The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 05:51:16

CLM Nakhonnayok

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

135

- ไดเ้ ข้าใจวตั ถปุ ระสงค์ของการดา้ เนินโครงการพฒั นาพ้นื ทตี่ ้นแบบฯ อย่างถูกต้องยง่ิ ขน้ึ
- การเตรยี มความพร้อมในการอบรม
2.4.2) ส่ิงที่ควรเสนอแนะนำไปพฒั นำกำรจัดโครงกำร/กิจกรรมคร้งั ต่อไป

1) ด้ำนเนอ้ื หำหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในกำรฝึกอบรม
- เพิ่มเวลาฝึกปฏบิ ัติฐานเรียนรู้ให้มากกว่าน้ี
- เน้ือหาหลกั สูตรและกิจกรรมหลักสตู รเหมาะสมดีแล้ว
- การเน้นการฝึกปฏิบตั ิ
- ระยะเวลาฝึกอบรมระยะส้นั เกนิ ไปควรเพิ่มระยะเวลาฝึกอบรมมากกว่านี้
- เนอ้ื หาวิชามีจ้านวนวชิ ามาก ระยะเวลาจดั กิจกรรมแตล่ ะวิชาน้อยเกินไป
- เพม่ิ เตมิ เน้ือหาหลักสูตรในส่วนของการบริหารนกั พฒั นาพน้ื ท่ีตน้ แบบฯ

2) ด้ำนวทิ ยำกรและเจำ้ หน้ำทีโ่ ครงกำร
- วิทยากรและทมี เจา้ หน้าทโี่ ครงการ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีเต็มก้าลงั ความสามารถ

และสนใจผู้เขา้ รบั การอบรมเปน็ อยา่ งดี
- วทิ ยากรมอี งคค์ วามรู้ ความเขา้ ใจถ่ายถอดความรู้ไดเ้ ข้าใจงา่ ย
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการ นา่ รกั เป็นกนั เอง ใหค้ า้ แนะนา้ ดมี าก-
- เจ้าหนา้ ท่ีโครงการ ให้การสนับสนนุ และเอาใจใส่ผู้เขา้ อบรมเป็นอยา่ งดี
- การเตรียมทมี งานดมี าก

3) อำคำรสถำนท่ี ห้องพัก หอ้ งอบรม โรงอำหำร
- สถานท่ี ห้องพัก ห้องอบรม โรงอาหารมคี วามสะอาด สะดวกสบาย เป็น

ระเบยี บเรยี บร้อย
- ห้องพกั เหมาะสม แตห่ า่ งไกลไปหน่อย

4) อุปกรณ์โสตทัศนปู กรณ์
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์มคี วามพร้อม ใช้งานไดด้ ีเหมาะสม และทนั สมัย

5) อำหำร/อำหำรว่ำงและเคร่อื งดื่ม
- อาหาร อาหารว่างและเครือ่ งด่ืม สะอาด และอรอ่ ย ไดส้ ขุ ลักษณะ
- อาหารอรอ่ ยทกุ ม้ือ และเพียงพอตอ่ ผ้เู ข้าอบรม
- อาหารมีความหลากหลาย
-ควรใชอ้ าหารไทยวนไปทกุ ภาคและใชข้ นมแบบไทยๆ และน้าตม้ ใบเตยจะดมี าก

136

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ท่ี 2
สว่ นท่ี 1 ผลกำรประเมนิ โครงกำร

1.1 ผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงกำร จำนวน 100 คน
จากกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ครัวเรือนละ 1 คน
จ้านวน 100 คน ในพื้นที่จังหวัด 3 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี กาฬสินธ์ุ และกระบ่ี มีผู้ตอบแบบประเมิน
จ้านวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบ
ประเมินโครงการฯ มรี ายละเอียดดงั น้ี

1) เพศ เพศหญิง จ้านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 34.92 และเพศชาย จ้านวน 56 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 44.44

2) อำยุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 27.78 รองลงมา
มีอายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.60 มีอายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.11 มีอายุ 60 ปีข้ึนไป
คิดเป็นรอ้ ยละ 9.52 และมีอายุตา้่ กวา่ 30 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.35 ตามลา้ ดับ

3) กำรศึกษำ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีการศึกษาอยู่ในระดับระดับปริญญาตรี คิดเป็น
ร้อยละ 38.89 การศึกษาอยู่ในระดับต่้ากว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 35.54 การศึกษาอยู่ในระดับ
ปริญญาโท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.14 และอ่ืนๆ คอื เปรียญธรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.79 ตามลา้ ดบั

