The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 05:51:16

CLM Nakhonnayok

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก




Community Lab Model for quality of life: CLM
ครัวเรือนพืน้ ที่เรียนรชู้ มุ ชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดบั ตาบล

คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง และภาคีเครือข่ายภาคส่วนต่าง ๆ ท้ัง 7 ภาคี ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่
การปฏบิ ัตอิ ย่างเป็นขั้นตอน ตามกลไกการขบั เคล่อื นสบื สานศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การปฏิรูปประเทศ โดยใชห้ มูบ่ า้ น
เป็นฐานของการพัฒนา มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรือน และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถ
ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
โดยกรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายสถาบันการพัฒนาชุมชน โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
ดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก
หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(CLM) ครวั เรือนละ 1 คน จานวน 96 คน ในพื้นท่ีจังหวัด 15 จังหวดั ได้แก่ สุโขทยั พิจติ ร รอ้ ยเอ็ด สระแกว้
ยโสธร นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ ลาปาง แพร่ ลาพูน ชลบุรี สระบุรี ราชบุรี นครนายก ปทุมธานี
วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพ้ืนที่เป้าหมายได้ เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ ในรูปแบบ โคก หนอง นา
โมเดลและเพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีเรียนรชู้ ุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดบั ตาบล และระดับครวั เรือน

อีกทั้งเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ
ในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล นาไปส่กู ารพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน และเป็นการสืบสานพระราชปณิธาน น้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลัก ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยการพัฒนาคนให้พึ่งตนเอง มีความเป็นเจ้าของและบริหารจัดการ
โดยชมุ ชน พัฒนาหมู่บ้านหรอื ชุมชนใหม้ ีวิถชี ีวติ เศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคม “อยู่เยน็ เปน็ สุข”

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก จึงได้จัดทารายงานผลการฝึกอบรม โครงการพัฒนาพื้นที่
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมที่ 1
ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล
กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพน้ื ที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (CLM) ซ่ึงดาเนินการระหว่างวันท่ี
14-18 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก เพ่ือให้ผู้ที่เก่ียวข้องได้รับทราบผล
การดาเนนิ งานฝกึ อบรมและผูท้ ่ีสนใจนาไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป

ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก

พฤษภาคม 2564

สารบัญ หน้า

คานา 1
สารบัญ 8
บทสรปุ ผู้บรหิ าร 8
ส่วนที่ 1 โครงการพฒั นาพื้นทตี่ น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่ประยุกต์ 12
สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กจิ กรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพิ่มทกั ษะระยะสน้ั การพัฒนากสิกรรมสู่
ระบบเศรษฐกิจพอเพยี งรปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 14
สว่ นท่ี 2 สรุปเน้อื หาวิชาการ ผลการอบรมรายวชิ า 20
23
1) วชิ ากจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ 26
2) วิชาเรียนรตู้ ารายนผนื ดนิ 31
3) วชิ าโครงการพฒั นาพ้นื ท่ตี น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสัน้ การพฒั นากสกิ รรมสู่ระบบ 71
เศรษฐกิจพอเพยี งรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 76
4) วิชาการแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั แิ บบเปน็ ขั้นเป็นตอน
5) วชิ าปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษบี ันได 9 ขน้ั สคู่ วามพอเพยี ง” 82
6) หลักกสิกรรมธรรมชาติ
7) วิชาฝกึ ปฏบิ ตั ฐิ านเรยี นรู้ 9 ฐาน 86
8) ถอดบทเรียนผา่ นสอ่ื “วิถีภมู ปิ ัญญาไทยกบั การพงึ่ ตนเองในภาวะวิกฤติ” และ แผ่นดนิ
ไท ตอน แผน่ ดนิ วกิ ฤต 90
9) วชิ าฝกึ ปฏบิ ตั ิจิตอาสาพฒั นาชมุ ชน “เอามือ้ สามคั คี” พัฒนาพืน้ ทต่ี ามหลักทฤษฎใี หม่ 95
10) วิชาการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืนเพื่อการ 99
พ่งึ ตนเองและรองรับภยั พิบัติ 102
11) วิชาพื้นฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก 127
หนอง นา โมเดล” 129
12) วิชา ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลอง(กระบะทราย) การจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎี 130
ใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล 136
13) วิชา Team Building ฝึกปฏบิ ัติการบรหิ ารจัดการ ในภาวะวิกฤต “หาอยู่ หากิน” 142
14) วชิ า การขบั เคล่อื นสบื สานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357 149
15) วิชา ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
16) วิชา หวั ข้อวิชา สุขภาพพึง่ ตน พัฒนา 3 ขุมพลัง “พลังกาย พลงั ใจ พลงั ปญั ญา”
สว่ นที่ 3 ผลประเมินโครงการ
ผลการประเมินโครงการ ร่นุ ที่ 1
ผลการประเมนิ โครงการ ร่นุ ท่ี 2
ผลการประเมินโครงการ รนุ่ ท่ี 3
ผลการประเมนิ รนุ่ ท่ี 4

สารบญั หน้า

ภาคผนวก
ภาพกจิ กรรมรุ่นท่ี 1-4
รายชื่อผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมรุน่ ท่ี 1-4
ตารางการฝกึ อบรม CLM

บทสรุปผูบ้ ริหาร

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายสถาบันการพัฒนาชุมชน โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครนายก ดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพ้นื ท่ีตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพยี ง รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพื้นทเ่ี รียนรู้ชุมชนต้นแบบการพฒั นาคุณภาพ
ชีวิต (CLM) วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาขับเคล่ือนการน้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นที่เป้าหมาย
ได้

รุ่นที่ 1 กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยครัวเรือนพ้นื ทเ่ี รียนร้ชู มุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (CLM)
จานวน 96 คน ในพ้ืนท่ีจังหวัด 15 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร ร้อยเอ็ด สระแก้ว ยโสธร นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์ ลาปาง แพร่ ลาพูน ชลบุรี สระบุรี ราชบุรี นครนายก ปทุมธานี ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 14-18
ธนั วาคม พ.ศ. 2563

รุ่นที่ 2 กลมุ่ เป้าหมายประกอบด้วยครวั เรือนพน้ื ท่ีเรียนรชู้ มุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต (CLM)
จานวน 100 คน ในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ 43 คน กาญจนบุรี 28 คน กระบี่ 29 คน
ดาเนินการระหวา่ งวนั ท่ี 22 - 26 ธนั วาคม พ.ศ.2563

รุ่นที่ 3 กลุ่มเปา้ หมายประกอบดว้ ยครวั เรอื นพืน้ ที่เรยี นรชู้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (CLM)
จังหวดั อุบลราชธานี จานวนท้ังสิ้น 68 คน ดาเนินการระหว่างวันท่ี 11 - 15 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564

รนุ่ ท่ี 4 กลมุ่ เปา้ หมายประกอบด้วยครัวเรือนพื้นท่เี รียนรชู้ ุมชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ (CLM)
จานวนทง้ั ส้นิ 57 คน ดาเนินการระหวา่ งวันที่ 2 -6 มีนาคม พ.ศ. 2564

ขอบเขตเน้อื หาหลักสูตร ประกอบด้วย
1) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และหลักสิกรรมธรรมชาติ
2) เข้าใจ เข้าถึง พฒั นาศาสตร์พระราชา กับการพัฒนาท่ยี ั่งยืน “SEP To SDGs”
3) การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่าง

ยงั่ ยนื เพือ่ การพึง่ ตนเองและรองรบั ภัยพบิ ัติ
โดยมีรายวชิ าดงั น้ี
- กระบวนการความคาดหวงั /กล่มุ สมั พนั ธ/์ ฝากตาแหนง่ อายุ รบั ผา้ สี เลือกผนู้ า
- เรยี นรู้ตาราผืนดนิ
- เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากับการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน
- การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบัตแิ บบเป็นข้ันเปน็ ตอน
- ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎี บนั ได 9 ขนั้ สู่ความพอเพยี ง
- หลักกสิกรรมธรรมชาติ

- ทศั นศกึ ษาตวั อย่างความสาเร็จการพัฒนาพืน้ ทต่ี ้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิต
ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

- ฝกึ ปฏิบัติฐานเรียนรู้
- ถอดบทเรียนผ่านส่อื “วิถภี มู ิปัญญาไทยกับการพ่งึ ตนเอง ในภาวะวิกฤติ”
- “สุขภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลังใจ พลงั ปญั ญา
- ฝึกปฏบิ ตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอาม้อื สามัคคี พฒั นาพืน้ ทตี่ ามหลักทฤษฎใี หม่”
- การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืน เพ่ือการ
พึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ
- พื้นฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก
หนอง นา โมเดล
- ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลอง(กระบะทราย) การจัดการพืน้ ทีต่ ามหลักทฤษฎใี หม่
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
- Team Building ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการ ในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากิน และ
สรุปบทเรยี น
- กตัญญูตอ่ สถานที่พฒั นาจติ ใจ ทาบุญตักบาตร
- การขบั เคลอื่ นสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357
- จัดทาแผนปฏิบัติการ “ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
การปฏบิ ัต”ิ
กิจกรรมหลกั สูตร ประกอบด้วย
1) ปฐมนิเทศกอ่ นเขา้ รบั การฝกึ อบรม
2) กจิ กรรมกลุม่ สมั พันธ์
3) กิจกรรมพฒั นา 3 ขุมพลัง
4) กิจกรรมเคารพธงชาติ
5) กิจกรรมทาบุญตกั บาตร
6) กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร
7) กิจกรรมถา่ ยภาพรว่ มกัน

Community Lab Model for quality of life: CLM ระดบั ตาบล รนุ่ ท่ี 1

ส่วนที่ 1 ผลการประเมินโครงการ
หลังการส้ินสุดการฝึกอบรม ได้ประเมินโครงการฯ โดยใช้แบบประเมินผลภาพรวมโครงการ ผลการ

ประเมนิ สรปุ ได้ ดังนี้
1. กลุ่มเป้าหมาย

ผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 96 คน
หมายเหตุ ผ่านการฝึกอบรมครบท้ังหมด 96 คน

จากกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (CLM)
ครวั เรอื นละ 1 คน จานวน 96 คน ในพ้ืนท่ีจงั หวัด 15 จงั หวดั ได้แก่ สุโขทยั พจิ ิตร รอ้ ยเอ็ด สระแกว้ ยโสธร
นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ ลาปาง แพร่ ลาพูน ชลบุรี สระบุรี ราชบุรี นครนายก ปทุมธานี มีผู้ตอบแบบ
ประเมินจานวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบ
แบบประเมนิ โครงการฯ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1) เพศหญิง จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 32.29 และเพศชาย จานวน 65 คนคิดเป็น
รอ้ ยละ 67.71

2) กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.38 รองลงมา มีอายุ 50-
59 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.33 อายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.83 อายุ 60 ปีข้ึนไป คิดเป็น
รอ้ ยละ 7.29 และมอี ายตุ ่ากว่า 30 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 4.17 ตามลาดบั

3) การศึกษา กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็น
ร้อยละ 52.08 ระดับต่ากว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 40.62 ระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 7.29
ตามลาดบั

2. ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ

จากผลการประเมินโดยส่วนใหญข่ องผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่ามีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ใน
ระดบั มากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย คอื 4.62 และเม่ือพจิ ารณารายด้านสามารถสรุปได้ ดงั น้ี

1) กระบวนการขั้นตอนการให้บริการ (การฝึกอบรม) อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.59 และ
เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า การจัดลาดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม ความเหมาะสมของช่วงเวลา และ
ความเหมาะสมของสถานท่ี อย่ใู นระดับมากท่ีสุด มีคา่ เฉลยี่ 4.66, 4.65 และ 4.55 ตามลาดับ

2) วิทยากร อยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.60 และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า
ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ และการเปิดโอกาสให้ซักถาม
แสดงความคดิ เห็น อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด คา่ คะแนนเฉลีย่ 4.68, 4.60 และ 4.58 ตามลาดบั

3) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน (หน่วยงานจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมากที่สุด มี
คา่ เฉลีย่ 4.63 และเมอ่ื พิจารณารายขอ้ พบวา่ การแตง่ กาย ความสุภาพ และการตอบคาถาม อย่ใู นระดับ
มากท่สี ุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.68, 4.65 และ 4.60 ตามลาดบั

4) การอานวยความสะดวก (หน่วยงานจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.64 และ
เมื่อพิจารณารายขอ้ พบว่า เจ้าหน้าท่ีสนับสนนุ โสตทัศนูปกรณ์ และอาหาร เคร่อื งด่มื และสถานท่ี อย่ใู นระดับ
มากทส่ี ุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.69, 4.64 และ 4.64 ตามลาดับ

5) คุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.64 และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า
การได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆ จากโครงการ สิ่งท่ีได้รับจากโครงการตรงตาม
ความคาดหวัง และประโยชน์ที่ได้รับ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.69, 4.65 และ 4.62
ตามลาดบั

3.) ขอ้ เสนอแนะเนือ้ หาหลกั สตู ร
จากผลการประเมินสามารถสรุปได้ ดงั น้ี
1) เนือ้ หาหลกั สูตรทุกรายวิชาสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้จริงและปฏบิ ัตงิ านในพนื้ ทีไ่ ด้
2) ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับกิจกรรมฝึกปฏิบัติ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการฯ ซ่ึงสามารถนา

ความรไู้ ปต่อยอด เผยแพรใ่ นพ้นื ท่ีได้ แตค่ วรเพมิ่ เวลาฝกึ ปฏบิ ตั ิใหม้ ากกวา่ น้ี
3) การบรู ณาการหลักสูตรการพฒั นากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพยี งหลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิ

สังคมไทยเพื่อการพ่งึ พาตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ ส่งผลให้รายวิชาในเนอ้ื หาหลักสูตรนี้ มีจานวนมาก ซึ่งบาง
รายวิชาเป็นรายวิชาที่สาคัญอย่างย่ิงในการนาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เช่น วิชาการออกแบบเชิงภูมิ
สังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืนเพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติ วิชาพ้ืนฐานการ
ออกแบบเพื่อการจัดการพน้ื ที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล เน่ืองจากเป็นวิชาที่สรา้ ง
ความรูใ้ หม่ แนวคิด และประโยชน์ ตอ่ การนาไปปฏิบัตงิ านในพนื้ ที่ ซึ่งชว่ ยให้เขา้ ใจทีไ่ ปท่ีมาของการออกแบบ
พ้ืนที่ เปน็ ตน้

4) ควรเพ่ิมเนอ้ื หาเกยี่ วกับทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ให้ลึกและชดั เจนมากขน้ึ กว่าน้ี
เพ่อื นาไปเผยแพร่ความรไู้ ด้ถกู ต้อง

5) เพิ่มเติมเน้ือหาที่จาเป็นต่อการบริหารโครงการ เช่น การจัดซื้อ จัดจ้าง การร่างขอบเขตงาน
การตรวจรบั งาน เกย่ี วกบั การขดุ การบริหารความเส่ียงของโครงการฯ

6) เน้อื หาวชิ ามมี าก แต่ระยะเวลาฝกึ อบรมสัน้ เกนิ ไป ควรเพ่มิ มากกวา่ น้ี
7) ตอ้ งการให้เพม่ิ เติมหลกั สตู รการบริหารนักพฒั นาพ้นื ทต่ี น้ แบบฯ (นพต.)

Community Lab Model for quality of life: CLM ระดบั ตาบล รุน่ ที่ 2

ส่วนท่ี 1 ผลการประเมินโครงการ
1.1 ผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 100 คน
จากกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพื้นท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ครัวเรือนละ 1 คน

จานวน 100 คน ในพื้นท่ีจังหวัด 3 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี กาฬสินธ์ุ และกระบ่ี มีผู้ตอบแบบประเมิน
จานวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบ
ประเมนิ โครงการฯ มีรายละเอยี ดดงั นี้

1) เพศ เพศหญิง จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 34.92 และเพศชาย จานวน 56 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 44.44

2) อายุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 27.78 รองลงมา
มีอายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.60 มีอายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.11 มีอายุ 60 ปีข้ึนไป
คิดเป็นรอ้ ยละ 9.52 และมอี ายุตา่ กวา่ 30 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.35 ตามลาดับ

3) การศึกษา กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีการศึกษาอยู่ในระดับระดับปริญญาตรี คิดเป็น
ร้อยละ 38.89 การศึกษาอยู่ในระดับต่ากว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 35.54 การศึกษาอยู่ในระดับ
ปริญญาโท คิดเป็นรอ้ ยละ 7.14 และอ่ืนๆ คือ เปรยี ญธรรม คิดเป็นร้อยละ 0.79 ตามลาดับ

ส่วนท่ี 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการฝกึ อบรมหลกั สูตร

จากผลการประเมินโดยส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญค่ ิดว่าการบริการท้ัง 5 ด้าน อยู่ใน

ระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี โดยรวมท้งั หมด 5 ดา้ น คือ 4.61 และเมอื่ พจิ ารณารายด้านสามารถสรุปได้

ดังน้ี

1. ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านกระบวนการข้นั ตอนการให้บรกิ าร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ อยู่ใน

ระดบั มากที่สดุ ค่าคะแนนเฉลยี่ รวม 4.58 โดยมีคา่ คะแนนเฉล่ีย 3 ลาดับดงั น้ี

1. ความเหมาะสมของสถานท่ี อย่ใู นระดับมากทส่ี ดุ คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.71

2. การจัดลาดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม อย่ใู นระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.65

3. ความเหมาะสมของระยะเวลา อย่ใู นระดับมาก ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.49

2. ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านวิทยากร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าคะแนน

เฉลี่ยรวม 4.70 โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 3 ลาดบั ดงั น้ี

1.ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ คา่ คะแนนเฉลีย่ 4.76

2.การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.73

3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยใู่ นระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.70

3. ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านเจ้าหนา้ ทผี่ ู้ให้บริการ/ผ้ปู ระสานงาน

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน
อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี รวม 4.61 โดยมีคา่ คะแนนเฉลยี่ 3 ลาดบั ดงั นี้

1.ความสุภาพ อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด คา่ คะแนนเฉลยี่ 4.70
2.การตอบคาถาม อย่ใู นระดบั มากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.60

3.การแต่งกาย อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.58

4. ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ดา้ นการอานวยความสะดวก

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านการอานวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ คะแนนเฉลี่ยรวม 4.59 โดยมคี ่าคะแนนเฉล่ีย 3 ลาดับดังน้ี

1. อาหาร เคร่ืองดื่มและสถานท่ี อยู่ในระดับมากท่สี ุด คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.75

2. เจ้าหน้าท่ีสนับสนุน อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.56

3. โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับมากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.54

5. ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ดา้ นคณุ ภาพการให้บรกิ าร
ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด

ค่าคะแนนเฉลยี่ รวม 4.60 โดยมคี ่าคะแนนเฉลีย่ 3 ลาดับดงั นี้
1. ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการ/กิจกรรมนี้

อยใู่ นระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.70
2. ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.67
3.ท่านสามารถนาสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน

อยู่ในระดับมากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.62

ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ

3.1) ส่ิงท่ที า่ นพึงพอใจในการร่วมโครงการ/กิจกรรมคร้งั นี้
- เน้อื หาหลกั สูตรเปน็ หลกั สูตรที่ดมี าก ครบถว้ นสมบูรณ์
- พึงพอใจวิทยากรและเจา้ หน้าท่โี ครงการ สถานท่ี อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ อาหารอร่อย
- ได้เรียนร้แู ละปฏิบัติเพื่อไปประยุกตใ์ ช้
- การได้รบั ความรใู้ หมๆ่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สามารถนาไปปรับใช้ได้ของตนเองและพื้นที่
- การลงมือปฏบิ ตั ิจริง
- ความต้ังใจการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ตา่ งๆ ของทีมวิทยากรและเจา้ หนา้ ที่โครงการ

3.2 ส่ิงท่คี วรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจัดโครงการ/กิจกรรมคร้ังตอ่ ไป

3.2.1 ดา้ นเนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในการฝึกอบรม
- เน้อื หาหลักสูตรควรครอบคลุม ทุกเนอ้ื หาของหลักสูตร
- ควรมีหลักสตู รท่เี กยี่ วกับปศุสัตว์ทาจริงเต็มสตู ร
- วิทยากรทป่ี ระสบความสาเร็จในโครงการหลากหลาย
- เน้อื หาหลักสูตรเน้อื หาในบางรายวิชาสามารถเพ่ิมเติมเวลาหรือขยายไปให้มากกว่าเดิม
เช่น การออกแบบ การจัดทายุทธศาสตร์
- หลักสูตรดีกิจกรรมดแี ต่เร่อื งเวลาอัดแนน่ เกนิ ไปเริ่มเขา้ และเลกิ มืดเกนิ ไปอยากให้คุณเวลา
มากกว่าน้ี

- วิชาหาอย่หู ากินควรเข้มข้นกว่านค้ี วรให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในหลายด้าน ไม่พึง่ แต่คนใดคน หนง่ึ
- เน้อื หาวชิ าการออกแบบพน้ื ท่ี ควรจะเน้นเชงิ ลึกกว่าน้ี

- เน้อื หาตลอดหลักสูตรน้นั มีความเพียงพอต่อโครงการและควรมีหรือพฒั นาหลักสูตรให้
สามารถเขา้ ถงึ ได้ง่าย

- เน้อื หาควรจัดหลักสูตรให้ครบถว้ นตามฐานเรียนรู้ที่มีอยขู่ องศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชน
นครนายก
- ใช้เวลาในการอบรมทาให้ผู้เขา้ รับการอบรมล้าไม่สามารถรับความร้ไู ด้เต็มที่

- เพม่ิ กิจกรรมการลงมือปฏิบัติให้มากกวา่ นี้ และเพม่ิ เติมแนวทางการติดต่อประสานงานกบั
หนว่ ยงานในพื้นท่ี

- ให้มเี อกสารแจกเพ่มิ เติมเพื่อกลับไปทบทวนเพิ่มเวลาบางหลักสูตร
3.2.2 ดา้ นวิทยากรและเจ้าหน้าท่โี ครงการ

- วิทยากร มีความรู้ความสามารถถ่ายทอดได้ดี

- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการน่ารักทุกคน
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ที่โครงการอธิบายได้ดมี าก

- วิทยากรมีความรู้ดีและเปน็ กันเอง ใหค้ วามสนใจเอาใจใส่ดี
- วิทยากรบุคลิกดีแตง่ กายสภุ าพพูดจาดี
- ควรเพ่มิ จานวนวิทยากรโครงการ

- วิทยากรเหมาะสมแลว้ แต่อาจมีความเกรงใจ หรือละลายพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมอบรม
ให้มากกว่าน้ี

3.2.3 อาคารสถานท่ี หอ้ งพัก ห้องอบรม โรงอาหาร
- อาคารสถานท่ีสะอาดดีมาก
- อาคารสถานท่ีสะดวกสบาย

- อาคารสถานท่ี ไม่อยากรวมตวั กันมากเพือ่ ป้องกนั โรคโควิด
- อาคารสถานที่ควรดูแลความสะอาดห้องนา้

3.2.4 อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ครบถ้วน และทนั สมัย
- อุปกรณ์มีความพร้อม

- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ควรจะมีจอทีวีแยกโดยรอบเน่อื งจาก ภาพขวาโปรเจคเตอร์
ขนาดเลก็ เกนิ ไป

3.2.5 อาหาร/อาหารวา่ งและเคร่อื งด่ืม
- อาหารเพียงพอต่อความต้องการ
- อาหาร อาหารวา่ งและเครือ่ งด่ืม สะอาดและอร่อย

- อาหารอร่อยและหลากหลายเกนิ ไป
- อาหาร ควรตรวจสอบว่าผู้อบรมมีอายุระหว่างเท่าไหร่ ศาสนา และโรคประจาตัว อาการ

แพอ้ าหาร เพ่อื เตรยี มอาหารท่จี ะรบั ประทานที่เหมาะสมกับผเู้ ข้าอบรม
- เคร่อื งดื่ม อาจจะเป็นนา้ สมุนไพรทอ้ งถ่นิ เพ่อื สุขภาพ เช่น น้ากระเจย๊ี บ น้ามะตูม น้าขงิ

น้าตะไคร้

- อาหารและอาหารว่าง มีความเหมาะสม แต่อาจจะเปล่ียนเป็นสมุนไพรให้มากข้ึนลด
น้าตาลกะทิ

Community Lab Model for quality of life: CLM ระดับตาบล รุน่ ที่ 3

หลังการส้นิ สดุ การฝึกอบรม ได้ประเมินโครงการฯ โดยใช้แบบประเมินผลภาพรวมโครงการผลการ
ประเมินสรุปได้ ดงั นี้

1. กล่มุ เป้าหมาย

ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จานวน 68 คน

หมายเหตุ ผ่านการฝกึ อบรมครบทงั้ หมด 68 คน

กลุ่มเป้าหมาย คือ พื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตาบล (CLM)

จานวน 68 คน ในพื้นท่ี จังหวัดอุบลราชธานี มีผู้ตอบแบบประเมินจานวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ของกลมุ่ เปา้ หมาย จากผลการประเมินข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการฯ มรี ายละเอียดดงั นี้

1) เพศ เพศชาย จานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 69.12 และเพศหญิง จานวน 21 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.88

2) อายุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.24 รองลงมา

มีอายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.35 และมีอายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.76 และมีอายุ 60 ปี

ขึน้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ 10.30 และมีอายุต่ากวา่ 30 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.35 ตามลาดับ

3) การศกึ ษา กลมุ่ เป้าหมายสว่ นใหญ่ มีการศึกษาอยูใ่ นระดับต่ากวา่ ปริญญาตรี คดิ

เป็น ร้อยละ 51.47 การศึกษาอยู่ในระดบั ระดบั ปรญิ ญาตรี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.35 และ

การศกึ ษาอยู่ในระดับปริญญาโท คดิ เป็นร้อยละ 16.18 ตามลาดับ

2. ความพึงพอใจตอ่ โครงการ

จากผลการประเมนิ โดยส่วนใหญข่ องผตู้ อบแบบประเมินคิดเห็นวา่ มคี วามพึงพอใจ ตอ่

ภาพรวมโครงการรวมทง้ั หมด 5 ด้าน อยู่ในระดับ มากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉลีย่ คือ 4.55 และเมื่อพิจารณาราย

ดา้ น สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี

2.1 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ

อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉลยี่ รวม คือ 4.52 โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 3 ลาดบั ดงั นี้

1.ความเหมาะสมของสถานท่ี อยู่ในระดับมากท่ีสุด คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.56

2. การจัดลาดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.56

3. ความเหมาะสมของระยะเวลา อยู่ในระดับมากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.53

2.2 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านวิทยากร

อยู่ในระดับมากที่สดุ ค่าคะแนนเฉลี่ยรวม คอื 4.54 โดยมคี า่ คะแนนเฉลี่ย 3 ลาดบั ดงั นี้

1.ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.57

2.การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.56

3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.53

2.3 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ด้านเจา้ หน้าทผี่ ูใ้ หบ้ ริการ/ผู้ประสานงาน

อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ียรวม คือ 4.59 โดยมีค่าคะแนนเฉล่ีย 3 ลาดับดังนี้

1. ความสุภาพ อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.68

2. การแต่งกาย อยู่ในระดับมากทีส่ ดุ คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.59

3. การประสานงาน อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.57

2.4 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ดา้ นการอานวยความสะดวก

อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี รวม คอื 4.56 โดยมีค่าคะแนนเฉลีย่ 3 ลาดบั ดังน้ี

1. อาหาร เคร่ืองด่ืมและสถานที่ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.65

2. เจ้าหน้าที่สนับสนุน อยใู่ นระดบั มากที่สดุ คา่ คะแนนเฉลยี่ 4.62

3. โสตทัศนูปกรณ์ อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.53

2.5 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ : ดา้ นคุณภาพการให้บรกิ าร
อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ ค่าคะแนนเฉล่ียรวม คือ 4.55 โดยมีค่าคะแนนเฉล่ีย 4 ลาดบั ดงั น้ี

1.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/กิจกรรมนี้
อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.63

2.ท่านสามารถนาส่ิงท่ีได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน
อยู่ในระดับมากที่สดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.51

3.ส่ิงท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมคร้ังนี้ตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่
อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.60

4.ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.59

2.6) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการประเมินแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการบรรลุวัตถุประสงค์
ของโครงการฯ อยู่ในระดับมากที่สดุ โดยมีคา่ เฉล่ีย คือ 4.59

2.7) ประโยชน์ของหัวข้อวิชาต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน

จากผลการประเมินแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการบรรลุวัตถุประสงค์
ของโครงการฯ อย่ใู นระดับมากท่ีสดุ โดยมคี า่ เฉล่ยี คอื 4.55

3.) ขอ้ เสนอแนะเนื้อหาหลกั สูตร

3.1) ส่ิงท่ีท่านพึงพอใจในการร่วมโครงการ/กิจกรรมคร้ังนี้
- ประทับใจกจิ กรรมวิชาจติ อาสาพฒั นาชุมชนเอาม้อื สามคั คี หลักกสิกรรมตามธรรมชาติ
- ประทบั ใจในหลักสูตร กระชับ ชัดเจน และทกุ วิชาในหลักสูตรน้ี
- ประทบั ใจการดแู ลเอาใจใส่ของทางวทิ ยากร และครผู อู้ บรม
- ไดร้ ับความร้คู วามเขา้ ใจในวชิ าต่างๆ และความรู้ใหม่ๆ ทไี่ มเ่ คยไดร้ ูม้ าก่อน
- เป็นโครงการทส่ี ร้างชวี ติ ของเราใหม้ ีความสุข มีความมั่นคง มคี วามยัง่ ยืน

- มีการต้อนรับที่ดี เปน็ กนั เอง การดแู ลเอาใจใส่
- วทิ ยากรภาคปฏบิ ตั ิจรงิ สอนเข้าใจงา่ ย และสามาถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นพน้ื ท่ไี ด้จริง
- ประทับใจวิทยากรผู้สอน ถา่ ยทอดความรูไ้ ดเ้ ขา้ ใจงา่ ย
- ประทบั ใจทมี วทิ ยากรทกุ ท่าน
- ความสามคั คีของผูเ้ ข้าร่วมอบรมในการทากจิ กรรมรว่ มกนั ของหลกั สูตร
- ได้ฝกึ ปฏิบตั ิกิจกรรม การมสี ว่ นร่วม
- ประทับใจที่ได้เข้ารว่ มและเปน็ ตวั แทนของตาบลเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ขี องตวั เองและแผน่ ดนิ

3.2) ส่ิงที่ควรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจัดโครงการ/กิจกรรมคร้ังตอ่ ไป

1) ด้านเนอ้ื หาหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในการฝึกอบรม
- การออกแบบควรมีเวลามากกว่าน้ี
- เน้ือหาหลกั สูตรและกิจกรรมหลักสูตรเหมาะสมดีมาก
- เรอื่ งการใชก้ ากนา้ ตาล ควรช้ีแจงข้อเสยี และส่งิ ท่พี ึงระวงั ของการใช้ไวด้ ้วย
- จัดกระบวนการจดั อบรมเร่อื งวนิ ัยของผูเ้ ข้าอบรม มากกว่าน้ี
- ควรเพิ่มการฝกึ ปฏบิ ัติฐานเรยี นรู้
- มีสาระและสามารถนาไปใช้ได้ในชวี ิตประจาวันจรงิ
- ควรจะมเี อกสารแตล่ ะวิชาแจกให้ด้วย ใหม้ เี อกสารประกอบเพิ่มเตมิ
- เพิม่ เรื่องการเพาะเห็ด หรือการทาเชอ้ื เหด็ ตามธรรมชาติ
2) ด้านวิทยากรและเจ้าหน้าทโี่ ครงการ
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการเป็นกนั เอง มนษุ ย์สัมพันธ์ดี
- วิทยากรมีความรู้ มีความตั้งใจถ่ายทอด เขา้ ใจได้งา่ ย
- เพมิ่ เตมิ เรื่องวิชาการ กสิกรรมธรรมชาตใิ หช้ ัดเจนมากย่งิ ขนึ้
- บรรยาย ใหร้ ู้แกน่ แท่ของการใชช้ วี ิตแบบพอเพยี ง
- วิทยากรมีความรู้ดแี ละเปน็ กันเอง ใหค้ วามสนใจเอาใจใส่ดี
3.3) อาคารสถานท่ี ห้องพกั ห้องอบรม โรงอาหาร
- อาคารสถานท่ี หอ้ งพัก ห้องอบรม โรงอาหาร สะอาดดีมาก สะดวกสบาย และเหมาะสมต่
อการจัดฝึกอบรม
- ห้องพกั สะอาด เรียบรอ้ ย
3.4) อปุ กรณ์โสตทศั นปู กรณ์
- สถานท่ี อปุ กรณ์ส่ือการสอนพร้อมมาก
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ทนั สมยั และเหมาะสม
3.5) อาหาร/อาหารว่างและเครือ่ งดม่ื
- อาหาร อาหารว่างและเครอื่ งดื่ม สะอาดและอร่อย
- ควรใหม้ อี าหารตามภมู ิภาค
- อาหารว่างและเครอื่ งดม่ื เหมาะสม อรอ่ ย เพียงพอ
- อาหารอร่อยและหลากหลาย

Community Lab Model for quality of life: CLM ระดบั ตาบล รนุ่ ที่ 4

หลงั การสนิ้ สดุ การฝกึ อบรม ได้ประเมินโครงการฯ โดยใชแ้ บบประเมินผลภาพรวมโครงการผลการ
ประเมนิ สรปุ ได้ ดงั นี้

1. กลุ่มเปา้ หมาย
กลุม่ เปา้ หมาย คือ พน้ื ทเ่ี รียนรชู้ มุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตระดบั ตาบล (CLM)

จานวน 75 คน ประกอบด้วย 16 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จังหวัดกาญจนบรุ ี ชัยภมู ิ เชยี งใหม่ ตาก นครนายก
นครราชสมี า น่าน ปทมุ ธานี พทั ลุง พษิ ณโุ ลก เพชรบรุ ี แม่ฮ่องสอน สกลนคร สโุ ขทยั สรุ ินทร์และอุดรธานี

กลุม่ เปา้ หมาเขา้ รบั การอบรม จานวน 57 คน
หมายเหตุ : กลุ่มเป้าหมายจากจงั หวัดกาญจนบรุ ี ไม่สามารถเข้ารว่ มการอบรมในครั้งนี้
เน่ืองจากมีปญั หาเรื่องหน่วยงานราชการทเ่ี ปน็ เจ้าของพื้นที่ยังไมอ่ นญุ าตให้ดาเนินการ

2. ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ

การประเมินผลภาพรวมฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ

เศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตาม

หลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” (CLM รุ่น 4) ระหว่างวันที่ 2-6 มีนาคม 2564

ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ตาบลสาริกา อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก มีผู้เข้าร่วมอบรม

จานวนทั้งสิ้น 57 คน และมีผู้ตอบแบบประเมินจานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย

จากผลการประเมินขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการฯ

จากผลการประเมินโดยสว่ นใหญข่ องผูต้ อบแบบประเมินคดิ เห็นวา่ มคี วามพึงพอใจ ต่อ

ภาพรวมโครงการ อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี คอื 4.59 คะแนน

3.) ข้อเสนอแนะเนื้อหาหลกั สูตร

3.1) ส่ิงท่ีท่านพึงพอใจในการร่วมโครงการ/กจิ กรรมคร้ังนี้
- ประทบั ใจกิจกรรมวิชาจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนเอามือ้ สามัคคี หลักกสกิ รรมตามธรรมชาติ
- ประทับใจในหลกั สูตร กระชับ ชัดเจน และทุกวชิ าในหลักสตู รนี้
- ประทบั ใจการดูแลเอาใจใส่ของทางวทิ ยากร และครูผอู้ บรม
- ได้รับความรูค้ วามเข้าใจในวชิ าต่างๆ และความรู้ใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยไดร้ ู้มากอ่ น
- เป็นโครงการทสี่ รา้ งชีวติ ของเราให้มคี วามสขุ มีความม่ันคง มีความยงั่ ยนื
- มีการตอ้ นรับทด่ี ี เป็นกันเอง การดูแลเอาใจใส่
- วิทยากรภาคปฏิบัติจรงิ สอนเข้าใจงา่ ย และสามาถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนทไี่ ด้จรงิ
- ประทับใจวิทยากรผู้สอน ถา่ ยทอดความรไู้ ดเ้ ข้าใจงา่ ย
- ประทับใจทีมวิทยากรทุกทา่ น
- ความสามัคคีของผูเ้ ข้ารว่ มอบรมในการทากิจกรรมรว่ มกนั ของหลกั สูตร
- ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิกิจกรรม การมีส่วนร่วม
- ประทับใจทีไ่ ด้เขา้ ร่วมและเปน็ ตวั แทนของตาบลเป็นแบบอยา่ งทีด่ ขี องตัวเองและแผน่ ดิน

3.2) ส่ิงท่ีควรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจัดโครงการ/กิจกรรมครั้งต่อไป

