The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 05:51:16

CLM Nakhonnayok

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

85

ในพื้นท่ีข้างเคียงเมื่อเกิดปัญหาน้าท่วม มีการทา้ โคก ทา้ นาขั้นบนั ได และการยกหวั คนั นาทองค้า ปรบั พื้นท่ีให้
สามารถเปน็ แก้มลงิ เปน็ ศูนย์พ่งึ พงิ ในอนาคตได้

การท้าโคก หนอง นา น้ี หากด้าเนินการได้ร้อยละ 10 ของหมู่บ้าน จะสามารถเป็นแนวทางเป้น
ต้นแบบในการขับเคลอื่ นศาสตร์พระราชา โดยการใช้ทฤษฎีใหมม่ าประยุกต์ในวิถีชีวิต วิทยากรฉายภาพพร้อม
ยกตัวอย่าง พ้ืนที่จังหวัดน่านและจังหวัดทางภาคอสี านท่ีประสบความส้าเรจ็ ในการด้าเนนิ งาน โคก หนอง นา
เพอ่ื เปน็ การกระจายและสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้กับผเู้ ข้าร่วมอบรมในการดา้ เนินงานต่อไป

วิทยากรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ ข้าอบรมได้ซักถามและแลกเปล่ยี นความคิดเห็นในหวั ข้อวิชาน้ี
โดยสรุป พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ต้ังใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรแู้ ละการรบั ฟัง
การบรรยายดว้ ยความตั้งใจ การตอบค้าถาม การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมคี วามร้คู วามเข้าใจที่
ถูกต้องเกี่ยวกบั หลักการออกแบบเชงิ ภมู ิสังคมไทยเพือ่ การพ่ึงตนเองและรองรับภัยพบิ ัติ อีกท้ังเกิดแรงบันดาล
ใจใหส้ ามารถน้าแนวคิด โคก หนอง นา โมเดล ซึ่งเปน็ หนง่ึ ในทฤษฎใี หม่ เปน็ การน้อมน้าศาสตรพ์ ระราชาและ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวิถีชวี ติ สคู่ วามยัง่ ยืนตอ่ ไป

ภำพบรรยำกำศกำรเรยี นรู้ในรำยวชิ ำ

สรุปผลกำรเรยี นรู้
พบวา่ ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ มคี วามตง้ั ใจในการเรียนรู้ในหัวข้อวิชาการออกแบบเชิงภูมิ

สังคมไทยตามหลกั การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยง่ั ยืน เพ่ือการพึง่ ตนเอง และรองรับภัยพบิ ัติ เนอื่ งจากเนอ้ื หาของ
หัวข้อวิชาเป็นหลักการท่ีสามารถน้าไปขยายผลให้ความรู้กับประชาชนในพื้นท่ีการด้าเนนิ งานได้จริง อีกท้ังยงั
เปน็ ประโยชน์กบั การพฒั นาและต่อยอดในพน้ื ท่กี ารดา้ เนนิ งานของผอู้ บรม

86

11. หวั ข้อวิชำ: พน้ื ฐำนกำรออกแบบเพ่อื กำรจดั กำรพ้ืนทตี่ ำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ
โมเดล ”

วิทยำกรหลกั นายณภัทรพันธ์ เฟือ่ งฟู
นางสพุ รรษา แกว้ ขุนทด ต้าแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร
นางสาวภัทธยิ า ตกิ จนิ า ต้าแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คล

1) วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบพ้ืนท่ีเชิงภูมิสังคมไทย ตามหลักการ

พัฒนาภูมสิ งั คมอยา่ งยั่งยืนเพอ่ื การพง่ึ พาตนเองและรองรบั ภยั พบิ ตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล”

2) ประเดน็ เนือ้ หำ
หลักคดิ พน้ื ฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพนื้ ที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก

หนอง นา โมเดล ”

3) ระยะเวลำ 2 ชั่วโมง

4) วธิ กี ำร/เทคนิค
4.1 วิทยากรบรรยายประกอบสอื่ Power Point
4.2 ตวั อย่างแบบพน้ื ท่ี “โคก หนอง นา โมเดล ”

5) วสั ดุ / อุปกรณ์
5.1 สื่อ Power Point
5.2 กระดาษ A4 / ปากกา

6) ขัน้ ตอน / วิธีกำร
วิทยากรกล่าวแนะน้าตัว ให้ดูตัวอย่างการออกแบบพื้นท่ี เพื่อช้ีให้เห็นถึงความส้าคัญของ

การออกแบบ สามารถสรุปใจความสา้ คัญ ได้ดังน้ี
การออกแบบพ้ืนท่ี มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสื่อสารกับช่างขุดในพ้ืนท่ี และใช้สื่อสารกับ

เจ้าของพนื้ ที่ ในการเขียนแบบจดั สรรพ้ืนที่ โคก หนอง นา ควรใช้สัญลกั ษณ์ เช่น สี ตวั เลขก้ากบั ทตี่ ัง้ ของพื้นที่
รอบข้าง ระบุทิศ การวัดระยะ ปริมาณการเกบ็ นา้ ในพื้นท่ี เพราะการออกแบบพ้ืนที่เป้าหมาย คือ การเก็บน้า
ในพ้ืนท่ี เพื่อเอาน้ามาบริหารจัดการในพ้ืนท่ี รวมถึงใส่รายละเอียดต่าง ๆ โยงรายละเอียดต่าง ๆ ใน
การออกแบบ เพ่อื จะสือ่ สารความเปน็ จริงได้มากขน้ึ

การกกั เกบ็ นา้ ของ “โคก หนอง นา” โมเดล หลักการส้าคัญของโคก หนอง นา โมเดล คือการเก็บกัก
น้าไว้ใช้อยา่ งเพียงพอ ซง่ึ การออกแบบพื้นท่ีจะให้ความส้าคัญต่อการเก็บนา้ 3 สว่ นหลักๆ ไดแ้ ก่

1. เกบ็ นา้ ไวใ้ นหนอง : การขุดหนองจะตอ้ งขุดใหค้ ดโค้ง และมีระดับตื้นลึก แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะจุด
ซง่ึ ก่อนขุดตอ้ งมกี ารค้านวณปรมิ าตรนา้ ท่สี ามารถ เก็บไดใ้ นหนองเพอื่ ใหพ้ อใชง้ าน

87

2. เก็บน้าไว้บนโคก : ท้าได้โดยการปลูกป่าและเก็บในระบบรากของต้นไม้ ท่ีปลูกไว้ 5 ระดับ ได้แก่
ไมร้ ะดบั สงู ไม้ชน้ั กลาง ไมช้ ้นั เต้ยี ไมเ้ ร่ียดิน และ ไมห้ วั ใตด้ ิน ไม้แต่ละระดับควรจะมีอยา่ งน้อยไม่นอ้ ยกวา่ 21
ชนิด เพ่ือสรา้ ง ความหลากหลายของระบบราก เมอ่ื ฝนตกลงมาระบบรากจะช่วยอมุ้ นา้ ไวใ้ นดิน

3. เก็บไว้ในนา : ยกคันนาให้สูงและกว้าง สามารถเก็บน้าไว้ใช้ในช่วง ฝนทิ้งช่วง นอกจากน้ีเรายัง
สามารถปลูกพชื ผักไวบ้ นคันนาได้อกี ด้วย

ตวั อย่ำงแบบ

วทิ ยากรให้ผเู้ ข้าอบรมฝกึ การเขียนแบบอยา่ งงา่ ยในกระดาษ A 4 เพ่ือสร้างความกล้าในการเขยี น
แบบเพือ่ ใช้สื่อสารกบั ช่างขดุ ในพื้นที่ มขี ้ันตอน ดงั น้ี
1. วางกระดาษเป็นแนวตง้ั ขดี เสน้ ตรงเปน็ แนวนอน จา้ นวน 1 เส้น ไวด้ า้ นบนของขอบกระดาษ
2. วาดรปู คนอยา่ งง่ายไว้บนเส้นตรงทข่ี ดี ไว้ (คนหมายถงึ เจา้ ของแปลง) พรอ้ มทงั้ เขียนชือ่ เล่น อาหารท่ชี อบ
ผลไมท้ ีช่ อบ ผักทช่ี อบ และกิจกรรมทต่ี นเองอยากท้าในพนื้ ที่ เชน่ กจิ กรรมตกปลา กิจกรรมว่ิง เปน็ ตน้
3. เขยี นรปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ไว้ด้านขวาของกระดาษ และแบ่งพนื้ ท่ีในกรอบสีเ่ หล่ยี มดว้ ยเสน้ ประเป็น 6 สว่ น
และออกแบบถนนไว้ส่วนใดก็ได้ และเขยี นสญั ลกั ษณข์ องบา้ น โดยมกี า้ หนดเปน็ 1 ส่วน และเขยี นทางเขา้ บา้ น
เชอ่ื มกบั ถนน และเขียนหนองน้าทดี่ ตี ้องมคี วามโค้ง โคก ใหเ้ ขียนแบบมีความโค้งเว้า กา้ หนดให้พ้นื ท่ีโคก
กา้ หนดให้เป็น 2 สว่ น และนากา้ หนดเปน็ 1 สว่ น
5. แปลงผักกา้ หนดใหเ้ ป็นรปู วงรี 3 วงกา้ หนดเปน็ ครึ่งส่วน จะวางไว้ตรงไหนของพน้ื ท่ีก็ได้
6. หากช่างอา่ นแบบเราไม่ออก เราตอ้ งเขยี นอธิบายรายละเอียดแต่ละส่วน โดยใช้เสน้ ตรงโยงอธิบายพ้นื ที่
สว่ นน้ัน ๆ

88

วทิ ยากรบรรยายเกีย่ วกับหลักการออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล เบือ้ งตน้ ”
เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศของไทย ภาคเหนือมีป่าเยอะท้าให้มีแหล่งต้นน้าท่ีส้าคัญ เมื่อฝนตกลงมา
จะทา้ ให้มตี ะกอน (โคก) นา้ ไหลลงมาสู่ทรี่ าบภาคกลาง ทา้ ใหภ้ าคกลางเปน็ แหล่งปลูกข้าวทอ่ี ุดมสมบูรณ์ (นา)
และไหลลงสู่อ่าวไทย เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้าต่าง ๆ (หนอง) จากโมเดลเป็นแนวคิดระบบนิเวศธรรมชาติ ท่ี
เรยี กว่า “จากภผู า สมู่ หานที” ในพืน้ ท่จี งึ จา้ เป็นต้องมีโคก หนอง และนา
ข้ันตอน/ กระบวนการ ในการพัฒนาพืน้ ที่ มีดงั น้ี
1. การศึกษาเร่ืองทฤษฎีต่าง ๆ และองค์ความรู้เก่ียวกบั กสิกรรมธรรมชาติ เช่น การห่มดิน แห้งชาม
น้าชาม และหลักการพง่ึ ตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. การออกแบบพน้ื ทตี่ ามความต้องการของเจา้ ของแปลง เพ่อื เอาแบบไปสือ่ สารในการขดุ
3. การปรบั พ้ืนท่ตี ามความต้องการของเจ้าของแปลง
4. การปลูกพชื ตามหลกั กสิกรรม
ข้นั ตอนกำรออกแบบ
1. ต้ังโจทย์ สา้ รวจความต้องการของตนเอง
2. วิเคราะห์พน้ื ที่ เช่น สภาพปญั หาของพ้ืนที่
3. นา้ ข้อมูลจากการต้งั โจทยแ์ ละการวิเคราะหพ์ ืน้ ท่ี เพื่อมาพฒั นาแบบ
4. ออกแบบให้มรี ายละเอยี ดมากขึ้น ในการพฒั นาแบบเพอ่ื การสือ่ สารต่อ
เปา้ หมายในการออกแบบพื้นที่
1. การกักเกบ็ นา้ คือ ต้องมีหนองเก็บน้าขนาดใหญ่ คันนาทองค้า คูคลองไส้ไก่ และการกักเก็บนา้ ใน
โคก ทม่ี ีปา่ 5 ระดับ
2. ฟน้ื ฟูระบบนเิ วศ คือ ตอ้ งมีหนองบา้ บัดน้าเสยี หรือระบบบา้ บดั น้าเสยี
3. สร้างรายได้ คือ ต้องการขยายผลผลติ ทางการเกษตร เชน่ มีแปลงเกษตร แปลงผักสมุนไพร หัวคัน
นาทองคา้ สง่ ผลให้มีการแปรรูปผลผลติ และเกิดการพฒั นาเปน็ แหล่งทอ่ งเทยี่ ว
4. ศูนย์การเรียนรู้ คือ มฐี านเรยี นรู้ เชน่ ฐานเรยี นร้กู สกิ รรม คนรกั ษ์ปา่ คนมีนา้ ยา คนรักษ์แม่ธรณี
ทง้ั นี้ การออกแบบพ้ืนที่ โคก หนอง นา จะแบง่ ออกเป็น 2 เรอ่ื งหลกั คือ ขนาด และตา้ แหนง่
ซ่ึงขนาด มคี วามเก่ียวขอ้ งกบั ปริมาณน้าฝน และต้าแหนง่ จะเกยี่ วข้องกบั ปจั จยั ด้าน ดนิ น้า ลม ไฟ คน

89

วทิ ยากรยกตวั อยา่ งเร่ืองการคา้ นวณการกักเกบ็ นา้ ในพ้ืนท่โี คก หนอง นา ดงั ภาพ

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมสนใจ ตั้งใจ และมีส่วนร่วมในกระบวนสอนของวิทยากร เน่ืองจากพื้นฐาน

การออกแบบพน้ื ทีเ่ ปน็ องค์ความร้ใู หมข่ องผู้เข้าอบรม ทัง้ นี้ สามารถสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องใหก้ บั ผู้เข้าอบรม
เกี่ยวกบั หลักการพ้นื ฐานของการเขยี นแบบ ตลอดจนสามารถน้าไปตอ่ ยอดในการท้ากิจกรรมในพน้ื ทีต่ นเองได้

90

12. หัวข้อวชิ ำ: ฝกึ ปฏบิ ตั ิกำร สร้ำงหนุ่ จำลอง (กระบะทรำย) กำรจดั กำรพ้นื ทต่ี ำมหลักทฤษฎีใหม่
ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นำ โมเดล” / นำเสนอผลงำน

วทิ ยำกรหลกั 1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกลุ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอม
เกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทีป่ รึกษาอธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระ
จอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทป่ี รกึ ษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน

1) วตั ถุประสงค์
1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการพ้ืนท่ีเชิงภูมิสังคมไทย

ตามหลักการพัฒนาภูมิสงั คมอย่างย่ังยืน ตามหลักการออกแบบ “โคก หนองนา โมเดล”
1.2 เพ่ือให้ผเู้ ข้าอบรมฝกึ ปฏิบัติ workshop ออกแบบพ้นื ทใ่ี นรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ

2) ประเด็นเนอ้ื หำ
2.1 หลกั คดิ พ้นื ฐานการออกแบบตามหลกั ภูมิสงั คม (Geosocial)
2.2 การค้านวณการจดั การน้าฝนในพืน้ ท่ี
2.3 แนวคดิ การออกแบบและฝึกปฏบิ ัตกิ ารเขยี นแบบตามหลัก “โคก หนอง นา” เพอ่ื การใช้
พื้นทใ่ี หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

3) ระยะเวลำ 5 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนคิ
4.1. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ โดยใช้ส่อื Power Point ประกอบการบรรยาย
4.2. มอบหมายโจทย์สา้ หรับฝึกปฏิบัติ workshop จดั ทา้ ผลงานออกแบบพน้ื ทีใ่ นกระบะไม้

และน้าเสนอผลงาน

5) วัสดุ / อปุ กรณ์
1. สื่อ Power Point
2. คอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์
3. กระดาษฟลิปชาร์ต / ปากกาเคมี
4. กระบะไม้ / ดินปลูกบัว

6) ข้ันตอน / วธิ กี ำร
วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการค้านวณน้าเพ่ือการกักเก็บน้าฝนในการออกแบบพ้ืนที่ โดยหลักการมี

ปัจจัยหลักท่ีส้าคัญของการออกแบบพ้ืนท่ี ภูมิ คือ สภาพทางกายภาพ เช่น สภาพดิน น้า ลม ไฟ สังคม
วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญาด้ังเดิมที่อยู่ในพื้นท่ีน้ัน ซ่ึงในการออกแบบจะให้ความส้าคัญกับ “สังคม”
มากกว่า “ภูมิ” คือต้องออกแบบตามสังคมและวัฒนธรรมของคนท่ีอยู่ แม้ว่าภูมิประเทศจะเหมือนกันก็ตาม
หาก สงั คมตา่ งกันการออกแบบก็จะตา่ งกนั ออกไปมหี ลักพิจารณา ดงั น้ี

1. ปรมิ าณน้าฝนที่ตกเฉล่ียในพ้ืนท่ี

91

2. ความสูงตา้่ ของพื้นที่และทิศทางการไหลของนา้ ในแปลง
3. การวางองค์ประกอบของพนื้ ที่

- ดิน การออกแบบพ้ืนท่ีควรค้านึงถึงสภาพปัญหาของดินและลักษณะของดิน ความอุ้มน้า
ของดิน ดินทราย ดินเหนียว เพ่ือวางแผนการขุดหนองน้าและการปรับปรุงดินให้เหมาะสม โดยใช้หลักการ
ฟ้นื ฟดู ิน ไม่เปลือยดิน เตมิ ป๋ยุ อนิ ทรีย์แบบแหง้ และน้า หลังการหม่ ดนิ ดว้ ยฟาง ใบไม้

- นา้ การออกแบบพน้ื ที่ควรคา้ นงึ ถงึ ทศิ ทางการไหลของน้าเข้าและออกจากพ้ืนท่ี ขดุ หนองให้
มีความคดเค้ยี วเพ่ือเพิม่ พืน้ ท่เี พาะปลกู พืชขอบริมหนอง และการท้าตะพักน้า

- ลม การออกแบบพน้ื ท่คี วรคา้ นึงถงึ ทิศทางลม ลมในพื้นที่พดั เขา้ มาทางไหน ท้งั ลมรอ้ นและ
ลมฝน ตามหลักของลมนั้น ลมฝนจะพัดมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และลมหนาวพัดมาทางทิศ
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

92

วิทยากรมอบโจทย์ให้กับผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มสี โดยแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม (สีน้าเงิน ชมพู แดง เหลือง
และสีเขียว) เพื่อให้ออกแบบพ้ืนที่แบบ 2 มิติ ในกระดาษฟลิปชาร์ท แล้วน้าไปสร้างแบบจ้าลองในกระบะไม้
แบบ 3 มิติ ทงั้ นี้เมื่อออกแบบเรยี บรอ้ ยแลว้ ผเู้ ขา้ อบรมจะตอ้ งน้าเสนอผลงาน พรอ้ มอธิบายการคา้ นวณน้าด้วย
โดยวทิ ยากรจะเป็นผู้เติมเต็มใหก้ บั ผู้เขา้ อบรมแต่ละกลมุ่

โจทย์

กจิ กรรมทก่ี ำหนดในกำรออกแบบพ้ืนที่

93

ภาพการออกแบบของท้งั 5 กลุ่ม

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
ผู้เข้าอบรมได้น้าความรู้พื้นฐานเก่ียวกับหลักการออกแบบพื้นที่ “โคก หนอง นา โมเดล” มาฝึก

