42
การใชภ าษาในการเขียน
การใชภาษาในการเขียน มหี ลกั การเขียน ดงั น้ี
1. เขียนใหอานงาย และเขา ใจงาย
2. เขียนตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยกุ ตใ หถูกตอ ง เชน
พรามณ เขียนผิด ควรเปน พราหมณ
โจษจรรย เขยี นผิด ควรเปน โจษจนั
อฒั จรรย เขียนผดิ ควรเปน อัฒจันทร
หนา รัก เขยี นผิด ควรเปน นารกั
โนต เขยี นผิด ควรเปน โนต
3. เขียนใหไดใ จความชดั เจน ไมวกวน เขาใจยาก เชน
เขามารบั ประทานขาวเยน็ ควรแกเปน เขามารบั ประทานขา วมอ้ื เย็น
ท่นี ีเ่ สมอ ทน่ี ่เี สมอ
จะทําอะไรกท็ าํ เสียหมด ควรแกเปน จะทําอะไรก็เสียหายหมด
คนนม้ี ือแขง็ เหลือเกิน ควรแกเปน คนนีม้ ือแข็งไมน ุม เลย
4. ใชภ าษางาย ๆ สน้ั กะทัดรดั ไดใจความ ไมเขยี นเยน่ิ เยอ ฟมุ เฟอยเกินความจาํ เปน เชน
รฐั บาลไดท าํ ความตกลงเร่อื งขายขาวกบั ประเทศในยุโรปแลว (ผิด)
รฐั บาลตกลงเรื่องขายขา วกบั ประเทศในยุโรปแลว (ถกู )
การขัดแยง กนั และกนั จะนํามาซึง่ การแตกความสามัคคี (ผิด)
การขดั แยง กันทําใหแ ตกความสามัคคี (ถูก)
ชาวนามกี ารตกลงกันเรอ่ื งราคาขา วกบั โรงสีแลว (ผิด)
ชาวนาตกลงเรือ่ งราคาขาวกับโรงสีแลว (ถูก)
43
5. ใชภาษาใหถ ูกตองตามแบบแผน หลกี เลีย่ งใชคําหรอื สํานวนมาปะปนกับภาษาตางประเทศ
หรอื ภาษาทีใ่ ชใ นสือ่ มวลชน เชน
เขามีสไตลใ นการพดู ท่เี อ็กไซตมาก (ไมด)ี
เขามีลีลาในการพูดสนุกตน่ื เตนมาก (ด)ี
เธอไปกรุงเทพฯ โดยรถทัวรป รับอากาศ (ไมด)ี
เธอโดยสารรถประจาํ ทางปรบั อากาศไปกรงุ เทพฯ (ดี)
กจิ การคา ของเธอเจง เพราะแชรล ม (ไมด )ี
กจิ การคาเธอลมเพราะมปี ญ หาเงินนอกระบบ (ดี)
6. ใชถอยคาํ ท่สี ภุ าพไพเราะ เหมาะสม มีความหมายดี หรือใชภาษาเขียนปนภาษาพดู
ฉนั ถูกหมาขบหลายแผล (ไมดี)
ฉันถูกสนุ ัขกัดหลายแผล (ด)ี
หมูทบ่ี านฉนั โปรดรําขาวมาก (ไมดี)
หมทู ี่บานฉันชอบราํ ขา วมาก (ดี)
พส่ี าวฉนั ออกลูกท่ีโรงพยาบาล (ไมดี)
พ่ีสาวฉนั คลอดลกู ท่ีโรงพยาบาล (ด)ี
เรื่องท่ี 2 หลกั การเขียนแผนความคิด
แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรูความคิด โดยใชแผนภาพในการนําความรูหรือ
ขอเท็จจรงิ มาจัดเปน ระบบ สรางเปน ภาพหรือจดั ความคดิ รวบยอด นําหวั ขอเรอ่ื งใดเร่ืองหนง่ึ มาแยกเปน
หัวขอ ยอยและนาํ มาจดั ลําดบั เปน แผนภาพ เชน เมือ่ ผเู รยี นอานหนังสือเรอื่ งใดเรอ่ื งหนง่ึ หรอื ฟงเรอื่ งใด
เร่อื งหนงึ่ มา กน็ าํ ขอมลู ความรเู รือ่ งราวตา ง ๆ มาจดั เปน แผนภาพความคดิ เราอาจใชแ ผนภาพความคดิ
ในการเตรียมการอาน เตรียมการเขียน ใชพ ฒั นาความรูใ นการใหเ หตุผล ใชจ ัดขอบเขตสิ่งทีจ่ ะตอ งเขียน
หรอื ใชร วบรวมความรทู ีต่ อ งการ
แนวคดิ เก่ยี วกบั แผนภาพความคดิ
1. เราใชแ ผนภาพความคิด เม่ือเราพบวาขอมูล ขาวสารตาง ๆ อยูกระจัดกระจาย นําขอมูล
ตาง ๆ น้ันมาเชอ่ื มโยงเปน แผนภาพความคดิ ทาํ ใหเกิดความเขา ใจเปนความคิดรวบยอด
44
2. แผนภาพความคิดจะจัดความคดิ ใหเปนระบบ รวบรวมและจัดลาํ ดบั ขอเทจ็ จรงิ นํามาจัดให
เปนหมวดหมู หรอื ทเ่ี รียกวา แผนภาพเปน ความคดิ รวบยอดทีช่ ัดเจนจนเกิดเปน ความรูใหม
3. การนําความคิดหรือขอเทจ็ จริงมาเขยี นเปนแผนภาพ จะทําใหจําเร่ืองราวตาง ๆ ไดงายข้ึน
ดีกวาการอานตําราหลาย ๆ เรื่อง เพราะหนังสือบรรยายดวยตัวอักษร แตแผนภาพจัดเรื่องราวเปน
เคร่ืองหมาย หรอื เปนภาพ ทาํ ใหจาํ เรือ่ งราวไดแ มนยาํ ข้นึ
4. แผนภาพความคิดจะใชภาษาผังท่ีเปนสัญลักษณและคําพูดมาสรางแผนภาพ ทําใหเกิด
การเรยี นรูดว ยตนเอง เปนการเรยี นโดยยึดผเู รียนเปนสําคญั การจัดทําแผนภาพความคิด ผูเรียนจะตอง
อาศยั การฟง การพดู การอาน การเขยี น และใชค วามคดิ รวบรวมความรู ขอเท็จจริง มาจัดทําแผนภาพ
เปน การเสรมิ แรงการเรยี น ทาํ ใหก ารเรียนรูม ีความหมายมากข้ึน
รปู แบบของแผนภาพความคดิ มี 4 รูปแบบ คอื
1. รูปแบบการจัดกลุม รูปแบบน้ีจะยึดความคิดเปนสําคัญ และจัดกลุมตามลําดับความคิด
รวบยอด ยอยเปน แผนภาพ มกั เขียนเปน แผนภาพนิ่ง
ตัวอยา งเรอื่ งส่งิ แวดลอม
45
2. รูปแบบความคิดรวบยอด รูปแบบน้ีจะมีความคิดหลักและมีขอเท็จจริงที่จัดแบงเปน
ระดับช้ันมาสนับสนุนความคิดหลัก เชน การกลาวถึงลักษณะการบรรยาย การรวบรวมปญหา
การแกป ญ หา การเปรยี บเทียบเปน รปู แบบความคดิ รวบยอด ดังตัวอยางตอไปน้ี
การจัดความคดิ
46
3. รูปแบบการจัดลาํ ดับ รูปแบบการจัดลาํ ดับตามเหตุการณ การจัดลาํ ดับตาม
กาลเวลา การจดั ลาํ ดับการกระทํากอนหลังหรือการจัดลาํ ดบั ตามกระบวนการ มีการเรมิ่ ตน
และการสน้ิ สดุ ตวั อยางแผนภาพเสนตรงแสดงเหตกุ ารณ
แผนภาพเสนโคง แสดงเหตุการณ
47
4. รปู แบบวงกลม รูปแบบนเ้ี ปน ชดุ เหตุการณภายใตกระบวนการไมมีจดุ เริ่มตน และจุดสิ้นสุด
แตเปนเหตกุ ารณท่ีเปนลําดับตอ เน่อื งกนั ดงั ตวั อยา งเชน
แผนภาพวงกลม
ประโยชนของแผนภาพความคดิ
1. ชว ยบรู ณาการความรูเดมิ กบั ความรใู หม
2. ชวยพฒั นาความคดิ รวบยอดใหช ัดเจนขน้ึ
3. ชวยเนน องคป ระกอบลาํ ดบั ของเรื่อง
4. ชวยพัฒนาการอา น การเขียนและการคิด
5. ชวยวางแผนในการเขยี น และการปรับปรงุ การเขยี น
6. ชว ยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบรู ณาการเนือ้ หา
7. ชวยในการอภิปราย
8. เปน เครอื่ งมอื ประเมินผล
วธิ ีการสรา งแผนภาพความคดิ
การสรางแผนภาพความคิด หรือการออกแบบแผนภาพความคิดเปนการสรางสรรคอยาง
หนึ่ง ผูสรางแผนภาพความคิดอาจใชงานศิลปะเขามาชวย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ
48
ความคิดนาสนใจและทาํ ใหเห็นภาพของแผนภาพชัดเจนข้ึน การสรางแผนภาพความคิดจะนํามาใช
ในการทาํ งานรวมกันรวมคิดรวมทํา รวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณทําใหผูเรียนรูจัก
การวางแผนงาน การกาํ หนดงานที่จะตองปฏิบัติ และเรยี นรกู ารทํางานรว มกับผูอ ่นื
ขน้ั ตอนการสรา งแผนภาพความคดิ มีดังนี้
1. กาํ หนดช่อื เรอ่ื ง หรอื ความคิดรวบยอดสําคญั
2. ระดมสมองทเ่ี ก่ียวขอ งกบั ชอื่ เรื่อง หรือ ความคดิ รวบยอดสาํ คญั เปนคาํ หรอื วลีน้นั ๆ
แลวจดบนั ทกึ ไว
3. นําคําหรอื วลีที่จดบันทึกทเี่ ก่ยี วเนื่องสมั พนั ธก นั มาจัดกลุม แลวตัง้ ช่ือกลุมคําเปนหัวขอยอย
และเรยี งลําดบั กลุมคาํ
4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนช่ือเรื่องไวกลางหนากระดาษ แลววางช่ือกลุมคํา
หวั ขอ ยอ ย รอบชอ่ื เรอื่ ง นําคาํ ที่สนบั สนนุ วางรอบชื่อกลมุ คํา แลวใชเ สนโยงกลุมคําใหเห็นความสัมพันธ
เสนโยงอาจเขยี นคําอธิบายได กลมุ คําอาจแสดงดวยภาพประกอบ
ตวั อยางเรือ่ งส่งิ มชี วี ติ ในบึง
49
สรุป แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรู ความคิดโดยใชแผนภาพเปนวิธีการนําความรู หรือ
ขอเทจ็ จริงมาจดั เปน ระบบสรางเปน ภาพ หรือจดั ความคิดรวบยอดนําหัวขอ เร่อื งใด เรื่องหน่งึ มาแยกเปน
ขอ ยอ ย และนํามาจดั ลําดบั เปน แผนภาพ
รูปแบบแผนภาพความคิด มี 4 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการจัดกลุม (2) รูปแบบความคิด
รวบยอด (3) รูปแบบการจดั ลาํ ดบั (4) รปู แบบวงกลม
เรือ่ งที่ 3 การเขยี นเรียงความและยอ ความ
การเขียนเรียงความ คือ การนําเอาคํามาประกอบแตงเปนเรื่องราวอาจใชวิธีการเขียนหรือ
การพูดก็ได การเขียนจดหมาย รายงาน ตอบคําถาม ขาว บทความ ฯลฯ อาศัยเรียงความเปนพ้ืนฐาน
ท้ังนั้น ดังน้ันการเรียงความจึงมีความสําคัญ ชวยใหพูดหรือเขียนในรูปแบบตาง ๆ ไดดี นอกจากนี้
กอ นเรียงความเราตองคนควา รวบรวมความรู ความคดิ และนํามาจัดเปนระเบียบ จึงเทากับเปนการฝก
สง่ิ เหลา นี้ใหก ับตนเองไดอ ยางดีอีกดว ย
องคป ระกอบของเรียงความ
การเรยี งความเรอื่ งหนงึ่ ประกอบดว ยสว นสําคญั 3 สวนคอื สว นนํา สว นเน้ือเรือ่ งและสวนทา ย
หรอื สรุป สว นนํา เปน สวนที่แสดงประเด็นหลกั หรือจุดประสงคของเร่ือง สวนเนื้อเรื่อง เปนสวนขยาย
โครงเร่ืองท่ีวางเอาไว สวนนี้จะประกอบดวยยอหนา สวนทาย เปนการเนนยํ้าประเด็นหลักหรือ
จดุ ประสงค
1. การเขยี นสว นนํา ดังไดกลาวแลววาสวนนําเปนสวนที่แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค
ของเรื่อง ดังน้ันสวนนําจึงเปนการบอกผูอานถึงเนื้อหาท่ีนาํ เสนอและยังเปนการเราความสนใจให
อยากอา นเรือ่ งจนจบ การเขียนสวนนําเพื่อเราความสนใจนั้นมีหลายวิธี ข้ึนอยูกับผูเขียนจะเลือกตาม
ความเหมาะสม อาจนําดวยปญหาเรงดวน หรือหัวขอท่ีกําหนดเปนเร่ืองที่นาสนใจ การเลาเรื่องท่ีจะ
เขียน การยกคําพูดขอความ หรือสุภาษิตท่ีนาสนใจ บทรอยกรอง การอธิบายความเปนมาของเร่ือง
การบอกจุดประสงคข องการเขยี น การใหค ําจาํ กัดความของคาํ สาํ คัญของเร่ืองที่จะเขียน แรงบันดาลใจ
ฯลฯ ดงั ตวั อยา ง เชน
1.1 นาํ ดว ยปญ หาเรง ดว น หรือหวั ขอ ทกี่ าํ ลงั เปนเรือ่ งทน่ี า สนใจ
เด๋ยี วนไี้ มว าจะเดนิ ไปทางไหน จะพบกลมุ สนทนากลุม ยอ ย ๆ วสิ ชั ณากนั ดวยเรือ่ ง “วสิ ามัญ
ฆาตกรรม” ในคดียาเสพติด บางก็วาเปนความชอบธรรม บางก็วารุนแรงเกินเหตุ หลายคนจึงต้ัง
คําถามวา ถา ไมท ําวิสามัญฆาตกรรมกรณียาเสพติด แลว จะใชว ิธกี ารชอบธรรมอนั ใดทจ่ี ะลางบางผูคา
หรือบอนทาํ ลายเหลานล้ี งไดใ นเวลารวดเรว็
50
1.2 นําดวยคาํ ถาม
ถาถามหนุมสาวท้ังหลายวา “อยากสวย” “อยากหลอหรือไม” คาํ ตอบท่ีไดคงจะเปน
คําตอบเดียวกันวา “อยาก” จากนั้นก็คงมีคาํ ถามตอไปวา แลวทําอยางไรจึงจะสวยจะหลอไดสมใจ
ในเมื่อธรรมชาติของหลาย ๆ คนก็มิไดหลอมาตั้งแตเกิด จะตองพ่ึงพาเครื่องสําอาง หรือการ
ทาํ ศัลยกรรมหรอื ไรแลว จึงจะสวยหลอแบบธรรมชาตไิ ดห รือไม ถา ได จะทําอยา งไร
1.3 นําดวยการเลาเรื่องท่ีจะเขียน
งานมหกรรมหนังสือนานาชาติจัดข้ึนเปนประจําในวันพุธแรกของเดือนตุลาคมของ
ทกุ ปท เี่ มอื งแฟรงเฟร ต ประเทศเยอรมนี สาํ หรับป พ.ศ. 2545 นับเปน ครงั้ ท่ี 53
1.4 นําดว ยการยกคําพดู ขอความ สุภาษิตที่นาสนใจ
ในอดีตเมื่อกลาวถึงครูหรือคนหาคุณคาของครู หลายคนมักนึกถึงความเปรียบ
ทงั้ หลายทมี่ ักไดย นิ จนชินหู ไมว าจะเปนความเปรียบทว่ี า “ครคู ือเรือจาง” “ครูคือปูชนียบุคคล” หรือ
“ครูคือผูใหแสงสวางทางปญ ญา” ฯลฯ ความเปรียบเหลา นี้แสดงใหเห็นถงึ คณุ คา ความเสยี สละและการ
เปน นักพฒั นาของครู ในขณะท่ีปจจุบนั ทัศนคตใิ นการมองครูเปล่ียนไป หลายคนมองวาครูเปนแคผูท่ีมี
อาชพี รบั จางสอนหนังสือเทา นัน้ เพราะครสู มยั นไี้ มไดอบรมความประพฤติใหแกผูเรียนควบคูไปกับการ
ใหค วามรู ไมไดเปนตวั อยางท่ดี ีจะเรียกวา “แมพิมพของชาติ” อาชีพครูเปนอาชีพตกต่ํา และดูตอยต่ํา
ในสายตาของคนทั่วไป ท้ัง ๆ ท่ีอาชีพน้ันเปนอาชีพที่ตองทําหนาท่ีในการพัฒนาคนท่ีจะไปเปนกําลัง
สําคัญของการพัฒนาประเทศชาติตอไป จึงถึงเวลาแลวที่จะตองมีการทบทวนหนาท่ี คุณธรรมและ
อุดมการณของความเปน ครกู นั เสยี ที
1.5 นําดว ยบทรอ ยกรอง
“ความรักเปนเหมอื นโรคา บันดาลตาใหม ดื มน
ไมยินและไมย ล อุปสรรคใดใด
ความรักเหมือนโคถึก กําลงั คึกผขิ ังไว
ก็จะโลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ทขี่ ัง
ถาปลอ ยไว ก็ดึงไปดวยคาํ สงั่
ยง่ิ หา มก็ย่งิ คลั่ง บหวนคดิ ถึงเจบ็ กาย”
จากบทละครเรอ่ื ง “มัทนพาธา” ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยหู ัว
อธบิ ายความหมายของบทรอ ยกรอง
ความรกั เปนอารมณธรรมชาติอยา งหน่ึงของมนษุ ย มที ัง้ ประโยชนแ ละเปน โทษในเวลาเดียวกัน
ความรกั ที่อยูบนพ้ืนฐานของความบรสิ ุทธิ์ จรงิ ใจและความมเี หตผุ ล ยอ มนาํ พาเปนเจาของความรกั ไป
