรา งของคาํ สนธิทีใ่ ชในภาษาไทย
1. สระสนธิ
การสนธิสระทาํ ได 3 วิธี คือ
1.1 ตัดสระพยางคท าย แลวใชส ระพยางคหนา ของคําหลงั แทน เชน
มหา สนธกิ ับ อรรณพ เปน มหรรณพ
นร สนธกิ ับ อนิ ทร เปน นรนิ ทร
ปรมะ สนธิกับ อินทร เปน ปรมินทร
รัตนะ สนธกิ บั อาภรณ เปน รตั นาภรณ
วชริ สนธกิ ับ อาวธุ เปน วชิราวธุ
ฤทธิ สนธกิ ับ อานภุ าพ เปน ฤทธานุภาพ
มกร สนธกิ ับ อาคม เปน มกราคม
1.2 ตัดสระพยางคทายของคําหนา แลวใชสระพยางคหนาของคําหลัง แตเปลี่ยนรูป
อะ เปน อา อิ เปน เอ อุ เปน อู หรือ โอ ตัวอยา งเชน
เปล่ียนรปู อะ เปนอา
เทศ สนธิกับ อภิบาล เปน เทศาภิบาล
ราช สนธกิ ับ อธิราช เปน ราชาธริ าช
ประชา สนธิกบั อธปิ ไตย เปน ประชาธิปไตย
จฬุ า สนธิกบั อลงกรณ เปน จฬุ าลงกรณ
เปลย่ี นรปู อิ เปน เอ
นร สนธกิ ับ อิศวร เปน นเรศวร
ปรม สนธิกบั อินทร เปน ปรเมนทร
คช สนธกิ บั อินทร เปน คเชนทร
เปลยี่ นรปู อุ เปน อู หรือ โอ
ราช สนธิกบั อุปถัมภ เปน ราชปู ถัมภ
สาธารณะ สนธิกับ อุปโภค เปน สาธารณูปโภค
วิเทศ สนธกิ ับ อุบาย เปน วเิ ทโศบาย
สขุ สนธกิ ับ อุทัย เปน สโุ ขทัย
นัย สนธกิ บั อุบาย เปน นโยบาย
102
1.3 เปล่ียนสระพยางคทายของคําหนา อิ อี เปน ย อุ อู เปน ว แลวใชสระ พยางค
หนาของคาํ หลังแทน เชน
เปลย่ี น อิ อี เปน ย
มติ สนธกิ ับ อธิบาย เปน มัตยาธบิ าย
รงั สี สนธิกบั โอภาส เปน รงั สโยภาส รังสโี ยภาส
สามคั คี สนธกิ บั อาจารย เปน สามัคยาจารย
เปลีย่ น อุ อู เปน ว
สนิ ธุ สนธกิ บั อานนท เปน สินธวานนท
ธนู สนธกิ ับ อาคม เปน ธันวาคม
2. พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีนอ ย คือ เมอื่ นาํ คํา 2 คาํ มาสนธกิ นั ถา หากวาพยญั ชนะ
ตวั สุดทา ยของคาํ หนา กับพยญั ชนะตัวหนา ของคําหลังเหมือนกัน ใหตัดพยัญชนะที่เหมือนกันออกเสียง
ตัวหน่งึ เชน
เทพ สนธกิ บั พนม เปน เทพนม
นวิ าส สนธิกับ สถาน เปน นิวาสถาน
3. นิคหติ สนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใชวิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ใหสังเกต
พยญั ชนะตวั แรกของคาํ หลังวา อยใู นวรรคใด แลว แปลงนคิ หติ เปนพยัญชนะตวั สดุ ทายของวรรคนั้น เชน
สํ สนธิกบั กรานต เปน สงกรานต
ก เปน พยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตวั สุดทายของวรรค กะ คือ ง
สํ สนธิกับ คม เปน สังคม
ค เปน พยญั ชนะวรรค กะ พยญั ชนะตัวสุดทา ยของวรรค กะ คอื ง
สํ สนธกิ บั ฐาน เปน สัณฐาน
ฐ เปนพยัญชนะวรรค กะ พยญั ชนะตัวสดุ ทา ยของวรรค กะ คอื ณ
สํ สนธกิ บั ปทาน เปน สัมปทาน
ป เปนพยัญชนะวรรค กะ พยญั ชนะตวั สดุ ทา ยของวรรค กะ คือ ม
ถา พยญั ชนะตวั แรกของคาํ หลงั เปน เศษวรรค ใหคงนคิ หติ ตามรปู เดิม อา นออกเสียง อังหรอื อนั เชน
สํ สนธกิ ับ วร เปน สังวร
สํ สนธกิ บั หรณ เปน สงั หรณ
สํ สนธกิ บั โยค เปน สงั โยค
ถา สํ สนธกิ ับคาํ ทขี่ ึ้นตน ดว ยสระ จะเปลย่ี นนิคหิตเปน ม เสมอ เชน
สํ สนธกิ บั อทิ ธิ เปน สมิทธิ
สํ สนธกิ บั อาคม เปน สมาคม
103
สํ สนธกิ ับ อาส เปน สมาส
สํ สนธิกบั อทุ ัย เปน สมุทัย
คาํ แผลง
คาํ แผลง คอื คาํ ท่ีสรา งข้นึ ใชในภาษาไทยอกี วธิ หี นึ่ง โดยเปลยี่ นแปลงอกั ษรทป่ี ระสมอยูใ น
คําไทยหรือคาํ ท่ีมาจากภาษาอ่ืนใหผิดไปจากเดิม ดวยวิธีตัด เติม หรือเปล่ียนรูป แตยังคงรักษา
ความหมายเดิมหรอื เคาความเดมิ
แบบสรา งของการแผลงคํา
การแผลงคาํ ทําได 3 วธิ ี คอื
1. การแผลงสระ
2. การแผลงพยญั ชนะ
3. การแผลงวรรณยุกต
1. การแผลงสระ เปนการเปล่ยี นรปู สระของคาํ น้ัน ๆ ใหเปนสระรูปอืน่ ๆ
ตวั อยาง
คาํ เดิม คาํ แผลง คําเดิม คาํ แผลง
ชยะ ชัย สายดอื สะดือ
โอชะ โอชา สุริยะ สุรยี
วชริ ะ วเิ ชยี ร ดริ จั ฉาน เดรจั ฉาน
พชั ร เพชร พจิ ิตร ไพจิตร
คะนึง คํานึง พชี พืช
ครหะ เคราะห กีรติ เกียรติ
ชวนะ เชาวน สุคนธ สวุ คนธ
สรเสริญ สรรเสริญ ยวุ ชน เยาวชน
ทรู เลข โทรเลข สุภา สุวภา
2. การแผลงพยัญชนะ
การแผลงพยัญชนะก็เชนเดียวกับการแผลงสระ คือ ไมมีกฎเกณฑตายตัวเกิดข้ึนจาก
ความเจรญิ ของภาษา การแผลงพยญั ชนะเปนการเปลย่ี นรูปพยัญชนะตวั หนงึ่ ใหเปน อีกตวั หนึ่ง หรอื เพ่ิม
พยัญชนะลงไปใหเสยี งผดิ จากเดิม หรือมีพยางคมากกวาเดิม หรือตัดรูปพยัญชนะ การศึกษาท่ีมาของ
ถอยคาํ เหลานจี้ ะชว ยใหเขา ใจความหมายของคําไดถกู ตอ ง
104
ตวั อยาง คาํ แผลง คําเดมิ คําแผลง
คาํ เดิม
ผนวช
กราบ กาํ ราบ บวช ประทม บรรเทา
ระเบยี บ
เกดิ กําเนิด ผทม สําแดง
สะพร่ัง
ขจาย กาํ จาย เรียบ ระรวย
อญั เชิญ
แข็ง กาํ แหง คําแหง แสดง บาํ เพ็ญ
บันดาล
คณู ควณ คํานวณ คํานูณ พรั่ง ชลี ชุลี
สีกา
เจียร จําเนียร รวยรวย
เจาะ จาํ เพาะ เฉพาะ เชิญ
เฉียง เฉลยี ง เฉวียง เพ็ญ
ชว ย ชาํ รว ย ดาล
ตรยั ตาํ รบั อัญชลี
ถก ถลก อบุ าสิกา
3. การแผลงวรรณยกุ ต
การแผลงวรรณยกุ ตเ ปน การเปลี่ยนแปลงรปู หรือเปลีย่ นเสยี งวรรณยุกต เพอ่ื ใหเ สยี งหรอื
รูปวรรณยกุ ตผดิ ไปจากเดมิ
ตวั อยาง
คาํ เดมิ คําแผลง คาํ เดิม คําแผลง
เพยี ง เพ้ยี ง พทุ โธ พทุ โธ
เสนหะ เสนห บ บ
คาํ ซอ น
คําซอ น คือ คําประสมชนิดหน่ึงท่ีเกิดจากการนําเอาคําต้ังแตสองคําข้ึนไป ซ่ึงมีเสียงตางกันมี
ความหมายเหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย
ใหญโ ต เปนตน ปกติคาํ ท่นี าํ มาซอนกนั น้ันนอกจากจะมีความหมายเหมือนกนั หรอื ใกลเ คียงกันแลว มกั จะ
มเี สยี งใกลเคียงกันดวยเพ่ือใหออกเสียงงาย สะดวกปาก คําท่ีนํามาซอนแลวทําใหเกิดความหมายน้ัน
แบงเปน 2 ลกั ษณะ คือ
1. ซอนคาํ แลวมีความหมายคงเดิม คาํ ซอนลักษณะน้ีจะนาํ คําที่มีความหมายเหมือนกันมา
ซอ นกันเพอ่ื ขยายความซึ่งกันและกัน เชน ขาทาส วา งเปลา โงเ ขลา เปน ตน
105
2. ซอ นคําแลว มีความหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดิม
2.1 ความหมายเชิงอุปมา คาํ ซอนลักษณะนี้จะเปนคาํ ซอนท่ีคําเดิมมีความหมาย
เปนรปู แบบเมื่อนํามาซอ นกับความหมายของคาํ ซอ นนน้ั จะเปลย่ี นไปเปนนามธรรม เชน
ออ นหวาน ออ นมีความหมายวาไมแข็ง เชน ไมออน หวานมีความหมายวา รสหวาน
เชน ขนมหวาน
ออ นหวาน มคี วามหมายวาเรยี บรอ ย นา รัก เชน เธอชางออนหวานเหลือเกิน
หมายถึง กริยาอาการทีแ่ สดงออกถึงความเรียบรอ ยนา รกั
คําอืน่ ๆ เชน ค้ําจุน เด็ดขาด ยงุ ยาก เปน ตน
2.2 ความหมายกวางออก คําซอนบางคํามีความหมายกวางออกไมจํากัดเฉพาะ
ความหมายเดิมของคําสองคาํ ท่มี าซอ นกัน เชน เจบ็ ไข หมายถงึ อาการเจ็บของโรคตา ง ๆ และคาํ
พน่ี อ ง ถว ยชาม ทบุ ตี ฆาฟน เปนตน
2.3 ความหมายแคบเขา คําซอ นบางคํามคี วามหมายเดนอยูคําใดคําหน่ึง ซ่ึงอาจจะเปน
คําหนาหรือคาํ หลงั กไ็ ด
เชน ความหมายเดนอยูขางหนา
ใจดํา หัวหู ปากคอ บา บอคอแตก
ความหมายเดนอยูข างหลัง
หยบิ ยืม เอรด็ อรอย นํ้าพกั นํ้าแรง วา นอนสอนงาย เปน ตน
ตัวอยางคาํ ซอ น 2 คาํ เชน บา นเรอื น สวยงาม ขา วของ เงนิ ทอง มดื คํ่า อดทน
เกยี่ วของ เย็นเจีย๊ บ ทรัพยสิน รูปภาพ ควบคมุ ปองกนั ลล้ี บั ซับซอน เปน ตน
ตัวอยา งคาํ ซอนมากกวา 2 คาํ เชน
ยากดีมีจน เจบ็ ไขไ ดปวย ขา วยากหมากแพง
เวยี นวายตายเกดิ ถกู อกถกู ใจ จบั ไมไดไลไ มท ัน
ฉกชิงวงิ่ ราว เปนตน
เร่ืองท่ี 2 การใชเ คร่อื งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ
การใชเ คร่ืองหมายวรรคตอน
ภาษาไทยมีวิธีการเขียนคําติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึงเวนวรรค ดังนั้น ในการเขียน
หนงั สือจึงตอ งมกี ารแบง วรรคตอนและใชเคร่อื งหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถกู ตอง เพื่อชวยให
เขา ใจความหมายไดอยา งชัดเจนไมผ ดิ เพี้ยนไปจากวตั ถปุ ระสงค
106
เครอ่ื งหมายวรรคตอนที่ควรทราบ มดี งั น้ัน