ปฏิบัติจริง ท้าให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าอบรมในการออกแบบ
เพ่อื สรา้ งหนุ่ จ้าลองในกระบะทราย ท้าใหบ้ รรยากาศในกิจกรรมเป็นไปด้วยความสนุกสนาน เกิดความสามัคคี
ช่วยเหลอื แบ่งงานกันทา้ เพื่อใหก้ ารสรา้ งแบบในกระบะทรายเป็นไปตามหลักของการออกแบบเพอื่ การจดั การ
พน้ื ทใี่ หใ้ ช้ประโยชนไ์ ดส้ งู สุด

94

95

13. หวั ขอ้ วชิ ำ: Team building ฝึกปฏิบัติกำรบริหำรจดั กำรในภำวะวกิ ฤต “หำอยู่ หำกนิ ”

วทิ ยำกรหลกั นางสาวภัทธิญา ติกจินา นกั ทรพั ยากรบุคคล

1) วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจการพึ่งตนเองและการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ้ากัดให้

เกิดประโยชนส์ ูงสุดในการด้ารงชีวติ
1.2 เพื่อให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมรู้จักการด้ารงชีวติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พบิ ตั ิ
1.3 เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมรจู้ ักการวางแผนการทา้ งานเปน็ ทมี ได้ฝกึ วินัยและคุณธรรม
1.4 การพึง่ พาตนเอง และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี ีอยู่อย่างจ้ากดั ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ
1.5 เพ่ือเสริมสร้างปฏสิ มั พันธ์ การทา้ งานเปน็ ทีม

2) ประเดน็ เน้อื หำ
2.1 การท้ากิจกรรมแบบพึ่งตนเอง และใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ้ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ดา้ รงชวี ติ ในภาวะวิกฤต/การประสบภัยพบิ ตั ิ,วางแผนการทา้ งานเป็นทมี ฝกึ วินัยและคุณธรรม
2.2 การดา้ รงชวี ติ ในภาวะวิกฤต/การประสบภยั พิบัติ
2.3 รจู้ กั การวางแผนการทา้ งานเป็นทีม ไดฝ้ ึกวนิ ยั และคณุ ธรรม
2.4 ความหมาย/เปา้ หมาย/รปู แบบ/ความสา้ คญั Team Building
2.5 กติกาการทา้ กจิ กรรม
2.6 สภาพพื้นท่ีในการดา้ เนินกิจกรรม
2.7 การสรปุ บทเรียน

3) ระยะเวลำ
2 ช่วั โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนคิ
4.1 ลกั ษณะการฝึกอบรมแบบ work shop
4.2 ช้ีแจงกฎกตกิ า
4.3 แบง่ กลมุ่
4.4 สรุปบทเรยี น

5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
1. อุปกรณ์เคร่ืองครวั ทง้ั 5 กลมุ่
2. อปุ กรณ์ร้องร้าทา้ เพลง
3. เครื่องปรุงอาหาร เชน่ น้าปลา กะปี พริก เกลือ และวตั ถดุ บิ ท้าอาหาร เช่น ไก่ หมู ปลา

ไข่ไก่
4. อุปกรณร์ ับประทานอาหาร เช่น ถว้ ย ช้อน จาน ให้เพียงพอทกุ คน
5. ไม้ขีด 5 กลอ่ งๆ ละ 1 ก้าน

96

6. ถา่ นทา้ ครวั
7. ขา้ วสาร
8. อปุ กรณท์ ้าความสะอาดเครอื่ งครัว เช่น นา้ ยาล้างจาน ฟองน้า กะละมงั

6) ขัน้ ตอน / วธิ กี ำร

1. ทมี วทิ ยากรจดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งครัว และวตั ถดุ บิ ต่าง ๆ
2. วทิ ยากรชแ้ี จง กฎ กตกิ า พร้อมด้วยอธบิ ายแผนผังในการหาวตั ถุดิบ (ชี้แจงว่าพน้ื ทไี่ หนอนญุ าต
ตรงไหนไม่อนญุ าต)
3. มอบเชอ้ื เพลงิ ในการจุดไฟใหก้ บั ทุกกลุ่มๆ ละ 1 กลอ่ งๆ ละ 1 กา้ น (ไมข้ ดี ๑ ก้านต่อ ๑ กลุม่ )
4. มอบอปุ กรณเ์ ครื่องครัว เพ่ือเป็นอปุ กรณใ์ นการประกอบอาหาร เชน่ ถ้วย ชาม ชอ้ น กระทะ หม้อ
ฯลฯ
5. มอบวัตถปุ ระกอบอาหาร ไดแ้ ก่ ข้าวสาร 1 กโิ ลกรัม ไข่ไก่ 5 ฟอง
6. หากผเู้ ข้าฝกึ อบรมตอ้ งการเครื่องปรุงและวตั ถุดิบเพม่ิ เติม ใหผ้ ู้เขา้ รับการฝกึ อบรมแสดง
ความสามารถเพอื่ แลกวตั ถุดบิ (กุศโลบาย: มเี งนิ ก็ซือ้ ไม่ได้ ตอ้ งนาความสามารถมาแลกเพื่อใหม้ าซง่ึ ของที่
เราต้องการ)
7. ลงมือประกอบอาหารร่วมกนั และหลงั จากทา้ อาหารเสร็จส้นิ ใหเ้ ก็บกวาด ทา้ ความสะอาด อุปกรณ์
และพนื้ ท่ใี หเ้ รียบร้อย
8. เลอื กตวั แทนแต่ละกลุ่มเป็นกรรมการ ตรวจให้คะแนนอาหาร (รสชาติ คุณภาพ ความเหมาะสม
การนา้ ทรัพยากร/วัตถดุ ิบมาใช้ประกอบอาหารอย่างค้มุ ค่า การอธบิ ายสรรพคุณของวัตถุดิบแต่ละอยา่ ง กล่มุ
ละ 5 นาที
9. รับประทานอาหารพรอ้ มกัน
10. วทิ ยากรสรปุ ส่ิงทไี ดจ้ ากการเรียนรสู้ ่ิงทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรมน้ี ผา่ นเวทลี อ้ มวงชวนคยุ ในประเดน็
ค้าถาม ดังตอ่ ไปนี้

คำถำมท่ี 1 : ทำ่ นเห็นอะไร ? จำกกำรเข้ำร่วมกิจกรรมน้ี
ค้าตอบ : ผู้อบรมได้เรยี นรู้จักความสามัคคี การรว่ มแรงร่วมใจในการทา้ งาน กา
เอือ้ เฟ้อื เผอื่ แผซ่ ่ึงกนั และกันในสถานการณ์ท่ีวิกฤต

: เห็นถงึ ภาพการฉวยโอกาสของผ้ปู ระกอบการ (ตลาด) การเป็นโจรลักขโมยของ
การกลั่นแกลง้ จากวิทยากรเพือ่ ใหเ้ หน็ ถึงความยากลา้ บาก ทา้ ใหต้ อ้ งปรบั ตวั ให้ทันกบั สถานการณ์ท่ีวกิ ฤต

: มีเงินทองก็ซอ้ื ของไมไ่ ด้ในยามวิกฤต
: เกิดการค้นหาศกั ยภาพในการทา้ อาหาร (แม่ครัวทีม่ ฝี ีมือ/เมนทู ีถ่ กู รังสรรค์ขึ้น
ใหม่/เทคนิควธิ กี ารหุงข้าวในรปู แบบใหม่)
คำถำมท่ี 2 : ท่ำนไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ำกพ้นื ที่ในกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมนีอ้ ยำ่ งไรบ้ำง?
ค้าตอบ : ผู้อบรมสามารถใช้ประโยชน์จากการหาอยูห่ ากินในฐานการเรยี นรู้ พน้ื ท่ี 30
ตารางวา ฐานการเรียนรู้เสวียนยงั ชีพ เปน็ ต้น ท้าใหไ้ ดเ้ รียนรู้ถึงการใช้ทรพั ยากรในพนื้ ทที่ ่มี ีอยู่อยา่ งจา้ กัดให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด
คำถำมที่ 3 : ท่ำนได้อะไร ? จำกกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมน้ี
คา้ ตอบ : ผอู้ บรมไดร้ บั ประสบการณใ์ หม่ทีไ่ ม่เคยไดท้ ดลองทา้ มากอ่ นผา่ นกิจกรรม เชน่

97

การแสดงความสามารถต่าง ๆ เพ่ือแลกกับวัตถดุ ิบในการปรุงอาหาร ได้เรียนรทู้ ักษะการเจรจาต่อรอง ได้เห็น
มิตรภาพระหว่างกลุ่มสีท่ีมีความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่กัน มีความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน มีการยอมรับฟัง
ความคิดเห็นซง่ึ กนั และกนั ในระหวา่ งดา้ เนนิ กิจกรรม ไดเ้ รยี นรถู้ งึ การบริหารจดั การดา้ นทรัพยากรท่ีมอี ยู่ให้เกิด
ประโยชนส์ งู สุด ด้านทรัพยากรมนุษย์ (ใช้คนให้เหมาะสมกับงานและตามความถนดั ) การบรหิ ารจัดการทีมงาน
ผา่ นการท้างานเป็นทีม

คำถำมท่ี 4 : ท่ำนมีกำรวำงแผนหรือบริหำรจดั กำรอยำ่ งไร? เพื่อให้ทนั ตำมเวลำท่ีกำหนด
คา้ ตอบ : ผูอ้ บรมมกี ารแบง่ บทบาทหนา้ ท่กี นั ท้าตามความสมัครใจและตามความถนัดของ
แต่ละบคุ คล เชน่ มีพ่อครวั แมค่ รวั มีผู้ชว่ ยประกอบอาหาร มที ีมเกบ็ ผัก มีทีมดาวเต้นดาวยั่วไปแสดง
ความสามารถเพ่อื แลกวัตถุดบิ ในการประกอบอาหาร มีผ้นู า้ ท่ีคอยบัญชาการให้กิจกรรมสา้ เรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี
คำถำมท่ี 5 : ท่ำนประทบั ใจอะไร ? จำกกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมนี้
คา้ ตอบ : ผู้อบรมมีความประทับใจในการได้ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการท้ากิจกรรม

เช่น ได้เห็นภาพผู้อบรมฝ่ายหญิงเป็นผู้หาวัตถุดิบ และเห็นผู้อบรมฝ่ายชายเป็นผู้ประกอบอาหาร ได้รับองค์

ความรู้ใหม่ ๆ เกีย่ วกับการประกอบอาหาร (หากทกุ คนช่วยกัน วชิ าหรอื องค์ความรู้จะเกดิ ข้นึ ทันที) ประทับใจ

ในความรู้รักสามัคคี การชว่ ยกนั วางแผนงาน ของสมาชิกภายในกลุม่ สี ไดเ้ รยี นรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ ผ่านการ

ท้าอาหารจากเดมิ ทไ่ี ม่เคยท้ามาก่อน ประทับใจในการเปน็ ภาวะผูน้ า้ และภาวะผ้ตู ามท่ดี ี

สรุปบทเรยี นของกิจกรรม

สถานการณ์การเปล่ียนแปลงของโลกในด้านภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงขึ้นทุกวัน ท้าให้ได้

เรียนรู้ถึงการพ่งึ พาตนเองในยามวิกฤต ผ่านการจ้าลองสถานการณ์ดังกล่าว เราในฐานะกรมการพฒั นาชุมชน

จ้าเป็นต้องตระหนักในบทบาทหน้าท่ีในการเป็นศูนย์พ่ึงพิง มีการสร้างภูมิคุ้มกัน มีการสร้างความม่ันคง

ทางดา้ นอาหาร สรา้ งความรู้ความเข้าใจและสร้างการรับรู้ท่ีดีให้กับประชาชน เพือ่ ให้สามารถปฏิบัติตนในการ

รองรับภัยพิบัติ พร้อมต้ังรับ ตั้งสติ มีการวางแผนที่ดีเพื่อแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด ซึ่งอาจจะ

เกดิ ขน้ึ ได้ในอนาคต

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้

พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจในกระบวนการของกิจกรรม บรรยากาศการท้ากิจกรรม

เป็นไปด้วยความสนุกสนาน ฝึกการหาอยู่ หากิน ใหใ้ ช้ชีวิตอยูไ่ ด้ในภาวะวิกฤตด้วยหลักกสิกรรมธรรมชาติ หา

สิ่งทอี่ ยู่รอบตวั กนิ อยา่ งประหยดั พรอ้ มรบั ภยั พบิ ตั ิทีเ่ กดิ ขนึ้ ท้าให้ผู้เข้าอบรมเกดิ ความสามัคคีในหมู่คณะ รู้จกั

การแบ่งปันซึ่งกันและกัน รู้จักการวางแผนการท้างานเป็นทีม ได้ฝึกวินัยและคุณธรรม รู้จักการพ่ึงพาตนเอง

และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่อย่างจ้ากัดใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนผู้เข้าอบรมได้นา้ ทักษะภูมิ

ปญั ญาไทยมาใชใ้ นกิจกรรม เชน่ การหุงข้าวแบบวิธีเช็ดน้า แบบคนสมัยกอ่ นในชนบท ทา้ ใหผ้ ู้เข้าอบรมเรียนรู้

ภมู ปิ ัญญาการเอาตัวรอด ตลอดจนตระหนักและเหน็ ความส้าคญั ของการมแี หลง่ อาหารอยู่ในพนื้ ท่ี

98

Team building ฝกึ ปฏิบตั กิ ำรบรหิ ำรจดั กำรในภำวะวกิ ฤต “หำอยู่ หำกนิ ”

99

14. กำรขับเคล่อื นศำสตร์พระรำชำ กลไก 357

วทิ ยำกรหลกั
1. ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกุล อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณ

ทหารลาดกระบงั (สจล.) ทป่ี รึกษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน

1) วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการประชุมได้รับทราบ ตระหนักรู้และเข้าใจความหมายท่ีแท้จริงของ

การขับเคลอ่ื นศาสตร์พระราชา ด้วยหลกั กลไก ๓๕๗
๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการประชุมได้มองเห็นถึงการเช่ือมโยงการขับเคล่ือนศาสตร์พระราชาดว้ ย

หลกั กลไก ๓๕๗ กบั การขับเคลื่อนงานกรมการพฒั นาชมุ ชน
2) ประเดน็ เน้ือหำ

๑. กลไกการขับเคลอ่ื นศาสตรพ์ ระราชา กลไก ๓๕๗
๒. ปรัชญา ๓ ระบบ
๓. ทฤษฎีใหมก่ วา่ ๔๐ ทฤษฎตี ามศาสตร์พระราชา
๔. แนวทางในการปฏิบตั ิในการใชช้ วี ติ ในการทา้ งานตามศาสตรพ์ ระราชา
๕. นวตั กรรม เคล็ดวชิ ากวา่ ๔๘,๐๐๐ นวัตกรรม
๖. การบริหารแบบคนจน การท้างานแบบคนจน
3) ระยะเวลำ
จ้านวน ๑ ชั่วโมง

4) เทคนิค / วิธีกำร
๑. บรรยาย
๒. ต้ังค้าถามเพือ่ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์
๓. เติมเตม็ ให้ข้อคดิ และข้อเสนอแนะ

5) วัสด/ุ อปุ กรณ์
- สื่อวีดีทัศน์
- บทความ
- กรณศี กึ ษา
- PPT
- คอมพิวเตอร์ เคร่อื งฉาย และจอภาพ
- บอรด์ ,ปากกา

100

6) ข้นั ตอน / วิธกี ำร
วิทยากรแนะนา้ ตวั และกล่าวถึงประเดน็ เนอื้ หาของวิชา

เน้อื หาวิชากลไกการขับเคลื่อนสบื สานศาสตรพ์ ระราชากลไก 357 สรปุ ได้ ดงั นี้
จากพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ

พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในหลวงรชั กาลท่ี 10 ในการสบื สานตอ่ ยอดศาสตรพ์ ระราชา เพื่อสร้างความอยู่ดีมีสุข
แก่ประชาชน พระองค์ทรงเร่ิมต้นด้วยการปลุกจิตอาสาที่มีอยู่ในใจของคนไทยทุกคน มาเป็นแรงขับเคลื่อน
ซ่ึงการที่ทุกคนจะร่วมกันขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายความยั่งยืนนั้น จะต้องมี
วิธีการคิดแบบองค์รวม ท้าอย่างเป็นระบบ ขับเคล่ือนการด้าเนินงานไปพร้อม ๆ กันอย่างเป็นแบบแผน
ไม่แตกแยกไปคนละทิศทาง

“สืบสานศาสตรพ์ ระราชา” พระราชประสงคข์ องในหลวงรชั กาลที่ 10
“เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งอาณาราษฎรตลอดไป” พระปฐมบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลท่ี 10 วันที่ 4 พฤษภาคม 2562
โดยความหมายของค้าว่า สืบสาน รกั ษา และต่อยอด ในท่ีนีค้ อื การสืบสานศาสตร์พระราชา
รักษาภูมปิ ญั ญาของบรรพบุรุษ และตอ่ ยอดนวตั กรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภมู สิ ังคม นัน่ เอง

จากที่ได้กล่าวมา ด้วยพระปรีชาสามารถและสายพระเนตรอันกว้างไกลของ
กษัตริย์นักบินพระองค์น้ี จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้มีการฝึกจิตอาสา 904 หลักสูตรหลักประจ้า “เป็นเบ้า
เป็นแม่พิมพ์” ท่ีมีการประยุกต์แนวพระราชด้าริเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ
โดยมีระยะเวลาการฝึก 50 วัน มีผู้เข้ารับการฝึกรุ่นละประมาณ 500 คน ซึ่งการฝึกจิตอาสา 904
ใน 3 รุ่นแรก ได้ใช้พื้นท่ีฝึกท่ีศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง อ้าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มีการจ้าลอง
การใช้ชีวิตในโลกอนาคตซึ่งมนุษยชาติอาจจะต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่แปรปรวน เกิดภัยพิบัติต่าง ๆ
ผู้เข้ารับการฝึกจึงต้องเรียนรู้การใช้ชีวิตให้พร้อมรับมือกับความเสี่ยงในโลกอนาคตเหล่าน้ัน เช่น ได้มี
การปรับพ้ืนที่ส้าหรับการด้ารงชีวิต มีการกักเก็บน้าฝนอย่างเป็นระบบ อาหารการกินท่ีได้มาจากปลาที่เล้ียง
และพืชพรรณธัญญาหารท่ีปลูกเอง จึงท้าให้ไม่มีต้นทุนทางอาหา ร ซ่ึงองค์ความรู้เหล่าน้ีเป็นส่ิงที่
ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงสอนพวกเรามาเปน็ เวลาช้านานแลว้ เป็นภมู ิปัญญาบรรพบุรษุ แตเ่ หตใุ ดเราจงึ ไม่เชื่อ
เราไม่เคยสนใจเพราะคนไทยไม่เช่ือคนไทยด้วยกันเอง

101

ในส่วนพ้ืนที่ฝึกก็มีการ
ขยายเพมิ่ ขึ้นเรอ่ื ย ๆ เชน่ กัน จาก 10 ไร่

เป็น 30 ไร่ 40 ไร่ จนปัจจุบันเป็นพื้นที่
เกือบ 200 ไร่ ผู้ท่ีเข้ารับการฝึกมีหลาย

ช่วงวัยที่มาจากต่างสาขาอาชีพ ท้ังทหาร
ระดับพลเอก นักเรียนนายร้อย พยาบาล
อธิการบดี คณบดี ข้าราชการ นิสิต

นกั ศกึ ษา ฯลฯ ทง้ั นใ้ี นหลวงรชั กาลท่ี 10
ทรงมุ่งเนน้ ไปท่ีกลุ่มเยาวชนเป็นหลกั ทรง