ในทางท่ีถูกท่ีควร แตถา ความรกั น้นั เปนเพยี งอารมณอันเกดิ จากความหลงใหลในรูปกายภายนอก ความ
ชืน่ ชมตามกระแสและความหลงผิด ความรักก็จะกอ ใหเกิดโทษ จึงเปนผูเปรียบเปรยวา "ความรักทําให
คนตาบอด" ดวยพระราชนพิ นธของพระบาทของสมเด็จพระมงกฏุ เกลา เจาอยูหัวในเร่ืองมัทนพาธา ซ่ึงได
51
แสดงใหเห็นภาพของความลุมหลง อันเกิดจากความรักและทุกขสาหัสอันเกิดจากความรักไดเปนอยางดี
สมกบั ชอ่ื เร่ือง มัทนพาธา ที่แปลวา ความบาดเจ็บแหงความรกั
1.6 นาํ ดว ยการอธิบายความเปน มาของเรือ่ ง
เมอ่ื สัปดาหทแี่ ลว ขา พเจา ไดไ ปรว มงานพระราชทานเพลงิ ศพของผูใหญท า นหน่ึง ทานเปน
อดตี รองผวู าราชการจงั หวัด จังหวดั หน่งึ ทางภาคเหนือ ศพของทา นไดรบั การบรรจุไวในโกศ ขาพเจาจึง
ไดค นควาเร่ืองนมี้ าเปน ความรแู กผูสนใจท่ัวไป
1.7 นาํ ดว ยการบอกจดุ ประสงคของการเขยี น
สามกก ที่ผูอานท้ังในประเทศจีนและในประเทศไทยรูจักกันดีน้ันเปนนวนิยาย
สวนสามกกท่ีเปน ประวัติศาสตรมีคนรูนอ ยมาก แมแ ตค นจีนแผน ดนิ ใหญท่ีไดเ รยี นจบขั้นอุดมศึกษาแลว
กม็ ีนอยคนมากทีร่ บู ทความเรื่องน้จี งึ ขอเร่มิ ตนจากสามกก ที่เปน ประวตั ิศาสตร
2. การเขยี นสว นเนอื้ เรอ่ื ง
เนอื้ เรื่องเปนสวนสาํ คัญทส่ี ุดของเรยี งความ เพราะเปนสวนท่ตี องแสดงความรู ความคิดเห็น
ใหผูอานทราบตามโครงเรื่องที่วางไว เน้ือเร่ืองที่ตองแสดงออกถึงความรูความคิดเห็นอยางชัดเจน
มีรายละเอียดที่เปนขอเท็จจริงและมีการอธบิ ายอยางเปนลําดับข้ัน มีการหยิบยกอทุ าหรณ ตัวอยาง
ทฤษฎี สถิติ คํากลา วหลักปรชั ญา หรอื สภุ าษติ คําพงั เพย ฯลฯ สนบั สนุนความรคู วามคดิ เห็นนน้ั
เน้ือเร่ืองประกอบดวยยอหนาตาง ๆ หลายยอหนาตามสาระสาํ คัญท่ีตองการกลาวคือ
เปรยี บกันวา เน้ือเรือ่ งเหมอื นสวนลําตัวของคนทีป่ ระกอบดว ยอวยั วะตาง ๆ แตร วมกันแลวเปนตัวบุคคล
ดงั นนั้ การเขียนเน้ือเรื่องถึงจะแตก แยกยอยออกไปอยางไร จะตองรักษาสาระสําคัญใหญของเร่ืองไว
การแตกแยกยอ ยเปนเรอื่ ง ๆ ไป เพ่ือประกอบสาระสาํ คัญใหญข องเรอ่ื งซ่ึงเปรยี บเหมือนตัวคนสมบูรณ
ในแตละยอหนาประกอบดวยสวนที่เปนเนื้อหา คือ ความรูหรือความคิดเห็นที่ตองการแสดงออก
การอธิบายและอทุ าหรณ คือ การอางตัวอยา ง ฯลฯ ท่สี นับสนุนใหเหน็ จรงิ เห็นจงั สว นสํานวนโวหารจะ
ใชแ บบใดบา ง โปรดศึกษาเรื่องสาํ นวนโวหารในหวั ขอตอ ไปน้ี
ตัวอยางการเขียนเนอ้ื เรอ่ื งแตละยอหนา
“อํา” เปนเด็กชายตัวเล็ก ๆ อายุแค 12 ป คร้ังท่ีลืมตาดูโลกไดแค 3 เดือน แมก็ทอดทิ้งไป
สว นพอนั้นไมเคยรกั และหวงใยอาํ เลย สง่ิ เดียวทีม่ ีคาที่สุดในชีวิตของพอ คือ เฮโรอนี ยา ลงุ ปา และอา
ตอกย้ําใหอ าํ ฟง เสมอวา “อยา ทาํ ตัวเลว ๆ เหมือนพอแกที่ติดเฮโรอนี จนตาย” หรือ“กลวั แกจะเจริญรอย
ตามพอเพราะเช้ือมันไมท้ิงแถ ติดคุกหัวโตเหมือนพอแก”คําพูดสารพัดที่อํารับฟงมาต้ังแตจําความได
ซ่งึ อาํ พยายามคิดตามประสาเดก็ วา “เปนคําสั่งสอน”...หรือ “ประชดประชัน” กนั แน
ช่ือเสยี งวงศตระกูลของอําถาเอยไปหลายคนคงรูจัก เพราะเปนพวกเศรษฐีท่ีคาขายเปนหลัก
อยูในเขตอาํ เภอเมือง จังหวัดชลบรุ ี มาหลายชวั่ อายุคนแลว ปูกบั ยามีลูกทั้งหมด 9 คน ทกุ คนร่ําเรียน
กันสูง ๆ และออกมาประกอบธรุ กจิ รํา่ รวยเปนล่าํ เปนสนั ยกเวนพอ ของอํา ซึ่งไมยอมเรียน..ประพฤติตน
เสียหาย....คบเพอื่ นชว่ั ...จนติดเฮโรอีน และฉดี เขา เสน จนตายคาเขม็ ผลาญเงนิ ปกู บั ยา ไปมากมาย
52
ยังทําใหชื่อเสียงวงศตระกูลปนป ปูชํ้าใจจนตาย สวนยาอกตรมจมทุกขอยูจนทุกวันน้ี พวกลุง...ปา
และอา ตางพากนั เกลียดพอมากและก็ลามมาถึง “อาํ ” ซึ่งเปรยี บเสมือน “ลกู ตุม” ถว งวงศต ระกูล
คัดจากจันทิมา “ไอเลือดชั่ว” คอลัมน อนาคตไทย ฐานสัปดาหวิจารณ ฉบับท่ี 61 (71) วันที่
9 - 15 มิ.ย. 37 หนา 88 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2530
จากเน้อื หาในยอ หนาตา ง ๆ ขางตน จะแบง เปน สวนตาง ๆ ไดด ังน้ี
1. สวนท่เี ปนเน้อื หา
2. สวนที่เปนการอธิบาย
3. สว นทเ่ี ปนอุทาหรณ หรือการอางอิง
4. สวนท่ีเปนตัวอยา ง
3. การเขียนสวนทา ยหรือสรปุ
สวนทายหรือสวนสรุป หรือสวนปดเรื่อง เปนสวนท่ีมีความสัมพันธเก่ียวเน่ืองกับเนื้อหา
สวนอ่ืน ๆ โดยตลอด และเปนสวนท่ีบอกผูอานวาเรื่องราวท่ีเสนอมาน้ันไดส้ินสุดลงแลว วิธีการเขียน
สวนทายมดี ว ยกันหลายวิธี เชน เนนย้ําประเด็นหลัก เสนอคําถามหรือขอผิด สรุปเรื่อง เสนอความคิด
ของผูเขียน ขยายจุดประสงคของผูเขียน หรือสรุปดวยสุภาษิต คําคม สํานวนโวหาร คําพังเพย
อา งคําพดู ของบคุ คล อางทฤษฎีหลกั ภาษา หรือคาํ สอนและบทรอ ยกรอง ฯลฯ
3.1 เนนยาํ้ ประเด็นหลัก
หนวยงานของเราจะทําหนาทเี่ ปนผูใหบ ริการที่รวดเรว็ ทซ่ี อื่ ตรง โปรง ใส ตรวจสอบได
เชนนต้ี อไป แมก ารปฎริ ูประบบราชการจะสง ผลใหห นว ยงานของเรา ตองเปลย่ี นสังกัดไปอยางไรก็ตาม
น่ันเพราะเราตระหนักในบทบาทของเราในฐานะ “ขาราชการ” แมวาปจจุบันเราจะถูกเรียกวา
“เจา หนาท่ีของรัฐ” ก็ตาม
3.2 เสนอคาํ ถามหรือขอ คดิ ใหผ อู านใชว ิจารณญาณ
เคราะหกรรมทงั้ หลายอันเกดิ กับญาตพิ ่ีนอ งและลกู หลานของผูค นในบานเมืองของเรา
อันเกิดจากความอํามหิตมักไดของผูคายาเสพติดเหลานี้ เปนส่ิงสมควรหรือไมกับคําวา “วิสามัญ
ฆาตกรรม” ทานทีอ่ า นบทความน้ีจบลง คงมคี ําตอบใหก ับตัวเองแลว
3.3 สรปุ เรอ่ื ง
การกินอาหารจืด รางกายไดรับเกลือเล็กนอย จะทําใหชีวิตจิตใจ ราเริงแจมใส
น้ําหนักตัวมาก ๆ จะลดลง หวั ใจไมต อ งทําหนา ท่หี นกั ไตทําหนาทีไ่ ดดี ไมมีบวมตามอวยั วะตา ง ๆ และ
เปนการปอ งกันโรคหวั ใจ โรคไต หลอดเลือดแขง็ ความดันโลหิตสงู ขอ อักเสบ แผลกระเพาะอาหารและ
จะมอี ายุยนื ดวย
3.4 เสนอความเห็นของผูเขยี น
การปฏริ ปู กระบวนการเรียนการสอนประสบผลสาํ เรจ็ หรอื ไม คงไมใ ชแ คก ารเขารบั
การอบรมเทคนคิ วิธีการสอนเพียงอยางเดียว ยังขน้ึ อยกู บั องคป ระกอบอันสําคญั ยงิ่ กวาสง่ิ ใดคือ
53
ตวั ผสู อนมีใจและพรอมจะรับความเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดขน้ึ พรอ ม ๆ กับความกระตอื รอื รน ทจี่ ะพฒั นา
ตนเองเพ่ือกลมุ เปา หมาย คอื ผเู รยี น การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นการสอนกจ็ ะประสบความสําเรจ็ ได
3.5 ขยายจดุ ประสงคข องผูเ รยี น ควบคกู บั บทรอ ยกรอง
แมอาหารการกนิ และการออกกําลังกายจะทําใหคนเราสวยงามตามธรรมชาติอยูได
นานแตว ันหนง่ึ เราก็คงหนีไมพ น วฏั จักรธรรมชาติ คือ การเกิด แก เจ็บและตาย รางกายและความงาม
กค็ งตอ งเสือ่ มส้ินไปตามกาลเวลา ฉะน้ันก็อยาไปยึดติดกบั ความสวยงามมากนัก แตควรยึดถือความงาม
ของจิตใจเปน เร่อื งสําคญั เพราะสงิ่ ท่จี ะเหลอื อยใู นโลกน้ีเมื่อความตายมาถงึ คือ ความดี ความชั่วของเรา
เทานั้น ดังพระราชนิพนธของพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในเรื่องกฤษณาสอนนอง
คาํ ฉันทวา
พฤษภกาษร อีกกญุ ชรอันปลดปลง
โททนตเ สนง คง สาํ คญั หมายในกายมี
นรชาติวางวาย มลายสิน้ ท้ังอนิ ทรีย
สถติ ทว่ั แตชวั่ ดี ประดบั ไวใ นโลกา
แนวทางการเขียนเรียงความ
เมื่อไดศึกษาองคประกอบอันจะนําไปใชในการเขียนเรียงความแลว กอนท่ีจะลงมือเขียน
เรยี งความผเู ขยี นตองเลอื กเรือ่ งและประเภทของเรอ่ื งท่จี ะเขียน หลังจากน้ันจึงวางโครงเร่ืองใหชัดเจน
เพ่ือเรียบเรียงเน้ือหา ซึ่งการเรียบเรียงเนื้อหานี้ตองอาศัยความสามารถในการเขียนยอหนาและการ
เช่อื มโยงยอ หนา ใหเ ปน เนือ้ หาเดียวกัน
1. การเลอื กเรอื่ ง
ปญหาสาํ คญั ประการหนึง่ ของผเู ขยี นทีไ่ มสามารถเริ่มตน เขยี นได คือ ไมท ราบจะเขียนเรื่อง
อะไร วิธีการแกปญ หาดงั กลา วคือ หัดเขยี นเร่ืองใกลตัวของผูเขียน หรือเรื่องที่ผูเขียนมีประสบการณดี
รวมท้ังเรื่องท่ีผเู ขยี นมีความรเู ปน อยางดี หรอื เขยี นเรอ่ื งท่สี นใจ เปนเรื่องราวหรือเหตกุ ารณท ี่กาํ ลงั อยใู น
ความสนใจของบคุ คลทัว่ ไป นอกจากนผ้ี เู ขยี นอาจพจิ ารณาองคประกอบ 4 ประการ เพอ่ื เปน แนวทางใน
การตดั สนิ ใจเลอื กเรื่องท่ีจะเขียนดังตอไปน้ี
1.1 กลุมผูอาน ผูเขียนควรเลือกเขียนเร่ืองสําหรับกลุมผูอานเฉพาะและควรเปนกลุม
ผูอานท่ผี เู ขียนรูจกั ดี ท้งั ในดา นการศึกษา ประสบการณ วยั ฐานะ ความสนใจและความเชอื่
1.2 ลักษณะเฉพาะของเร่ือง เร่ืองที่มีลักษณะพิเศษจึงดึงดูดใจใหผูอานสนใจ ลักษณะ
พิเศษดงั กลาว ไดแ ก ความแปลกใหม ความถกู ตองแมนยาํ แสดงความมรี สชาติ
1.3 เวลา เรื่องท่ีจะเขียนหากเปนเร่ืองที่อยูในกาลสมัยหรือเปนปจจุบัน จะมีผูสนใจ
อานมาก สวนเรื่องทพ่ี นสมยั จะมผี ูอา นนอย นอกจากนก้ี ารใหเวลาในการเขยี นของผเู ขียนก็เปนสงิ่ สําคัญ
ถาผูเขียนมีเวลามาก ก็จะมีเวลาคนควาหาขอมูลเพ่ือการเขียนและการอางอิงไดมาก ถาผูเขียนมี
เวลานอ ย การเขยี นดวยเวลาเรง รัดกอ็ าจทาํ ใหเ นือ้ หาขาดความสมบูรณดวยการอา งอิง
54
1.4 โอกาส การเขียนเรือ่ งประเภทใดขึ้นอยูกับโอกาสดวย เชน ในโอกาสเทศกาลและวัน
สาํ คัญทางราชการและทางศาสนา กเ็ ลือกเขียนเรื่องทีเ่ ก่ียวกบั โอกาสหรอื เทศกาลน้นั ๆ เปนตน
2. ประเภทของเร่ืองทีจ่ ะเขียน
การแบงประเภทของเร่อื งทจ่ี ะเขยี นนนั้ พิจารณาจากจุดมุงหมายในการเขยี น ซงึ่ แบงไดเปน
3 ประเภท คือ
2.1 เร่อื งที่เขยี นเพอ่ื ความรู เปนการถายทอดความรูและประสบการณ รวมทั้งหลักการ
ตลอดจนขอเทจ็ จรงิ ตาง ๆ ใชวิธเี ขยี นบอกเลา หรือบรรยายรายละเอียด
2.2 เรื่องที่เขียนเพื่อความเขาใจ เปนการอธิบายใหผูอื่นเขาใจความรู หลักการหรือ
ประสบการณต าง ๆ การเขียนเพอ่ื ความเขา ใจมกั ควบคูไปกบั การเขยี นเพอ่ื ใหเกิดความรู
2.3 การเขียนเพือ่ โนม นา วใจ เปน การเขียนเพอ่ื ใหผูอานเชื่อถือและยอมรับ เพ่ือใหผูอาน
ไดร บั อรรถรสทางใจ ใหส นุกสนาน เพลิดเพลินไปกบั ขอ เขยี นนั้น ๆ
3. การวางโครงเร่อื งกอ นเขยี น
การเขยี นเรียงความเปนการเสนอความคิดตอ ผูอา น ผเู ขียนจึงตองรวบรวมเลือกสรรและจดั
ระเบียบความคดิ แลวนํามาเรียบเรียงเปนโครงเรื่อง การรวบรวมความคิดอาจจะรวบรวมขอมูลจาก
ประสบการณของผูเขียนเอง นําสวนที่เปนประสบการณตรงและประสบการณทางออม ซึ่งเกิดจาก
การฟง การอาน การพูดคุย ซักถาม เปนตน เมื่อไดขอมูลแลวก็นําขอมูลนั้นมาจัดระเบียบความคิด
โดยจัดเรียงลําดับตามเวลา เหตุการณ ความสําคัญและเหตุผล แลวจึงเขียนเปนโครงเร่ือง เพ่ือเปน
แนวทางใหงานเขียนอยูในกรอบ ไมออกนอกเรื่อง และสามารถนํามาเขียนขยายความเปนเน้ือเร่ืองที่
สมบูรณ เขียนช่ือเรื่องไวกลางหนากระดาษ เลือกหัวขอท่ีนาสนใจที่สุดเปนคํานํา และเลือกหัวขอ
ท่นี า ประทับใจที่สดุ เปนสรุป นอกนั้นเปน เน้อื เรอ่ื ง
3.1 ชนิดของโครงเร่ือง
การเขียนโครงเรอ่ื งนิยมเขียน 2 แบบ คือ โครงเรือ่ งแบบหวั ขอและโครงเรอ่ื งแบบประโยค
3.1.1 โครงเรือ่ งแบบหวั ขอ เขยี นโดยใชค ําหรอื วลสี ้ัน ๆ เพอ่ื เสนอประเดน็ ความคิด
3.1.2 โครงเร่ืองแบบประโยค เขยี นเปนประโยคทส่ี มบูรณ โครงเรอ่ื งแบบน้ี
มรี ายละเอียดทชี่ ดั เจนกวา โครงเรอื่ งแบบหวั ขอ
3.2 ระบบในการเขียนโครงเร่อื ง
การแบงหัวขอ ในการวางโครงเร่อื งอาจแบงเปน 2 ระบบ คือ
3.2.1 ระบบตวั เลขและตัวอักษร เปนระบบที่นิยมใชกันทั่วไป โดยกําหนดตัวเลข
หรอื ประเด็นหลกั และตวั อกั ษรสาํ หรับประเด็นรอง ดงั น้ี
1) ................................................................................................