ลําดบั ท่ี เครอ่ื งหมาย ชอ่ื วิธีใช
1. , จุลภาค เปน เครอื่ งหมายท่นี าํ มาใชต ามแบบภาษาองั กฤษ
แตตามปกตภิ าษาไทยใชเ วนวรรคแทนเครอื่ งหมาย
2. ? ปรัศนี หรือ จุลภาคอยูแลว จึงไมจ าํ เปน ตองใชเ ครื่องหมาย
เครือ่ งหมาย จลุ ภาคอกี
คาํ ถาม ตัวอยา ง
เขาชอบรบั ประทานผักกาด ผักคะนา ตน หอม
กะหลาํ่ ปลี
ถาเปน ประโยคภาษาอังกฤษจะใชเ ครอ่ื งหมาย
ดงั น้ี
เขาชอบรบั ประทานผกั กาด, ผักคะนา , ตน หอม,
กะหลํ่าปลี
ใชเ ขียนไวหลังคํา หรือขอ ความทเี่ ปน คาํ ถาม
ถา ไมใชถ ามโดยตรงไมต อ งใสเ ครอ่ื งหมายปรศั นี
ตวั อยา ง
ใคร? ใครครับ? (คาํ ถาม)
ฉนั ไมทราบวาเขามาหาใคร (บอกเลา)
เธอชอบอา นหนงั สอื นวนิยายไหม? (คาํ ถาม)
ฉนั ไมท ราบวาจะทาํ อยางไรใหเธอเชื่อฉัน (บอกเลา)
ลําดบั ท่ี เคร่ืองหมาย ชอ่ื 107
3. ! อศั เจรยี วธิ ใี ช
4. (............) นขลขิ ติ หรือ เปน เคร่ืองหมายแสดงความประหลาดใจ
เคร่ืองหมาย มหศั จรรยใจใชเขียนหลังคําอุทาน หรือขอ ความ
วงเลบ็ ท่ีมีลกั ษณะคลายคําอทุ าน เพือ่ ใหผ อู านออกเสียง
ไดถ กู ตอ งกบั ความเปน จรงิ และเหมาะสมกบั
เหตกุ ารณทเ่ี กิดขึ้น เชน ดีใจ เสียใจ เศราใจ
แปลกใจ
ตัวอยา ง
“โอโฮ! เธอขับรถไปถึงสงขลาคนเดียวหรอื ”
แปลกใจ
“อนิจจา! ทําไมเขาถึงเคราะหร ายอยางนัน้ ”
สลดใจ
ใชเขียนครอ มความท่เี ปน คาํ อธิบาย ซ่ึงไมค วรมี
ในเนื้อเรื่อง แตผูเ ขยี นตอ งการใหผ ูอ านเขาใจหรอื
ทราบขอ ความน้นั เปน พเิ ศษ เชน
ตัวอยาง
สมยั โบราณ คนไทยจารกึ พระธรรมลงในกระดาษ
เพลา (กระดาษทคี่ นไทยทําข้ึนใชเอง โดยมากทํา
จากเปลือกขอย บางครัง้ เรยี กวากระดาษขอย)
108
ลาํ ดับท่ี เครือ่ งหมาย ช่อื วิธีใช
5. “…………..” อัญประกาศ มวี ธิ ีใชดงั น้ี
เนน คาํ หรือขอ ความใหผ อู านสังเกตเปนพิเศษ
ตัวอยาง
ผหู ญิงคนนัน้ “สวย” จนไมมีทตี่ ิ เขาเปน คน
“กตญั ูรคู ณุ คน” อยางนาสรรเสริญยิ่ง
ใชสําหรบั ขอ ความทเี่ ปน ความคดิ ของผเู ขยี นหรอื
ความคิดของบุคคลอ่ืน
ตัวอยาง
ฉนั คดิ วา “ฉนั คงจะมคี วามสุขทีส่ ดุ ในโลก ถา มี
บานของตวั เองสกั หลังหนงึ่ ” เขาคิดวา “ไมม ีสงิ่ ใด
ในโลกนท้ี จ่ี รี งั ยงั่ ยืน”
ขอ ความท่ีเปน คําสนทนา เชน
ดาํ “เมอ่ื คนื นฝี้ นตกหนกั น้าํ ทวมเขามาถึง
ในบาน แนะ ทบี่ านของเธอนา้ํ ทวมไหม”
แดง “เหรอ ที่บา นนาํ้ ไมทว มหรอก แลว กอ นมา
ทํางานนํา้ ลดแลว หรอื ยงั ละ”
4. ขอความทีผ่ ูเขยี นนาํ มาจากทีอ่ ่ืน หรอื เปน
คาํ พูดของผอู น่ื
ตัวอยาง
ก. เขาทาํ อยา งน้ีตรงกบั สุภาษติ วา “ขช่ี า งจบั
ตกั๊ แตน”
ข. ผมเหน็ ดว ยกับปาฐกถาธรรมของพระราช
นนั ทมุนที ี่วา “ความสขุ มนั เกิดจากเราคดิ ถกู
พูดถูกทําถูก”
6. ๆ ไมย มก หรอื ยมก ใชเ ขียนไวห ลงั คํา หรือขอ ความเพ่อื ใหอ า นคํา
หรอื ความนัน้ ซ้าํ กนั สองครง้ั ยมก แปลวา คู
แตต อ งเปนคําหรือความชนิดเดียวกัน ถา เปน คาํ
หรือความตางชนดิ กันจะใชไมย มกไมได ตอ งเขียน
ตัวอกั ษรซํา้ กนั
ลําดบั ท่ี เคร่ืองหมาย ชอ่ื 109
7. _ สัญประกาศ วธิ ีใช
8. ” บุพสญั ญา ตัวอยาง
เขาเคยมาทกุ วนั วนั น้ีไมมา (ถูก)
เขาเคยมาทุกวัน ๆ นไี้ มม า (ผดิ )
เขาชอบพูดตาง ๆ นานา (ถกู )
เขาชอบพดู ตาง ๆ นา (ผิด)
ใชขดี เสนใตข อความท่ีผเู ขยี นตอ งการเนน ใหเ หน็
ความสาํ คญั
ตัวอยาง
โรคพิษสุนขั บา มีอันตรายมาก
ถาถูกสนุ ขั บากัดตอ งรบี ไปฉีดวัคซีนทนั ที
เขาพูดวา เขาไมชอบ คนทพ่ี ูดมาก
ใชเปนเครือ่ งหมายแทนคํา หรอื กลุม คาํ ซึง่ อยู
ขา งบนเครื่องหมายนี้ การเขียนเคร่ืองหมายน้จี ะ
ชว ยใหไมต องเขียนคําซ้าํ ๆ กัน
ตัวอยา ง
คาํ วา คน ถา เปนคาํ กริยา แปลวากวนใหท ่วั
” ขอด ” ” ” ” ขมวดใหเปน ปม
เครอื่ งหมาย บพุ สญั ญาน้ีมักจะมผี เู ขียนผิดเปน “
ตวั อยา ง
สมดุ 8 โหล ราคาโหลละ 40 บาท
ดินสอ 8 ” “ ” 12 บาท (ผิด)
ลําดบั ท่ี เครอื่ งหมาย ชอ่ื 110
9. _ ยติภังค วิธใี ช
หรอื
เคร่ืองหมาย ใชเขยี นระหวางคาํ ทเี่ ขยี นแยกพยางคก นั เพ่อื เปน
ขีดเสน เครอ่ื งหมายใหรวู า พยางคห นากบั พยางคห ลังน้นั
ติดกัน หรอื เปนคาํ เดียวกัน คําท่ีเขียนแยกนั้นจะ
10. ฯ ไปยาลนอย อยใู นบรรทดั เดยี วกนั หรอื ตา งบรรทดั กนั กไ็ ด
ตัวอยาง
สบั ดาห อานวา สปั -ดา
สพยอก อานวา สบั - พะ - ยอก
ในการเขียนเรอ่ื ง หรือขอความ ตวั อยา ง เชน คาํ วา
พระราชกฤษฎกี า เมอื่ เขียนไดเ พียง พระราชกฤษ
กห็ มดบรรทัด ตองเขยี นคําวา ฎีกา ตอในบรรทดั
ตอไปถา เปน เชนน้ี ใหเขียนเครอ่ื งหมายยตภิ งั ค
ดังนี้
พระราชกฤษ - แลวเขยี นตอ บรรทดั ใหมว า ฎกี า
และในการอาน ตอ งอานติดตอกันเปน คําเดียวกนั
วาพระราชกฤษฎกี า
ใชเขียนหลงั คาํ ซ่งึ เปน ทร่ี ูก ันโดยทั่วไป ละขอความ
สวนหลงั ไว ผูอา นจะตองอานขอความในสว นที่
ละไวใหครบบรบิ รู ณ ถา จะใหอ า นเพยี งทเี่ ขยี นไว
เชน กรงุ เทพ กไ็ มต องใสเครอ่ื งหมายไปยาล
นอ ยลงไป
ตัวอยา ง
กรุงเทพ ฯ อา นวา กรุงเทพมหานคร
โปรดเกลา ฯ อา นวา โปรดเกลา โปรด
กระหมอ ม
111
ลําดับท่ี เครือ่ งหมาย ชื่อ วิธีใช
11. ฯลฯ ไปยาลใหญ วธิ ีใช มดี งั นี้
ใชเ ขยี นไวห ลงั ขอความทจ่ี ะตอ ไปอีกมาก
12. ............... ไปยาลใหญ แตนาํ มาเขียนไวพ อเปนตัวอยาง ใหอาน
หรอื เคร่ืองหมาย ฯลฯ วา “ละ”
จดุ ไขป ลา ตวั อยา ง
เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผักบงุ ฯลฯ อา นวา
เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผักบงุ ละ
ใชเขยี นไวร ะหวา งกลางขอ ความ ซง่ึ ถาเขยี นจน
จบจะยาวเกินไป จงึ นาํ มาเขยี นไว เฉพาะตอนตน
กบั ตอนสุดทา ยเทา น้นั สว นขอ ความที่เวนไวใ ส
เครื่องหมาย ฯลฯ ใหอา นเครอ่ื งหมาย ฯลฯ วา
“ละถงึ ”
ตวั อยาง
อติ ิปโส ฯลฯ ภควาติ.
อานวา อิตปิ โส ละถงึ ภควาติ.
สาํ หรบั เครือ่ งหมาย ฯลฯ น้นั ปจ จบุ ันนิยมใช
เคร่ืองหมาย.............แทน
ตวั อยาง
อิติปโ ส ฯลฯ ภควาติ นยิ มเขยี นวา
อิตปิ โ ส ......... ภควาติ
อานวา อติ ิปโ ส ละถงึ ภควาติ
13. • มหพั ภาค มีที่ใช ดังนี้
เขยี นไวห ลงั อกั ษร เชน
พ.ศ. ยอมาจาก พุทธศักราช
พ.ร.บ. ” พระราชบัญญัติ
เม.ย. ” เมษายน
เขยี นไวห ลงั คํายอ เชน
กรกฎ. ยอมาจาก กรกฎาคม
เมษ. ยอ มาจาก เมษายน
เขยี นไวหลงั ตัวเลข หรอื อกั ษรท่ีบอกจาํ นวนขอ
ลาํ ดับที่ เครอื่ งหมาย ช่ือ 112
14. มหตั สญั ญา วธิ ใี ช
ตวั อยาง
ก. เราจะไมประพฤตผิ ดิ ระเบยี บของโรงเรียน
ข. การนอนหลบั ถอื วา เปน การพกั ผอน
เขียนไวขา งหลงั เมื่อจบประโยคแลว เชน
ฉันชอบเรยี นวิชาภาษาไทยมากกวา วชิ าอนื่ ๆ
เปนการยอหนา ขึ้นบรรทดั ใหม ไมม รี ปู ราง
และเครอ่ื งหมาย
วิธใี ช
เมอ่ื เปน ช่อื เรอ่ื ง หรือหวั ขอเขียนไวกลางบรรทัด
ถา เปน หวั ขอ ยอ ย กย็ อหนาข้นึ บรรทดั ใหม
ขอความสาํ คัญ ๆ ท่ีจัดไว เปน ตอน ๆ ควรยอ หนา
ข้ึนบรรทัดใหม เพอื่ ใหข อ ความเดนชดั และ
เขาใจงาย
อักษรยอ
อักษรยอ คือ อักษรทีใ่ ชแ ทนคาํ หรือขอความเพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร ลักษณะ
ของอักษรยออาจจะเปนอักษรตัวเดียว อักษรสองตัว หรือมากกวานั้น แลวมีจุดหนึ่งจุด (มหัพภาค)
ขา งหลัง หรอื จดุ ระหวางตัวอักษรแลวแตก ารกําหนด
หลกั เกณฑการเขยี นและการอานอกั ษรยอ
1. การเขยี นอกั ษรยอของคําตาง ๆ
มีวิธีการและหลกั การซึง่ ราชบัณฑติ ยสถาน โดย “คณะกรรมการกําหนดหลกั เกณฑ
เก่ยี วกบั การใชภ าษาไทย” ไดก ําหนดไว ดังนี้
1.1 ใชพ ยญั ชนะตนของพยางคแรกของคาํ เปน ตัวยอ
ถาเปนคาํ คาํ เดยี วใหใ ชย อ ตวั เดียว แมว า คําน้นั จะมีหลายพยางคก็ตาม
ตวั อยา ง
วา ว.
จงั หวดั จ.
3.00 นาฬิกา 3.00 น.
ศาสตราจารย ศ.
113
ถาใชตัวยอเพยี งตัวเดียวแลวทําใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคําถัดไปเปนตัวยอ
ดวยก็ได
ตวั อยา ง
ตาํ รวจ ตร.