1) ด้านเนอ้ื หาหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในการฝึกอบรม
- การออกแบบควรมีเวลามากกว่าน้ี
- เนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรเหมาะสมดีมาก
- เร่อื งการใชก้ ากน้าตาล ควรช้ีแจงขอ้ เสียและสิ่งท่ีพงึ ระวงั ของการใช้ไวด้ ้วย
- จดั กระบวนการจดั อบรมเรอื่ งวนิ ัยของผู้เข้าอบรม มากกวา่ น้ี
- ควรเพิ่มการฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้
- มีสาระและสามารถนาไปใช้ไดใ้ นชีวิตประจาวันจริง
- ควรจะมเี อกสารแต่ละวิชาแจกใหด้ ้วย ใหม้ เี อกสารประกอบเพมิ่ เติม
- เพิ่มเรื่องการเพาะเหด็ หรือการทาเช้อื เห็ดตามธรรมชาติ
2) ด้านวทิ ยากรและเจา้ หนา้ ทีโ่ ครงการ
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการเป็นกันเอง มนษุ ย์สัมพนั ธ์ดี
- วิทยากรมคี วามรู้ มีความตั้งใจถา่ ยทอด เข้าใจได้งา่ ย
- เพิม่ เติมเร่ืองวิชาการ กสิกรรมธรรมชาตใิ ห้ชดั เจนมากย่ิงข้ึน
- บรรยาย ให้รูแ้ กน่ แท่ของการใชช้ วี ติ แบบพอเพยี ง
- วิทยากรมีความรู้ดีและเป็นกนั เอง ให้ความสนใจเอาใจใส่ดี
3.3) อาคารสถานท่ี ห้องพัก หอ้ งอบรม โรงอาหาร
- อาคารสถานท่ี ห้องพัก ห้องอบรม โรงอาหาร สะอาดดมี าก สะดวกสบาย และเหมาะสม
ต่อการจดั ฝึกอบรม
- หอ้ งพกั สะอาด เรยี บร้อย
3.4) อปุ กรณ์โสตทัศนูปกรณ์
- สถานที่ อปุ กรณ์สอื่ การสอนพรอ้ มมาก
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ทันสมยั และเหมาะสม
3.5) อาหาร/อาหารว่างและเคร่ืองด่มื
- อาหาร อาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม สะอาดและอรอ่ ย
- ควรให้มอี าหารตามภูมิภาค
- อาหารวา่ งและเครื่องดืม่ เหมาะสม อร่อย เพยี งพอ
- อาหารอร่อยและหลากหลาย

1

สว่ นท่ี 1
บทนำ

โครงกำรพัฒนำพ้นื ทตี่ น้ แบบกำรพฒั นำคุณภำพชวี ติ ตำมหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นำ
โมเดล” กจิ กรรมท่ี 1 ฝกึ อบรมเพ่ิมทักษะระยะสน้ั กำรพัฒนำกสิกรรมสรู่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นำโมเดล

1. ควำมเปน็ มำ/เก่ียวกบั โครงกำร
1.1 ควำมเป็นมำ

สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข
ด้านการคมนาคมและอ่ืน ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสังคมขนาดหนกั ไปท่ัวท้ังโลก จากรายงานของ McKinsey
& Company (March 26, 2020) จะส่งผลใหโ้ ลกมีผลผลติ (Productivity) ลดลงถึง 30% น่นั หมายถึงโลก
จะขาดอาหารและเศรษฐกิจจะมกี ารเตบิ โตลดลง - 1.5% ของ World GDP อีกท้ังวกิ ฤตดา้ นการเปลยี่ นแปลง
สภาพภูมิอากาศ ทั้งเรื่องภัยแล้งและน้าท่วมท่ีคาดว่าจะมีความรุนแรงขึ้นทั้งในเชิงความผันผวน ความถ่ี และ
ขอบเขตทีก่ ว้างมากข้ึน ซงึ่ จะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและโครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็นท้าใหเ้ ศรษฐกิจฐานราก
(Local Economy) ของประเทศเกิดความเสียหาย เพ่ิมปัญหาความยากจน และความเหลื่อมล้าทางสังคม
ตลอดจนระบบการผลิตทางการเกษตรที่มีความสมั พันธ์ต่อเนื่องกับความม่นั คงด้านอาหารและนา้ ขณะทีร่ ะบบ
นิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเส่ือมโทรมลง และมีแนวโน้มท่ีจะสูญเสียความสามารถในการรองรับความต้องการ
มนุษยไ์ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ทางออกของประเทศไทยในการรอดพ้นวิกฤตและเกิดการพัฒนาท่ีย่ังยืน ได้ถูกก้าหนดไว้ในยุทธศาสตร์
ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 และนโยบายรัฐบาลท่ีจะสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
เป็นหลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
โดยการพฒั นาคนให้พ่ึงตนเอง มีความเปน็ เจ้าของและบริหารจัดการโดยชุมชน พฒั นาหม่บู า้ นหรือชมุ ชนให้มี
วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพยี งและเป็นสังคม “อยู่เย็น เป็นสุข” ทั้งน้ี กรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับมูลนิธิกสิกรรม
ธรรมชาติ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง และภาคีเครอื ขา่ ยภาคสว่ นต่าง ๆ ท้ัง 7 ภาคี
ไดน้ ้อมนา้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงส่กู ารปฏิบัติอย่างเปน็ ขั้นตอน ตามกลไกการขับเคลอื่ นสบื สานศาสตร์
พระราชาเพ่ือการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานของการพฒั นา มุ่งสร้างภมู ิคุ้มกันให้ทุกครวั เรือน และ
พัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถด้าเนินชีวิตอยา่ งมคี วามสุข มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤต
โลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ด้วยการจดั ทา้ โครงการท่ีประยกุ ต์การใช้ศาสตรพ์ ระราชาและน้อมน้าเอา
แนวคิดและทฤษฎกี ารพฒั นาอนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริกว่า 40 ทฤษฎี ทีท่ รงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไข
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิดการพัฒนาพื้นที่และการออกแบบ
เชิงภูมิสังคมไทยเพื่อการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติ ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” สร้างการพัฒนา
คุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้านในภูมิสังคมต่าง ๆ ผ่านการท้างานในรปู แบบการจ้างงานและการรว่ มกนั
ลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพ้ืนฐานและงบประมาณ และบูรณาการการท้างานจากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ

2

เพ่ือสร้างงานสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชนที่เข้าร่วมโครงการในระดับพ้ืนฐาน ด้าเนินการ สร้าง
(1) พ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for quality of life :
CLM) ระดับต้าบล จ้านวน 337 ต้าบล แยกเป็น ขนาดพื้นท่ี 10 ไร่ จ้านวน 23 พ้ืนที่ และพื้นท่ี 15 ไร่
จ้านวน 314 พ้ืนท่ี รวมพื้นที่ไม่น้อยกว่า 4,940 ไร่ และให้การสนับสนุนเพ่ือพัฒนา (2) พ้ืนที่เรียนรู้ครัวเรือน
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of life : HLM) ระดับครัวเรือน
จ้านวนทั้งส้ิน 24,842 ครัวเรือน ขนาดพน้ื ทไ่ี มเ่ กิน 3 ไร/่ ครัวเรือน รวมพ้นื ท่ไี ม่เกิน 54,676 ไร่ และ (3)
บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นท่ีระดับต้าบล เพื่อการบริหารจัดการน้าข้ันพื้นฐานที่เหมาะสมกับภูมิสังคมตามแนว
พระราชดา้ ริ 10 วธิ ี เชื่อมโยงกบั พ้ืนทปี่ ฏบิ ัตกิ ารโครงการฯ จากนน้ั พฒั นาสู่ระดบั กา้ วหน้า โดยการดา้ เนนิ การ
ส่งเสริมการสรา้ งมาตรฐานผลผลิต การแปรรปู และการตลาดตามมาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทย และยกระดบั ชุมชน
ทัง้ 337 ต้าบล ให้สามารถ (1) แกไ้ ขวิกฤตด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศ (2) เสรมิ สร้าง
ความสามัคคีและสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรงผ่านการท้ากิจกรรมพัฒนาพื้นท่ีร่วมกัน (3) สร้างระบบ
เกษตรกรรมยง่ั ยืนที่ผลิตอาหารปลอดภัยจากสารเคมแี ละผลิตสมุนไพรต่าง ๆ เพ่ือยกระดับอาหารให้เป็นยาท่ี
สามารถสรา้ งเสริมภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ อกี ทั้งยงั (4) เพม่ิ การจดั การให้กกั เก็บน้าฝนท่ตี กในพนื้ ท่ไี ดเ้ พียงพอ
ต่อการเพาะปลูกและการด้ารงชีวิตช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งและน้าท่วม (5) เพิ่มพ้ืนท่ีป่าท่ีช่วยฟอกอากาศที่
บริสุทธ์ิและช่วยกักเก็บคาร์บอนในชั้นบรรยากาศลดปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 (6) เก็บรักษาและ
ฟ้ืนฟูหน้าดินด้วยการเก็บตะกอนดินในพนื้ ที่ ช่วยสร้างความสมดุลของระบบนิเวศใน ดิน น้า และป่า (7) เพ่ิม
ความหลากหลายให้กับพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์ ที่ส้าคัญยังช่วยชุมชนได้ ทั้งนี้ การด้าเนินการ
พัฒนาส่รู ะดับกา้ วหน้าในระยะท่ี 2 มีแผนดา้ เนนิ การส่งเสริมในระดับชุมชนใหร้ วมตัวกันจัดต้ังกลุ่มเปน็ กลุ่มอาชีพ
เพื่อสรา้ งวิสาหกิจชุมชน ซึง่ จะส่งผลให้เกิดการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และสนบั สนนุ กระบวนการผลิต
ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุ่งไปสู่การจัดตั้งบริษัทวิสาหกิจเพ่ือ
สังคมในระดับตา้ บล เพื่อพัฒนาศักยภาพการเพ่ิมผลผลติ ตา่ ง ๆ ทไี่ ดจ้ ากในพนื้ ท่ี ด้าเนินการเพ่ิมมลู ค่าดว้ ยการ
แปรรูป ขยายตลาดการท่องเท่ียวชุมชน ฯลฯ และสร้างงานวจิ ัยชุมชนเพ่อื ยกระดับผลิตภัณฑ์หรือค้นหา อัต
ลักษณข์ องชมุ ชน การสร้างนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับภูมิสงั คมของชุมชน สรา้ งการจดั การความรู้ในมิติ การ
พ่ึงตนเองด้านครู คลัง ช่าง หมอ ของชุมชน ร่วมกับสถาบันการศึกษาในพื้นที่ชุมชนท่ัวประเทศ ให้ได้ผลการ
ด้าเนินงานท่ีสามารถน้าไปต่อยอดให้กับวิสาหกิจชุมชนในด้านการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชน การเพ่ิมมูลค่า
ผลผลติ และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน รวมท้งั สรา้ งการส่ือสารสงั คมใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้และ
การมสี ว่ นร่วมในระดับชุมชนระดบั ต้าบล ระดับอา้ เภอ ระดบั จังหวดั ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ เรือ่ ง
การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy: SEP) ในรูปแบบการ
ท้างานตามศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตของประชาชนให้บรรลุตามเป้าหมายเพ่ือการพฒั นาที่
ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) (SEP for SDGs) ในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ที่เข้าถึง
คนได้ทุกระดับและทุกวัย ผ่านการด้าเนินงานโครงการในทุกพ้ืนท่ีเพ่ือสื่อสารวิธีการแกไ้ ขวิกฤตตามแนวทาง
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้วยการสร้างตัวอย่างความส้าเร็จท่ีเร่ิมต้นจากการพฒั นาคนให้โลกไดร้ ับรู้อย่าง
แพร่หลาย ซึ่งการขับเคลื่อนตามกระบวนการทั้ง 2 ระยะจะเป็นการ (8) เตรียมความพร้อมให้ชุมชนมี
ความสามารถในการพงึ่ ตนเองในเรื่องของน้า อาหาร และพลังงานทดแทนสร้างภูมิคุ้มกนั ชมุ ชนต่อสภาพปัจจุบัน
ที่โลกก้าลังเผชิญกับวิกฤตความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติอย่างรุนแรง วิกฤต

3

ทางด้านโรคระบาดวิกฤตทางด้านความอดอยาก และวิกฤตความขัดแย้งของสงครามเศรษฐกิจหรือสงคราม
รูปแบบต่าง ๆ ในอนาคต

1.2 วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ
ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

2.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ระดบั ตา้ บล และระดับครวั เรือน

2.3 เพ่ือให้กลุ่มเปา้ หมายมคี วามรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล และ
พัฒนากลุ่มเป้าหมายให้สามารถเป็นแกนน้าพัฒนาขับเคล่ือนการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นท่ีเป้าหมาย และสามารถเป็นครู
กระบวนการ ครูกสกิ รรม ครูประจ้าฐานเรียนรู้การพึ่งพาตนเอง และครพู าทา้ เพ่ือขบั เคล่อื นงานและเชอื่ มโยง
เครอื ขา่ ยในพน้ื ทีท่ ้ัง 7 ภาคี

1.3 กลุม่ เปำ้ หมำย
รุ่นที่ 1 ครัวเรือนพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล (CLM) จ้านวน

96 คน ในพื้นที่จังหวัด 15 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร ร้อยเอ็ด สระแก้ว ยโสธร นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์ ลา้ ปาง แพร่ ลา้ พูน ชลบุรี สระบุรี ราชบรุ ี นครนายก ปทุมธานี

รุ่นท่ี 2 ครัวเรือนพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล (CLM) จ้านวน
100 คน ในพื้นท่ี 3 จงั หวัด ได้แก่ จังหวดั กาฬสินธ์ุ 43 คน กาญจนบุรี 28 คน กระบ่ี 29 คน

รุ่นที่ 3 ครัวเรือนพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล (CLM) จ้านวน
100 คน จา้ นวนทงั้ ส้ิน 68 คน จงั หวดั อบุ ลราชธานี

รุ่นท่ี 4 ครัวเรือนพื้นท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล (CLM) จ้านวน
100 คน จ้านวนท้ังสิ้น 57 คน ในพื้นท่ีจังหวัด 16 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ชัยภูมิ เชียงใหม่ ตาก
นครนายก นครราชสีมา น่าน ปทุมธานี พัทลุง พิษณุโลก เพชรบุรี แม่ฮ่องสอน สกลนคร สุโขทัย สุรินทร์และ
อุดรธานี

1.4 กระบวนกำรเรียนรู้

กระบวนการเรียนรู้เน้นการฝึกปฏิบตั ิ workshop และเน้นการบูรณาการยดึ ผ้เู รยี นเป็นศนู ย์กลาง
1) บรรยายและใช้สอ่ื นา้ เสนอประกอบการฝึกอบรม
2) แบง่ กลุ่มฝึกปฏบิ ัติ workshop และสรุปเตมิ เต็มโดยวทิ ยากร
3) ใช้ส่ือการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับประเด็นการเรียนรู้เพ่ือให้เห็นภาพความเป็นจริงและสร้างแรง
บนั ดาลใจ
4) กจิ กรรมฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้ ตามบริบทของพ้นื ที่

4

1.5 เนอื้ หำหลักสูตร
1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และหลกั สกิ รรมธรรมชาติ
2) เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นาศาสตรพ์ ระราชา กับการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื “SEP To SDGs”
3) การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักภูมิสังคมไทย ตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืน

เพอื่ การพ่ึงตนเองและรองรับภยั พิบัติ
โดยมีรำยวิชำดังน้ี

- กระบวนการความคาดหวัง/กลุม่ สัมพันธ/์ ฝากต้าแหน่ง อายุ รบั ผา้ สี เลอื กผนู้ ้า
- เรียนรตู้ ้าราผืนดิน
- เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากับการพฒั นาท่ียง่ั ยนื
- การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั แิ บบเปน็ ขน้ั เป็นตอน
- ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎี บนั ได 9 ขน้ั สคู่ วามพอเพียง
- หลักกสิกรรมธรรมชาติ
- ทัศนศึกษาตัวอย่างความส้าเร็จการพัฒนาพน้ื ท่ีต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่
ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
- ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐานเรียนรู้
- ถอดบทเรียนผา่ นส่อื “วิถีภูมิปญั ญาไทยกับการพ่งึ ตนเอง ในภาวะวิกฤติ”
- “สุขภาพพงึ่ ตน พฒั นา 3 ขุมพลงั ” พลงั กาย พลงั ใจ พลงั ปัญญา
- ฝึกปฏิบัติ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามอ้ื สามคั คี พัฒนาพน้ื ท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่”
- การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืน เพ่ือการพึ่งตนเองและ
รองรบั ภัยพบิ ัติ
- พน้ื ฐานการออกแบบเพอ่ื การจัดการพ้นื ท่ีตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
- ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจ้าลอง(กระบะทราย) การจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก
หนอง นา โมเดล
- Team Building ฝึกปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจดั การ ในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน และสรุปบทเรียน
- กตญั ญตู ่อสถานท่พี ฒั นาจิตใจ ท้าบญุ ตกั บาตร
- การขับเคลอ่ื นสบื สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
- จัดทา้ แผนปฏบิ ัติการ “ยุทธศาสตร์การขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ”

1.6 กจิ กรรมหลกั สตู ร ประกอบด้วย
1) ปฐมนิเทศก่อนเข้ารับการฝึกอบรม
2) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
3) กจิ กรรมพฒั นา 3 ขมุ พลัง
4) กจิ กรรมเคารพธงชาติ
5) กจิ กรรมท้าบญุ ตกั บาตร
6) กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร
7) กิจกรรมถา่ ยภาพรว่ มกนั

5

1.7 ระยะเวลำดำเนนิ กำร
รุ่นที่ 1 ดา้ เนนิ การระหว่างวันที่ 14 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2563
รุ่นท่ี 2 ดา้ เนินการระหว่างวนั ที่ 22 - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2563
รุ่นท่ี 3 ด้าเนินการระหว่างวนั ที่ 11 - 15 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564
รุ่นที่ 4 ดา้ เนนิ การระหว่างวนั ท่ี 2 -6 มนี าคม พ.ศ. 2564

1.8 สถำนที่ดำเนนิ กำร
ณ ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก ตา้ บลสารกิ า อ้าเภอเมอื งนครนายก จงั หวัดนครนายก

