การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี THE DEVELOPMENT OF FOLK PERFORMANCES OF THAI YUON SARABURI กนกวรรณ วะนุยารักษ์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย บัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2565 ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี กนกวรรณ วะนุยารักษ์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย บัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2565 ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
THE DEVELOPMENT OF FOLK PERFORMANCES OF THAI YUON SARABURI KANOKWAN WANUYARUK A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REOUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF FINE ARTS PROGRAM IN THAI PERFORMING ARTS GRADUATE SCHOOL BUNDITPATANASILPA INSTITUTE YEAR 2022 COPYRIGHT OF BUNDITPATANASILPA INSTITUTE
(ค) ชื่อวิทยานิพนธ์ การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี 4006601017 นางสาวกนกวรรณ วะนุยารักษ์ ปริญญา ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย พ.ศ. 2565 อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. จินตนา สายทองค า อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ แวงวรรณ บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา รูปแบบ องค์ประกอบ กระบวนท่าร า การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี โดยการสืบค้นข้อมูล สัมภาษณ์ และรับถ่ายทอด การแสดงจากศิลปินพื้นบ้าน แล้วเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ผลการวิจัยพบว่า การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี ที่คงปรากฏ ประกอบด้วยการ แสดงชุดฟ้อนกลองยาว และฟ้อนร าโทน โดยมีรูปแบบการฟ้อนในลักษณะขบวนแห่ ใช้ผู้แสดงไม่จ ากัด จ านวนตามความสมัครใจ องค์ประกอบด้านการแต่งกาย ผู้ชาย ใส่เสื้อม่อ่่อมคอจีนแขนยาว มีผ้าคาดเอว ผ้าพาดบ่า และมีผ้าโพกศีรษะ นุ่งกางเกงสามส่วน ท าจากผ้าฝ้ายย้อมสีคราม สะพายย่าม ผู้หญิง นุ่งซิ่น ลายขวาง ชาย บน ล่าง เป็นพื้นสีแดง ด า หรือขาว มีผ้าสไบคาดอก ปล่อยชาย ต่อมาพัฒนาเป็นเสื้อไม่มี แขน มีสไบพาดไหล่ซ้าย เกล้าผมทัดดอกเอื้อง กระบวนท่าร าดั้งเดิมสร้างสรรค์จากวิถีชีวิต ได้แก่ ท่าฟ้อน ตากข้าวแตน ท่าฟ้อนแม่กาตากปีก ท่าฟ้อนเหินเวหา และท่าฟ้อนฟันไร่นา มีการฟื้นฟูและพัฒนาการ แสดงโดย นายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ ณ ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งน ากระบวนท่าร า แบบดั้งเดิมมาพัฒนา น าเสนอเกี่ยวกับวีถีชีวิต ผสมผสานท่าฟ้อนดั้งเดิม และท่าร านาฏศิลป์ไทย ประกอบการใช้พื้นที่การแสดงอย่างหลากหลาย น าเสนอเป็นชุดการแสดง ลักษณะระบ า จัดแสดง ส าหรับ เผยแพร่วัฒนธรรมไทยวนในโอกาสต่างๆ ค าส าคัญ: การพัฒนาการแสดง, การแสดงพื้นบ้าน , ไทยวน , วิถีชีวิต 147 หน้า
(ง) Thesis Title The Development of traditional performances of Thai Yuan, Saraburi. 4006611009 Miss Kanokwan Wanuyaruk Field of Syudy The master of fine arts program in Thai performing arts Year 2022 Advisor Assoc.Prof. Dr. jintana Saitongkum Co-Advisor Asst.Prof. Dr. Suksanti wangwan ABSTRACT The research of the development of traditional performances of Thai Yuan, Saraburi. The objectives of this research are: 1) to study the pattern, composition, and dance movement of traditional performances of Tai Yuan, Saraburi. 2) to analyze the development of traditional performances of Thai Yuan, Saraburi. The data was collected by searching for information, interviewing, and transmitting the performance from local artists. Then put the data to analysis process accordingly. The results showed that the traditional performances of Thai Yuan, Saraburi, that still exists which consists of performances of the Long Drum Dance and Rum-Tone Dance. There have a pattern of dancing in a parade style and use an unlimited number of actors voluntarily. The elements of the dress: Men prefer to wear a Mauhom shirt (kind of shirt in northern Thailand) with mandarin collar, long sleeves, a girdle, a cloth over the shoulder, and headdress. Also, to wear kind of shorts in Chinese style that made from indigo-dyed cotton. Carrying a tote bag. Women prefer to wear a sarong with a cross pattern. The top and bottom of sarong are red, black, or white. Also, to wear the sabai cross of the chest. Later on, developed into a sleeveless shirt with sabai across the left shoulder. Put up one's hair decorate with Dendrobium flower. Traditional dances created from lifestyles such as Tak-Khao-Tan Dance, Hern-We-ha Dance, Fun-Rai-Na Dance, MeaKa-Tak-Beek Deance. There has been a revival and development of the dances by Mr. Krit Chaisilboon at Yonok Park Performing Arts Center. Which brought the traditional dance process to develop and presentation on lifestyle by mixing traditional dance moves and Thai dance into parade style. Presented as a series of performances show continuously for disseminating Thai Yuan culture on various occasions. Keywords: Performances development, Traditional performances, Tai Yuan, Lifestyle 147 pages
(จ) กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส าเร็จลงได้ด้วยความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งจากบุคคลหลายท่านในการให้ ค าปรึกษาและให้ความรู้ทางวิชาการ ตลอดจนสละเวลาอันมีค่าเพื่อให้วิทยานิพนธ์ เรื่องการ พัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีส าเร็จลงด้วยดี กราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา สายทองค า อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ แวงวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ด้วย ความซาบซึ้งใจในความกรุณาที่เสียสละให้ค าปรึกษา ค าแนะน า ตรวจทานแก้ไขข้อพกพร่อง ด้วย ความเมตตาเอาใจใส่ ติดตามงานอย่างต่อเนื่องตลอดจนเสริมแรงให้ผู้วิจัยเกิดแนวทางในการคิดเพื่อให้ วิทยานิพนธฉบับนี้ให้ส าเร็จลุล่วง กราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ประธานกรรมการสอบ อาจารย์ ดร.สุรัตน์ จงดา กรรมการหลักสูตร อาจารย์ ดร.เอกรัตน์ รุ่งสว่าง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ที่กรุณาให้ค าแนะน าจนท าให้วิทยานิพนธ์มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น กราบขอบพระคุณ นายสมจิตร ยะกุล นางวงเดือน ยะกุล และนางสงัด วรรณกุล ที่กรุณา เมตตาถ่ายทอดองค์ความรู้และกระบวนท่าร าฟ้อน ด้วยการสัมภาษณ์และลงพื้นที่เก็บข้อมูลในชุมชน วัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี กราบขอบพระคุณ นายกฤษฏิ์ชัยศิลบุญ ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์และลง พื้นที่เก็บข้อมูลในศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรีเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา องค์ความรู้กระบวนท่าร าฟ้อน และแนวทางการ พัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา บุคคลในครอบครัวอันเป็นที่รัก อาจารย์ รวมทั้งกัลยาณมิตร จากเพื่อนร่วมงานและเพื่อนนักศึกษาทุกคน ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือเป็นแรงผลักดันและก าลังใจที่ดี ตลอดมา ท าให้วิทยานิพนธ์ส าเร็จลุล่วงอย่างดี กนกวรรณ วะนุยารักษ์
(ฉ) สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย…………………………………………………………………………………….......…….…….... (ค) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ………………………………………………………………………………......……..……..... (ง) กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………………………......…………........ (จ) สารบัญ…………………………………………………………………………………………………….......……….…..... (ฉ) สารบัญภาพ……………………………………………………………………………………………….......………….... (ฌ) สารบัญตาราง............................................................................................................................... (ฏ) บทที่ 1 บทน า……………………………………………..............……………………...……….............…...…..... 1 1. ความส าคัญและความเป็นมา…………………………………………………….........…….…........ 1 2. วัตถุประสงค์การวิจัย……………………….……………………………………….......………..…...... 3 3. ขอบเขตของการวิจัย………………………...……………………………………….......…......…...... 3 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.......................................................................................... 4 5. นิยามศัพท์เฉพาะ……………………………………………...........…………………..........……....... 5 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม................................................................................................... 6 1. วิถีชีวิตประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี.................................. 7 1.1 ที่อยู่อาศัยชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี............................................................... 9 1.2 ภาษาชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี....................................................................... 9 1.3 ความเชื่อของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี.......................................................... 10 1.4 การตั้งถิ่นฐาน และลักษณะทางกายภาพชุมชนชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี...... 11 1.5 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทยวน สระบุรี.................................................................. 12 1.6 การประกอบอาชีพชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี................................................. 12 1.7 การแต่งกาย ชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี......................................................... 13 1.8 วิถีชีวิตของชาวไทยวนที่ปรากฏในงานภาพจิตรกรรมฝาผนัง.............................. 16 1.9 ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี................................... 24 2. การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี.......................................................... 31 2.1 วัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี........................................ 31 2.2 หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ต าบลดาวเรือง อ าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี.......... 37 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง...................................................................................... 45 3.1 แนวคิดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม................................................................ 45 3.2 แนวคิดการถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา................................................... 47 3.3 แนวคิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในชุมชน.................................................................... 50 3.4 ทฤษฎีอัตลักษณ์.................................................................................................. 52
(ช) สารบัญ (ต่อ) หน้า 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................... 57 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย.............................................................................................. 59 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย............................................................................................................... 61 1. กลุ่มเป้าหมายและการเลือกกลุ่มเป้าหมาย...................................................................61 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย............................................................................................... 62 3. การเก็บรวบรวมและการจัดท าข้อมูล............................................................................63 4. การตรวจสอบข้อมูล.................................................................................................... 64 5. การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................................... 65 6. การน าเสนอข้อมูล....................................................................................................... 65 บทที่ 4 กลวิธีการแสดงตลกลิเกของ พยนต์ แก้วใย.................................................................. 66 1. การแสดงพื้นบ้านชาวไทยวนต้นตาล.......................................................................... 67 1.1 ฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี...................................................... 67 1.2 ฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี.......................................................... 71 2 การแสดงพื้นบ้านไทยวนของศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้จังหวัดสระบุรี................................................................. 79 2.1 องค์ประกอบการแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบล ต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี.................................................................. 79 2.2 การจัดการแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบล ต้นตาลอ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี................................................................... 80 2.3 การสืบทอดลักษณะการแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ า ศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี.......................................... 86 3. วิเคราะห์การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี......................... 87 3.1 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี.............. 87 3.2 องค์ประกอบการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี........................... 90 3.3 การจัดการแสดงการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี..................... 97 3.4 การสืบทอดลักษณะการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนชุมชนวัดต้นตาล ต าบล ต้นตาล จังหวัดสระบุรี........................................................................................ 97 3.5 การพัฒนาการแสดงฟ้อนไทยวน จังหวัดสระบุรี................................................ 98 3.6 กระบวนท่าฟ้อนไทยวนจังหวัดสระบุรี และรูปแบบการแปรแถวในการแสดง ท่าฟ้อนไทยวนจังหวัดสระบุรี.............................................................................103 3.7 โครงสร้างลักษณะการแปรแถวท่าร าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัสระบุรี... 146