ส่วนท่ี 2 ควำมคิดเหน็ ตอ่ โครงกำรฝึกอบรมหลักสูตร

2.1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
การบรรลุวัตถุประสงคข์ องโครงการ มีจ้านวน 1 ขอ้ คอื เพื่อพฒั นาผู้เข้าอบรมให้มี

ความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาให้กลมุ่ เป้าหมายเป็นแกนน้าการ
พัฒนา สามารถเป็นครกู ระบวนการ ครูกสิกรรม ครูประจ้าฐานเรียนรกู้ ารพง่ึ พาตนเอง และครพู าทา้
เพ่อื ขับเคล่อื นงานและเช่ือมโยงเครือข่ายในพน้ื ทท่ี ้ัง 7 ภาคี

ประเด็น ค่าเฉลี่ย( ̅) ระดับ
4.53 มากที่สุด
เพื่อพฒั นาผูเ้ ข้าอบรมให้มคี วามรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพยี งรปู แบบ 4.53 มำกทีส่ ดุ
โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาใหก้ ลุ่มเปา้ หมายเป็นแกนนา้ การพฒั นา
สามารถเป็นครกู ระบวนการ ครกู สกิ รรม ครูประจ้าฐานเรียนรู้การพึ่งพา
ตนเอง และครพู าท้า เพ่ือขบั เคลือ่ นงานและเชือ่ มโยงเครอื ข่ายในพน้ื ทท่ี ง้ั 7
ภาคี

คำ่ คะแนนเฉลย่ี โดยรวมทั้งหมด

จากผลการประเมินตามตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการบรรลุ
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ อย่ใู นระดับมากทสี่ ดุ โดยมคี ่าเฉลยี่ คือ 4.53

137

2.2) ประโยชน์ของหัวขอ้ วิชาตอ่ การนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน

ประเดน็ คา่ เฉลีย่ ( )̅ ระดับ

1.กจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์ ความคาดหวัง/กระบวนการกลุม่ 4.58 มากท่ีสดุ

2.เรียนรตู้ ้าราบนผืนดิน 4.59 มากที่สดุ

3.โครงการพัฒนาพ้นื ท่ตี น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ 4.56 มากทส่ี ุด

ประยกุ ตส์ ู่โคก หนอง นา โมเดล

4.การแปลงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิแบบเป็นข้นั ตอน 4.61 มากที่สดุ

5.ฝกึ ปฏบิ ตั ฐิ านเรียนรู้ 4.62 มากที่สดุ

6.ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง "ทฤษฎี บนั ได 9 ขั้นสูค่ วามพอเพียง 4.64 มำกที่สดุ

7.หลกั กสิกรรมธรรมชาติ 4.57 มากทส่ี ุด

8.ทัศนศกึ ษาตัวอย่างความส้าเรจ็ การพัฒนาพ้นื ทต่ี ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพ 4.54 มากที่สุด

ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ่โู คก หนอง นา โมเดล

9.ถอดบทเรียนผ่านสื่อ "แผน่ ดินไทย ตอนแผ่นดินวิกฤต" 4.56 มากที่สดุ

10.สุขภาพพ่งึ ตน พัฒนา 3 ขมุ พลัง พลังกาย พลงั ใจ พลงั ปญั ญา 4.57 มากที่สดุ

11.จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอาม้ือสามคั คี พฒั นาพื้นทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่ 4.67 มำกท่ีสุด

12.ถอดบทเรยี นผ่านสอ่ื "วถิ ภี มู ิปญั ญาไทยกบั การพ่ึงตนเองในภาวะวกิ ฤติ" 4.55 มากท่สี ดุ

13.การออกแบบเชิงภูมิสงั คมไทยตามหลกั การพัฒนาภมู ิสังคมอยา่ งยัง่ ยนื เพ่ือ 4.57 มากทส่ี ดุ

การพงึ่ ตนเองและรองรบั ภยั พิบัติ

14.พน้ื ฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพื้นท่ตี ามทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่โคก 4.54 มากทส่ี ุด

หนอง นา โมเดล

15.ฝกึ ปฏบิ ัติการ สรา้ งหนุ่ จ้าลอง (กระบะทราย) การจดั การพ้ืนทตี่ ามทฤษฎี 4.57 มากทสี่ ุด

ใหม่ ประยกุ ต์สู่โคก หนอง นา โมเดล

16.Team Building ฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยูห่ ากิน 4.69 มำกทส่ี ดุ

17.การขับเคล่อื นสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357 4.56 มากที่สุด

18.แผนปฏิบตั กิ าร "ยทุ ธศาสตร์การขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ 4.57 มากทีส่ ดุ