เล็งเห็นว่าการท่ีจะสืบสานงานของพระ
ราชบิดาให้ย่ังยืนนับร้อยนับพันปี จ้าเป็น
อยา่ งย่งิ ทีจ่ ะต้องวางรากฐานเข้าไปในระบบโครงสร้างของสงั คมโดยเฉพาะอย่างยง่ิ โครงสรา้ งทางการศึกษา

3 ระดบั 5 กลไก 7 ภาค’ี กุญแจสา้ คัญของการขับเคลอื่ นสบื สานศาสตร์พระราชา

หลักการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาให้ย่ังยืน ซ่ึงเป็นการพัฒนาท่ีมีประชาชน
เป็นแกนกลาง และภาคีอื่น ๆ ร่วมบูรณาการเพ่ือเสริมกลไกเดิมของภาครัฐที่มีอยู่ เป็นการขับเคล่ือนในพนื้ ที่

3 ระดับ เป็นอย่างน้อย คือ ระดับชุมชนหรือลุ่มน้า ระดับจังหวัดหรือภูมิภาค และระดับชาติ ภายใต้
การมีส่วนร่วมของ 5 กลไก ที่จะช่วยหนุนเสริมงานขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา ประกอบด้วย
กลไกการประสานงานภาคีเครือข่าย กลไกแผนงานและยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ กลไกการติดตาม

และประเมนิ ผล กลไกการจัดการความรู้ อนั เป็นองค์ความรูท้ ี่ได้จากการปฏิบตั ิที่ต้องนา้ มาจัดท้าเป็นตา้ ราหรือ
คู่มือเฉพาะในแต่ละพื้นที่ และกลไกการส่ือสารสังคมให้รับรู้ ร่วมด้วย การบูรณาการของ 7 ภาคี คือ ภาครัฐ

ท่ีให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ กฎหมาย รวมถึงเคร่ืองมือต่าง ๆ ภาควิชาการและสถาบันการศึกษา
ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคสือ่ มวลชน

ระบบ 3-5-7 นี้ จะช่วยหนุนเสริมให้การขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชาบรรลุ

เป้าหมายความยั่งยนื ของโลกได้ทั้ง 17 ข้อ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว แม้ส่ิงที่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ได้ทรงปฏบิ ตั ิ
พระราชกรณียกิจมาตลอดระยะเวลา 70 ปีของการครองราชย์ จะท้าให้บรรลุเป้าหมายความยั่งยืนได้

เกือบครบทั้ง 17 ข้อแล้ว แต่พระองค์ทรงเน้นที่ข้อ 2 เป็นหลัก ในเร่ืองการขจัดความอดอยากและสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร ซึง่ ครั้งหน่ึงเคยมีสอื่ ต่างชาติมาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสัมภาษณพ์ ระองค์
ว่าทรงก้าลังสู้รบกับระบบคอมมิวนิสต์อยู่หรือ พระองค์พระราชทานสัมภาษณ์กลับไปว่าทรงก้าลังสู้รบอยกู่ ับ

ความอดอยาก ความหวิ โหยของประชาชนภายในชาติ

102

15. จัดทำและนำเสนอแผนปฏิบัติกำร “ยุทธศำสตร์กำรขับเคล่ือนปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพยี งสูก่ ำรปฏบิ ตั ิ”

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นที่ 1

วทิ ยำกรหลัก
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ พิเชฐ โสวทิ ยสกุล ต้าแหน่งทป่ี รึกษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน

1) วัตถุประสงค์
เพอ่ื ให้มแี นวทางและเปา้ หมายในการขบั เคลือ่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสอดคล้องกบั

บรบิ ทพน้ื ท่ี

2) ประเด็นเนื้อหำ
๑. ศาสตรพ์ ระราชา วิเคราะห์บริบทพ้นื ท่ี
๒. กา้ หนดวธิ กี ารแก้ไขปญั หาในแตล่ ะพ้นื ท่ี
3. กา้ หนดยุทธวิธีใช้กลยุทธ์ในการสร้างการเรียนรู้ ใช้ฐานการเรยี นรูเ้ ป็นเครอื่ งมอื
4. กา้ หนดยุทธศาสตร์การขบั เคล่อื นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏิบตั ิในสถานทจ่ี รงิ

3) ระยะเวลำ
2 ชว่ั โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนคิ
4.1 ฝกึ ปฏบิ ตั ิการจัดท้ายทุ ธศาสตรอ์ ย่างงา่ ย
4.2 นา้ เสนอ และแลกเปล่ียนเรยี นรู้

5) วสั ดุ / อุปกรณ์
5.1 คอมพิวเตอร์จอภาพ และเคร่อื งฉาย
5.2 คลปิ วดิ ีโอ
5.3 ฟลิปชารท์
5.4 ปากกาเคมี

6) ขนั้ ตอน / วธิ กี ำร
1. วิทยากรบรรยายเร่อื งการจดั ทา้ “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สูก่ ารปฏบิ ตั ิ”
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการจัดท้ายุทธศาสตร์อย่างง่าย โดย

แบ่งกลุ่มตามรายจังหวดั
3. ตวั แทนกลุ่มน้าเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ

และรับฟงั ข้อเสนอแนะจากวทิ ยากร แบ่งเป็น 11 กลุ่ม ซึ่งมกี ารจดั ทา้ และเสนอแผนยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือน
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติ ดงั นี้

103

กลุ่มท่ี 1 ประกอบดว้ ย 4 จังหวดั (ล้าพนู , พจิ ติ ร, รอ้ ยเอ็ด)

ยุทธการระดับพ้นื ท่ี

1.ใคร 1.ชมุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตในระดับต้าบล (CLM) และครัวเรอื นต้นแบบการพัฒนา

คณุ ภาพชีวติ (HLM) ในพืน้ ท่ีเป้าหมาย

2.ครอบครัว

3.ชมุ ชน

2.ท้าอะไร ปลูกผกั ปลอดสารพษิ ส่งตลาดทกุ ระดับ

3.ทา้ ทไ่ี หน เร่มิ ตน้ ที่บา้ นของเราก่อน (พ้นื ที่ตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ในระดบั ตา้ บล, ระดบั ครวั เรือน)

4.ท้าอย่างไร 1.พฒั นาโมเดลความสา้ เรจ็ ของพน้ื ที่ตน้ แบบ ท้งั ระดับ CLM และ HLM

2.ให้ความรพู้ ฒั นาคนในชมุ ชน

3.จัดการตลาด สนับสนนุ สง่ เสรมิ ตลาดชุมชน และรปู แบบสหกรณ์ เช่น ช็อปดีมคี ืน

5.ทา้ กับใคร กลุ่มชุมชน และ 7 ภาคีเครือข่าย

6.ท้าไมต้องท้า 1.ส่งเสริมกระต้นุ รายได้ประชาชน

2.สรา้ งงานสรา้ งอาชพี

3.สง่ เสรมิ ใหค้ นกลับถน่ิ ฐาน

7.ทา้ แลว้ ไดอ้ ะไร มเี ครอื ข่าย มีความเข้มแขง็ มีพืน้ ทีต่ ้นแบบส่งเสริมกระบวนการเรียนรใู้ หค้ นในชุมชน ชุมชนมี

คณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี และขยายผลไปยังชมุ ชนอ่นื

ยทุ ธวธิ ี สรา้ งกลุม่ ปลกู ผกั ปลอดสารพิษ

กลุม่ ท่ี 2 อา้ เภอบา้ นด่านลานหอย จังหวดั สุโขทยั

ยุทธการระดับพน้ื ที่

1.ใคร แกนหลกั คอื 7 แกนน้า CLM, รอง คือ HLM ผลมงุ่ หวัง ชาวบ้านอ้าเภอบ้านดา่ นลานหอย

2.ท้าอะไร เอาม้ือสามัคคี และรวบรวมของดี วิชาความรู้และคืนขอ้ มูล ไปยังครูพาท้าตามความถนดั

3.ทา้ ทีไ่ หน พ้นื ทต่ี น้ แบบ

4.ทา้ อยา่ งไร ทา้ คันนาทองคา้

5.ท้ากับใคร กลมุ่ ท่ตี ั้งไว้ จา้ นวน 3 กลุม่ และสว่ นราชการ (บวร)

6.ท้าไมตอ้ งท้า แก้ไขปญั หาความแห้งแลง้ และความยากจน

7.ทา้ แล้วได้อะไร คนื ความช่มุ ชื้นใหพ้ น้ื ดินและจิตใจ (มอี ยู่ มีกิน มรี ม่ เยน็ )

ยุทธวธิ ี ท้าใหด้ ู อยูใ่ ห้เห็น เนน้ ลงมือ

หมายความวา่ ทา้ ใหด้ ู คอื เกิดผลสา้ เรจ็ , อยู่ให้เห็น คอื เขาจะเข้าหา และเน้นลงมอื คือพากนั ทา้

PR ประชาสัมพนั ธ์ ผ่านเวทตี ่างๆ เช่น ประชมุ ประจ้าเดือนก้านนั ผู้ใหญ่บ้าน, Line, Facebook

เปน็ ตน้

กลมุ่ ที่ 3 ประกอบดว้ ย 4 จังหวดั (จ.นครนายก, จ.ปทมุ ธานี, จ.ราชบุรี, จ.นครสวรรค)์

ยุทธการระดับพน้ื ท่ี
1.ใคร อ้าเภอรวมมติ ร ทเ่ี ป็นศนู ย์ฝึก CLM

104

2.ทา้ อะไร โครงการสร้างงานสรา้ งรายไดจ้ ากภูมิปัญญางานจักสานและงานหตั ถกรรม
3.ทา้ ทีไ่ หน ศนู ย์ CLM เปน็ ที่ปฏบิ ตั กิ ารหลกั
4.ทา้ อยา่ งไร
ข้นั ตอนแรก ค้นหาฐานทรพั ยากรของโครงการ (คน, องคค์ วามร,ู้ วตั ถุดบิ )
5.ทา้ กบั ใคร ขนั้ ตอนทีส่ อง ฝึกอบรมวชิ าหัตถกรรมจักสาน (ครู พระ ผู้สงู อายุ ผู้ช้านาญวชิ าชีพจักสาน)
ข้ันตอนที่สาม ลงมือปฏิบตั ิ ไดแ้ ก่ 1) การบริหารจัดการวตั ถุดบิ 2) สรา้ งปัจจัยการผลิต
6.ทา้ ไมตอ้ งทา้ 3) สง่ เสริมการปลกู ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 4) กระจายงานใหผ้ ู้ดอ้ ยโอกาส เช่น ผู้สงู อายุ
7.ทา้ แล้วได้อะไร ผู้พกิ าร คนยากจน คนตกงาน 5) อนรุ ักษ์และคดั เลือกสายพันธุไ์ ผ่ และ 6) ปลูกป่าทดแทน

ยุทธวิธี 1)ภาครัฐ ไดแ้ ก่ พฒั นาชมุ ชน, ท้องถ่นิ , อบต., หมบู่ า้ น, โรงเรียน, วดั , เกษตรอ้าเภอ, ป่าไม้
2)ภาคเอกชน ได้แก่ ตลาด ชุมชน ร้านค้า สถานท่ีทอ่ งเทย่ี ว
3)ภาควิชาการ ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลัย สถาบันวิจยั ในการสนับสนุนรปู แบบ นวตั กรรม เครอื่ งจกั สาน

แก้ไขปญั หาวิกฤตตา่ งๆ เช่น ภยั แล้ง น้าท่วม ปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม ปญั หาการตกงาน ปัญหาความ
ขัดแยง้ ในพื้นที่ ปญั หาเจ็บปว่ ยโรคระบาด

ชุมชนท้องถิ่นเขม้ แขง็ ไดแ้ ก่ พัฒนาทกั ษะแรงงานฝมี อื สร้างงานสร้างอาชพี การทา้ งานเปน็ ทีม
ความสามัคคี มองเห็นประโยชนร์ ่วมกัน แกไ้ ขปัญหาหน้ีสนิ การฟ้นื ฟูทรัพยากร ป่าไม้ และ
ส่งิ แวดล้อม

ร้เู ขา รู้เรา รสู้ ถานการณ์ รู้ฟ้าดนิ

ชาวบา้ น ผสู้ งู อายุ สอ่ื สาร
ปราชญช์ มุ ชน ตลาดออนไลน์
ครวั เรือน
HLM การท่องเทยี่ วชมุ ชน

CLM
อ.รวมมติ ร

กลุ่มที่ 4 อ้าเภอศรีนคร จงั หวัดสุโขทัย

ยุทธการระดับพ้ืนที่

1.ใคร CLM อ.ศรนี คร, นกั พฒั นาพืน้ ท่ีตน้ แบบฯ, ประชาชนในชมุ ชน

2.ทา้ อะไร พัฒนาพืน้ ท่ีเรยี นรชู้ มุ ชนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ระดับต้าบล ระดบั ครัวเรอื น

3.ท้าที่ไหน แปลงพ้ืนทเี่ รียนรู้ชุมชนตน้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ระดับต้าบล ของ อ้าเภอศรีนคร

4.ทา้ อย่างไร กระบวนการปฏิบัติ

5.ท้ากับใคร คนในครอบครวั , หนว่ ยงานรฐั , ผู้นา้ ชุมชน

6.ท้าไมตอ้ งท้า เพอื่ ให้ทกุ มคี วามม่นั คงทางอาหารและการดา้ รงชีวิตอย่างมคี วามสุข

7.ท้าแลว้ ไดอ้ ะไร 1) ต่อครอบครวั ได้สุขภาพที่ดี มคี วามสุข มกี ินมใี ช้

2) ต่อสงั คม ได้เครอื ขา่ ย แลกเปลี่ยนเรียนรซู้ ึง่ กนั และกัน ไดค้ วามสามัคคี

3) ต่อประเทศ ท้าใหป้ ระเทศมีความมนั่ คง มง่ั ค่งั ยง่ั ยนื

ยุทธวิธี ท้านอ้ ย ได้มาก (ท้านาแบบมีคนั นาทองค้า แปลงตน้ แบบตามหลักทฤษฎีใหม่)

105

กลุม่ ท่ี 5 อา้ เภอกงไกรลาศ จงั หวัดสุโขทยั

ยุทธการระดับพนื้ ท่ี

1.ใคร ชมุ ชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในระดับต้าบล (CLM) อา้ เภอกงไกรลาศ จังหวดั สโุ ขทยั

2.ทา้ อะไร 1.วางแผนจดั การพัฒนาในพน้ื ท่ตี ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดบั ต้าบล (CLM) อ้าเภอกง

ไกรลาศ จงั หวดั สโุ ขทัย

2.พัฒนาทตี่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดับตา้ บล (CLM) อา้ เภอกงไกรลาศ จังหวดั สุโขทยั

3.ท้าที่ไหน แปลงพน้ื ท่ีของชมุ ชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในระดบั ต้าบล (CLM) อา้ เภอกงไกรลาศ

จังหวัดสุโขทัย ท่เี ข้าร่วมโครงการ

4.ท้าอย่างไร 1.จัดเวทรี ะดมความคิดระดบั ตา้ บล CLM ระดบั ครวั เรือน HLM นักพฒั นาพ้นื ที่ตน้ แบบ และ

7 ภาคีเครอื ข่าย เพื่อวางแผนพัฒนาขบั เคล่อื นงานในระดบั พ้นื ที่

2.ถา่ ยทอดความรสู้ ชู่ ุมชน

5.ท้ากบั ใคร 1)ภาครัฐ ไดแ้ ก่ พฒั นาชมุ ชน, ทอ้ งถิน่ , อบต., หมบู่ า้ น, โรงเรียน, วัด, เกษตรอา้ เภอ, ปา่ ไม้

2)ภาคเอกชน ไดแ้ ก่ ตลาด ชมุ ชน รา้ นคา้ สถานท่ีท่องเที่ยว

3) ภาควิชาการ ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลัย สถาบนั วิจัย

6.ทา้ ไมตอ้ งทา้ แกไ้ ขปญั หาความยากจน ปัญหาภัยแลง้ และน้าท่วม โรคระบาด คา่ ครองชีพ

7.ท้าแล้วได้อะไร คุณภาพชวี ิตของประชาชนและชุมชน

กลุ่มที่ 6 ประกอบด้วย 2 จังหวัด (จ.ล้าปาง อ.เมืองล้าปาง, จ.สโุ ขทัย อ.ทงุ่ เสลี่ยม,

จ.สระบรุ ี อ.แก่งคอย)

ยทุ ธการระดับพ้ืนที่

1.ใคร ชมุ ชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ในระดับต้าบล (CLM) และครวั เรือนตน้ แบบการพฒั นา

คณุ ภาพชวี ิต (HLM) ในพนื้ ท่เี ปา้ หมายเข้าร่วมโครงการ, ภาครัฐ, ภาคเอกชน

2.ท้าอะไร ใหค้ วามร,ู้ การฝึกอบรม, พฒั นาพ้ืนที่ต้นแบบ, ขยายเครอื ขา่ ย, ปลูกจิตส้านกึ ให้คนในพน้ื ที่

3.ท้าท่ีไหน แปลงพื้นทขี่ องชุมชนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในระดบั ต้าบล (CLM) และแปลงพืน้ ทข่ี อง

ครัวเรือนต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (HLM) ท่เี ข้ารว่ มโครงการ

4.ทา้ อยา่ งไร 1.วางแผนการขับเคลอ่ื นโครงการในพน้ื ท่ีเป้าหมาย

2.ปฏิบัตงิ านตามแนวทางโครงการ ในระดบั จงั หวดั อา้ เภอ ต้าบล และครัวเรือน

3.ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนในพนื้ ท่ี

5.ท้ากบั ใคร ประชาชนที่เกยี่ วข้อง, 7 ภาคีเครือขา่ ย ไดแ้ ก่ ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคศาสนา ภาควิชาการ ภาค

ประชาสังคม ภาคประชาชน และภาคสอ่ื มวลชน

6.ทา้ ไมตอ้ งท้า เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม

7.ทา้ แล้วได้อะไร ลดปญั หาด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ นสง่ิ แวดล้อม

เพื่อไปสกู่ ารสรา้ งความม่ันคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน

106

กล่มุ ท่ี 7 อ้าเภอศรีส้าโรง จังหวัดสุโขทัย

ยุทธการระดับพืน้ ท่ี

1.ใคร สมาชกิ ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตในระดบั ตา้ บล (CLM) ในพนื้ ที่เป้าหมายเข้ารว่ ม

โครงการ, นกั พัฒนาพน้ื ที่ตน้ แบบฯ

2.ท้าอะไร 1.พฒั นาพน้ื ที่ตน้ แบบฯ

2.ขยายเครอื ขา่ ย เชน่ มีการสรา้ งช่องทางเครอื ขา่ ยทางกลุม่ ไลน์, จัดกจิ กรรมเอามื้อสามัคคี

3.จัดทา้ สอ่ื ประชาสัมพนั ธ์

3.ทา้ ทีไ่ หน แปลงพนื้ ทข่ี องชุมชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตในระดบั ต้าบล (CLM)

4.ทา้ อย่างไร 1.วางแผนการขบั เคลือ่ นโครงการในพนื้ ทเ่ี ป้าหมาย

2.ปฏบิ ัติงานตามแนวทางโครงการ ในระดบั จังหวัด อา้ เภอ ต้าบล และครัวเรือน

3.ใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชนในพื้นท่ี

5.ท้ากับใคร 1. ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (HLM) ในพื้นที่เปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการ

2. ประชาชนทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

3. 7 ภาคเี ครือขา่ ย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคศาสนา ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม ภาค