(ซ) สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ................................................................................. 153 1. สรุปผลการวิจัย............................................................................................................. 153 1.1 รูปแบบ องค์ประกอบ กระบวนท่าร า การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัด สระบุรี................................................................................................................ 153 1.2 การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี............................... 154 2. อภิปรายผล................................................................................................................... 158 3. ข้อเสนอแนะ................................................................................................................. 159 3.1 ข้อเสนอแนะ ในการน าไปใช้.............................................................................. 159 3.1 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป....................................................................... 159 บรรณานุกรม...................................................................................................................................160 บุคลานุกรม..................................................................................................................................... 162 ภาคผนวก....................................................................................................................................... 163 ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์................................................................................................... 164 ภาคผนวก ข ประวัติผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนท่าฟ้อน................................................................ 166 ภาคผนวก ค ประมวลภาพการวิจัย......................................................................................... 171 ประวัติผู้วิจัย.................................................................................................................................. 175
(ฌ) สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 การประกอบพิธีของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี............................................................................. 10 2 แผนที่จังหวัดสระบุรี................................................................................................... 11 3 การประกอบอาชีพชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 12 4 ภาพวาดบนจิตรกรรมฝาผนังในอดีตที่ปรากฏลักษณะการแต่งกายของผู้หญิงชาว ไทยวน.......................................................................................................................... 13 5 การแต่งกายของผู้ชายชาวไทยวนในปัจจุบัน............................................................... 13 6 การแต่งกายของผู้ชาย ผู้หญิง ชาวไทยวนในปัจจุบัน................................................... 14 7 การแต่งกายของผู้ชาย ผู้หญิง ชาวไทยวนในปัจจุบัน.................................................... 14 8 การแต่งกายของผู้หญิงชาวไทยวนในปัจจุบัน.............................................................. 15 9 พระอุโบสถวัดสมุหประดิษฐานราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี............................... 16 10 การแต่งกายที่ต่างกันระหว่างชาวไทยวนกับคนภาคกลาง............................................ 18 11 ภาพกลุ่มคนดูการแห่บั้งไฟ มีการนั่งปะปนกันทั้งชาวไทยและชาวไทยวน................... 18 12 การแห่บั้งไฟ วัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี................................. 19 13 ขบวนนักดนตรีพื้นบ้าน เดินน าขบวนแห่บั้งไฟ............................................................. 19 14 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ................................................. 19 15 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ................................................. 20 16 ภาพจิตรกรรมฝาผนังการอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยวน......................... 21 17 ภาพหญิงสาวยืนป้องปากหัวเราะอยู่ในฉากความโกลาหลของการคลอดลูกเขียน ในลักษณะสาวไทยวนเช่นกัน ภาพผนังพุทธประวัติจากวัดหนองยาวสูง...................... 21 18 ฉากนางอมิตตดาถูกกลุ้มรุมด่าทอทุบตี....................................................................... 22 19 ภาพไพร่นั่งล้อมวงสูบยา (กัญชา)................................................................................. 23 20 ประเพณีต้นสลากภัตชาวไทยวน.................................................................................. 24 21 ขบวนประเพณีถวายสลากภัตชาวไทยวน..................................................................... 25 22 ประเพณีถวายสลากภัตชาวไทยวน.............................................................................. 25 23 ประเพณีการแข่งเรือพื้นบ้าน........................................................................................ 26 24 ภาพบรรยากาศวันรวมญาติ วันสงกรานต์มีกิจกรรมร าโทน........................................ 29 25 ผู้ดูแลชาวไทยวน ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี....................................... 31 26 การสัมภาษณ์ ฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี.................................................... 32 27 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี..................................................................... 33 28 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี.................................................................... 33 29 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี.................................................................... 33
(ซ) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 30 นางวงเดือน ยะกุล ผู้ตีโทนและฟ้อนร าโทน จังหวัดสระบุรี ปัจจุบัน.................... 34 31 การร าโทนของชาวไทยวนสระบุรี............................................................................ 35 32 การร าโทนของชาวไทยวนสระบุรี............................................................................ 35 33 การร าโทนของชาวไทยวนสระบุรี........................................................................... 35 34 นางสงัด วรรณกุล.................................................................................................... 37 35 หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ต าบลดาวเรือง อ าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี............... 38 36 หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ต าบลดาวเรือง อ าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี............... 38 37 ภาพการแสดงชุดฟ้อนเล็บ....................................................................................... 39 38 ภาพฟ้อนสาวไหม..................................................................................................... 39 39 ภาพตีกลองสะบัดชัย............................................................................................... 40 40 สถานที่ฝึกหัดศิลปะการต่อสู้.................................................................................... 41 41 สถานที่ฝึกหัดศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัย..................................................... 41 42 ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี.......................................................................................................... 41 43 บริเวณสถานที่ใช้ประกอบพิธีส าคัญในโอกาสต่าง ๆ............................................... 42 44 บริเวณสถานที่ใช้ประกอบพิธีส าคัญในโอกาสต่าง ๆ................................................ 42 45 นายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ.............................................................................................. 43 46 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................... 59 47 การเเต่งกายชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีในขบวนแห่................................................. 66 48 อุปกรณ์ประกอบการแสดง....................................................................................... 67 49 การแสดงและอุปกรณ์ประกอบการแสดง............................................................... 67 50 กลองยาว................................................................................................................. 68 51 การแต่งกายแบบฉบับพื้นบ้านไทยวนสระบุรี.......................................................... 71 52 การแต่งกายแบบฉบับพื้นบ้านไทยวนสระบุรี........................................................... 71 53 การตีโทนแบบฉบับพื้นบ้านไทยวนสระบุรี.............................................................. 72 54 โทน.......................................................................................................................... 72 55 การตีโทนแบบฉบับพื้นบ้านไทยวนสระบุรี............................................................... 73 56 ท่าฟ้อนตากข้าวแตน................................................................................................ 74 57 ท่าฟ้อนแม่กาตากปีก.............................................................................................. 75 58 ท่าฟ้อนเหินเวหา...................................................................................................... 76 59 ท่าฟ้อนฟันไร่นา....................................................................................................... 77 60 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี ที่ได้รับการพัฒนา.......................... 80 61 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่ได้รับการพัฒนา.......................... 81 62 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่ได้รับการพัฒนา........................... 82
(ฌ) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 63 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่ได้รับการพัฒนา............................. 83 64 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่ได้รับการพัฒนา............................. 84 65 การแต่งกายแบบชาวไทยวน ประเภทชาย................................................................. 92 66 การแต่งกายแบบชาวไทยวน ประเภทหญิง.............................................................. 92 67 การแต่งกายแบบชาวไทยวนทั้งชายและหญิง............................................................ 93 68 ท่าตากข้าวแตน (ต้นฉบับแม่ใหญ่ยูง บ้านต้นตาล)..................................................... 98 69 ท่ากาตากปีก (ต้นฉบับผู้ใหญ่กีบ บ้านต้นตาล)......................................................... 98 70 ท่ากาตากปีก (ต้นฉบับผู้ใหญ่กีบ บ้านต้นตาล)........................................................... 99 71 ท่าเหินเวหา (ต้นฉบับผู้ใหญ่เลียบ หัวปลวก)............................................................ 99 72 ท่าฟันไร่ฟันนา (ต้นฉบับอาจารย์ทรงชัย วรรณกุล)....................................................100 73 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 102 74 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 103 75 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 104 76 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 105 77 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 106 78 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 107 79 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 108 80 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี.............................................................109 81 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 110 82 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 111 83 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 112 84 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 113 85 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 114 86 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 115 87 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 116 88 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 117 89 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี.............................................................118 90 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 119 91 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 120 92 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 121 93 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 122 94 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 123 95 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 124 96 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................. 125