(1) ........................................................................................
(2) ........................................................................................
55
2) ................................................................................................
(1) ........................................................................................
(2) ........................................................................................
3.2.2 ระบบตัวเลข เปน การกําหนดตวั เลขหลักเดียวใหกับประเด็นหลักและตัวเลขสอง
หลกั และสามหลัก ใหก ับประเดน็ รอง ๆ ลงไป ดงั นี้
1) ................................................................................................
(1.1) .....................................................................................
(1.2) .....................................................................................
2) ................................................................................................
(2.1) .....................................................................................
(2.2) .....................................................................................
3.3 หลกั ในการวางโครงเรื่อง
หลักในการวางโครงเร่ืองน้ันควรแยกประเด็นหลักและประเด็นยอจากกันใหชัดเจน
โดยประเดน็ หลักทุกขอควรมีความสําคัญเทากัน สวนประเด็นยอยจะเปนหัวขอที่สนับสนุนประเด็นหลัก
ทัง้ นี้ ทกุ ประเดน็ ตอ งตอ เนื่องและสอดคลอ งกนั จงึ จะเปนโครงเรื่องท่ดี ี
ตวั อยางโครงเร่อื งแบบหวั ขอ
เรือ่ ง ปญหาการติดยาเสพตดิ ของวยั รุนไทย
1. สาเหตขุ องการติดยาเสพตดิ
ก. ตามเพ่อื น
ข. การหยารางของบิดา มารดา
ค. พอแมไ มม ีเวลาใหล ูก
ง. การบงั คบั ขเู ขญ็
2. สภาพปญ หาของการตดิ ยาเสพติดของวยั รนุ ไทย
ก. จาํ นวนผูต ิดยา
ข. การกออาชญากรรม
ค. การคา ประเวณี
3. แนวทางการแกไ ขปญหา
ก. การสรางภูมติ านทานในครอบครัว
ข. การสรางชมุ ชนใหเ ขม แข็ง
ค. กระบวนการบาํ บดั รักษาแบบผสมผสาน
56
ตวั อยางโครงเรอื่ งแบบประโยค
เรื่อง ปญหาการตดิ ยาเสพติดของวยั รนุ ไทย
1. สาเหตขุ องการติดยาเสพตดิ มหี ลายสาเหตุท้ังสาเหตุทเี่ กิดจากตัวเองและจากส่ิงแวดลอม
ก. เสพตามเพ่ือน เพราะความอยากลอง คิดวาลองครง้ั เดียวคงไมต ิด
ข. บิดา มารดา หยารา งกนั ลูกตองอยกู ับฝายใดฝา ยหนึ่งทําใหร สู กึ วา เหว เหงา และเศราลึก ๆ
ค. พอแมใหเ วลากับการทํางานหาเงินและการเขาสังคม ไมมเี วลาใหค รอบครวั
ง. ในโรงเรยี นมีกลมุ นกั เรยี นทท่ี ้งั เสพและคา ยาเสพติดเอง ใชก ําลังขม ขูบีบบงั คับใหซอื้ ยา
2. สภาพปญหาของการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รนุ ไทย
ก. จาํ นวนวัยรนุ ที่ติดยาเสพตดิ ในปจ จบุ นั มีจํานวนเพมิ่ ข้นึ อยา งรวดเร็ว
ข. ปญ หาทตี่ ามมาของการตดิ ยาเสพติด คือ การกอ อาชญากรรมทกุ ประเภท
ค. ในหมูวัยรนุ หญิงท่ีติดยาเสพตดิ มกั ตกเปน เหย่อื ของการคาประเวณใี นทส่ี ดุ
3. แนวทางการแกไ ขปญหา
ก. การใหความรกั ความอบอนุ และความเอ้ืออาทร รวมทงั้ การมีเวลาใหก บั คนใน
ครอบครวั เปน ภูมติ านทานปญหายาเสพตดิ ไดอยา งดี
ข. การทําใหค นในชุมชนรกั ชมุ ชน ชว ยเหลือแกป ญ หาในชมุ ชนจะเปน เกราะปองกันปญหา
ยาเสพติดไดอ ยางดี เพราะเขารวมกนั สอดสอ งดแู ลปองกนั ชมุ ชนของตนเองจาก ยาเสพตดิ
ค. สังคมใดทม่ี ผี ูค นสนใจใฝรู ใฝแสวงหาขอ มลู ขา วสาร ผูค นจะมคี วามรูเ พียงพอทจ่ี ะพาตวั
ใหพน จากภัยคุกคามทุกรปู แบบดว ยปญ ญาความรทู ี่มี
ง. กระบวนการบําบดั ผตู ิดยามิใหกลับมาติดใหม ทําไดดวยการใหการรักษาทางยาควบคู
กบั การบาํ บดั ทางจติ ใจ ดว ยการใชการปฏิบตั ทิ างธรรม ซึ่งจะเปนภูมติ านทานทางใจท่ถี าวร
4. การเขยี นยอหนา
การยอ หนา เปน สง่ิ จาํ เปน อีกอยา งหน่ึง เพราะจะชวยใหผ อู า น อานเขา ใจงายและอา นไดเรว็
มชี องวางใหไ ดพ กั สายตา ผูเขียนเรยี งความไดดีตองรูหลักในการเขยี นยอ หนา และนํายอหนาแตละหนา
มาเชอื่ มโยงใหสัมพันธก ัน ในยอหนา หน่ึง ๆ ตองมีสาระเพียงประการเดียว ถาจะข้ึนสาระสําคัญใหม
ตองขึ้นยอหนาใหม ดังน้ัน การยอหนาจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับสาระสําคัญที่ตองการเขียนถึง
ในเน้อื เรื่อง แตอ ยางนอ ยการเขียนเรยี งความตอ งมี 3 ยอ หนา คือ ยอ หนาท่ีเปนคํานาํ เน้ือเรือ่ งและสรปุ
4.1 สวนประกอบยอ หนา
1 ยอหนา ประกอบดวย ประโยคใจความสําคัญและประโยคขยายใจความสําคัญ
หลาย ๆ ประโยค มาเรยี บเรียงตอ เนือ่ งกนั
4.2 ลักษณะของยอ หนาทดี่ ี
ยอ หนาที่ดคี วรมลี กั ษณะ 3 ประการ คอื เอกภาพ สมั พันธภาพ และสารัตถภาพ
1. เอกภาพ คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มีประโยคใจความสําคัญในยอหนา
เพยี งหน่งึ สว นขยายหรือสนับสนุนตองกลา วถงึ ใจความสาํ คญั น้ัน ไมกลาวนอกเรอ่ื ง
57
2. สัมพันธภาพ คือ การเรียบเรียงขอความในยอหนาใหเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน
มีการลําดบั ความอยา งมรี ะเบยี บ นอกจากน้ี ยังควรมีความสมั พันธก บั ยอ หนา ทีม่ มี ากอนหรือยอ หนาที่
ตามมาดวย
3. สารัตถภาพ คือ การเนนความสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเร่ือง
ท้ังหมดโดยใชประโยคส้ัน ๆ สรุปกินความทั้งหมด อาจทาํ ไดโดยการนําประโยคใจความสําคัญมาไว
ตอนตนหรือตอนทา ย ยอหนา หรือใชส รุปประโยคหรอื วลีทมี่ ีลักษณะซํ้า ๆ กัน
5. การเชอ่ื มโยงยอหนา
การเชือ่ มโยงยอหนา ทําใหเกิดสัมพันธภาพระหวางยอหนา การเรียงความเรื่องหนึ่งยอม
ประกอบดวยหลายยอหนา การเรียงลาํ ดับยอหนาตามความเหมาะสมจะทําใหขอความเก่ียวเนื่องเปน
เร่ืองเดยี วกัน วธิ ีการเชื่อมโยงยอ หนาแตล ะยอ หนาก็เชน เดยี วกบั การจดั ระเบยี บความคิดในการวางโครง
เรื่อง ซึง่ มีดว ยกัน 3 วธิ ี คอื
5.1 การลาํ ดบั ยอ หนาตามเวลา อาจลําดับตามเวลาในปฏิทนิ หรอื ตามเหตุการณท่เี กิดขึ้น
กอ นไปยงั เหตกุ ารณท ีเ่ กดิ ขึน้ ภายหลงั
5.2 การลําดับยอหนาตามสถานที่ เรียงลําดับขอมูลตามสถานท่ีหรือตามความเปนจริง
ที่เกดิ ขนึ้
5.3 การลําดบั ยอหนา ตามเหตผุ ล อาจเรยี งลาํ ดับจากเหตุไปหาผล หรอื ผลไปหาเหตุ
6. สาํ นวนภาษา
6.1 ใชภาษาใหถูกหลักภาษา เชน การใชลักษณะนาม ปากกาใชวา “ดาม” รถใชวา
“คนั ” พระภกิ ษุใชวา “รูป” เปนตน นอกจากนี้ไมควรใชสาํ นวนภาษาตางประเทศ เชน
ขณะท่ีขาพเจา จับรถไฟไปเชียงใหม ควรใชว า ขณะทข่ี า พเจา โดยสารรถไฟไปเชยี งใหม
บิดาของขา พเจา ถูกเชญิ ไปเปน วทิ ยากร ควรใช บดิ าของขาพเจา ไดร บั เชิญไปเปนวิทยากร
6.2 ไมค วรใชภ าษาพูด เชน ดจี ัง เมอ่ื ไหร ทาน ฯลฯ ควรใชภาษาเขยี น ไดแก ดีมาก เม่ือไร
รับประทาน
6.3 ไมควรใชภ าษาแสลง เชน พน ฝอย แจวอาว สดุ เหว่ยี ง ฯลฯ
6.4 ควรหลกี เล่ยี งการใชคําศพั ทยากท่ีไมจ าํ เปน เชน ปริเวทนากร ฯลฯ ซ่ึงมีคําที่งายกวา
ท่ีควรใชคือคําวา วิตก หรือใชคําที่ตนเองไมทราบความหมายท่ีแทจริง เชน บางคนใชคําวาใหญโต
รโหฐาน คาํ วา รโหฐาน แปลวา ทล่ี ับ ทถ่ี ูกตองใช ใหญโ ตมโหฬาร เปน ตน
6.5 ใชค ําใหถ กู ตอ งตามกาลเทศะและบุคคล เชน คาํ สุภาพ คําราชาศัพท เปนตน
6.6 ผูกประโยคใหก ระชับ รดั กุม เชน “ถา เจาเดินชาเชนนี้ เมื่อไรจะไปถึงท่ีที่จะไปสักที”
ควรใชใหก ระชบั วา “ถาเจา เดินชาเชนนี้เมือ่ ไรจะไปถึงท่ีหมายสกั ท”ี หรอื ประโยควา “อนั ธรรมดาคนเรา
เกดิ มาในโลกน้ี บา งกเ็ ปนคนดี บา งก็เปน คนช่วั ” ควรใชว า “คนเรายอ มมที งั้ ดแี ละช่ัว” เปน ตน
58
7. การใชห มายเลขกํากบั
หวั ขอ ในเรยี งความจะไมใชหมายเลขกํากับ ถาจะกลาวแยกเปนขอ ๆ จะใชวา ประการที่
1........ประการที่ 2.............หรือประเภทท่ี 1..............ประเภทท่ี 2.............แตจะไมใชเปน
1............2............เรียงลาํ ดับ แบบการเขียนท่วั ไป
8. การแบงวรรคตอนและเคร่อื งหมายวรรคตอน
เคร่ืองหมายวรรคตอน เชน มหพั ภาค ( . ) อัฒภาค (; ) จลุ ภาค ( , ) น้นั ไทยเลียนแบบฝรั่งมา
จะใชหรือไมใชก็ได ถาใชตองใชใหถูกตอง ถาไมใชก็ใชแบบไทยเดิม คือ การเวนวรรคตอนโดยเวน
เปนวรรคใหญ วรรคนอย ตามลกั ษณะประโยคทใี่ ช
9. สาํ นวนกับโวหาร
สํานวนกับโวหารเปนคาํ ท่ีมีความหมายอยา งเดียวกันนาํ มาซอ นกัน หมายถงึ ช้ันเชิง
ในการเรยี บเรยี งถอยคาํ ในการเขียนเรียงความสํานวนโวหารที่ใชมี 5 แบบ คือ
9.1 แบบบรรยาย หรือท่ีเรียกกันวาบรรยายโวหาร เปนโวหารเชิงอธิบายหรือเลาเร่ือง
อยางถ่ีถวนโวหารแบบนี้เหมาะสําหรับเขียนเร่ืองประเภทใหความรู เชน ประวัติ ตํานาน บันทึก
เหตุการณ ฯลฯ ตัวอยาง บรรยายโวหาร เชน
“ขณะทเ่ี ราขบั รถขึน้ เหนอื ไปนครวัด เราผา นบานเรอื นซ่ึงประดับดวยธงสีนํ้าเงินและสีแดง
ไวนอกบา น เราไปหยดุ ที่หนา วดั ซึ่งประตูทางเขา ตกแตง ดวยดอกไมและเครอื เถาไม ในเขตวัด พระสงฆ
หม จวี รสสี ม สนทนาปราศรัยกบั ผคู นทไี่ ปนมัสการอยใู นปะราํ ไมปลูกขน้ึ เปนพิเศษ ความประสงคที่เราไป
หยุดที่วัดก็เพื่อกอพระทรายอันเปนเร่ืองที่สําคัญท่ีสุดในวันขึ้นปใหมตามศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
การกอพระทรายเปนพิธีบุญ อธิษฐานขอพรอยางหนึ่ง งานเทศกาลน้ีเปนเวลาที่วัดทุก ๆ วัด จะตอง
เก็บกวาดใหสะอาดท่ีสุด มีการสรงน้ําพระพุทธรูปเปนประจําปเพ่ือขอใหฝนตกโดยเร็ว” จาก สมโรจน
สวัสดกิ ุล ณ อยธุ ยา “วันปใ หมท นี่ ครวัด” งานเทศกาลในเอเชีย เลม 1 โครงการความรวมมือทางดาน
การพิมพ ชดุ ที่ 2 ศนู ยว ฒั นธรรมแหง เอเชียของยูเนสโก
9.2 แบบพรรณนา หรือที่เรียกวา พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กลาวเปนเรื่องราว
อยา งละเอียดใหผ ูอา นนกึ เห็นเปน ภาพ โดยใชถอ ยคาํ ที่ทําใหผ ูอา นเกิดภาพในใจ มโนภาพขนึ้ โวหาร
แบบนี้สําหรบั ชมความงามของบา นเมือง สถานท่ี บุคคล เกยี รตคิ ณุ คณุ ความดีตาง ๆ ตลอดจนพรรณนา
อานุภาพของกษตั รยิ และพรรณนาความรูสึกตาง ๆ เชน รกั โกรธ แคน ริษยา โศกเศรา เปนตน ตัวอยา ง
พรรณนาโวหาร เชน
“เมื่อถึงตอนนํ้าต้ืนพวกฝพายตางชวยกันถอ ทางน้ําคอ ยกวางออกไปเปนหนองน้ําใหญ
แตนาํ้ สงบนิง่ นาประหลาด ปารนแนวไปจากริมหนองปลอยใหตนหญาสีเขียวจําพวกออคอยรับแสง
สะทอนสีน้ําเงินแกจากทองฟา ปุยเมฆสีมวงลอยไปมาเหนือศีรษะทอดเงาลงมาใตใบบัวและดอกบัว
สีเงิน เรือนเล็กหลังหน่งึ สรางไวบนเสาสูง แลดูดําเม่ือมมาแตไกล ตัวเรือนมีตน ชะโอนสองตน
ซึ่งดูเหมือนจะข้ึนอยูในราวปาเบอ้ื งหลัง เอนตนลงเหนือหลังคา ท้ังตนและใบคลายจะเปนสัญญาณ
วามีความเศราโศกสุดประมาณ”
จากทองสุก เกตุโรจน “ทะเลใน” แปลและเรียบเรียงจากเรอื่ ง “The Lagoon”
ของ Joseph Conrad การเขยี นแบบสรา งสรรค มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2519
59
9.3 แบบอุปมา หรือท่ีเรียกวาอุปมาโวหาร คือ โวหารที่ยกเอาขอความมาเปรียบเทียบ
เพือ่ ประกอบความใหเดน ชดั ขน้ึ ในกรณีทีห่ าถอยคํามาอธิบายใหเ ขาใจไดย าก เชน เร่อื งที่เปนนามธรรม
ท้ังหลาย การจะทําใหผอู า นเขาใจเดน ชดั ควรนําสงิ่ ท่ีมีตวั ตนหรือสิง่ ท่คี ิดวา ผูอานเคยพบมาเปรยี บเทียบ
หรอื อาจนํากริ ยิ าอาการของส่งิ ตา ง ๆ มาเปรยี บเทียบก็ได เชน เย็นเหมือนน้ําแข็ง ขาวเหมือนด่ังสําลี
ไวเหมือนลิง บางทีอาจนําความรูสึกท่ีสัมผัสไดทางกายมาเปรียบเทียบเปนความรูสึกทางใจ เชน
รอนใจดังไฟเผา รักเหมือนแกวตา เปนตน โวหารแบบนี้มักใชแทรกอยูในโวหารแบบอื่น ตัวอยาง
อุปมาโวหาร เชน ความสวยเหมอื นดอกไม เม่ือถงึ เวลาจะรว งโรยตามอายขุ ยั แตความดีเหมือนแผนดิน
ตราบใดท่ีโลกดํารงอยู ผืนดินจะไมมีวันสูญหายไดเลย ความดีจึงเปนของคูโลก และถาวรกวาความสวย
ควรหรอื ไมถ า เราจะหันมาเทิดทูนความดีมากกวาความสวย เราจะไดท าํ แตส ่งิ ทีถ่ ูกเสยี ที