ประชาชน และภาคสื่อมวลชน

6.ท้าไมต้องทา้ เพอื่ แกไ้ ขปญั หาความแหง้ แล้ง และความยากจน

7.ทา้ แลว้ ได้อะไร ชุมชนมีความมั่นคง มงั่ ค่ัง และย่ังยืน

ยทุ ธวธิ ี สมาชิก CLM ศรีสาโรง โปสเตอร์ (สอื่ ) Line กลมุ่ เครอื ขา่ ย , เพจ FB โคกหนองนา ศรี

สาโรง

หาเครือขา่ ย คนสนใจ เอามอื้ สามคั คี

แกนนา้ + เครอื ขา่ ย CLM

1.ใคร กลุ่มท่ี 8 จงั หวัดชลบุรี
2.ท้าอะไร
ยุทธการระดับพื้นท่ี “เพราะเราคือแก่น”
3.ทา้ ที่ไหน ชมุ ชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดับตา้ บล (CLM) ในพนื้ ที่เปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการ
4.ท้าอยา่ งไร 1) พฒั นาพน้ื ท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดับตา้ บล (CLM) จังหวดั ชลบุรี
2) จดั การความรู้
3) การจดั การส่อื สารสงั คม
พ้นื ที่ของชุมชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ในระดบั ต้าบล (CLM) ท่เี ข้าร่วมโครงการ
1) เจา้ ของแปลง CLM : ฝึกอบรม ฝกึ ปฏิบตั ิ ลงมือท้าจริง ถา่ ยทอด/เลา่ สู่กันฟัง
2) คนในครอบครวั : เรยี นรู้ ทา้ จรงิ /ปฏบิ ัติ เล่าสู่กันฟัง
3) ชมุ ชน/หมู่บ้าน : เรียนรู้ ปฏิบัติ ถา่ ยทอด
4) ตา้ บล : เรียนรู้ ศกึ ษาดูงาน ลงมือปฏิบัติ เผยแพร่ ส่งเสรมิ ขยายผล
5) อา้ เภอ : เรยี นรู้/ลงมอื ปฏบิ ัติ เผยแพร่ สง่ เสริมงบสนบั สนุน

107

5.ท้ากบั ใคร 1) คนในครอบครัว
2) ชุมชน/หมูบ่ า้ น
3) คนทีม่ ีส่วนเกย่ี วข้อง 13 ตา้ บล
4) คนที่มสี ่วนเกย่ี วขอ้ ง 11 อา้ เภอ
5) 7 ภาคีเครอื ข่าย

6.ทา้ ไมตอ้ งทา้ เพอื่ การพฒั นาคนให้มคี วามรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สามารถนาไปปฏบิ ตั ิและประยุกตใ์ ชใ้ นพื้นที่
ของตนเองได้

7.ทา้ แลว้ ไดอ้ ะไร มีความม่นั คง มัง่ ค่ัง ย่งั ยืน สง่ ผลใหป้ ระชาชนมีความสุข ความรักสามัคคี แก้ไขปัญหาดา้ นต่างๆ
ทั้งดา้ นสง่ิ แวดล้อม สงั คม เศรษฐกิจ การเมือง

ยุทธวธิ ี 1.การจัดการความรู้ : ท้าโครงการในพื้นทใี่ หส้ ้าเรจ็ , จดั การอบรมในศูนย์เรียนร,ู้ เผยแพรส่ ่ือสาร
ทางโซเชยี ลมีเดียทุกชอ่ งทาง, จัดบอร์ดเผยแพรต่ ามหน่วยงานตา่ งๆ ภาครฐั , จัดใหม้ กี ารศกึ ษาดู
งานอย่างต่อเนอ่ื ง
2.การจัดการการสอื่ สารสังคม : เช่ือมโยงหนว่ ยงานในชุมชน ไดแ้ ก่ บา้ น วัด โรงเรียน

กลุม่ ท่ี 9 จังหวดั นครศรีธรรมราช

ยุทธการระดับพ้นื ท่ี

1.ใคร ชมุ ชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ในระดับตา้ บล (CLM) จังหวดั นครศรธี รรมราช

2.ทา้ อะไร 1. พัฒนาพน้ื ท่ีตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตในระดบั ตา้ บล (CLM) จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

3.ทา้ ทไี่ หน แปลงพน้ื ที่ของชุมชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ในระดบั ต้าบล (CLM) อ้าเภอกงไกรลาศ

จงั หวัดสุโขทัย ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ จา้ นวน 12 ตา้ บล ของอ้าเภอทุง่ สง จงั หวดั นครศรีธรรมราช

4.ทา้ อย่างไร 1.สรา้ งแหลง่ เรียนรู้ พืน้ ท่ีต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ในระดับต้าบล

2. ถ่ายทอดความรสู้ ู่ชมุ ชน

3. สรา้ งภาคเี ครือข่าย เพ่อื วางแผนพฒั นาขับเคล่ือนงานในระดบั พนื้ ท่ี

5.ท้ากบั ใคร 7 ภาคเี ครอื ข่าย ไดแ้ ก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคศาสนา ภาควชิ าการ ภาคประชาสงั คม ภาค

ประชาชน และภาคสอื่ มวลชน

6.ท้าไมตอ้ งท้า สบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอด

7.ทา้ แล้วได้อะไร มัน่ คง มั่งคง่ั ยง่ั ยืน ส่คู วามสุข

1.ใคร กล่มุ ท่ี 10 จงั หวัดยโสธร
2.ท้าอะไร
ยทุ ธการระดับพ้ืนที่
3.ท้าทีไ่ หน สมาชกิ ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตในระดบั ต้าบล (CLM) ในพื้นที่เปา้ หมายเข้ารว่ ม
โครงการ, นกั พฒั นาพ้ืนทีต่ น้ แบบฯ
1.วางแผนงานและพฒั นาพื้นทตี่ น้ แบบฯ ให้เป็นศูนย์การเรยี นรู้ชุมชน
2.ขยายเครือขา่ ย เช่น เชญิ ชวนผู้สนใจในพ้ืนที่มารว่ มกิจกรรมเอามอ้ื สามคั คี
3.จัดท้าสอื่ ประชาสมั พันธ์
แปลงพนื้ ท่ีของชมุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตในระดับตา้ บล (CLM)

108

4.ท้าอยา่ งไร 1.วางแผนการขับเคล่อื นโครงการในพนื้ ทเ่ี ปา้ หมาย
2.ปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางโครงการ
3.ใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชนในพืน้ ท่ี
4.สร้างเครือขา่ ยภาคใี นพนื้ ท่ี

5.ทา้ กับใคร 1. ครัวเรือนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (HLM) ในพ้นื ทเ่ี ป้าหมายเข้ารว่ มโครงการ
2. ประชาชนที่เกีย่ วขอ้ ง
3. 7 ภาคเี ครอื ขา่ ย ไดแ้ ก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคศาสนา ภาควชิ าการ ภาคประชาสงั คม ภาค
ประชาชน และภาคสือ่ มวลชน

6.ท้าไมต้องทา้ เพอ่ื แก้ไขปัญหาความแห้งแลง้ และความยากจน
7.ท้าแล้วได้อะไร ชุมชนมคี วามมัน่ คง มัง่ ค่งั และยั่งยืน
ยุทธวธิ ี ยทุ ธศาสตร์ ซีฮู (เจาะใจ)

ต.สงยาง
ต.ผือฮี ต.คเู มือง

ต.มหาชนะ ต.หวั เมอื ง

ต.พระเสาร์

ต.โนนทราย
ต.มว่ ง

ต.บงึ แก ต.บากเรอื

1.ใคร กลุ่มท่ี 11 อา้ เภอครี มี าศ จงั หวดั สโุ ขทยั
2.ท้าอะไร
3.ทา้ ที่ไหน ยุทธการระดบั พ้นื ที่
4.ท้าอย่างไร
ชุมชนต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ในระดบั ตา้ บล (CLM) อา้ เภอครี ีมาศ จังหวดั สโุ ขทยั
5.ท้ากับใคร
1. พฒั นาพน้ื ที่ตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ในระดับต้าบล (CLM) จงั หวัดนครศรีธรรมราช
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล
2. ทา้ ในส่งิ ทต่ี นเองมคี วามรู้ มีความถนดั และศกึ ษาความรู้เพิม่

1.แปลงพน้ื ทขี่ องชมุ ชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ในระดบั ตา้ บล (CLM) อา้ เภอกงไกรลาศ
จงั หวดั สุโขทัย ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ อา้ เภอครี มี าศ จังหวดั สุโขทยั
2.ในพนื้ ท่ชี ุมชน

1.ทา้ อย่างมรี ะบบ มีข้ันตอน ตามแนวทางโครงการ
2.มกี ารวางแผน ออกแบบพืน้ ที่ตามภูมสิ งั คม
3.ศกึ ษาพนื้ ที่
4.พัฒนาพน้ื ท่ีต้นแบบฯ ให้เหมาะสมต่อการเปน็ แหลง่ เรียนรูข้ องชุมชนในระดับตา้ บล

ทาในเครอื ข่าย CLM อาเภอคีรีมาศ จังหวัดสโุ ขทัย และเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยในระดับจงั หวดั

109

6.ทา้ ไมตอ้ งท้า แกว้ กิ ฤตจากภัยธรรมชาติ เชน่ ภัยแล้ง น้าทว่ ม ปัญหาดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดล้อม
7.ทา้ แลว้ ไดอ้ ะไร 1.รบั รปู้ ัญหาร่วมกันและแกไ้ ขปัญหา

2.สรา้ งภูมิคุ้มกันใหก้ บั ตนเองและสงั คม
3.มแี หลง่ เรยี นรใู้ หก้ บั ผทู้ ่ีต้องการศึกษา/ดูงาน
4.ทกุ คนมีความสขุ อยูอ่ ย่างพอเพียง มัง่ ค่ัง ย่งั ยนื ตามหลักทฤษฎบี นั ได 9 ขั้น

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
ยุทธศาสตร์การขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ คือ การกา้ หนดเป้าหมายใน

การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยที่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาใหม่ในการพัฒนา
มนุษย์ ให้เปลี่ยน Mindset ใหม่ จากมุ่งแข่งขัน มาเป็นการมุ่งสร้างสรรค์ และแบ่งปัน หัวใจส้าคัญ คือ พระ
ราชด้ารัส “Our Loss is our Gain” ย่ิงให้ไป ย่ิงได้มา ดังนั้น การพัฒนาต้องเป็นไปเพื่อสร้างขบวนการ “จิต
อาสา” พร้อมน้าศาสตรพ์ ระราชาไปแกไ้ ขปัญหา ซ่ึงการขบั เคลอื่ นปรัชญาใหม่ ทยี่ ่งั ยืน คือ การก้าวไปดักหน้า
Technology 5.0 ต้องเอื้อต่อการบูรณาการและการสร้างส่ิงใหม่ในระบบโครงสร้าง ต้องมีภารกิจบ่มเพาะ
ศาสตร์พระราชาให้เขา้ ใจอย่างลึกซง้ึ ตอ้ งน้าศาสตร์พระราชาไปใช้ในการพฒั นาประเทศ ต้องมยี ทุ ธศาสตร์การ
สือ่ สาร มีการวดั ผลใหมด่ ้วยการวดั ผลทเ่ี ปา้ หมาย

เม่ือก้าหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายแล้ว สิ่งต่อไปที่จะต้องก้าหนด คือ ยุทธวิธี คือ วิธีการ
ขับเคล่ือนงาน โดยยทุ ธวธิ กี ารด้าเนินงาน โคก หนอง นา โมเดล มุ่งเน้นการสืบสานศาสตรพ์ ระราชา รักษาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมด้วยการฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้า ป่า นิเวศ

110

วัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เพอื่ มุ่งสูก่ ารผลิตใหม่ ระบบสหกรณ์ เขตเศรษฐกิจพเิ ศษแบบพอเพยี ง และ
เชือ่ มโยงธุรกิจจากขัน้ พืน้ ฐานสู่ขน้ั กา้ วหน้าเพ่ือยกระดบั เศรษฐกิจฐานรากชมุ ชน

จากการฝกึ ปฏบิ ตั แิ ละน้าเสนอการจัดทา้ ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สูก่ ารปฏบิ ัติ สรปุ ไดด้ งั นี้

ท่ี ยุทธวธิ ี
1 กำรประสำนงำนภำคเี ครือขำ่ ย

1. จัดตงั้ ศนู ยป์ ระสานงานการขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัติ ตั้งแต่ระดับ
ชมุ ชน ต้าบล อา้ เภอ และจังหวดั
2. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 7 ภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคศาสนา ภาคเอกชน ภาค
สื่อสารมวลชน ภาควชิ าการ ภาคประชาชน และภาคประชาสงั คม
ท่ี ยทุ ธวธิ ี
3. จัดกจิ กรรมเอาม้ือสามัคคี ระดับต้าบล อา้ เภอ และจังหวดั
2 กำรบรู ณำกำรแผนงำนและยทุ ธศำสตร์
1. การด้าเนนิ งานยึดหลักการทา้ งานตามศาสตรพ์ ระราขา ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
2. เปา้ หมายเปน็ การแกไ้ ขปัญหาส่งิ แวดล้อม เศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง
3. การพัฒนาคุณภาพชวี ิตประยุกตต์ ามหลักทฤษฎีใหม่
4. การพฒั นาและยกระดบั สู่การท่องเท่ียวมงุ่ สู่ความม่นั คง มัง่ คงั่ และย่ังยืน
5. มงุ่ แก้ไขปัญหาความยากจน
3 กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผล
1. ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการศูนย์เรยี นรู้ระดบั ตา้ บล (Community Lab Model)
4 กำรจดั กำรควำมรู้
1. มีการจดบนั ทกึ องคค์ วามร้จู ากการปฏบิ ัติ
2. มีการจัดการความรู้ โดยคณะกรรมการศูนย์เรยี นรรู้ ะดบั ต้าบล (Community Lab Model)

111

3. ทมี วทิ ยากร (นักพฒั นาพื้นทต่ี ้นแบบ) และปราชญ์ชมุ ชน ท้าหนา้ ทีจ่ ดั การความรู้
5 กำรสอ่ื สำรสงั คม

1. มีการสรา้ งการรับรู้ผา่ นช่องทาง Youtube, Facebookและสื่อทอ้ งถน่ิ
2. จดั งานอเี วนท์ต่าง ๆ เพ่อื ประชาสัมพนั ธผ์ ลการดา้ เนินงาน
3. ผู้นา้ ชุมชนมีบทบาทสา้ คญั ในการสรา้ งการรับรสู้ สู่ าธารณชน
4. ประชาสมั พันธโ์ ดยใช้เครือข่ายประชาสมั พนั ธจ์ งั หวดั
5.ถ่ายทอดความรสู้ เู่ ครอื ข่าย โดยผ่าน 9 ฐานการเรยี นรู้
6. สรา้ งภาพลักษณ์ใหน้ า่ สนใจ และท้าให้เปน็ ท่ีรู้จกั

ดังนั้น จากการฝึกปฏิบัติและน้าเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏิบตั ิ ท้าให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ ได้รว่ มกนั กา้ หนดยทุ ธศาสตร์และยุทธวธิ ีการขับเคลอ่ื นหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงที่เหมาะสมกับแต่ละบริบทพน้ื ที่ครอบคลุม ทง้ั 5 ยุทธวธิ ที ่จี ะสง่ ผลใหก้ ารขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏิบัติประสบผลส้าเร็จได้ และได้วิเคราะห์จุดตายของโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือจะประโยชน์ต่อการก้าหนดแนว
ทางการด้าเนินโครงการต่อไป

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 2

วิทยำกรหลกั
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พิเชฐ โสวิทยสกุล ต้าแหนง่ ที่ปรึกษาอธิบดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

1) วตั ถปุ ระสงค์
เพอื่ ให้มีแนวทางและเปา้ หมายในการขบั เคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งที่สอดคลอ้ งกบั

บรบิ ทพ้ืนที่
2) ประเด็นเนอ้ื หำ

๑. ศาสตรพ์ ระราชา วิเคราะห์บรบิ ทพ้นื ที่
๒. ก้าหนดวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาในแตล่ ะพืน้ ท่ี
3. กา้ หนดยทุ ธวธิ ใี ชก้ ลยุทธใ์ นการสรา้ งการเรยี นรู้ ใช้ฐานการเรยี นรูเ้ ป็นเคร่อื งมอื
4. กา้ หนดยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัตใิ นสถานทีจ่ ริง
3) ระยะเวลำ
2 ช่ัวโมง
4) วธิ ีกำร/เทคนคิ
4.1 ฝกึ ปฏบิ ตั ิการจดั ท้ายุทธศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย
4.2 นา้ เสนอ และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

112

5) วัสดุ / อปุ กรณ์

5.1 คอมพวิ เตอร์จอภาพ และเครอ่ื งฉาย

5.2 คลิปวดิ ีโอ

5.3 ฟลปิ ชารท์

5.4 ปากกาเคมี

6) ขนั้ ตอน / วิธีกำร

1. วทิ ยากรบรรยายเรอ่ื งการจัดทา้ “ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ส่กู ารปฏิบตั ิ”

2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการจัดท้ายุทธศาสตร์อย่างง่าย โดย

แบง่ กลุ่มตามรายจังหวดั

3. ตัวแทนกลุ่มนา้ เสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบัติ

และรับฟังข้อเสนอแนะจากวทิ ยากร แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามรายจังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี กาฬสินธ์ุ และกระบี่

ซงึ่ มีการจดั ท้าและเสนอแผนยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ ดังน้ี

3.1 กลุ่มที่ 1 จงั หวดั กาญจนบรุ ี

1.ใคร ชมุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ในระดับตาบล (CLM) และครวั เรอื นตน้ แบบการพฒั นา

คุณภาพชีวิต (HLM) ของจงั หวัดกาญจนบุรี

2.ทาอะไร พฒั นาพนื้ ที่ตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา

โมเดล ระดับตาบล CLM และระดับครัวเรือน HLM ของจงั หวัดกาญจนบรุ ี

3.ทาทไ่ี หน แปลงพ้ืนทตี่ น้ แบบ ระดับตาบล CLM และระดบั ครวั เรือน HLM ของจงั หวัดกาญจนบรุ ี

4.ทาอย่างไร ทาตามแบบแผนทฤษฎใี หม่ ศาสตรพ์ ระราชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

5.ทากบั ใคร 7 ภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคศาสนา ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม ภาค

ประชาชน และภาคสอื่ มวลชน

6.ทาไมต้องทา -แกไ้ ขปญั หาความแหง้ แล้ง ความยากจน

-สร้างรากฐานในชุมชนให้เขม้ แขง็ สามารถพง่ึ ตนเองได้

7.ทาแล้วได้อะไร มคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ี

ยุทธวธิ ี 1.การประสานงานภาคีเครือข่าย : มีศนู ยป์ ระสานงานระดบั จังหวดั และตั้งกลมุ่ เครือขา่ ย

ช่องทางประสานงานระหว่างกนั

2.บูรณาการแผนงานและยทุ ธศาสตร์ : ตกลงและกาหนดแผนการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ร่วมกนั

ระหวา่ ง 7 ภาคเี ครอื ขา่ ยและพืน้ ทีต่ ้นแบบฯ

3.การติดตามและประเมนิ ผล : ตั้งคณะทางาน จงั หวัดและอาเภอ ติดตามและประเมินผลการ

ดาเนนิ งานโครงการ ก่อน ระหวา่ ง และหลังดาเนนิ การ

4.การจัดการความรู้ : จดั เวทีถอดองค์ความรทู้ ไี่ ด้ขับเคลอื่ นกิจกรรมโครงการทุกระดบั จงั หวัด