(ญ) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 97 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................126 98 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................127 99 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................128 100 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................129 101 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................130 102 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................131 103 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................132 104 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................133 105 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................134 106 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................135 107 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................136 108 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................137 109 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................138 110 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................139 111 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................140 112 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................141 113 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................142 114 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................143 115 ท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............................................................144 116 นายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ...............................................................................................166 117 นางวงเดือน ยะกุล...................................................................................................169 118 สัมภาษณ์ข้อมูลและแนวทางการแสดงของชุมชนต้นตาล จังหวัดสระบุรี............... 171 119 สัมภาษณ์ข้อมูลและแนวทางการแสดงของชุมชนต้นตาล จังหวัดสระบุรี............... 171 120 สัมภาษณ์ข้อมูลและแนวทางการแสดงจากนายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ............................172 121 สัมภาษณ์ข้อมูลและแนวทางการแสดงจาก นายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ......................... 172 122 การสอบเค้าโครงร่างวิทยานิพนธ์............................................................................. 173 123 การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์.................................................................................... 173
(ฎ) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 กลุ่มชาวไทยวน ที่ปรากฏในเขตบริเวณ จังหวัดสระบุรี............................................ 31 2 ตารางแสดงพื้นที่ในการเก็บข้อมูล............................................................................ 63 3 ท่าฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี....................................................... 69 4 ท่าฟ้อนตากข้าวแตน................................................................................................. 74 5 ท่าฟ้อนแม่กาตากปีก............................................................................................... 75 6 ท่าฟ้อนเหินเวหา....................................................................................................... 76 7 ท่าฟ้อนฟันไร่นา....................................................................................................... 77 8 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่มีการพัฒนา.................................. 80 9 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่มีการพัฒนา................................. 81 10 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่มีการพัฒนา................................. 82 11 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่มีการพัฒนา................................. 83 12 ท่าร าฟ้อนร าโทนของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรีที่มีการพัฒนา................................. 84 13 การวิเคราะห์การพัฒนาโครงสร้างกระบวนท่าฟ้อน................................................. 87 14 ภาพเปรียบเทียบการพัฒนาการเเต่งกาย ของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี................. 94 15 ภาพเปรียบเทียบการพัฒนาเครื่องดนตรี ที่ปรากฏของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี.... 95 16 ทิศทางการหันหน้าในการแสดงฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี............... 101 17 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี.......... 102 18 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าร าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี..... 103 19 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี.......... 104 20 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 105 21 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 106 22 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 107 23 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 108 24 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 109 25 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 110 26 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 111 27 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 112 28 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 113 29 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 114 30 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 115
(ฏ) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 31 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 116 32 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 117 33 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 118 34 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 119 35 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 120 36 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 121 37 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 122 38 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 123 39 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 124 40 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 125 41 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 126 42 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 127 43 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 128 44 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 129 45 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 130 46 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 131 47 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 132 48 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 133 49 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 134 50 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 135 51 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 136 52 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 137 53 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 138 54 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 139 55 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 140 56 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 141 57 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 142 58 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 143 59 รูปแบบการแสดงและโครงสร้างท่าฟ้อนไทยวน ต าบลต้นตาล จังหวัดสระบุรี........ 144 60 แถวขนานกับผู้ชม................................................................................................... 145 61 แถวขนานกับผู้ชม................................................................................................... 146 62 แถวแบบกลุ่ม......................................................................................................... 146
(ฐ) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 63 แถวแบบกลุ่ม.......................................................................................................... 147 64 แถวคู่..................................................................................................................... 147 65 แถวคู่..................................................................................................................... 148 66 แถวแบบสมดุลและไม่สมดุล................................................................................... 148
บทที่1 บทน ำ 1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ ชาติพันธุ์ไทยวนเป็นกลุ่มคนที่มีประวัติศาสตร์ทางการเมืองและวัฒนธรรมในพื้นที่ภาคเหนือ ของไทยมาอย่างยาวนาน โดยมีรากบรรพบุรุษจากเมืองเชียงแสนหรืออาณาจักรโยนก ชื่อโยนก จึงเพี้ยนมาเป็นชื่อชาติพันธุ์ “ยวนหรือโยน” กระทั่งอาณาจักรโยนกได้ล่มสลายจากภัยธรรมชาติคน เหล่านี้ได้เคลื่อนย้ายมาสร้างเมืองใหม่ คือ “เชียงใหม่” และเรียกขอบเขตของอ านาจแห่งนี้ว่า อาณาจักรล้านนา หลังจากนั้นเชียงใหม่จึงเป็นอู่วัฒนธรรมของชาวไทยวน ก่อเกิดของความเชื่อ กฎเกณฑ์ จารีต วิถีชีวิตและการผลิต การรักษาโรค ศิลปะการศึกษา โดยมีลักษณะทางวัฒนธรรม ภายใต้ความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษและศาสนาพุทธ การรวมกลุ่มภายใต้โครงสร้างเครือญาติ ศิลปวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานจากกลุ่มวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่อยู่ในพื้นที่ล้านนาและจากกลุ่มอ านาจ ที่เข้ามามีอิทธิพลต่อล้านนา ท าให้ประวัติศาสตร์ของชาวไทยวนมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลง ช่วงชิง ในบางช่วงเวลา ก่อให้เกิดการนิยามตัวตนใหม่ เรียกว่า “คนเมือง” เพื่อสร้างความแตกต่างและ ความสัมพันธ์เชิงอ านาจกับกลุ่มอื่น ๆ เหล่านั้น แต่เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงไปสู่รัฐชาติสมัยใหม่และ การเข้ามาของแนวคิดใหม่ ๆ เช่น การสร้างความเป็นไทย การพัฒนาเศรษฐกิจสังคม ส่งผลให้เกิด วิถีชีวิตและการผลิตแบบใหม่ ค่านิยมและคุณค่าใหม่ ๆ ปัจจุบันสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้วิถีชีวิต ความเชื่อ และระบบโครงสร้างเดิมของชาวไทยวนเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามมีชาวไทยวน บางกลุ่มได้พยายามที่ชะลอความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความทันสมัยเหล่านั้นด้วยการหันกลับมา รวมกลุ่มฟื้นฟูวัฒนธรรมความเชื่อบางอย่างเพื่อด ารงอัตลักษณ์ของคนไทยวนในสังคมปัจจุบัน (เตือนใจ ไชยศิลป์, 2535, น. 39) การกระจายตัวของชาวไทยวนมีทั้งแบบย้ายถิ่นฐานตามปกติ และการย้ายถิ่นฐานเพราะ ถูกกวาดต้อนไปเนื่องจาก ศึกสงครามดังเช่น ไทยวนสระบุรี เรียกตามแต่ละท้องถิ่นที่อพยพมาตั้ง ถิ่นฐาน คนไทยวนสระบุรีนั้นอพยพมาอยู่ที่ จังหวัดสระบุรี ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ริมแม่น้ าป่าสัก พื้นที่อ าเภอเสาไห้ จ.สระบุรีซึ่งเป็นพื้นที่ที่อุดม สมบูรณ์ เหมาะแก่การท าเกษตรกรรม การปลูกสร้างบ้านเรือน ก็ยึดแบบแผนดั้งเดิมที่เคยมีมาจาก บรรพบุรุษ จากอดีตครั้งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชในปีพ.ศ. 2347 ได้มีบัญชาให้เจ้าพระยายมราชยกทัพหลวงไปร่วมกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ เชียงใหม่ น่าน ล าปางและ เวียงจันทน์ จัดทัพเป็น 5 ทัพยกไปตีเมืองเชียงแสนหลังจากล้อมเมืองอยู่ได้1 - 2 เดือนจึงตีเชียงแสน ส าเร็จ ได้ท าการเผาท าลายป้อมปราการก าแพงเมืองและกวาดต้อนผู้คนชาวเชียงแสนได้ประมาณ 23,000 คนเศษ ชาวเชียงแสนส่วนหนึ่งอพยพเข้าไปอยู่ในเชียงใหม่ น่าน ล าปาง เวียงจันทน์ อีกส่วน หนึ่งอพยพเข้าอยู่ในสระบุรีและราชบุรี เรียกตัวเองว่า ไทยวน (สมจิตร ยะกุล,2562,26ตุลาคม,สัมภาษณ์)