การปฏิบัติ

คำ่ คะแนนเฉล่ยี โดยรวมทัง้ หมด 4.59 มำกท่สี ุด

จากตารางดังกลา่ วแสดงใหเ้ ห็นวา่ ผู้ตอบแบบประเมนิ ผลโครงการ จ้านวน 100 คน ได้รับประโยชน์
ของหัวข้อวิชาต่อการนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในหัวขอ้ วชิ ามาก โดยเรียงลา้ ดบั จากมากไปหาน้อย

3 ลา้ ดบั ดังน้ี
1. วิชา Team Building ฝกึ ปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอย่หู ากิน อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ เฉลย่ี คะแนน คือ 4.69
2. วิชา จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามื้อสามัคคี พฒั นาพ้นื ทีต่ ามหลกั ทฤษฎีใหม่ อยใู่ นระดับมากท่ีสุด

คา่ เฉลยี่ คะแนน คอื 4.67

138

3. วิชา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง "ทฤษฎี บันได 9 ขั้นส่คู วามพอเพียง อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉลยี่ คะแนน คอื 4.64

จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นผู้ตอบแบบประเมินได้ท้าการประเมินการได้รบั ประโยชน์ของ
หัวข้อวิชาต่อการน้าความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ค่าเฉล่ียคะแนนโดยรวมท้ังหมดอยู่ในระดับ
มากทสี่ ดุ คา่ เฉลย่ี คะแนน คือ 4.59

2.3) ความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมโครงการ ค่าเฉลี่ย ระดับ
( ̅)
ประเดน็ มากทส่ี ดุ
4.71 มำก
1.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : กระบวนกำรข้ันตอนกำรใหบ้ รกิ ำร 4.49 มำก
1) ความเหมาะสมของสถานท่ี 4.45
2) ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.65 มากที่สดุ
3) ความเหมาะสมของช่วงเวลา 4.58 มากที่สุด
4) การจัดลา้ ดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม
4.76 มากทสี่ ดุ
คำ่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวม 4.70 มากทส่ี ุด
2.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : ด้ำนวทิ ยำกร 4.73 มากทส่ี ุด
1) ความรอบรู้ในเน้อื หาของวิทยากร 4.59 มากทส่ี ุด
2) ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.70 มำกที่สดุ
3) การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเห็น
4) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 4.58 มากท่สี ดุ
4.70 มากที่สุด
คำ่ คะแนนเฉลย่ี โดยรวม 4.60 มากที่สดุ
3.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : เจ้ำหนำ้ ทผ่ี ใู้ หบ้ ริกำร/ผู้ 4.55 มากทส่ี ุด
ประสำนงำน 4.61 มำกท่ีสดุ
1) การแตง่ กาย
2) ความสุภาพ 4.49 มาก
3) การตอบค้าถาม 4.54 มากท่สี ดุ
4) การประสานงาน 4.56 มากที่สุด
4.75 มากทส่ี ดุ
คำ่ คะแนนเฉลย่ี โดยรวม 4.59 มำกทส่ี ุด
4.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : กำรอำนวยควำมสะดวก
1) เอกสาร 4.70 มากที่สดุ
2) โสตทัศนูปกรณ์
3) เจ้าหน้าท่ีสนับสนุน
4) อาหาร เครือ่ งดม่ื และสถานที่

คำ่ คะแนนเฉลี่ยโดยรวม
5.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : คุณภำพกำรใหบ้ ริกำร
1) ท่านได้รบั ความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/
กิจกรรมนี้

139

ประเดน็ ค่าเฉล่ีย ระดบั
( )̅
2) ท่านสามารถนา้ สิ่งท่ไี ด้รับจากโครงการ/กิจกรรมน้ีไปใช้ในการเรียน/ 4.62 มากทส่ี ุด
การปฏิบัติงาน
3) ส่ิงท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมคร้งั น้ีตรงตามความคาดหวังของท่าน 4.54 มากทส่ี ดุ
หรือไม่
4) สัดส่วนระหว่างฝกึ อบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีความเหมาะสม 4.46 มาก
5) ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 4.67 มากท่ีสดุ
4.60 มากทสี่ ดุ
ค่ำคะแนนเฉลยี่ โดยรวม 4.61 มำกที่สดุ
ค่ำคะแนนเฉลีย่ โดยรวมท้งั หมด 5 ด้ำน

จากผลการประเมินโดยผู้ตอบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 100 คน พบว่า ประเด็นความพึงพอใจต่อ
ภาพรวมโครงการ โดยมหี ัวขอ้ ดงั น้ี