1.9 งบประมำณ

รุ่นท่ี 1 งบประมาณท่ใี ช้ไปเป็นเงนิ 872,120 (แปดแสนเจ็ดหมื่นสองพันหนึ่งร้อยยีส่ บิ บาทถ้วน)
รุ่นท่ี 2 งบประมาณทีใ่ ชไ้ ปเปน็ เงนิ 941,530 บาท (เก้าแสนสี่หม่ืนหนง่ึ พนั ห้าร้อยสามสบิ บาทถ้วน)
รุ่นที่ 3 งบประมาณท้ังส้ิน 452,320 บาท ( สีแ่ สนห้าหมน่ื สองพันสามร้อยยสี่ บิ บาทถ้วน)
รนุ่ ท่ี 4 งบประมาณที่ใชไ้ ปเปน็ เงนิ 565,150 บาท (ห้าแสนหกหม่ืนห้าพนั หน่งึ รอ้ ยห้าสิบบาทถว้ น)

1.10 ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ บั
กลุม่ เป้าหมายสามารถเป็นแกนนา้ ขับเคลอ่ื นการนอ้ มนา้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎี

ใหมป่ ระยุกตส์ กู่ ารปฏบิ ตั ิในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดลในพน้ื ทีเ่ ป้าหมายได้

1.11 ตัวชีว้ ดั กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ

โคก หนอง นา โมเดล

2. รำยช่ือทีมวิทยำกรกระบวนกำร ตา้ แหนง่ ผูอ้ า้ นวยการศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก
2.1 นางประภา ปานนติ ยกลุ ต้าแหน่ง นักทรพั ยากรบุคคลช้านาญการ
2.2 นางสาวอรวีย์ แสงทอง ตา้ แหนง่ นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชา้ นาญการ
2.3 นายศุภกติ ต์ รอบรู้ ตา้ แหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ
2.4 นางสพุ รรษา แกว้ ขนุ ทด ต้าแหนง่ นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ
2.5 นายเมธาพนั ธ์ นิลแก้ว ต้าแหน่ง นกั วิชาการพัฒนาชุมชนปฏบิ ัติการ
2.6 นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรีเวช ต้าแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คล
2.7 นางสาววชริ ญาณ์ แยม้ เยื้อน ตา้ แหน่ง นักทรัพยากรบุคคล
2.8 นางสาวสุฑามาศ อัมรนิ ทร์ ต้าแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคล
2.9 นางสาวภัทธิญา ติกจินา

3. รำยชือ่ วทิ ยำกรประจำรำยวชิ ำ

3.1 วชิ ำ กิจกรรม กลุ่มสมั พันธ์ แบ่งกล่มุ มอบภำรกิจ

ผรู้ บั ผิดชอบ นายเมธาพันธ์ นิลแกว้ ตา้ แหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัตกิ าร

นางสาววชริ ญาณ์ แย้มเย้ือน ตา้ แหน่ง นักทรัพยากรบคุ คล

และวทิ ยากรประจ้ากลมุ่ สี

6

3.2 วิชำเรียนรตู้ ำรำบนดิน : กจิ กรรมเดินชมพืน้ ที่

ผู้รับผดิ ชอบ นางสุพรรษา แก้วขุนทด ต้าแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ

และวิทยากรประจ้ากล่มุ สี

3.3 วิชำโครงกำรพัฒนำพ้นื ท่ีต้นแบบกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง

นำ โมเดล

ผู้รบั ผิดชอบ ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกุล ที่ปรกึ ษาอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ทีป่ รกึ ษาอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน

3.4 วชิ ำกำรแปลงปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่กำรปฏบิ ตั ิแบบเปน็ ขัน้ เปน็ ตอน
ผรู้ ับผดิ ชอบ ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล ที่ปรึกษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน
รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ ทป่ี รึกษาอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

3.5 วชิ ำปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎี บันได 9 ข้นั สู่ควำมพอเพียง

ผรู้ บั ผดิ ชอบ นายปญั ญา ปลุ เิ วคินทร์ หวั หนา้ ศนู ย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติจงั หวดั นครนายก

3.6 วชิ ำ “หลักกสิกรรมธรรมชำติ”

ผู้รับผดิ ชอบ นายปญั ญา ปุลิเวคินทร์ หวั หน้าศนู ย์ภูมริ กั ษธ์ รรมชาตจิ งั หวัดนครนายก

3.7 วิชำ ฝึกปฏบิ ตั ิฐำนเรยี นรู้

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรีเวช ต้าแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ตั กิ าร

และวทิ ยากรประจา้ กลมุ่ สี

3.8 วิชำถอดบทเรียนผ่ำนสอื่ “วิถีภูมปิ ัญญำไทยกบั กำรพง่ึ ตนเองในภำวะวิกฤติ”

ผรู้ ับผิดชอบ นางประภา ปานนิตยกลุ ผอู้ ้านวยการศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก

3.9 วิชำสุขภำพพ่ึงตน “พฒั นำ 3 ขมุ พลัง” พลังกำย พลงั ใจ พลงั ปัญญำ

ผูร้ ับผิดชอบ นางสาวภทั ธิญา ติกจนิ า ตา้ แหน่ง นักทรัพยากรบคุ คล

3.10 วิชำฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จิตอำสำพฒั นำชมุ ชน เอำมือ้ สำมคั คี พัฒนำพื้นทต่ี ำมหลักทฤษฎีใหม่”

ผรู้ ับผิดชอบ นายเมธาพันธ์ นิลแกว้ ตา้ แหน่ง นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

และวทิ ยากรประจา้ กลมุ่ สี

3.11 วิชำกำรออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตำมหลกั กำรพัฒนำภูมิสังคมอย่ำงยั่งยืน เพื่อกำรพึ่งตนเอง และ

รองรับภยั พบิ ตั ิ

ผรู้ บั ผดิ ชอบ ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล ทปี่ รกึ ษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ ที่ปรกึ ษาอธิบดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

3.12 วชิ ำพ้นื ฐำนกำรออกแบบเพอื่ กำรจดั กำรพนื้ ทีต่ ำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นำ โมเดล

ผูร้ ับผดิ ชอบ นางสุพรรษา แกว้ ขุนทด ตา้ แหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏิบัติการ

นางสาวภัทธิญา ตกิ จนิ า ต้าแหนง่ นักทรัพยากรบุคคล

นายนภัทรพนั ธ์ เฟอื่ งฟู

7

3.13 วิชำฝึกปฏบิ ตั กิ ำร สรำ้ งห่นุ จำลอง(กระบะทรำย) กำรจัดกำรพืน้ ทต่ี ำมหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่

โคก หนอง นำ โมเดล

ผ้รู ับผิดชอบ ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกลุ ท่ีปรกึ ษาอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ ทป่ี รกึ ษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน

และวทิ ยากรประจา้ กล่มุ สี

3.14 วชิ ำ Team Building ฝกึ ปฏิบตั ิกำรบริหำรจดั กำรในภำวะวิกฤต หำอยู่ หำกนิ

ผู้รบั ผิดชอบ นางสาวภัทธิญา ติกจินา ต้าแหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คล
และวิทยากรประจา้ กลมุ่ สี

3.15 วชิ ำ กำรขับเคลอ่ื นสบื สำนศำสตร์พระรำชำ กลไก 357

ผรู้ ับผดิ ชอบ ผศ.พิเชฐ โสวทิ ยสกุล ทป่ี รกึ ษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ที่ปรึกษาอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

3.16 วิชำ จัดทำแผนปฏิบัติกำร “ยุทธศำสตร์กำรขับเคล่อื นปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่กำรปฏบิ ตั ิ”

และน้าเสนอแผนยทุ ธศาสตร์

ผู้รบั ผดิ ชอบ ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกุล ทป่ี รกึ ษาอธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

3.17 วชิ ำสขุ ภำพพ่ึงตน “พฒั นำ 3 ขมุ พลัง” พลงั กำย พลังใจ พลงั ปญั ญำ
ผรู้ บั ผิดชอบ นางสาวภทั ธิญา ติกจนิ า ตา้ แหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คล

3.18 กจิ กรรมกตัญญูต่อสถำนท่พี ัฒนำจติ ใจ ทำบญุ ตักบำตร

ผรู้ ับผิดชอบ นายเมธาพนั ธ์ นิลแกว้ ต้าแหนง่ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร
และวทิ ยากรประจ้ากลุ่มสี

8

สว่ นที่ 2
สรุปเนอื้ หำวชิ ำกำร ผลกำรฝกึ อบรมรำยวชิ ำ

โครงการพัฒนาพ้นื ที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กจิ กรรมที่ 1 ฝกึ อบรมเพมิ่ ทกั ษะระยะสั้นการพฒั นากสิกรรมสรู่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก
หนอง นาโมเดล มวี ัตถุประสงค์เพือ่ ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายมคี วามรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก หนอง
นา โมเดล และพฒั นากลมุ่ เปา้ หมายสามารถเปน็ แกนนา้ พฒั นาขบั เคล่อื นการน้อมนา้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏบิ ัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นท่ีเป้าหมาย และสามารถ
เป็นครูกระบวนการ ครูกสิกรรม ครูประจ้าฐานเรียนรู้การพึ่งพาตนเอง และครูพาท้า เพ่ือขับเคล่ือนงานและ
เช่ือมโยงเครือข่ายในพ้นื ท่ีท้งั 7 ภาคี รวมทัง้ ส่งเสรมิ การเรียนรกู้ ารน้อมน้าหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติ ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล และเพื่อพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ต้าบล และระดบั ครวั เรือนอีกด้วย โดยมรี ายวชิ า ดงั นี้

1. วชิ ำกจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธแ์ ละปรับฐำนกำรเรยี นรู้

วทิ ยำกรหลกั นายเมธาพนั ธ์ นลิ แก้ว นักทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ

นางสาววชริ ญาณ์ แย้มเยอ้ื น นักทรพั ยากรบุคคล

1) วตั ถุประสงค์

เพ่ือใหส้ ามารถท้าความรจู้ กั กัน สานสัมพนั ธท์ ด่ี รี ะหว่างวทิ ยากรกบั ผู้อบรม และผ้อู บรมกับ

ผู้อบรม พร้อมทั้งสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ เตรยี มความพร้อมผอู้ บรมก่อนเข้าสู่บทเรียน

2) ประเด็นเนอื้ หำ

2.1 แนะน้าวิทยากร

2.2 สรา้ งความคุน้ เคย

2.3 ก้าหนดกติกา/ถอดวางต้าแหน่ง/กา้ หนดอายุในการเรยี นรู/้ ปรบมือเชงิ สัญลักษณ์

(ปรบมือใสร่ หัส)

2.4 แบง่ กล่มุ สี

2.5 มอบหมายหน้าท่ี

2.6 การรับผ้าสีและปฏญิ าณตน

2.7 ความคาดหวงั

2.8 สรุปการเรยี นรู้

3) ระยะเวลำ 1 ชวั่ โมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค

4.1 กจิ กรรมสัมพนั ธ์ (เพลงและเกมส์)

4.2 ส่ือ Power Point บรรยาย

9

4.3 กระต้นุ ด้วยคา้ ถามและแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น
4.4 สรุปการเรียนรู้

5) วสั ดุ / อุปกรณ์
5.1 สอ่ื Power Point /ไมโครโฟน/อุปกรณ์ประกอบจังหวัด
5.2 ผ้าพนั คอตามกลุ่มสี (แดง น้าเงนิ ชมพู เขยี ว เหลอื ง)
5.3 บัตรคา้ /ปากกาเคมี

6) ขัน้ ตอน / วธิ ีกำร
1. วิทยากรจัดรูปแบบการน่งั ของผ้เู ข้ารับการอบรมเป็นตวั U
2. วิทยากรเริม่ ต้นโดยการแนะน้าตนเอง
3. เร่มิ กิจกรรมละลายพฤติกรรม โดยกจิ กรรมการถอดหัวโขน พูดคยุ พบปะ สรา้ งบรรยากาศ

ใหเ้ กดิ ความผ่อนคลาย สรา้ งความคุน้ เคย หลังจากนั้นวทิ ยากรใหผ้ ้เู ข้ารับการฝึกอบรมยกมือขวาขึ้น พร้อม
กับจินตนาการว่ากา้ ลังถอดหวั โขน (ยศ/ตา้ แหน่ง/อืน่ ๆ) แล้วขวา้ งออกไปยงั หมอ้ ดินที่วทิ ยากรถอื อยูห่ น้าเวที
เพ่ือให้เกิดความรู้สึกว่าทุกคนมคี วามเทา่ เทยี มกนั เกิดความเป็นกนั เองมากขนึ้ จากน้ันวิทยากรจะสอบถามอายุ
ดา้ เนินการลดอายุผู้เข้าร่วมอบรมให้มีอายุเท่ากนั ทกุ คน เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั การท้ากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้
หลัก 3ค (คึกคัก คล่องแคลว่ ครน้ื เครง)

4.วิทยากรสรา้ งสัญลกั ษณร์ ว่ มกนั ด้วยการปรบมอื โดยมีคา้ สง่ั ว่า
“ใสร่ หัส... (คา้ ส่งั )

สาม สอง หน่งึ จากนน้ั ให้ผู้เข้าอบรมปรบมอื หลังส้ินค้าสงั่ เป็นจงั หวะ สาม สาม เจด็ ต่อด้วย
(ค้าส่ัง........เช่น ใส่รหัส สวัสดี ให้ ปรบมือ 123 123 1234567 ตำมด้วยคำว่ำ “สวัสดี”)
วิทยากรทา้ การทดสอบโดยใหผ้ ู้เข้าอบรมท้าตามคา้ ส่ังการใสร่ หัส

5. วทิ ยากรเขา้ สกู่ ารสรา้ งบรรยากาศการมสี ่วนรว่ มด้วยเพลง
เพลง ปรบมือ 5 คร้งั

“ปรบมือ 5 คร้งั (12345) ปรบให้ดงั กว่ำน้ี (12345)
ปรบใหมอ่ ีกที (12345) ปรบให้ดีกวำ่ เดมิ (12345)”

และเพลง ปรบมือ ปรับ ปรับ ปรบั
ปรบมือดงั ปรับ ปรับ ปรบั
กระทบื เทำ้ ดัง ปัง ปัง ปงั

ลกุ ขึ้นยืนแลว้ นัง่ ลกุ ข้ึนยนื แลว้ นงั่
กระทบื เท้ำดัง ปัง ปัง ปงั

แลว้ ปรบมอื ดงั ปรบั ปรับ ปรบั
โดยวทิ ยากรออกค้าสง่ั ในรอบท่ี ๑ ให้ผอู้ บรมท้าท่าทางตามบทเพลง เช่น ออกค้าสั่ง
ปรบมือ ให้ผอู้ บรมท้าการปรบมอื ออกค้าส่ังกระทบื เท้าใหผ้ ู้อบรมกระทบื เท้า ฯลฯ พร้อมท้าทา่ ประกอบไปจน
จบเนอื้ เพลง ในรอบท่ี ๒ วิทยากรให้ผู้อบรมท้าทา่ ทางตามบทเพลงเชน่ เดมิ แต่ในรอบนใ้ี ห้ท้าทา่ ทางสลับกับ
เนอื้ เพลง เชน่ ออกคา้ ส่ังปรบมอื ให้ผ้อู บรมท้าการกระทืบเทา้ ออกค้าสัง่ กระทืบเท้าให้ผู้อบรมปรบมอื ฯลฯ

10

พรอ้ มทา้ ท่าประกอบไปจนจบเน้ือเพลง จากน้นั วทิ ยากรช่วยกนั ดูว่าผอู้ บรมท่านใดทา้ ท่าทางผดิ พลาด ท้าชา้
หรือท้าไม่ทนั เพื่อนให้ออกมาแนะน้าตัวดา้ นหน้าเวทีเพอ่ื สร้างความรูจ้ กั กันในหมคู่ ณะ

6. วทิ ยากรใหผ้ ู้เขา้ รับการอบรมนับ 1-5 ท้ังฝั่งชายและหญิง เพ่อื แยกสมาชกิ ออกเปน็
5 กลุ่ม ซ่ึงแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิกคละกันทั้งชายและหญงิ ในปริมาณที่ใกล้เคียงกันทุกกลุ่ม จากน้ันวิทยากรให้

แต่ละกลุ่มนั่งประจ้ากลุ่มเพื่อให้สมาชิกท้าความรู้จักกันในเบ้ืองต้น สุ่ม 1-2 กลุ่มให้พูดชื่อสมาชิกในกลุ่ม
เรียงลา้ ดับพร้อมกนั ทุกคน

7. วทิ ยากรให้เจา้ หนา้ ท่แี จกกระดาษฟลบิ ชารต์ พรอ้ มปากกาเคมสี องหวั เพ่อื ให้แต่ละกลุ่ม

ต้งั ชื่อบา้ น สโลแกน พร้อมท่าประกอบ เพอื่ นา้ ไปใช้เร่ิมต้นในการท้ากิจกรรมฐานเรียนรู้ทกุ ครัง้ จากน้นั ให้แต่
ละกลุ่มน้าเสนอชอื่ บา้ น สโลแกน พรอ้ มท่าประกอบ

8. วิทยากรน้าเขา้ สูก่ ระบวนการคดั เลอื กผนู้ า้ บา้ น โดยให้ทกุ คนยกมือชูน้ิวชขี้ ึ้นด้านบน
วิทยากรใช้ค้าส่ังว่า “ให้ช้ีไปหาคนในกลุ่มตนเองที่คิดว่าเหมาะสมจะเป็นผู้ใหญ่บ้านของกลุ่ม หลังจากนับ
1 - 2 - 3 ให้ผทู้ ่ีโดนเพ่ือนชม้ี ากท่สี ุดได้รบั เลอื กเปน็ ผใู้ หญบ่ ้านประจา้ กลมุ่ จากน้นั ให้ผ้ใู หญบ่ า้ นทกุ กลุ่มยืนข้ึน

แลว้ เลือกผชู้ ่วยฯ เลขาฯ น้องเล็ก ต้าแหน่งละ 1 คน
9. วทิ ยากรทา้ การอธบิ ายหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ

ผูใ้ หญ่บ้าน - เตรยี มความพรอ้ มของบา้ นทกุ กิจกรรม และกอ่ นเรมิ่ เขา้ สวู่ ชิ าตา่ ง ๆ โดยถาม
จ้านวนสมาชกิ จากน้องเล็ก

ผชู้ ่วยผู้ใหญบ่ า้ น - คอยชว่ ยเหลือสนบั สนนุ ผูใ้ หญ่บา้ น และท้าหนา้ ที่แทนผ้ใู หญ่บ้านกรณี

ผู้ใหญ่บา้ นติดภารกจิ
เลขานกุ าร - คอยจดบนั ทกึ ทกุ กิจกรรม

น้องเล็ก - ทุกคร้ังก่อนเข้าสกู่ ระบวนการต้องคอยเชค็ ยอดสมาชิกเพื่อแจง้ ใหผ้ ูใ้ หญ่บ้านทราบ
กอ่ นเตรียมความพรอ้ ม และสงั เกตสมาชิกบา้ น กรณีเจบ็ ป่วย หาย โดยจะตอ้ งรู้จักสมาชกิ และเบอร์โทรศพั ท์
ทกุ คน