อัยการ อก.
1.2 ถา เปนคาํ สมาสใหถ ือเปน คาํ เดียว และใชพยญั ชนะตนของพยางคแ รกเพยี งตัวเดียว
ตัวอยาง
มหาวทิ ยาลยั ม.
วทิ ยาลยั ว.
1.3 ถาเปนคําประสม ใชพ ยัญชนะตนของแตล ะคาํ
ตัวอยา ง
ชั่วโมง ชม.
โรงเรียน รร.
1.4 ถาคําประสมประกอบดวยคาํ หลายคาํ มีความยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยัญชนะตน
ของคาํ ท่ีเปน ใจความสําคัญ ท้ังน้ี ไมค วรเกนิ 4 ตัว
ตัวอยา ง
คณะกรรมการประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ กปร.
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สพฐ.
1.5 ถาใชพ ยญั ชนะของแตละคาํ แลว ทําใหเกดิ ความสับสน ใหใ ชพ ยญั ชนะตน ของพยางค
ถดั ไปแทน
ตัวอยาง
พระราชกาํ หนด พ.ร.ก.
พระราชกฤษฎกี า พ.ร.ฎ.
1.6 ถาพยางคท ่ีจะนําพยัญชนะตน มาใชเ ปนตวั ยอมี ห เปน อกั ษรนาํ เชน หญ หล ใหใ ช
พยญั ชนะตน น้นั เปนตวั ยอ
ตวั อยา ง
สารวัตรใหญ สวญ.
ทางหลวง ทล.
1.7 คําทีพ่ ยัญชนะตน เปนอกั ษรควบกลาํ้ หรอื อกั ษรนาํ ใหใ ชอกั ษรตวั หนา ตัวเดียว
ตวั อยาง
ประกาศนยี บัตร ป.
ถนน ถ.
เปรยี ญ ป.
114
1.8 ตวั ยอไมค วรใชสระ ยกเวนคําทเี่ คยใชมากอนแลว
ตวั อยาง
เมษายน เม.ย.
มถิ ุนายน มิ.ย.
1.9 ตัวยอ ตองมจี ุดกํากบั เสมอ ตวั ยอ ต้งั แต 2 ตัวขน้ึ ไป ใหจุดทต่ี ัวสดุ ทา ยเพียงจุดเดยี ว
ยกเวน ตัวทใ่ี ชก ันมากอ น เชน พ.ศ. น.ศ. ม.ร.ว. เปน ตน
ตวั อยาง
ตําบล ต.
ทบวงมหาวิยาลยั ทม.
1.10 ใหเวนวรรคหนา ตัวยอทกุ แบบ
ตวั อยาง
ประวตั ขิ อง อ. พระนครศรีอยธุ ยา
ขา วจาก กทม. วา
1.11 ใหเวนวรรคระหวางกลมุ อกั ษรยอ
ตวั อยาง
ศ. นพ.
1.12 การอานคาํ ยอ ตอ งอานเตม็
ตัวอยาง
05.00 น. อานวา หา นาฬิกา
อ.พระนครศรีอยธุ ยา อา นวา อําเภอพระนครศรีอยุธยา
ยกเวนในกรณีท่ีคําเต็มนั้นยาวมาก และคํายอนั้นเปนท่ีเขาใจและยอมรับกันท่ัวไปแลว
อาจอานตวั ยอเรยี งตัวไปกไ็ ด
ตัวอยาง
ก.พ. อานวา กอ พอ
(จากหนังสอื หลกั เกณฑการใชเครื่องหมายวรรคตอนเครอื่ งหมายอ่นื ๆ หลกั เกณฑก ารเวน วรรค
หลักเกณฑก ารเขยี น คํายอ ราชบัณฑติ ยสถาน)
2. การเขียนรหัสตวั พยัญชนะประจาํ จังหวัด
ตามระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยงานสารบรรณ โดยไมมีจุด มหัพภาค ตอ ทาย เชน
กระบี่ ยอ เปน กบ นา น ยอเปน นน ราชบุรี ยอเปน รบ
กรงุ เทพมหานคร ” กท บรุ รี ัมย ” บร ลพบุรี ” ลบ
กาญจนบุรี ” กจ ปทุมธานี ” ปท ลาํ ปาง ” ลป
กาฬสินธุ ” กส ประจวบคีรีขันธ ” ปข ลําพูน ” ลพ
กาํ แพงเพชร ” กพ ปราจีนบุรี ” ปจ เลย ” ลย
115
ขอนแกน ” ขก ปตตานี ” ปน ศรีสะเกษ ” ศก
จนั ทบุรี ” จบ พะเยา ” พย สกลนคร ” สน
ฉะเชิงเทรา ” ฉช พระนครศรีอยธุ ยา ” อย สงขลา ” สข
ชลบรุ ี ” ชบ พงั งา ” พง สตลู ” สต
ชัยนาท ” ชน พัทลุง ” พท สมุทรปราการ ” สป
ชยั ภูมิ ” ชย พจิ ติ ร ” พจ สมุทรสงคราม ” สส
เชียงราย ” ชร พษิ ณุโลก ” พล สมทุ รสาคร ” สค
เชียงใหม ” ชม เพชรบรุ ี ” พบ สระบรุ ี ” สบ
ตรงั ” ตง เพชรบูรณ ” พช สิงหบรุ ี ” สห
ตราด ” ตร แพร ” พร สุโขทยั ” สท
ตาก ” ตก ภูเก็ต ” ภก สพุ รรณบรุ ี ” สพ
นครนายก ” นย มหาสารคาม ” มค สุราษฎรธ านี ” สฎ
นครปฐม ” นฐ มกุ ดาหาร ” มห สุรินทร ” สร
นครพนม ” นพ แมฮ องสอน ” มส หนองคาย ” นค
นครราชสีมา ” นม ยโสธร ” ยส อา งทอง ” อท
นครศรธี รรมราช ” นศ ยะลา ” ยล อุดรธานี ” อด
นครสวรรค ” นว รอ ยเอ็ด ” รอ อตุ รดติ ถ ” อต
นนทบุรี ” นบ ระนอง ” รน อทุ ยั ธานี ” อน
นราธวิ าส ” นธ ระยอง ” รย อบุ ลราชธานี ” อบ
หมายเหตุ กรุงเทพมหานคร กท จะพบในหนงั สอื ราชการ แตโ ดยทั่วไป ใชก รุงเทพมหานคร
เครื่องหมาย เรยี กชอื่ วธิ ีใช
ตัวอยาง ใกล ๆ ยมก หรอื ไมย มก ใหเขียนไวหลังคําเพ่ือใหอานคําน้ันซ้ํากัน
สองครัง้
116
เรอ่ื งท่ี 3 ชนดิ และหนาท่ีของประโยค
ชนดิ ของประโยค
เมือ่ เราทราบลกั ษณะของประโยคแลว กม็ าทาํ ความเขา ใจเก่ียวกบั ประโยคชนิดตาง ๆ เพิ่มเติมอีก
ประโยคชนิดแรกทจ่ี ะกลาวถึง คอื ประโยคความเดียว
1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) ประโยคชนิดนี้ คือ ประโยคท่ีมุงกลาวถึง
สิง่ ใดสง่ิ หนงึ่ เพยี งสงิ่ เดียว สิ่งนั้นอาจเปนคน สตั ว เหตุการณ ฯลฯ อยางใดอยา งหนง่ึ และสง่ิ น้นั แสดง
กริ ิยาอาการหรืออยูในสภาพอยางเดียว เชน
ก. นกเกาะตนไม
ข. นายแดงไถนา
ค. มุกดาหารเปนจงั หวดั ท่ีเจ็ดสิบสาม
สว นสาํ คญั ของประโยคความเดยี ว
ประโยคความเดียวแตละประโยคแบงสวนสําคัญออกเปน 2 สวน สวนหนึ่งเรียกวา
“ภาคประธาน” คือ ผูก ระทําอาการในประโยค อกี สวนหน่ึงเรยี กวา “ภาคแสดง” คอื สวนทเ่ี ปนกริ ยิ า
และกรรมผถู ูกกระทํา ในประโยค
ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง
ก. นกเกาะตนไม นก เกาะตนไม
ข. นายแดงไถนา นายแดง ไถนา
ค. มกุ ดาหารเปน จังหวัดท่ีเจ็ด มกุ ดาหาร เปนจงั หวัดที่เจด็ สบิ สาม
สิบสาม
2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คือ ประโยคท่ีรวมความเอาประโยคความเดียว
ต้ังแต 2 ประโยคข้ึนมารวมเขา ดว ยกนั โดยมคี ําเช่อื มประโยคเหลา นัน้ เขา ดว ยกัน
2.1 ประโยคทมี่ เี นอ้ื ความคลอ ยตามกนั
ประโยคท่ี 1 จารุณีเดินทางไปเชยี งใหม
ประโยคท่ี 2 อรัญญาเดินทางไปเชียงใหม
เราสามารถรวมประโยคความเดียวทง้ั 2 ประโยคเขาไวด ว ยกนั ดังน้ี
“จารณุ แี ละอรัญญาเดินทางไปเชยี งใหม”
ประโยคที่ 1 เราจะประสบความลมเหลว
ประโยคท่ี 2 เราไมทอ ถอย
รวมประโยคไดวา “แมเราจะประสบความลมเหลวเราก็ไมทอถอย”
117
2.2 ประโยคที่มเี น้อื ความขัดแยง กัน
ประโยคที่ 1 พขี่ ยนั
ประโยคท่ี 2 นองเกยี จครา น
รวมประโยควา “พขี่ ยันแตนองเกียจคราน”
ประโยคที่ 1 เขาไดทํางานแลว
ประโยคท่ี 2 เขายังไมพ อใจ
รวมประโยควา “เขาไดท ํางานแลวแตทวาเขายงั ไมพ อใจ”
2.3 ประโยคท่ีมีใจความเลือกเอาอยางใดอยา งหน่ึง
ประโยคท่ี 1 เธอชอบดูภาพยนตร
ประโยคท่ี 2 เธอชอบดโู ทรทศั น
รวมประโยควา “เธอชอบดภู าพยนตรหรอื โทรทศั น”
ประโยคที่ 1 ปรีชาข้ึนตนไมห ลังบา น
ประโยคที่ 2 ปรีชากวาดขยะอยหู นาบา น
รวมประโยควา “ปรชี าขึ้นตนไมห ลงั บา นหรอื ไมก็กวาดขยะอยูหนา บา น”
2.4 ประโยคท่ีมีขอความเปน เหตุเปนผลกัน โดยมขี อความที่เปนเหตุอยูขางหนาขอความที่
เปนผลอยหู ลงั
ประโยคที่ 1 เขาขบั รถเรว็ เกินไป
ประโยคท่ี 2 เขาถกู รถชน
รวมประโยควา “เขาขับรถเรว็ เกนิ ไปเขาจึงถกู รถชน”
ประโยคที่ 1 กรงุ เทพฯ ฝนตกมาก
ประโยคท่ี 2 กรงุ เทพฯ น้ําทวม
รวมประโยควา “เพราะกรุงเทพฯ ฝนตกมากนาํ้ จึงทวม”
คาํ ท่ีทําหนาท่ีเช่ือมประโยคเขาดว ยกนั เราเรียกวา “คาํ สันธาน”
3. ประโยคซอ นกัน (สังกรประโยค) คือ ประโยคท่ีมีขอความหลายประโยคซอนรวมอยูใน
ประโยคเดียวกัน เพือ่ ใหขอ ความสมบูรณย่งิ ข้ึน
1. ประโยคหลกั เรียกวา มขุ ยประโยค ซึง่ เปน ประโยคสําคัญมใี จความสมบรู ณใ นตวั เอง
2. ประโยคยอย เรียกวา อนุประโยค ประโยคยอ ยนจ้ี ะตองอาศยั ประโยคหลงั จึงจะได
ความสมบรู ณ
118
ตัวอยา ง
สรพงษเ ดนิ ทางไปสงขลา เพ่ือแสดงภาพยนตร
เขาประสบอุบตั ิเหตุ เพราะความประมาท
คนทป่ี ราศจากโรคภยั ไขเจ็บเปน คนโชคดี
ตารางประโยคความซอน
ประโยคหลกั (มขุ ยประโยค) บทเชื่อม ประโยคยอ ย (อนุประโยค)
สรพงษเ ดินทางไปสงขลา เพ่อื แสดงภาพยนตร
เขาประสบอบุ ตั ิเหตุ เพราะ ความประมาท
คน...เปน คนโชคดี ที่ ปราศจากโรคภยั ไขเจบ็
นอกจากประโยคทงั้ 3 ชนดิ ดงั กลา วมาแลว ยงั มีประโยคอีกหลายชนิดทมี่ ิไดเ รียงลําดบั ประโยค
เหมือนประโยคท้ัง 3 ชนิด ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนนสวนใดของ
ประโยค ดว ยเหตนุ จี้ งึ ทาํ ใหป ระโยคมหี ลายรปู แบบ ดังน้ี
1. ประโยคเนนผูกระทํา คือ ประโยคที่ยกผกู ระทําขึ้นเปนประธานของประโยคขนึ้ กลาวกอน
แลว จึงตามดวยภาคแสดง เชน
รปู ประโยค ประธาน กริยา กรรม
1. ลนิ ดากาํ ลงั ซือ้ ผลไม ลนิ ดา กําลังซอ้ื ผลไม
2. สายชลพูดโทรศัพท สายชล พดู โทรศพั ท
2. ประโยคเนนผถู กู กระทํา คือ ประโยคท่กี ลาวถงึ ผูถกู กระทาํ หรือ กรรม กอน ผถู กู กระทํา
จงึ อยหู นาประโยค