9.4 แบบสาธก หรือสาธกโวหาร สาธก หมายถึง ยกตัวอยางมาอางใหเห็น สาธกโวหาร
จึงหมายถึงโวหารที่ยกตัวอยางมาประกอบอาง เพื่อใหผูอานเขาใจเร่ืองไดชัดเจนขึ้น ตัวอยางท่ียกมา
อาจจะเปนตัวอยา งบุคคล เหตุการณห รอื นทิ าน โวหารแบบนี้มักแทรกอยูโวหารแบบอื่น เชนเดียวกับ
อุปมาโวหาร ตวั อยาง สาธกโวหาร เชน
“....พึงสังเกตการบูชาในทางทผ่ี ดิ ใหเ กดิ โทษ ดังตอ ไปนี้
ในสํานักอาจารยท ิศาปาโมกข เมืองตักศิลา มีเด็กวัยรุนเปนลูกศิษยอยูหลายคน เรียนวิชา
ตางกันตามแตเขาถนัด มีเด็กวัยรุนคนหน่ึงช่ือ สัญชีวะ อยูในหมูน้ันเรียนเวทยมนตเสกสัตวตาย
ใหฟนคนื ชีพไดตามธรรมเนยี มการเรียนเวทยมนตตองเรยี นผกู และเรียนแกไปดวยกัน แตเขาไมไดเรียน
มนตแ ก”
มาวันหนึ่ง สัญชีวะกับเพ่ือนหลายคนพากันเขาปาหาฟนตามเคย ไดพบเสือโครงตัวหน่ึง
นอนตายอยู “น่ีแนะเพอ่ื น เสอื ตาย” สัญชีวะเอยขึ้น “ขาจะเสกมนตใหเสือตัวน้ีฟนคืนชีพขึ้นคอยดูนะ
เพอื่ น” “แนเทียวหรอื ” เพอื่ นคนหนึง่ พูด “ลองปลกุ มันใหคืนชีพลุกข้ึนดูซิ ถาเธอสามารถ” แลวเพื่อน ๆ
คน อนื่ ๆ ปน ขึน้ ตนไมค อยดู “แนซ ีนา” สัญชวี ะยืนยนั แลว เริม่ รายมนตเสกลงทร่ี า งเสือ
พอเจาเสือฟนคืนชีพขึ้นยืนรูสึกหิว มองเห็นสัญชีวะพอเปนอาหารแกหิวได จึงสะบัดแยกเข้ียวอวด
สญั ชวี ะและคาํ รามว่ิงปราดเขา กัดกา นคอสัญชวี ะลม ตายลง
เม่ืออาจารยไดทราบขาวก็สลดใจและอาลัยรักในลูกศิษยมาก จึงเปลงอุทานขึ้นวา
“นี่แหละผลของการยกยองในทางท่ผี ดิ ผยู กยองคนเลวราย ยอมรับนบั ถอื เขาในทางมิบังควรตองไดรับ
ทุกขถ งึ ตายเชน นีเ้ อง”
จาก ฐะปะนีย นาครทรรพ การประพันธ ท 041 อักษรเจริญทศั น 2519 หนา 9
9.5 แบบเทศน หรือเทศนาโวหาร คอื โวหารท่ีอธิบายชี้แจงใหผูอานเช่ือถือตาม โดยยก
เหตผุ ลขอ เท็จจรงิ อธิบายคณุ โทษ แนะนาํ สั่งสอน ตัวอยา งเชน
“คนคงแกเรียนยอมมีปรีชาญาณ ฉลาดคิด ฉลาดทํา ฉลาดพูดและมีความรูสึกสูง
สาํ นกึ ในผดิ ชอบชั่วดี ไมก ลาทําในส่ิงทผ่ี ิดทช่ี ั่ว เพราะรสู กึ ละอายขวยเขนิ แกใ จและรสู กึ สะดุงหวาดกลัว
ตอผลรายอันพึงจะไดร บั รสู ึกอ่ิมใจในความถูกตอง รสู ึกเสยี ใจในความผิดพลาด และรูเทาความถูกตอง
60
นัน้ วา มไิ ดอยูท ่ีดวงดาวประจําตัว แตอยูท่ีการกระทําของตัวเอง พึงทราบวา ความฉลาดคิด ฉลาดทํา
ฉลาดพูดและความรูสึกสงู ทําใหค ดิ ดี ท่ีจรงิ และคิดจริงท่ีดี ทาํ ดที จี่ ริง ทาํ จริงทีด่ ี และพดู ดีทจี่ รงิ พูดจรงิ ทด่ี ี
นี่คือวิธีจรรยาของคนแกเรียน
จากฐะปะนยี นาครทรรพ การประพนั ธ ท 041 อักษรเจริญทัศน 2519 หนา 8
โวหารตา ง ๆ ดงั กลาว เมือ่ ใชเขยี นเรียงความเรอื่ งหน่ึง ๆ ไมไ ดหมายความวาจะใชเพียงโวหาร
ใดโวหารหนึ่งเพียงโวหารเดียว การเขียนจะใชหลาย ๆ แบบประกอบกันไป แลวแตความเหมาะสม
ตามลกั ษณะเน้อื เรอ่ื งทีเ่ ขียน
การเขยี นเรียงความเปนศิลปะ หลกั การตา ง ๆ ทว่ี างไมไ ดเปนหลกั ตายตวั ตวั อยา ง คณติ ศาสตร
วิทยาศาสตร ดังนั้น จึงเปนเพียงแนวปฏิบัติและขอเสนอแนะ ในการเขียนอาจพลิกแพลงได
ตามความเหมาะสมที่เหน็ สมควร
ตวั อยาง เรียงความเร่ือง สามเสา
ครวั ไทยแตก อนครัง้ หุงขา วดว ยฟน นนั้ มีส่ิงสําคัญอยางหน่ึง คือ กอนเสา เรายังหาครัวอยางน้ี
ดไู ดในชนบท กอ นเสา น้นั อาจเปน ดนิ หรอื กอ นหนิ มสี ามกอนตัง้ ชนกันมีชองวางสําหรับใสฟน กอนเสา
สามกอ นนี้เองเปน ท่ีสาํ หรับตงั้ หมอ ขา วหมอ แกงอันเปนอาหารประจําชีวิตของคนไทย ดู ๆ ไปกอนเสา
สามกอนน้ันก็เปนสัญลักษณของชาติไทย เพราะชาติไทยแตไหนแตไรก็ตั้งอยูบนกอนเสาสามกอนนั้น
มีชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย พระพุทธศาสนาก็ประกอบดวยกอนเสาสามกอน คือ พระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ
กอ นเสา สามกอนหรือสามเสานี้ เม่ือคิดไปอีกทีก็เปนคติอันดีท่ีเรานาจะยึดเปนเคร่ืองเตือนใจ
ภาษิตจีนมีวา คนเราจะมีชีวิตมั่นคง จะตองน่ังบนมาสามขา มาสามขาตามภาษิตจีนนั้น หมายถึง
สง่ิ สาํ คัญสามอยา งท่พี ยงุ ชวี ิตเรา ส่งิ สําคญั นั้นจะเปนอะไรก็ไดแ ตตองมีสามขา ถามเี พียงสองชีวติ กย็ งั
ขาดความม่ันคง ภาษิตจีนน้ีฟงคลาย ๆ “สามเสา” คือวาชีวิตของเราต้ังอยูบนกอนสามกอน จึงมี
ความม่ันคง
ก็กอนเสาทง้ั สามสาํ หรบั ชวี ิตนี้คอื อะไร ตา งคนอาจหากอนเสาท้ังสามสําหรบั ชีวติ ของตัวเองได
บางทานอาจยึดพระไตรลักษณ คือ ความทุกข 1 ความไมเท่ียง 1 และความไมใชตัวของเรา 1
เปนการยึดเพื่อทาํ ใจมิใหชอกช้ําขุนมัวในยามท่ีตกทุกขไดยาก หรือจะใชเปนเครื่องเตอื นมใิ หเ กดิ
ความทะเยอทะยานตน ทาํ ลายสนั ตสิ ขุ ของชวี ติ ก็ได บางคนยดึ ไตรสิกขาเปนกอนเสา ท้งั สามแหง การยัง
มชี วี ิต คอื ศลี สมาธิ ปญ ญา เปน หลกั
การเขียนยอความ คือ การเก็บใจความสําคัญของเร่ืองที่อานหรือฟงมาเรียบเรียงใหม
อยา งยอ ๆ โดยไมท าํ ใหส าระสาํ คัญของเร่ืองนั้นคลาดเคล่ือน หรือขาดหายไป
การยอ ความเปนวธิ ีการหนึ่งทีช่ ว ยใหเ ราบนั ทกึ เรอื่ งราวตา ง ๆ ที่ไดอานหรือฟงมานนั้ ไวโดยยอ ๆ
โดยเก็บรวบรวมไวเพื่อมิใหหลงลืม หรือเพ่ือนําเรื่องที่บันทึกไวน้ันไปใชในโอกาสตาง ๆ นอกจากน้ัน
การยอ ความยงั ชวยใหถายทอดเร่อื งราวตอ ไปยังผอู นื่ ไดถ ูกตอ งรวดเร็วอีกดว ย
61
หลักการยอ ความ
การยอ ความมีหลกั การทวั่ ไป ดังตอไปนี้
1. ยอความตามรปู แบบการยอความแบบตาง ๆ กาํ หนดไวใ นหัวขอ แบบการยอความ
2. อานเรอ่ื งราวทจ่ี ะยออยา งนอย 2 เที่ยว เทีย่ วแรกจับใจความใหไดวา เรอื่ งอะไร หรอื ใครทํา
อะไรที่ไหน อยางไร เทย่ี วทีส่ องจับใจความใหละเอยี ดข้นึ และพิจารณาวา อะไรเปน ใจความสําคัญ อะไร
เปนใจความประกอบหรือพลความ หรือขอความทเ่ี สริมแตงใจความสําคัญใหเดนชัด ชัดเจน อะไรเปน
กลวิธีการแตงถาจบั ใจความไมไดใ หอ า นอีกจนกวาจะสามารถจับใจความสําคญั ได
3. พิจารณาเกบ็ เฉพาะใจความสาํ คัญ หรือเกบ็ ใจความประกอบท่ีจาํ เปน
4. นาํ เฉพาะใจความทเี่ ก็บไวม าเรียบเรยี งใหมด วยภาษาของตนเองตามรูปแบบทกี่ ําหนด
5. ความสัน้ ยาวของการยอความไมสามารถกําหนดเปนอัตราสวนได ข้นึ อยูกบั จุดประสงคของ
การยอและลักษณะของเรื่องที่ยอ ลักษณะของเรื่องก็คือ เร่ืองใดที่มีใจความประกอบมากถาเราเก็บ
เฉพาะใจความสําคัญก็ยอไดสั้น ถาเก็บใจความประกอบที่จําเปนดวย อัตราสวนความยาวจะเพิ่มข้ึน
ดงั นน้ั จึงไมมีเกณฑก าํ หนดเรือ่ งอตั ราสว นของยอความ
6. เปลี่ยนคําสรรพนามจากบุรุษที่ 1 บุรุษท่ี 2 เปนบุรุษท่ี 3 เพราะผูยอทําหนาที่เลาตอและ
เครอ่ื งหมายใด ๆ ที่มีอยูในขอความเดิม จะไมใชในยอความ เชน มาลีพูดวา “พอมาแลว” เปลี่ยนเปน
เธอพดู วาพอ มาแลว คอื ใหย อ รวมกนั ไป ไมแยกกลาวหรือขน้ึ บรรทัดใหม
7. ใชถอยคาํ ภาษางาย ๆ ไดใจความชดั เจน เชน อันมวลบุปผามาลอี ยใู นไพรสนฑเ ปลีย่ นเปน
ดอกไมอยใู นปา แตถามคี าํ ราชาศัพทยงั คงใชอยู
8. เลอื กใชคําไดความหมายครอบคลุม เชน เพื่อกลาวถึงหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ควรใช
คําวา “สื่อสารมวลชน” แทน หรือเม่ือกลาวถึงสมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบรรทัด ควรใชคําวา
“เครือ่ งเขยี น” แทน เปน ตน
9. ไมใ ชอ กั ษรยอ หรอื คาํ ยอ เวนแตอ กั ษรยอ หรือคาํ ยอนัน้ เปนท่เี ขาใจและยอมรับใชก ันท่ัวไป
แลว เชน พ.ศ. ร.ส.พ. ส.ป.อ. ฯลฯ
10. ขอความที่ยอแลวใหเขียนตอเนื่องกันโดยใชคําเชื่อม เพื่อใหความกระชับไมเยิ่นเยอ
แตขอ ความทไ่ี มสัมพันธกนั ใหย อ หนาเปนตอน ๆ
11. การยอความเปนรอยกรอง ก็ใชวิธีเดียวกับรอยแกว แตเปล่ียนขอความจากรอยกรอง
เปนรอ ยแกวธรรมดากอ น
รูปแบบการเขยี นยอ ความ
เรือ่ งทีจ่ ะยอ มหี ลายรปู แบบ เชน บทความ จดหมาย โอวาท ฯลฯ แตละรูปแบบมีแบบ
การขึ้นตนเฉพาะ ดงั ตอ ไปน้ี
62
1. แบบของบทความ สารคดี ตํานาน นิทาน นยิ าย เร่ืองสัน้ ฯลฯ
ยอ (บทความ สารคดี ตาํ นาน นิทาน นยิ าย เร่อื งส้นั ) เรอื่ ง ........................................................
ของ ..................(ผแู ตง ) ..............................จาก........................(แหลง ทีม่ า).................................ความวา
(ขอความ)......................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
2. แบบของจดหมาย สาสน หนังสือราชการ
ยอ (จดหมาย สาสน หนงั สอื ราชการ) ฉบบั ท่.ี ............................ของ............................................
..........................................................ลงวนั ท่ี ความวา................................................................................
(ขอ ความ)......................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3. แบบของประกาศ แจง ความ แถลงการณ ระเบียบคําสั่ง ฯลฯ
ยอ (ประกาศ แจง ความ แถลงการณ ระเบยี บคาํ สง่ั ) เรอ่ื ง .........................................................
ของ.........................................ลงวันท่ี .....................................................ความวา
(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4. แบบของขา ว
ยอ ขา วเร่อื ง...................................................จาก........................................................................
ลงวันท.ี่ .................................................ความวา........................................................................................
(ขอความ) ....................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
63
5. แบบของโอวาท คําปราศรัย สุนทรพจน
ยอ (โอวาท คําปราศรยั สุนทรพจน) ของ................................แก. ..............................................
.......................เนื่องใน......................(โอกาส)...................................................ที.่ .......................................
ณ วนั ที.่ .................................................................................ความวา
(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
6. แบบปาฐกถา คาํ สอน คําบรรยาย ถอยแถลง
ยอ (ปาฐกถา คาํ สอน คําบรรยาย ถอยแถลง) ของ.....................................................................
เรือ่ ง.....................................................................แก. ..........................................ท.ี่ ....................................
...........................ณ วันท.ี่ .........................................เวลา..................................ความวา
(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
7. แบบพระบรมราโชวาท เทศนา
ยอ (พระบรมราโชวาท เทศนา) ใน..................................................................พระราชทานแก
...................................................................ใน..........................................ท่ี..............................................
ณ วันที.่ ....................................ความวา
(ขอความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
8. แบบทเ่ี ปน รอยกรอง ใหถ อดเปน รอ ยแกวกอ นแลว ยอ ตามรปู แบบ คอื
ยอ กลอนสภุ าพ (หรอื รอ ยกรองแบบอน่ื ทยี่ อ ) เรอ่ื ง......................................................................
ตอน................................................................ความวา
(ขอความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
64
9. ความเรยี งท่ีตดั ตอนมา
ยอ เร่ือง...............................ของ..............................คดั จากเรือ่ ง .................................................