อาเภอ ตาบล ครัวเรือน

5.การสือ่ สารสงั คม : จัดทาส่อื ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ผลงานกิจกรรมท่ีดาเนินการ ผ่านช่องทาง

สื่อมวลชนตา่ งๆ

113

3.2 กลมุ่ ที่ 2 จงั หวัดกาฬสินธ์ุ

1.ใคร ประชาชนจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ เปรียบเป็นไขไ่ ก่ โดย ไขแ่ ดง คือ CLM, HLM และนกั พัฒนาพื้นที่

ตน้ แบบฯ และไขข่ าว คอื ครัวเรอื น/ชมุ ชนในพน้ื ท่ี ซ่ึงเป็นการพฒั นาพนื้ ท่ตี ้นแบบ และขยายผล

ไปยงั ชุมชนครวั เรือนอ่ืนๆ ในพน้ื ที่

2.ทา้ อะไร รว่ มพฒั นาพนื้ ทีต่ ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา

โมเดล ระดับต้าบล CLM และระดบั ครวั เรอื น HLM ของจงั หวดั กาฬสินธุ์

3.ท้าทไ่ี หน แปลงพนื้ ทต่ี ้นแบบ ระดับต้าบล CLM และระดบั ครวั เรอื น HLM ของจังหวัดกาฬสินธ์ุ

4.ท้าอยา่ งไร 1) ประธาน CLM รุ่น 2 ประสานพฒั นาการจงั หวดั และพฒั นาการอา้ เภอ เพื่อจดั เวทพี ดู คยุ

ขบั เคลือ่ นการเช่อื มโยงเครือขา่ ยการพัฒนาพ้ืนท่ีฯ

2) ประสานผนู้ ้าชุมชน ครพู าท้า นักพัฒนาพืน้ ท่ีตน้ แบบ 7 ภาคีเครือขา่ ยร่วมกันวางแผนการ

พัฒนาพน้ื ท่ีตน้ แบบ การบูรณาการงานร่วมกนั

5.ทา้ กบั ใคร ไขแ่ ดง คือ CLM, HLM และนักพฒั นาพน้ื ทีต่ น้ แบบฯ

ไขข่ าว คือ ครวั เรือน/ชมุ ชนในพืน้ ท่ี

6.ทา้ ไมตอ้ งทา้ 1) สร้างการมีสว่ นร่วมของชุมชน

2) พฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชนในพ้ืนท่ี

7.ทา้ แล้วไดอ้ ะไร พนื้ ทตี่ ้นแบบที่รองรับภัยพบิ ัติ สามารถพง่ึ ตนเองได้ แก้ไขปญั หาความแห้งแล้ง

ยุทธวธิ ี ชอ่ื ยุทธวิธี ทา้ น้อยไดม้ าก

1.การประสานงานภาคีเครือข่าย : มีศนู ยป์ ระสานงานระดบั จังหวดั และตงั้ กลมุ่ เครอื ข่าย

ช่องทางประสานงานระหว่างกัน

2.บรู ณาการแผนงานและยุทธศาสตร์ : ตกลงและก้าหนดแผนการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ร่วมกัน

ระหว่าง 7 ภาคีเครือข่ายและพื้นท่ตี ้นแบบฯ

3.การติดตามและประเมินผล : ต้ังคณะท้างาน จงั หวัดและอา้ เภอ ติดตามและประเมนิ ผลการ

ด้าเนินงานโครงการ กอ่ น ระหว่าง และหลงั ด้าเนนิ การ

4.การจัดการความรู้ : จดั เวทถี อดองคค์ วามรทู้ ี่ได้ขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการทุกระดบั จังหวัด

อ้าเภอ ตา้ บล ครัวเรือน

5.การส่ือสารสังคม : จดั ท้าส่อื ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ผลงานกิจกรรมที่ด้าเนินการ ผา่ นชอ่ งทาง

สื่อมวลชนต่างๆ

1.ใคร 3.3 กลุ่มที่ 3 จังหวดั กระบ่ี
2.ทาอะไร
ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดบั ตาบล (CLM)
3.ทาที่ไหน พฒั นาขบั เคลือ่ นโครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา
4.ทาอยา่ งไร โมเดล
แปลงพนื้ ที่ของชมุ ชนต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตในระดับตาบล (CLM)
5.ทากับใคร ปฏิบัตงิ านกิจกรรม วิธกี าร แนวทางดาเนนิ งานตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตต์ ามสภาพภูมิสงั คม
ของพ้ืนท่ตี นเอง ระดับตาบล หรือ CLM
เครอื ข่ายชุมชนระดบั ตาบล อาเภอ และจังหวัด รวมถึง 7 ภาคีเครือข่ายในพื้นท่ี

114

6.ทาไมตอ้ งทา เพือ่ การพัฒนาคนใหม้ คี วามรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สามารถนาไปปฏบิ ัติและประยุกต์ใชใ้ นพน้ื ท่ี
7.ทาแลว้ ได้อะไร ของตนเองได้
ยุทธวธิ ี
มีความมน่ั คง ม่ังคงั่ ย่งั ยืน ส่งผลให้ประชาชนมคี วามสขุ ความรกั สามัคคี แกไ้ ขปญั หาดา้ นตา่ งๆ
ท้งั ด้านสิ่งแวดล้อม สงั คม เศรษฐกิจ การเมือง

1.การประสานงานภาคีเครือขา่ ย : มีศูนยป์ ระสานงานระดบั จงั หวัด และตัง้ กลุม่ เครอื ขา่ ย
ช่องทางประสานงานระหว่างกนั
2.บรู ณาการแผนงานและยุทธศาสตร์ : ตกลงและกาหนดแผนการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรร์ ว่ มกนั
ระหวา่ ง 7 ภาคเี ครอื ขา่ ยและพน้ื ที่ตน้ แบบฯ
3.การตดิ ตามและประเมนิ ผล : ต้งั คณะทางาน จังหวดั และอาเภอ ติดตามและประเมินผลการ
ดาเนนิ งานโครงการ ก่อน ระหว่าง และหลังดาเนินการ
4.การจดั การความรู้ : จดั เวทีถอดองคค์ วามรู้ทไ่ี ด้ขับเคลอ่ื นกิจกรรมโครงการทุกระดับ จังหวัด
อาเภอ ตาบล ครัวเรอื น
5.การสือ่ สารสงั คม : จัดทาส่ือประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรผ่ ลงานกิจกรรมทีด่ าเนนิ การ ผ่านชอ่ งทาง
สื่อมวลชนตา่ งๆ

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตร์การขับเคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ คือ การกา้ หนดเป้าหมายใน

การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยที่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาใหม่ในการพัฒนา
มนุษย์ ให้เปลี่ยน Mindset ใหม่ จากมุ่งแข่งขัน มาเป็นการมุ่งสร้างสรรค์ และแบ่งปัน หัวใจส้าคัญ คือ พระ
ราชด้ารัส “Our Loss is our Gain” ย่ิงให้ไป ยิ่งได้มา ดังนั้น การพัฒนาต้องเป็นไปเพ่ือสรา้ งขบวนการ “จิต
อาสา” พรอ้ มน้าศาสตรพ์ ระราชาไปแกไ้ ขปัญหา ซ่ึงการขบั เคล่อื นปรัชญาใหม่ ทีย่ งั่ ยืน คือ การกา้ วไปดักหน้า
Technology 5.0 ต้องเอื้อต่อการบูรณาการและการสร้างสิ่งใหม่ในระบบโครงสร้าง ต้องมีภารกิจบ่มเพาะ
ศาสตรพ์ ระราชาใหเ้ ข้าใจอยา่ งลึกซ้งึ ต้องนา้ ศาสตร์พระราชาไปใช้ในการพัฒนาประเทศ ต้องมียุทธศาสตร์การ

สื่อสาร มีการวัดผลใหมด่ ว้ ยการวดั ผลที่เป้าหมาย
เมื่อก้าหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายแล้ว ส่ิงต่อไปท่ีจะต้องก้าหนด คือ ยุทธวิธี คือ วิธีการ

ขบั เคลือ่ นงาน โดยยุทธวธิ ีการดา้ เนนิ งาน โคก หนอง นา โมเดล มุ่งเน้นการสบื สานศาสตร์พระราชา รกั ษาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเหมาะสมด้วยการฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้า ป่า นิเวศ
วฒั นธรรม และภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ เพอื่ มุ่งสกู่ ารผลติ ใหม่ ระบบสหกรณ์ เขตเศรษฐกิจพิเศษแบบพอเพยี ง และ
เชอื่ มโยงธรุ กจิ จากขั้นพื้นฐานสูข่ น้ั ก้าวหน้าเพอ่ื ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากชมุ ชน

จากการฝกึ ปฏิบตั ิและน้าเสนอการจัดทา้ ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สกู่ ารปฏบิ ตั ิ สรุปไดด้ งั นี้

ท่ี ยุทธวธิ ี
1 กำรประสำนงำนภำคเี ครือข่ำย

1. จดั ตง้ั ศูนย์ประสานงานการขบั เคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติ ตัง้ แตร่ ะดับ
ชุมชน ต้าบล อ้าเภอ และจงั หวดั
2. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 7 ภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคศาสนา ภาคเอกชน ภาค
สอ่ื สารมวลชน ภาควิชาการ ภาคประชาชน และภาคประชาสงั คม

115

3. จัดกิจกรรมเอาม้ือสามคั คี ระดบั ต้าบล อา้ เภอ และจังหวัด
2 กำรบรู ณำกำรแผนงำนและยุทธศำสตร์

1. การด้าเนนิ งานยึดหลักการท้างานตามศาสตร์พระราขา ทง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ
2. เป้าหมายเป็นการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สงั คม และการเมือง
3. การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ประยกุ ตต์ ามหลักทฤษฎใี หม่
4. การพฒั นาและยกระดบั สู่การทอ่ งเท่ยี วมุง่ สูค่ วามม่ันคง ม่ังคง่ั และยั่งยืน
5. มุ่งแก้ไขปัญหาความยากจน
3 กำรติดตำมและประเมินผล
1. ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการศนู ยเ์ รียนรู้ระดับตา้ บล (Community Lab Model)
ท่ี ยทุ ธวิธี
4 กำรจัดกำรควำมรู้
1. มกี ารจดบนั ทกึ องคค์ วามรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ
2. มีการจัดการความรู้ โดยคณะกรรมการศูนย์เรยี นรรู้ ะดับต้าบล (Community Lab Model)
3. ทมี วทิ ยากร (นกั พัฒนาพ้นื ทต่ี ้นแบบ) และปราชญ์ชุมชน ทา้ หนา้ ท่จี ดั การความรู้
5 กำรส่อื สำรสังคม
1. มีการสรา้ งการรบั รผู้ า่ นชอ่ งทาง Youtube, Facebookและสื่อท้องถ่นิ
2. จัดงานอีเวนท์ตา่ ง ๆ เพื่อประชาสัมพนั ธ์ผลการดา้ เนนิ งาน
3. ผ้นู า้ ชุมชนมีบทบาทส้าคัญในการสรา้ งการรบั รูส้ สู่ าธารณชน
4. ประชาสัมพันธโ์ ดยใช้เครอื ข่ายประชาสัมพันธ์จงั หวัด
5.ถ่ายทอดความรู้ส่เู ครือข่าย โดยผ่าน 9 ฐานการเรยี นรู้
6. สรา้ งภาพลกั ษณ์ให้น่าสนใจ และทา้ ใหเ้ ปน็ ทรี่ ู้จัก

ดังนั้น จากการฝึกปฏิบัติและน้าเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏบิ ตั ิ ทา้ ให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรมฯ ได้ร่วมกนั กา้ หนดยทุ ธศาสตร์และยุทธวธิ กี ารขับเคลอื่ นหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งท่ีเหมาะสมกับแต่ละบริบทพ้ืนท่ีครอบคลุม ทงั้ 5 ยุทธวธิ ีทจ่ี ะส่งผลให้การขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏิบัติประสบผลส้าเร็จได้ และได้วิเคราะห์จุดตายของโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือจะประโยชน์ต่อ การก้าหนดแนว
ทางการด้าเนนิ โครงการต่อไป
ภำพบรรยำกำศกำรเรยี นรู้ในรำยวชิ ำ

116

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 3

วิทยำกรหลกั
ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกุล ต้าแหน่ง ที่ปรกึ ษาอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

1) วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ให้มแี นวทางและเปา้ หมายในการขับเคลอ่ื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีสอดคลอ้ ง

กับบริบทพนื้ ที่
2) ประเด็นเนือ้ หำ

๑. ศาสตร์พระราชา วเิ คราะหบ์ ริบทพ้นื ที่
๒. ก้าหนดวิธีการแกไ้ ขปัญหาในแต่ละพ้ืนที่
3. ก้าหนดยุทธวิธีใชก้ ลยุทธใ์ นการสร้างการเรียนรู้ ใช้ฐานการเรียนรเู้ ปน็ เครื่องมือ
4. ก้าหนดยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบัตใิ นสถานท่ีจรงิ
3) ระยะเวลำ
2 ชั่วโมง
4) วธิ กี ำร/เทคนิค
4.1 ฝึกปฏบิ ัตกิ ารจดั ทา้ ยุทธศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย
4.2 น้าเสนอ และแลกเปลย่ี นเรียนรู้
5) วัสดุ / อุปกรณ์
5.1 คอมพวิ เตอร์จอภาพ และเครอื่ งฉาย
5.2 คลปิ วิดโี อ
5.3 ฟลปิ ชารท์
5.4 ปากกาเคมี
6) ข้นั ตอน / วธิ กี ำร
1. วิทยากรบรรยายเร่ืองการจัดท้า “ยทุ ธศาสตร์การขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สูก่ ารปฏบิ ัติ”
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการจัดท้ายุทธศาสตร์อย่างง่าย
โดยแบง่ กล่มุ เปน็ 5 กลุ่ม ของพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี แบ่งเปน็ โซนพื้นท่ี
3. ตวั แทนกลุม่ นา้ เสนอยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ
และรับฟังข้อเสนอแนะจากวทิ ยากร แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ของพ้ืนท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ซ่ึงมีการจัดท้าและเสนอ
แผนยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัติ ดงั นี้

117

กลมุ่ ท่ี 1 โซนอำเภอเมือง วำรนิ ชำรำบ สว่ำงวรี ะวงษ์ นำเยยี่ ม และสำโรง
ไดก้ า้ หนดแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนระดับพ้นื ที่
ชื่อว่า “เราและเขา” โดยมีแผนดา้ เนนิ การดังน้ี

ยทุ ธศำสตร์ “เรำและเขำ”

รู้เรำ ตอ้ งรู้จกั ตวั ตน
๑) โซนเมือง ไดแ้ ก่ อ.เมือง อ.วารนิ ช้าราบ
๒) โซนนอกเมอื ง ไดแ้ ก่ อ.สวา่ งวีระวงษ์ อ.นาเยย่ี ม อ.สา้ โรง
๓) อ.ทเี่ ช่ยี วชาญด้านการเกษตร ได้แก่ อ.สว่างวรี ะวงษ์ อ.นาเยี่ยม อ.สา้ โรง
๔) อา้ เภอท่มี ีการบรโิ ภคซือ้ ขายมาก ได้แก่ อ.เมือง อ.วารนิ ชา้ ราบ
๕) ศูนยก์ ลางรองรับสินคา้ การเกษตร ไดแ้ ก่ อ.เมือง อ.วารนิ ช้าราบ

รู้เขำ ๑) การท้าการเกษตรต้องมกี ารรวมกลุ่มเพอ่ื เพิ่มการต่อรองในเร่อื งราคาผลผลิต
๒) ตั้งกลุม่ เพ่ือรองรบั การสนับสนุนจากทางภาครัฐ

รู้สถำนกำรณ์ - สถานการณ์โควิด-๑๙
๑) ต้องพึง่ ตนเองใหม้ ากทส่ี ุด
๒) มกี ารแบ่งปนั ใหผ้ ้อู นื่

ยุทธวธิ ี “ควำมมน่ั คง ควำมมงั่ คั่ง และควำมยงั่ ยืน”
ควำมม่ันคง ๑) ด้านอาหาร ผลติ เอง กนิ เอง

๒) ด้านสขุ ภาพ อาหารต้องปลอดภัย
ควำมม่ังค่งั ผลผลติ เหลอื จึงส่งขาย
ควำมยงั่ ยืน โดยการสรา้ งเครือขา่ ยและช่วยเหลือกัน

กลุ่มท่ี ๒ โซนอำเภอเขอื่ งใน มว่ งสำมสบิ เมอื ง
ไดก้ ้าหนดแผนยทุ ธศาสตร์การขับเคลือ่ นระดับพ้นื ท่ี
ชอ่ื ว่า “สามเหลยี่ มแหง่ ความสุขบนแปลงตน้ แบบ “พพช. CLM”
โดยมีแผนดา้ เนนิ การดงั นี้

ยุทธศำสตร์ สำมเหล่ียมแหง่ ควำมสุขบนแปลงต้นแบบ “พพช. CLM”

เรำ/ตนเอง ตอ้ งหาความรู้และสร้างนวตั กรรมใหมๆ่
ครอบครวั ตอ้ งมีสขุ ภาพที่ดี ตอ้ งได้กินของดมี ปี ระโยชน์ ปลอดสารพิษ

สงั คม เชือ่ มโยง บ้าน วดั โรงเรยี น ทา้ กจิ กรรมอยา่ งบรู ณาการท้ังสามอย่างน้ีจะนา้ มาซ่งึ
ชีวิตทมี่ ั่นคง มั่งคงั่ และชุมชนยงั่ ยืน

ยทุ ธวธิ ี “ควำมสุขทำ่ มกลำงสถำนกำรณ์ ภัยแล้ง นำ้ ทว่ ม และดนิ เส่อื มคุณภำพ”
ควำมรู้ ๑. ศึกษาหาความรทู้ กุ รปู แบบ ศึกษาดงู าน
เครือขำ่ ย ๒. สรา้ งเครือข่าย และใช้ประโยชนจ์ ากการมเี ครอื ขา่ ย

118

กลุม่ ท่ี ๓ สิงห์เหนอื โซนอำเภอเขมรำฐ นำตำล โพธิ์ไทร ตระกำรพืชผล ศรเี มืองใหม่
ได้กา้ หนดแผนยทุ ธศาสตร์การขับเคลือ่ นระดับพ้ืนท่ี

ชอ่ื วา่ “รู้เรา รู้เขา รูส้ ถานการณ์” โดยมีแผนดา้ เนินการดงั น้ี

ยทุ ธศำสตร์ “รเู้ รำ รู้เขำ รสู้ ถำนกำรณ์”

รูเ้ รำ รูเ้ รา รวู้ ธิ กี ารที่จะท้า ตอ้ งมีอดุ มการณต์ ั้งใจจรงิ มคี วามน่าเชอ่ื ถอื มีความเสียสละ และ
พร้อมที่จะเป็นตัวอยา่ งใหค้ นทไ่ี ม่ได้ท้า หรอื คนท่ีไม่เชื่อ

รู้เขำ รู้เขา คนอ่นื ไม่เช่ือว่าเราจะทา้ ได้ แต่เราตอ้ งเชอ่ื มนั่ ในวธิ กี ารของเรา เขาไมม่ โี อกาสได้
เขา้ รว่ มโครงการเหมอื นเรา