2 หลักฐานรูปแบบการแต่งกายของชาวไทยวน ในอดีตยังมีปรากฏตามสถานที่ส าคัญต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี สามารถศึกษาข้อมูลได้ เช่น วัดสมุหประดิษฐาราม ต าบลสวนดอกไม้ อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี พระอุโบสถทรงไทยเฉลียง 2 ชั้น หน้าบันเป็นปูนปั้นลวดลายดอกไม้และรูปสิงห์ ภายในมีจิตรกรรม ฝาผนังภาพขบวนแห่งานพิธีถวายกระทงเสียหัว ซึ่งเป็นประเพณีพื้นบ้านท้องถิ่น และภาพกลุ่มสตรีชาวล้านนา การแต่งกายและวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต(เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว,2551) วัดหนองยาวสูง ต.หนองยาว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี เป็นตั้งอยู่บนเขาเล็ก ๆ ต าบลหนองยาวสูง อ าเภอเมือง อุโบสถก่ออิฐถือปูนขนาดสามห้อง หลังคามุงกระเบื้องไม่มีชั้นลด ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เป็นไม้จ าหลักลงรักปิดทองประดับกระจก รูปทรงของพระอุโบสถและลักษณะจิตรกรรมฝาผนัง รวมทั้งรูปแบบ และเทคนิคการระบายสีในงานจิตรกรรม ภายในพระอุโบสถ มีจิตรกรรมไทยประเพณี สกุลชางหลวง เขียนด้วยสีฝุ่นเต็มพื้นที่ ตั้งแต่ขอบล่างของบานหน้าต่างขึ้นไปจนจรดเพดานทั้งสี่ด้าน สันนิษฐานว่าภาพเขียนน่าจะเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เนื่องจากปรากฏภาพสตรีในราชส านักไว้ผม ยาวประบ่าแบบยุโรป ภาพทหารแต่งกายแบบยุโรป ฯลฯ ที่น่าสนใจก็คือการเขียนภาพให้เต็มพื้นที่ หรือที่เรียกว่าภาพกากปะปนไป สามารถที่จะบอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิต การแต่งกาย และประเพณีของ ชาวยวน เช่นการคลอดบุตร การล่าสัตว์การเกี้ยวพาราสี ข้าวของเครื่องใช้เมื่อครั้งในอดีต ซึ่งเป็นสิ่งที่ ต้องใช้เวลา ค่อย ๆ แคะและค้นหาออกมาจากภาพหลักเพื่อเป็นสีสัน (ศรัณย์ทองปาน, 2552, น. 3) ศิลปะการแสดงเปรียบเสมือนเครื่องมือที่มนุษย์ใช้เป็น ตัวกลางในการเชื่อมโยงความรู้สึก เพื่อถ่ายทอดให้ บุคคลอื่นรับรู้ถึงสิ่งที่ต้องการแสดงออก การแสดงเป็น ศิลปะการสื่อสารที่ปรากฏภาพ เป็นรูปธรรม ผู้ชม สามารถรับรู้และเข้าใจได้ง่ายโดยไม่ยุ่งยากในการ ตีความ ส่วนอารมณ์ความรู้สึก ผู้ชมสามารถสื่อสัมผัส ได้โดยตรงจากผู้แสดง (บรรจง โกศัลวัฒน์, 2551, น. 19) ศิลปะการแสดง ในรูปแบบต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปตามสมัยนิยม จึงมีการส่งเสริมและ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์เผยแพร่ สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นจนถึงปัจจุบัน ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์จังหวัดสระบุรี นอกจากเป็นแหล่งรวบรวม องค์ความรู้ ยังเป็นสถานที่เริ่มพัฒนาสร้างสรรค์กระบวนท่าร าการแสดงของชาวไทยวนในอดีตสืบสาน และสานต่อเอกลักษณ์ของชาวไทยวน เพื่อให้เยาวชนได้สามารถเข้าใจในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ ชาวไทยวนได้มากยิ่งขึ้น จากการสะท้อนในรูปแบบการแสดง โยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์จังหวัด สระบุรี จึงเป็นศูนย์รวมหลักของ การสืบสานมรดกทางด้านปัญญาและวัฒนธรรมชาติพันธ์ไทยวน สระบุรี มีส่วนส าคัญในการอนุรักษ์สืบสาน รูปแบบของการแสดงฟ้อนร า และการสาธิตการประกอบ อาชีพที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต ส่งผลให้รูปแบบการแสดงของชาวไทยวนสระบุรียังคงมีเอกลักษณ์ ไปจาก การแสดงทั่วไป เพื่อรักษาสืบสานมรดกทางด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชาติพันธ์ไทยวนสระบุรี โดย อาศัยรูปแบบการร่ายร าที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตวัฒนธรรมจากอดีตจนถึงปัจจุบันที่มีการพัฒนา สืบสาน วัฒนธรรมตามรุ่นสู่รุ่นแม้บริบททางสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ก็ยังคงเอกลักษณ์ที่น่าสนใจ (กฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ, 2563, 12 กันยายน, สัมภาษณ์) จากที่ผู้วิจัยได้ศึกษา ชาวไทยวนปัจจุบันที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสระบุรียังคงรักษาเอกลักษณ์วิถี ชีวิตแบบดั้งเดิม และมีการรวมตัวเพื่อรักษาสืบสานมรดกทางด้านปัญญาและวัฒนธรรมชาติพันธ์ไทย วนสระบุรี โดยมีแหล่งศึกษาเรียนรู้ในสถานที่ส าคัญ คือ หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน สระบุรี วัดต้น ตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์จังหวัดสระบุรี โดย
3 ทั้งสามสถานที่นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นศูนย์กลาง ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสืบสานมรดก ทางด้านปัญญาและวัฒนธรรมชาติพันธ์ไทยวนสระบุรี เพื่อฝึกอบรมเยาวชนให้เรียนรู้ภูมิปัญญา พื้นบ้านและศิลปะการแสดง เช่น ภาษาพูด การแต่งกาย การฟ้อนร า เครื่องดนตรีการทอผ้า ย้อมผ้า ด้วยสีธรรมชาติ และใช้ชีวิตตามวิถีแท้จริงของชาวไทยวนแต่เก่าก่อน เพื่อด ารงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของชาว ไทยวนสระบุรี ตามอย่างบรรพบุรุษมีความพอดีและพอเพียง เพื่อเก็บสะสมบ้านเรือนไทยเครื่องใช้ โบราณผ้าโบราณ เรือพื้นบ้าน และเปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาสถาบันการศึกษาและบุคลากร บุคคลทั่วไปเข้ามาศึกษาเรียนรู้น าไปเป็นหลักฐานอ้างอิงอันก่อให้เกิดองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ ซึ่งชาวไทยวนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะรับการสืบสาน ต่อยอดการรักษาวัฒนธรรม ของชาวไทยวน ซึ่งหอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวนสระบุรี, วัดต้นตาล อ าเภอเสาไห้จังหวัดสระบุรี และ ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์จังหวัดสระบุรี จึงเปรียบเสมือนจุดศูนย์รวมในการ ตระหนักถึงรากเหง้าของชาวไทยวน ผู้วิจัยจึงตระหนักถึงความส าคัญของประวัติ ความเป็นมา ตลอดจน รูปแบบ องค์ประกอบ กระบวนท่าร า การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี รวมทั้งแนวทางการพัฒนาการแสดงที่ มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจากรูปแบบการแสดงเดิมแต่ยังคงลักษณะเฉพาะของชาวไทยวน ดังที่ กล่าวมาข้างต้น น าไปสู่การวิจัยในเรื่องการพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรีที่ ปรากฏในศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี และ เห็นสมควรอย่างยิ่งที่กระบวนท่าร าของชาวไทยวน จะได้รับการถ่ายทอดและฟื้นฟูกระบวนท่าร าที่ ขาดหายไป กลับมาประมวลในระบบ เพื่อเป็นข้อมูลส าคัญอันเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์การแสดงพื้นบ้านไทยวน ให้มีอัตลักษณ์เฉพาะ น าไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมของจังหวัดต่อไป 2. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย/กำรสร้ำงสรรค์ 2.1เพื่อศึกษารูปแบบ องค์ประกอบ กระบวนท่าร า การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี 2.2 เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี 3. ขอบเขตกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษารูปแบบการแสดงของชาวไทยวน โดยแบ่งเป็นขอบเขต 3 ด้าน ดังนี้ 3.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ 1) ศึกษารูปแบบการแสดงของชาวไทยวนที่ปรากฏในชุมชนวัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 2) ศึกษาการแสดงของชาวไทยวนที่ปรากฏในศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ า ศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 3.2 ขอบเขตด้ำนพื้นที่ ผู้วิจัยได้ก าหนดพื้นที่คาดว่าจะเป็นแหล่งของข้อมูลและเป็นกรณีศึกษาในงานวิจัย ได้แก่ จังหวัดสระบุรี
4 3.3 ขอบเขตด้ำนบุคคลผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร งานวิจัย บทความ ฐานข้อมูลออนไลน์และ สื่อโซเชียลมีเดีย เพื่อน ามาประกอบการก าหนดผู้ให้ข้อมูลในงานวิจัยโดยก าหนดบุคคลผู้ให้ข้อมูลตาม วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากวัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้จังหวัดสระบุรี (1) นายสมจิตร ยะกุล อายุ 79 ปี มีต าแหน่งเป็น ผู้ที่ดูแลบุคคลเชื่อสายไทยวน อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (2) นางวงเดือน ยะกุล อายุ 75 ปีมีต าแหน่งเป็น ผู้ถ่ายทอดกระบวนท่าร า การ บรรเลงเครื่องดนตรีพื้นบ้าน (3) นายเอวิน ยะกุล อายุ 29 ปี มีต าแหน่งเป็น ผู้ถ่ายทอดกระบวนท่าร า 2) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากหอศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน จังหวัดสระบุรี (1) นายทรงชัย วรรณกุล อายุ 78 ปี ต าแหน่งเป็น ผู้ก่อตั้งหอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทย วนจังหวัดสระบุรี (2) นางสงัด วรรณกุล อายุ 74 ปี มีต าแหน่งเป็น ผู้ดูแลและควบคุมการแสดงใน หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน จังหวัดสระบุรี (3) นางสุพัตรา ชูชม อายุ 46 ปี มีต าแหน่งเป็น ครูช่างศิลป์หัตถกรรมประเภท เครื่องทอผ้าซิ่นตีนจกหอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวนจังหวัดสระบุรี 3) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (1) นายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ อายุ 42 ปีมีต าแหน่งเป็น ผู้ดูแลและพัฒนาการแสดงพื้นบ้าน ของศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (2) นางณิชมน เอี่ยมอุบลวรรณ อายุ 50 ปี มีต าแหน่งเป็น ผู้ผลิต อุปกรณ์การแสดง พื้นบ้านของศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (3) นางทัตชญา วริษชลาธาร อายุ 64 ปี มีต าแหน่งเป็น ผู้ดูแลอุปกรณ์การแสดง พื้นบ้านของศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 4.1 ได้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา รูปแบบ องค์ประกอบ การพัฒนาโครงสร้าง กระบวนท่าร าการแสดงพื้นบ้าน ของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี เพื่อเป็นพื้นฐานส าหรับจัดการแสดง 4.2 เป็นหลักฐานอ้างอิงในกระบวนท่าร าและเป็นการสืบทอดท่าร าให้ปรากฏในรูปแบบ เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่ออนุรักษ์สืบสานเป็นมรดกวัฒนธรรมต่อไป
5 5. นิยำมศัพท์เฉพำะ การพัฒนาการแสดง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโดยผ่านประสบการณ์ตลอดระยะเวลา จนสามารถน าประสบการณ์มาสร้างสรรค์ท าให้มีการปรับปรุง และเหมาะสมตามการเปลี่ยนแปลงของ บริบทต่างๆ และถ่ายทอดเรื่องราว ผ่านกระบวนการท่าร าสะท้อนให้เห็นถึงเรื่องราวนั้น ๆ การแสดงพื้นบ้าน หมายถึง การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น ตาม สภาพทางภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม อาชีพ ตลอดจนอุปนิสัยของคนในท้องถิ่น จึงท าให้การแสดงพื้นบ้าน มีลีลาท่าทางที่แตกต่างกันออกไป แต่ก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง และ พักผ่อนหย่อนใจ ไทยวน หมายถึง ชุมชนชาวไทยกลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในอ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี มีภาษาพูด วัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณะคล้ายคนภาคเหนือแถบ เชียงราย เชียงใหม่ เชียงแสน ชนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า “ไทยวน” วิถีชีวิต หมายถึง การด าเนินชีวิตประจ าวัน โดยมีลักษณะของพฤติกรรมการแต่งตัว อาหารการกิน ที่อยู่อาศัย จะเป็นตัวบ่งบอกถึง รูปแบบการด าเนินชีวิต ฟ้อนไทยวน หมายถึง การฟ้อนร าของชาวไทยวนสระบุรี ท่วงท่าลีลาของการฟ้อนไทยวน สระบุรี และการฟ้อนร าของชาวไทยวนในรูปแบบนายกฤษฏิ์ ชัยศิลบุญ ที่ถอดแบบแม่ท่าการฟ้อนร า ของชาวไทยวนจากฟ้อนกลองยาวและฟ้อนร าโทน
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ในการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัยด าเนินการ ทบทวนวรรณกรรม เพื่อศึกษารูปแบบ องค์ประกอบ กระบวนท่าร าการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี เพื่อวิเคราะห์การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน จังหวัดสระบุรี และศึกษาประเด็นใน การท าวิจัย จากการศึกษาข้อมูลวิชาการ จากเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ปรากฏข้อมูล วรรณกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อันจะน าไปวิเคราะห์โดยก าหนดแนวทางการศึกษาไว้ดังนี้ 1. วิถีชีวิตประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.1 ที่อยู่อาศัยชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.2 ภาษาชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.3 ความเชื่อของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.4 การตั้งถิ่นฐาน และลักษณะทางกายภาพชุมชนชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.5 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทยวน สระบุรี 1.6 การประกอบอาชีพชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.7 การแต่งกาย ชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 1.8 วิถีชีวิตของชาวไทยวนที่ปรากฏในงานภาพจิตรกรรมฝาผนัง 1.9 ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี 2. การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี 2.1 วัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 2.2 หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ต าบลดาวเรือง อ าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3.1 แนวคิดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม 3.2 แนวคิดการถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา 3.3 แนวคิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในชุมชน 3.4 ทฤษฎีอัตลักษณ์ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย
7 1. วิถีชีวิตของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี หลักฐานด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ปรากฏในภาพจิตรกรรม ฝาผนังที่วัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี แสดงถึงพิธีการท าบุญสลากภัต การแต่งกายของชาวไทยวน ในอดีตรวมถึงวิถีชีวิตชาวไทยวนที่สวยงามน่าชม และเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่ชัดเจน กลุ่มไทยวนมีชุมชน เริ่มแรกอยู่ที่อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี มีภาษาพูด และ วัฒนธรรมคล้ายคนในภาคเหนือ เหตุที่ชาวไทยวน มาตั้งถิ่นฐานที่อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรีนั้น ในปีพุทธศักราช 2347 ตรงกับปีชวด เป็นปีที่ 23 แห่งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก ขณะนั้นเชียงแสนตกอยู่ในอิทธิพลของพม่า ซึ่งอาศัยเชียงแสนเป็นแหล่งสะสมเสบียงอาหาร และก าลังพลส าหรับจะยกทัพเข้าตีเมืองฝ่ายเหนือของไทย พระองค์ทรงมีพระราชด าริจะก าจัดอิทธิพล ของพม่าให้สิ้นไปจากพื้นแผ่นดินไทย พระองค์ทรงรับสั่งให้พระเจ้าหลานเธอกรมหลวงหริรักษ์ร่วมกับ พระยายมราชจัดกองทัพจากกรุงเทพฯ ขึ้นไป สมทบกับกองทัพนครล าปาง กองทัพนครเชียงใหม่ กองทัพเมืองน่านและกองทัพนครเวียงจันทน์ รวมเป็น 5 กองทัพ เพื่อให้เข้าโจมตีเมืองเชียงแสน กอง ก าลังทั้ง 5 ล้อมเมืองเชียงแสนไว้ประมาณหนึ่งเดือนก็ตีเมืองได้ พม่าที่อยู่ในเมืองเชียงแสนแตกหนีไป กองทัพไทยได้รื้อป้อมปราการ ก าแพงเมือง และเผาบ้านเรือนจนสิ้นซากเพื่อไม่ให้เป็นประโยชน์แก่ พม่าอีกต่อไป และได้กวาดต้อนชาวเมืองเชียงแสนทั้งหญิงและชายที่อยู่ในวัยฉกรรจ์พอที่จะมีก าลัง เดินทางไกลได้ประมาณ 23,000 คน ชาวเมืองดังกล่าวถูกแบ่งออกเป็นห้าส่วน ส่วนละเท่า ๆ กัน เพื่อมอบให้แก่กองทัพทั้งห้า กองละประมาณ 4,000 กว่าคน กองทัพของเมืองหลวงได้พาชาวเชียง แสนเดินทางมายังกรุงเทพฯ ขณะเดินทางผ่านถึงเมืองสระบุรี บริเวณอ าเภอเสาไห้ ชาวเมืองเชียงแสน ส่วนหนึ่งมีความประสงค์ตั้งถิ่นฐานท ากินอยู่ ณ ที่นั่น คนยวนที่เป็นหัวหน้าน าหมู่คนยวน จากเชียงแสนมาครั้งโน้นที่มีชื่อจดจ าเล่าขานกันมาถึง ทุกวันนี้มี 3 คน คือ ปู่เจ้าฟ้า ได้น าบริวารมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านเจ้าฟ้า และทุกวันนี้ที่บ้านเจ้าฟ้าก็มี ศาลของปู่เจ้าฟ้าตั้งอยู่ เมื่อถึงวันสงกรานต์ชาวบ้านจะเชิญวิญญาณปู่เจ้าฟ้ามาประทับทรงให้ลูกหลาน รดน้ าด าหัวให้ ท่านก็จะให้ศีลให้พร และพยากรณ์เหตุการณ์บ้านเมืองให้ทราบ ปู่เจ้าฟ้ามีน้องชายคน หนึ่งชื่อว่า หนานต๊ะ น าบริวารมาตั้งบ้านเรือน อยู่ที่บ้านสิบต๊ะ (ปัจจุบันเรียกว่าบ้านสวนดอกไม้ อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี) เล่ากันมาว่าหนานต๊ะผู้นี้ เป็นผู้มีอาคมขลังมากและรบเก่ง สามารถเอา เต้าปูนยกขึ้นรับลูกธนูที่ศัตรูยิงมาได้ หัวหน้าที่น าหมู่คนยวนอพยพมาครั้งนั้นอีกท่านหนึ่งชื่อว่า ปู่คัมภีระ ได้น าบริวารตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านไผ่ล้อม และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวกองโต ในสมัย รัชกาลที่ 2 ท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองสระบุรี มีบรรดาศักดิ์ว่า พระยารัตนกาศ ชาวไทยวนได้มา ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ าป่าสัก ตั้งแต่ที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ขึ้นไปทางตะวันออก ต่อมาจึงได้ขยับ ขยายที่ตั้งบ้านเรือนไกลจากแม่น้ าป่าสักออกไป ปัจจุบันชาวไทยวน ตั้งถิ่นฐานอยู่แทบทุกอ าเภอที่มี มากที่สุดคือ ที่อ าเภอเสาไห้ อ าเภอเมืองสระบุรี อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ และอ าเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรีจึงมีชาวไทยวน (ชาวไทยที่มาจากเชียงแสน) อยู่สืบทอดขยายประชากรไปทุกอ าเภอ (เว้นอ าเภอดอนพุด และอ าเภอหนองโดน) และขยายไปยังจังหวัดใกล้เคียง เช่นที่อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี อ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ อ าเภอปากช่อง อ าเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัดสระแก้ว มาจนทุกวันนี้ (พิเนตร น้อยพุทธา, 2540, น. 27 - 28)
8 ชาวไทยวน มีวิถีชีวิตประจ าวันที่เรียบง่าย เมื่อมีการพบปะกันจะมีค าทักทายว่า “ไปไหนมา เจ้า” และจะตอบกลับว่า “ไปแอ่วมา” ที่หมายถึง ไปเที่ยว หรือเมื่อมีการไปเยี่ยมบ้านไทยวน เจ้าบ้าน จะทักว่า “มาแอ่วกาเจ้า” ถ้าช่วงเวลามื้ออาหารจะมีการทักทายว่า “กินข้าวแล้วกาเจ้า” จึงจะชวน กินข้าวด้วยกัน ถ้าแขกปฏิเสธก็จะถือเป็นการรังเกียจเจ้าบ้าน ส าหรับคนหนุ่มสาวในยามเย็นของหนุ่ม ๆ จะไปนั่งล้อมวงและแอ่วสาว ส าหรับวัฒนธรรมการเลือกคู่ครองของหญิงชายชาวไทยวน จะให้สิทธิเสรีในการเลือกคู่ครอง แต่อยู่ในขอบเขตภายใต้ผู้ปกครอง โดยจะเปิดโอกาสให้มีการ “อู้สาว” ภายในบ้านฝ่ายหญิงเพื่อพ่อแม่ ได้สังเกตและควบคุมอยู่ห่าง ๆ เพราะว่าถ้ามี “การผิดผี” ที่มีการสัมผัสแตะเนื้อต้องตัวกัน จะต้องมี กระบวนการท าพิธีสู่การกินอยู่ตามประเพณี งานแต่งงานฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายจัดเลี้ยงและท าพิธี เลี้ยงผี และเรียกว่า “การเอาผัวเอาเมีย” หรือ “กินแขก” เมื่อแต่งงานแล้วฝ่ายชายจะต้องเข้ามาอยู่ กับครอบครัวฝ่ายหญิง ประมาณหนึ่งปีเพื่อช่วยงานในไร่นาและรับค าแนะน าในการท ามาหากินหรือ แนวทางการครองชีพ ดังที่ค ากล่าวในค าเมืองว่า “หนุ่มสาวเอากันใหม่น้ าพริกน้ าเกลือยังบ่เข้าฮูดัง ยังบ่รู้จักทุกข์เทื่อ” (หมายถึง สาวแต่งงานใหม่ ยังไม่รู้รสของความทุกข์ล าบาก จึงต้องอบรมเสียก่อน) หลังจากนั้นเมื่อคู่บ่าวสาวจะต้องแยกไปตั้งครอบครัวสร้างเรือนใหม่ การแยกครัวใหม่นี้อาจจะมีการตั้ง บ้านเรือนในละแวกใกล้เคียง พ่อแม่จะคอยแนะน าอาชีพที่ส่วนใหญ่จะคล้อยตามวิธีการด ารงชีพของพ่อ แม่ คือ ท าไร่ ท านา ฉะนั้นพ่อแม่จึงคล้ายกับเป็นพี่เลี้ยงจนกว่าลูก ๆ จะมีฐานะการครองชีวิตที่ดีขึ้น เมื่อใช้ชีวิตแยกจากพ่อแม่ ผู้ชายและผู้หญิง จะมีการแบ่งหน้าที่กันตามจารีตประเพณีคือ ผู้ชาย จะมีหน้าที่ดูแลสี่มุมบ้าน เช่น การแผ้วกวาดบริเวณนอกบ้านและท างานที่ติดกับนอกบ้าน ส่วนผู้หญิง จะท าหน้าที่ในการดูแลสี่มุมในเรือนบ้าน จะเป็นการกวาดบ้าน ดูแลเรื่องอาหาร น้ า เครื่องใช้และเสื้อผ้าให้สามีและลูก ๆ ในบ้าน เมื่อถึงเวลามื้ออาหาร จะมีการเรียกมาทานข้าว ร่วมกันหลังจากเสร็จกับมื้ออาหาร ผู้ชายและผู้หญิงจะนั่งเคี้ยวเมี่ยงหรือสูบบุหรี่ ส าหรับการด ารงชีพ ของชาวไทยวน โดยส่วนใหญ่มีอาชีพท านา ท าสวน เช่น การท าสวนล าไย มะม่วง และการเลี้ยงสัตว์ ในครัวเรือน เช่น วัว ควาย หมู ยามว่างจากงานในไร่ ผู้คนจะออกไปหาของป่า ล่าสัตว์ จับปลาตาม ท้องทุ่ง เก็บผัก เก็บฟืนเพื่อใช้ในครัวเรือน ส่วนในยามว่างคนไทยวนนิยมท าเครื่องจัดสานตะกร้า กระบุง และการทอผ้าจากฝ้ายและใช้สีธรรมชาติ การประดิษฐ์หรือผลิตปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อใช้ใน การยังชีพในระดับครัวเรือน แต่หากวัตถุดิบและปัจจัยเหล่านี้หลงเหลือจากการบริโภคในครัวเรือนก็ จะเป็นสินค้าที่สร้างรายได้จ านวนหนึ่ง เช่น จะมีการขายสินค้าเล็ก ๆ น้อย ๆ ในตลาด พื้นที่ตลาดจึง เป็นพื้นที่กลางของคนยวนที่มักมาพบปะกัน สังสรรค์ และร่วมค้าขายแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ฉะนั้น เศรษฐกิจของชาวยวนในอดีตจึงเป็นเศรษฐกิจแบบกึ่งยังชีพ (ระวิวรรณ โอฬารัตน์มณี, 2558, น. 84) ภายหลังทศวรรษ 2500 หลังเริ่มใช้นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นต้นมาท าให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน เช่น การเพิ่มจ านวนของจ านวนประชากรมากขึ้น จึงมีการ ขยายตัวออกไปบุกเบิกพื้นใหม่ ๆ อย่างกว้างขวาง มีการตั้งบ้านในบริเวณเขตเมืองและชนบทท าให้ ปัจจุบันมีการประกอบอาชีพที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ท าอาชีพค้าขาย รับราชการ และเป็นพนักงาน รับจ้างต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านการเกษตรมีการเปลี่ยนสภาพที่นามาปลูกล าไย มันส าปะหลัง ไร่ส้ม นอกจากนี้ การเข้ามาลงทุนทางอุตสาหกรรมในพื้นที่ ยิ่งเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะ การถางป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจมากขึ้น เช่น จ าพวกถั่ว อ้อย ข้าวโพด มันส าปะหลัง ลิ้นจี่ และการ
9 ปลูกผักหลากหลายชนิด เพื่อส่งขายไปยังแหล่งอุตสาหกรรมและตามความต้องการของตลาดในพื้นที่ ต่าง ๆ ในประเทศไทย หรือแม้แต่อาชีพการเลี้ยงสัตว์ของชาวไทยวน ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นการเลี้ยง สัตว์เชิงพาณิชย์มากขึ้นมีการลงทุนจากนายทุนภายนอกเพื่อเป็นสินค้าแปรรูปเนื้อสัตว์ เช่น ไก่ วัว หมู ในช่วงสามสิบที่ผ่านมา นอกจากการเปลี่ยนสินค้าเกษตรสู่อุตสาหกรรมแล้ว สินค้าประเภท หัตถกรรม จักสาน ทอผ้า แกะสลัก และการประดิษฐ์ของชาวบ้านในท้องถิ่น ได้รับการส่งเสริม ให้มีการผลิตเชิงอุตสาหกรรมขนาดกลาง การเติบโตจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและก่อให้เกิดอาชีพที่ หลากหลายมากขึ้น ส่งผลให้ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ได้มีวิถีชีวิตการท างานที่แตกต่างไปจากคนรุ่นก่อนที่มี อาชีพท าไร่ ท านา เลี้ยงสัตว์และท ากิจกรรมตามประเพณีในชีวิต หลักฐานด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ปรากฏในภาพจิตรกรรม ฝาผนังที่วัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี แสดงถึงพิธี การท าบุญสลากภัต การแต่งกายของชาวไทยวน ในอดีตรวมถึงวิถีชีวิตชาวไทยวนที่สวยงามน่าชม และเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่ชัดเจน กลุ่มไทยวนมีชุมชน เริ่มแรกอยู่ที่อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี มีภาษาพูด และ วัฒนธรรมคล้ายคนในภาคเหนือ เหตุที่ชาวไทยวน มาตั้งถิ่นฐานที่อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรีนั้น จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่าหลักฐานด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวไทยวน ในจังหวัดสระบุรี ยังคงปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรและรูปภาพที่ชัดเจนอยู่ในสถานที่ส าคัญต่าง ๆ ยังคงเอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่น ภาษาพูดท้องถิ่นทางภาคเหนือ การแต่งกายพื้นเมือง ที่ยังคงพบเห็น อยู่จนถึงปัจจุบันในบริเวณของบ้านสวนดอกไม้ อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี จากการศึกษาข้อมูล ดังกล่าวมีประเด็นที่ส าคัญดังต่อไปนี้ 1.1 ที่อยู่อาศัยชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ด้านที่อยู่อาศัยของชาวไทยวนนั้น จากการสัมภาษณ์ ทรงชัย วรรณกุล (อ้างถึงใน ตวงพร มีทรัพย์, 2550, น.27) ได้กล่าวถึงที่อยู่อาศัยของชาวไทยวนไว้ คือ เรือนของชาวไทยวนนั้นมีเอกลักษณ์เฉพาะเรียกว่า เรือนเชียงแสนหรือเรือนกาแล กล่าวคือ จะมีไม้ไขก็อยู่บนหลังคาเหนือจั่ว เรือนส่วนบนจะผายออกที่เรียกว่า เรือนอกโตเอวคอดเมื่อชาวเชียงแสนได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรีในตอนต้นนั้น มีการปลูกเรือนกาแลอยู่บ้าง ดังที่ปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดจันทรบุรี จากการสอบถามคนเฒ่าคนแก่ในชุมชนบ้านเสาไห้ก็พบว่า แต่เดิมนั้นมีการปลูกเรือนกาแลอยู่บ้าง ส่วนเรือนไม้ไผเป็นรูปแบบเรือน แบบหนึ่งที่ชาวไทยวน ในอดีตใช้เป็น ที่อยู่อาศัย ดังปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังวัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 1.2 ภาษาชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ด้านภาษาพูดนั้นชาวไทยวนยังคงรักษาภาษาพูดแบบที่ชาวล้านนาปฏิบัติ จากการสัมภาษณ์ ทรงชัย วรรณกุล (อ้างถึงใน ตวงพร มีทรัพย์, 2550, น. 49) ได้กล่าวถึงภาษาที่ชาวไทยวนใช้มีภาษา พูดภาษาเขียนเป็นเอกลักษณ์ของตน อักษรของชาวไทยวนมีใช้มาเป็นเวลานานแล้ว เมื่อได้อพยพมา อยู่ที่สระบุรีก็น าเอาอักษรเหล่านั้นมาใช้ด้วยเรียกว่า อักษรธรรมแบบเดียวกับที่ชาวล้านนาใช้ โดยใช้ เขียนลงในสมุดข่อยหรือจารบนใบลานชาวไทยวนเรียกว่า หนังสือยวน เรื่องที่บันทึกลงในสมุดข่อย หรือสมุดไทย มักจะเป็นต าราหมอดู ต าราสมุนไพร เวทมนต์คาถาต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่จารึกลงในใบลาน จะเป็นพระธรรมเทศนาเป็นส่วนใหญ่ชาวไทยวนมักนิยมถวายคัมภีร์เทศน์ เพราะเชื่อว่าได้บุญมาก
10 ส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องเวสสันดรชาดก ยอดพระไตรปิฎก คัมภีร์ยวนฉบับต่าง ๆ ได้รับต้นฉบับมาจาก ฝ่ายเหนือเมื่อได้มาก็คัดลอกจารต่อ ๆ กันมา ตัวอย่างภาษาไทยเปรียบเทียบกับภาษาไทยวน เช่น ภาษากลาง ภาษาไทยวน ผ้าถุง ชื่น, ผ้าซิ่น ผ้าห่ม ผ้าขวย ผ้าขาวม้า ผ้าขะม้า ห่มสไบ สะพายแล่ง, สะหว้ายแหล่ง สะพายย่าม สะพายถุง ปู่, ตา พ่อใหญ่ ย่า, ยาย แม่ใหญ่ ลูกสาวคนโต พี่นาง, อีนาง ลูกชายคนสุดท้อง อ้ายน้อย, อ้ายหนู ดวงอาทิตย์ ตะวัน ดวงจันทร์ เดือน มะละกอ บักหุ่ง มะขามเทศ มะขามแปบ 1.3 ความเชื่อของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ชาวไทยวนมีความเชื่อในเรื่องผีซึ่งอาจให้คุณหรือโทษได้ ความเชื่อเรื่องผีที่ชาวไทยวนให้ ความส าคัญ มีดังนี้ ผีเรือน หรือ ผีประจ าตระกูล หรือ ผีบรรพบุรุษ คนยวนเรียก ผีปู่ย่า คนยวน 1 ตระกูลจะมี ศาลผีหรือทิ้งผีอยู่ที่บ้านของคนใดคนหนึ่ง เมื่อลูกหลานในตระกูลนี้คนใดแต่งงานก็จะพากันมาไหว้ ผีปู่ย่าที่บ้านนี้ หรือในช่วงเทศกาล สงกรานต์ก็จะพากันมาไหว้ผีปู่ย่าเช่นกัน ผีประจ าหมู่บ้าน ทุกหมู่บ้านจะมีศาลผีประจ าอยู่ บางหมู่บ้านอาจจะมีมากกว่าหนึ่งศาล เช่น ที่บ้านไผ่ล้อม อ าเภอเสาไห้ มีศาลเจ้าชื่อ ปู่เจ้าเขาเขียวโปร่งฟ้า มีเรื่องเล่าต่อ ๆ กันมาว่าเดิมปู่เจ้าอยู่ ที่เชียงดาว เชียงใหม่ ในครั้งที่มีการอพยพได้มีคนเชิญให้ร่วมทางมาด้วย เพื่อคุ้มครองลูกหลานยวนที่ เดินทางมาในครั้งนั้น และได้ปลูกศาล ให้ท่านอยู่ เชื่อกันว่า เจ้าปู่นี้มักจะกลับไปอยู่ที่เชียงดาว เมื่อถึง วันสงกรานต์ก็จะมาเยี่ยมลูกหลานของท่านทุก ๆ ปี ผีประจ าวัด เรียกว่า เสื้อวัด ทุกวัดจะมีศาลเสื้อวัดประจ าอยู่ทุก ๆ วัด บางวัดมีมากกว่า 2 ศาล เวลามีงานวัดจะต้องจุดธูปบอกเสื้อวัดเสียก่อน ผีประจ านา เรียกว่า เสื้อนา ความเชื่อเรื่องเสื้อนามีมานานดังที่ปรากฏในหนังสือกฎหมาย มังรายศาสตร์ ฉบับวัดเสาไห้ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “ผู้ใดขี้ใส่นาแรกท่าน ตั้งแต่ตอนหว่านกล้าไปจนถึง ตอนจะย้ายปลูก จะเก็บเกี่ยวให้หาเหล้า 2 ไห ไก่ 2 คู่ เทียน 2 เล่ม ข้าวตอกดอกไม้ มาบูชาขวัญข้าว และเสื้อนา ผิดเพียงแต่ถ้าหาไม่ได้ ให้หาไก่คู่หนึ่ง เหล้าขวดหนึ่ง เทียนคู่หนึ่ง ข้าวตอกดอกไม้บูชาเสื้อ นา...”ความเชื่อเรื่องเสื้อนานี้เมื่อถึงเดือนหก แม่บ้านจะท าขนมบัวลอยไปวางเซ่นที่นาเพื่อเลี้ยงเสื้อนา ของตนทุกปี (พิเนตร น้อยพุทธา, 2540, น. 16-17)
11 ภาพที่ 1 การประกอบพิธีของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ที่มา: พิเนตร น้อยพุทธา, (2540, น. 1) 1.4 การตั้งถิ่นฐาน และลักษณะทางกายภาพชุมชนชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ชาวไทยวน ในสระบุรี แรกเริ่มอาศัยอยู่ตาม 2 ฝั่งของแม่น้ าป่าสัก ทั้งซ้าย และขวาเหนือจรด ใต้ ในเขตอ าเภอเสาไห้ และขยายออกไปยังอ าเภออื่น ๆ ทั่วจังหวัดสระบุรี ที่ตั้งเป็นที่ราบลุ่มลักษณะ ของดินอุ้มน้ าได้ดีเหมาะแก่การท าการเกษตร มีการท านาปีและนาปรัง มีการปลูกพืชผักในฤดูแล้ง เนื่องด้วยมีแม่น้ าป่าสักไหลผ่านทางตอนใต้ของพื้นที่ มีคลองล าห้วยธรรมชาติ ได้แก่ คลองห้วยแร่ และคลองวังงูเห่า ใช้ชีวิตโดยผู้หญิงจะท านาเลี้ยงลูกและทอผ้า ส่วนผู้ชายก็มีอาชีพท านาหาฟืน เลี้ยง สัตว์และจักสานต่อมาได้รับเอาอารยธรรมจากส่วนกลางเพิ่มขึ้นจนถึงในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเปลี่ยนการ คมนาคมจากทางน้ าเป็นทางบก และให้เมืองสระบุรีเป็นเมืองผ่าน ท าให้วิถีชีวิตของชาวไทยวน เปลี่ยนแปลงมากขึ้นจนถึงปัจจุบันชาวไทยวนในสระบุรี สืบเชื้อสายกันมาถึง 5 ชั่วคนนับได้ 215 ปี จ านวนชาวไทยวนนับได้ 80,000 คน กระจายอยู่ในทุกอ าเภอของสระบุรีอ าเภอที่มีชาวไทยวนอาศัย อยู่มากที่สุดคือ ต าบลเสาไห้