10. วิทยากรให้ทุกกลมุ่ เขา้ แถวตอนเรยี งตามกล่มุ โดยให้ผู้ใหญบ่ ้านน่งั หน้าสุดและใหน้ อ้ ง
เลก็ นัง่ หลงั สุด แล้วใหผ้ ู้ใหญบ่ ้านทัง่ 5 กล่มุ พูดคุยปรกึ ษากนั เพอื่ เลอื กกา้ นัน (ผู้นา้ รุ่น) จากนน้ั ใหก้ ้านนั เลือก

สารวตั รก้านนั จ้านวน 1 คน
11. วทิ ยากรท้าการอธิบายหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ
กา้ นนั - เตรียมความพรอ้ มลูกบา้ นทั้งหมดก่อนเข้าส่วู ิชา หลังจากท่ผี ูใ้ หญ่บา้ นเตรียมความ

พรอ้ มของลกู บ้านตัวเองแล้ว และน้ากลา่ วใสร่ หัสสวสั ด/ี ขอบคุณวิทยากรประจ้าวชิ าหรือฐานเรยี นรู้
สารวัตรก้านัน - คอยช่วยเหลือสนบั สนนุ กา้ นัน และทา้ หนา้ ท่ีแทนกา้ นัน ในกรณที ่กี า้ นนั ตดิ

ภารกิจ
12. เข้าสู่กระบวนการรับผ้าสี โดยใหท้ ุกคนอย่ใู นความสงบ จากน้นั วิทยากรให้เจ้าหนา้ ท่ี

เชญิ กลอ่ งสลาก เพือ่ ใหผ้ ู้ใหญบ่ า้ นจบั สลากสีประจ้าบ้าน แลว้ ให้ผใู้ หญ่บา้ นบอกลูกบ้านว่ากลมุ่ ตนเองได้สีอะไร

โดยไม่ส่งเสียงดัง วิทยากรน้าสู่กระบวนการรับผ้าสีโดยให้ผู้แทนของแต่ละกลุ่มสี (ผู้ใหญ่บ้าน) เป็นผู้เข้ารับ
จากนั้น วิทยากรเชิญเจ้าหน้าท่ีเชิญพานผ้าสี เพื่อน้าไปวางไว้หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของ ร.9 และ ร.10

ตอ่ จากนั้นเข้าสู่กระบวนการรับผ้าสี เมอื่ ผู้แทนรับผา้ สีแล้ว ใหก้ ลบั มานั่งท่ี และส่งตอ่ ผ้าสใี หล้ ูกบ้าน โดยส่ง
ต่อกัน ให้ลกู บ้านรับไวค้ นละหนึ่งผืน(ห้ามคลผี่ ้าออก) เม่ือผู้เขา้ อบรมไดร้ ับผ้าครบ วทิ ยากรใหน้ ้าผา้ วางไว้บน
ฝ่ามือขวา และวางมือไวบ้ นหนา้ ตกั ขวา แล้วหลับตาเพอ่ื รา้ ลึกถงึ พระราชกรณียกิจของทง้ั สองพระองค์ จากน้ัน

วทิ ยากรให้ลืมตา และนา้ กลา่ วคา้ ปฏญิ าณตนตามวิทยากร

11

คำปฏิญำณตน
ขา้ พเจ้า จะตั้งในฝึกอบรมศาสตร์พระราชา
เพ่อื นาไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวันของขา้ พเจา้
ครอบครัวของข้าพเจ้า ชมุ ชนของข้าพเจ้า
ตลอดจนประเทศชาติ อยา่ งสดุ ความสามารถ

เมือ่ กลา่ วจบ วทิ ยากรแนะนา้ พี่เลยี้ งกลุ่มสี และสอนวธิ ีการผูกผ้าสี เมื่อผกู เสรจ็ แล้ว วิทยากร
แนะน้าภารกิจการดูแลพ้ืนทีข่ องแต่ละกลมุ่ สี โดยใหด้ ตู ามตารางภารกิจ และบอกกฎกติกาการเข้าห้องอบรม
โดยการเข้าห้องอบรมทกุ ครัง้ จะมกี ารเปิดเพลงคนื ชีวติ ให้แผน่ ดิน หลงั จบเพลง ผ้เู ข้ารบั การอบรมจะตอ้ งอยู่ใน
ห้องอบรมครบทุกคน และผใู้ หญบ่ า้ นตอ้ งเตรียมความพรอ้ มของลกู บ้าน

13. วทิ ยากรใหเ้ จ้าหน้าท่แี จกกระดาษบตั รค้า ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมเขียนความคาดหวังตอ่ โครงการ
อบรมในครั้งนี้ จากนนั้ เจ้าหนา้ ทเี่ ก็บรวบรวมเพ่อื นา้ มาสรุป

14. วทิ ยากรมอบหมายภารกจิ เวรประจา้ วนั ตามกล่มุ สี

สรุปผลกำรเรียนรู้
ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความตื่นตัว มีความสนใจ ให้การมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ เช่น

สามารถปฏิบัติตามกติกา ค้าสั่ง และการขอความร่วมมือจากวิทยากรได้เป็นอย่างดี สามารถท้าความรู้จักกัน
ระหวา่ งผู้อบรมกับวิทยากร และผู้อบรมกับผู้อบรม ภายในบรรยากาศที่สนกุ สนานเปน็ กนั เอง ผอู้ บรมสามารถ
รู้จักการบริหารจัดการสมาชิกภายในกลุ่มสี รู้จักการแบ่งบทบาทหน้าท่ี มีการยอมรับและให้เกียรติ ซึ่งกัน
และกันผ่านการเลือกผู้น้ากลุ่มและมีภาวะผู้ตามที่ดี รู้จักการเคารพกฎกติกา ระเบียบวินัยในการอยู่เรียนรู้
ร่วมกันตลอดระยะเวลาที่เข้ารับการฝึกอบรม และวิทยากรสามารถใช้กระบวนการ Play & Learn ท่ีมุ่งเน้น
การละเล่นไปด้วยสอดแทรกการเรียนรู้หรือความรู้ไปด้วย ท้าให้ผู้อบรมสามารถมีความรู้ความเข้าใจใน
หลักสตู รได้ดยี ิ่งขึ้นและเปน็ การเตรยี มความพร้อมผอู้ บรมเพ่ือเข้าสู่บทเรียนของหลักสตู รต่อไป

12

2. วชิ ำ เรียนร้ตู ำรำบนผืนดิน

วิทยำกรหลัก
นางสพุ รรษา แกว้ ขุนทด ตา้ แหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ตั ิการ

1)วัตถุประสงค์
1. เพอื่ ส้ารวจและศกึ ษาเรยี นรตู้ า้ ราจากผืนดินจากพืน้ ที่ตน้ แบบ/พืน้ ทศ่ี นู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชน
2. เพ่ือวิเคราะห์และน้าเสนอสง่ิ ทส่ี งั เกตเห็น และสิง่ ท่ไี ด้จากการลงพน้ื ที่ในการเรียนรู้

2) ประเด็น/ขอบเขตเนอื้ หำ

๑. ศึกษา สา้ รวจพื้นท่ี
2. บันทึกผลการเรยี นรตู้ ามประเด็นตา่ ง ๆ
3. แลกเปลี่ยนเรยี นรเู้ พิม่ เตมิ
3) ระยะเวลำ 1 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค

1. ช้แี จงกฎกตกิ าและแบ่งกล่มุ
2. สรปุ บทเรยี น
5) วสั ดุ /อุปกรณ์
1. โทรโข่ง
2. ฐานเรยี นรู้
6) ข้นั ตอน /วิธกี ำร

1. วทิ ยากรแนะน้าตนเอง และช้ีแจงวัตถุประสงค์ รายละเอยี ดตา่ ง ๆ รวมถึงแผนผังฐานเรียนรู้
2. วิทยากรแบ่งทีมออกเป็น 2 ทีม พร้อมแนะน้าวิทยากรประจ้าทีมเพื่อลงพื้นที่เรียนรู้ต้ารา
บนผนื ดนิ
3. วิทยากรมอบโจทย์การเรยี นรู้ ดังน้ี

(1) ท่านเหน็ อะไร จากการสา้ รวจ
(2) ทา่ นได้เรยี นรู้อะไรจากการส้ารวจ
(3) ให้ท่านหยิบส่ิงของจากฐานเรียนรู้ที่ได้รับมอบโจทย์มา 1 ช้ิน เพื่อน้ามาเสนอให้กับผู้
เข้าอบรม
4. วทิ ยากรประจา้ ทีม น้าผู้เข้าอบรมลงพน้ื ท่เี รยี นรู้ตา้ ราบนผืนดินภายในพื้นที่ ศพช.
5. หลังจากเรยี นรพู้ ื้นท่ีท้งั หมดแลว้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ รวมตัวกนั เพอ่ื สรุปและคัดเลือกตวั แทนนา้ เสนอ
ตามโจทยท์ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย (1) (2) (3)
คำถำมที่ 1 : ท่ำนเหน็ อะไร ? จำกกำรสำรวจ
ค้าตอบ : ผอู้ บรมได้เห็นการใช้แนวทางการใชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชน์ การพึง่ ตนเอง
การบรหิ ารจัดการพื้นที่ การท้าฝายชะลอน้า การปลกู ตน้ ไม้ตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ

คำถำมที่ 2 : ท่ำนได้เรียนรูอ้ ะไรจำกกำรสำรวจ?
ค้าตอบ : ผอู้ บรมเรยี นรถู้ งึ การใชท้ รพั ยากรในพน้ื ที่ทมี่ ีอยใู่ หเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ
พงึ่ ตนเองได้ เป็นแหลง่ อาหารที่สามารถรองรบั วกิ ฤตหรอื ภัยพบิ ัติ

13

คำถำมท่ี 3 : ท่ำนหยิบส่ิงของจำกฐำนเรยี นรทู้ ีไ่ ด้รบั มอบโจทย์มำ 1 ช้ิน เพอื่ นำมำเสนอ
ใหก้ ับผเู้ ข้ำอบรม? จำกกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมนี้

คา้ ตอบ : ผู้อบรมหยิบฟางขา้ ว ตะไคร้ ดอกดาวกระจาย ผักกดู นา้ มนั สมนุ ไพร
สรุปบทเรยี นของกิจกรรม

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านภัยธรรมชาติท่ีมีความรุนแรงขึ้นทุกวัน ท้าให้ได้
เรียนร้ถู งึ การพึง่ พาตนเองในยามวิกฤต ผ่านการเรียนรู้ต้าราบนผืนดินดังกลา่ ว สามารถน้าไปเปน็ แบบอย่างใน
การท้าแหล่งเรยี นรู้ และตระหนักในบทบาทหนา้ ท่ีในการเปน็ ศูนย์พง่ึ พงิ มกี ารสร้างภูมคิ ุ้มกนั มกี ารสรา้ งความ
ม่ันคงทางด้านอาหาร สร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างการรับรู้ท่ีดีให้กับประชาชน เพ่ือให้สามารถปฏบิ ัตติ น
ในการรองรับภัยพิบัติ พร้อมต้ังรับ ต้ังสติ มีการวางแผนที่ดีเพื่อแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด ซ่ึง
อาจจะเกดิ ข้นึ ได้ในอนาคต

สรปุ เนื้อหำกำรเรียนรู้

ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ต้ังใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรแู้ ละการรับฟงั การบรรยายในแต่
ละจุดด้วยความตั้งใจ การตอบค้าถาม การแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และมีความรู้ความเข้าใจที่
ถูกต้องเกีย่ วกับการพง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพบิ ัติ อกี ท้ังเกิดแรงบนั ดาลใจให้สามารถน้าแนวคดิ โคก หนอง นา
โมเดล ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีใหม่ เป็นการน้อมน้าศาสตร์พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของใน
หลวงรชั กาลที่ 9 ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวถิ ชี ีวติ ส่คู วามยัง่ ยืนต่อไป

14

3. วิชำโครงกำรพฒั นำพน้ื ที่ตน้ แบบกำรพฒั นำคณุ ภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นำ
โมเดล

วิทยำกรหลัก
1. ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกุล อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณ

ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทป่ี รกึ ษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน
2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า

คณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทปี่ รกึ ษาอธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

1) วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผูเ้ ข้าอบรมเขา้ ใจเกย่ี วกับโครงการพัฒนาพน้ื ที่ต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎี

ใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ตลอดจนการด้าเนนิ งานในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโครงการ

2) ประเด็น/ขอบเขตเนอื้ หำ
๑. กรอบแนวคิดหลกั ในการปฏบิ ตั งิ านของกรมการพฒั นาชมุ ชนในการดา้ เนนิ งานโครงการ
2. การด้าเนินงานของโครงการฯ

3) ระยะเวลำ 2 ช่วั โมง

4) วิธีกำร/เทคนคิ

๑. วทิ ยากรบรรยายประกอบสอ่ื Power point และส่ือวิดทิ ัศน์
2. บรรยาย

5) วสั ดุ /อุปกรณ์
1. ส่อื นา้ เสนอด้วยโปรแกรม power point

6) ข้นั ตอน /วิธกี ำร
๑. วิทยากรเกริ่นน้าถึงความเป็นมาของโครงการพัฒนาพน้ื ท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก

ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
2. วิทยากรบรรยายเกีย่ วกับการดา้ เนินงานของโครงการพฒั นาพื้นทีต่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

สรปุ เนื้อหำกำรเรียนรู้
วิทยากรผเู้ ช่ียวชาญ เกร่ินนา้ เกย่ี วกบั อ้านาจหน้าทข่ี องกระทรวงมหาดไทย และกรมการพัฒนาชุมชน

สรุปได้ ดงั น้ี
กระทรวงมหาดไทย มีอา้ นาจหน้าที่เกย่ี วกับการบา้ บดั ทุกข์บ้ารงุ สุข การรักษาความสงบเรยี บร้อยของ

ประชาชน การอ้านวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการ
บริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน
การทะเบียนราษฎร์ ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย การพัฒนาเมือง และราชการอื่นตามที่มกี ฎหมาย
กา้ หนดใหเ้ ปน็ อา้ นาจหน้าทข่ี องกระทรวงมหาดไทยหรอื สว่ นราชการท่ีสงั กัดกระทรวงมหาดไทย

15

กรมการพัฒนาชุมชน มีอ้านาจหน้าท่ี ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ส่งเสรมิ และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมเี สถียรภาพ ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย
จัดท้ายุทธศาสตร์ชุมชน ฝึกอบรมและพฒั นาบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้องในการพฒั นาชุมชนเพื่อใหช้ ุมชนเขม้ แข็งอย่าง
ย่ังยืน

โดยนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้เข้าหลักสูตรจิตอาสา 904 “หลักสูตร
พน้ื ฐาน” รนุ่ ที่ 1/2562อบรมห้วงเวลา วันท่ี 25 พฤษภาคม - 8 มถิ ุนายน 2562 ส่งิ ทไ่ี ด้จากการเข้ารบั การ
อบรมจิตอาสา 904 ได้เห็นว่า “คน” คือหัวใจส้าคัญของการพัฒนาต้องพัฒนา “คน” ทุกช่วงวัย ดังนั้น
กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้ท้า MOU บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้า
หมายความยั่งยืนโลก” ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) มูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์น้า มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ บ.เอามื้อสามัคคีวิสาหกิจ
เพอื่ สงั คม จ้ากัด โดยใชก้ ลไกขับเคลอ่ื นงานสืบสานศาสตร์พระราชาเพอื่ การปฏริ ูปประเทศตาม (กลไก ๓๕๗)

กรอบแนวคิดหลกั ในกำรปฏิบตั ิงำนของกรมกำรพัฒนำชุมชนในกำรดำเนินงำนโครงกำร ดงั ภำพ

กรอบแนวคิดหลักในการปฏิบัติงานของกรมการพัฒนาชุมชนในการด้าเนินงานโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
การพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล ไดแ้ ก่

1. ฝึกพฒั นาคน (ผ่านการฝกึ อบรมในศนู ยเ์ รียนรู้
2. ปรบั พ้ืนท่ี โคก หนอง นา โมเดล
3. เกบ็ ข้อมูล องคค์ วามรจู้ ากการพฒั นาพน้ื ที่
4. สรา้ งเครือขา่ ยรวมกลุม่ ในชมุ ชน

5. ส่ือสาร ขยายผลการเรียนรู้ องคค์ วามรู้

16

กำรดำเนนิ งำน
โครงการที่ 1 โครงการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถิ่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปงี บประมาณ 2564 เพอ่ื ส่งเสรมิ การปรบั ทศั นคติ และเพ่ิมทักษะการด้าเนินชวี ติ และการสรา้ งภมู ิคุ้มกัน ของ
ประชาชน ได้รับการอนมุ ัตงิ บประมาณ ปี 2564 ใหด้ า้ เนนิ งานใน 11,414 ครวั เรือน โดยแบง่ เป็น 3 ระดับ
ได้แก่ ระดับครัวเรือน การสร้างความม่ันคงทางอาหาร สร้างสิ่งแวดล้อมให้ย่ังยืน สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม
ระดับกลุ่มอาชีพส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ ส่งเสริมอาชีพการเกษตร โคก หนอง นา โมเดล ระดับชุมชน
ชุมชนมีกิจกรรมสร้างหลักประกัน สวัสดิการ ความสัมพันธ์ในชุมชน สร้างคุณภาพชีวิตประชาชนหลากหลาย
และยง่ั ยนื

โครงการที่ 2 โครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถ่ินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงปีงบประมาณ 2563 แผนการด้าเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้นอ้ มน้าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่วู ิถี
ชีวิต (เดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) ภายใต้ความร่วมมือ 7 ภาคี 1) เพื่อสร้างเครือข่าย
ขยายผล ๑,๑๐๐ คน ฝึกอบรมผู้น้ากสิกรรม หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
๕ วนั ( ม.ค. – ก.พ. ๖๓ ) ดา้ เนินการ ศพช.๑๑ แหง่ / สจล. ศนู ย์เครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ 2) สร้าง/พฒั นา
ทีมออกแบบ ๕๕๐ คน ฝึกอบรมผู้น้ากสิกรรมที่มีความพร้อม หลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิสังคมฯ
๕ วัน ( ก.พ. – พ.ค. ๖๓ ) ด้าเนินการ ณ ศพช.๑๑ แห่ง และ 3) เพื่อพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ฯ พัฒนาศูนย์
การเรียนรู้ฯ โคก หนอง นา โมเดล, ฐานเรียนรู้ ตามภูมิสังคม มี.ค. ๖๓ เป็นต้นไป ด้าเนินการ ณ ศพช.
11 แห่ง