................................จากหนงั สือ........................................................................ความวา
(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอความทย่ี อถาเรือ่ งเดมิ ไมมชี ่ือเรอ่ื งใหต ง้ั ชอื่ เร่อื งใหตรงกับความสําคญั ของเรือ่ งนนั้ ๆ
ตวั อยางยอ ความ
(รอ ยแกว)
เรอ่ื ง
เปรียบเทียบนามสกลุ กบั ชอื่ แซ
คนเรายังมีอยูเปนอันมาก ซ่ึงยังมิไดสังเกตวา นามสกุลกับช่ือแซของจีนนั้นผิดกันอยางไร
ผทู ่ีแลดูแตเผิน ๆ หรือซึ่งมิไดเอาใจใสสอบสวนในขอน้ี มักจะสําคัญวาเหมือนกันและมีพวกจีนพวก
นิยมจีนพอใจจะกลาววา การทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชปรารภออกพระราชบัญญัติ
นามสกุลขน้ึ น้ัน โดยทรงพระราชนิยมตามประเพณีชื่อแซของจีน ซ่ึงถาจะตรองดูก็จะเห็นวาคงจะไม
เปน เชน น้ันโดยเหตุทีจ่ ะอธบิ ายตอไปนี้
แซของจนี นน้ั ตรงกับ “แคลน” ของพวกสกอ ตคอื เปน คณะหรอื พวก หรือถาจะเทียบทาง
วดั กค็ ลา ยสํานัก เชน ท่ีเราไดยินเขากลา ว ๆ กนั อยูบ อย ๆ วา คนน้ันเปนสํานักวัดบวรนิเวศ คนน้ีเปน
สํานักวัดโสมนัส ดังนี้เปนตัวอยาง สวนสกุลนั้นตรงกับคําอังกฤษวา “แฟมิลี่” ขอผิดกันอันสําคัญ
ในระหวางแซกับนามสกุลนั้นก็คือ ผูรวมแซไมไดเปนญาติสายโลหิตกันก็ได แตสวนที่รวมสกุลน้ัน
ถาไมไดเ ปนญาติสายโลหติ ตอกันโดยแทแลวก็รวมสกุลกันไมได นอกจากท่ีจะรับเปนบุตรบุญธรรมเปน
พเิ ศษเทานน้ั
ตดั ตอนจากเรื่องเปรียบเทยี บนามสกลุ กบั แซ จากหนงั สอื ปกิณกคดี พระราชนพิ นธ ของ
พระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดศี รสี ินทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกลา เจาอยหู วั
ศิลปบรรณาคาร 2515 หนา 75 - 76
65
การยอ ความจะเก็บเฉพาะใจความสําคญั และใจความประกอบทีจ่ าํ เปน บางสว นเพ่อื ใหใ จความ
ยอ ความสมบรู ณ
ยอหนาที่ 1 ใจความสาํ คัญวา “คนเรายงั มีอยเู ปน อันมาก ซง่ึ ยังมิไดสังเกตวานามสกลุ กับ
ช่อื แซของจีนนนั้ ผดิ กนั อยางไร” นอกน้นั เปนใจความประกอบ
ใจความประกอบยอ หนานไ้ี มเ กบ็ เพราะเห็นวาไมจาํ เปน เนื่องจากใจความสําคัญสมบูรณที่จะ
นําไปยอ ไดอ ยูแลว
ยอ หนา ที่ 2 ใจความสําคญั “ขอผดิ กนั อันสําคญั ในระหวางแซกับนามสกุลน้ันก็คือ ผูรวมแซ
ไมไดเปน ญาติสายโลหิตกนั กไ็ ด แตผ ูร ว มสกลุ น้นั ถา ไมไ ดเปน ญาตสิ ายโลหิตตอกนั โดยแทแ ลวกร็ ว มสกุล
กันไมไ ด”
ใจความประกอบท่ีจําเปนท่ีควรเก็บเพ่ือเสริมใจความสําคัญใหยอความไดใจความสมบูรณ
ครบถว น คอื
“แซข องจีนเปน คณะหรอื พวก หรอื ถา จะเทยี บทางวดั ก็คลา ยสํานกั ”
“..............นอกจากที่จะรับเปนบุตรบญุ ธรรมเปน พิเศษเทา นน้ั ”
เม่อื ไดศึกษาหลักการยออ่ืน ๆ ครบถวนกับดูรูปแบบการยอที่ใชแลว นําใจความที่เก็บไวมา
เรียบเรียงใหมดวยถอยคําของตนเอง รูปแบบการยอเปนความเรียงที่ตัดตอนมา ดังนั้น จึงเขียน
ยอ ความไดดงั น้ี
ยอเรอ่ื ง เปรียบเทยี บนามสกลุ กบั ช่อื แซ ของพระบาทสมเดจ็ พระมหารามาธิบดีศรสี ินทรมหา
วชิราวธุ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู วั คัดจากเรือ่ งเปรียบเทียบนามสกลุ กบั ชอ่ื แซ จากหนังสอื ปกณิ กคดี
ความวา
มีคนจาํ นวนมากไมไ ดส ังเกตวา นามสกลุ กับแซของจีนนั้นตางกัน ผูรวมแซของจีนไมไดเปนญาติ
สายโลหติ กนั ก็ได แตเปนคณะหรือพวกเหมือนสํานักวัดหน่ึง สวนรวมสกุลตองเปนญาติสายโลหิตกัน
โดยแทเทาน้ัน หรือไมเ ชน นนั้ ก็ตองเปนบตุ รบญุ ธรรมที่รับไวเ ปน พเิ ศษ
ถา เปน การยอท่มี งุ เกบ็ เฉพาะใจความสําคญั ขนึ้ ตน รูปแบบเหมือนกัน แตใจความจะส้ันเขา ดังน้ี
มคี นจํานวนมากไมไดส งั เกตวานามสกลุ กบั แซข องจีนนน้ั ตา งกนั ผรู วมแซของจนี ไมไ ดเปน ญาติ
สายโลหิตกไ็ ด แตผูรวมสกุลตอ งเปน ญาติสายโลหติ หรือบตุ รบุญธรรมทีร่ ับไวเ ปน พเิ ศษเทาน้นั
66
ตวั อยา งยอความ
(รอ ยกรอง)
ทหารเอกสยามสเู ศรษฐสงคราม
กับสิทธกิ ารจดั การศกึ ษาสาํ หรบั ประเทศ
(กาพยฉบัง)
“ถามหนอยเถิดหนผู เู พยี ร เสร็จจากโรงเรียน
แลว เจา จักทําอะไร”
“ฉนั เปนพอ คา ก็ได ใหเตี่ยหัดให
ตัง้ หา งอยางเถา แกฮ ง”
ถามทวั่ ทกุ คนก็คง ใหคําตอบลง
รอยกันมพิ ลันสงสยั
จากโรงเรยี นจนี จงไป ถามโรงเรียนไทย
จกั ไดค าํ ตอบนาน
“ผมคิดเขาทําราชการ เชน ทา นขุนชาญ
ลูกบานเดยี วกันม่ันหมาย”
“หนูอยา นกึ วา งายดาย คดิ เขาคาขาย
พอคาคอยนา ม่งั มี”
“ผมรักราชการงานดี ตาํ แหนงหนาที่
ยศศกั ด์บิ ัฎตรานา แสวง”
“บัดยามสยามตอ งการแรง ไทยฉลาดทุกแขนง
ท้ังนอกและในราชการ”
“เศรษฐกิจกก็ ิจแกนสาร นกั เรยี นรกั งาน
ควรเลอื กประกอบเหมอื นกนั ”
“ผมชอบราชการเทาน้นั ตง้ั ใจหมายมน่ั
แตจ ะเขารับราชการ”
คาํ ตอบเชน นม้ี ีประมาณ กีส่ ว นรอ งวาน
คาํ นึงจะพึงพิศวง
นึกไปไมนา งวยงง การคาขายคง
ไมคนุ ไมค อ ยเคยทํา
เคยแตรงั เกียจดวยซ้ํา นายไพรด วยชาํ
นาญลวนงานเรยี ก “ราชการ”
........................................................
ครเู ทพ โคลงกลอนของครเู ทพ เลม 1 คุรสุ ภา 2515
67
ขอ ความที่ยอ ไดดงั น้ี
ยอ กาพยฉ บงั เรื่องโครงกลอนของครูเทพ ตอน ทหารเอกสยามสเู ศรษฐสงครามกับสทิ ธิการ
จัดการศกึ ษาสําหรบั ประเทศ ความวา
ถาถามนกั เรียนในโรงเรยี นจนี กับโรงเรียนไทยวา เมอ่ื สําเร็จการศึกษาแลวจะไปประกอบอาชีพ
อะไร นกั เรยี นในโรงเรียนจีนตอบวาจะไปเปนพอคา และนักเรียนในโรงเรียนไทยจะตอบวาจะทํางาน
ราชการ คําตอบเชนน้ีเปนเพราะคนไทยไมคุนเคยและไมคอยเคยคาขายจึงไมเห็นความสําคัญทั้ง ๆ
ท่ีเรือ่ งคาขายเปนเรื่องสําคัญที่ควรเลือกเปนอาชีพไดเหมือนกันและเหมาะสมกับประเทศไทยท่ีกําลัง
ตอ งการคนฉลาดทํางานทุกประเภทไมใ ชเพยี งงานราชการเทา น้ัน
สรุป
ยอความเปนการเขียนแบบหน่งึ ทเ่ี กบ็ ใจความสําคัญของเร่ืองเดิมมาเขียนใหมใ หส ัน้ กวา เดิมเพื่อ
สะดวกแกก ารเขาใจและการนําไปใช การยอ ความตองบอกลักษณะและท่ีมาของขอความที่จะยอและ
ยอ ใหไ ดใ จความครบถวนใจความของขอความเดมิ
เรื่องท่ี 4 การเขียนเพอ่ื การสือ่ สาร
1. การเขยี นจดหมาย เปน การสอื่ สารโดยตรงระหวางบคุ คลหรอื ระหวา งหนว ยงานตาง ๆ
ชวยทาํ ใหระยะทางไกลเปน ใกล เพราะไมวาบุคคลหรอื หนวยงานจะหา งไกลกันแคไหนกส็ ามารถใช
จดหมายสง ขา วคราวและแจง ความประสงคไดตามความตองการ การสง สารหรอื ขอ ความในจดหมาย
ตองเขยี นใหแ จม แจง ชัดเจนเพ่อื จะไดเขาใจตรงกันทัง้ สองฝาย
องคประกอบและรปู แบบของจดหมาย
ผูเรยี นคงเคยเขยี นจดหมายหรอื อานจดหมายมาบา งแลว คงจะสงั เกตเหน็ วาจดหมายน้นั
ไมว า ประเภทใด จะตอ งประกอบดวยสงิ่ ตา ง ๆ ดงั น้ี
1. ทีอ่ ยูของผเู ขียน เรม่ิ กึ่งกลางหนากระดาษระหวางเสนคนั่ หนากบั รมิ ของขอบกระดาษ
2. วัน เดือน ป ที่เขียนจดหมาย ใหเย้อื งมาทางซายของตาํ แหนง ที่เขยี นท่อี ยเู ล็กนอย
3. คาํ ขนึ้ ตน หา งจากขอบกระดาษดานซาย 1 นว้ิ
4. เนื้อหา ขึ้นอยกู บั ยอ หนา ตามปกติ อาจจะอยหู า งจากขอบกระดาษดา นซาย 2 น้ิว
5. คาํ ลงทา ยอยูแ นวเดยี วกับท่อี ยขู องผเู ขยี น
6. ชือ่ ผเู ขียน อยูใตค าํ ลงทาย ลาํ้ เขา ไปเลก็ นอย
68
ตวั อยาง รปู แบบการเขียนจดหมายท่ัวไป
สถานทเ่ี ขียนจดหมาย .............................
วนั ..........เดือน......................ป. ..............
ระยะ 1 นิ้ว คําขน้ึ ตน .................................................................................................
ประมาณ 2 น้ิว เน้ือหา .................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
คาํ ลงทาย ...............................................
ชื่อผเู ขียน ...............................................
หลกั การทั่วไปในการเขยี นจดหมาย
การเขียนจดหมายควรคาํ นึงถึงส่ิงตอ ไปนี้
1. การใชถอยคํา จดหมายที่ดี ตองใชถอยคําในการเขียนใหถูกตองเหมาะสมกับประเภท
ของจดหมายและผรู บั จดหมายดวย ไดแ ก
จดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายสวนตัวไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับการใชคําข้ึนตนและ
คําลงทายท่ีตายตัวเพียงแตเลือกใชใหเหมาะสมเทานั้น คําขึ้นตนและลงทายสําหรับบุคคลท่ัวไป
มีแนวทางการเขยี นสําหรบั เปนตัวอยา งใหเลือกใช ดังน้ี
บุคคลท่ีติดตอ คําขนึ้ ตน คําลงทาย
ญาติผใู หญ เชน พอ แม กราบเทา............................ กราบเทา ดวยความเคารพ
ปู ยา ตา ยาย ทเี่ คารพอยา งสงู อยางสงู
หรือกราบมาดวยความ
เคารพรกั อยา งยง่ิ
ญาติลาํ ดับรองลงมา เชน กราบ....................ทเ่ี คารพ กราบมาดวยความเคารพ
ลุง ปา นา อา
หรอื กราบ......................... ดวยความเคารพ
ทเ่ี คารพอยางสงู ดวยความเคารพอยางสงู
69
พหี่ รอื ญาติชัน้ พี่ พ.่ี .....................ทร่ี กั ดว ยความรัก
ถึง....................ท่ีรกั หรือ รกั หรือคดิ ถงึ
ครู อาจารยห รือ ....................เพอื่ นรกั หรือ หรือรกั และคิดถงึ
ผูบ ังคบั บญั ชาระดับสูง ........................นอ งรัก
กราบเรยี น...........ทเ่ี คารพ ดวยความเคารพอยางสงู
อยา งสงู
ผูบังคบั บญั ชาระดบั ใกลต วั เรียน................ท่เี คารพ ดวยความเคารพ
ผเู ขียน
2. มารยาทในการเขียนจดหมาย
2.1 เลือกกระดาษ ซอง ท่ีสะอาดเรียบรอย หากเปนไปไดควรใชกระดาษท่ีทําข้ึน
เพ่อื การเขยี นจดหมายโดยตรง แตถ าหาไมไดก็ควรใชกระดาษทม่ี สี สี ุภาพ กระดาษทใี่ ชเขียนควรเปน
กระดาษเตม็ แผน ไมฉกี ขาด ไมย ยู ่ียบั เยนิ ไมสกปรก
2.2 ซองจดหมายทีด่ ที ี่สุด คอื ซองทีก่ ารส่ือสารแหง ประเทศไทยจัดทาํ ข้นึ เพราะมีขนาด
และคุณภาพไดมาตรฐาน ซองประเภทน้ีมีจําหนายตามที่ทําการไปรษณียโทรเลขทุกแหง ถาหาซอง
จดหมายของการสอื่ สารแหงประเทศไทยไมไ ด ก็อาจเลอื กซ้ือซองทเี่ อกชนทําขึ้นจําหนาย ซ่ึงถาเปนใน
กรณหี ลังนี้ควรเลือกซองทม่ี ีสสี ุภาพ ไมควรมลี วดลาย
2.3 ไมควรใชซองทมี่ ตี ราครุฑสง จดหมายที่มิใชหนังสอื ราชการ
2.4 ไมควรใชซองท่ีมีขอบซองเปนลายขาวแดงนาํ้ เงินสลับกัน ซ่ึงเปนซองสาํ หรับสง
จดหมายไปรษณยี อ ากาศไปยังตางประเทศ
2.5 เขยี นหนังสือใหช ดั เจน อานงา ย การเขยี นตัวอักษรคอนขา งโตและเวน ชองไฟคอ นขา ง
หา งจะชวยใหจดหมายนั้นอา นงา ย
2.6 ไมควรเขียนดวยดินสอดาํ ดินสอสีตาง ๆ หรือหมึกสีแดง เพราะถือวาไม
สุภาพ สีที่เหมาะสม คอื หมึกสีนํ้าเงนิ และสีดาํ
2.7 จะตองศึกษาใหถูกตองถองแทกอนวา ผูที่เราจะเขียนจดหมายไปถึงนั้นเปนใคร
มีตําแหนงหนาที่อะไร การเขียนขอความในจดหมายก็ดี การจาหนาซองก็ดี จะตองระบุตาํ แหนง
หนา ท่ชี ัน้ ยศของผูนั้นใหถูกตองและตองสะกดช่ือ นามสกุล ยศ ตาํ แหนงของผนู นั้ ใหถ ูกตอ งดว ย
2.8 เมอื่ เขียนจดหมายเสรจ็ แลว ตองพบั ใหเรียบรอ ยแลวบรรจซุ อง จา หนาซองใหถูกตอง
ครบถวน ปด ดวงตราไปรษณยี ากรใหค รบถวนตามราคาและถกู ตําแหนง กอนท่ีจะนําไปสง
70
2.9 เขยี นจา หนา ซองจดหมาย
2.9.1 เขียนช่ือ นามสกลุ ของผรู บั ใหถ กู ตอ ง ชดั เจน อานงา ย ถา ผูรบั เปนแพทย
เปนอาจารย หรือตํารวจ ทหาร หรือคาํ นาํ หนานามแสดงเกียรติยศหรือฐานันดรศักด์ิ เชน บ.จ.