รูปประโยค ผูถูกกระทํา กรยิ า
1. เพือ่ นของฉนั ถกู ทําโทษ เพ่อื นของฉนั ถูกทาํ โทษ
ถูกจับ
2. ชาตรีถูกจบั ชาตรี
ขอสงั เกต ในภาษาไทย ถาใชว า “ถูกกระทาํ ” อยางใด จะมคี วามหมายไปในทางไมดี
เชน ถกู ตําหนิ ถกู ตอ วา ถกู ดุ เปนตน ถาเปนไปทางดีเราจะไมใ ชคําวา
“ถกู ” แตใ ชคาํ วา “ไดร ับ” แทน เชน ไดรับแตง ตั้ง ไดร ับเลอื ก........เราจะ
ไมใ ชว า ไดถูกแตงตัง้ ......ไดถ ูกเลือก.......เปนอนั ขาด
119
3. ประโยคเนนกริยา คือ ประโยคที่ตองการเนนกริยาใหเดน จึงกลาวถึงกริยากอนท่ีจะ
กลาวถึงประธาน กริยาทเ่ี นนไดใ นลกั ษณะนมี้ อี ยไู มก ี่คํา คอื เกดิ ปรากฏ มี
รูปประโยค กรยิ า ประธาน
เกิดน้าํ ทว มในประเทศบงั กลาเทศ เกิดนาํ้ ทวม ในประเทศบังกลาเทศ
นา้ํ ทวม ขยายกริยา ดาวเทียม
ปรากฎดาวเทยี มบนทอ งฟา ปรากฏ
บนทอ งฟา ขยายกรยิ า
4. ประโยคคําส่ังและขอรอง คือ ประโยคที่อยูในรูปคําส่ังหรือขอรองและจะละประธานไว
โดยเนนคาํ สงั่ หรอื คําขอรอ ง เชน
คาํ สง่ั 1. จงกาเครื่องหมายกากบาท หนา ขอ ความที่ถูกตอ ง
คาํ ทขี่ ีดเสน ใต คือ กริยา
คําขอรอ ง 2. โปรดรกั ษาความสะอาด คําท่ขี ดี เสน ใต คอื กรยิ า
ถาเดมิ ประธานทล่ี ะไวลงไป กจ็ ะกลายเปนประโยคเนน ผูกระทํา
เชน 1. ทา นจงกาเครอ่ื งหมายกากบาทหนาขอความที่ถกู ตอง
2. ทา นโปรดรักษาความสะอาด
หนา ทีข่ องประโยค
ประโยคชนดิ ตา ง ๆ สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผูสงสาร เพราะการส่ือสารกัน
ตามปกตินั้น ผูสงสารอาจมีเจตนาไดหลายประการ ประโยคจึงทําหนาท่ีตาง ๆ กัน เชน บอกกลาว
เสนอแนะ ชี้แจง อธิบาย ซักถาม วิงวอน ส่ังหาม ปฏิเสธ เปนตน ขอความหรือประโยคท่ีแสดงเจตนา
ของผูส งสารเหลา น้จี ะอยใู นรูปทีต่ าง ๆ กันไป ซ่งึ อาจแบงหนาท่ีของประโยคไดเปน 4 ประเภทดวยกัน
คอื
1. รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะนี้ โดยปกติจะมี ประธาน กริยา
และอาจมกี รรมดวย นอกจากนอ้ี าจมสี วนขยายตาง ๆ เพื่อใหชดั เจน โดยทว่ั ไปประโยคบอกเลาจะบง ชี้
เจตนาวา ประธานของประโยคเปนอยา งไร
ตวั อยา ง
ประโยค เจตนา
ภาษาไทยเปนภาษาประจาํ ชาตขิ องเรา ภาษาไทยเปน อะไร
นอ งหิวขา ว นองอยูในสภาพใด
120
2. รปู ประโยคปฏเิ สธ ประโยคน้แี ตกตา งจากประโยคบอกกลา ว หรือบอกเลาตรงที่มีคําวา “ไม”
หรือคําทม่ี คี วามหมายในทางปฏิเสธ เชน “หามิได” “มิใช” ประกอบคาํ อธบิ ายเสมอไป
ตัวอยาง
วันน้ีไมม ฝี นเลย
เขามใิ ชคนเชนนั้น
หามิได หลอ นไมใ ชคนผิดนัด
สําหรบั ประโยคท่ีผสู ง สารมีเจตนาท่จี ะเสนอแนะมกั จะใชค าํ วา ควรหรอื ควรจะ ในประโยค
บอกเลา สวนในประโยคปฏเิ สธ ใชคําวา ไมควรหรือไมค วรจะ
ประโยคปฏเิ สธ “ชาวนาไมค วรปลกู มันสําปะหลังในท่ีนาเพราะจะทาํ ใหด นิ จืด”
3. ประโยคคําสั่งและขอรอง ประโยครปู นี้มีลักษณะเดน คือ มีแตภาคแสดงเสมอ
สวนประธานซึง่ ตองเปนบุรุษที่ 2 ใหละเวนในฐานท่เี ขาใจ
ตวั อยา ง
ยกมือข้นึ
ยนื ขนึ้
ปลอยเดี๋ยวนี้นะ
รปู ประโยคคําสง่ั เชน ขางตนน้ี อาจใสค าํ วา อยา จง หา ม ขา งหนา ประโยคได
เพื่อใหค าํ ส่ังจริงจงั ยิง่ ข้ึน
ตวั อยาง
อยา ทําบานเมอื งสกปรก
จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี
หามมยี าเสพติดไวใ นครอบครอง
4. รปู ประโยคคําถาม ประโยครูปนีท้ ําหนา ทีเ่ ปนคําถามวางอยูตอนตน
หรือตอนทา ยของประโยคกไ็ ด
คาํ แสดงคาํ ถามแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
4.1 คําแสดงคําถามที่ผสู งสารตอ งการคําตอบเปนใจความใหม
4.2 คาํ แสดงคาํ ถามท่ผี สู งสารตอ งการคาํ ตอบเพยี ง “ใช” หรอื “ไม”
121
เรอ่ื งที่ 4 หลักในการสะกดคาํ
สะกดอยา งไรใหถูกตอ ง
การใชภ าษาในการส่อื สาร ไมวา จะดวยการพดู และการเขยี น หรืออา นจําเปนตองใชใหถูกตอง
โดยมหี ลกั การไวดงั น้ี
การใชต ัวสะกด
ถาเปนคําภาษาไทยแทจะใชตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน จง บิน ชม เชย เดียว ปก
รด พบ เปน ตน สว นคาํ ภาษาไทยที่มาจากภาษาตางประเทศนั้นมีท้ังสะกดตรงตามมาตราและใชตัวสะกด
หลายตัวตามรูปศพั ทเดมิ โดยเฉพาะภาษาบาลีสนั สกฤต เชน
1. คาํ ในภาษาไทยทมี่ าจากภาษาเขมร ภาษาบาลี สันสกฤตบางคํา และคําท่ีมาจากภาษาอ่ืน
ที่ใชต ัวสะกดตรงตามมาตรา
คําไทยทมี่ าจากภาษาเขมร เชน จํานอง ดาํ เนนิ ขจดั อาํ นวย บงั คม เปน ตน
คาํ ไทยทม่ี าจากภาษาบาลี สันสกฤต เชน ทาน คําไทยท่ีมาจากภาษาอน่ื เชน มังคุด
2. คําไทยที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตมตี ัวสะกดอยใู นมาตรา แม กน กก กด กบ อาจจะใช
ตวั สะกดไดหลายตวั ตามรูปในภาษาเดมิ ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี
2.1 คําในแม กน เชน
พน ใช น สะกด แปลวา ปา ศัพทเดิม พน อา น พะ นะ
ชล ใช ล สะกด แปลวา นา้ํ ศพั ทเ ดิม ชล อา น ชะ ละ
บญุ ใช ญ สะกด แปลวา ความดี ศัพทเ ดิม ปญุ ญ อาน ปุน ยะ
คุณ ใช ณ สะกด แปลวา ความเกอื้ กลู ศพั ทเ ดมิ คุณ อาน คุ ณะ
พร ใช ร สะกด แปลวา ความดี ศพั ทเดิม วร อาน วะ นะ
122
2.2 คาํ ในแม กก เชน
ชนก ใช ก สะกด แปลวา พอ ศัพทเดิม ชนก อาน ชะ นะ กะ
มขุ ใช ข สะกด แปลวา หนา ปาก ทาง ศัพทเดิม มขุ อาน มกุ ขะ
มัค ใช ค สะกด แปลวา หนทาง ศพั ทเ ดิม มค อา นวา มัก คะ
เมฆ ใช ฆ สะกด แปลวา ไอนํ้ารวมตัวกันเปนกลุม ลอยตัวอยูในอากาศ
เมฆ อานวา เม ฆะ
จกั ร ใช กร สะกด แปลวา อาวธุ ศัพทเดิม จกร อา น จัก กระ
2.3 คําในแม กด เชน
อนุญาต พยางคห ลงั ใช ต สะกด แปลวา ยนิ ยอมให ศัพทเดมิ อนุญาต
อานวา อะ นุน ยา ตะ
สัจ ใช จ เปนตัวสะกด แปลวา การตง้ั ความสตั ย ศพั ทเดมิ สัจจฺ
อา นวา สัต จะ
พชื ใช ช เปน ตัวสะกด แปลวา เมลด็ พนั ธไุ ม ศัพทเ ดิ พืชและวีช
อานวา พี ชะ และ วี ชะ
ครุฑ ใช ฑ สะกด หมายถงึ พญานกท่เี ปน พาหนะของพระนารายณ
ศัพทเดมิ ครุฑ อา นวา คะ รู ดะ
รัฐ ใช สะกด แปลวา ประเทศ ศพั ทเ ดิม ร ฏ ฐ
อานวา รัต ถะ
รถ ใช ถ สะกด แปลวา ยานทม่ี ีลอสําหรับเคลือ่ นไป
ศพั ทเดิม รถ อา นวา ระ ถะ
อาพาธ อา นวา อา พา ทะ
ชาติ ใช ติ สะกด แปลวา เกิด ศัพทเ ดิม ชาติ อา นวา ชา ติ
เหตุ ใช ตุ สะกด แปลวา ทม่ี า ศพั ทเ ดมิ เหตุ อา นวา เห ตุ
มาตร ใช ตร สะกด แปลวา เครื่องวัดตาง ๆ ศัพทเ ดมิ มาตร
อา นวา มาด ตระ
เพชร ใช ชร สะกด แปลวา ชื่อแกวท่แี ข็งที่สดุ และมนี ้ําแวววาวกวา
พลอยอ่ืน ๆ ศพั ทเ ดิม วชรฺ และ วชริ อา นวา วดั ชระ และ
วะ ชิ ระ
123
ทิศ ใช ศ สะกด แปลวา ดา น ขา ง ทาง เบอ้ื ง
ศพั ทเดมิ ทศิ อานวา ทิ สะ
คําในแมก ด ในภาษาบาลี สนั สกฤตใชพ ยัญชนะหลายตัวเปนตวั สะกด จงึ ตอง
สังเกตและจดจาํ ใหด ีจึงจะสามารถเขยี นไดถูกตองตามสะกดการันต
2.4 คําในแม กบ เชน
บาป ใช ป สะกด แปลวา ความชั่ว
ศัพทเ ดมิ บาป อา นวา ปา ปะ
เสพ ใช พ สะกด แปลวา กิน บริโภค
ศัพทเ ดมิ เสพ อานวา เส พะ
โลภ ใช ภ สะกด แปลวา ความอยากไดไ มรูจักพอ
ศพั ทเดมิ โลภ อานวา โล พะ
3. คาํ ทีม่ าจากภาษาเขมร เรานาํ มาใชในลกั ษณะคําแผลงตา ง ๆ มีขอควรสงั เกต คือ
เมอ่ื แผลงคําแลว ตัวสะกดจะเปน ตวั เดียวกับคําเดมิ เชน
เกิด เปน กําเนิด
จรสั เปน จาํ รัส
ตรวจ เปน ตาํ รวจ
ตรสั เปน ดาํ รัส
เสรจ็ เปน สําเร็จ
ฯลฯ
4. คําที่มาจากภาษาบาลี สนั สกฤตบางคําจะมีตัวสะกดและตัวตามในภาษาไทย เรานํามาใช
ท้ังรปู แบบเต็มรูปและตดั ตัวสะกดออกบา ง
วฑุ ฒิ ไทยใช วุฒิ
รฏฐ ไทยใช รัฐ
อฑฒ ไทยใช อฒั เชน อัฒจันทร
การประและไมป ระวิสรรชนีย
การประวิสรรชนีย มีหลกั ดังนี้
1. คําไทยแทที่ออกเสียง อะ ชัดเจน และคําที่ยอสวนจากคําประสม เชน มะมวง มะนาว
กระทะ สะอึก เปนตน ยกเวนคําบางคํา เชน ณ ธ ทนาย ฯพณฯ เปน ตน
2. คาํ ทม่ี าจากภาษาบาลี สนั สกฤต ถาตอ งการใชอานออกเสยี ง สระ อะ ที่ทา ยพยางค
ใหประวิสรรชนยี ทพ่ี ยางคท าย เชน พละ ศลิ ปะ สาธารณะ ทกั ษะ มรณะ สมณะ ฯลฯ
124
3. คําท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤตที่มีพยางคหนาออกเสียง กระ ตระ ประ ในภาษาไทย
ใหป ระวสิ รรชนยี เชน กระษยั กระษาปณ ตระกลู ประกาศ ประสาท ประโยชน ประชาราษฎร ฯลฯ