12 ภาพที่ 2 แผนที่จังหวัดสระบุรี ที่มา: กลุ่มงานแผนที่จังหวัด ส านักงานจังหวัดสระบุรี (1 ตุลาคม 2563, ออนไลน์) 1.5 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทยวน สระบุรี การตั้งถิ่นฐานเรือนพื้นถิ่นไทยวน สระบุรี จะเกาะไปตามริมฝั่งแม่น้ าป่าสัก การวางทิศทาง โดยส่วนใหญ่จะหันจั่วเรือนหรือหน้าบ้านไปทางแม่น้ าซึ่งเป็นแนวเหนือใต้หากวิเคราะห์ให้ดี จะสังเกตเห็นว่ายังยึดแบบแผนการวางผังเรือนตามอย่างล้านนาทางภาคเหนือ คือ จะไม่หันจั่วไป ในทางเดียวกันกับอาคารทางศาสนา คือ แนวตะวันออก - ตะวันตก เรือนส่วนใหญ่เป็นเรือนไม้จริง หลังคามุงสังกะสี เสาเรือนเป็นไม้จริง และเป็นอาคารที่มีการต่อเติมในภายหลังเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอยผนัง เป็นฝาไหลและบางช่วง เช่น เรือนครัวจะเป็นฝาไม้ไผ่สานขัดแตะมีทั้งเรือนพักอาศัยและเรือนค้าขาย 1.6 การประกอบอาชีพชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี อาชีพหลักของประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่ประชากรในพื้นที่จะประกอบอาชีพ ทางด้านการเกษตรกรรม แต่ในปัจจุบันนี้ประชากรมีแนวโน้มที่จะเข้าท างานในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากมีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งขึ้นในจังหวัดสระบุรีเป็นจ านวนมากประกอบกับการท าการเกษตร ไม่ได้ผลแน่นอนเนื่องจากประสบภาวะแห้งแล้งหรือสินค้าทางการเกษตรขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควร ส่วน อาชีพอื่น ๆ ที่ยังท ากันอยู่ในปัจจุบัน คือ การประมง จักสาน ทอผ้า และค้าขาย
13 ภาพที่ 3 การประกอบอาชีพชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี ที่มา: พิเนตร น้อยพุทธา (2540, น. 1) 1.7 การแต่งกาย ชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี วัฒนธรรมชาวไทยวนมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน มีการสร้างอัตลักษณ์ของตนเองค่อนข้าง ชัดเจนและแตกต่างไปจากชนกลุ่มอื่น ๆ เครื่องแสดงความแตกต่างเหล่านี้จะมีให้เห็นได้ชัดผ่าน “เครื่องแต่งกาย เสื้อผ้าหน้าผม” ในอดีตการแต่งกายของผู้หญิงชาวไทยวน จะนุ่งผ้าซิ่น ผ้ามีความยาว เกือบถึงตาตุ่ม ซึ่งเป็นที่นิยมของทั้งหญิงสาวและผู้สูงวัย ลักษณะผ้าซิ่นจะถูกทอด้วยลวดลายหลายแบบ จะมีความประณีต งดงาม โดยเฉพาะตีนซิ่น ส่วนเสื้อจะเป็นเสื้อคอกลม มีสีสัน ลวดลายสวยงามหรือบาง คนมีห่มสไบทับและตามด้วยเกล้าผม การแต่งกายลักษณะนี้จะนิยมใส่ออกงานสังคมตามประเพณี สมัยเจ้าดารารัศมี ได้สร้างรูปแบบการแต่งกายแบบใหม่ ที่น ารูปแบบจากกรุงเทพฯ มาผสมผสานกับชุดวัฒนธรรมล้านนาและเผยแพร่ในสังคมเชียงใหม่ในเวลานั้น คือ การนุ่งผ้าซิ่นลาย ขวาง สวมเสื้อแขนสามส่วนหลวม ๆ คอเสื้อปกปิดมิดชิด มีระบายลูกไม้สีขาวแบบฝรั่ง เกล้าผมแบบ ญี่ปุ่น ต่อมาในช่วงรัชกาลที่ 7 ข้าราชการต้องนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนยาว คอจีน ผ่าหน้าติด กระดุม สวมถุงเท้าและรองเท้าหนังหุ้มส้น กระทั่งในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลสั่งให้ยกเลิกการแต่งกายแบบดั้งเดิม โดยให้หันมาแต่งกายแบบตะวันตก ท าให้ชาวไทยวน ปรับเปลี่ยนการแต่งกายไปตามกระแสความเปลี่ยนแปลงจากศูนย์กลางจนไม่เหลือความเป็น วัฒนธรรมล้านนาเดิมอยู่ กระทั่งเมื่อสามสิบปีที่ผ่านมาได้เกิดปฏิกิริยาของกระแสท้องถิ่นที่เริ่มหวง แหนความเป็นล้านนา การแต่งกายจึงเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงอัตลักษณ์ของล้านนา จึงมีกระแส การน าชุดเสื้อผ้าที่เรียกว่า “ล้านนาประยุกต์” คือผู้หญิงนุ่งซิ่นลายขวาง เสื้อคอกลมแขนกระบอก ผ่าหน้าติดกระดุม ทัดดอกเอื้องสีเหลืองสดมวยผม (วิถี พานิชพันธ์ ,2548, น. 91 - 94)
14 ส าหรับผู้ชาย มีรูปแบบการแต่งกายที่นิยมจนถึงปัจจุบัน คือ นิยมใส่เสื้อม่อฮ่อมคอจีน แขนยาว อาจมีผ้าคาดเอว ผ้าพาดบ่า และมีผ้าโพกศีรษะ นุ่งกางเกงขาสามส่วน เรียกติดปากว่า “เตี่ยว” “เตี่ยวสะดอ” หรือ “เตี่ยวกี” ท าจากผ้าฝ้ายสีกรมท่า หรือสีน้ าเงิน หรือเสื้อผ้าที่ของผู้ชาย มักใส่ไปท างานในป่าในไร่ จะนุ่งกางเกงชักปกลักษณะคล้ายกางเกงชาวจีน ย้อมด้วยสีคราม สวมเสื้อ แถบแดง มีกระดุมเงิน และคาดเอวด้วยกระเป๋าผ้าส าหรับใส่สัมภาระ มีภาพลักษณะการแต่งกาย ประกอบดังนี้ ภาพที่ 4 ภาพวาดบนจิตรกรรมฝาผนังในอดีตที่ปรากฏลักษณะการแต่งกายของผู้หญิงชาวไทยวน ที่มา: มาณพ มานะแซม (2551, น. 128) ภาพที่ 5 การแต่งกายของผู้ชายชาวไทยวนในปัจจุบัน ที่มา: ผู้วิจัย
15 ภาพท ี่6 การแต่งกายของผู้ชาย ผู้หญิง ชาวไทยวนในปัจจุบัน ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 6 ภาพการแต่งกายของคนไทยวนยุคก่อน ส าหรับผู้ชาย มีรูปแบบการแต่งกายที่อดีต จนถึงปัจจุบันนิยมแต่งกาย คือ นิยมใส่เสื้อม่อฮ่อมคอจีน แขนยาว อาจมีผ้าคาดเอว ผ้าพาดบ่า และมี ผ้าโพกศีรษะ นุ่งกางเกงขาสามส่วน ท าจากผ้าฝ้ายสีกรมท่า หรือสีน้ าเงิน ย้อมด้วยสีคราม สวมเสื้อ แถบแดง มีกระดุมเงิน และคาดเอวด้วยกระเป๋าผ้าส าหรับใส่สัมภาระ ผู้หญิงจะนิยมนุ่งซิ่นที่ทอใช้ กันเอง ใช้ผ้าสไบคาดอก เรียกว่า ผ้าแถบ ปล่อยชายข้างหนึ่งห้อยลงมา ต่อมาก็พัฒนามาเป็นเสื้อแขน กุด เสื้อคอกระเช้า ส าหรับหญิงไทยวน จะนุ่งซิ่นลายขวาง ชายบนล่างอาจจะเป็นผ้าพื้นสีแดงด าหรือ ขาว ห่มสไบพาดทางซ้าย ที่ผมอาจทัดดอกไม้ดอกเอื้องพองาม ภาพที่7 การแต่งกายของผู้ชาย ผู้หญิง ชาวไทยวนในปัจจุบัน ที่มา: ผู้วิจัย
16 ภาพท ี่ 8 การแต่งกายของผู้หญิงชาวไทยวนในปัจจุบัน ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 8 ภาพการแต่งกายของคนไทยวนจะนิยมนุ่งซิ่นที่ทอใช้กันเอง ใช้ผ้าสไบคาดอก เรียกว่า ผ้าแถบ ปล่อยชายข้างหนึ่งห้อยลงมา ต่อมาก็พัฒนามาเป็นเสื้อไม่มีแขน เสื้อคอกระเช้า ส าหรับหญิงไทยวน จะนุ่งซิ่นลายขวาง ชายบนล่างอาจจะเป็นผ้าพื้นสีแดงด าหรือขาว ห่มสไบพาด ทางซ้ายที่ผมอาจทัดดอกไม้ดอกเอื้องพองาม จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเป็นเสื้อผ้าในวัฒนธรรมชาวไทยวนในอดีต คนรุ่นเก่าผู้หญิงจะ นุ่งซิ่นลายขวางตามแบบฉบับของสาวไทยวน ส่วนผู้ชายก็จะนุ่งกางเกงขาสามส่วน และเสื้อผ้าทอลาย ยกมุก ในปัจจุบัน การแต่งกายลักษณะดังกล่าวยังคงมีให้เห็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง โดยในวัยผู้ใหญ่จะ นิยมใส่ออกงานในช่วงเทศกาลส าคัญ เช่น เทศกาลสงกรานต์งานประกวดธิดาเทพีต่าง ๆ งานแต่งงาน ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ พิธีท าบุญเมือง พิธีทางศาสนา หรืองานที่เกี่ยวข้องกับทางราชการในท้องถิ่น แต่ส าหรับคนหนุ่มสาว ในปัจจุบันนั้น จะพบเห็นได้ยากและจะไม่นิยมแต่งงานชุดพื้นเมืองมากนัก โดย ส่วนใหญ่แล้วจะนิยมสวมเสื้อผ้าตามยุคสมัยนิยม วัฒนธรรมการแต่งกาย ส่วนใหญ่จะใช้ผ้าทอที่ผลิต ขึ้นเองด้วยกี่กระตุก แต่ยังคงด ารงไว้ด้วยวัฒนธรรมการแต่งกายพื้นบ้านแบบไทยวนที่มีมาแต่ดั้งเดิม 1.8 วิถีชีวิตของชาวไทยวนที่ปรากฏในงานภาพจิตรกรรมฝาผนัง เรื่องราวชาวไทยวนที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนัง ณ วัดสมุหประดิษฐาราม จังหวัดสระบุรี ในอดีต การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การเมืองประเทศไทยให้ ความส าคัญกับประวัติศาสตร์ของชาติอย่างมากให้ความพยายามสร้างความเป็นรัฐชาติขึ้นให้เป็นรัก เดียวที่แบ่งแยกมิได้ดังนั้นประวัติศาสตร์ส่วนย่อย ๆ ในสังคมซึ่งไร้ความหมายหากไม่มีการโยงใยหรือ ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ ของประวัติศาสตร์ศูนย์กลางในความเป็นจริงแล้วกลุ่มชนต่าง ๆ ที่อยู่รอบ นอกเมืองเป็นกลุ่ม ชาติพันธ์ที่มีความเคลื่อนย้ายมาเป็นเวลานาน กลุ่มชนเหล่านี้มีบทบาทส าคัญต่อ กระบวนการสร้างรัฐสยามที่เปลี่ยนมาเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน แต่เรื่องราวสยามที่เปลี่ยนมาเป็น ประเทศไทย ในปัจจุบันแต่เรื่องราวของชนชาติเหล่านี้ในหน้าประวัติศาสตร์ ซึ่งจะได้รับการศึกษาได้ไม่ นานทั้ง ๆ ที่ชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนขนบธรรมเนียมและประเพณี พิธีกรรมของกลุ่มชนที่อยู่ในบริเวณ รอบนี้ มีความเกี่ยวข้องกับสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของไทยโดยตรง (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548, น.5)
17 ในอดีตค าว่า “ลาว” ในการรับรู้ของไทย หมายถึง ผู้คนทั้งในอาณาจักรล้านนาและล้านช้าง ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและลาวทั้งสองกลุ่ม นี้ปรากฏมาเป็นเวลายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัยเรื่อยมา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ส่วนใหญ่เป็นการสู้รบเพื่อขยายอาณาเขต ประวัติศาสตร์ฝ่ายไทยมักบันทึกว่าเป็นฝ่ายชนะและเป็นผู้ปกครองเมืองลาวผลจากการ สงครามที่มีบ่อยครั้งท าให้มีการกวาดต้อนผู้คนไปมาการเคลื่อนย้ายคนลาวที่มีลักษณะเฉพาะทาง วัฒนธรรมของตนเองเหล่านี้แม้เมื่ออพยพเข้ามาในดินแดนไทยยังคงรักษาเอกลักษณ์ไว้ได้หลาย ประการ เช่น การแต่งกาย ประเพณีการร้องร าท าเพลง ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ มีเรื่องราวปรากฏให้เห็น ในจิตรกรรมฝาผนังวัดสมุหประดิษฐาราม จังหวัดสระบุรี ความเป็นมาและความส าคัญของวัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ในสมัย ต้นรัตนโกสินทร์สระบุรีถือเป็น 1 ใน 30 หัวเมืองชั้นในมีข้าราชการผู้ใหญ่ของเมืองอยู่ในต าแหน่ง ผู้รักษาเมืองจากเหตุการณ์สงครามในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ท าให้มีคนลาวส่วนต่าง ๆถูกกวาด ต้อนเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองสระบุรีมากขึ้นจนเมืองสระบุรีกลายเป็นศูนย์กลางในการพักเชลยคราว ก่อนที่จะส่งไปที่อื่น บรรดาชาวลาวที่อยู่ในสระบุรีลาวเวียงจันทน์น่าจะเป็นกลุ่มใหญ่สุด แต่ก็ยังมีลาวที่มาจากถิ่นอื่น ๆ เช่น ลาวพุงด า บ้านขอนขวาง และลาวเชียงแสนที่บ้านเสาไห้ซึ่งเรียกตนเองว่าไทยยวนหรือไทยโยนก คาดว่าถูกกวาดต้อนมาจากเชียงแสนตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 คนกลุ่มนี้มีความเกี่ยวข้องกับชุมชนแถบ วัดสมุหประดิษฐารามอย่างมาก ภาพที่ 9 พระอุโบสถวัดสมุหประดิษฐานราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่มา: เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว (2551, น. 78)
18 วัดสมุหประดิษฐารามเดิมเป็นวัดเก่าแก่คือวัดจ้อก้อ เป็นภาษาไทยวนแปลว่า ต้นไผ่เล็กเตี้ย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาส อ าเภอแก่งคอยทางชลมารค โดยเสด็จ ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเข้าแม่น้ าป่าสัก อ าเภอท่าเรือ ด้วยเหตุที่แม่น้ าป่าสักแห้งมาก มีทราย ขึ้นเป็นสันในร่องน้ าที่มีเรือพราน จึงท าให้ขบวนเสด็จซึ่งมีเรือประมาณ 20 ถึง 30 ล า แล่นผ่านอย่าง ล าบากและล่าช้า ขบวนตามเสด็จที่มีเจ้าพระยากรบดินทร์มหินธรามหากัลยาณมิตร (โต ต้นตระกูล กัลยาณมิตร) ผู้เป็นสมุหนายกฝ่ายมหาดไทยในสมัยนั้น เกือบติดเนินทรายแควป่าสักบริเวณหน้าวัดไผ่ ก้อจ้อ ท่านเห็นว่าเป็นวัดเล็ก ๆ สภาพทรุดโทรมมาก จึงน าความขึ้นกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดินว่า จะบูรณะและสร้างวัดใหม่ขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอนุญาต โดยสถาปนาเป็น พระอารามหลวงและพระราชทานนามใหม่ว่าวัดสมุหประดิษฐาราม ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าภัทรยุวดี(พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาแสง) มีศักดิ์เป็นหลานของเจ้าพระยานิกรบดินทร์ เห็นว่าวัดทรุดโทรดมากจึงประทานทรัพย์ให้พระยาพิไชย ณรงค์สงคราม ผู้ว่าราชการเมืองสระบุรีในขณะนั้นท าการซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างในวัดทั้งหมด ตลอดจน สร้างโรงเรียนประชาบาลขึ้นใหม่ในคราวนั้น ได้มีการว่าจ้างช่างมาเขียนภาพฝาผนังในพระอุโบสถด้วย นอกจากนี้ในหนังสือตรวจการคณะสงฆ์สระบุรี ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส พ.ศ. 2455 - พ.ศ. 2460 ครั้งเสด็จตรวจมณฑลอยุธยา ได้ประทับแรมที่วัดสมุหประดิษฐารามแสดงถึง ความส าคัญของวัดดังกล่าวได้เป็นอย่าง (เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว, 2551, น. 78) จากประวัติของวัดแสดงว่าวัดนี้มีมาแล้วก่อนหน้าสมัยรัชกาลที่ 4 และผู้สร้างน่าจะเป็น ชาวไทยวนดังชื่อ วัดจ้อก้อ เป็นภาษาไทยวนและชาวไทยนับถือศาสนาพุทธเมื่อได้อพยพเข้ามาใน ดินแดนไทยจึงมีการสร้างวัดเพื่อใช้เป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาวัดและพระพุทธศาสนาจึง เปรียบเสมือนสื่อกลางในการเชื่อมโยงระหว่างไทยและลาวกลุ่มไทยวนให้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากขึ้น จากการที่วัดเป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจให้กับกลุ่มชาวไทยยวนที่เข้ามาอยู่ในไทยจึงปรากฏ ร่องรอยวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านี้ บนจิตรกรรมฝาผนังในที่นี้แบ่งวัฒนธรรมเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ วัฒนธรรมที่เป็นสัญลักษณ์และจับต้องไม่ได้ เช่น ภาษาพูด ความเชื่อ และวัฒนธรรมที่จับต้องได้ เช่น อาคาร บ้านเรือน วัด ศิลปกรรม ฯลฯ วัฒนธรรมประเภทศาสนาและความเชื่อมีความส าคัญมาก ในสังคมเพราะเป็นตัวก าหนดประเพณีบางอย่าง รวมทั้งก าหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม ความ เชื่อทางศาสนามักจะระบุถึงความดี ความชั่ว ซึ่งท าให้ศาสนามีลักษณะที่เป็นศิลปกรรมและมีบทบาท ต่อการก าหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม (อมรา พงศาพิชญ์, 2533, น. 8) จิตรกรรมภายในพระอุโบสถซึ่งเป็นทั้งสัญลักษณ์และการถ่ายทอดและการรักษาวัฒนธรรม ของชุมชนไทยวนที่อาศัยอยู่รอบวัด ลักษณะทั่วไปของงานจิตรกรรมเป็นจิตรกรรมแบบไทยประเพณี เขียนด้วยสีฝุ่น สีมือ แบบสกุลช่างหลวงแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงบนตั้งแต่ระดับเหนือขอบบนของ ประตูหน้าต่างขึ้นไปจรดเพดานเขียนภาพลายพุ่มข้าวบิณฑ์เหมือนกันทั้ง 4 ด้าน จากการศึกษาพบว่า ภาพที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวไทยวน ที่ปรากฏภาพเป็นการเล่าเรื่องมีภาพดังนี้