รูส้ ถำนกำรณ์ สภาพอากาศไม่เออ้ื อา้ นวย ตอ้ งหาวิธีป้องกัน แก้ไข

- การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ เปลย่ี นวิกฤตให้เปน็ โอกาส การท่ีเราสามารถมี
ผลผลติ ต่างๆ ไวบ้ รโิ ภคในครวั เรือนอยา่ งเพยี งพอ ท้าให้เราไมต่ อ้ งกงั วลวา่ จะไมม่ อี าหาร
ในยามวิกฤต

- เศรษฐกิจไม่ดี ถอื เปน็ อีกหนึง่ ปัจจัยที่เราสามารถใช้ประโยชนจ์ ากพืน้ ที่ของเราในการ
พง่ึ พาตนเอง ใหส้ ามารถอยใู่ หไ้ ดใ้ นสถานการณ์ที่เศรษฐกิจตกต่้า

- สังคมแตกแยก ใช่พื้นท่ที ่เี ป็นศูนย์เรียนรู้ในการหลอมรวมคนในชุมชนใหเ้ กดิ ความ
สามคั คกี ลมเกลียว

ยุทธวิธี “พฒั นำ สร้ำงสรรค์งำน”

พัฒนำตนเอง ๑. ลงมอื ท้าทนั ที โดยนา้ ความรู้ที่ได้จากการอบรมไปด้าเนนิ การทันที เพื่อจะไดเ้ ปน็ การ
เตรยี มความพรอ้ มในการเป็นศนู ยเ์ รียนรู้ และการเร่มิ ต้นทร่ี วดเรว็ ยอ่ มเหน็ ปัญหา หรือ
แนวทางในการดา้ เนนิ กิจกรรม ซ่ึงสามารถปรบั แก้ไดร้ วดเรว็ ตามไปดว้ ย
๒.เอ้ือเฟอื้ เผ่อื แผแ่ ละแบง่ ปนั ซง่ึ กันและกัน

สร้ำง วางแผนการลงแปลงของเครอื ข่ายท่ีมีความพรอ้ ม โดยนา้ กจิ กรรมเอาม้อื สามัคคเี ขา้ มา
เครือขำ่ ย ใช้ เพ่ือให้เครอื ข่ายไดเ้ กิดการช่วยเหลอื กนั เรียนรูป้ ัญหาไปพรอ้ มๆ กัน สรา้ งความ

สามัคคีกลมเกลียว

ที่ปรกึ ษำ พบปัญหาให้หาครูพีเ่ ล้ียง หมายถงึ เม่อื มปี ญั หาในการดา้ เนินกจิ กรรมสามารถปรึกษา
กบั ครูพาทา้ หรอื วทิ ยากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในปัญหานั้นๆ ได้

119

กลุ่มท่ี ๔ โซนอำเภอตำลสมุ พบิ ลู มังสำหำร สิรินธร
ไดก้ ้าหนดแผนยุทธศาสตร์การขับเคลอื่ นระดบั พน้ื ท่ี

ชื่อว่า “รูเ้ รา รูเ้ ขา รู้สถานการณ์” โดยมแี ผนด้าเนินการดงั น้ี

ยทุ ธศำสตร์ “รู้เรำ รู้เขำ ร้สู ถำนกำรณ์”

ร้เู รำ ๑) รจู้ ดุ ดอ้ ยในเร่ืองสภาพพนื้ ท่ีและแกไ้ ข
๒) จดุ เดน่ ตอ้ งส่งเสริม

รู้เขำ ศึกษาพ้นื ท่ใี กล้เคียง เพอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นร้กู นั และกัน

รูส้ ถำนกำรณ์ ๑) ติดตามข่าวสารจากภาครฐั
๒) ประสานงานกลุ่มเครือขา่ ย CLM จังหวัด เพ่ือน้ามาพัฒนาพน้ื ท่ี

ยทุ ธวธิ ี “ททท ทำทนั ที”
เมอ่ื เสร็จสน้ิ การอบรมแลว้ กลับไปยงั พืน้ ท่จี ะต้องเรง่ ทา้ ทันที เพือ่ ใหเ้ หน็ ผลอย่างรวดเร็ว

ทำทีต่ ัวเรำ พัฒนาพ้ืนทตี่ น้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล ระดบั ตาบล CLM ตามศาสตรพ์ ระราชา หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ

ทำรว่ มกนั 1.ก้าหนดแผนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่าง 7 ภาคีเครอื ข่ายและพ้ืนท่ี
ตน้ แบบฯ

๒.สร้างเครอื ขา่ ยในพนื้ ท่ี โดยผา่ นกจิ กรรมเอามือ้ สามคั คีแปลงพน้ื ที่ CLM ให้เกิดการมี
สว่ นร่วมของคนในพื้นท่ี เกิดการช่วยเหลือกันและกนั มีความสามัคคี

ทำขยำยผล ๑.จัดเวทถี อดองค์ความรทู้ ี่ไดข้ ับเคลอ่ื นกิจกรรมโครงการทุกระดับ จงั หวดั อ้าเภอ ต้าบล
ครวั เรือน
๒.พฒั นาคนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ สามารถนาไปปฏิบตั ิและประยกุ ต์ใช้ใน
พนื้ ที่ของตนเองได้

120

กลมุ่ ท่ี ๕ โซนอำเภอนำ้ ขนุ่ นำ้ ยืน ท่งุ ศรฯี เดชอดุ ม นำจะหลวย และบุญฑริก
ไดก้ า้ หนดแผนยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลอ่ื นระดับพื้นที่
ชื่อวา่ “รเู้ รา ร้เู ขา รู้สถานการณ์” โดยมแี ผนดา้ เนนิ การดังนี้

ยทุ ธศำสตร์ “รู้เรำ ร้เู ขำ รสู้ ถำนกำรณ์”
รเู้ รำ ๑) ภาครฐั หลายหน่วยงานเขา้ ใจในการดา้ เนินกิจกรรม แตบ่ างหน่วยงานยงั ไมเ่ ขา้ ใจ

๒) ภาครฐั เริ่มให้การสนบั สนนุ มากขึน้
๓) การขับเคล่อื นล่าชา้ เนอ่ื งจากตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบยี บ
รู้เขำ ๑) ยังขาดทักษะในบางเรื่อง
๒) เป็นคนอสี านซ่ึงมคี วามขยนั และสู้ชวี ติ
รสู้ ถำนกำรณ์ ๑) เศรษฐกิจตกต้า่ ราคาผลผลิตตกต้า่
๒) โรคระบาด
๓) น้าท่วมและฝนแล้ง
๔) ห่างไกลจากพน้ื ทเี่ มือง
ยทุ ธวิธี “มนั่ คง ม่ังค่ัง ยง่ั ยืน”
มั่นคง -สร้างปราชญช์ ุมชน
-จัดการพื้นทใ่ี ห้ประสบความส้าเรจ็ ใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรม ทา้ ใหด้ ู ท้าใหเ้ หน็ ท้าใหเ้ ปน็
-การเปดิ โอกาสในการเรียนรู้ การเปน็ ศูนยเ์ รยี นรู้ ใหค้ วามรแู้ กช่ ุมชน
มั่งค่ัง -สร้างนวตั กรรม
-สร้างกลุ่มและเครือข่ายเพ่ือกระจายผลผลิตและสินคา้
ย่ังยนื ใช้หลกั บวร สรา้ งเครอื ข่ายและการมสี ว่ นรว่ มของ บ้าน วัด โรงเรยี น

7) สรุปผลกำรเรียนรู้
ยุทธศาสตร์การขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ คือ การกา้ หนดเป้าหมายใน

การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยท่ีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาใหม่ในการพัฒนา
มนุษย์ ให้เปลี่ยน Mindset ใหม่ จากมุ่งแข่งขัน มาเป็นการมุ่งสร้างสรรค์ และแบ่งปัน หัวใจส้าคัญ คือ พระ
ราชด้ารัส “Our Loss is our Gain” ย่ิงให้ไป ย่ิงได้มา ดังนั้น การพัฒนาต้องเป็นไปเพื่อสรา้ งขบวนการ “จิต
อาสา” พร้อมนา้ ศาสตรพ์ ระราชาไปแกไ้ ขปัญหา ซ่ึงการขับเคลื่อนปรัชญาใหม่ ที่ยัง่ ยนื คือ การกา้ วไปดักหน้า
Technology 5.0 ต้องเอ้ือต่อการบูรณาการและการสร้างส่ิงใหม่ในระบบโครงสร้าง ต้องมีภารกิจบ่มเพาะ
ศาสตรพ์ ระราชาใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งลกึ ซ้งึ ต้องนา้ ศาสตรพ์ ระราชาไปใช้ในการพัฒนาประเทศ ต้องมียทุ ธศาสตร์การ
สือ่ สาร มกี ารวดั ผลใหม่ดว้ ยการวดั ผลที่เปา้ หมาย

เม่ือก้าหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายแล้ว ส่ิงต่อไปท่ีจะต้องก้าหนด คือ ยุทธวิธี คือ วิธีการ
ขับเคลือ่ นงาน โดยยุทธวธิ กี ารด้าเนนิ งาน โคก หนอง นา โมเดล มุง่ เน้นการสืบสานศาสตร์พระราชา รกั ษาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมด้วยการฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้า ป่า นิเวศ
วฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เพอ่ื มุ่งสู่การผลิตใหม่ ระบบสหกรณ์ เขตเศรษฐกจิ พิเศษแบบพอเพยี ง และ
เชอื่ มโยงธุรกิจจากขัน้ พน้ื ฐานสขู่ ัน้ ก้าวหน้าเพ่อื ยกระดับเศรษฐกจิ ฐานรากชมุ ชน

121

จากการฝึกปฏบิ ัติและน้าเสนอการจัดท้ายุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏบิ ตั ิ สรปุ ได้ดงั นี้

ยุทธศำสตร์ “รู้เรำ รู้เขำ รสู้ ถำนกำรณ์”
รเู้ รำ ๑) ต้องรู้จกั ตัวตน : ชมุ ชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตในระดบั ตาบล (CLM)

๒) รู้วธิ กี ารท่ีจะทา้ : ต้องมอี ดุ มการณ์ต้งั ใจจรงิ มีความนา่ เชื่อถอื มีความเสียสละ และ
พร้อมท่ีจะเป็นตวั อย่างใหค้ นทไี่ ม่ได้ทา้ หรือคนทไี่ มเ่ ชื่อ
๓) รูจ้ ดุ ดอ้ ยในเรอ่ื งสภาพพ้นื ท่แี ละแกไ้ ข
๔) จุดเด่นตอ้ งสง่ เสริม และต้องหาความรู้และสรา้ งนวตั กรรมใหมๆ่ พฒั นาให้ดีข้ึน

ยทุ ธศำสตร์ “รู้เรำ รเู้ ขำ รูส้ ถำนกำรณ์”
รเู้ ขำ ๑) ศกึ ษาพืน้ ท่ใี กล้เคียง เพื่อแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ นั และกัน

๒) เช่ือมโยง บ้าน วัด โรงเรยี น ท้ากจิ กรรมอยา่ งบรู ณาการทง้ั สามอย่างนี้จะน้ามาซง่ึ
ชวี ิตทมี่ นั่ คง มั่งคง่ั และชมุ ชนยงั่ ยนื
รูส้ ถำนกำรณ์ ๑) ติดตามข่าวสารจากภาครฐั
๒) ประสานงานกลุ่มเครอื ข่าย CLM จงั หวดั เพ่อื น้ามาพฒั นาพื้นท่ี
๓) แกไ้ ขปญั หา เศรษฐกจิ ตกต่้า ราคาผลผลิตตกต้่า โรคระบาด นา้ ท่วมและฝนแล้ง
หา่ งไกลจากพ้ืนท่เี มอื ง โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากพื้นที่ของเราในการพงึ่ พาตนเอง ใหส้ ามารถ
อย่ใู หไ้ ด้ในสถานการณ์วิกฤค
ยทุ ธวธิ ี แผนกิจกรรมขับเคล่อื น
พฒั นำตนเอง ๑. ลงมือท้าทนั ที โดยนา้ ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการอบรมไปดา้ เนินการทนั ที เพอ่ื จะได้เปน็ การ
เตรียมความพร้อมในการเป็นศนู ยเ์ รียนรู้ และการเร่ิมตน้ ทร่ี วดเร็ว ย่อมเหน็ ปัญหา หรอื
แนวทางในการด้าเนินกิจกรรม ซงึ่ สามารถปรับแก้ไดร้ วดเร็วตามไปด้วย
๒.เออ้ื เฟ้ือเผอ่ื แผแ่ ละแบง่ ปันซ่ึงกนั และกนั
สร้ำง วางแผนการลงแปลงของเครือข่ายท่ีมีความพร้อม โดยนา้ กจิ กรรมเอามือ้ สามัคคเี ข้ามาใช้
เครือข่ำย เพอ่ื ให้เครอื ข่ายไดเ้ กิดการชว่ ยเหลอื กัน เรียนรปู้ ญั หาไปพรอ้ มๆ กนั สรา้ งความสามัคคี
กลมเกลยี ว
ท่ีปรกึ ษำ พบปัญหาใหห้ าครพู ี่เล้ยี ง หมายถึง เมื่อมปี ญั หาในการด้าเนินกจิ กรรม สามารถปรึกษา
กับครพู าท้า หรอื วิทยากรท่ีมคี วามเช่ียวชาญในปัญหาน้นั ๆ ได้
ควำมมัน่ คง -ดา้ นอาหาร ผลิตเอง กินเอง
- ดา้ นสุขภาพ อาหารตอ้ งปลอดภัย
-สรา้ งปราชญ์ชุมชน
-จดั การพน้ื ท่ใี ห้ประสบความส้าเรจ็ ให้เหน็ เปน็ รปู ธรรม ทา้ ใหด้ ู ทา้ ให้เหน็ ท้าให้เปน็
-การเปิดโอกาสในการเรียนรู้ การเป็นศนู ย์เรียนรู้ ใหค้ วามรู้แก่ชุมชน
ควำมมั่งคง่ั -ผลผลติ เหลือจงึ สง่ ขาย
-สร้างนวัตกรรม
-สร้างกล่มุ และเครือข่ายเพ่อื กระจายผลผลิตและสินคา้
ควำมย่ังยนื -ใช้หลัก บวร สรา้ งเครอื ข่ายและการมีสว่ นรว่ มของ บ้าน วดั โรงเรียน
-สร้างเครือขา่ ย และใช้ประโยชนจ์ ากการมีเครือข่าย

122

ดังนั้น จากการฝึกปฏิบัติและน้าเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏิบัติ ท้าให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ ได้ร่วมกันก้าหนดยุทธศาสตร์และยุทธวิธีการขับเคล่ือนหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียงท่ีเหมาะสมกับแต่ละบริบทพนื้ ทีค่ รอบคลุม ทงั้ 5 ยทุ ธวธิ ที ี่จะส่งผลใหก้ ารขับเคลื่อนปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิประสบผลสา้ เรจ็ ได้ และไดว้ เิ คราะหจ์ ดุ ตายของโครงการพัฒนาพน้ื ท่ีตน้ แบบการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือจะประโยชน์ต่อการก้าหนด
แนวทางการดา้ เนินโครงการตอ่ ไป

Community Lab Model for quality of life: CLM รนุ่ ท่ี 4

วทิ ยำกรหลัก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พเิ ชฐ โสวิทยสกุล ต้าแหน่งท่ีปรึกษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

1) วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อใหม้ ีแนวทางและเปา้ หมายในการขบั เคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งที่สอดคล้องกบั

บริบทพ้ืนท่ี
2) ประเด็นเนอ้ื หำ

๑. ศาสตรพ์ ระราชา วเิ คราะห์บริบทพืน้ ท่ี
๒. กา้ หนดวิธกี ารแก้ไขปญั หาในแตล่ ะพ้นื ที่
3. ก้าหนดยุทธวิธใี ช้กลยุทธใ์ นการสรา้ งการเรียนรู้ ใชฐ้ านการเรยี นรู้เป็นเคร่อื งมอื
4. ก้าหนดยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติในสถานทีจ่ ริง
3) ระยะเวลำ
2 ชวั่ โมง
4) วิธีกำร/เทคนิค
4.1 ฝึกปฏบิ ัติการจัดท้ายทุ ธศาสตรอ์ ย่างงา่ ย
4.2 นา้ เสนอ และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
5.1 คอมพวิ เตอร์จอภาพ และเครอ่ื งฉาย
5.2 คลปิ วิดโี อ
5.3 ฟลปิ ชารท์
5.4 ปากกาเคมี
6) ขนั้ ตอน / วธิ ีกำร
1. วิทยากรบรรยายเรือ่ งการจดั ท้า “ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏบิ ัติ”
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการจัดท้ายุทธศาสตร์อย่างง่าย โดย
แบ่งกลุ่มตามที่วิทยากรก้าหนด จ้านวน 5 กลุ่ม (โดยประกอบด้วยผู้เข้าอบรมจังหวัดชัยภูมิ เชียงใหม่ ตาก

123

นครนายก นครราชสีมา น่าน ปทุมธานี พัทลุง พิษณุโลก เพชรบุรี แม่ฮ่องสอน สกลนคร สุโขทัย สุรินทร์และ
อดุ รธานี)

3. ตัวแทนกลุ่มน้าเสนอยทุ ธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบัติ และรับ
ฟังข้อเสนอแนะจากวทิ ยากร แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ซ่ึงมีการจัดท้าและเสนอแผนยทุ ธศาสตร์การขับเคล่ือนปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ ดังนี้

กลมุ่ ที่ 1 ประกอบด้วยจงั หวดั สโุ ขทัย

ยุทธศำสตร์ “ม่ันคง ม่ังค่ัง ย่งั ยนื ”

มนั่ คง ๑) พอกิน : ปลกู สง่ิ ที่กนิ กนิ สงิ่ ทปี่ ลกู
- การปลูกพืช ผัก ผลไม้ ใหพ้ อมพี อกินในครวั เรอื น
- ส่งเสริมคนในครอบครัวกินอาหาร ผกั ผลไมท้ ี่มปี ระโยชน์ปลอดภยั ให้มสี ขุ ภาพดี

๒) พอใช้ : มีของใชจ้ า้ เปน็
- ทา้ ปุย๋ ท้าน้าหมกั ชวี ภาพ สารสมุนไพร ไวใ้ ช้ในการเกษตร
- ท้านา้ ยาเอนกประสงค์จากผลผลติ ทม่ี ีอยู่ ลดรายจ่ายครัวเรือน

๓) พออยู่ : มีท่ีอยู่อาศัยทม่ี น่ั คง
-ออกแบบและสรา้ งบ้านรวมถึงพนื้ ทีอ่ ยู่อาศัยใหอ้ ยู่ได้อย่างมน่ั คง ตามเชงิ ภูมิสงั คม

๔) พอร่มเย็น : สร้างสภาพแวดลอ้ มที่ดี
- ปลกู ป่า ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อยา่ ง มีป่าไม้กนิ ได้ ปา่ ไมใ้ ช้สอย ป่าไม้ขนาดใหญ่ จะเกิด