4. คําทไ่ี มทราบท่ีมาไดแนช ัดวามาจากภาษาใด แตถ า อา นออกเสยี ง อะ ใหประวิสรรชนีย เชน
กะละแม กะหลํา่ กะละมงั สะอาด สะครวญ สะดอื โพระดก พะโล สะระแหน จะละเม็ด สะว้ีดสะวาด
ปะเหลาะ ปะแหละ ฯลฯ
การไมป ระวสิ รรชนยี มหี ลกั ดังนี้
1. คาํ ทอ่ี อกเสียง อะ ไมเ ตม็ มาตรา หรอื คาํ ทเ่ี ปน อักษรนํา เชน กนก ขนม ฉลาด สมอง ฯลฯ
ยกเวนกะรัต
2. คาํ สมาสในภาษาบาลี สนั สกฤต ซงึ่ มีเสยี ง อะ ระหวา งคาํ เชน พลศกึ ษา ศิลปกรรม เปนตน
หรอื คาํ ทมี่ ีเสียง อะ ท่ีพยางคห นาของคาํ
3. คาํ ท่มี าจากภาษาเขมรมีพยัญชนะตน 2 ตัวซอนกัน ในภาษาไทยอานออกเสียงพยัญชนะ
ตวั หนาเปน อะ ไมต อ งประวสิ รรชนยี เชน จรญู จรวย จรวด ผม ผจญ สลา สมอง ขโมย ขนง ขนาน
ขนาบ ขนบ ถนน ถนอม
4. คาํ ทับศพั ทภาษาองั กฤษอาจจะประหรอื ไมป ระวสิ รรชนียใหถือปฏิบัติตามแนวท่ีนิยมเขียน
กันมา เชน เยอรมนั อเมริกา สติกเกอร โปสเตอร ไอศกรมี อะลมู เิ นยี ม อะตอม อะมบี า
การใชค ํา อํา อมั และ อาํ ม
อาํ ( _ำ )
1. ใชกับคําไทยทว่ั ไป เชน ชํา คํา จํา รํา เปนตน
2. ใชกบั คาํ แผลงท่ีมาจากภาษาอ่ืน เชน เกดิ กาํ เนดิ ตรวจ ตํารวจ เปนตน
อมั ( _ั ม )
1. ใชคําท่ีเปนสระ อะ มตี ัว ม สะกดในภาษาบาลี สันสกฤต เชน คัมภีร สมั ผสั สัมภาษณ
อมั พร เปน ตน
2. ใชกับคาํ ทมี่ าจากภาษาอังกฤษ เชน กิโลกรมั ปม อลั บั้ม เปนตน
อาํ ม (_ำ ม )
ใชกับคําท่ีมีเสียงสระ อะ แลวมี ม ตามในภาษาบาลี สันสกฤต เชน อํามาตย อํามฤต
อํามหติ เปนตน
การใช ไอ ใอ อัย ไอย ( ไ- ใ- -ัย ไ-ย )
1. การใช ไ- สระไอไมมลาย ใชกับคําไทยท้ังหมด เชน ไกล ไคล ใจ ไหม ตระไคร ไฟ ไข
ได ไป ฯลฯ เวนแตคําไทยที่ใชสระไอไมมวน 20 คํา และคํามาจากภาษาอื่น นอกจากภาษาบาลี
สันสกฤตใหใช ไอ เหมือนภาษาไทยท้งั ส้ิน
คําแผลงมาจาก สระ อิ อี เอ เปนสระไอในภาษาไทยใหใชสระไอไมมลาย เชน วิจิตร
ไพจิตร วิหาร ไพหาร ตรี ไตร ฯลฯ หรือคําบาลี สันสกฤตเดิมมีสระไออยูแลว ใหใช ไอ เชน
125
ไอศวรย ไอศวรรย ไมตรี ไมตรี ฯลฯ คําท่ีมาจากภาษาอื่นไมใชภาษาบาลี สันสกฤตใหใชสระไอ
เชน ไกเชอร เซียงไฮ กาํ ไร ไนลอน ไนโตรเจน ไฉน ไสว ฯลฯ
2. การใช ใ- สระใอไมม ว น ใชก ับ คาํ 20 คํา ดงั น้ี
ใฝใจใครใครรูให ใหลหลง
ในใหมใสใ หญยง ตาํ่ ใต
ใดใชใ ชใบบง ใยยดื
ใสสะใภใ กลใ บ สิบมวนสองหน
หรอื
ผูใหญหาผาใหม ใหส ะใภใชค ลองคอ
ใฝใ จเอาใสหอ มิหลงใหลใครขอดู
จะใครลงเรอื ใบ ดนู ้ําใสและปลาปู
สง่ิ ใดอยใู นตู มใิ ชอยใู ตตั่งเตยี ง
บาใบถือใยบวั หตู ามัวมาใกลเคียง
เลา ทองอยาละเลีย่ ง ยส่ี บิ มวนจาํ จงดี
3. การใช -ั ย ( อัย )
ใชคําท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ซึ่งมีเสียงอะ และ ย ตาม และถาในภาษาเดิมมี ย
สะกดและ ย ตามเมอ่ื นํามาใชในภาษาไทยใหค ง ย ไว
ชยั มาจาก ชย
วัย ” วย
นยั ” นย
อาลัย ” อาลย
อทุ ยั ” อุทย
อยั ยะ ” อยย
อยั ยิกา ” อยยกิ า
4. การใช ไ-ย (ไอย)
ใชกบั คาํ ทีม่ าจากภาษาบาลซี งึ่ มสี ระ เอ มี ย สะกด และมี ย ตาม เ ยย เอย ย
เมื่อนํามาใชในภาษาไทย แผลงเปน “ไอย” เชน
ไวยากรณ มาจาก เวยฺยากรณ
อธปิ ไตย ” อธปิ เตยฺย
ไทยทาน ” เทยฺยทาน
เวไนย ” เวเนยฺย
อสงไขย ” อสงเฺ ขยฺย
126
การใชว รรณยกุ ต
การใชวรรณยุกตไดถูกตองนน้ั จะตอ งมคี วามรูใ นเร่อื งตอไปนี้
1. ไตรยางค หรอื อักษร 3 หมู ไดแก
อกั ษรสูง มี 11 ตวั ไดแ ก ษ ฆ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อกั ษรกลาง มี 9 ตวั ไดแ ก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อกั ษรต่ํา มี 24 ตัว แบงออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี
อักษรตาํ่ คู มี 14 ตวั ไดแก ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ
อักษรต่ําเดย่ี ว มี 10 ตวั ไดแ ก ง ญ ณ น ม ย ร ล ฬ ว
2. คําเปนคําตาย
2.1 คาํ เปน คอื คาํ ท่มี ีลักษณะอยา งใดอยางหน่ึงตอไปนี้
ประสมกับสระเสียงยาวในแม ก กา เชน ป มา
ประสมกับสระ อาํ ไอ ใอ เอา เชน ไป ใกล ขาํ
มตี ัวสะกดในมาตราแม กง กน เกย เกอว เชน ตรง จน กลม เชย เดยี ว
2.2 คําตาย คอื คําที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึง่ ตอ ไปนี้
ประสมกับสระเสยี งส้นั ในมาตราแม ก กา ยกเวน อํา ไอ ใอ เอา เชน จะ ผุ ติ
มตี ัวสะกดในมาตราแม กก กด กบ
3. การผันอักษร มีหลกั การดงั น้ี
อักษรสูง คําเปน พ้ืนเสียงเปนเสียงจัตวา ผันดวย วรรณยุกต เปนเสียงเอก ผันดวย
วรรณยุกต วรรณยกุ ต เปน เสียงโท เชน ผา ผา ผา ขาม ขา ม ขาม
อกั ษรสงู คาํ ตาย พน้ื เสยี งเปน เสยี งเอก ผนั เสียงวรรณยุกต เปน เสียงโท เชน ฉะ ฉะ
ขบ ขบ
อักษรกลาง คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวยวรรณยุกต เปนเสียง
เอก โท ตรี จตั วา ตามลาํ ดับ เชน ปะ ปา ปะ ปะ โกะ โกะ โกะ โกะ
อักษรต่ํา คําเปน พ้ืนเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวย วรรณยุกต เปนเสียงโท ตรี
ตามลาํ ดับ เชน คา คา คา เทา เทา เทา
อกั ษรต่ํา คาํ ตาย สระเสยี งส้ัน พน้ื เสยี งเปน เสียง ตรี ผัน ดว ยวรรณยุกต เปนเสียงโท
ผันดว ยวรรณยุกต เปนเสยี งจัตวา เชน คะ คะ คะ
อกั ษรตํ่า คําตายสระเสียงยาว พื้นเสียงเปน เสยี งโท ผันดวยวรรณยุกต เปนเสยี งตรีผัน
ดวยวรรณยกุ ต เปน เสยี งจตั วา เชน คาบ คา บ คา บ
อักษรตํา่ ตองอาศัยอักษรสูงหรืออักษรกลางชวย จงึ จะผนั ไดครบ 5 เสียง
เชน คา ขา ขา คา ขา เลา เหลา เลา เหลา เลา เหลา
127
ขอสังเกต
1. อกั ษรสูงและอักษรกลางจะมรี ปู วรรณยกุ ตต รงกบั เสียงวรรณยกุ ต
2. อกั ษรสงู และอกั ษรตํ่าไมใ ชวรรณยุกตตรีเลย
3. อักษรตาํ่ จะมีเสยี งวรรณยุกตสูงกวา รปู วรรณยุกต
4. อกั ษรเดย่ี วหรืออักษรตํ่าเด่ียวเมื่อตองการผันใหครบ 5 เสียง ตองใชอักษรสูงหรืออักษร
กลางนํา เชน ยา หยา อยา ยา ยา หยา
5. อักษรคูและอกั ษรสูงตอ งอาศัยอกั ษรท่ีคกู ันชวย จงึ จะผนั ไดค รบ 5 เสียง เชน
คา ขา คา ขา คา ขา
การใชเครื่องหมายทณั ฑฆาต ( )
เคร่ืองหมายทัณฑฆาต ใชเขียนเหมือนพยัญชนะที่ไมตองการออกเสียง ซ่ึงเราเรียกวา
ตัวการนั ต มีหลกั การดงั นี้
1. พยัญชนะที่อยูขางหลังตัวสะกด ถามีเครื่องหมายทัณฑฆาต ถือวาพยัญชนะตัวน้ันเปน
ตวั การันตไ มตองออกเสียง เชน เสาร ไมค ยักษ อาทิตย เปน ตน
2. พยญั ชนะทอี่ ยขู า งหลงั ตวั สะกดสองตัวหรอื สามตวั ถาตัวใดตวั หน่งึ มีเคร่อื งหมายทัณฑฆาต
กํากับถือวา พยัญชนะทั้งสองตัวเปนตัวการันต ไมตองออกเสียง เชน วันจันทร พระอินทร
พระลักษณ เปนตน
ทงั้ น้ี จะไมใชเ คร่ืองหมายทัณฑฆาตกบั ตัวสะกดทเ่ี ปน อักษรควบกล้ํา และตัวสะกดที่มีสระ
กาํ กับ เชน จกั ร มติ ร เกยี รติ เปนตน
เรอ่ื งท่ี 5 คําราชาศพั ท
ราชาศพั ท แปลตามศัพท หมายถงึ ถอยคาํ สําหรับพระราชา แตต ามตาํ ราหลักภาษาไทยไดให
ความหมายเกินขอบเขตไปถงึ ถอยคําภาษาสาํ หรบั บคุ คล 3 ประเภท คอื
1. ศพั ทท ี่ใชสําหรบั พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ
2. ศัพทท ใ่ี ชสําหรบั พระภกิ ษสุ งฆ
3. ศัพทท ่ีใชสาํ หรับสุภาพชน
1. ศัพทม ใี ชส าํ หรับพระมหากษัตรยิ และพระบรมวงศานวุ งศ
คาํ ศัพทป ระเภทนเ้ี ราจะไดฟ ง หรือไดอ า นบอยมาก สวนใหญจะเปน ขาวหรือเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับ
กรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ และพระบรมวงศานุวงศ ลกั ษณะของราชาศัพทประเภทนี้มีลักษณะเดน
ที่นา สนใจ คือ
1.1 ใชคาํ วา ทรง เพื่อใหเ ปน คาํ กรยิ า
ทรง นาํ หนากรยิ าทีเ่ ปน คาํ ไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกาํ ลังกาย
128
ทรง นาํ หนาคาํ นามทเี่ ปน คําไทยแลวใชเปนกรยิ า เชน ทรงชาง ทรงมา ทรงเรอื ใบ
ทรง นําหนา คําทีเ่ ปน ราชาศัพทอ ยแู ลว เชน ทรงพระอกั ษร ทรงพระสาํ ราญ
ทรงพระราชนิพนธ
1.2 ใชคําไทยนําหนาคําทเ่ี ปน ราชาศัพทอยูแลว เพอื่ ใหเ ปนคาํ กรยิ า เชน ทอดพระเนตร
1.3 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพื่อใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตร
ผาเชด็ หนา ถงุ พระบาท ถุงเทา ถุงพระหตั ถ ถงุ มือ การใชคําธรรมดานําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว
เพ่อื ใหเ ปน คํานาม ยังมีอีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหัตถ ฉลองพระเนตร แวนตา มูลพระชิวหา
น้าํ ลาย
1.4 ใชค าํ วา ตน หรือ หลวง ลงทา ยคาํ นามหรอื กริยา เชน เสด็จประพาสตน พระแสงปนตน
เครื่องตน รถหลวง เรือหลวง
1.5 คาํ ทีก่ าํ หนดใหเปนราชาศพั ทสามารถจําแนกชนดิ ตาง ๆ ได เหมอื นคําในภาษาสามัญ
คือมีทงั้ คํานาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ และมีคาํ ลกั ษณะนามใชเปนพเิ ศษอีกดวย เชน
คาํ นาม
พระเศียร หัว พระนลาฏ หนา ผาก
พระชนก พอ พระชนนี แม
พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบดิ มดี
คําสรรพนาม
ขาพระพทุ ธเจา กระหมอม หมอ มฉัน บรุ ุษท่ี 1
ใตฝา ละอองธุลีพระบาท ใตฝา พระบาท ฝาพระบาท บุรุษที่ 2
พระองคทาน พระองค ทา น บรุ ษุ ท่ี 3
คาํ กริยา
กริยาเปนราชาศัพทอยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา เชน เสด็จ ตรัส เสวย เปนตน
นอกน้นั ตอ งเติมดวยคาํ วา พระ หรอื ทรงพระราช เพอื่ ใหเปน คํากริยา เชน ทรงพระอกั ษร เขยี นหนังสือ
ทรงพระราชนพิ นธ แตงหนังสือ
คําวิเศษณ
มีแตคําขานรับ ซึ่งแยกตามเพศ คือ หญิง ใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับ
พระพทุ ธเจาขา พะยะคะ
คําลกั ษณะนาม
ใชค ําวา องค กับ พระองค เปนคําท่ีเกย่ี วกับสวนตา ง ๆ ของรา งกาย และเคร่ืองใชของทาน
เชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซี่ ปราสาท 2 องค
1.6 การใชราชาศพั ทแ บบแผน วธิ พี ดู ในโอกาสตา ง ๆ อกี ดวย เชน
การใชคําขอบคุณ
ถาเรากลา วแกพ ระมหากษัตรยิ ใชว า “รูสึกขอบพระมหากรุณาธคิ ณุ เปน ลนเกลา ฯ”
129
การใชค ําขออนุญาต
ถาเรากลา วแกพระมหากษตั รยิ ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต”
กลา วเมื่อถวายของ
ถาเรากลา วเมอ่ื ถวายของ
“ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถึง สิ่งของ
ขนาดเลก็
“ขอพระราชทานนอมเกลานอมกระหมอม ถวาย....................” หมายถึง
สิง่ ของขนาดใหญ ยกไมได
2. ศพั ทท่ใี ชสาํ หรบั พระภิกษุสงฆ
พระภิกษุ เปน ผทู ไี่ ดร บั ความเคารพจากบคุ คลทวั่ ไป ในฐานะทเ่ี ปนผูทรงศีล และเปนผูสบื
พระศาสนา การใชถ อยคําจึงกาํ หนดข้นั ไวตางหากอกี แบบหนงึ่
เฉพาะองคสมเดจ็ พระสังฆราช ซ่งึ ถือเปนประมขุ แหงสงฆน้ันกําหนดใหราชาศัพทเทียบเทากับ
พระราชวงศช ้นั หมอ มเจา แตถา พระภิกษุน้นั เปนพระราชวงศอ ยแู ลวกค็ งใหใ ชราชาศัพทตามลําดับช้ันที่
เปน อยูแลว นน้ั
การใชถ อ ยคาํ สําหรบั พระภิกษโุ ดยทัว่ ไปมขี อสงั เกต คือ ถา พระภิกษุใชกับพระภิกษดุ วยกันหรือ
ใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสาํ หรับกษัตริยและพระราชวงศ
คนอน่ื ที่พดู กับทา นหรอื พูดถงึ ทานจงึ จะใชราชาศพั ท แตถา พระองคท า นพูดกบั คนอื่นจะใชภาษาสุภาพ
ธรรมดา เชน
มผี พู ดู ถึงพระวา “พระมหาสนุ ทรกาํ ลังอาพาธอยูในโรงพยาบาล”
พระมหาสุนทรพูดถงึ ตวั ทานเองกย็ อ มกลา ววา “อาตมากําลังอาพาธอยทู ีโ่ รงพยาบาล”
มผี ูพ ดู ถงึ พระราชวงศหนึ่งวา “พระองคเจา ดิศวรกุมารกาํ ลงั ประชวร”
พระองคเ จาเม่อื กลาวพระองคถงึ พระองคเ องยอ มรับส่ังวา “ฉนั กาํ ลงั ปว ย”
ตัวอยางคาํ ราชาศพั ทส าํ หรับพระภิกษุบางคํา
คาํ นาม ภัตตาหาร อาหาร ไทยทาน ส่งิ ของถวาย อาสนะ ที่นง่ั กฏุ ิ ทีพ่ ักในวัด
คําสรรพนาม เภสชั ยารักษาโรค ธรรมาสน ที่แสดงธรรม
อาตมา ภิกษเุ รยี กตนเองกบั ผูอ่นื
ผม กระผม ภิกษุเรยี กตนเองใชก ับภกิ ษดุ วยกนั
มหาบพติ ร ภกิ ษเุ รยี กพระมหากษตั รยิ
โยม ภิกษุเรยี กคนธรรมดาที่เปนผใู หญกวา
พระคุณเจา คนธรรมดาเรยี กสมเด็จพระราชาคณะ
ทา น คนธรรมดาเรียกพระสงฆ
130
คาํ กริยา ประเคน ยกของดว ยมอื มอบใหพ ระ ถวาย มอบให
ฉนั กนิ อาพาธ ปว ย
มรณภาพ ตาย อนโุ มทนา ยินดดี ว ย
จําวัด นอน
คําลักษณะนาม รูป เปนลกั ษณะนามสาํ หรบั นบั จํานวนภิกษุ เชน พระภกิ ษุ 2 รปู คนทัว่ ไปนิยมใช
คําวา องค
3. คําท่ีใชสาํ หรบั สุภาพชน
การใชถอยคาํ สาํ หรับบคุ คลท่วั ไป จําเปนตอ งใชใ หส มฐานะและเกยี รติยศ ความสัมพันธร ะหวาง
ผทู ีต่ ิดตอส่อื สารกนั จะตองคาํ นงึ ถงึ อายุ เพศ และตําแหนงหนาที่การงานดวย นอกจากนั้น เวลา และ
สถานท่ียงั เปนเครอ่ื งกาํ หนดอกี ดวยวา ควรเลอื กใชถอ ยคําอยางไรจงึ จะเหมาะสม
ตัวอยางคาํ สภุ าพ เชน บิดา พอ มารดา แม และใชคําวา คุณ นําหนา ชอื่ เชน คุณพอ คณุ ลงุ
คาํ นาม คณุ ประเสรฐิ คณุ ครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ ขี้ ปสสาวะ
เยย่ี ว โค วัว กระบอื ควาย สนุ ัข หมา สกุ ร หมู เปนตน
คํากริยา รบั ประทานอาหาร กนิ ถงึ แกก รรม ตาย คลอดบตุ ร ออกลูก ทราบ รู
คําสรรพนาม เรยี น บอกใหร ู เปน ตน
ดิฉัน ผม กระผม บรุ ษุ ที่ 1
คําวิเศษณ คณุ ทา น เธอ บุรุษที่ 2 และ 3
คาํ ลักษณะนาม การใชส รรพนามใหสุภาพ คนไทยนิยมเรยี กตามตําแหนง หนา ทีด่ วย เชน
ทา นอธิบดี ทา นหวั หนากอง เปน ตน
คําขานรับ เชน คะ เจา คะ ครบั ครบั ผม เปน ตน
คาํ ขอรอง เชน โปรด ไดโปรด กรณุ า เปนตน
ลกั ษณะนามเพือ่ ยกยอง เชน อาจารย 5 ทา น แทนคําวา คน
ลกั ษณะนามเพื่อใหส ุภาพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคาํ วา ลูก
ผลไม 5 ผล แทนคําวา ลกู
เรอ่ื งท่ี 6 การใชสํานวน สุภาษติ คําพงั เพย
คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนท่สี ละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการออกเสยี ง
ลกั ษณะนสิ ยั คนไทยเปน คนเจาบทเจากลอนอยแู ลว เวลาพดู หรือเขียนจึงนิยมใชถ อยคําสํานวนปน
อยเู สมอถอยคาํ สํานวนตาง ๆ เหลานี้ชวยใหการสื่อสารความหมายชัดเจน ไดความไพเราะ
ถายทอดอารมณความรูสึกตาง ๆ ไดดีบางครั้งใชเ ปน การสอ่ื สารความหมายเพ่ือเปรียบเปรยไดอยาง
131
คมคายลกึ ซ่งึ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมความเปนอยูข องคนไทย ซ่งึ แสดงถงึ อธั ยาศยั ท่ีดตี อคนอนื่
เปนพ้ืนฐาน
ประเภทของถอยคําสํานวน
1. ถอยคําสาํ นวน เปนสาํ นวนคาํ ที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคาํ ใหม เชน คาํ ผสม
คําซอน หรือคําทเ่ี กิดจากการผสมคาํ หลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย
ไมแ ปลตรงตามรปู ศัพท แตม คี วามหมายในเชิงอปุ ไมย เชน
ไกอ อน หมายถงึ คนท่ยี ังไมชํานาญในชัน้ เชงิ
กิง่ ทองใบหยก หมายถึง ความเหมาะสมของคูกนั นัน้ มีมาก
เกลือจมิ้ เกลอื หมายถงึ มคี วามดรุ ายเขาหากัน แกเผด็ กนั
แกวง เทา หาเสย้ี น หมายถงึ การหาเร่ืองเดือดรอน
ขิงกร็ าขา กแ็ รง หมายถึง ตางฝา ยก็รา ยเขา หากนั
แขวนนวม หมายถงึ เลกิ การกระทาํ ทเ่ี คยทํามากอน
คว่าํ บาตร หมายถงึ การบอกปฏเิ สธไมค บคา สมาคมดวย
คมในฝก หมายถงึ มคี วามฉลาดรอบรแู ตย งั ไมแสดงออกเมอื่ ไมถ งึ เวลา
งามหนา หมายถงึ นาขายหนา
งูกนิ หาง หมายถงึ เกย่ี วโยงกนั เปน ทอด ๆ
จนตรอก หมายถงึ หมดหนทางท่ีจะหนีได
จระเขข วางคลอง หมายถึง คอยกดี กนั ไมใ หคนอื่นทาํ อะไรไดส ะดวก
ชักหนา ไมถ ึงหลงั หมายถงึ รายไดไมพอจับจา ย
ชบุ มอื เปบ หมายถึง ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอ่ืน
หญาปากคอก หมายถงึ เร่อื งงา ย ๆ คิดไมถ ึง
ตกหลมุ พราง หมายถึง เช่อื ตามทเี่ ขาหลอก
ตาํ ขาวสารกรอกหมอ หมายถงึ การทาํ อะไรเฉพาะหนาคร้งั คราว
พอใหเ สรจ็ ไปเทา นั้น
ทง้ิ ทวน หมายถึง ทําดที ่ีสุดเปน ครัง้ สุดทาย
นาํ้ รอ นปลาเปน หมายถึง การพดู หรอื ทาํ อยางละมุนละมอ ม
น้าํ เยน็ ปลาตาย ยอมสําเรจ็ มากกวาทาํ รุนแรง
น้าํ ทวมปาก หมายถึง รอู ะไรแลว พูดไมไ ด
บองตื้น หมายถึง มีความคดิ อยา งโง ๆ
ผักชีโรยหนา หมายถึง ทําดีแตเพยี งผิวเผนิ
ผาขร้ี ้วิ หอ ทอง หมายถงึ คนมัง่ มแี ตทําตวั ซอ มซอ
ใฝส งู เกินศักด์ิ หมายถึง ทะเยอทะยานเกินฐานะ
ฝากผฝี ากไข หมายถึง ขอยดึ เปน ทพ่ี ึ่งจนตาย
132