19 1) การแต่งกายของชาวไทยวนที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนัง ภาพที่ 10 การแต่งกายที่ต่างกันระหว่างชาวไทยวนกับคนภาคกลาง ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 81) การแต่งกายที่ต่างกันระหว่างชาวไทยวนกับคนภาคกลาง ภาพที่10 ในภาพสตรีชาวไทยวนจะเกล้าผม มวย คนที่ยังไม่แต่งงานหรือสาวรุ่นจะไว้ผมมวยสูง เหนือท้ายทอย บางคนเสียบดอกไม้ประดับ การห่ม ผ้ามีหลายแบบ ความแตกต่างคือถ้าเป็นแบบหญิงชาวเหนือทั่วไปจะใช้ผ้ารัดหน้าอก หรือใช้ ของ ปล่อยชายสองข้างบังหน้าอก ซึ่งแตกต่างจากการห่มสไบเฉียง และนุ่งโจงของผู้หญิงภาคกลาง ปัจจุบัน ผ้านุ่งลายขวางนี่เป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่งของชาวไทยวน โดยชาวชุมชนบ้านท่าช้าง อ าเภอเสาไห้ ได้มีการรวมกลุ่มทอผ้าไทยวนเพื่อรักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิมของตนไว้ 2) ภาพประเพณีของชาวไทยวนที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนัง ภาพที่ 11 ภาพกลุ่มคนดูการแห่บั้งไฟ มีการนั่งปะปนกันทั้งชาวไทยและชาวไทยวน ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 83)
20 ภาพที่ 12 การแห่บั้งไฟ วัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 13 ขบวนนักดนตรีพื้นบ้าน เดินน าขบวนแห่บั้งไฟ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 14 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ ที่มา: ผู้วิจัย
21 ภาพที่ 15 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพประเพณีของชาวไทยวนที่ปรากฎในจิตรกรรมฝาผนังในวัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอ เสาไห้ จังหวัดสระบุรี ภาพที่ 11 ภาพกลุ่มคนดูการแห่บั้งไฟ มีการนั่งปะปนกันทั้งชาวไทยและชาว ไทยวน ภาพที่ 12 การแห่บั้งไฟ ผนังด้านหน้าขวาของพระประธานเขียนภาพงานแห่บั้งไฟมีชายเป่า แคนร่วมขบวน ภาพที่ 13 ภาพการบรรเลงดนตรีในขบวนแห่ ได้แก่ แคน โหม่ง กลอง และฉาบ ขบวนแห่กระทงเสียหัวโดยมีชาวบ้านบรรเลงดนตรีประกอบในขบวนเครื่องดนตรีที่ปรากฏในภาพ ได้แก่ กลอง สองหน้า 3 ใบ โหม่ง และเครื่องดนตรีที่เป็นเครื่องด าเนินท านองจากภาพไม่แน่ชัดว่าเป็น ขลุ่ย หรือ ปี่ ปัจจุบันการแห่บั้งไฟและการแห่กระทงเสียหัวไม่ปรากฏในชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน อ าเภอเสาไห้จังหวัดสระบุรีแล้วเนื่องจากไม่ได้รับความนิยมจากคนในชุมชน หรือไม่มีผู้สืบทอด ในภาพเป็นขบวนนักดนตรีพื้นบ้าน เป็นชายล้วน เดินน าขบวนแห่บั้งไฟ เครื่องดนตรีมีแคน ฆ้องโหม่ง ปี่ ฉาบ และกลองชนะ ต่างร่ายร าในลีลาครึกครื้น ภาพที่ 14 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ ชนชาติไทยวนในแถบอ าเภอเสาไห้เคลื่อนย้ายมาจากภาคเหนือของประเทศไทย เมื่อสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ภาพที่ 15 หญิงชาวบ้านผู้สืบเชื้อสายไทยวน พากันมาดูแห่บั้งไฟ ชนชาติ ไท-ยวนในแถบอ าเภอเสา ไห้เคลื่อนย้ายมาจากภาคเหนือของประเทศไทย เมื่อสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันยังคงมีภาพจิตรกรรมฝาผนังในวัดสมุหประดิษฐ์ฐาราม อ าเภอเสาไห้จังหวัดสระบุรี
22 3) ภาพวิถีชีวิตของชาวไทยวนที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนัง ภาพที่ 16 ภาพจิตรกรรมฝาผนังการอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยวน ที่วัดสมุหประดิษฐาราม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 82) ภาพจิตรกรรมฝาผนังการอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยวน ภาพที่16 เป็นการรับ แบบอย่างความเจริญจากเมืองหลวง อาจจะเป็นเพราะใกล้กรุงเทพฯอีกทั้งเป็นเมืองศูนย์กลางส าคัญ ความเป็นอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยวน น่าจะเป็นไปด้วยดี มีตัวอย่างในภาพประเพณี การแห่บั้งไฟจะเห็นการนั่งอยู่ร่วมกันของ กลุ่มผู้ชมขบวนแห่โดยไม่แบ่งแยกกัน ภาพที่ 17 ภาพหญิงสาวยืนป้องปากหัวเราะอยู่ในฉากความโกลาหลของการคลอดลูก เขียนในลักษณะสาวไทยวนเช่นกัน ภาพผนังพุทธประวัติจากวัดหนองยาวสูง ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 2)
23 ภาพที่ 18 ฉากนางอมิตตดาถูกกลุ้มรุมด่าทอทุบตี ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 1) จากภาพพบว่าฉากนางอมิตตดาถูกรุมด่าทอทุบตีระหว่างเดินไปตักน้ าที่ท่าน้ าช่างตั้งใจแสดง ลักษณะให้เหล่านางพราหมณีเป็นสตรีไทยวนอย่างชัดเจน ทั้งผ้าซิ่นลายทางขวางผมเกล้ามวยไปจนถึง การม้วนผ้าซิ่นขึ้นเทินไว้บนศีรษะในขณะอาบน้ า ภาพเวสสันดรชาดก วัดหนองโนเหนือ หญิงสาวยืน ป้องปากหัวเราะอยู่ในฉากความโกลาหลของการคลอดลูกเขียนในลักษณะสาวไตยวนเช่นกันภาพผนัง พุทธประวัติจากวัดหนองยาวสูง ภาพที่17-ภาพที่18 เป็นภาพที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์การแต่งกาย วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การแต่งกายของชาวไทยวนในอดีตได้อย่างชัดเจน ภาพที่ 19 ภาพไพร่นั่งล้อมวงสูบยา (กัญชา) ที่มา: ประเวช ต้นตราภิรมย์ (2552, น. 2)
24 จากภาพพบว่าภาพไพร่นั่งล้อมวงสูบยา (กัญชา) ที่ทิมข้างก าแพง ช่างเขียนให้มีลายสักขา ด้วยหมึกด าอย่างชายไทยวนหรือที่คนไทยภาคกลางแต่โบราณเรียกกันว่า “ลาวพุงด า” ภาพเวสสันดร ชาดก วัดหนองโนเหนือ เป็นภาพที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์วิถีชีวิตความเป็นอยู่การแต่งกายในอดีต โดย ในปัจจุบันไม่นิยมการสักขา ด้วยหมึกด าอย่างชาวไทยวนในอดีตแล้ว จากข้อมูลข้างต้นผู้วิจัยสรุปได้ว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนังเป็นเรื่องราวสะท้อนถึงวิถีชีวิตของ ชาวไทยวนในอดีต ทั้งในด้านวิถีชีวิต ประเพณีการแต่งกายที่ปรากฏสื่อให้เห็นและตีความจากภาพ ทั้งนี้ผู้วิจัยจึงศึกษาความเป็นมาของชาวไทยวนผ่านกิจกรรมในท้องถิ่นถือเป็นงานศิลปกรรมที่สะท้อน ถึงศาสนาวัฒนธรรมประเพณีประวัติศาสตร์และมรดก ทางสุนทรียศาสตร์ได้เป็นอย่างดีรวมทั้งเป็น หลักฐานทางโบราณคดีที่ถือได้ว่าส าคัญน าไปสู่ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ในช่วงเวลานั้น ๆ ได้ 1.9 ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี วัฒนธรรมของชาวไทยวน มีอยู่ด้วยกัน 2 อย่างควบคู่กันไป คือ การนับถือพระพุทธศาสนา และการนับถือผีบรรพชนหรือผีปู่ย่าหรือผีประจ าตระกูล การนับถือผีบรรพชนของชาวไทยวน มีมาแต่ สมัยโบราณ เมื่อก่อนเมื่อชายชาวไทยวนจะออกศึกสงคราม ต้องท าพิธีเรียกให้ไปกับตนด้วยทุกครั้ง ภายในบ้านต้องสร้างเสาเอก และสร้างศาลผีไว้นอกบ้าน ส าหรับเซ่นไหว้เมื่อถึงช่วงเทศกาลออก พรรษา เมื่อลูกสาวบ้านใดแต่งงานหรือท าผิดผี จะต้องบอกกล่าวหรือขอขมาผีประจ าตระกูลบาง ตระกูลชอบขนมหวาน บางตระกูลชอบเหล้า มะพร้าวอ่อน หรือไก่ แต่ละตระกูลจะมีผู้รับเป็นเจ้าพิธี ลูกหลานผู้ใดต้องการ จะเซ่นสรวงก็ต้องน าเครื่องเซ่นไปให้เจ้าพิธีเป็นผู้ท าพิธีบวงสรวง ตามปกติแต่ ดั้งเดิม ผู้ที่มีผีประจ าตระกูลเดียวกัน (ผีเฮือนเดียวกัน) จะนับถือเป็นญาติพี่น้องกัน ผู้ที่มีผีเฮือน เดียวกันจะไม่แต่งงานกัน ทุก ๆ สามปีผู้ที่มีผีเฮือนเดียวกันจะนัดพบรวมญาติเพื่อท าพิธีไหว้ผีประจ า ตระกูลของตน และมีการกินเลี้ยงสังสรรค์ซึ่งเรียกว่า กินปางใหญ่ แต่ถ้าปีใดมีเดือนแปด 2 หนปีนั้นก็ จะกินปางใหญ่กันอีก ประเพณีชาวไทยวนปรากฏ และสืบทอดต่อกันมาตามยุคสมัยมีดังนี้ 1) ประเพณีเกี่ยวกับการท านา ในอดีตการท านาอาศัยแหล่งน้ าจากธรรมชาติเป็นหลัก ปีใดฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวไทย วนจะเตรียมท าพิธีแห่นางแมว โดยนิมนต์พระไปสวดคาถาปลาช่อนที่ทุ่งนา และน าปลาช่อนมาพัน ด้วยด้ายสายสิญจน์วางไว้บนพื้นดิน หรืออีกวิธีหนึ่งน ากระบอกไม้ไผ่ผ่าหัว 4 แฉก ใส่กาบมะพร้าวเพื่อ วางกระทง ใบตอง ที่บรรจุข้าวคลุกน้ าตาล หมาก พลู จากนั้นผู้อาวุโสในหมู่บ้านจุดธูปเทียนกล่าวขอ ฝน นอกจากนี้ในแต่ละเดือนที่มีการท านาก็จะมีพิธีดังต่อไปนี้ เดือนหก เริ่มไถนา ท าพิธีแรกนาโดยเจ้าของนาจะน าวัวไปเดินวนรอบนา 3 รอบ แล้วปล่อยไว้รอจนฝนตกถึงไถ แต่บางคนก็อาจปล่อยไว้เพียงครู่เดียวก็ไถทันที เดือนสิบ ข้าวเริ่มออกรวง เจ้าของนาจะน าส้มต าไปไหว้แม่โพสพ เดือนสิบสอง เริ่มเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านพากันมาช่วยลงแขกเกี่ยวข้าว เดือนสอง เอาข้าวเข้าลาน ท าพิธีเอาข้าวเข้าลาน เจ้าของบ้านจ าน าน้ าอบ น้ าหอม กระจก หวี น้ ามันใส่ผม ทั้งหมดใส่กระด้ง แล้วจุดธูปเทียนบอกกล่าวที่ลานข้าวของตนก่อนน าข้าวเข้าลาน
25 เดือนสาม เอาข้าวขึ้นยุ้ง เจ้าของยุ้งจะเตรียมเผือก 3 หัว มัน 3 หัว กล้วยสุก 3 ลูก ข้าว 3 ปั้น ใส่กระบุงคลุมด้วยผ้าขาวม้าแบกไปกลางทุ่งนา พร้อมกับถือปลายข้าวไปเชิญเจ้าแม่โพสพ ให้กลับขึ้นยุ้ง 2) ประเพณีขึ้นท้าวทั้ง 4 ชาวไทยวนเรียก “ต๊าวตั้งสี่” หมายถึงท้าวจตุโลกบาล ซึ่งเป็นเทวดาประจ าทิศทั้งสี่ ก่อนที่จะ มีงานใด ๆ จะท าการเลือกสถานที่ที่เหมาะสม เอาไม้ 5 ท่อนมาปักเป็นเสา 4 มุม เสาต้นกลางสูงกว่า เสาสี่มุม บนเสานี้จะวาง เครื่องเช่น เช่น หมาก บุหรี่ ดอกไม้ ธูป เทียนกระทง อันกลางเป็นของพระ อินทร์ ผู้รู้พิธีจะเป็นคนกล่าวเชิญเทพทั้ง 4 มารับเครื่องเซ่นและมาช่วยปกป้องคุ้มครองงานของตนให้ ด าเนินไปด้วยความเรียบร้อย 3) ประเพณีต้นสลากภัต มีการจัดทุกปี ในช่วงเทศกาลสงกรานต์หรือตามความเหมาะสมเริ่มมีการจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2536 ที่บ้านต้นตาล โดยมีการจัดเลี้ยงอาหารเย็นซึ่งเรียกเป็นภาษาไทยวนว่า “กินข้าวแลง ขันโตก” การร าโทนเป็นการร าแบบดั้งเดิมโบราณของชาวไทยวน ภาพที่ 20 ประเพณีต้นสลากภัตชาวไทยวน ที่มา: พิเนตร น้อยพุทธา (2540, น. 18) 4) ประเพณีถวายสลากภัต การถวายสลากภัต ไทยวนสระบุรีเรียกว่า บุญกินเข้าสลาก บุญนี้ไม่มีก าหนดตายตัวในวันท า คือจะท าเมื่อใดก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมท าเมื่อมีผลไม้สุกมาก ๆ หรือท าเมื่อออกพรรษาแล้วงานนี้จะเริ่ม เมื่อทางวัดตกลงก าหนดวัน ถวายแล้วก็จะประกาศรับสมัครเจ้าภาพ เมื่อรู้จ านวนเจ้าภาพแน่นอนว่า จะมีกี่กระจาดแล้ว ก็นิมนต์พระสงฆ์ต่างวัดและในวัด ให้ครบตามจ านวนสลากภัตที่มีเจ้าภาพรับไว้ เจ้าภาพจะเตรียมจัดท ากระจาด โดยเอาไม้ไผ่มาสนเป็นกระจาดกลมมีกระดาษประดับสวยงาม ภายในกระจาดก็หาของกินของใช้อันควรแก่การบริโภคมาใส่ไว้ ส่วนเจ้าภาพที่มีทรัพย์มากและมีฝีมือ ก็จะท ากระจาดของตนให้สวยงามขึ้นไปอีก โดยปักไม้กลางกระจาด ตกแต่งให้เป็นช่อชั้นสวยงาม
26 ภาพที่ 21 ขบวนประเพณีถวายสลากภัตชาวไทยวน ที่มา: ผู้วิจัย เมื่อถึงวันงานก็น ากระจาดเหล่านี้ไปตั้ง บนร้านที่ทางวัดเตรียมไว้ เจ้าภาพก็ขึ้นไปบนศาลา พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนามาก็จะนั่งบนอาสนสงฆ์ มีเทศน์อานิสงส์สลากภัต สมัยก่อนนิยมเอาเด็กที่ อ่านหนังสือยวนออกหัดเทศน์ แล้วบวชเณรเทศน์วันนี้ (เทศน์จบบ่ายก็สึก) เมื่อเทศน์จบก็จะกล่าวค า ถวายสลากภัต ให้พระสงฆ์จับสลากแล้วก็จะอนุโมทนา จากนั้นก็ลงจากศาลามารับประเคนสลากภัตที่ จับสลากได้ บรรดาศิษย์ที่ติดตามพระสงฆ์มา ก็จะช่วยขนกลับยังวัดของตนที่จริงสลากภัตเป็นบุญที่คน ไทยท ากันทั่ว ไป แต่จุดเด่นของงานสลากภัตไทยวนสระบุรี อยู่ตรงที่ฝีมือในการตกแต่งประดับประดา ต้นสลากภัตของตนให้สวยงาม ดูจะเป็นการประกวดกันไปในตัว ภาพที่ 22 ประเพณีถวายสลากภัตชาวไทยวน ที่มา: พิเนตร น้อยพุทธา (2540, น. 18) 5) ประเพณีการแข่งเรือพื้นบ้าน การแข่งขันเรือยาวประเพณีลุ่มน้ าป่าสัก จังหวัดสระบุรี อ าเภอเสาไห้ จัดให้มีการแข่งขันเป็น ประเพณี ณ บริเวณท่าน้ าหน้าที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ทุกปี ในวันเสาร์-อาทิตย์ สุดท้ายของเดือน กันยายน โดยเชิญเรือยาวจากจังหวัดต่างๆ แบ่งเป็นประเภทของเรือเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เรือยาว ใหญ่ 55 ฝีพาย เรือ 30 ฝีพาย 12 ฝีพาย และ 10 ฝีพาย เข้าแข่งขันหาผู้ชนะเลิศ ถือว่าเป็นการ อนุรักษ์ประเพณีของท้องถิ่นอย่างหนึ่ง
27 ภาพที่ 23 ประเพณีการแข่งเรือพื้นบ้าน ที่มา: ผู้วิจัย 6) ประเพณีปอย ส าหรับกิจกรรมในชุมชนชาวไทยวนที่เห็นได้ชัด คือ เทศกาลปอย (งานฉลอง) งานปอย สามารถแบ่งเป็น สามรูปแบบด้วยกันคือ ปอยหลวง ปอยน้อย ปอยเข้าสังฆ์ (1) ปอยหลวง หรืองานมหกรรมฉลองสมโภชสิ่งปลูกสร้าง เช่นโรงเรียน ก าแพงวัดศาลา โบสถ์วิหาร การจัดท ากิจกรรมปอยนี้จะมีการเตรียมงานด้านการพิมพ์ใบฎีกาบอกบุญเพื่อประกาศ และส่งไปตามวัดและศรัทธาชนทั่วไปให้มาร่วมท าบุญด้วยกัน งานปอยหลวงโดยปกติจะมีการจัดท า กัน 3-5 วัน ซึ่งแต่ละวันจะมีงานท าบุญทางศาสนาและจะมีการจัดมหรสพเฉลิมฉลอง (2) ปอยน้อย เป็นงานบวชสามเณร หรือเรียกอีกชื่อว่า “บวชลูกแก้ว” เป็นการบวช เด็กผู้ชายอายุไม่เกิน 20 ปี ชาวเหนือนิยมบวชลูกแก้ว เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้หลักธรรม จริยธรรมทาง ศาสนาพุทธ และด้านการอ่านภาษาและอักษรพื้นเมืองในเบื้องต้น สิ่งเหล่านี้เพื่อสร้างให้เด็ก ได้เข้าใจ และด ารงตนในหลักพุทธศาสนา ก่อนการท าพิธีบวชลูกแก้ว จะมีการพิมพ์ใบ “แผ่นาบุญ” เพื่อบอก กล่าวเชื้อเชิญมาร่วมงานบุญ ในงานจะมีพิธีซอ เพื่อดึงดูดและสร้างบรรยากาศในงานบุญ (3) ปอยข้าวสังฆ์ คือ เป็นงานบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย โดยส่วนใหญ่จะจัดขึ้น กรณีผู้มีฐานะบารมีในหมู่บ้านเสียชีวิตหรือกรณีมีผู้เสียชีวิตจากการคลอดบุตร ที่เรียกว่า “การตาย พราย” หรือ “ตายกลม” การตายพรายนี้คนหมู่บ้านจะถือว่าเป็นการตายที่มีบาปกรรมและต้องเสวย ทุกขเวทนา ความเชื่อเช่นนี้ จึงท าให้ชาวบ้านร่วมมือกันท าบุญอุทิศส่วนกุศลเพื่อช่วยเหลือดวง วิญญาณของผู้ตายให้รอดพ้นจากบาปกรรมเหล่านั้น ในพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศล ชาวบ้านจะท าเรือ บรรจุสิ่งของไทยทานให้ผู้ตาย จะใช้สิ่งของ เช่น เสื้อผ้า หม้อข้าวหม้อแกง และของที่ผู้ตายชอบใส่ลง ไปในเรือและมีการสวดภาวนาอุทิศให้ผู้ตายรอดพ้นในภพใหม่ นอกจากนี้ยังมีการท าบุญอุทิศส่วนกุศล ที่ท ากันโดยทั่วไป จะเรียกว่า “ทานขันข้าว” (สงวน โชติสุขรัตน์, 2561, น. 171 - 177)