ม.ร.ว. ม.ล. กใ็ ชถ อยคาํ พเิ ศษเหลา นัน้ นําหนาชอ่ื คาํ นาํ หนาชอื่ ควรเขยี นเต็ม ไมควรใชคาํ ยอ ถา ทราบ
ตําแหนง กร็ ะบุตําแหนง ลงไปดวย
ในกรณีทไ่ี มท ราบรายละเอียดดงั กลา ว ควรใชคาํ วา คณุ นําหนา ชอ่ื ผรู บั ในการจาหนา
ซองจดหมายน้ัน
2.9.2 ระบุสถานทข่ี องผรู ับใหถ ูกตอง ชัดเจนและมรี ายละเอยี ดพอท่บี รุ ุษไปรษณีย
จะนําจดหมายไปสงไดไมผิดพลาด ระบุเลขท่ีบาน หางรานหรือสํานักงาน ซอย ตรอก ถนน หมูบาน
ตําบล อําเภอ ในกรณีตางจังหวัด หรือแขวง เขต ในกรณีกรุงเทพมหานคร ที่สําคัญคือจะตองระบุ
รหสั ไปรษณียใ หถ กู ตองทกุ ครัง้ จดหมายจะถึงผรู บั เร็วขน้ึ
หมายเหตุ การส่ือสารแหงประเทศไทยไดจ ดั ทําเอกสารแสดงรหัสไปรษณยี ข องอําเภอ
และจงั หวัดตาง ๆ สําหรับแจกจายใหประชาชน ทานจะติดตอขอรับไดจากท่ีทําการไปรษณียโทรเลข
ทุกแหง
2.9.3 การจาหนา ซอง การสือ่ สารแหงประเทศไทย แนะนําใหเขียนนามและที่อยู
พรอมดวยรหัสไปรษณียของผูสงไวท่ีมุมบนดานซายมือของซองและเขียนช่ือผูรับพรอมท่ีอยูและ
รหัสไปรษณยี ใหไ วต รงกลาง ดังตัวอยาง
ตัวอยางการเขียนจาหนาซองจดหมาย
(ชอ่ื ทอ่ี ยูผูสง ) ท่ผี นึก
นายวิศษิ ฎ ดรณุ วดั ตราไปรษณยี ากร
708/126 ถนนจรัสเมือง
แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ
1 03 3 0
(ชือ่ และทอ่ี ยขู องผูร ับ)
นายสัญญา ทองสะพกั
364 ก 1 หมู 1 ถนนริมคลองรัดหลวง
ตาํ บลตลาด อําเภอพระประแดง
จังหวดั สมุทรปราการ
รหสั ไปรษณีย 1 0 1 3 0
71
หมายเหตุ การสื่อสารแหงประเทศไทยมีบริการพิเศษตาง ๆ ท่ีจะชวยปองกันมิใหจดหมาย
สูญหายหรือชวยใหจดหมายถึงมือผูรับไดรวดเร็ว ทันเวลา เชน บริการ EMS เปนตน ผูสนใจจะใช
บริการตาง ๆ ดังกลาว จะตองไปติดตอที่ที่ทาํ การไปรษณียโทรเลขโดยตรง เพราะจะตองกรอกแบบ
รายการบางอยาง การเขียนขอความในทํานองที่วา “ขอใหสงดวน” ลงบนซองจดหมายไมทําให
จดหมายถงึ เร็วขนึ้ แตอยา งใด
ประเภทของจดหมาย จดหมายแบง ออกเปน 4 ประเภท คือ จดหมายสวนตวั
จดหมายกิจธุระ จดหมายธรุ กจิ และจดหมายราชการหรอื หนงั สอื ราชการ
1. จดหมายสวนตัว คือ จดหมายท่ีบุคคลซ่ึงรูจักคุยเคยกันติดตอกันดวยวัตถุประสงค
ที่เปน การสวนตัว เชน เพอ่ื สง ขา วคราว ถามทกุ ขสขุ เลา เรอ่ื งราว ฯลฯ เปน การตดิ ตอ อยา งไมเปน
ทางการ เชน จดหมายเลาเรอื่ งราวทุกขสขุ จดหมายแสดงความรูส กึ ยนิ ดี เสียใจ ขอบคณุ หรือขอโทษ
ในกรณตี าง ๆ เปน ตน
การเขียนจดหมายสวนตัวแมจะยินยอมใหใชถอยคําที่แสดงความสนิทสนมเปนกันเองได
แตก็ควรระมัดระวังอยาใหผอู า นเขาใจผดิ และควรแสดงความสําราญมากกวา การพดู กันโดยปกติ
จดหมายสว นตวั ทมี่ เี นอ้ื หาเปนการขอบคณุ หรือแสดงความยินดีอาจเขียนลงในบัตรทอ่ี อกแบบ
ไวอ ยางสวยงาม แทนการเขียนในกระดาษก็ได
การเขียนจดหมายสวนตัว นิยมใหเขียนดวยลายมอื ท่อี า นงาย แสดงความต้ังใจเขียนไมนิยมใช
การพมิ พดีดจดหมายหรอื จา หนาซองจดหมายสวนตัว
ตวั อยา งจดหมายสว นตวั
บรษิ ัทเกษตร จํากดั
4/21 สุขมุ วิท กรงุ เทพมหานคร 10110
12 เมษายน 2538
กราบเทา คุณพอคณุ แมที่เคารพอยางสงู
ผมไดมารายงานตัวเขาทํางานท่ีบริษัทนี้เรียบรอยแลวตั้งแตวันที่ 10 บริษัทนี้มี
สาํ นักงานใหญอยูตามท่ีอยูขางบนน้ี แตมีเรือนเพาะชําและสวนกลาไมขนาดใหญมากอยูที่เขตมีนบุรี
ทกุ เชาพนักงานทุกคนจะตองมาลงเวลาปฏิบัติงานและรับทราบคําสั่ง หรือรับมอบหมายงาน จากน้ัน
จงึ แยกยายกันไปปฏิบัติงาน
ผมไดร ับมอบหมายใหดแู ลสวนกลา ไมท ่เี ขตมีนบรุ ี ผมรับผดิ ชอบพน้ื ทีเ่ ขต 9 ซงึ่ เปนเขต
เพาะเลย้ี งดูแลกลาไมไผ มีคนงานชว ยผมทํางาน 3 คน ทกุ คนเปน คนดแี ละขยนั งานท่ที ําจงึ เปน ไป
ดวยดี
ผมสขุ สบายดี เพราะท่ีพกั ซง่ึ อยชู ้นั บนของสํานกั งานบรษิ ัทซ่งึ บรษิ ัทจดั ให มีความสะอาดดี
และกวางขวางพอสมควรทั้งอยูไมไกลยานขายอาหาร ผมจึงหาซื้ออาหารมารับประทานไดสะดวก
นบั ไดวาผมไดท ํางานท่ดี ี และมที ีพ่ กั ท่สี ะดวกสบายทกุ ประการ
72
หวังวา คุณพอคุณแมและนองท้ังสองคงสบายดีเชนกัน ผมจะกลับมาเยี่ยมบานถามี
วันหยดุ ติดตอ กันหลายวัน และจะเขยี นจดหมายมาอีกในไมช า น้ี
ดวยความเคารพอยางสงู
เสมา ธรรมจกั รทอง
2. จดหมายกจิ ธรุ ะ คอื จดหมายติดตอระหวางบคุ คลกบั บคุ คลหรอื บุคคลกับหนวยงาน
ดว ยเรอื่ งท่ีมใิ ชเ ร่อื งสว นตัว แตเปนเรอ่ื งที่เก่ียวกับงาน เชน การสมัครงาน การติดตอ สอบถาม
การขอความรวมมอื ฯลฯ ภาษาท่ีใชจึงตองสุภาพและกลาวถงึ แตธรุ ะเทา น้นั ไมมขี อ ความทแ่ี สดง
ความสัมพันธเ ปน การสว นตวั ตอ กัน
ตัวอยา งจดหมายกจิ ธรุ ะ
โรงเรียนลําปางกลั ยาณี ถนนพหลโยธนิ
อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 52000
24 กนั ยายน 2528
เรียน ผูจ ดั การวสั ดกุ ารศกึ ษา 1979 จํากดั
ดวยทางโรงเรียนลาํ ปางกลั ยาณี มคี วามประสงคจะซ้อื สไลดประกอบการสอนวิชาภาษาไทย
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ตามรายการตอ ไปนี้
1. ชดุ ความสนุกในวัดเบญจมบพติ ร จํานวน 1 ชุด
2. รามเกยี รตติ์ อนศึกไมยราพ จาํ นวน 1 ชดุ
3. แมศรเี รือน จาํ นวน 1 ชดุ
4. ขอ คดิ จากการบวช จาํ นวน 1 ชุด
5. หนังตะลงุ จํานวน 1 ชดุ
ตามรายการท่ีส่ังซื้อมาขางตน ดิฉันใครขอทราบวา รวมเปนเงินเทาไร จะลดไดก่ีเปอรเซ็นต
และถาตกลงซื้อจะจัดสงทางไปรษณียไ ดหรอื ไม
หวงั วา ทานคงจะแจง เก่ียวกบั รายละเอยี ดใหท ราบโดยดว น จึงขอขอบคุณมาในโอกาสนี้
ขอแสดงความนบั ถอื
สมใจ หยงิ่ ศักดิ์
(น.ส.สมใจ หยง่ิ ศกั ด์)ิ
ผูชวยพสั ดุหมวดวิชาภาษาไท
73
3. จดหมายธรุ กิจ คือ จดหมายติดตอในเร่อื งทเี่ กยี่ วกบั ธุรกจิ เชน การเสนอขายสนิ คา
การขอทราบรายละเอียดเพมิ่ เตมิ เกี่ยวกบั สินคา หรือบรกิ าร การสงั่ ซ้ือสินคา การตดิ ตามทวงหน้ี ฯลฯ
จดหมายกิจธุระและจดหมายธุรกิจ มีลักษณะการติดตอท่ีเปนทางการมากกวาจดหมาย
สวนตัว จึงตองใชคําสุภาพ งาย และมีเน้ือความกะทัดรัด เขาใจไดตรงกันท้ังผูเขียนและผูอาน
ในการใชภาษา เขียนใหถูกกับระดับของจดหมาย โดยท่ัวไปแลวถาเขียนจดหมายสวนตัวถึงบุคคลที่
สนิทสนมกัน ก็จะใชคําระดับที่ไมเปนทางการ แตถาเขียนจดหมายธุรกิจตาง ๆ ก็ใชคําระดับท่ีเปน
ทางการ
ตัวอยาง เปรียบเทียบคําเดิมท่เี ปนทางการกบั คาํ ระดับทีไ่ มเ ปน ทางการ
ที่เปนทางการ ทไ่ี มเปนทางการ
(สาํ หรบั เขยี นจดหมายธุรกิจและหนงั สอื ราชการ) (สําหรบั เขียนจดหมายสว นตวั ถงึ ผทู ี่คุนเคย)
1. เขาขบั ขีร่ ถจักรยานยนตไ ปชมภาพยนตร 1. เขาขีร่ ถเครอ่ื งไปดหู นงั
2. บดิ ามารดาตองการใหข าพเจามีอาชีพเปนแพทย 2. พอแมอ ยากใหฉนั เปน หมอ แตฉ นั อยากเปน
แตขาพเจาตองการเปนครูชนบท ครบู า นนอก
3. หนงั สอื เลม นี้คงขายไดห มดในเวลาอนั รวดเร็ว 3. หนงั สือเลมนม้ี หี วงั ขายไดเ กล้ยี ง เพราะรวม
เพราะรวบรวมวาทะสาํ คญั ๆ ของผูมีชื่อเสยี งไว ช่ือของคนดังไวหลายคน
หลายคน
74
ตัวอยางจดหมายธรุ กจิ
รา นบรรณพิภพ
42-44 ถนนบุญวาทย
อ.เมอื ง จ.ลําปาง 5200
โทร. 054 218888
3 สิงหาคม 2528
เรือ่ ง สงกระดาษอดั สาํ เนา
เรยี น หวั หนา ฝา ยพัสดุ สํานักงานนาํ้ คางและเพ่ือน
ตามท่สี ่งั กระดาษอัดสาํ เนาย่ีหอ ไดโต จาํ นวน 50 รีม น้ัน ทางรานไดจัดสงมาเรียบรอยแลว
พรอมทั้งไดแ นบใบสงของมาดวย
หากทางสาํ นกั งานของทา นไดร บั ส่ิงของดังกลาวครบถวนแลว กรุณาตอบใหทางรานทราบ
ดว ย จะเปนพระคณุ อยา งสงู
ขอแสดงความนบั ถอื
ธาดา บรรณพภิ พ
(นายธาดา บรรณพิภพ)
ผจู ัดการ
ตัวอยาง การจา หนา ซองจดหมายธรุ กิจ
รานบรรณพิภพ
42-44 ถนนบญุ วาทย
อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 52000
โทร. 054 218888
เรียน หัวหนาฝา ยพัสดุ สาํ นักงานนํ้าคางและเพือ่ น
สํานกั งานน้ําคา งและเพื่อน
ถนนเจริญประเทศ จงั หวัดลําปาง
52000
75
2. จดหมายราชการหรือหนังสอื ราชการ คือ สวนทถ่ี ือเปน หลกั ฐานในราชการ ไดแก หนงั สอื
ที่มีไปมาระหวางสวนราชการหรือหนังสอื ท่ีสวนราชการมีไปถึงหนวยงานอ่ืน ซ่ึงมิใชสวนราชการหรอื
มไี ปถงึ บุคคลภายนอก หรอื หนังสอื ที่หนว ยงานอ่นื ซ่ึงมใิ ชส ว นราชการ หรือบุคคลภายนอกเขียนมาถึง
สว นราชการ
จดหมายราชการ ตอ งใชถ อยคําและรูปแบบการเขยี นใหถูกตองตามระเบียบท่ีทางราชการ
กําหนดไว ระเบยี บดงั กลา วเรยี กวา ระเบียบงานสารบรรณ รูปแบบหนังสือราชการจึงมีรูปแบบเฉพาะ
ดังนี้
1. ตอ งใชกระดาษของทางราชการ เปน กระดาษตราครุฑสขี าว
2. บอกลาํ ดับที่การออกหนงั สือของหนวยงานนั้น โดยใหลงรหัสพยัญชนะและเลขประจําตัว
ของเจาของเร่ืองทับเลขทะเบียนหนังสือสง เชน นร 0110/531 รหัสพยัญชนะ นร คือ สํานัก
นายกรฐั มนตรี 0110 คือ เลขประจําของเจา ของเรือ่ ง 531 คอื ทะเบยี นหนังสอื ที่สง ออก
3. สวนราชการของหนังสือ ใหลงชื่อสวนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการ ซ่ึง
เปน เจาของหนงั สอื นัน้ และลงสถานท่ีตงั้ ไวดวย
4. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขบอกวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปพุทธศักราช
ที่ออกหนังสือ
5. เรือ่ ง ใหลงเรอื่ งยอ ท่เี ปน ใจความสน้ั ทสี่ ดุ ของหนงั สอื นนั้
6. คาํ ขึน้ ตน ใหใ ชค าํ ขึ้นตนตามฐานะของผรู ับหนงั สอื ตามดวยตาํ แหนงของผูท่ีหนงั สอื นัน้ มถี ึง
7. อางถึง (ถาม)ี ใหอ างถงึ หนงั สอื ทเ่ี คยมตี ิดตอกนั เฉพาะหนงั สือทส่ี ว นราชการผูร บั หนงั สอื
นนั้ ไดรบั มากอนแลว โดยใหล งชื่อสว นราชการของหนังสือ เลขทีอ่ อกหนังสอื วนั ท่ี เดือน ปพทุ ธศกั ราช
ของหนังสือ
8. ส่ิงท่สี ง มาดวย (ถา ม)ี ใหลงชอ่ื ส่งิ ของหรอื เอกสารทส่ี ง ไปพรอ มกับหนังสือน้นั ถา ไมสง ไปใน
ซองเดียวกนั ใหแ จง วา สงไปโดยทางใด
9. ขอ ความ ใหลงสาระสําคัญของเรอ่ื งใหช ดั เจนและเขาใจงาย หากมีความประสงค
หลายประการใหแ ยกเปน ขอ ๆ
10. คาํ ลงทาย ใหใ ชคําลงทายตามฐานะของผูร บั หนังสือ
11. ลงชื่อ ใหล งลายมือเจา ของหนงั สือและใหพิมพชอ่ื เตม็ ของเจา ของลายมือไวใ ตลายมือช่ือ
12. ตําแหนง ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ เชน อธบิ ดี ผูวาราชการจงั หวดั
ผูบญั ชาการกองพล ฯลฯ
13. สวนราชการเจา ของเรอื่ ง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจาของเร่ืองหรือหนวยงานท่ีออกหนังสือ
พมิ พไวม ุมลา งซา ยแนวเดียวกับตาํ แหนง ผูออกหนงั สือหรอื ตํา่ กวา
14. โทร. ใหลงหมายเลขโทรศพั ทข องหนว ยงานเจาของเรอ่ื ง
76
ตวั อยา งแบบจดหมายราชการ
1 ตราครุฑ
2 ท.ี่ ............
3 ช่ือสวนราชการเจา ของหนังสอื
4 วนั .......เดอื น...................พ.ศ.............
5 เรื่อง.................................
6 เรียน หรอื กราบเรียน.......................
7 อางถึง..................................... (ถา ม)ี
8 ส่ิงที่สงมาดวย......................... (ถาม)ี
9 ขอ ความ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................
สรปุ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................
10 คําลงทา ย............................................................
11 ลายเซ็นต. ................................................
ชอ่ื ตัวบรรจง...............................................
12 ตาํ แหนง .................................
13 สวนราชการเจาของเรื่อง........................................
14 โทรศัพท (ถาม)ี .......................................................
77
ตัวอยางรปู แบบจดหมายราชการ
1
2 3
ที่ ศธ 0210.06/4 ศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา
กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน
5 4 ถนนศรีอยธุ ยา กทม. 10400
เรือ่ ง ขอเชญิ เปน วิทยากร 11 มกราคม 2554
6
เรยี น คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน
7
89
ดวยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สาํ นักงาน กศน. กาํ ลังดําเนินการจัดและผลิตรายการ
โทรทัศนเสริมหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิชา
วิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV)
ศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษาจงึ ขอเรียนเชิญ อาจารยป ระสงค ตนั พิชยั อาจารยป ระจาํ ภาควชิ า
อาชวี ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร ซึง่ เปนผมู ีความรแู ละประสบการณ เรอ่ื งเทคโนโลยใี นการขยายพนั ธพุ ืช
เปนวิทยากร บรรยายเรื่องดังกลาว โดยจะบันทึกเทปในวันอังคาร ท่ี 31 มกราคม 2554 เวลา
10.00 - 11.00 น.
จงึ เรยี นมาเพอ่ื ขอความอนเุ คราะห และขอขอบคณุ เปน อยา งสงู มา ณ โอกาสนี้
10
ขอแสดงความนบั ถือ
11 รัชดา คลี่สนุ ทร
(นางรชั ดา คล่สี นุ ทร)
12 ผอู ํานวยการศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา
13 ฝายรายการโทรทัศนเ พอ่ื การศึกษาตามหลกั สูตร
14 โทร. 02-3545730-40
78
การเขียนขา ว ประกาศและแจง ความ
การเขียนขา ว ประกาศและแจง ความ เปนสว นหนึ่งของจดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ
ซงึ่ ก็คือ หนังสือที่ใชติดตอ กนั ระหวางเจา หนาที่ของรฐั กบั บุคคลภายนอกดวยเรอื่ งเกยี่ วกบั ราชการ
จดหมายราชการแบง ไดเปน 5 ประเภท คือ
1. หนงั สอื ภายนอก
2. หนังสอื ภายใน
3. หนังสือประทบั ตราแทนการลงชอ่ื
4. หนังสอื สัง่ การและโฆษณา
5. หนังสือที่เจาหนา ทีท่ ําขนึ้ หรอื รบั ไวเปน หลกั ฐานในราชการ
การเขียนขาว ประกาศและแจง ความ จดั อยใู นจดหมายราชการประเภทท่ี 4 คือ หนังสือสัง่ การ
และโฆษณา ซึ่งแบงเปน 9 ประเภท คือ ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนํา คําช้ีแจง ประกาศ
แจงความ แถลงการณและขาว
ในทีน่ ี้จะกลา วถึงการเขียนขาว ประกาศและแจงความ
การเขยี นขา ว
คือ บรรดาขอความทที่ างราชการเห็นสมควรเปด เผย เพอื่ แจง เหตกุ ารณท ่คี วรสนใจใหท ราบ
แบบการเขียนขาว
ขาว..............................................ชอื่ สวนราชการที่ออกขาว..................................................