ประโยชนอ์ ยา่ งที่ ๔ คือ ความอุดมสมบูรณ์ อากาศท่ดี ี ความชุ่มชน่ื มีสตั วป์ ่า สมุนไพร อาหาร
ตามธรรมชาติ
มงั่ คง่ั ๑) ท้าบญุ :กตัญญู ต่อ บพุ การี ครูอาจารย์ กตญั ญูต่อแผน่ ดนิ น้า ป่า ไมเ่ บียดเบยี นหรอื ทา้
รา้ ยเพือ่ ประโยชนส์ ว่ นตน
๒) ท้าทาน : แบง่ ปัน เสียสละ เก้อื กูลผูอ้ ื่น ย่ิงใหไ้ ป ยงิ่ ไดม้ า แบ่งปันความรู้ และความสขุ
๓) เกบ็ รักษา : เก็บรักษาสงิ่ ตา่ งๆไว้เมือ่ ยามเกดิ ภัย เชน่ เกบ็ รกั ษาอาหาร เมอ่ื ยามภัยแลง้ น้า
ท่วม ดว้ ยการแปรรปู โดยอาศัยภมู ปิ ญั ญา ทต่ี ้องเก็บรกั ษาไว้รว่ มกนั
ยง่ั ยนื ๑) ขาย : คา้ ขาย ด้วยคุณค่า จากการเพิม่ มลู ค่า สามารถถ่ายทอดเรอื่ งราวดีๆทส่ี ่งผลต่อคนซ้ือ
๒) สร้างเครือข่าย : ท้างานร่วมกนั ด้วยความรักสามคั คี อาศยั ก้าลงั จากทุกภาคสว่ น เข้าร่วม
เพือ่ ให้เกิดพลงั อา้ นาจในการท้ากจิ กรรม
ยุทธวิธี “ทำ ทัน ที” เรง่ ดา้ เนินการใหเ้ ร็วทีส่ ดุ เพ่ือเป็นตวั อยา่ งเป็นกบั ผู้อ่ืน
ทำเริม่ จำก 1.ลงมอื ปฏิบัติ ท้าทนั ที โดยนา้ ความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการอบรมไปด้าเนนิ การทันทีในพื้นทต่ี น้ แบบ
ตนเอง การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ระดับต้าบล
CLM ตามบรบิ ทพื้นทเี่ ชิงภูมิสงั คม
2.สรา้ งและพัฒนาฐานการเรียนรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ มงุ่ สศู่ ูนย์เรียนรูช้ มุ ชนตน้ แบบระดบั ต้าบล
ลงมือปฏบิ ัติ 1.ตงั้ กลมุ่ เครือขา่ ย ชอ่ งทางประสานงานระหว่างกนั
แบบมสี ่วนรว่ ม 2.สร้างการมีสว่ นรว่ มกันในชมุ ชนและภาคเี ครอื ข่าย โดยผ่านกจิ กรรมเอาม้อื สามคั คีแปลงพน้ื ที่
CLM
3.จดั เวทถี อดองค์ความรู้ แลกเปลีย่ นประสบการณ์การด้าเนนิ กจิ กรรมในพื้นทต่ี ้นแบบ
สอื่ สำรสังคม จัดท้าสื่อประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรผ่ ลงานกิจกรรมที่ดา้ เนนิ การ ผ่านชอ่ งทางสือ่ มวลชนต่างๆ

124

กลุ่มที่ ๒ ประกอบดว้ ยจงั หวัดเชียงใหม่

ยุทธศำสตร์ “ชีวิตม่ันคง ครอบครัวมั่งค่ัง ชุมชนยั่งยนื ”

ชวี ิตม่นั คง การไดร้ ับการปลูกจติ ส้านัก แนวคิด และทัศนคติทดี่ ีมอี าหารทปี่ ลอดภยั
ครอบครัวมงั่ ค่งั ในการบรโิ ภค ได้รบั การส่งเสริมอาชพี รู้หน้าที่ของตน ความเปน็ พลเมอื ง
ชมุ ชนยง่ั ยนื
เกดิ ผลผลิตจากพื้นทโ่ี คก หนอง นา ได้กนิ และเหลือจา้ หนา่ ย แจกจ่าย เกดิ รายได้
ภายในครวั เรือน

ชุมชนรู้จักจดุ เดน่ จดุ ด้อยของตน และปรับแกแ้ ละสง่ เสรมิ จุดเด่นจดุ ด้อยเหล่าน้นั
สร้างการมีส่วนรว่ มในการด้าเนินกจิ กรรมตา่ งๆ พฒั นาไปพรอ้ มๆ กนั

ยุทธวิธี “ร่วมกนั ทำทนั ที”

รว่ มกัน ทกุ ภาคส่วนในชมุ ชนร่วมกันท้ากิจกรรมโคกหนองนา ร่วมรบั ผลประโยชน์ หรือ
ทำทันที ผลกระทบต่าง ๆ

ท้าโดยไม่ชกั ชา้ เพอ่ื ให้เกิดผลประโยชนต์ ่อชุมชนใหเ้ รว็ ที่สดุ

กลมุ่ ท่ี ๓ ประกอบด้วยจงั หวัด นครนำยก ปทุมธำนี พทั ลงุ เพชรบรุ ี

ยุทธศำสตร์ “ม่นั คง ม่ังค่งั ย่ังยนื ”

มนั่ คง เราจะท้าโคกหนองนา เพ่อื สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร และความมัน่ คงในพน้ื ท่ี
ทา้ การเกษตร

ม่งั ค่ัง หากผลผลิตเรามีมากพอ เราจะสรา้ งรายได้จากผลผลิตนี้ และตอ้ งมีการแบ่งปัน
ชมุ ชน

ย่งั ยืน เราจะสร้างทมี สร้างเครอื ขา่ ย เพอ่ื ให้ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั และเกดิ ความย่งั ยืน
ในพืน้ ทแี่ ละกจิ กรรมท่เี ราทา้

ยทุ ธวิธี “พฒั นำคน ชมุ ชนเขม้ แข็ง”

1.สร้ำงกำรเรียนรูจ้ ำก 1) พัฒนา
- คน
- งาน
- ความรู้
- บรู ณาการ (ทุนภายนอก, ทนุ ภายใน)

2) สรา้ งแบบอยา่ ง ชมุ ชนต้นแบบ CLM
ท่ีประสบความส้าเร็จ เปน็ ศูนย์เรียนรรู้ ะดับตา้ บล

2.กำรมสี ่วนรว่ มของชุมชน 1) สร้างกระบวนการเรียนรจู้ ากโรงเรยี น (เดก็ /เยาวชน)
2) สร้างงานสร้างรายได้
3) ส่งเสรมิ กจิ กรรมผู้สงู อายุ มีการจดั การความร้ภู ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ของชมุ ชน
มปี ราชญช์ มุ ชนในการถา่ ยทอดความรู้ เป็นการสร้างคุณค่าแกผ่ ้สู งู วัย

3.Empowerment ชมุ ชน - สร้างความเขม้ แข็งชมุ ชน
- รักษาคงไว้ซง่ึ อตั ลกั ษณ์ของชมุ ชน

125

กลุ่มท่ี ๔ ประกอบดว้ ยจังหวัดตำก นำ่ น แม่ฮ่องสอน พิษณุโลก

ยทุ ธศำสตร์ “ม่นั คง มั่งคง่ั ยั่งยืน”

ม่ันคง เราจะท้าโคกหนองนา เพือ่ สรา้ งความม่นั คงทางอาหาร และความมั่นคงในพ้ืนท่ี
ท้าการเกษตร

มง่ั ค่ัง หากผลผลิตเรามมี ากพอ เราจะสร้างรายไดจ้ ากผลผลิตนี้ และตอ้ งมีการแบ่งปนั ชุมชน

ยงั่ ยนื เราจะสร้างทีม สร้างเครือขา่ ย เพ่ือใหช้ ว่ ยเหลือซ่งึ กันและกัน และเกดิ ความย่งั ยืน
ในพนื้ ทแ่ี ละกิจกรรมทเ่ี ราทา้

ยุทธวธิ ี “รวมกนั เรำอยู่”

สรำ้ งเครือข่ำย เราตอ้ งเร่มิ รวมตวั กนั สร้างเครือขา่ ย เพอ่ื สร้างความสามัคคีและช่วยเหลือกนั และกัน
จดั กจิ กรรมเอามือ้ สามัคคีเป็นประจ้า

มีสว่ นรว่ ม เมื่อรวมตัวเปน็ กล่มุ กอ้ น กร็ ว่ มกนั ขับเคลือ่ นพน้ื ท่ีเป็นฐานเรยี นรู้ท่ีมีศกั ยภาพในการ
ขบั เคลื่อนพ้นื ที่ ให้ความรู้ประชาชนตอ่ ไป

กลุ่มที่ ๕ ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชัยภูมิ สกลนคร นครรำชสมี ำ สรุ ินทร์ และอดุ รธำนี

ยทุ ธศำสตร์ “ชีวิตมัน่ คง ครอบครวั มัง่ คั่ง ชมุ ชนย่งั ยืน”
ชวี ติ มั่นคง ตอ้ งปรบั พฤตกิ รรมตนเอง ลดละเลิกสิง่ ทไี่ มด่ ี ขยัน พ่งึ พาตนเองและต้งั ใจลงมือปฏบิ ัตงิ าน

ให้สา้ เร็จ
ครอบครวั มั่งคง่ั ใชห้ ลกั บนั ได 9 ข้ัน ในการบริหารจดั การเศรษฐกิจในครวั เรือน และไมล่ มื ทีจ่ ะใชค้ วามรู้

คคู่ ณุ ธรรม
ชุมชนย่งั ยนื สร้างเครือข่ายในชมุ ชน สร้างการมีสว่ นร่วมของคนในชมุ ชน

ยทุ ธวิธี “เข้ำใจ เข้ำถงึ พฒั นำ”

เข้ำใจ เรง่ ทา้ ความเข้าใจในหลกั โคก หนอง นา ท้งั ความเข้าใจของตน และสร้างความเข้าใจ
ภายในชุมชน

เข้ำถึง ตอ้ งเข้าถึงภาครฐั เพือ่ เปน็ แหลง่ สนับสนนุ องคค์ วามรแู้ ละงบประมาณ และเขา้ ถึงชุมชน
เพ่ือให้เกิดการมสี ่วนร่วมในชุมชน

พฒั นำ เม่ือมีความรู้ มคี นเข้ามามีสว่ นร่วมแลว้ จงั ร่วมกนั พัฒนาพนื้ ทีใ่ ห้เป็นศูนย์เรียนรทู้ ม่ี ีคุณภาพ

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
ยทุ ธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏบิ ัติ คือ การก้าหนดเปา้ หมายใน

การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยท่ีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาใหม่ในการพัฒนา
มนุษย์ ให้เปล่ียน Mindset ใหม่ จากมุ่งแข่งขัน มาเป็นการมุ่งสร้างสรรค์ และแบ่งปัน หัวใจส้าคัญ คือ พระ
ราชด้ารัส “Our Loss is our Gain” ยิ่งให้ไป ย่ิงได้มา ดังนั้น การพัฒนาต้องเป็นไปเพื่อสร้างขบวนการ “จิต
อาสา” พรอ้ มน้าศาสตรพ์ ระราชาไปแก้ไขปญั หา ซึง่ การขับเคลอื่ นปรัชญาใหม่ ทย่ี ่งั ยืน คือ การก้าวไปดักหน้า

126

Technology 5.0 ต้องเอื้อต่อการบูรณาการและการสร้างสิ่งใหม่ในระบบโครงสร้าง ต้องมีภารกิจบ่มเพาะ
ศาสตรพ์ ระราชาให้เขา้ ใจอย่างลึกซงึ้ ตอ้ งน้าศาสตรพ์ ระราชาไปใชใ้ นการพฒั นาประเทศ ต้องมียทุ ธศาสตร์การ
ส่อื สาร มีการวัดผลใหมด่ ว้ ยการวัดผลท่เี ปา้ หมาย

เม่ือก้าหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายแล้ว สิ่งต่อไปท่ีจะต้องก้าหนด คือ ยุทธวิธี คือ วิธีการ
ขับเคล่อื นงาน โดยยทุ ธวิธีการด้าเนินงาน โคก หนอง นา โมเดล มุ่งเน้นการสบื สานศาสตรพ์ ระราชา รักษาภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมด้วยการฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้า ป่า นิเวศ
วฒั นธรรม และภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เพ่อื มุง่ สกู่ ารผลติ ใหม่ ระบบสหกรณ์ เขตเศรษฐกจิ พิเศษแบบพอเพียง และ
เชอ่ื มโยงธรุ กิจจากขนั้ พื้นฐานสขู่ นั้ กา้ วหนา้ เพอ่ื ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากชมุ ชน

จากการฝกึ ปฏิบตั ิและนา้ เสนอการจัดท้ายุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏบิ ตั ิ สรปุ ได้ดังนี้

ยุทธศำสตร์ “ม่ันคง ม่ังคง่ั ย่ังยนื ”
ยทุ ธศำสตร์ “มน่ั คง มั่งค่งั ย่ังยนื ”
ม่งั คง่ั 1.ใช้หลักบันได 9 ข้นั ในการบริหารจัดการเศรษฐกจิ ในครัวเรอื น และไม่ลืมทจี่ ะใชค้ วามรู้
คคู่ ุณธรรม ไดแ้ ก่
- ทา้ บุญ : กตญั ญู ตอ่ บพุ การี ครูอาจารย์ กตญั ญตู ่อแผ่นดิน น้า ปา่ ไม่เบียดเบยี นหรือทา้ ร้าย
เพอื่ ประโยชนส์ ่วนตน
- ทา้ ทาน : แบ่งปัน เสยี สละ เกื้อกูลผอู้ ื่น ยง่ิ ใหไ้ ป ย่ิงได้มา แบ่งปนั ความรู้ และความสขุ
- เกบ็ รักษา : เก็บรักษาสงิ่ ตา่ งๆไว้เม่ือยามเกดิ ภัย เช่นเกบ็ รักษาอาหาร เมื่อยามภัยแล้ง นา้
ท่วม ดว้ ยการแปรรูปโดยอาศัยภูมปิ ญั ญา ที่ตอ้ งเก็บรักษาไวร้ ว่ มกนั
2.ทา้ โคกหนองนา เพอ่ื สร้างความมนั่ คงทางอาหาร และความมัน่ คงในพนื้ ท่ที า้ การเกษตร
ยัง่ ยืน 1. ใชห้ ลกั การขบั เคลื่อนพน้ื ท่ีตามทฤษฎีบันได 9 ขั้นสคู่ วามพอเพยี ง ขน้ั กา้ วหนา้ ได้แก่
- ขาย : คา้ ขาย ด้วยคุณค่า จากการเพม่ิ มลู ค่า สามารถถ่ายทอดเรอ่ื งราวดีๆท่ีส่งผลต่อคนซ้อื

127

- สร้างเครือข่าย : ทา้ งานร่วมกนั ด้วยความรกั สามคั คี อาศัยกา้ ลงั จากทกุ ภาคส่วน เข้าร่วม
เพอ่ื ให้เกิดพลังอา้ นาจในการท้ากิจกรรม
2.ชมุ ชนรู้จักจุดเดน่ จุดด้อยของตน และปรับแก้และส่งเสริมจดุ เด่นจดุ ด้อยเหลา่ นน้ั สรา้ งการมี
ส่วนร่วมในการด้าเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ พร้อมๆ กนั
ยทุ ธวิธี “ทำ ทนั ที” เรง่ ดา้ เนนิ การใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ เพื่อเปน็ ตัวอยา่ งเป็นกับผอู้ ่ืน
ทำเรม่ิ จำก 1.ลงมือปฏิบัติ ท้าทันที โดยนา้ ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการอบรมไปด้าเนนิ การทนั ทีในพ้ืนที่ต้นแบบการ
ตนเอง พัฒนาคุณภาพชวี ิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ระดบั ต้าบล CLM
ตามบรบิ ทพื้นทเ่ี ชงิ ภูมิสังคม
2.สรา้ งและพัฒนาฐานการเรียนรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ มงุ่ สู่ศนู ย์เรยี นรู้ชมุ ชนตน้ แบบระดบั ตา้ บล
ลงมือปฏิบตั ิ 1.ต้งั กลมุ่ เครอื ข่าย ชอ่ งทางประสานงานระหวา่ งกนั
แบบมสี ่วนรว่ ม 2.สรา้ งการมสี ่วนรว่ มกันในชมุ ชนและภาคีเครือข่าย และทกุ ภาคส่วนในชุมชนร่วมกนั ทา้
กจิ กรรมโคกหนองนา รว่ มรบั ผลประโยชน์ หรือผลกระทบต่าง ๆ เช่น กจิ กรรมเอามื้อสามัคคี
แปลงพน้ื ท่ี CLM
3.จดั เวทีถอดองค์ความรู้ แลกเปล่ยี นประสบการณ์การดา้ เนินกจิ กรรมในพนื้ ที่ต้นแบบ
สอ่ื สำรสังคม จัดท้าส่อื ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ผลงานกิจกรรมที่ดา้ เนินการ ผา่ นชอ่ งทางสือ่ มวลชนต่างๆ

ดังน้ัน จากการฝึกปฏิบัติและน้าเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏิบตั ิ ท้าให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมฯ ได้ร่วมกนั ก้าหนดยทุ ธศาสตร์และยุทธวิธกี ารขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีเหมาะสมกับแต่ละบริบทพนื้ ที่ครอบคลุม ท้ัง 5 ยุทธวธิ ที จี่ ะส่งผลใหก้ ารขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏิบัติประสบผลส้าเร็จได้ และได้วิเคราะห์จุดตายของโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เพื่อจะประโยชน์ต่อการก้าหนดแนว
ทางการดา้ เนินโครงการต่อไป

17. หัวข้อ/วิชำ: สขุ ภำพพ่งึ ตน พฒั นำ 3 ขุมพลงั พลงั กำย พลังใจ พลงั ปญั ญำ
วิทยำกรหลัก นางสาวอรวีย์ แสงทอง นักทรัพยากรบคุ คลช้านาญการ

1) วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อใหผ้ ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมไดย้ ืดเสน้ ยดื สาย ออกก้าลงั กาย ก่อนการฝึกอบรม
1.2 เพื่อพัฒนาพลังกาย พลงั ใจ และพลงั ปัญญา
1.3 เพื่อใหผ้ ู้เขา้ อบรมสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการทา้ งาน และสร้างคุณคา่ ในการดา้ เนนิ ชวี ิต

2) ประเดน็ เนื้อหำ
2.1 การพัฒนาพลงั กาย พลงั ใจ พลังปัญญา
2.2 การปรับเปล่ยี นชวี ติ ตามสถานการณ์
2.3 การ Wrap up สิ่งทีเ่ รียนรู้

128

3) ระยะเวลำ
2 ชว่ั โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนคิ
4.1 วิทยากร น้าออกก้าลงั กาย
4.2 วิทยากรสรปุ wrap up และเติมเตม็ องค์ความรู้
4.3 นา้ เสนอแลกเปล่ียนเรยี นร้เู พื่อสร้างแรงบันดาลใจในการดา้ เนนิ ชีวติ

5) วัสดุ / อปุ กรณ์
1. ส่ือวดี ที ัศน์
2. คอมพวิ เตอร์ เครือ่ งฉาย จอภาพ

6) ข้นั ตอน / วธิ กี ำร
วทิ ยากร น้าออกก้าลังกาย โดยใช้ส่อื การบรหิ ารร่างกายแบบไทย และ การออกกา้ ลังกายแบบ T

26 และการพัฒนา 3 ขุมพลัง การพัฒนาสมาธิ พลังใจ และพลังกาย โดยเริ่มจากการปลุกสมองให้พร้อม
ส้าหรับการเรียนรู้เรอ่ื งราวใหม่ ๆ ท่ีจะได้รับ โดยการฝึกเล่นเกมส์ นับ 1 – 5 และใช้มือท้าท่าประกอบพรอ้ ม
การน้าเลข 1 – 5 เพื่อให้มีสมาธิ ไม่คิดฟุ้งซ่าน เพื่อเป็นการกระตุ้นสมองและร่างกาย เรียกความพร้อมก่อน
เรมิ่ กจิ กรรมต่อไป