พกหนิ ดีกวาพกนนุ หมายถงึ ใจคอหนักแนน ดีกวาใจเบา
พระอิฐ พระปูน หมายถึง นิง่ เฉยไมเดอื ดรอน
มวยลม หมายถงึ ทําทาจะเลกิ ลม ไมดาํ เนนิ การตอไป
มืดแปดดา น หมายถงึ มองไมเ หน็ ทางแกไ ขคิดไมอ อก
ยอ มแมวขาย หมายถึง เอาของไมด ีมาหลอกวา เปน ของดี
โยนกลอง หมายถึง มอบความรับผดิ ชอบไปใหค นอ่นื
ลอยชาย หมายถึง ทําตวั ตามสบาย
ลอยแพ หมายถงึ ถกู ไลอ อก ปลดออก ไมเ กี่ยวของกนั ตอ ไป
สาวไสใหก ากิน หมายถงึ ขุดคุยความหลัง ส่งิ ไมด ีมาประจานกันเอง
สกุ เอาเผากิน หมายถงึ ทาํ อยา งลวก ๆ ใหเสร็จไปครง้ั หนึง่ ๆ
หอกขางแคร หมายถงึ อนั ตรายที่อยูใกลต ัว
อดเปรีย้ วไวก นิ หวาน หมายถึง อดทน ลาํ บากกอน จงึ สบายภายหลัง
2. คําพังเพย หมายถงึ ถอยคําทกี่ ลาวขึน้ มาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ
สามารถนําไปตีความแลวนําไปใชพ ดู หรือเขียนใหเหมาะสมกบั เร่อื งท่เี ราตองการส่ือสารความหมายได
มีลกั ษณะคลา ยคลึงกับสภุ าษติ มาก อาจเปน คาํ กลา ว ตชิ ม หรอื แสดงความคดิ เห็น เชน
รําไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนทท่ี ําอะไรผิดแลวมักกลาวโทษส่ิงอ่ืน
ข่ีชา งจับตั๊กแตน หมายถึง การลงทนุ มากเพอื่ ทํางานท่ีไดผลเล็กนอ ย
ชีโ้ พรงใหกระรอก หมายถึง การแนะนําใหค นอื่นทําในทางไมด ี
เสยี นอ ยเสียยาก หมายถงึ การไมร ูว าส่ิงไหนจาํ เปนหรือไมจาํ เปน
เสียมากเสยี งาย ใชจ า ยไมเ หมาะสม
คาํ พังเพยเหลานี้ยงั ไมเปน สุภาษิตก็เพราะวา การกลาวนั้นยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง
ท่ีแนนอน ยังไมไ ดเปน คําสอนท่แี ทจรงิ
133
ตัวอยา งคาํ พังเพย
คาํ พงั เพย ความหมาย
กระเชอกนร่ัว เปน คนสุรยุ สรุ าย
กลานักมักบิน่ คนทีอ่ วดเกงกลาจนเกินไปจนอบั จนสักวนั
ขี่ชางจบั ตั๊กแตน ลงทนุ ไมคมุ กบั ผลท่ไี ด
ทาํ บญุ เอาหนา ภาวนากนั ตาย ทาํ อะไรเพ่ือเอาหนา ไมท ําดวยใจจริง
หกั ดา มพรา ดวยเขา ทาํ อะไรโดยพลการ
ราํ ไมด โี ทษปโ ทษกลอง ทาํ ไมดีแตโทษผอู ืน่
นายพึ่งบาว เจาพ่งึ ขา ทกุ คนตองพงึ่ พาอาศัยกนั
ชาดไมดี ทาสไี มแดง สันดานคนไมดี แกอ ยา งไรก็ไมด ี
ไมง ามกระรอกเจาะ หญงิ สวยทมี่ ีมลทิน
มอื ไมพายเอาเทาราน้ํา ไมชว ยแลว ยังกีดขวาง
ฟน ฝอยหาตะเขบ็ ฟน เรอื่ งเกามาเลาอีก
หงุ ขาวประชดหมา ปง ปลาประชดแมว แกลง ทาํ แดกดันโดยอกี ฝา ยหน่ึงไมเ ดือดรอ น
ตวั อยา งการนาํ คาํ พงั เพยไปใชใ นความหมายเปรียบเทยี บ
เม่อื กอ นนด้ี ไู มคอ ยสวย เดย๋ี วน้แี ตงตัวสวยมากน่แี หละ ไกง ามเพราะขน คนงานเพราะแตง
เจา มนั ฐานะตาํ่ ตอ ยจะไปรกั ลกู สาวคนรวยไดย งั ไง ตักนํา้ ใสก ะโหลกชะโงกดเู งา ตนเองเสียบา ง
เราอยาไปทําอะไรแขงกบั เขาเลย เขากับเราไมเ หมือนกัน อยาเห็นชา งข้ีขตี้ ามชา ง
แหม...ฉันวาฉันหนีจากเพือ่ นเกา ท่เี ลวแลวมาเจอเพื่อนใหมกพ็ อ ๆ กัน มันเขา ตํารา หนีเสือปะ
จระเข
เขาชอบถว งความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอ่ืนอีก น่ีแหละ คนมือไมพาย
เอาเทา รานา้ํ
3. อปุ มาอปุ ไมย หมายถงึ ถอ ยคําทเ่ี ปน สาํ นวนพวกหนึ่ง กลาวทํานองเปรียบเทียบใหเห็นจริง
เขา ใจแจม แจงชดั เจน และสละสลวยนา ฟงมากขึน้ การพูดหรือการเขียนนิยมหาคําอุปมาอุปไมยมาเติม
ใหไดค วามชดั เจนเกิดภาพพจน เขาใจงา ย เชน คนดุ หากตอ งการใหความหมายชัดเจน นาฟง และเกิด
ภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระ การสื่อความยังไมชัดเจน ไมเห็นภาพ
ตอ งอปุ มาอปุ ไมยวา “ขรขุ ระเหมอื นผิวมะกรูด”หรือ “ขรขุ ระเหมือนผิวพระจันทร” ก็จะทําใหเขาใจ
ความหมายในรปู ธรรมชดั เจนมากย่ิงขึ้น
ในการเขยี นบทรอ ยแกว หรอื รอ ยกรองกต็ าม เราไมอ าจเขยี นใหล ะเอยี ดลกึ ซง้ึ เพอ่ื สือ่ ความได
แจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได ก็จาํ เปนตองใชอุปมา เพ่ือเปรียบเทียบใหผูรับสาร
จากเราไดรับรูความจริง ความรสู ึก โดยการใชคําอปุ มาเปรียบเทียบ ในการแตงคาํ ประพนั ธก็นิยมใช
134
อุปมากันมากเพราะคาํ อุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํานวนการเขียนใหไพเราะนาอาน กินใจ
ประทบั ใจมากข้นึ สังเกตการใชอ ปุ มาอปุ ไมยเปรยี บเทียบในตวั อยา งตอไปนี้
ทานจะไปทัพคร้ังนี้ อยาเพิ่งประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนท่ีปรึกษา
อุปมา เหมอื นเสอื อนั คะนองอยใู นปาใหญ ทานเรงระวงั ตัวจงดี
ตวั อยา งอปุ มาทค่ี วรรจู ัก
แขง็ เหมอื นเพชร กรอบเหมือนขาวเกรียบ
กลมเหมือนมะนาว กลัวเหมือนหนูกลัวแมว
กนิ เหมือนหมู คดเคีย้ วเหมอื นเขาวงกต
แกม แดงเหมือนตาํ ลึงสุก งายเหมือนปอกกลวยเขา ปาก
ขมเหมอื นบอระเพด็ โงเหมือนควาย
ขาวเหมือนสําลี ใจเสาะเหมอื นปอกกลวยเขาปาก
เขยี วเหมอื นพระอนิ ทร เบาเหมือนปุยนนุ
งงเปนไกต าแตก พดู ไมออกเหมือนน้าํ ทวมปาก
เงียบเหมอื นปาชา รกเหมอื นรงั หนู
ใจกวางเหมอื นแมนาํ้ ยากเหมือนงมเขม็ ในมหาสมทุ ร
ใจดําเปน อีกา ลืมตวั เหมอื นววั ลมื ตีน
ซนเหมือนลงิ ชา เหมือนเตา
เดินเหมือนเปด ซีดเหมอื นไกต ม
ตาดาํ เหมอื นนลิ ดําเหมือนตอตะโก
บรสิ ุทธิ์เหมือนหยาดนํ้าคา ง ตาโตเทาไขห า น
เร็วเหมอื นจรวด ไวเหมือนปรอท
เรียบรอยเหมือนผาพบั ไว หนกั เหมือนเดิม
เอะอะเหมอื นเจก ตนื่ ไฟ อดเหมอื นกา
ผอมเหมือนเปรต สงู เหมอื นเสาโทรเลข
มืดเหมือนลืมตาในกระบอกไม ใสเหมือนตาต๊กั แตน
หวานเหมือนนํ้าออย สวยเหมอื นนางฟา
เปรี้ยวเหมือนมะนาว อว นเหมือนตุม
หวงเหมือนหมาหวงกาง เหนยี วเหมอื นตงั เม
หนาขาวเหมือนไขป อก หนาสวยเหมือนพระจันทรว นั เพ็ญ
ยุง เหมอื นยุงตกี ัน รักเหมือนแกว ตาดวงใจ
135
เร่อื งที่ 7 หลักการแตง คําประพนั ธ
การแตงคาํ ประพันธ
คาํ ประพนั ธมีรูปแบบหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การศึกษา และฝกหัดแตง
กาพย กลอน โคลง เปนการสบื สานวัฒนธรรมการใชภาษาวรรณศิลปข องคนไทย
การแตงกาพย
คาํ ประพนั ธร อ ยกรองประเภทกาพย มหี ลายแบบเรียกชอ่ื ตา ง ๆ กันไป ตามลักษณะคําประพนั ธ
ท่ีแตกตา งกัน เชน กาพยย านี กาพยฉ บงั กาพยสรุ างคนางค กาพยข ับไม เปนตน กาพยนั้น
สนั นษิ ฐานวาเอาแบบมาจากฉันท เพยี งตัดคาํ ครุ คําลหอุ อกไป เทานน้ั
ในท่ีน้ีจะอธิบายเฉพาะกาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และกาพยสุรางคนางค 28 เปนกาพย
ท่ีนิยมแตงกันโดยท่ัวไป
1. กาพยย านี 11
แผนผัง
ตวั อยาง สัมผัสคาํ สมั ผัสใจ
ยานีมลี าํ นาํ วรรคหลังนี้มหี กคาํ ฯ
วรรคหนา หาคําใช
ลกั ษณะคําประพนั ธ
1. บท บทหนง่ึ มี 4 วรรค แบงเปนวรรคแรก 5 คาํ วรรคหลัง 6 คํา รวม 11 คํา
จึงเรียก ยานี 11
2. สัมผสั
ก. สมั ผัสนอก หรือสัมผสั ระหวางวรรค อนั เปนสมั ผัสบงั คับ มีดังน้ี
คาํ สดุ ทา ยของวรรคแรกวรรคทหี่ นง่ึ วรรคสดับ สมั ผสั กบั คาํ ทีส่ ามของวรรคหลงั วรรคทส่ี อง วรรครบั
คําสุดทา ยของวรรคทสี่ อง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม วรรครองดูแผนผัง
และตวั อยา ง
136
ถาจะแตง บทตอไปตอ งมสี ัมผัสระหวา งบท
สมั ผสั ระหวา งบท ของกาพยย านี คอื
คาํ สุดทายของวรรคส่ี วรรคสง เปน คาํ สงสัมผัสบังคบั ใหบ ทตอ ไปตองรบั สมั ผสั ที่คาํ สดุ ทายของ
วรรคสอง วรรครับ ดงั ตัวอยาง
ยานมี ีลาํ นํา สมั ผัสคําสมั ผสั ใจ
วรรคหนา หาคําใช วรรคหลังนมี้ ีหกคํา
หนงึ่ บทมีสีว่ รรคพงึ ประจักษเ ปน หลกั จํา
จงั หวะและลํานํา กาพยย านดี ังนเี้ ทอญฯ
คาํ สุดทายของบทตน คือคําวา “คาํ ” สงสมั ผสั ไปยงั บทถดั ไป บงั คับใหรบั สัมผสั ทคี่ ําสุดทาย
ของวรรคสองหรือวรรครบั ในทนี่ ้ีคอื คําวา “จํา”
ข. สัมผสั ใน แตละวรรคของกาพยย านจี ะแบงชว งจังหวะเปนดงั นี้
วรรคแรก เปน สองคาํ กบั สามคํา คอื หนงึ่ สอง หนง่ึ สองสาม
วรรคหลัง เปน สามคาํ กบั สามคํา คือ หนึง่ สองสาม หน่งึ สองสาม
ฉะนัน้ สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะของแตล ะวรรคน่นั เอง ดงั ตวั อยา ง
ยานี – มีลํานํา สัมผสั คํา – สัมผสั ใจ
ขอ สังเกต
กาพยยานีไมเ ครง สมั ผัสในจะมีหรือไมม ีกไ็ ด ขอเพยี งใชค าํ ทีอ่ า นแลวราบรนื่ ตามชว งจังหวะของ