เรอื่ ง .....................................................................................................................................................
ขอ ความทีเ่ ปนขาว
……………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
สวนราชการเจา หนา ที่
วนั เดอื น ป
79
การเขยี นประกาศ
คอื บรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศใหท ราบเพอื่ ปฏิบัติ
แบบประกาศ
ประกาศ.....................................ชื่อสวนราชการท่ีออกประกาศ ..................................................
เรอ่ื ง ...........................................................................................................................................................
ประกาศและขอ ความท่สี ัง่ ใหป ฏิบัติ .............................................................................................
…………........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ประกาศ ณ วันท.ี่ ...............................................
ลงช่อื ....................................................
พิมพช ่ือเตม็
(ตําแหนง )
การเขยี นแจง ความ
คอื บรรดาขอ ความใด ๆ ทท่ี างราชการแจงใหทราบ
แบบแจงความ
แจง ความ..........................................ชือ่ สว นราชการที่แจง ความ..............................................
เรื่อง ......................................................................................................................................................
ขอความทีต่ อ งการใหท ราบ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................
แจง ความ ณ วันท่.ี ...................................................
ลงชื่อ........................................................
พิมพช อื่ เต็ม
(ตําแหนง )
80
มารยาทในการเขยี น
1. ความรับผิดชอบ ไมวาจะเกิดผลดีหรือผลเสีย รวมท้ังขอบกพรองตาง ๆ ถือเปนมารยาท
ทส่ี ําคญั ท่ีสุด
2. การตรวจสอบความถูกตอ ง เพ่อื ใหผอู า นไดอ า นงานเขยี นทีถ่ ูกตอง
3. การอางอิงแหลงขอมูล เพื่อใหเ กียรตแิ กเจาของความคิดท่ีอางถึง
4. ความเท่ียงธรรม ตองคาํ นงึ ถึงเหตุมากกวาความรสู ึกสวนตน
5. ความสะอาดเรียบรอ ย เขยี นดวยลายมืออา นงา ย รวมทง้ั การเลือกใชก ระดาษและสีน้าํ หมึกดวย
เรือ่ งท่ี 5 การสรา งนสิ ัยรกั การเขยี นและการศึกษาคนควา
การเขยี นหนงั สือจรงิ ๆ เปนเร่อื งที่ไมย าก ถา ไดเขยี นบอย ๆ จะรสู ึกสนุกแตค นสวนใหญม กั มอง
วาการเขียนเปนเรื่องยาก เปนเรื่องของคนที่มีพรสวรรคเทาน้ันจึงจะเขียนได อันที่จริงถาหากผูเรียน
รกั ทีจ่ ะเขียนและเขียนใหไ ดดแี ลว ไมต องพึ่งพาพรสวรรคใด ๆ ท้ังส้ิน ในการเขียนพรแสวงตางหากท่ีจะ
เปน พลังผลักดันเบ้ืองตนทจ่ี ะทําใหผูสนใจการเขียนหนังสือไดดี พรแสวงในที่น้ีก็คือ การหม่ันแสวงหา
ความรูน ่ันเองประกอบกับมใี จรกั และมองเหน็ ประโยชนข องการเขยี น รวมทั้งการฝก ฝนการเขยี นบอย ๆ
จะทาํ ใหความชํานาญเกิดขึน้ ได
หมนั่ แสวงหาความรู (พรแสวง)
ในการเรม่ิ ตนของการเขียนอะไรก็ตาม ผเู ขียนจะเขียนไมออกถาไมต้ังเปาหมายในการเขียนไว
ลว งหนาวา จะเขยี นอะไร เขยี นทาํ ไม เพราะการเขียนเรอ่ื ยเปอ ยไมทําใหงานเขียนนาอานและทําใหงาน
ชน้ิ นั้นไมม คี ุณคา ที่ควร งานเขียนทีม่ ีคุณคา คือ งานเขียนทเ่ี ขยี นอยา งมจี ุดหมาย มขี อมูลทนี่ า เชื่อถอื และ
อางอิงไดซึ่งเกิดจากการขยันหมั่นคนควาขอมูลโดยเฉพาะในยุคขอมูลขาวสารไรพรมแดน ดังเชน
ในปจจุบันการมีขอมูลยอมทําใหเปนผูที่ไดเปรียบผูอ่ืนเปนอันมาก เพราะยุคปจจุบันเปนยุค
แหงการแขงขันกันในทกุ ทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกจิ ใครมีขอ มูลมากจะเปน ผไู ดเปรยี บคูแ ขงขันอ่ืน ๆ
เพราะการนําขอมูลมาใชประโยชนไดเร็วกวาน่ันเอง การหมั่นแสวงหาความรูเพ่ือสะสมขอมูลตาง ๆ
ใหตัวเองมาก ๆ จึงเปนความไดเปรียบ และควรกระทําใหเปนนิสัยติดตัวไป เพราะการกระทําใด ๆ
ถา ทําบอย ๆ ทาํ เปนประจําในวันหนึ่งกจ็ ะกลายเปน นิสัยและความเคยชนิ ท่ตี องทาํ ตอ ไป
การคนควารวบรวมขอมูลเปนกิจกรรมท่ีจะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการเพราะย่ิง
คน ควา กจ็ ะยิ่งทาํ สงิ่ ทน่ี า สนใจมากขนึ้ ผทู ี่ฝก ตนใหเ ปน ผูใ ครร ูใ ครเรียน ชอบแสวงหาความรูจะมีความสุข
มากเม่ือไดศึกษาคนควาและไดพบส่ิงแปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทยหรือในความรูแขนงอ่ืน ๆ บางคน
เมือ่ คน ควาแลว จะรวบรวมไวอยา งเปนระบบ ซง่ึ จะใหประโยชนหลายประการดังตอ ไปนี้
1. เปนการสนองความอยากรูอยากเห็น ใครรูใครเรียนของตนเอง กลาวคือ การเรียน
ในช้นั เรยี น ผเู รียนจะรบั รหู รอื ทราบกฎเกณฑที่สําคัญและการยกตัวอยางเพียงเล็กนอย ผูเรียนอาจไม
81
เขาใจแจมแจงชัดเจนพอ การศึกษาคนควาเพ่ิมเติมจะทําใหไดขอมูลที่สนใจมากข้ึน ทําใหเกิดความ
เขา ใจเนื้อหาที่เรียนไดแจมชัดขึ้น
2. เปนการสะสมความรูใหเพ่ิมพูนย่ิงข้ึน ในขณะท่ีผูเรียนอานหรือทาํ การบรรยาย เพ่ือหา
ความรแู มจะชัดเจนดีแลว แตเ พือ่ ใหไดรบั ความรูกวา งขวางข้ึนจึงศึกษาคน ควา เพ่มิ เตมิ แลวเกบ็ รวบรวม
สะสมความรูไว
3. คน ควา รวบรวมเพ่อื ใชอ างอิงในการจัดทํารายงานการคนควา ทางวิชาการ การอา งอิงความรู
ในรายงานทางวิชาการ จะทําใหง านน้นั มีคุณคาเช่อื ถอื ยิ่งขึ้นเปน การแสดงความสามารถ ความรอบรู
และความอุตสาหะวิริยะของผูจัดทํารายงานนั้น การคนควาเพ่ือการอางอิงนี้ผูเรียนจะคนควาจาก
แหลงวิชาการตาง ๆ ยิ่งคนก็ย่ิงพบสรรพวิทยาการตาง ๆ ทําใหเกิดความสุขสนุกสนาน เพราะไดพบ
เนอื้ หาที่นาสนใจเพ่ิมขนึ้
4. ใชความรูที่ไดคนควารวบรวมไวสําหรับประกอบในการพูดและเขียน การรวบรวมมี
ประโยชนเ พือ่ ประกอบการพดู และการเขียนใหมีน้าํ หนักนา เช่ือถือยิ่งขึ้น เชน เม่ือจะกลาวถึงการพูด
กอ็ าจยกคาํ ประพันธท่ีแสดงแงคิดเกี่ยวกบั การพดู ขนึ้ ประกอบดวย เชน
ถึงบางพูดพูดดีเปน ศรศี ักดิ์ มคี นรกั รสถอยอรอยจติ
แมพูดช่ัวตวั ตายทาํ ลายมติ ร จะชอบผดิ ในมนษุ ยเ พราะพูดจา
จะไดยากโหยหวิ เพราะชิวหา
เปน มนษุ ยส ดุ นิยมทลี่ มปาก จะพูดจาจงพิเคราะหใ หเหมาะความ
แมพดู ดมี คี นเขาเมตตา แตล มปากหวานหูมิรหู าย
เจบ็ จนตายนั่นเพราะเหน็บใหเจ็บใจ
อันออยตาลหวานล้นิ แลวสิ้นซาก
แมเจบ็ อ่นื หม่นื แสนจะแคลนคลาย (สนุ ทรภู)
5. เพ่อื ความจรรโลงใจของตนเอง การคน ควา หาความรแู ละเกบ็ รวบรวมและสะสมไว นับเปน
ความสุขและเปนการสรา งความจรรโลงใจใหแกตนเองเปน อยางยงิ่ เพราะผูเขียนบางคนเม่ือพบคําหรือ
ขอ ความประจาํ ใด ๆ กม็ ักจะจดบนั ทึกไว โดยเฉพาะโคลงกลอนตา ง ๆ เชน
ตวั อยา งการรวบรวมขอคดิ คําถามเกยี่ วกับความรัก
ความรกั เหมือนโรคา บันดาลตาใหมืดมน
ไมยนิ และไมยล อุปสรรคคะใดใด
ความรักเหมอื นโคถึก กําลงั คกึ ผขิ ังไว
ยอ มโลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ที่ขงั
(มัทนะพาธา)
ตราบขนุ ครี ีขน 82
รกั บหายตราบหาย
ขาดสลาย แลแม
สุริยันจนั ทรข จาย หกฟา
ไฟแลนลา งสห่ี ลา จากโลก ไปฤา
หอ นรา งอาลยั
โอว าอนจิ จาความรกั
ตงั้ แตจ ะเชีย่ วเปนเกลยี วไป (นิราศนรินทร)
เพ่ิงประจักษด ่ังสายนา้ํ ไหล
รกั ชาติยอมสละแม ที่ไหนเลยจะไหลคนื มา
รักเกียรติจงเจตนพ ลี
รักราชมงุ ภักดี (อเิ หนา)
รกั ศาสนร านเศิกไส ชีวี
ชพี ได
รองบาท
กอ เกอื้ พระศาสนา
(สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ)
มีใจรกั
การจะทาํ กิจกรรมใด ๆ ก็ตาม ถาจะใหไดผลดีจะตองมีใจรักในส่ิงนั้น เรียกวา มีความรัก
ความพอใจท่ีจะเขียน หม่ันฝกฝนบอย ๆ มีความเขาใจที่จะเขียนใหไดดี และเม่ือเขียนแลวก็กลับมา
ทบทวนพิจารณาถึงคุณคาและประโยชนทไ่ี ดจากการเขยี น และการจะเขียนใหผูอ่ืนอานพจิ ารณาดวย
ใจเปนธรรมและดวยเหตุดว ยผล ท่เี รยี กวา ตอ งมอี ิทธบิ าท 4 อนั เปนธรรมะของผูร ักความเจรญิ กาวหนา
เปนเรือ่ งนํา น้นั คอื มีฉันทะ วิริยะ จติ ตะ และวมิ งั สา
เหน็ ประโยชน
การที่ผูเขียนจะเขียนหนังสือใหผูอื่นอานและอานสนุกหรืออานดวยความพอใจ ผูเขียน
ตองตระหนักรใู นตนเองเสยี กอ นวา เปนผูม ีความรทู างภาษาไทยเพียงพอท่ีจะกอใหเกิดประโยชนแกตน
ในดา นตา ง ๆ เชน ชวยใหต ดิ ตอ ส่อื สารกับผอู ื่นไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ มีความเชอ่ื มั่นในตนเอง สามารถ
ใชความรูที่มีเพื่อประโยชนแกผูอื่นได และมีความพรอมที่จะขยายความรูหรือขอมูลท่ีสะสมในตนเอง
ใหผูอื่นอานไดอันจะเปนชองทางของการแลกเปล่ียนขาวสารขอมูลระหวางกัน ซึ่งจะสงผลใหขอมูล
ขาวสารและความรูตาง ๆ ท่ีมีขยายออกไปอยางกวางขวาง ทําใหความรูที่มีอยูในโลกไมสูญหายไปได
งา ย ๆ
การกระทําใด ๆ ก็ตาม ในทางจิตวิทยากลาววา ถาทําซ้ํา ๆ ทําบอย ๆ การกระทํานั้น ๆ
จะกลายเปนนสิ ยั การหมนั่ ฝกฝนการเขียน ไมวาจะเขียนอะไรก็ตาม ก็ตองหม่ันฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย
ข้ึนมาใหได อาจเร่ิมจากการฝกฝนบันทึกขอความ หรือเรื่องราวท่ีชื่นชอบหรือที่เปนความรู ฝกเขียน
บันทกึ ประจาํ วนั ฝก เขียนเรียงความจากเร่ืองใกลตัว เร่ืองที่ตัวเรามีความรูมากที่สุด มีขอมูลมากท่ีสุด
กอ น แลว คอ ย ๆ เขียนเร่อื งทีไ่ กลตัวออกไป โดยเขียนเร่ืองที่อยากเขียนกอนแลวขยายออกไปสูเร่ืองที่
83
เปนวิทยาการความรูตา ง ๆ เพื่อเปนการสรา งความเชือ่ มั่นใหแกต นเองทลี ะนอ ย ถา ปฏบิ ัติไดเชน น้ีจะทํา
ใหผูเรยี นเกิดความรกั ในการเขยี นและการคนควาขนึ้ มาได
การเขียนแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคิดเห็น หมายถึง การเขียนที่ประกอบดวยขอมูลอันเปนขอเท็จจริงกับ
การแสดงความคิดเห็นตอ เรือ่ งใดเรอื่ งหนง่ึ ความคดิ เหน็ ควรจะมีเหตผุ ล และเปนไปในทางสรา งสรรค
หลกั การเขียนแสดงความคิดเห็น
1. การเลือกเร่ือง ผูเขียนควรเลือกเร่ืองที่เปนที่สนใจของสังคมหรือเปนเรื่องที่ทันสมัย
อาจเกีย่ วกบั เหตกุ ารณท างการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม การศกึ ษา ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร หรือขา ว
เหตกุ ารณป ระจําวนั ทงั้ นผ้ี เู ขยี นควรมคี วามรแู ละความเขา ใจเรอ่ื งท่ตี นจะแสดงความคดิ เห็นเปนอยางดี
เพ่อื จะแสดงความคดิ เหน็ ไดอยางลกึ ซงึ้
2. การใหขอเท็จจริง ขอมูลที่เลือกมาน้ันจะตองมีรายละเอยี ดตาง ๆ เชน ท่ีมาของเรื่อง
ความสาํ คัญและเหตกุ ารณ เปนตน
3. แสดงความคดิ เหน็ ผเู ขียนอาจแสดงความคดิ เห็นตอ เรอ่ื งทจี่ ะเขยี นได 4 ลกั ษณะ คอื
3.1 การแสดงความคดิ เห็นในลกั ษณะตง้ั ขอ สงั เกต
3.2 การแสดงความคดิ เห็นเพื่อสนบั สนุนขอเทจ็ จริง
3.3 การแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือโตแ ยง ขอ เท็จจริง
3.4 การแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื ประเมนิ คา
4. การเรยี บเรยี ง
4.1 การตัง้ ชอ่ื ควรตง้ั ช่ือเรอื่ งใหเ รา ความสนใจผอู าน และสอดคลองกับเนอื้ หาทจี่ ะเขียน
4.2 การเปด เรื่อง ควรเปดเร่ืองใหน า สนใจชวนใหผูอา นตดิ ตามเรื่องตอ ไป
4.3 การลําดบั เรอ่ื ง ควรลาํ ดับใหมคี วามตอเนื่องสอดคลองกันต้ังแตตนจนจบ
ไมเ ขยี นวกไปวนมา
4.4 การปด เร่อื ง ใชหลักการเดยี วกบั การเขยี นสรุปและควรปดเร่อื งใหผอู า นประทบั ใจ
5. การใชภาษา ควรใชภาษาอยางสละสลวย ชัดเจน ไมเย่ินเยอ ใชสาํ นวนโวหาร