28 7) ประเพณีการแต่งงาน ในอดีตการแต่งงาน ก่อนจะมีการแต่งงานฝ่ายชายและฝ่ายหญิงจะต้องมีพิธีบอกกล่าวผี ประจ าตระกูลให้รับรู้ โดยทั้งสองต้องไปไหว้ขอพรที่บ้านหลักของผีอยู่ คือ ที่บ้านของหัวหน้าตระกูลผี นั้น ๆ ที่ได้รับสืบทอดกันมา หรือ กรณีฝ่ายหญิงมีแม่เป็นหัวหน้าตระกูลสืบทอดผี ก็จะท าที่บ้านได้ ทันทีการแต่งงานตามวัฒนธรรมของชาวไทยวนแล้ว ผู้ชายจะแต่งเข้าบ้านฝ่ายหญิง และฝ่ายชาย จะต้องหันมารับนับถือผีในตระกูลฝ่ายหญิง แต่ตามกฎหมายแล้วผู้หญิงจะต้องเปลี่ยนนามสกุลตาม ฝ่ายชาย และลูกต้องนับถือผีฝ่ายแม่ 8) ประเพณีเลี้ยงผี: ประเพณีเลี้ยงผีปู่ยา ผีปู่ย่า ตายาย คือผีประจ าตระกูลหรือผีบรรพบุรุษ เกือบทุกบ้านของชาวไทยวนมักจะมีหิ้งผีที่ ตั้งอยู่ในห้องนอนด้านทิศตะวันออก บนหิ้งจะมีเครื่องบูชา เช่น พานดอกไม้ ธูปเทียน น้ าต้น โดยเชื่อ ว่าผีปู่ย่าจะคอยดูแลช่วยเหลือ คุ้มครองสมาชิกในครอบครัว ถ้าสมาชิกในครอบครัวไม่ท าผิดจารีต ผี ปู่ย่าจะช่วยให้เจริญรุ่งเรือง สมัยก่อนจะมีการส่งอาหารให้ทุกมื้อ เดือนละครั้งและจะเป็นหน้าที่ของ ลูกผู้หญิงโดยเฉพาะลูกสาวคนหัวปี การก าหนดเลี้ยงผีปู่ย่ามักจะมีเลี้ยงระหว่างเดือนเมษายน พฤษภาคม มิถุนายน แต่จะยกเว้น วันพระและวันพุธที่เชื่อว่าผีประชุม ผีไม่กิน ส าหรับในพิธีจะมีการเตรียมเครื่องไหว้ผี คือ ไก่ต้ม 2 ตัว ข้าวสุก น้ า สุราและดอกไม้ธูปเทียน จากนั้นลูกหลานในบ้านจะช่วยกันยกเครื่องเซ่นไหว้ไปตั้งที่มุม ห้องนอน และจะท าการขอพร ให้ผีปู่ย่าช่วยคุ้มครอง ช่วยเหลือให้มีความสุขความเจริญ หากมีใครท า เสียผีที่ไม่ร้ายแรง เช่น เคยให้ผู้ชายแตะเนื้อต้องตัว จะต้องมีการท าพิธีขอขมาด้วย ปัจจุบันบาง ครอบครัวที่นับถือศาสนาพุทธที่เคร่งครัดก็จะไม่มีการท าพิธีดังกล่าว แต่ส่วนใหญ่แล้ว ก็ยังมีการนับถือ ผีกันอยู่และมีการผสมกับความเชื่อทางพุทธศาสนา ท าให้พิธีเลี้ยงผีมีการน าประเพณีพุทธศาสนาเข้า มาเกี่ยวข้อง เช่น การนิมนต์พระสงฆ์ไปสวดมนต์ เช่น การเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ (กรวรรณ ชีวสันต์ และธิตินัดดา จินาจันทร์, 2546, น. 81 - 83) 9) ประเพณีสืบชะตา นอกจากนี้ พิธีกรรมที่ชาวไทยวนนิยมจัดท าพิธีตามวาระ สถานภาพ เช่น การสืบชะตา การ สะเดาะเคราะห์และสืบชะตาอายุเสีย มักจะท ากันในช่วงการขึ้นบ้านใหม่ วันเกิด กรณีการเจ็บป่วย โดยมีหลักฐานความเชื่อนี้ระบุในคัมภีร์สืบชะตาที่เป็นต านานมาแต่อดีต พิธีกรรมนี้มีเป้าหมาย เพื่อต้องการให้เป็นมงคล หรือการต่ออายุให้ยืดยาว มีชีวิตอย่างสุขสบายปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และท าให้เจริญรุ่งเรื่อง พิธีสืบชะตานี้ ได้แบ่งประเพณีสืบชะตาออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกัน คือ 1. ประเพณีสืบ ชะตาคน 2. ประเพณีสืบชะตาบ้าน 3. ประเพณีสืบชะตาเมือง พิธีสืบชะตา ชาวยวนมักนิยมจัดใน วาระการขึ้นบ้านใหม่ ที่ถือเป็นการเริ่มต้นใหม่การสร้างชีวิตในพื้นที่ใหม่ คนในครอบครัวจะรวมตัวเพื่อ จัดพิธีกันบนบ้านหรือห้องโถง ในพิธีกรรมจะมีเครื่อง เซ่นไหว้บูชา 20 กว่าชนิด โดยแต่ละชนิดจะมี ความหมายที่แสดงถึงการให้เจ้าชะตามีอายุยืนยาว เช่น กระบอกน้ า กระบอกทราย บันไดชะตา ไม้ค้ า ขัวไต่ สะพานข้ามน้ า กล้ามะพร้าว เสื่อ หมอน หม้อใหญ่ และอื่น ๆ
29 ในพิธีกรรม เจ้าภาพจะต้องนิมนต์พระ 9 รูปขึ้นไปตามประเพณี พระสงฆ์จะท าพิธีสวด หลังจากเจ้าภาพจุดเทียนบูชาพระรัตนตรัย เจ้าภาพและครอบครัวต้องมานั่งในพิธีด้านเครื่อง เซ่นไหว้ และใช้ด้ายสายสิญจน์เวียนรอบศีรษะของผู้เข้าพิธี โดยนั่งประนมมือเพื่อรอฟังการสวดมนต์ หลังจาก นั้นพระผู้น าพิธี น าไหว้พระอาราธนาศีล พระสงฆ์ให้ศีลอาราธนาพระปริตร แล้วจึงสวดบทชุมนุม เทวดา หลังจากจบการสวดมนต์ ผู้สืบชะตาจุดเทียน น้ ามนต์ จุดฝ้ายค่าคิง (ยาวเท่าตัวผู้สืบชะตา) และเทียนสืบชะตา หลังจากสวดจบมีเทศน์ 1กัณฑ์ เมื่อพิธีแล้วเสร็จ จะมีการผูกข้อมือให้เจ้าของบ้าน ชายหญิงพร้อมประพรมน้ าพุทธมนต์ หลังจากนั้นเจ้าภาพถวายภัตตาหารและไทยทานเป็นเสร็จพิธี (มณี พะยอมยงค์, 2529, น. 89 - 91) 10) ประเพณีปีใหม่สงกรานต์ สงกรานต์ถือว่าเป็นวันตรุษขึ้นปีใหม่ ระหว่างวันที่ 13 14 15 เมษายนของทุกปี เป็นการ เริ่มต้นศักราชใหม่ ชาวไทยวนรวมทั้งชาวไทยทั่วไปจะเฉลิมฉลองปีใหม่ มีการรดน้ าด าหัวกันอย่าง สนุกสนาน เป็นประเพณีที่นิยมมากที่สุดของคนไทยตลอดมา โดยช่วงสงกรานต์ทุกคนจะรวมตัวกันใน ครอบครัว ท าความดีต่อชุมชน บ้านเมือง ในช่วงสามวันของเทศกาลสงกรานต์ จะมีกิจกรรมของแต่ละ วันแตกต่างกัน ชาวไทยวนจะเรียกวันที่ 13 เมษายน ว่า วันสงขานล่อง ที่หมายถึงการก้าวล่วงของ พระอาทิตย์จากราศีมีนสู่ราศีเมษ กิจกรรมในวันนี้จะมีพิธีส่งสังขาร จัดขบวนแห่สรงน้ าพระพุทธรูป ส าคัญประจ าเมือง แต่ปัจจุบันนี้จะมีการจัดกิจกรรมตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน จะมีการนัดเล่นน้ าที่ เรียกว่าวันลองไฟ ส่วนวันที่ 14เมษายน เรียกว่าวันเน่า จะเป็นวันขึ้นของพระอาทิตย์จากราศีมีนและอยู่ กึ่งกลางระหว่างราศีมีนกับราศีเมษ ในวันนี้เชื่อว่าเป็นวันที่ไม่ค่อยดี ฉะนั้นจะห้ามการกระท าที่ไม่ดีต่าง ๆ ที่ไม่เป็นมงคล ท าให้วันนี้ชาวบ้านจะท าดี พูดจาดีไม่ด่าทอกัน และในวันเน่านี้ จะเรียกว่า “วันดา” ชาวบ้านจะนิยมท าอาหารของคาวของหวานเพื่อไปท าบุญที่วัด และเป็นวันที่ดีส าหรับการเริ่มสร้าง บ้านใหม่ เช่นเดียวกันวันนี้จะเป็นที่คนหนุ่มสาวจะขนทรายเข้าวัดเพื่อก่อเจดีย์ทราย ส าหรับวันที่ 15 เมษายน เรียกว่าวันพญาวัน พระอาทิตย์เข้าสู่ราศีเมษ เป็นวันเริ่มต้นของ ปีนักกษัตรใหม่ โดยตอน เช้าชาวบ้านจะไปที่วัดเพื่อถวายอาหารแก่พระภิกษุสงฆ์ และถวายทานอุทิศแด่บรรพชน เมื่อท าบุญที่ วัดเสร็จ จะเตรียมอาหารไปให้แก่ญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ เช่น พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย วันนี้จึงอาจถือว่า เป็นวันรวมญาติ และในช่วงเที่ยงจะมีการน าน้ าส้มป่อยไปเทรวมกลางวิหาร ที่เรียกว่า พิธีทานตุง และ พิธีสรงน้ า อีกทั้งจะมีการปล่อยนกปล่อยปลา และช่วงสุดท้ายของวันจะมีการท าพิธีด าหัวพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายและผู้ใหญ่ที่เคารพนับถืออีกด้วย (กรวรรณ ชีวสันต์ และธิตินัดดา จินาจันทร์, 2546, น. 85-90)
30 ภาพที่ 24 ภาพบรรยากาศวันรวมญาติ วันสงกรานต์มีกิจกรรมร าโทน ที่มา: ผู้วิจัย 11) ประเพณีการบวช คนไทยวนนิยมบวชลูกชายเป็นสามเณรเมื่ออายุ 10 ปี เมืองได้บวชแล้วจะให้สามเณรศึกษา ต่อจนอายุ 20 ปี จึงจะอุปสมบท หรือที่เรียกว่า “เป๊กข์เป็นตุ๊” การบรรพชาอุปสมบท นอกจากเป็น การเล่าเรียนพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นการตอบแทนบุญคุณของบุพการี ลูกผู้ชายทุกคน จึงต้องบวชสัก ครั้งในชีวิต แต่ก่อนที่เด็กจะบวชต้องเข้าไปศึกษาเรียนรู้กับพระพี่เลี้ยงก่อน ถึงจะได้รับอนุญาตเข้าบวช เป็นพระได้ งานบวชของชาวไทยวน มักนิยมจัดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคมจนถึงเข้าพรรษา สมัยก่อน จะบวชร่วมเวลา 2 - 3 พรรษา แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่จะบวช 3 ถึง 7 วัน สมัยก่อนการจัดงานบวช จะท าพิธีถึง 3 วัน คือวันที่หนึ่งเรียกว่าวันดาน้อย คือ วันแรก จะเป็นการเตรียมการและเป็นวันรวมญาติ จะมีการท าขนม น าข้าวของที่ต้องใช้ในงานบวช วันที่สอง คือ วันดาใหญ่ เป็นวันโกนหัว ที่เรียกว่าพิธียื่นโยง เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติ ในงานจะมีพ่อแม่ ญาติ ใกล้ชิดและผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ร่วมโกนหัวและอวยพรให้กับผู้บวช ผู้บวชนี้จะเรียกว่า “นาค” จากนั้นนาคจะกลับบ้านบอกลาปู่เสี้ยวบ้าน เจ้าพ่อเจ้าแม่และท าพิธีล้างเท้าให้พ่อแม่เพื่อเป็นการขมา ลาโทษในสิ่งที่เคยท าไม่ดีหรือล่วงเกิน หลังจากนั้นจึงจะเป็นพิธีสู่ขวัญนาค เรียกขวัญและให้พรนาค วันที่สาม คือ วันบวช งานเริ่มด้วยการแห่นาคเข้าวัดเพื่อประกอบพิธีอุปสมบทตั้งแต่เช้าในขบวนจะ ประกอบด้วยนาค อาจขึ้นเสลี่ยงหรือเดิน พร้อมด้วยเครื่องอัฐบริขาร พ่อของนาค จะอุ้มบาตร ส่วนแม่ อุ้มผ้าไตร เมื่อถึงอุโบสถจะเดินเวียนรอบอุโบสถ 3 รอบ จากนั้นนาคจะเข้าอุโบสถและจะจูงพ่อแม่เข้า ไปพร้อม ๆ กัน เพราะเชื่อว่า จะท าให้พ่อแม่เอากุศลจากการบวชในครั้งนี้ด้วยแต่ปัจจุบัน การบวช นาคได้ลดขั้นตอนจากที่ท ากันสามวันลดเหลือสองวัน เรียกว่า วันสุกดิบและวันบวช และไม่ต้องเตรียม อาหาร ขนมหวานเหมือนสมัยก่อน ในวันสุกดิบจะมีการลาปู่เสี้ยวบ้านเจ้าพ่อเจ้าแม่ ตอนบ่ายจะล้าง เท้าให้พ่อแม่และสู่ขวัญนาค ปัจจุบันนี้จะพบว่ามีการเลี้ยงอาหารโต๊ะจีน มีมหรสพ และกิจกรรมทุก อย่างต้องมีการจ้างและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากขึ้น
31 จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่าประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยวนในจังหวัดสระบุรี เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวไทยวนและชาวบ้านกลุ่มบ้านต้นตาล ประเพณีทั้งหมดที่กล่าวข้างต้นสืบ ทอดมาหลายชั่วอายุคนและยังคงมีประเพณีดังกล่าวจนถึงปัจจุบัน และประเพณีที่มีการเชื่อมโยงกับ ศิลปะการแสดงที่สอดแทรกในวิถีชีวิตโดยปรากฏตามโอกาสต่างๆ เช่น ประเพณีเกี่ยวกับการท านา ประเพณีต้นสลากภัต ประเพณีถวายสลากภัต ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีปีใหม่สงกรานต์ รูปแบบ การแสดงมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมประเพณี 2. การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวนจังหวัดสระบุรี การแสดงของชาวไทยวน เป็นการแสดงพื้นบ้านที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน เป็นการแสดงที่ สร้างสรรค์ขึ้นจากวิถีชีวิตของชาวไทยวน มีทั้งความอ่อนช้อยงดงามในลีลา ท่วงท่าของการแสดงที่ เรียกว่าการ “ฟ้อน” และเพลงฟ้อนอีกแบบที่แฝงความแข็งแรงแต่ยังคงลีลาท่วงท่าที่เป็นศิลปะ การแสดงพื้นบ้านของชาวไทยวน มีการสืบทอดกันมาหลายชุดแต่ชุดการแสดงที่คงสืบทอดอยู่สมบูรณ์ พบได้ ณ วัดต้นตาล และ หอวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน อีกทั้งรูปแบบการพัฒนาที่ปรากฏ ณ ศูนย์ศิลปะการแสดงโยนกอุทยานท่าน้ าศักดิ์สิทธิ์ ดังนี้ 2.1 วัดต้นตาล ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ชาวต้นตาล อพยพมาจากทางภาคเหนือ อ าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย หรือเดิมเรียก บริเวณนี้ว่า “แคว้นโยนกนคร” ในปีพุทธศักราช 2343 ตรงกับปีชวด เป็นปีที่ 23 แห่งรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตอนนั้นเชียงแสนอยู่ในอิทธิพลของพม่า ซึ่งอาศัย เชียงแสนเป็นแหล่ง เสบียงอาหารและก าลังพล ส าหรับจะยกทัพเข้าตีเมืองฝ่ายเหนือของไทย พระองค์ทรงมีพระราชด าริ จะก าจัดอิทธิพลของพม่าให้สิ้นไปจากแผ่นดิน พระองค์ทรงรับสั่งให้พระ เจ้าหลานเธอกรมหลวงหริรักษ์ ร่วมกับพระยายมราชจัดกองทัพจากกรุงเทพฯ ขึ้นไปสมทบกับกองทัพ นครล าปาง กองทัพนครเชียงใหม่ กองทัพเมืองน่านและกองทัพ นครเวียงจันทร์รวมเป็น 5 กองทัพ เพื่อให้เข้าโจมตีเมืองเชียงแสนกองทัพทั้ง 5 ล้อมเมืองเชียงแสนไว้ ประมาณหนึ่งเดือนก็ตีเมืองได้พม่า ที่อยู่ในเมืองเชียงแสนแตกหนีไป กองทัพไทยได้รื้อป้อมปราการ ก าแพง เมืองและเผาบ้านเรือนจนสิ้น ซากเพื่อไม่ให้เป็นประโยชน์แกพม่าอีกต่อไป และได้กวาดต้อนชาวเมือง เชียงแสนทั้งชายหญิงที่อยู่ใน วันฉกรรจ์พอที่จะมีก าลังเดินทางไกลได้ ประมาณ 23,000 คน ชาวเมืองดังกล่าวถูกแบ่งออกเป็นห้า ส่วน ๆ ละเท่า ๆ กัน เพื่อมอบให้แก่กองทัพทั้ง 5 กองทัพ ๆ ละประมาณ 4,000 กว่าคน กองทัพของ เมืองหลวงได้พาชาวเมืองเชียงแสนเดินทางลงมายัง กรุงเทพฯ ออกเดินทางผ่านเมืองสระบุรี บริเวณ อ าเภอเสาไห้ ชาวเมืองเชียงแสนส่วนหนึ่งมีความประสงค์ ตั้งถิ่นฐานท ากินอยู่ ณ ที่นั้นและชาวเมือง เชียงแสนดังกล่าวบางส่วนได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ หมู่บ้านหนึ่งซึ่งมีต้นตาลมากมายอยู่บริเวณวัด ชาวบ้าน จึงได้เรียกชื่อว่า “บ้านต้นตาล” และต่อมาได้จัดตั้งเป็นต าบลต้นตาล ปัจจุบันยังมีต้นตาลปรากฏให้ เห็นอยู่หน้าวัดเขาแก้ววรวิหารมากมายเป็นเอกลักษณ์ประจ าต าบลอนุรักษ์ไว้ ให้คนรุ่นหลังได้เห็น ต่อมา (สมจิตร ยะกุล และวงเดือน ยะกุล, 2563,10 มกราคม, สัมภาษณ์)
32 ภาพที่ 25 ผู้ดูแลชาวไทยวน ต าบลต้นตาล อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย วัดต้นตาลตั้งอยู่ที่อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มทางตอนใต้ติด แม่น้ าป่าสักมีประชากรหนาแน่นตลอดแนว ตอนเหนือประชากรอาศัยกระจายโดย ทั่วบริเวณ ซึ่งมีพื้นที่ติดกับพื้นที่ต่าง ๆ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 กลุ่มชาวไทยวน ที่ปรากฏในเขตบริเวณ จังหวัดสระบุรี ที่มา: ดวงพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (2550 น. 51) ทั้งนี้วัดต้นตาลมีแนวทางในการพัฒนาให้เปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับยุคสมัยโดยมีการก าหนด นโยบายและยุทธศาสตร์ดังต่อไปนี้ นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา ต าบลต้นตาลอยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วน ต าบลต้นตาล – พระยาทด ซึ่งได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชนในการก าหนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาต าบล โดยที่ศักยภาพของต าบลต้นตาลที่ส าคัญ มีดังนี้ ทิศ ติดกับ ทิศเหนือ ต าบลห้วยบง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ทิศใต้ ต าบลสวนดอกไม้ อ าเภอเสาไห้ ทิศตะวันออก ต าบลห้วยบง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ต าบลดาวเรือง อ าเภอเมือง ทิศตะวันตก ต าบลท่าช้าง อ าเภอเสาไห้
33 1) เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของอ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 2) ได้รับรางวัล OTOP VILLAGE CHAMPAIN (OVC) ปี พ.ศ. 2555 3) มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวก 4) มีการรวมกลุ่มกันของประชาชนในพื้นที่เพื่อท ากิจกรรมให้แก่ส่วนรวม 5) ชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งศักยภาพดังกล่าว ส่งผลให้ชุมชนบ้านต้นตาลมีการพัฒนาในด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน มีการพัฒนาด้านสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการชุมชนก าหนดทิศทางในการพัฒนา ได้ต าบลต้นตาลได้มีการจัดตั้งกลุ่ม Home stay ขึ้น เพื่อรองรับความต้องการในด้านการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและยุทธศาสตร์ การพัฒนา จังหวัดสระบุรีจนถึงปัจจุบัน 2.1.1 ฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี ร าฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี เป็นการแสดงที่ได้มีการเรียนรู้รูปแบบแนวทาง การแสดงมาจากการร ากลองยาวของทางภาคกลาง การฟ้อนกลองยาวนั้นเป็นศิลปะพื้นบ้านของทาง ภาคกลาง ต่อมาชาวไทยวนสระบุรีได้น ามาแสดงในลักษณะของตนเอง แต่มีความแตกต่างกันที่ รูปแบบของการแสดงทวงท่าและลีลา ลักษณะของการเกี่ยวพาลาสีกัน เป็นการผสมผสานตามลักษณะของ บุคคล เมื่อชาวไทยวนสระบุรี ได้มีการเรียนรู้รูปแบบการแสดงของการร ากลองยาวทางภาคกลางนั้น จึงเกิดการผสมผสานสอดคล้องกับวิถีชีวิตชาวไทยวนสระบุรี จึงได้น าท่าร าของชาวไทยวนเข้ามาผสมผสาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน (วงเดือน ยะกุล, 2562, 10 มกราคม,สัมภาษณ์) ภาพที่ 26 การสัมภาษณ์ ฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย
34 ภาพที่ 27 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 28 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 29 การฟ้อนกลองยาวของชาวไทยวนสระบุรี ที่มา: ผู้วิจัย