แตละวรรคน้ัน ๆ เทา น้นั สวนสัมผัสนอกระหวางวรรคที่สาม วรรครอง กบั วรรคทีส่ ่ี วรรคสง นัน้ จะมี
หรอื ไมมีกไ็ ดไมบงั คับเชน กนั
2. กาพยฉบัง 16
แผนผัง
ตวั อยา ง สามวรรคระวัง
กาพยน ้มี ีนามฉบงั
จังหวะจะโคนโยนคาํ ฯ
137
ลักษณะคาํ ประพนั ธ
1. บท
บทหนง่ึ มี 3 วรรค อาจเรยี กวา วรรคสดบั วรรครับ วรรคสง ก็ได แบงเปน
วรรคแรก วรรคสดับ มี 6 คาํ วรรคที่สอง วรรครับ มี 4 คาํ
วรรคท่ี 3 วรรคสง มี 6 คํา
รวมทัง้ หมด 16 คํา จึงเรียกฉบงั 16
2. สมั ผัส
ก. สมั ผสั นอก หรือสมั ผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บังคบั ดังน้ี
คาํ สุดทายของวรรคหนึง่ วรรคสดบั สัมผัสกบั คาํ สดุ ทายของวรรคสอง วรรครบั สมั ผสั
ระหวา งบทของกาพยฉบงั คือ
คําสดุ ทา ยของวรรคสาม วรรคสง เปนคําสง สมั ผสั บังคบั ใหบ ทตอ ไปตอ งรบั สมั ผสั
ทคี่ ําสดุ ทา ยของวรรคหนงึ่ วรรคสดบั ดงั ตวั อยา ง
กาพยมนี ามฉบงั สามวรรคระวงั
จงั หวะจะโคนโยนคาํ
สมั ผสั จัดบทลํานํา กาํ หนดจดจํา
หกคําส่ีคาํ ดงั นี้ ฯ
ข. สมั ผสั ใน แตล ะวรรคของกาพยฉบงั แบง ชว งจงั หวะเปนวรรคละสองคํา ดงั นี้
หนึ่งสอง หน่งึ สอง หน่ึงสอง หน่ึงสอง หนง่ึ สอง
หนึ่งสอง หนงึ่ สอง หนึ่งสอง
ฉะนน้ั สมั ผัสในกาํ หนดไดตามชว งจงั หวะของแตละวรรคนน้ั เอง ดงั ตวั อยาง
กาพยน ้ี – มีนาม ฉบัง สามวรรคระวงั
จงั หวะ – จะ โคน – โยนคํา
ขอสังเกต
กาพยฉ บงั ไมเ ครง สมั ผัสใน จะมีหรอื ไมม กี ไ็ ด ขอเพยี งใชค าํ ท่อี า นราบร่ืนตามชวงจังหวะของแต
ละวรรคน้นั ๆ เทานนั้
สวนสัมผสั นอกระหวางวรรคทสี่ อง วรรครับกบั วรรคทสี่ าม วรรคสง น้ัน จะมหี รือไมม ีก็ไดไ ม
บงั คับเชนกนั
การแตง กลอน
กลอน
คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกช่ือตาง ๆกันไปตามลักษณะฉันทลักษณ
ท่ีแตกตางกันนั้น ๆ เชน กลอนส่ี กลอนหา กลอนหก กลอนแปด และยังจําแนกออกไปตามลีลา
ที่นาํ ไปใช เชน กลอนเพลงยาว กลอนบทละคร กลอนเสภา รวมถงึ กลอนบทตาง ๆ อกี ดวย
138
ในทีน่ จ้ี ะอธบิ ายเฉพาะกลอนหกและกลอนแปด อันเปนกลอนท่ีนยิ มแตงกนั โดยทัว่ ไป
1. กลอนหก
แผนผงั
ตัวอยาง
กลอนหกหกคํารา่ํ รู วางคูวางคาํ นํา้ เสยี ง
ไพเราะเรอ่ื ยรํ่าจําเรียง สําเนียงสูงตา่ํ คาํ กลอนฯ
ลักษณะคาํ ประพนั ธ
1. บท บทหน่ึงมี 4 วรรค
วรรคที่หน่งึ เรียกวรรคสดับ วรรคท่ีสองเรียกวรรครบั
วรรคท่สี ามเรียกวรรครอง วรรคท่สี ีเ่ รยี กวรรคสง
แตละวรรคมี 6 คาํ จึงเรียกวา กลอนหก
2. เสียงคาํ กลอนทกุ ประเภทจะกําหนดเสียงคาํ ทายวรรคเปนสาํ คญั กาํ หนดได ดงั น้ี
คําทายวรรคสดับ กาํ หนดใหใชไ ดท กุ เสียง
คาํ ทายวรรครับ กาํ หนดหามใชเสียงสามัญกับตรี
คาํ ทายวรรครอง กําหนดใหใชเ ฉพาะเสยี งสามัญกบั ตรี
คําทา ยวรรคสง กําหนดใหใ ชเฉพาะเสยี งสามญั กบั ตรี
3. สมั ผสั
ก. สัมผัสนอก หรอื สัมผัสระหวางวรรค อนั เปน สมั ผัสบังคบั มดี ังนี้
คาํ สุดทายของวรรคทีห่ นง่ึ วรรคสดบั สัมผัสกับคําทส่ี องหรอื ทส่ี ขี่ องวรรคท่สี องวรรครบั
คาํ สดุ ทายของวรรคทส่ี อง วรรครับ สัมผสั กับคําสดุ ทายของวรรคทส่ี าม วรรครอง และคําที่
สองหรอื ที่สขี่ องวรรคท่สี ี่ วรรคสง
สัมผสั ระหวา งบท ของกลอนทุกประเภท คือ
คําสุดทายของวรรคท่ีส่ี วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสท่ี
คาํ สุดทายของวรรคท่สี อง วรรครบั ตวั อยาง
139
กลอนหกหกคําร่าํ รู วางคูว างคําน้ําเสยี ง
ไพเราะเร่อื ยรา่ํ จําเรียง สําเนียงสงู ตา่ํ คํากลอน
เรยี งรอ ยถอยคําสมั ผัส จํารสั จําหลกั อกั ษร
ทุกวรรคทุกบททุกตอน คอื ถอยสุนทรกลอนกานทฯ
คําสุดทายของบทตน คอื วา กลอน เปนคาํ สง่ั สมั ผสั บงั คบั ใหบ ทถดั ไปตองรับสัมผัสท่ีคําสุดทาย
ของวรรคดว ยคําวา “ ษร” ตามตัวอยา งนัน้
ข. สัมผัสใน แตล ะวรรคของกลอนหก แบงชวงจังหวะเปน วรรคสองคํา ดงั น้ี
หน่งึ สอง หนึง่ สอง หนง่ึ สอง
ฉะนน้ั สัมผัสในจงึ กาํ หนดไดตามชวงจังหวะน่นั เอง ดังตวั อยา ง
เรียงรอ ย ถอ ย คํา สัมผัส
ขอสงั เกต
กลอนหกไมเครงสัมผัสในวรรคมากนัก อาจยายที่สัมผัสจากคําที่สองไปคําท่ีส่ีได หรือจะไม
สมั ผสั สระเลย ใชการเลนคําไปตามชว งจงั หวะก็ได ดงั ตวั อยาง เชน ทุกวรรคทกุ บททกุ ตอน
2. กลอนแปด (กลอนสภุ าพ)
แผนผงั
ตัวอยา ง วางเปนหลักอักษรสุนทรศรี
อนั กลอนแปดแปดคําประจําวรรค สมั ผสั มีนอกในไพเราะรู ฯ
เสียงทา ยวรรคสงู ตา่ํ จาํ จงดี
ลักษณะคําประพันธ
1. บท บทหนงึ่ มี 4 วรรค
วรรคที่หน่ึงเรยี กวรรคสดับ วรรคท่สี องเรยี กวรรครับ
วรรคทส่ี ามเรยี กวรรครอง วรรคที่ส่เี รียกวรรคสง
แตละวรรคมีแปดคาํ จงึ เรยี กวา กลอนแปด
140
2. เสียงคาํ กลอนแปดและกลอนทกุ ประเภทจะกาํ หนดเสียงคาํ ทา ยวรรคเปน สาํ คญั
โดยกําหนดดังน้ี
คําทา ยวรรคสดบั กําหนดใหใชไ ดทุกเสียง
คาํ ทา ยวรรครับ กาํ หนดหามใชเ สยี งสามัญและตรี
คาํ ทายวรรครอง กาํ หนดใหใ ชเ ฉพาะเสยี งสามัญและตรี
คาํ ทายวรรคสง กําหนดใหใ ชเฉพาะเสยี งสามญั และตรี
3. สมั ผสั
ก. สมั ผสั นอก หรือสัมผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บังคับ มดี ังนี้
คาํ สดุ ทา ยของวรรคท่ีหนง่ึ วรรคสดบั สัมผสั กบั คาํ ทีส่ ามหรือท่ีหาของวรรคทส่ี อง
วรรครบั
คําสุดทายของวรรคท่สี อง วรรครับ สมั ผสั กบั คําสดุ ทายของวรรคทส่ี าม วรรครอง และที่
สามหรอื ท่หี า ของวรรคทส่ี ี่ วรรครบั
สมั ผสั ระหวางบท ของกลอนแปด คอื
คาํ สดุ ทายของวรรคท่สี ี่ วรรคสง เปนคําสงสมั ผสั บงั คบั ใหบทตอไปตอ งรับสัมผัสท่ีคําสุดทาย
ของวรรคทสี่ อง วรรคสง
อนั กลอนแปดแปดคําประจําวรรค วางเปนหลักอกั ษรสนุ ทรศรี
เสยี งทา ยวรรคสูงต่าํ จําจงดี สมั ผสั มนี อกในไพเราะรู
จดั จงั หวะจะโคนใหย ลแยบ ถือเปนแบบอยา งกลอนสนุ ทรภู
อานเขียนคลอ งทองจําตามแบบครู ไดเ ชิดชูบูชาภาษาไทยฯ
คําสดุ ทา ยของบทตน ในทน่ี คี้ ือคําวา “รู” เปน คําสงสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัส
ทคี่ ําสุดทา ยของวรรคที่สอง วรรครบั ในทีน่ ้ีคอื คําวา “ภู”
ข. สัมผสั ใน แตละวรรคของกลอนแปด แบงชวงจังหวะออกเปนสามชว ง ดังน้ี
หนึ่งสองสาม หนง่ึ สอง หนง่ึ สองสาม
ฉะนัน้ สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะในแตละวรรคน่ันเอง ดงั ตัวอยาง
อันกลอนแปด – แปด คํา – ประจําวรรค
วางเปน หลกั – อกั ษร – สุนทรศรี
141
เรอื่ งที่ 8 การใชภาษาท่ีเปน ทางการและไมเ ปน ทางการ
ภาษาทใี่ ชม ีระดับในการใช หนังสอื เรยี นบางเลม แบงภาษาออกเปน 3 ระดับ โดยเพ่ิมภาษา
กึ่งทางการ แตในหนงั สือนีแ้ บง เปน 2 ระดับ คอื การใชภาษาท่เี ปน ทางการ และไมเ ปน ทางการ
1. ภาษาท่ีเปน ทางการ
ภาษาทางการ หมายถงึ ภาษาทีใ่ ชอ ยา งเปนทางการ มีลกั ษณะเปนแบบพิธี ถูกตองตามแบบแผน
ของภาษาเขยี น มีทงั้ เสียงเครงขรึม จริงจัง อาจเรยี กวาภาษาแบบแผนก็ได ภาษาทางการ มกั ใชในการเขียน
หนังสือราชการ การกลาวรายงาน คํากลา วเปด งาน การแสดงสุนทรพจน การเขียนตําราวิชาการ และ
การบนั ทึกรายงานการประชุม เปน ตน
2. ภาษาไมเ ปน ทางการ
ภาษาไมเปนทางการ หมายถึง ภาษาท่ีใชถอยคํางาย ๆ นํ้าเสียงเปนกันเองไมเครงเครียด
แสดงความใกลช ดิ สนิทสนมระหวา งผสู ง สารและผรู บั สารอาจเรยี กวา ภาษาปากกไ็ ด
ภาษาไมเปนทางการ อาจจําแนกเปนภาษากลุมยอย ๆ ไดอีกหลายกลุม เชน ภาษาถิ่น
ภาษาแสลง ภาษาตลาด ฯลฯ ใชในการสนทนาระหวางสมาชิกในครอบครัว คนสนิทคุนเคย ใชเขียน
บันทึกสว นตวั และงานเขยี นทต่ี อ งการแสดงความเปน กนั เองกับผอู าน เปนตน
สําหรับการเลือกใชภ าษาแบบเปน ทางการและไมเ ปน ทางการจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับ
องคประกอบตาง ๆ ดงั นี้
2.1 วตั ถปุ ระสงค จะตองพจิ ารณาวา งานเขียนน้นั นําไปใช เพอ่ื อะไร
2.2 สถานการณใ นตางสถานการณ ผูเขียนจะใชระดบั ภาษาท่ีตา งกัน
เชน เชิญเพอ่ื น “เชิญทานอาหารไดแลว” เชิญผูใหญ “ขอเชิญรับประทานอาหารไดแลว
ครับ” ผูเ รียนสามารถนาํ ไปใชไดอยา งเหมาะสมกับวัตถุประสงคแ ละสถานการณ