อยางเหมาะสมกบั เรอื่ ง ใชถอยคาํ ที่ส่ือสารความหมายไดตรงตามอารมณ และความรูสกึ ของผูเขียน
ทั้งน้ีพงึ หลกี เลีย่ งการใชถอ ยคําท่ีแสดงอารมณร ุนแรง และควรใชถอ ยคาํ ในเชงิ สรา งสรรคด ว ย
การเขียนโตแ ยง
การเขียนโตแยง เปนการเขียนแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึ่ง โดยมุงที่จะโตแยงขอเท็จจริง
หรือเหตกุ ารณท ีเ่ กดิ ข้นึ ตลอดจนโตแยงความคิดของผอู ่นื ดว ยความคดิ เหน็ ในการสรางสรรค
วิธีการเขียนโตแยง ตองตั้งประเด็นวาจะโตแยงในเร่ืองใดก็ช้ีใหเห็นจุดดอยของเร่ืองที่จะ
โตแ ยง นัน้ พรอมทง้ั หาเหตุผลมาสนบั สนุนความคิดของตนแลวเรียบเรยี งใหเปน ภาษาของตนที่เขา ใจงา ย
และใชคําทีม่ ีพลงั ในการกระตุนใหเ กดิ ความคิดเหน็ คลอ ยตาม
84
ขอ ควรระวังในการเขียนโตแ ยง ไมควรเขียนใหเ กิดความแตกแยก ควรใชเ หตุผล และควรเขียน
เชงิ สรางสรรค
มารยาทในการเขยี นโตแยง ตอ งจริงใจ ใชภ าษาสุภาพ
การเขยี นคาํ ขวญั
คาํ ขวญั คือ ขอ ความส้ัน ๆ เขียนดว ยถอยคําท่ีเลือกสรรเปนพิเศษเพ่ือใหประทับใจผูฟง จูงใจ
ใหคิดหรือปฏิบัติ เชน
คาํ ขวญั วันเด็ก พ.ศ. 2554
รอบคอบ รูคดิ มจี ิตสาธารณะ
คําขวญั วันครู
ยกยอ งพระคุณครู เชดิ ชคู วามเปนไทย
คําขวญั ของการสือ่ สารแหง ประเทศไทย
จา หนาถว นถ่ี ไปรษณยี หางาย จดหมายถึงเร็ว
คาํ ขวญั โรงพยาบาลสมุทรสาคร
บริการดจุ ญาตมิ ติ ร ทุกชีวติ มคี ณุ คา
ประโยชนของคําขวญั คอื ใชเ ปนเคร่อื งเตอื นใจใหปฏิบัตติ าม
องคประกอบของคาํ ขวัญ มี 3 สว น คอื
1. ความมงุ หมายหรอื แนวคิด
2. ขอ ความหรือเนือ้ หา
3. ศิลปะแหงการใชถ อยคํา
องคประกอบทง้ั 3 สวนน้ี จะประสมกลมกลืนกนั ในตัวคําขวญั น้นั อยางเหมาะสม
85
ลกั ษณะของคาํ ขวญั ที่ดี มีดงั ตอไปน้ี
1. มีเจตนาที่ดีตอผูฟง ผูปฏิบัติ หรือผลประโยชนของสวนรวม เชน คําขวัญ เชิญชวน
งดการสูบบหุ ร่ี คาํ ขวัญเชญิ ชวนใหป ระหยดั นํา้ ประหยดั ไฟ ฯลฯ
2. มีเปาหมายชัดเจนเพียงเปาหมายเดียว เชน เพ่ือใหเคารพกฎจราจร เพ่ือใหชวยรักษา
ความสะอาดของถนน ฯลฯ
3. มเี น้อื หาครอบคลมุ เปาหมาย
4. ไพเราะ สัมผัสคลองจอง มีพลงั โนม นา วใจผูฟง ใหจาํ และปฏบิ ตั ิตาม
ขั้นตอนในการเขียนคําขวญั คําขวญั ที่ดีตองเปนขอความส้ัน ๆ ไพเราะ มีพลังในการโนมนาว
ใจผฟู ง หรืออานเขียนครอบคลมุ เปาหมายทก่ี ําหนดไวอยางชดั เจน มีขัน้ ตอนดงั น้ี
ขนั้ เตรียม
1. กําหนดจดุ มงุ หมายใหชัดเจนวาจะใหผ ูฟ งคดิ หรือปฏบิ ตั ิเรือ่ งอะไร อยางไร
2. กําหนดกลุมผูใชคําขวัญวาเปนคนกลุมใด เชน คําขวัญสําหรับเด็ก ตองเขียนใหเขาใจงาย
กวาคําขวัญสาํ หรบั ผูใ หญ
3. ศึกษาหาความรเู กี่ยวกับเรื่องที่จะเขยี นคําขวัญ
ขั้นลงมือเขียน
1. เรียบเรียงขอ ความทจ่ี ะเปนรอ ยแกว ใหมีเน้อื หาครอบคลุมเปา หมายที่กาํ หนดไว
2. เรียบเรียงขอความในขอ 1 ใหเปนขอความท่ีมีสัมผัสและมีถอยคําที่มีพลังโนมนาวใจ
โดยลองเขียนดูหลาย ๆ ขอความ แลวพิจารณาตัดขอความท่ีไมเหมาะสมออกไป จนเหลือขอความที่
พอใจประมาณ 3 - 4 ขอ ความ
3. เลอื กขอ ความทดี่ ที ส่ี ุดเอาไวใ ช
ขัน้ ตรวจทาน นําคําขวัญที่ไดมา พจิ ารณาตรวจทานการใชค ําทีถ่ ูกตอ งตามความหมายและ
ความนยิ ม และการเขยี นตัวสะกดการนั ต
การเขียนคําโฆษณา
การเขียนคาํ โฆษณา เปนการใชภาษาเพื่อทาํ ใหผูอานเกิดความสนใจส่ิงท่ีผูเขียนนําเสนอ
การเขียนโฆษณามีกลวิธีตา ง ๆ ที่ควรศกึ ษา เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดและการเขยี น เปนการเขียนท่ใี ช
ในวงการธุรกจิ การคา การใชถ อยคํามลี กั ษณะดึงดูดความสนใจจากผบู รโิ ภค เพอ่ื ใหจ ดจําสนิ คาไดงาย
ซง่ึ จําเปนกบั กจิ การในการขยายตัวทางการคาของธรุ กิจบริษทั นั้น ๆ
จดุ ประสงคของการเขยี นคาํ โฆษณา
1. เพ่อื ใหผูบริโภครจู กั สนิ คา หรอื บริการของบรษิ ัทและสนใจอยากซ้อื มาใชหรอื อยากใชบรกิ าร
2. เพ่ือเตือนใจผูบริโภคใหจดจาํ สินคาไดแมนยําทําใหยอดขายสินคาชนิดน้ัน ๆ อยูตัวหรือ
เอาชนะคูแขง ทางการคาได
86
กลวิธใี นการเขียนคําโฆษณา
1. การเนนความสาํ คญั เฉพาะบุคคล เชน “เอกลักษณส าํ หรบั บุรุษ”“นํา้ หอมประจํากาย
สําหรบั ผูมรี สนิยม” การเขียนโฆษณาวธิ ีนี้เปน การสรา งความรูสกึ ใหผ บู รโิ ภคอยากเปนบุคคลเดน ทมี่ ี
ความสําคัญ
2. การสรางความเปนพวกเดียวกัน การเขียนโฆษณาวิธีน้ีนิยมใชคําวา “เรา” เพ่ือสราง
ความรสู ึกวาเปน พวกเดียวกนั เชน “เราหว งใยดวงใจดวงนอยของทาน” “เราสามารถชว ยทานได”
3. การสรางความกลวั การเขียนโฆษณาวธิ นี ใี้ ชไ ดผ ลกับผบู ริโภคที่ไมม ีความมนั่ ใจตนเองและ
หว่ันเกรงเหตุการณในอนาคต เชน “ระวัง ยาลดความอวนท่ีทานใชอยู” “คุณกําลังตกอยูใน
อันตราย” “บตุ รหลานของทานอยทู า มกลางพิษภยั ของโรคไขหวัดนก”
4. การเนน ความเปนชาตินยิ ม การเขียนโฆษณาวิธีนีเ้ ปนการสรา งความรสู ึกรกั ชาตใิ หเ กดิ ข้ึนใน
สาํ นกึ ผูบริโภค เชน “ไทยทํา ไทยใช ไทยเจรญิ ” “ใชสนิ คาไทย เงนิ ตราไมร ัว่ ไหลไปตางประเทศ”
5. การใชอิทธิพลของกลุม การโฆษณาวิธีน้ใี ชหลกั ธรรมชาติของมนุษย ซึ่งนิยมทําตามอยาง
กันมาเปนจุดโฆษณา เชน “ใคร ๆ ก็นิยมใช.....” “ทุกสังคมตางช่ืนชอบ....” “นางงาม 9 ใน 10 คน
ใช. ...”
6. การปดบังบางสวน การเขยี นโฆษณาวธิ ีนีจ้ ะไมแ จงความจริงท้ังหมด ภาษาท่ใี ชมีลักษณะไม
ชัดเจนตองใหผูบริโภคเขาใจเอาเอง เชน “สบายไปลานเจ็ดเคล็ดลับในการดูแลบาน” “ดาวนนอย
ผอ นนาน”
7. การเนน ประสาทสัมผัส การเขียนโฆษณาวิธนี ใ้ี ชหลักธรรมชาตขิ องมนษุ ยทพ่ี อใจในรปู รส
กลิน่ เสียง และสมั ผัส จงึ ใชถอ ยคาํ ท่สี ือ่ ความหมายเกยี่ วกับประสาทสมั ผัสซึ่งสว นใหญเ ปนคาํ กริยาหรือ
คําวิเศษณ เชน “เคร่อื งด่ืมคนรนุ ใหม สดใส ซาบซา ” “เพยี งคาํ เดยี ว เคยี้ วเพลินใจ”
8. การใชค าํ ภาษาตางประเทศ การเขียนโฆษณาวิธีใชหลักการตอบสนองคานิยมของคนไทย
ที่นิยมใชภาษาตางประเทศในการสื่อสาร จึงนําคําภาษาตางประเทศมาใชเขียนคําโฆษณา เชน
“สกินโลช่ัน เบา นมุ ขาว บริสทุ ธ”์ิ “แปง เดก็ สตู รผสมมิลคโ ปรตนี ”
9. การใชภาษาแสลง หรือภาษาปาก การเขยี นโฆษณาวิธนี ี้ เปน การนําภาษาแสดงหรือภาษาปาก
ซึ่งผูใชสินคากลุมนี้นิยมใชเพื่อสรางความรูสึกคุนเคย วางใจ เชน “หรอยยังไง ไปชิมเอง”
“จะปวดเฮดทําไม ใชบ ริการเราดีกวา”
10. การกลาวเกินจริง การโฆษณาวิธีน้ีเนนความสนใจโดยไมคาํ นึงถึงหลักความจริงและ
ผูบริโภคสวนใหญก็ยอมรับสินคาน้ัน โดยไมพยายามไตรตรองวาความเปนจริงเปนอยางไร เชน
“คณุ ภาพลา นเปอรเ ซ็นต” “นาํ้ หอมทหี่ อมจนเทวดาตามตอื้ ”
นอกจากนี้ ยังพบวาภาษาโฆษณานิยมใชคําคลองจองและคําสั้น ๆ ท่ีสื่อความหมายชัดเจน
เพ่อื ใหผ ูบรโิ ภคจาํ สินคาไดข ึ้นใจและนิยมใชส ินคาชนิดนั้น
87
การเขียนรายงานการคน ควา
การเขียนรายงานเปนการเขียนเน้ือหาทางวิชาการท่ีไดศึกษาคนความาเปนอยางดี
และเรียบเรียงอยางมรี ะเบียบแบบแผน ทาํ ใหเกิดความรสู กึ ความเขา ใจเร่ืองทศ่ี กึ ษาดยี ิ่งข้นึ
สวนประกอบของรายงาน มี 3 สว น คอื
1. สวนนํา กลา วถึง วตั ถปุ ระสงค และขอบเขตรายงานเรื่องนี้
2. สว นเนอ้ื เรอื่ ง กลา วถงึ สาระสําคัญของเรอ่ื งอยางละเอยี ด ทําใหผ ูอานมีความเขาใจวาใคร
ทาํ อะไร ทไ่ี หน เมอ่ื ไร ทําไม และมขี นั้ ตอนในการทาํ อยา งไร
3. สวนสรุป กลาวถึง ผลของการดําเนินงาน รวมท้ังขอเสนอแนะ หรือ ความคิดเห็นท่ีเปน
ผลจากการกระทาํ น้นั ดว ย
ลกั ษณะของรายงานทดี่ ี
1. ขอมลู เชอื่ ถอื ได มีแหลงอางอิงชัดเจน
2. สอดคลอ งกบั จุดมงุ หมายทต่ี ้งั ไว
3. มรี ายละเอียดครบถว น
4. มกี ารใชต าราง แผนภมู ิ ภาพประกอบ ฯลฯ ทช่ี วยใหเขา ใจงา ย
5. มวี ธิ ีการเรียนท่ีนา อาน
6. เน้อื หาทนั สมัย ทนั เหตกุ ารณ
ขั้นตอนในการเขียนรายงาน
1. เลือกเรอ่ื ง เปน เรื่องทผี่ ูเขยี นมคี วามรู หรอื สนใจเปนพเิ ศษ มีแหลง ขอ มลู เปน ประโยชนแกผูอา น
2. กําหนดจุดมุงหมายของรายงาน ตองกําหนดใหชัดเจนและสามารถเขียนใหเกิดผลตาม
จุดมุง หมายได
3. กําหนดขอบเขตของเร่ือง โดยใหสมั ผัสกบั จดุ มงุ หมาย
4. ทําโครงเรื่อง เพ่ือชวยใหรายงานมีการจัดหัวขออยางเปนลําดับไมสับสน และมีประเด็น
เนือ้ เรอื่ งท่ีจะเขียนครบถว น
โครงเร่ืองจะประกอบดวย ความนํา หวั ขอ ใหญแ ละหัวขอ ยอ ย การแบงหัวขอมีหลัก ดังน้ี
1. เรยี งลาํ ดับหัวขอใหญ และจดั แบง หวั ขอใหดี อยา ใหม หี ัวขอยอยท่ีไมเก่ียวของเขาไปปะปน
อยใู นหัวขอ ใหญ
2. การใชช่ือหัวขอยอย ไมควรยาวเกินไป ควรใชใหกะทัดรัด ใจความครอบคลุมเนื้อหา
ตอนนน้ั ๆ โดยเฉพาะ
3. ไมค วรแบง เนอื้ เรือ่ งออกเปน หัวขอ ยอ ยๆ มากเกินไป
4. แตล ะหัวขอ ในโครงเร่ืองจะตองมีความสัมพันธตอเน่ืองกันโดยลําดับในการจัดเรียงลําดับ
หวั ขอ อาจทําไดห ลายวธิ ี เชน เรยี งตามลําดบั เวลาหรอื ตามความสมั พนั ธระหวางหวั ขอ โดยดลู ักษณะ
88
ของเน้อื เรือ่ งเปนหลกั เชน การเขียนรายงานเรื่องประวัติการพัฒนาหมูบานเฉลิมพระเกียรติ ควรวาง
โครงเรื่องตามลําดับ เวลา เพราะผลของการพัฒนาในระยะแรก มีสวนสําคัญเก่ียวของกับการพัฒนา
ในระยะหลัง เราอาจวางโครงเร่อื ง ดังน้ี
1. ความนาํ
2. สภาพทั่วไปของหมูบา นเฉลมิ พระเกยี รติกอน พ.ศ. 2505
3. การพัฒนาหมูบานเฉลิมพระเกียรติ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2505 – 2515
3.1 เปา หมายของการพฒั นา
3.2 วิธกี ารใช
3.3 ปญ หาและอุปสรรค
3.4 ผลการพัฒนาและผลกระทบ
4. การพฒั นาหมูบ านเฉลิมพระเกยี รติ ระยะท่ี 2 พ.ศ. 2515 – 2525
หวั ขอยอ ยเปน ลักษณะเดยี วกบั ขอ 3
5. การพฒั นาหมูบา นเฉลมิ พระเกยี รติ ระยะที่ 3 พ.ศ. 2525 – 2535
หัวขอ ยอ ยเปนลกั ษณะเดียวกบั ขอ 3
6. การพฒั นาหมบู า นเฉลมิ พระเกยี รติ – สภาพปจจุบัน
6.1 เปา หมายของการพัฒนา
6.2 วธิ กี ารใช
6.3 ปญ หาอปุ สรรค
6.4 การคาดการณผลการพัฒนา
7. ขอ สรปุ
การเรยี งเนื้อหา เมอ่ื ทาํ โครงเรื่องเรยี บรอยแลว ผเู ขียนจึงคนควา รวบรวมขอมูลจากแหลง
ตาง ๆ แลวบนั ทึกไว จากนัน้ นาํ มาเรียบเรียงตามลําดับที่กําหนดไวในโครงเรื่อง โดยใชถอยคําสํานวน
ของตัวเองใหมากท่ีสดุ ถา คดั ลอกขอความจากเอกสารหรอื หนงั สอื เลม ใดตองอางถึงแหลง ทีม่ าดวย
การกรอกแบบพิมพแ ละใบสมคั รงาน
แบบรายการ แบบพมิ พ แบบฟอรม หมายถงึ เอกสารทท่ี ําขน้ึ โดยพิมพข อความไวบางสวนและ
เวน ทว่ี า งไวบ างสวนสาํ หรับใหผ ูท เี่ กย่ี วของกรอกขอความลงไปในท่วี า ง ซ่งึ เวนไวน้นั
ประโยชนของแบบรายการ มีดงั นี้
1. ประโยชนสําหรับผูกรอก แบบรายการชวยใหผูกรอกไมตองเขียนขอความท่ียืดยาวตาง ๆ
ลงไปท้งั หมด จะเขยี นแตเฉพาะรายละเอยี ดท่ีผจู ัดทาํ แบบรายการตอ งการเทานน้ั ทําใหเกิดความสะดวก
รวดเร็ว
2. ประโยชนสาํ หรับผูจัดทํา แบบรายงานชวยใหสามารถเก็บขอมูลท่ีตองการไดรวดเร็ว
เปนระเบียบสะดวกทจ่ี ะนําขอ มลู น้ันกลบั มาใชอ ีก รวมทง้ั ใชเ ปนหลักฐานเอกสารไดด ว ย
89
ความสาํ คญั ของการกรอกแบบรายการ
การกรอกแบบรายการมีความสําคัญมากเพราะแบบรายการใชเปนหลักฐานเอกสารได
แบบรายการที่กรอกแลว มีผลผกู พันทางกฎหมาย ซ่ึงผูกรอกจะตองรับผิดชอบแบบรายการบางอยาง
เชน สัญญาซ้ือขาย สัญญาคํ้าประกัน ฯลฯ อาจมีผลผกู พนั ตอทรพั ยสนิ เงนิ ทองจํานวนมาก
ขอควรระวังในกรณีที่แบบรายการตองลงลายมือชื่อ หามลงนามในแบบรายการท่ีเขียนหรือ
พิมพข อ ความไมครบถว น หรอื ขอ ความทย่ี ังไมเ ขา ใจชัดเจนเด็ดขาด ไมว าในเรื่องใด ๆ
ตวั อยางการกรอกแบบรายการ
1. การกรอกแบบรายการ สําหรบั สง ธนาณตั ิ
90
2. การกรอกแบบรายการหนงั สอื มอบอาํ นาจ
91
3. การกรอกแบบหนงั สอื สญั ญาเชา ทด่ี ิน