เม่ือเกิดความพร้อมแล้ว วิทยากร ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์ดีดีเล่าสู่กันฟัง โดยให้
ผู้ฟังทุกคน ฟังให้จบก่อน หากมีข้อสงสัยให้ซักถามได้ โดยมีเวลาจ้ากัด ให้แต่ละคนเล่าประสบการณ์ที่ดี เพ่ือ
สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้อ่นื ด้วย จากน้ันให้คนที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการท้างานในบทบาทของนกั พฒั นา
มาเล่าประสบการณก์ ารทา้ งานในพ้นื ที่ให้ผเู้ ข้าอบรมในทป่ี ระชมุ ได้ฟงั

เมื่อเตรียมพร้อมด้านพลังกาย พลังใจ แล้วก็ต่อด้วยพลังปัญญา วิทยากร ได้สรุปความรู้ท่ีได้รับ
ของการเรียนรู้ในวันท่ีผ่านมา เก่ียวกับการฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้ท้ัง 9 ฐาน และการเรียนรู้ผ่านส่ือวีดีทัศนข์ อง
นายเลย่ี ม บตุ รจนั ทา ปราชญช์ าวบ้าน เรือ่ งการพึง่ ตนเอง เปน็ เกษตรกรท่หี ลายคนรจู้ ัก เป็นจุดเริ่มต้นของการ
พึ่งตนเอง คือ ต้องรู้ตน รู้ปัญหา ที่เกิดขึ้นและต้องแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุ โดยเริ่มจากการท้าบัญชีครวั เรือน ซ่ึง
จะช่วยให้มแี ผนในการด้าเนนิ ชีวิตต่อไป

วิทยากรเติมเตม็ เรอื่ งหลักส้าคัญในการเรยี นร้ไู ปสกู่ ารปฏบิ ัติ โดยเฉพาะรู้ 5 เรอ่ื ง คอื
1. ตอ้ งรู้จักตนเอง
2. ต้องร้จู ักปัญหาของตนเอง
3. รจู้ กั ตนเองวา่ อยบู่ นฐานทรพั ยากรอะไรบา้ ง
4. รกู้ ารใช้ทรัพยากร
5. รูจ้ กั ว่าตวั เราคอื ใคร อาชพี อะไร

7) สรปุ ผลกำรเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความสนใจและต้ังใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรม และเน้ือหาในกิจกรรมสามารถ

ช่วยกระตุ้นความพร้อมทางด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา อีกทั้งสร้างแรงบันดาลใจในการท้างาน และสร้าง
คณุ คา่ ในการดา้ เนินชวี ิตใหก้ บั ผเู้ ขา้ อบรม

129

สว่ นท่ี 3
กำรประเมนิ ผลโครงกำร

โครงกำรพัฒนำพ้ืนทต่ี ้นแบบกำรพัฒนำคณุ ภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎใี หม่ประยกุ สู่ "โคก หนอง นำ โมเดล"
กจิ กรรมท่ี 1 ฝกึ อบรมเพ่ิมทกั ษะระยะสัน้ กำรพัฒนำกสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รปู แบบ โคก หนอง นำ โมเดล
ระหว่ำงวนั ที่ 14-18 ธนั วำคม พ.ศ. 2563
ณ ศนู ย์ศกึ ษำและพฒั นำชมุ ชนนครนำยก

รปู แบบและวธิ กี ำรประเมนิ
มีการประเมินภาพรวมโครงการ โดยได้ท้าเป็นแบบประเมินสอบถามความคิดเห็นรายประเด็นเพ่ือเป็น

เครอื่ งมือ ในการรวบรวมข้อมูล ลกั ษณะของแบบสอบถามเปน็ แบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่าโดยในแต่ละข้อค้าถาม
จะมคี า้ ตอบให้เลอื ก 5 ตัวเลอื ก และผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกตอบได้เพยี งตัวเลือกเดียว ดงั นี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป ประกอบด้วย เพศ อายุ และการศึกษา
ส่วนที่ 2 ความคดิ เห็นต่อโครงการ

2.1 การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.2 ประโยชน์ของหวั ขอ้ วิชาต่อการนา้ ความรไู้ ปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ าน
2.3 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ
2.4 ข้อเสนอแนะ
กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมท้าแบบสอบถามออนไลนผ์ ่านทาง Google Form

กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มลู จากการน้าผลจากการท้าแบบสอบถามมาประเมนิ ผล และหาค่าเฉล่ียตามหลัก

คณติ ศาสตร์ โดยใช้คา่ เฉล่ยี ( ̅)

เกณฑก์ ำรประเมนิ ผล

เมอ่ื เก็บรวบรวมขอ้ มูลเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ไดก้ า้ หนดเกณฑส์ ้าหรับการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดังนี้

ระดบั ความคดิ เหน็ มากท่สี ดุ = 5 เกณฑ์ในการประเมนิ คอื 4.51 - 5.00

ระดับความคิดเห็นมาก = 4 เกณฑใ์ นการประเมินคือ 3.51 - 4.50

ระดบั ความคิดเหน็ ปานกลาง = 3 เกณฑ์ในการประเมนิ คอื 2.51 - 3.50

ระดับความคดิ เหน็ น้อย = 2 เกณฑ์ในการประเมินคือ 1.51 - 2.50

ระดบั ความคิดเห็นน้อยท่ีสุด = 1 เกณฑใ์ นการประเมินคือ 1.00 - 1.50

130

ผลกำรประเมินโครงกำรและผลกำรประเมนิ รำยวชิ ำ

สว่ นท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการ
ส่วนท่ี 2 ความคดิ เหน็ ต่อโครงการ
ส่วนที่ 3 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นที่ 1
สว่ นที่ 1 ผลกำรประเมนิ โครงกำร

1.1 ผู้ตอบแบบประเมนิ โครงกำร จำนวน 96 คน
จากกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ครัวเรือนละ 1 คน
จ้านวน 96 คน ในพื้นที่จังหวัด 15 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร ร้อยเอ็ด สระแก้ว ยโสธร นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์ ล้าปาง แพร่ ล้าพูน ชลบุรี สระบุรี ราชบุรี นครนายก ปทุมธานี มีผู้ตอบแบบประเมิน
จ้านวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบ
ประเมินโครงการฯ มีรายละเอียดดงั นี้

1) เพศ เพศหญิง จ้านวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 32.29 และเพศชาย จ้านวน 65 คน
คดิ เป็นร้อยละ 67.71

2) อำยุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.38 รองลงมา มีอายุ
50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.33 อายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.83 อายุ 60 ปีขึ้นไป คิดเป็น
รอ้ ยละ 7.29 และมีอายตุ ้า่ กวา่ 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 4.17 ตามลา้ ดับ

3) กำรศึกษำ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็น
ร้อยละ 52.08 ระดับต้่ากว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 40.62 ระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 7.29
ตามล้าดบั

ส่วนที่ 2 ควำมคิดเหน็ ตอ่ โครงกำรฝกึ อบรมหลกั สตู ร

2.1) กำรบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงกำร

การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ มจี ้านวน 1 ข้อ คอื เพื่อพัฒนาผู้เข้าอบรมให้มี
ความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพยี งรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาให้กลุม่ เป้าหมายเป็นแกนน้าการ
พฒั นา สามารถเป็นครกู ระบวนการ ครกู สิกรรม ครูประจ้าฐานเรียนร้กู ารพึ่งพาตนเอง และครพู าทา้

เพ่อื ขับเคลื่อนงานและเชื่อมโยงเครือข่ายในพื้นทที่ ั้ง 7 ภาคี

ประเดน็ ค่าเฉลี่ย( )̅ ระดับ

เพอ่ื พฒั นาผู้เขา้ อบรมใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเศรษฐกจิ พอเพียงรูปแบบ 4.69 มากทสี่ ุด
โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาให้กล่มุ เป้าหมายเป็นแกนน้าการพฒั นา
สามารถเปน็ ครกู ระบวนการ ครูกสิกรรม ครูประจา้ ฐานเรยี นรูก้ ารพ่งึ พา
ตนเอง และครูพาทา้ เพอื่ ขับเคลอ่ื นงานและเช่อื มโยงเครือขา่ ยในพืน้ ทีท่ งั้ 7
ภาคี

131

ประเด็น คา่ เฉลย่ี ( )̅ ระดบั
คำ่ คะแนนเฉลี่ยโดยรวมทงั้ หมด 4.69 มากท่ีสุด

จากผลการประเมินตามตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการบรรลุ
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด โดยมคี ่าเฉลีย่ คือ 4.69

2.2) ประโยชน์ของหวั ข้อวิชำตอ่ กำรนำควำมรไู้ ปปรบั ใช้ในกำรปฏิบัติงำน

ประเดน็ คา่ เฉลี่ย ( )̅ ระดับ

1.กิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์ ความคาดหวัง/กระบวนการกลุ่ม 4.50 มากทีส่ ดุ

2.เรียนรตู้ ้าราบนผืนดิน 4.50 มากทส่ี ดุ

3.โครงการพฒั นาพืน้ ทต่ี น้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ 4.52 มากทส่ี ดุ

ประยกุ ต์สู่โคก หนอง นา โมเดล

4.การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏิบตั ิแบบเปน็ ขั้นตอน 4.62 มากท่ีสดุ

5.ฝกึ ปฏิบตั ฐิ านเรียนรู้ 4.52 มากท่สี ดุ

6.ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง "ทฤษฎี บันได 9 ขน้ั สคู่ วามพอเพยี ง” 4.65 มากที่สดุ

7.หลกั กสิกรรมธรรมชาติ 4.52 มากที่สดุ

8.ทัศนศกึ ษาตัวอยา่ งความสา้ เรจ็ การพฒั นาพนื้ ทตี่ ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพ 4.50 มากที่สดุ

ชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สูโ่ คก หนอง นา โมเดล

9.ถอดบทเรยี นผา่ นสอ่ื "แผ่นดนิ ไทย ตอนแผ่นดินวกิ ฤต" 4.49 มากที่สุด

10.สขุ ภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขมุ พลัง พลงั กาย พลังใจ พลงั ปญั ญา 4.49 มากทสี่ ดุ

11.จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามอื้ สามคั คี พฒั นาพ้ืนท่ตี ามหลกั ทฤษฎีใหม่ 4.58 มากทส่ี ุด

12.ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ "วิถีภูมิปญั ญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤติ" 4.50 มากทสี่ ุด

13.การออกแบบเชิงภูมสิ งั คมไทยตามหลกั การพัฒนาภูมสิ งั คมอยา่ งยั่งยนื เพอ่ื 4.58 มากท่ีสดุ

การพ่งึ ตนเองและรองรับภยั พบิ ตั ิ

14.พืน้ ฐานการออกแบบเพอ่ื การจดั การพน้ื ที่ตามทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สูโ่ คก 4.52 มากที่สุด

หนอง นา โมเดล

15.ฝึกปฏบิ ัติการ สร้างหนุ่ จ้าลอง (กระบะทราย) การจัดการพื้นทีต่ ามทฤษฎี 4.50 มากทส่ี ุด

ใหม่ ประยกุ ต์สโู่ คก หนอง นา โมเดล

16.Team Building ฝึกปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยหู่ ากนิ 4.56 มากที่สุด

17.การขับเคล่อื นสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357 4.50 มากที่สุด

18.แผนปฏบิ ตั กิ าร "ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ 4.50 มากทส่ี ุด

การปฏิบตั ิ

คำ่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวมทัง้ หมด 4.53 มากที่สุด

จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบประเมนิ ผลโครงการ จ้านวน 96 คน ได้รับประโยชน์
ของหัวข้อวิชาต่อการน้าความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัติงานในหัวข้อวิชาจ้านวน 18 วิชา โดยเรียงล้าดับจาก
มากไปหาน้อย 3 ล้าดบั ดงั น้ี

132

1. วิชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "ทฤษฎี บันได 9 ขั้นสู่ความพอเพียง” อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉลี่ยคะแนน คือ 4.65

2. วิชาการแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติแบบเป็นขั้นตอน อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉลี่ยคะแนน คือ 4.62

3. วิชาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ อยู่ในระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉล่ยี คะแนน คือ 4.58

จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นผู้ตอบแบบประเมินได้ท้าการประเมินการได้รบั ประโยชน์ของ

หัวข้อวิชาต่อการนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ค่าเฉลี่ยคะแนนโดยรวมทัง้ หมดอย่ใู นระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉลี่ยคะแนน คอื 4.53

2.3) ควำมพึงพอใจตอ่ ภำพรวมโครงกำร ค่าเฉลี่ย ระดับ
( ̅)
ประเดน็ มากทส่ี ดุ
4.55 มากที่สุด
1.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : กระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บริกำร 4.49 มากทส่ี ุด
1) ความเหมาะสมของสถานที่ 4.65 มากที่สุด
2) ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.66 มากทส่ี ุด
3) ความเหมาะสมของช่วงเวลา 4.59
4) การจัดลา้ ดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม มากทีส่ ุด
4.68 มากทสี่ ุด
ค่ำคะแนนเฉลีย่ โดยรวม 4.60 มากทส่ี ุด
2.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : ดำ้ นวทิ ยำกร 4.58 มากที่สุด
1) ความรอบรู้ในเนอื้ หาของวิทยากร 4.55 มากทส่ี ดุ
2) ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.60
3) การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเห็น มากที่สดุ
4) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 4.68 มากทส่ี ดุ
4.65 มากทส่ี ดุ
คำ่ คะแนนเฉลีย่ โดยรวม 4.60 มากที่สดุ
3.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : เจ้ำหนำ้ ทผี่ ู้ใหบ้ รกิ ำร/ผู้ 4.59 มากทส่ี ดุ
ประสำนงำน 4.63
1) การแต่งกาย มากที่สุด
2) ความสุภาพ 4.60 มากที่สุด
3) การตอบคา้ ถาม 4.64 มากทีส่ ุด
4) การประสานงาน 4.69 มากท่ีสดุ
4.64
ค่ำคะแนนเฉลี่ยโดยรวม
4.ความพึงพอใจตอ่ การบริหารโครงการ : กำรอำนวยควำมสะดวก
1) เอกสาร
2) โสตทัศนูปกรณ์
3) เจ้าหน้าที่สนับสนุน
4) อาหาร เครื่องดมื่ และสถานท่ี

133

ประเดน็ ค่าเฉล่ยี ระดับ
( ̅) มากท่สี ุด
ค่ำคะแนนเฉลย่ี โดยรวม 4.64
5.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : คณุ ภำพกำรให้บรกิ ำร มากทส่ี ุด
1) ท่านได้รบั ความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการ/ 4.69
กิจกรรมน้ี มากที่สุด
2) ท่านสามารถนา้ สิ่งท่ไี ด้รับจากโครงการ/กิจกรรมนไี้ ปใช้ในการเรียน/ 4.60
การปฏิบัติงาน 4.65 มากท่ีสดุ
3) ส่ิงท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมคร้งั น้ีตรงตามความคาดหวังของท่าน
หรือไม่ 4.60 มากทส่ี ุด
4) สัดส่วนระหว่างฝึกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีความเหมาะสม 4.62 มากทสี่ ดุ
5) ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 4.64 มากทส่ี ุด
4.62 มำกทสี่ ุด
ค่ำคะแนนเฉล่ียโดยรวม
ค่ำคะแนนเฉลย่ี โดยรวมทงั้ หมด 5 ด้ำน

จากผลการประเมินโดยผู้ตอบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 96 คน พบว่า ประเด็นความพึงพอใจต่อ
ภาพรวมโครงการ โดยมหี ัวข้อดงั น้ี

1) ดา้ นกระบวนการขัน้ ตอนการให้บรกิ าร
2) ด้านวิทยากร

3) ด้านเจ้าหนา้ ที่ผูใ้ ห้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน

4) ดา้ นการอา้ นวยความสะดวก
5) ด้านคุณภาพการใหบ้ รกิ าร

ผู้ตอบแบบประเมินสว่ นใหญ่คดิ วา่ การบริการทง้ั 5 ด้าน อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี โดยรวม
ท้ังหมด 5 ด้าน คือ 4.62 และผลการวิเคราะห์จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า ผู้ตอบแบบประเมินมี

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ โดยเรียงล้าดับจากมากท่ีสุดไปหาน้อยท่ีสุดสามล้าดับ แยกตามหัวข้อ
ประเมนิ 5 ด้าน ดังน้ี

1. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดา้ นกระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บริกำร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านกระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บริกำร อยู่ใน

ระดบั มากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉลยี่ รวม 4.59 โดยมีค่าคะแนนเฉลยี่ 3 ล้าดับดงั น้ี

1. การจัดลา้ ดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.66

2. ความเหมาะสมของช่วงเวลา อยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.65

3. ความเหมาะสมของสถานท่ี อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.55

2. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านวิทยากร
ความพึงพอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าคะแนนเฉลย่ี

รวม 4.60 โดยมีคา่ คะแนนเฉลย่ี 3 ลา้ ดบั ดงั นี้

134

1. ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.68

2. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อย่ใู นระดบั มากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.60

3. การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยู่ในระดบั มากท่สี ุด คา่ คะแนนเฉลีย่ 4.58

3. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านเจา้ หน้าท่ผี ้ใู ห้บริการ/ผู้ประสานงาน

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน อยู่ใน
ระดบั มากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.63 โดยมคี ่าคะแนนเฉล่ีย 3 ลา้ ดับดงั นี้

1. การแต่งกาย อยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.68
2. ความสุภาพ อยู่ในระดบั มากที่สดุ ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.65
3. การตอบค้าถาม อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.60

4. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านการอา้ นวยความสะดวก

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านการอ้านวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ คะแนนเฉลย่ี รวม 4.64 โดยมคี า่ คะแนนเฉลย่ี 3 ลา้ ดบั ดังน้ี

1. เจ้าหน้าที่สนับสนุน อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.69

2. โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด คา่ คะแนนเฉลยี่ 4.64

3. อาหาร เครื่องด่ืมและสถานที่ อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.64

4. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านคุณภาพการให้บริการ
ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด

ค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.64 โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดับดงั นี้
1. ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการ/กิจกรรมนี้

อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.69
2. สิ่งที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดหวังของท่านหรอื ไม่

อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.65
3. ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยูใ่ นระดับมากทส่ี ดุ คา่ คะแนนเฉล่ีย 4.62

2.4) ข้อเสนอแนะ

2.4.1) ส่ิงที่ท่ำนพึงพอใจในกำรร่วมโครงกำร/กิจกรรมคร้งั น้ี
- ไดร้ ับความรู้และแนวทางการในการนา้ ไปใชง้ านจริงในพื้นท่ีของตนเอง
- ความรักสามัคคีมีความเปน็ น้าหนง่ึ ใจเดยี วกนั
- การได้ร่วมกิจกรรมกบั ผู้อ่นื
- การเปน็ เครือขา่ ยโคกหนองนา แลกเปลยี่ นความรู้ร่วมกัน
- วทิ ยากร เนือ้ หา กิจกรรม ยอดเยย่ี ม
- การไดแ้ ลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ับสิง่ ใหมๆ่ และไดค้ วามร้เู พมิ่ เตมิ
- การลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ น้าไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้
- พงึ พอใจกับการทา้ กจิ กรรมครั้งน้มี าก
- พงึ พอใจทง้ั สถานท่ี วิทยากรเจ้าหนา้ ทีโ่ ครงการทกุ คน
- การให้ความเข้าใจการถา่ ยทอดองค์ความรู้ตา่ ง ๆ


Click to View FlipBook Version