โครงการท่ี 3 โครงการปลูกผกั สวนครวั เพื่อสรา้ งความมนั่ คงดา้ นอาหารระยะที่ 1 และระยะท่ี 2
โครงการท่ี 4 โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบตัวอย่างความส้าเร็จ เพ่ือเป็นศูนย์ศึกษาและพัฒนาตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จ้านวน 33 พื้นท่ี (ในสังกัดของกรมการพัฒนาชุมชน 18 แห่ง + ในสังกัด
เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ11 แห่ง + ในสังกัดสถาบันบรหิ ารจัดการธนาคารท่ีดิน (องค์การมหาชน 2 แห่ง)
+ ทส่ี าธารณะประโยชน์ วดั โกรกแก้ววงพระจนั ทร์ และวดั ทพิ ยส์ คุ นธาราม 2 แห่ง
โครงการที่ 5 ได้แก่ 1.การสนับสนุนครัวเรือนต้นแบบผ่านการออกแบบพื้นท่ี จ้านวน 300 แปลงที่
ไมไ่ ด้อบรม 2.การจัดท้าหนังสือ คมู่ อื การดา้ เนนิ งาน ส่อื การสอนสารสนเทศ 3.การจดั ท้าระบบสารสนเทศเพื่อ
การส้ารวจ รวบรวม และจัดท้าฐานข้อมูลด้าเนินงานโดย ภาคีเครือข่ายภายใต้ MOU ข้ันตอนการด้าเนนิ งาน
ดังน้ี

17

โครงการที่ 6 โครงการภายใตก้ รอบนโยบายการฟ้ืนฟเู ศรษฐกจิ และสังคมของประเทศซงึ่ ไดร้ ับ
ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 (โควิด-19) วงเงินงบประมาณ 4,787.9164 ลา้ น
บาท

18

กลุ่มเป้าหมายของโครงการภายใต้กรอบนโยบายการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศซ่ึงได้รับ
ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา่ 2019 (โควดิ -19) ประกอบด้วย

1. ครัวเรือนประชาชน
2. กล่มุ ผู้ใช้แรงงานภาคการผลติ ภาคการค้าสง่ - ค้าปลีก ภาคการท่องเท่ียว-โรงแรม นกั ศกึ ษาจบ
ใหม่ นักศกึ ษาในระบบการศกึ ษา และผปู้ ระกอบการภาคอนื่ ๆ ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤต
การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
3. ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ท่ีสนใจท่ีเข้าร่วมสร้างพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ (พรพช.) และพ้นื ทค่ี รัวเรอื นต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิต (พคพช.)
4. ภาควิชาการ โดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นผู้ประสานงาน
สถาบนั การศึกษาต่าง ๆ ทีส่ นใจเขา้ ร่วมจัดทา้ หลักสูตรการศกึ ษาตามศาสตรพ์ ระราชาที่เหมาะสมกับภูมิสังคม
สร้างงานวิจัยท้องถ่ิน สร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมกับภูมิสังคม สร้างระบบจัดการฐานข้อมูล เพ่ือติดตาม
ประเมินผล และหนุนเสริม สร้างรูปแบบการจัดการความรู้กระบวนการพฒั นาของพื้นที่เรียนร้ชู ุมชนต้นแบบ
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (พรพช.) และพ้ืนทค่ี รวั เรือนตน้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (พคพช.)
5. ภาครฐั โดยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และจากกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ท่ีได้
บูรณาการการท้างานรว่ มกนั
6. ภาคประชาสังคมและภาคสื่อมวลชน ท่ีร่วมให้การสนับสนุนทั้งด้านการปฏิบัติงาน การส่ือสาร
สังคมและด้านอ่ืน ๆ
พ้นื ที่ดำเนินกำร ได้แก่
1. ระดบั ตา้ บล จา้ นวน 7,255 ต้าบล ระดบั ชุมชน จา้ นวน 75,032 ชมุ ชน ระดบั ครวั เรือน ชมุ ชน
ละ 20 ครวั เรอื น จา้ นวน 1,500,640 ครวั เรือน
2. ระดับต้าบล จ้านวน 7,255 ต้าบล ต้าบลละ 2 พื้นที่ 40 ครัวเรือน ระดับครัวเรือน จ้านวน
290,200 ครัวเรือน
3. ระดับต้าบล จ้านวน 7,255 ต้าบล ต้าบลละ 1 พื้นท่ี 20 ครัวเรือน ระดับครัวเรือน จ้านวน 145,100
ครัวเรือน
4. AREA BASE ในพื้นทว่ี ิกฤตดา้ นต่าง ๆ

วตั ถุประสงคโ์ ครงกำร /ผลผลิต/ผลลพั ธ์
วัตถุประสงค์ 1 เพ่อื ลงทุนและส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนาทส่ี ามารถพลิกฟ้นื กิจกรรมทางเศรษฐกิจฯ

Community Lab Model for quality of life (CLM) Land Lab Model for quality of life (LLM) พ้ืนท่ี
ได้รับการพัฒนา เพ่ิมพื้นท่ีกักเก็บน้าฝน สามารถกักเก็บน้าฝนได้ ได้พื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ สร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร ผลิตขา้ วได้ สร้างความม่นั คงทางอาหาร เล้ยี งคนได้ เพม่ิ พืน้ ทป่ี ่า จ้านวนตน้ ไมท้ ีเ่ พิม่ ข้นึ
ฟนื้ ฟทู รพั ยากรดนิ ลดการชะลา้ งหน้าดนิ ลงได้

โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล ” พน้ื ท่ีด้าเนินงาน จา้ นวน 3,246 ตา้ บล จ้านวน 24,842 ครวั เรอื น ภาพรวมโครงการจา้ แนกข้อมูล
พื้นที่ดา้ เนนิ โครงการ (ระยะท่ี 1) พ้ืนที่ดา้ เนินการ “โคก หนอง นา” ทั้งหมด 59,616 ไร่ 73 จงั หวัด 575
อ้าเภอ 3,246 ตา้ บล 25,179 ครวั เรอื น HLM 24,842 ครัวเรอื น CLM 337 ครัวเรือน

19

วิธกี ารดา้ เนินงานและข้ันตอนด้าเนนิ กจิ กรรมโครงการฯ

1. ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสัน้ การพัฒนากสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล
2. สร้างพื้นท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล และพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนา

คณุ ภาพชวี ติ ระดบั ครัวเรอื น
3. สร้างงานสร้างรายได้รายเดือนให้แก่ เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานท่ีอพยพกลับ

ทอ้ งถ่ินและชมุ ชน
4. กระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและสนับสนนุ พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบ

การพัฒนาคุณภาพชวี ิต ระดบั ครวั เรือน
5. บูรณาการร่วมพฒั นาพืน้ ทรี่ ะดบั ตา้ บลตอ่ ยอดทางธุรกิจ รว่ มกบั ภาคเอกชนในพ้ืนท่ี

6. พฒั นาการสร้างมาตรฐานผลผลติ การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอนิ ทรีย์วิถไี ทย

7. พัฒนาระบบ Digital รองรับ Local economy ด้วยการสร้างระบบโปรแกรมและระบบฐานข้อมลู
การด้าเนินงานทุกโครงการฯ ยึดหลัก “พัฒนา คือ สร้างสรรค์” ย่ังยืนด้วยการสร้าง “เครือข่าย”

ในระบบสงั คมอนุรกั ษ์ และพฒั นาตามหลัก บวร บรม ครบ
สรปุ ผลกำรเรียนรู้

ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจในการบรรยายจากวิทยากร เกี่ยวกับโครงการพัฒนาพื้นที่
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล ” โดยเฉพาะวิธีการ
ดา้ เนินงานและข้ันตอนการด้าเนนิ งานของโครงการฯ ท้ัง 7 กจิ กรรม

20

4. วชิ ำกำรแปลงปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง สูก่ ำรปฏิบตั แิ บบเปน็ ข้ันเปน็ ตอน

วิทยำกรหลัก
1. ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกุล อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณ

ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทปี่ รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน
2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้

คณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทีป่ รึกษาอธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน

1)วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้าอบรมเข้าใจการแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทีเ่ ปน็ นามธรรมลงสู่รปู ธรรมการปฏบิ ัติ

แบบเปน็ ขั้นเปน็ ตอน

2) ประเด็น/ขอบเขตเนอ้ื หำ
๑. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการสร้างความยั่งยืน
2. ตัวอยา่ งการนา้ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ใช้

3) ระยะเวลำ 2 ชัว่ โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนิค

๑. วิทยากรบรรยายประกอบสือ่ Power point และสื่อวดี ีทัศน์
2. บรรยาย
5) วัสดุ /อุปกรณ์
สอื่ นา้ เสนอด้วยโปรแกรม power point

6) ขนั้ ตอน /วิธีกำร
๑. วิทยากรเกริ่นน้าการแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็นนามธรรมลงสู่รูปธรรมการปฏิบัติแบบ

เปน็ ขัน้ เป็นตอน

2. วิทยากรยกตวั อยา่ งพื้นทที่ ี่นา้ หลกั เศรษฐกิจไปพอเพียงไปลงมือท้า

สรปุ เนอื้ หำกำรเรยี นรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาใหม่ในการพัฒนามนุษย์ ให้เปล่ียน mindset ใหม่ จากมุ่ง

แขง่ ขันเป็นมุ่งสรา้ งสรรค์ แบง่ ปัน หวั ใจสา้ คญั คือ พระราชด้ารัส “ Our Loss is Our Gain” ย่ิงใหไ้ ป ยิง่ ไดม้ า
ดังนัน้ การพัฒนาต้องเป็นไปเพอื่ สร้างขบวนการ “จิตอาสา” พรอ้ มน้าศาสตร์พระราชาเข้าแกไ้ ขปัญหาประเทศ
ท้ังในและนอกระบบราชการ
กำรขบั เคลอื่ น “ปรชั ญำใหม่” ทย่ี ่ังยืน
1. ตอ้ งก้าวไปดักหน้า Technology 5.0
2. ต้องเออื้ ตอ่ การบรู ณาการและการสรา้ งสิง่ ใหม่ในระดบั โครงสร้าง
3. ต้องมภี ารกิจบ่มเพาะให้เข้าใจศาสตรพ์ ระราชาอย่างลกึ ซ้งึ เข้าถงึ ปัญหาชาติ และพรอ้ มพฒั นา
4. ต้องมีการน้าศาสตร์พระราชาแก้ปัญหาประเทศ และเผยแพร่ผลส้าเรจ็ นน้ั ออกไป

21

5. ตอ้ งมียุทธศาสตรส์ ือ่ สารทัง้ “เปา้ หมาย” ไมย่ ดึ วิธีการ ไมว่ ดั แค่ KPI แตย่ ึดแก่นของศาสตรพ์ ระราชา
6. ต้องเปน็ กลไกหนนุ ใหเ้ กิดการ ปฏิรปู ภาคปฏบิ ตั ิ เพ่ือประโยชนส์ ุขแหง่ “มหาชนชาวสยาม”

กำรแปลงปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี งที่เปน็ นำมธรรมลงสู่รูปธรรมกำรปฏบิ ัติแบบเป็นขนั้ เปน็ ตอน

ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ 3 แบบ 1) ระบบสังคมนิยม เน้นการกระจายรายได้ มุ่งเท่าเทียม ลดเหลื่อมล้า
“INCOME DISTRIBUTION” 2) ระบบทุนนิยม ต้องได้ก้าไรสูงสุด มุ่งตลาดน้าปรับประสิทธิภาพ และ
3) พอเพียง “ขาดทุนของเรา คือก้าไรของเรา ย่ิงให้ไป... ยิ่งได้มา ” มุ่งสร้างให้พอ เน้นการแบ่งปัน
พอเพียงไม่ปฏิเสธทุนนิยมและสงั คมนิยม แตใ่ หท้ า้ พืน้ ฐานให้ม่ันคงเสยี กอ่ น ดังพระราชด้ารัสเนือ่ งในโอกาสวัน
เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิตดาลยั วันท่ี 4 ธนั วาคม 2534 ความว่า “...เราไมเ่ ป็นประเทศร้า่ รวย เรามี
พอสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เป็นประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากเป็นประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก
เพราะถ้าเราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศเหล่าน้ันที่เป็นประเทศอุตสาหกรรม
กา้ วหนา้ จะมแี ต่ถอยและถอยหลงั อย่างน่ากลวั ...” ซง่ึ จะน้าไปสเู่ ป้าหมายการปฏิรูปประเทศ สรา้ งคนดีมีวินัย
ภมู ใิ จในชาติ สรา้ งความเช่ยี วชาญตามความถนดั ของตนรับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชมุ ชนสังคม และประเทศชาติ
เพื่อสร้างความยั่งยืน สังคมลดความเหล่ือมล้า เสมอภาค ปรองดอง ด้านการเมือง มั่นคง ขจัดคอรัปช่ัน
โปร่งใส เปน็ ธรรม ดา้ นเศรษฐกจิ สร้างความพอเพียง เกดิ การแบง่ ปนั

จากองค์ความรู้ที่เกิดจากศาสตร์พระราชา น้ามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของปวงชนชาวไทย
เป็นทฤษฎีใหม่ที่เก่ียวกับการจัดการ ดิน น้า ป่า คน กว่า 40 ทฤษฎี เช่น โครงการหลวงพืชผักเมืองหนาว
ปลอดสารพิษ ฝายต้นน้าล้าธารฟ้ืนฟูอนุรักษ์ต้นน้า หน้าแฝกอนุรักษ์ดินและป่า การปลูกป่า 3 อย่าง ได้
ประโยชน์ 4 อย่าง เพ่ือรักษาระบบนิเวศ เป็นต้น ส้าหรับเกษตรทฤษฎีใหม่ (การจัดการน้าตามศาสตร์
พระราชาและภูมิปัญญาท้องถิ่น) คือ แนวพระราชด้าริ การแบ่งสัดส่วนพื้นท่ีท้ากินเพ่ือการพึ่งพาตนเอง โดย
ก้าหนดอัตราการใช้พ้ืนท่ีเปน็ 30 : 30 : 30 : 10 ไดแ้ ก่ สระน้า ท้านา ปลกู พืช และทอ่ี ยู่ ตามล้าดับ จากน้นั
พัฒนาตามขั้นตอน 3S คือ 1) อยู่รอด Survival เกษตรทฤษฎีใหม่แบ่งสัดส่วนพ้ืนที่ท้ากิน สร้างผลผลิตให้
สามารถพึ่งตนเองได้

22

2) พอเพียง Sufficiency การรวมพลงั ในชมุ ชนในลักษณะสหกรณ์ช่วยเหลอื กันดา้ นต่าง ๆ
3) ย่ังยืน Sustainability ร่วมกันผลักดันใหเ้ กิดการลงทุนจากแหล่งเงินท้าให้เกษตรกรแข็งแรงไมถ่ ูก
กดราคา
จากสถานการณ์วิกฤตทางสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาภัยแล้ง คงเป็นปัญหาที่ประเทศไทยกา้ ลังเผชิญอยู่
ในชว่ งหน้าแลง้ ของทกุ ปี ทา้ ใหค้ นไทยจะตอ้ งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งที่เปน็ นามธรรมลงสูร่ ูปธรรมการปฏิบัติ
ในโครงการพฒั นาพน้ื ที่ต้นแบบการพัฒนาชวี ติ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นาโมเดล

วิทยากรได้ยกตัวอย่าง เก่ียวกับการพัฒนาพ้ืนที่ รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล เพ่ือน้าทฤษฏีหลัก
ปรชั ญาสู่การปฏบิ ัติอย่างจริงจงั

23

5. วิชำ: ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ทฤษฎบี นั ได 9 ข้นั สคู่ วำมพอเพียง”
วิทยำกรหลกั

นายปญั ญา ปลุ เิ วคินทร์ ตา้ แหน่ง หัวหน้าศนู ย์ภมู ริ กั ษ์ธรรมชาติ จงั หวัดนครนายก

1) วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในเก่ียวกับทฤษฎีบันได 9 ขั้น การบริหารเป็นข้ันเป็นตอนน้าเศรษฐกิจ

พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจ้าวนั และสามารถน้าไปปฏิบัติจนเป็นวิถีชวี ิต

2) ประเดน็ เน้ือหำ
1. หลกั คดิ ของ “ทฤษฎบี นั ได 9 ขน้ั สู่ความพอเพียง”
2. ความหมายของระบอบเศรษฐกิจ แบบทุนนยิ ม สังคมนยิ มหรอื คอมมวิ นิสต์ และเศรษฐกจิ พอเพียง

3) ระยะเวลำ

2 ชว่ั โมง

4) เทคนิค / วิธีกำร

1. สื่อ Power Point บรรยาย
2. แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็

5) วัสดุ / อุปกรณ์
1. สือ่ Power Point
2. กระดาษ / สมุด / ปากกา
3. คอมพิวเตอร์ / เครอื่ งฉายโปรเจคเตอร์

6) ขั้นตอน / วิธีกำร
วิทยากรกล่าวแนะน้าตัวและมอบโจทย์ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ระบอบของ

เศรษฐกจิ แบบทุนนิยม สงั คมนิยมหรอื คอมมิวนิสต์ และเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยให้เขยี นตามความเขา้ ใจแบบส้ัน
และใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมน้าเสนอแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

โจทย์
1.1 จงเขียนค้าจดั กัดความของ “ระบอบทุนนิยม”
1.2 จงเขยี นค้าจ้ากัดความของ “ระบอบสงั คมนิยมหรือคอมมวิ นสิ ต์”
1.3 จงเขยี นค้าจ้ากัดความของ “เศรษฐกจิ พอเพียง”

จากโจทย์ทวี่ ิทยากรมอบใหก้ ับผเู้ ขา้ อบรมสามารถสรปุ ได้ ดังนี้
1. ระบอบทุนนิยม คือ เป็นระบบท่ีมีการขับเคล่ือนเศรษฐกิจภายใต้การแข่งขันกันอย่างเสรี เป็น

ลกั ษณะของทนุ ใหญ่กินทุนเลก็ ทุนเลก็ ล้มหายตายจากไปในอนาคต
2. ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์” คือ ระบบเศรษฐกิจท่ีว่าด้วยความเสมอภาค ทุนเป็นของ

ทุกคนและผลก้าไรต้องเฉลี่ยให้กับทุกคน ซึ่งจะเป็นการบริหารจัดการโดยภาครัฐ ท้ังน้ี รัฐจะเป็นผู้จัดสรร
ผลประโยชนใ์ หก้ บั องค์กรและประชาชน

3. เศรษฐกิจพอเพยี ง คอื เป็นหลกั สมดุลของชวี ติ ทุกอยา่ งไมม่ ากไปไม่นอ้ ยไป

24

วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ Power Point สามารถสรปุ ใจความส้าคัญได้ ดงั น้ี

เมื่อประมาณ 300 กว่าปีท่ีผ่านมา Adam Smith ชาวอังกฤษ เป็นท่ีรู้จักในฐานะนักเศรษฐศาสตร์

ได้ใหใ้ หแ้ นวคดิ ของ “ทุนนิยม” วา่ มนษุ ย์สามารถแข่งขันกนั ไดโ้ ดยเสรีโดยมีเปา้ หมายเปน็ เงินและวัตถุเป็นหลัก

ท้าให้มนุษย์เข้าสู่การท้าลายธรรมชาติ ประกอบด้วย ท้าลายป่า ดิน น้า และอากาศ และเพ่ือให้ได้ประโยชน์

สูงสุด มนุษยเ์ ร่ิมมีการเอาเปรียบกนั และกนั มากขึน้ และเม่ือมนษุ ย์ยดึ เงินและวตั ถเุ ปน็ ทต่ี ั้งทา้ ให้เกดิ การฉ้อโกง

ขาดความกตัญญรู ู้คุณ

แนวคิดระบอบทุนนิยมน้ันเกิดขึ้นในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2504 คือ ประเทศไทยมีแผนพัฒนา

เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับท่ี 1 นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น คือ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ได้ก้าหนดค้าขวัญว่า

“งานคือเงิน เงินคืองานบันดาลสุข”การมีเงินมากจะท้าให้ชีวิตมีความสุข การมีเงินน้อยน้ันชีวิตไม่มีความสุข

ซง่ึ สง่ิ ท่สี ะทอ้ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับท่ี 1 ได้เปน็ อย่างดี คือ เพลงผใู้ หญ่ลี

“พอศอสองพันห้ารอ้ ยสี่ ผู้ใหญล่ ีตีกลองประชุม ชาวบา้ นตา่ งมาชุมนมุ มาประชมุ ทีบ่ ้านผใู้ หญล่ ี
ต่อไปน้ีผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าว ถึงเร่ืองราวที่ได้ประชุมมา ทำงกำรเขำส่ังมำว่ำ ทำงกำรเขำส่ังมำว่ำ
ให้ชำวนำเล้ียงเป็ดและสุกร ฝ่ำยตำสีหัวคลอน ถำมว่ำสุกรนั้นคืออะไร ผู้ใหญ่ลีลุกขึ้นตอบทันใด
สกุ รน้ันไซร้ คือหมำน้อยธรรมดำ หมำน้อย หมำน้อยธรรมดำ หมำน้อย หมำน้อยธรรมดำ”

เม่ือเรียงล้าดับเหตุการณ์ในยุคน้ันแล้วพบว่า ในยุคน้ันแล้วพบว่า ช่วงท่ีแต่ งเพลงผู้ใหญ่ลี
ประเทศไทยก้าลังอยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 ในยุคสมัยของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
ซ่ึงเป็นยุคเผด็จการ โครงการพัฒนาต่าง ๆ รวมถึงการส่ือสารระหว่างนักการเมืองกับข้าราชการต่าง ๆ
จึงเป็นแบบ “สั่งการจากบนลงล่าง” ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน อย่างครบทุกขั้นตอน
ตงั้ แต่ร่วมคดิ วางแผน และรับผลประโยชน์

เมื่อประมาณ 100 กว่าปีที่ผ่านมา Karl Marx ชาวเยอรมัน เป็นที่ยอมรับว่า เป็นบิดาแห่งระบอบ

สังคมนิยม มองว่าทรัพย์สินเป็นของรัฐ และกิจการเป็นของรัฐ ไม่เอาความเจริญ เกิดการกระจายรายได้ ใน

หลวงรัชกาลท่ี 9 จึงเรียกว่าเป็นเศรษฐกิจของพวกคนหลังเขา ท้าให้ในปี พ.ศ. 2519 ในหลวงรัชกาลที่ 9

ได้รบั สัง่ เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงขึน้ โดยในยคุ นั้นพบว่าไทยอยภู่ ายใตอ้ ิทธิพลของชาติตะวันตก เชน่ อนญุ าตให้

สหรัฐอเมริกาต้ังฐานทัพในประเทศไทย สะท้อนให้เห็นว่าชาติตะวันตกมีอิทธิพลเหนือประเทศไทย เป็นอย่าง

มาก ในปีนั้นเองท่ีในหลวงรัชกาลท่ี 9 ท่านทรงเปรียบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนบ้าน ควรมีเสาเข็ม

พึ่งตนเองเป็นพน้ื ฐาน เพราะฉะนัน้ เศรษฐกิจพอเพียงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติจึงเป็นการแปลงสาระส้าคญั

ของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็น “ทฤษฎบี ันได 9 ข้นั สู่ความพอเพียง” สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี

บนั ไดขั้นที่ 1 – 4 เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพ้ืนฐำน

ข้นั ที่ 1 คือ พอกิน ซึ่งเปน็ ข้นั พนื้ ฐานทสี่ ุดของมนุษย์ คอื ความต้องการปัจจัย 4 และประการท่สี ้าคัญ
ที่สุดของปัจจัย 4 คือ อาหาร โดยเห็นว่า แนวทางการแก้ปัญหาท่ียั่งยืน คือ การตอบค้าถามให้ได้ว่า “ท้า
อย่างไรจึงจะพอกิน” ซ่ึงจะต้องให้ความส้าคัญกับอาหารเป็นหลัก เกษตรกรต้องอยู่ให้เป็นโดยไม่ใช้เงิน มี
อาหารพอมี พอกิน ดว้ ยการปลกู ผกั ผลไม้ มกี ารเก็บข้าวไวใ้ ห้พอกินทั้งปี

ข้ันท่ี 2 – 4 คือ พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น สามารถเกิดขึ้นได้พร้อมกัน โดยการ “ปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์4อย่างป่าอย่างจะให้ทั้งอาหารเครื่องนุ่งห่มสมุนไพรส้าหรับรักษาโรคให้ไม้ส้าหรับท้าบ้านพักที่อยู่

25

อาศัยและให้ความรม่ เย็นกับบ้านและชุมชนและจะเป็นแนวทางในการแก้ปญั หาความยากจนจาการท้าเกษตร
เชิงเดี่ยว
ปญั หาความเส่อื มโทรมของทรัพยากร ปญั หาความขาดแคลนน้า ภยั แล้ง ท้งั หมดลว้ นแก้ไขได้จากแนวคดิ ป่า 3
อยา่ งประโยชน์ 4 อย่างขององคพ์ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯ รัชกาลที่ 9

บันไดขน้ั ท่ี 5-9 คือ เศรษฐกิจพอเพียงขนั้ ก้ำวหนำ้

ขั้นที่ 5-6 บุญและทาน จากความเชื่อม่ันว่าสังคมไทยเป็นสังคมบุญ สังคมทาน ไม่เน้นการ
แลกเปลี่ยนทางการคา้ แตเ่ นน้ การทา้ บญุ ไมเ่ นน้ การสะสมเป็นของสว่ นตวั แต่เนน้ การให้ทาน

ขั้นที่ 7 เก็บรักษา ข้ันต่อไปหลังจากสามารถพึ่งตนเองได้ พอมี พอเหลือท้าบุญ ท้าทานแล้ว คือการ
รู้จักเก็บรักษา ซึ่งเป็นการตั้งอยู่ในความไม่ประมาท และการรู้จักเก็บรักษา ยังเป็นการสร้างรากฐานของการ
เอาตวั รอดในเวลาเกิดวกิ ฤตการณ์

ข้ันท่ี 8 ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เศรษฐกิจการค้า แต่ก็ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา การค้า
ขายสามารถทา้ ได้ แตท่ า้ ภายใต้การรูจ้ ักตนเอง รู้จกั พอประมาณ และทา้ ไปตามล้าดับ โดยของทข่ี าย คอื ของที่
เหลอื จากทกุ ข้นั แล้วจงึ นา้ มาขาย เชน่ ท้านาอินทรีย์ ปลกู ข้าวปลอดสารเคมี ไมท่ า้ ลายธรรมชาติ ได้ผลผลติ เก็บ
ไว้พอกิน เก็บไว้ท้าพันธ์ุ ท้าบุญ ท้าทาน แล้วจึงน้ามาขายด้วยความร้สู ึกของการ “ให้” อยากท่ีจะให้ส่ิงดี ๆ ที่
เราปลูกเอง เผ่ือแผ่ใหก้ บั คนอน่ื ๆ ได้รบั สง่ิ ดี ๆ นัน้ ๆ ด้วย

ขัน้ ท่ี 9 เครือขา่ ย คือ การสร้างเครอื ข่ายเชอื่ มโยงทัง้ ประเทศ เพือ่ ขยายผลความ ส้าเรจ็ ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิวัติแนวคิด และวิถีการด้าเนินชีวิตของคนในสังคม ในชุมชน เพื่อการแก้ปัญหา
วิกฤต 4 ประการ อันได้แก่ วิกฤตการณ์ส่ิงแวดล้อม ภัยธรรมชาติ วิกฤตการณ์โรคระบาดท้ังในคน สัตว์ พืช
วกิ ฤตเศรษฐกิจ ข้าวยากหมากแพงวิกฤตความขดั แย้งทางสงั คม

สรุปผลกำรเรยี นรู้
ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ มีความเข้าใจเก่ียวความเป็นมาของ “ทฤษฎีบันได 9 ขั้น สู่ความพอเพียง”

เพิม่ มากขน้ึ และเข้าใจหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถน้าหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์กบั ตนเอง และองค์กร ได้ และตระหนักถงึ การบรหิ ารจดั การเปน็ ขั้นเปน็ ตอนตามคา้ กล่าวที่ว่า “เดินที
ละก้าว กนิ ขา้ วละค้า” เน้นแนวคิดการพง่ึ ตนเองเป็นหลกั

26

ภำพบรรยำกำศกำรเรยี นรูใ้ นรำยวชิ ำ

6. วิชำหลักกสิกรรมธรรมชำติ

วิทยำกรหลกั นายปญั ญา ปุลเิ วคนิ ทร์ หัวหนา้ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ จงั หวัดนครนายก
1) วตั ถุประสงค์

1.1 เพื่อให้ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมเข้าใจเกี่ยวกบั หลักกสิกรรมธรรมชาติ
1.2 ตระหนักการปลูกใหเ้ กดิ คุณค่าบูรณาการในพื้นที่ท้ากินเดมิ ใหม้ ีสภาพใกลเ้ คยี งกับปา่
2) ประเด็นเนือ้ หำ
2.1 ความหมายของกสกิ รรม และเกษตรกรรม
2.2 แนวคิดของกสกิ รรมธรรมชาติ
2.3 ความเป็นจรงิ แห่งปัญหาทุนนิยม
2.4 หัวใจหลักกสกิ รรมธรรมชาติ กับป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง
3) ระยะเวลำ
1 ช่ัวโมง
4) วธิ กี ำร/เทคนคิ
4.1. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ โดยใชส้ ่ือ Power Point ประกอบการบรรยาย
4.2. แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น
5) วสั ดุ / อุปกรณ์
1. ส่อื Power Point
2. คอมพิวเตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์

27

6) ขัน้ ตอน / วธิ ีกำร
วทิ ยากรแนะน้าตวั แนะนา้ สื่อประกอบการสอน และบรรยายให้ความรโู้ ดยใช้ส่อื Power Point

ของ นายปรีชา หงอกสิมมา เจ้าหน้าท่ีศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จังหวัดนครนายก โดยวิทยากรได้ให้ผู้เข้าอบรม
ตระหนักถึงความส้าคัญของการท้าตัวเป็นน้าไม่เต็มแก้ว สามารถเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ตามสถานการณ์โลกได้
ตลอดเวลา
จากการบรรยายสามารถสรปุ ใจความส้าคญั ได้ ดงั นี้

ความหมายของคา้ ว่า “กสกิ รรม” และ “เกษตรกรรม”
ค้าว่า “กสิกรรม” กับค้าว่า “เกษตรกรรม” มีความหมายต่างกัน ค้าว่า“กสิกรรม” มาจากค้า
บาลีว่า กสิกมฺม (อ่านว่า กะ-สิ-กัม-มะ) ซึ่งหมายถึง การเพาะปลูก, การไถ ในภาษาไทยค้าว่า “กสิกรรม”
เขียนค้าวา่ กรรม ตามแบบสันสกฤต คือ ก ไก่ ร หัน ม มา้ หมายถึง การท้าไร่ไถนา ใชต้ รงกับคา้ ภาษาอังกฤษ
ว่า farming (อ่านว่า ฟารม์ -มิง่ )
ส่วนค้าว่า “เกษตรกรรม” มาจากค้าสันสกฤตว่า เกฺษตฺร (อ่านว่า กะ-เสด-ตระ) ซ่ึงหมายถึง นา
กับค้าว่า กมฺม (อ่านว่า กัม -มะ) ซึ่งหมายถึงการกระท้า ค้าว่า เกษตรกรรม ใช้ตรงกับค้าภาษาอังกฤษว่า
agriculture (อา่ นวา่ อะ-กฺรี-คลั -เช่อร์) หมายถงึ การใช้ประโยชนจ์ ากท่ดี ิน เชน่ การเพาะปลูกพืชตา่ ง ๆ การป่า
ไม้ รวมทัง้ การเลี้ยงสตั ว์ และการประมงดว้ ย
กสิกรรม คอื การเพาะปลูก ไม่รวมถึงการเลี้ยวสัตว์ การประมงหรือป่าไม้ โดยค้าวา่ กสิ คือ การไถ
หวา่ น จึงหมายถงึ ผู้ทา้ การปลกู ข้าว พ่งึ ตนเอง พง่ึ ธรรมชาติ ไม่ธรรมลายเคารพนอบน้อมต่อธรรมชาติ และเกิด
มติ ิทางความเช่ือและจิตวญิ ญาณเป็นที่มาแหง่ วถิ ีวฒั นธรรมไทย เพราะสมยั กอ่ นคนไทยจะเรียกดนิ ว่า แมธ่ รณี
เรยี กนา้ ว่าแมค่ งคา เรียกฝนว่าพระพริ ุณ เรียกข้าววา่ แม่โพสพ และตน้ ไมน้ ้นั กเ็ ช่อื วา่ มรี ุกขะเทวดาเฝา้ อาศัยอยู่
รวมถงึ วฒั นธรรมเก่ยี วกบั การเพาะปลูก ในสมัยกอ่ นท่ีมีการท้าพิธีขวัญควาย เพราะควายมีพระคณุ ตอ่ ชาวนา
เกษตร มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Agriculture เป็นแนวคิดตะวันตกแบบทุนนิยม เน้นความ
ร่า้ รวยและผลประโยชน์สูงสุด น้าไปสูก่ ารท้าลายน้า ดนิ และทรพั ยากรธรรมชาติท้งั หมด ส่วนเกษตรสมัยใหม่
นั้น ท้าแบบผูกขาดครบวงจร ดังค้ากล่าวที่ว่า “เกษตรนายทุนครบวงจร เกษตรกรครบวงจน” เป็นการท้า
เกษตรเชิงเด่ยี ว มีการดดั แปลงพนั ธกุ รรมพืชและสัตว์ ใช้เทคโนโลยแี ละเครือ่ งจักรในการผลิต เกษตรกรหันมา
ใช้สารเคมี/ ปุ๋ย / ยาฆ่าแมลง และฮอร์โมนต่าง ๆ ในภาคการเกษตร ทา้ แบบครบวงจรเพือ่ สร้างระบบผูกขาด
ใช้กลไกตลาดเป็นตัวควบคุมราคา และท้ายที่สุดเปล่ียนการผลิตเป็นเกษตรอุตสาหกรรม เช่น บริษัท CP
คน้ ควา้ การผลติ ไก่แบบไมม่ ขี น เน้นการใช้เทคโนโลยเี พือ่ การผลติ และเน้นผลก้าไรสงู สุด
ปัจจัยที่ท้าให้เกิดทุกข์ของแผ่นดินในระบบการศึกษา เศรษฐกิจการเมือง พิจารณาได้จากบันได
3 ข้ัน ของลทั ธิการลา่ อาณานคิ มสมัยใหม่ ขัน้ ท่ี 1 ครอบงำ คือ ระบบการศึกษาทแ่ี ยกส่วนปลกู ฝังอุดมการณ์
ทุนนิยม โดยระบบการศึกษาที่ล้มเหลว น้าสู่ระบบราชการท้าให้บูรณาการกันไม่ได้ ขั้นที่ 2 ควบคุม คือ
ระบอบประชาธิปไตยแบบผู้แทนผูกขาดรัฐสภาที่ขาดคุณธรรมการเลือกตั้ง และการซื้อเสียงเพ่ือได้อ้านาจ
บริหาร และนิติบัญญตั ิ รวมถึงการสร้างเศรษฐกิจแบบผูกขาด ข้ันท่ี 3 ยึดครอง คือ ยึดครองท่ีดินเกษตรโดย
ธนาคาร หรอื ภาคอุตสาหกรรม

28

จากการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน
ไปสู่พ้ืนท่ีเกษตรอุตสาหกรรม และท่ีอยู่อาศัยมากขึ้น ส่งผลให้คุณภาพแหล่งน้าผิวดินเสื่อมโทรมลงปี 2551
คณุ ภาพน้าแหล่งนา้ ผิวดิน ดังน้ี

22 % อยู่ในเกณฑด์ ี
54 % อยูใ่ นเกณฑ์พอใช้
24 % เสอ่ื มโทรม
0 % เสือ่ มโทรมมาก
โดยแหล่งน้าผิวดินท่ีเสื่อมโทรมมากคือ แม่น้า เจ้าพระยาและท่าจีนตอนล่าง สะแกกรัง ลพบุรี เพชรบุรี
ตอนล่าง และล้าตะคอง ตอนลา่ ง ซง่ึ มคี วามหนาแน่นของประชากร และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ
ท้ังนี้ผลกระทบจากการท้าเกษตรกรรมแบบทุนนิยม จะส่งผลผลกระทบข้างเคียงต่อเกษตรกร/
ผู้บรโิ ภค ไดแ้ ก่
1. ผลกระทบตอ่ เกษตรกร สารพษิ สะสมในตัวเกษตรกร(80%) สุขภาพออ่ นแอเส่ียงตอ่ การเป็น
โรครา้ ยแรง สดุ ทา้ ยหมดตัวจากการป่วยไข้
2. ผลกระทบตอ่ ผบู้ ริโภค คือ บรโิ ภคอาหารมีสารพิษและฮอรโ์ มนตกคา้ งเสี่ยงต่อโรครา้ ยแรงอายุ
สน้ั ตายก่อนวยั อนั ควร สารตกค้างท่พี บมากท่ีสุด ในกะหล้า่ ปลี กะหล่า้ ปลีสีม่วง กะหล่า้ ดอก คะน้า ถวั่ ฝักยาว
พริก ถ่วั ลนั เตา สลดั แก้ว ผักกาดฮ่องเต้ บลอ็ กโคล่ี ผลไม้ที่มสี ารตกค้างมากทสี่ ุด ไดแ้ ก่ องนุ่ ส้ม สตรอวเบอร่ี
แคนตาลปู และแตงโม ตามล้าดับ ส่วนสารพษิ ตกค้างในอาหาร ผกั 4 อนั ดับท่ีมสี ารตกคา้ งมากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ 1)
ถ่วั ฝักยาว เกินค่าความปลอดภัย 2-10 เท่า2) ผกั ชีเกนิ ค่าความปลอดภัย 30-100 เทา่ 3) พริกจนิ ดา เกิน
ค่าความปลอดภัย 121 เทา่ และ 4) คะนา้ เกินคา่ ความปลอดภัย 202 เทา่
3. ผลกระทบด้านภูมิปัญญาและวิถีท้องถ่ิน ท้าลายระบบการพ่ึงพาตนเองของเกษตรกรปุ๋ย/
เมลด็ พนั ธุ์พชื /พันธส์ุ ตั ว์ ท้าลายภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สมุนไพรวิถกี ารเพาะปลูกพืชการเล้ียงสตั ว์

จากผลกระทบของการท้าเกษตรในระบบทุนนิยม แนวคิดหลักกสิกรรมจึงต้องมีคาถาเล้ียงดิน
เพ่ือระลึกถึงการท้าเกษตร

29

ยุทธศาสตร์ของกสิกรรมธรรมชาติ คือ “ดิน” ดินดีคือดินมีชีวิต “เราเชื่อว่าดินมชี ีวิต” เรามาช่วยกัน
“คนื ชวี ติ ให้แผน่ ดิน” ตามพระราชด้าริของในหลวง รชั กาลท่ี 9 ทว่ี า่ จะทา้ ใหด้ นิ ดี อย่าปอกเปลือกเปลือยดิน
ให้ห่มดิน บ้ารุงดินด้วยแห้งชาม (ปุ๋ยหมัก) น้าชาม (ปุ๋ยน้าหมัก) และลักษณะการปลูกพืชตามหลักกสิกรรม
ธรรมชาติ ควรปลกู ดอกไมล้ อ่ แมลง เรียกวา่ การหลอกลอ่ สมุนไพรไล่แมลง(เปลย่ี นกลิ่นพชื ) ปลกู ดอกไมห้ ลาก
สี ดึงดูด ตวั ห้า ตวั เบียน กับดักแมลง ไฟลอ่ แมลง ส่วนการบรหิ ารจัดการน้าตามศาสตรพ์ ระราชา ใชแ้ นวคิด
“จากภูผา...สู่มหานที” ดังภาพ

สมุนไพร เจ็ด รส ท่ีใช้ในการเกษตรตามหลกั กสกิ รรม สรุปได้ ดังนี้

1. นา้ หมกั สมนุ ไพรรสจืด ได้แก่ ใบกล้วย ผกั บงุ้ รางจืด และพชื สมนุ ไพรทมี่ ีรสจืดทกุ ชนิด สรรพคณุ จะเปน็ ปยุ๋
บ้ารุงดิน ให้ดนิ มีความร่วนซยุ โปรง่ และท้าให้ดนิ ไมแ่ ขง็ และใชบ้ า้ บดั น้าเสียได้
2. น้าหมักสมุนไพรรสขม ได้แก่ ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบข้ีเหล็ก และพืชสมุนไพรที่มีรสขมทุกชนิด สรรพคุณ
สามารถฆา่ เชือ้ แบคทีเรีย เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้กับพชื
3. น้าหมักสมุนไพรรสฝาด ได้แก่ ปลีกล้วย เปลือกมังคุด เปลือกฝรั่ง มะยมหวาน และพืชสมุนไพรที่มีรสฝาด
ทกุ ชนิด สรรพคณุ ฆ่าเชอื้ ราในโรคพืชทกุ ชนดิ
4 . น้าหมักสมุนไพรรสเบือ่ เมา ได้แก่ หัวกลอย ใบเมล็ดสบู่ด้า ใบน้อยหน่า และพืชสมุนไพรท่ีมีรสเบ่ือเมาทกุ
ชนดิ สรรพคุณ ฆา่ เพลยี้ หนอน และ แมลง ในพืชผักทกุ ชนดิ
5.น้า หมักสมุนไพรรสเปรี้ยว วัตถุดิบ ได้แก่ มะกรูด มะนาว กระเจ๊ียบ และพืชสมุนไพรที่มีรสเปรย้ี วทุกชนดิ
สรรพคุณ ไลแ่ มลงโดยเฉพาะ
6. น้าหมักสมุนไพรรสหอมระเหย วัตถุดิบ ได้แก่ ตะไคร้หอม ใบกะเพรา ใบเตย และพืชสมุนไพรมีรสหอม
ระเหยทกุ ชนิด สรรพคณุ จะเปน็ น้าหมกั ที่เปลี่ยนกลน่ิ ของตน้ พืช เพ่ือปอ้ งกันไม่ให้แมลงไปกัดกนิ ทา้ ลาย
7. นา้ หมักสมุนไพรรสเผ็ดรอ้ น วตั ถดุ บิ ไดแ้ ก่ พริก ขิง ขา่ และพืชสมนุ ไพรทม่ี รี สเผด็ รอ้ นทุกชนิด

30

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
พบว่า ผเู้ ขา้ อบรมสว่ นใหญ่มีความสนใจในเนอ้ื หาของการบรรยาย เนอ่ื งจากบางเรอื่ งเป็นความรู้

ใหม่ของผู้เข้าอบรม ท้าให้ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียน บรรยากาศในห้องเรียนจึงเป็นเวทีของการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ ท้าให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจมากข้ึนเก่ียวกับปัญหาของทุนนิยมน้าไปสู่แนวคิด
กสกิ รรมธรรมชาติ และเขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่าของการท้าเกษตรกรรมตามหลักกสิกรรม ทงั้ น้ี ผู้เขา้ อบรมสามารถน้า
ความรจู้ ากการฟงั บรรยายของวทิ ยากรไปเผยแพรใ่ ห้กับองค์กรของตนเอง

ภำพบรรยำกำศกำรเรยี นรู้ในรำยวิชำ

31

7. หวั ข้อวิชำ ฝึกปฏิบตั ิ “ฐำนกำรเรยี นรู้” 9 ฐำนเรยี นรู้

Community Lab Model for quality of life: CLM รุน่ ท่ี 1

วทิ ยากร นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรีเวช นักวชิ าการพัฒนาชุมชนปฏบิ ัตกิ าร และวิทยากรประจา้ ฐานเรยี นรู้

1. วตั ถปุ ระสงค์
๑.1) เพื่อใหผ้ ู้เข้ารบั การฝกึ อบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ

ใชใ้ นชวี ติ ประจา้ วัน และสามารถปฏิบตั จิ นเป็นวถิ ีชีวิต
1.2) เพื่อผ้เู ข้าอบรมมีทกั ษะ ความรใู้ นแตล่ ะฐานการเรียนรแู้ ละนา้ ไปปฏบิ ตั ไิ ด้
1.3) สามารถน้าความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน เพ่ือให้

เกิดรายไดแ้ ละพ่งึ พาตนเองได้

2. ประเดน็ เนอ้ื หำ
2.1) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี”
เน้อื หาการเรียนรู้: การหม่ ดนิ
2.2) ฐานเรยี นรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี”
เนื้อหาการเรียนรู้: การท้าปุ๋ยชวี ภาพ
2.3) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์สขุ ภาพ”
เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การแช่เท้าด้วยน้าสมนุ ไพร
2.4) ฐานเรยี นรู้ “คนมนี ้ายา”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การท้านา้ ยาอเนกประสงค์ สตู รนา้ หมกั รสเปรย้ี ว
2.5) ฐานเรยี นรู้ “เสวียนไม้ไผ่”
เนื้อหาการเรยี นรู้: การท้าเสวียนจากไม้ไผแ่ ละการท้าเสวยี นยังชพี
2.6) ฐานเรยี นรู้ “คนรักษน์ ้า”
เนอื้ หาการเรยี นรู้: การท้าฝายชะลอน้า
2.7) ฐานเรยี นรู้ “คนรักษ์นา้ ”
เน้อื หาการเรียนร:ู้ การท้าลูกระเบดิ จุลนิ ทรีย์
2.8) ฐานเรยี นรู้ “หนงึ่ งาน บ้านพอเพียง”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การทา้ อาหารไก่แบบพอเพียง
2.9) ฐานเรียนรู้ “คนรักษป์ ่า”
เนอ้ื หากรเรียนรู้: การขยายพันธพ์ุ ชื

3. ระยะเวลำ จา้ นวน ๖ ช่วั โมง

4. วิธกี ำร/เทคนิค
4.1) วิทยากรประจ้าฐานบรรยายเพื่อให้มีความรู้ เก่ียวกับฐานการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติและตอบข้อ

ซักถาม
4.2) วิทยากรมอบหมายให้ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมลงมอื ฝกึ ปฏิบัติดว้ ยตนเอง
4.3) ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมสรุปผลกิจกรรมเปน็ รายกลุ่ม

32

5. วัสดุ/อุปกรณ์
5.1) วสั ดุ/อปุ กรณ์ ประจา้ ฐานเรยี นรู้

5.2) เอกสารองคค์ วามรใู้ นแตล่ ะฐานเรยี นรู้

5.3) บอรด์ , ปากกา, กระดาษฟลปิ ชารท์
5.4) อปุ กรณข์ ยายเสียง, ไมโครโฟน

6. ขัน้ ตอน/วิธีกำร
6.1) วิทยากรแนะน้าตัวเอง เน้ือวิชา แผนผังจุดเรียนรู้ และแนะน้าวิทยากรประจ้าจุดเรียนรู้ท้ัง 9

ฐานเรยี นรู้ และมอบโจทย์ ดงั นี้
1) ทา่ น ไดเ้ รียนรูอ้ ะไรจากการฝึกปฏิบตั ิ

2) ทา่ น จะน้าไปปรบั ใช้/ประยกุ ตใ์ ช้ กับตนเอง ชมุ ชน และองค์กร อยา่ งไร

และใหแ้ ตล่ ะกล่มุ สี วเิ คราะห์สง่ิ ที่ได้จากการฝึกปฏิบตั ิ ตามโจทยท์ ี่ได้รบั มอบหมายโดยมีเวลาน้าเสนอ
กล่มุ ละ 10 นาที

6.2) วิทยากรอธิบายกติกาการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ คือ ผู้ใหญ่บ้านใส่รหัสสวัสดี
วิทยากร และกลุ่มสีให้กลุ่มสีน้าเสนอสโลแกน ท่าประจ้าบ้าน ก่อนเริ่มเรียนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ทุกจุด และเมื่อ
เสร็จสน้ิ กจิ กรรมในแต่ละจุดให้ผูใ้ หญ่บา้ นใสร่ หสั ขอบคุณวิทยากร

6.3) วิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ น้าผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแต่ละกลุ่มสี ไปที่ฐานเรยี นรู้
6.4) วิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ อธิบายเน้ือหาความรู้และน้าผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏิบัติ
(ฐานเรียนรู้ละ 30 นาที)

1) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี” เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรหม่ ดิน
การห่มดนิ ตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ โดยใชฟ้ าง เศษหญ้า หรอื ใบไมท้ ่ีสามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาติห่มหรือคลุมลงบนหน้าดิน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดิน ดิน
จะปล่อยธาตอุ าหารให้พชื โดยกระบวนการย่อยสลายของจลุ ินทรยี ์ เรียกหลักการนว้ี า่ “เลีย้ งดนิ ให้ดนิ

เลยี้ งพืช”
1) ห่มดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นหรือพืชที่เราปลูก

ห่างจากโคนตน้ ไม้หรอื พชื ท่ีปลูก 1 คบื หม่ หนา 1 คบื ถงึ 1 ฟุต ตอ้ งทา้ เปน็ วงเหมือนโดนทั

2) โรยด้วยปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) บาง ๆ และรดด้วยน้าหมักชีวภาพผสมน้าเจือจาง อัตราส่วน
1 : 100 - 200 หรอื เรยี กขนั้ ตอนนี้ว่า “แหง้ ชาม นา้ ชาม”

2) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ ม่ธรณี” เนอื้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพ
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก

ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่

ปลายรากของพชื ทีส่ ามารถสร้างธาตอุ าหารกวา่ ๙๓ ชนิด ใหแ้ ก่พืช

33

ปุย๋ หมักแหง้ อินทรียช์ วี ภาพ (ชนิดผง) สูตรมูลสัตว์
ส่วนประกอบ
- มูลสัตว์ ๑ กระสอบ
- แกลบ เศษใบไม้ หรือซงั ข้าวโพด ๑ กระสอบ
- ขีเ้ ถ้าแกลบ ๑ กระสอบ
- ร้าออ่ น ๑ กระสอบ
- น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร (ถ้าวัตถดุ บิ แหง้ มากก็สามารถเพ่มิ ปริมาณขึน้ )
- หัวเช้ือจุลนิ ทรีย์เขม้ ขน้ ๑ ลิตร
วธิ ีทำ
๑) น้ามูลสัตว์ แกลบ ขีเ้ ถ้าแกลบ และรา้ อ่อนมาผสมคลุกเคลา้ ให้เขา้ เปน็ เนือ้
เดยี วกนั
๒) ผสมน้ากับหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากัน
จนมีความช้ืนประมาณ ๓๕% โดยทดลองก้าดูจะเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเม่ือ
ปล่อยท้ิงลงพ้นื จากความสูงประมาณ ๑ เมตร ก้อนป๋ยุ จะแตกแตย่ ังมรี อยนว้ิ มือเหลืออยู่
3) คลุกเคล้าใหเ้ ข้ากนั ดี ตกั ปยุ๋ ใสก่ ระสอบ และมดั ปากถุงใหแ้ นน่
๔) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนกันเป็นชั้นๆ และควรวางกระสอบแต่ละต้ังให้ห่างกนั เพื่อให้
ความร้อนสามารถระบายออกไดท้ งั้ ๔ ด้าน เพอ่ื ไม่ตอ้ งกลบั กระสอบทุกวัน
๕) ทิ้งไว้ประมาณ ๕-๗ วัน ตรวจดูว่ามีกลิ่นหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถน้าไปใช้
งานและเกบ็ รกั ษาไว้ได้นาน

3) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษส์ ุขภำพ” เนือ้ หำกำรเรยี นรู้: กำรแช่เทำ้ ด้วยน้ำสมุนไพร
ในการฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้คนรักษ์สุขภาพ วิทยากรได้อธิบายถึงสรรพคุณของสมุนไพรไทยท่ีเปน็

วัตถดุ ิบในการน้าตม้ เพ่ือแช่เทา้ เน่ืองจากร่างกายมธี รรมชาติของการระบายพลงั งานท่ีเปน็ พษิ จ้านวนมากออก
ทางมือเท้าอยู่แล้ว จะเห็นได้ว่าแพทย์โบราณหลายประเทศมีการกดจุดหรือขูดระบายพิษจากมือและเท้า
เมื่อคนเราใชม้ อื และเท้าในกิจวตั รประจ้าวนั กล้ามเนอื้ เส้นเอน็ ท่ีมอื และเทา้ ก็จะเกิดสภาพแข็งเกร็งค้าง ท้าให้
ขวางเส้นทางการระบายพิษจากร่างกาย การแช่ในน้าอุ่น จะช่วยให้กล้ามเน้อื เส้นเอน็ ท่ีแข็งเกรง็ ค้างคลายตัว
พลงั งานที่เป็นพษิ ในร่างกายจงึ จะระบายออกได้ดี ทา้ ใหส้ ขุ ภาพดีขนึ้ โดยใหผ้ เู้ ข้าอบรมฝึกปฏบิ ัติ ซึง่ มีวกี ารท้า
คอื ใช้สมนุ ไพรฤทธิเ์ ย็น ประมาณ 1 กา้ มอื เชน่ ใบเตย ผักบุ้ง บวั บก ย่านาง รางจดื ใบมะขาม ใบสม้ ป่อย กาบ
หรอื ใบหรือหยวกกล้วย ต้มกบั นา้ 1 ขัน (ประมาณ 1 ลติ ร) เดือดประมาณ 5-10 นาทแี ลว้ ผสมนา้ ธรรมดาให้
อุ่นแค่พอรสู้ ึกสบาย

4) ฐำนเรียนรู้ “คนมนี ้ำยำ” เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในการฝึกปฏิบัตใิ นฐานคนมีน้ายา วิทยากรบรรยายในความรู้เกยี่ วกบั ประโยชนข์ องการท้าน้ายา

ใช้เอง วิธีการท้านา้ ยาอเนกประสงค์ สตู รน้าหมกั รสเปร้ียว การท้าน้าหมกั รสเปรย้ี ว และวธิ กี ารใช้น้ายาให้เกิด
ประสทิ ธิภาพ ให้ผ้เู ขา้ อบรมฝกึ ปฏิบัติการท้าน้ายาอเนกประสงค์ สตู รน้าหมกั รสเปร้ยี ว มีขน้ั ตอนดงั น้ี

1) วสั ดอุ ปุ กรณ/์ วัตถดุ บิ
- นา้ หมกั รสเปรี้ยว หมกั มากว่า 3 เดือน
- เอน็ 70 (N70)
- เกลือ

34

- โซดา
- น้าเปล่า

- หม้อต้มแบบมีฝาปดิ
- ถงั (ส้าหรับกวน)

- ผ้าขาวบาง
- ไมพ้ าย
- ถังแก๊ส

2) วธิ ที ำ
- น้า N70 ใส่ในถงั พลาสตกิ ใชไ้ ม้พายกวนใหเ้ ปน็ เนือ้ เดียวกัน เตมิ โซดา และกวนต่อ

- ใสเ่ กลอื ตามลงไป และกวนให้เข้ากนั กบั N70
- ค่อย ๆ เติมน้าหมักรสเปร้ยี วท่ีเตรียมไว้ และกวนใหเ้ ปน็ เนอ้ื เดียวกนั
- ท้ิงไว้ 1 คนื ใหฟ้ องยบุ ลง และน้าไปบรรจขุ วด เพ่ือเกบ็ ไวใ้ ชง้ าน

5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวียนไมไ้ ผ่” เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรทำเสวียนจำกไม้ไผ่และกำรทำเสวียนยงั ชพี
5.1 ประเด็นเน้ือหำ
1) ความเปน็ มาของเสวยี นไมไ้ ผ่
2) วธิ ีการ/ข้ันตอน/เทคนคิ การท้าเสวียนไมไ้ ผ่
3) ประโยชน์จากการทา้ เสวยี นไมไ้ ผ่

4) การสรปุ กิจกรรม
5.2 วสั ดุ / อปุ กรณ์


Click to View FlipBook Version