1) ด้านกระบวนกำรข้ันตอนกำรใหบ้ ริกำร
2) ด้านวิทยากร

3) ด้านเจา้ หนา้ ทผ่ี ้ใู ห้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน
4) ดา้ นการอา้ นวยความสะดวก

5) ดา้ นคุณภาพการให้บริการ

ผ้ตู อบแบบประเมนิ สว่ นใหญ่คดิ ว่าการบริการทงั้ 5 ดา้ น อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ียโดยรวม
ท้ังหมด 5 ด้าน คือ 4.61 และผลการวิเคราะห์จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า ผู้ตอบแบบประเมินมี

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ โดยเรียงล้าดับจากมากท่ีสุดไปหาน้อยท่ีสุดสามล้าดับ แยกตามหัวข้อ
ประเมนิ 5 ดา้ น ดงั น้ี

1. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดา้ นกระบวนกำรขนั้ ตอนกำรใหบ้ ริกำร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านกระบวนกำรขั้นตอนกำรให้บริกำร อยู่ใน

ระดบั มากทีส่ ุด คา่ คะแนนเฉลี่ยรวม 4.58 โดยมีคา่ คะแนนเฉลย่ี 3 ลา้ ดบั ดงั น้ี

1. ความเหมาะสมของสถานที่ อยู่ในระดับมากที่สดุ ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.71

2. การจัดล้าดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม อยูใ่ นระดับมากทส่ี ดุ คา่ คะแนนเฉลีย่ 4.65

3. ความเหมาะสมของระยะเวลา อยู่ในระดบั มาก ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.49

2. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านวิทยากร

ความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าคะแนน

เฉลย่ี รวม 4.70 โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดบั ดังน้ี

1.ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร อยใู่ นระดับมากทีส่ ุด คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.76

2.การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.73

3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.70

140

3. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ใหบ้ รกิ าร/ผปู้ ระสานงาน

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน
อยูใ่ นระดับมากทสี่ ดุ คา่ คะแนนเฉลี่ยรวม 4.61 โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดับดังนี้

1.ความสุภาพ อยู่ในระดับมากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉล่ีย 4.70
2.การตอบค้าถาม อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.60
3.การแต่งกาย อยู่ในระดบั มากที่สดุ คา่ คะแนนเฉลีย่ 4.58

4. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดา้ นการอ้านวยความสะดวก

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านการอ้านวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ คะแนนเฉลย่ี รวม 4.59 โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3 ลา้ ดบั ดงั น้ี

1. อาหาร เครื่องดื่มและสถานที่ อยใู่ นระดบั มากที่สุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.75

2. เจ้าหน้าที่สนับสนุน อย่ใู นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.56

3. โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.54

5. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดา้ นคุณภาพการให้บริการ
ความพงึ พอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ คะแนนเฉล่ียรวม 4.60 โดยมคี า่ คะแนนเฉล่ยี 3 ล้าดับดงั น้ี
1. ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการ/กิจกรรมนี้

อยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.70
2. ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.67
3.ท่านสามารถน้าสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน

อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.62

2.4) ขอ้ เสนอแนะ

2.4.1) สิ่งที่ท่ำนพึงพอใจในกำรร่วมโครงกำร/กิจกรรมครั้งน้ี
- เนื้อหาหลักสูตรเป็นหลักสูตรท่ีดีมาก ครบถ้วนสมบูรณ์
- พึงพอใจวิทยากรและเจ้าหน้าที่โครงการ สถานที่ อุปกรณ์

โสตทัศนูปกรณ์ อาหารอร่อย
- ได้เรียนรู้และปฏิบัติเพื่อไปประยุกต์ใช้
- การได้รับความรู้ใหม่ๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถน้าไปปรับใช้ได้ของ

ตนเองและพืน้ ท่ี
- การลงมือปฏิบัตจิ รงิ
- ความตั้งใจการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ ของทีมวิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ี

โครงการ
2.4.2) สิ่งท่ีควรเสนอแนะนำไปพัฒนำกำรจัดโครงกำร/กิจกรรมครั้งต่อไป

1) ด้ำนเนื้อหำหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในกำรฝึกอบรม

141

- เนื้อหาหลักสูตรควรครอบคลุม ทุกเน้ือหาของหลักสูตร
- ควรมีหลักสูตรที่เก่ียวกับปศุสัตว์ท้าจริงเต็มสูตร
- วิทยากรท่ีประสบความสา้ เร็จในโครงการหลากหลาย
- เนื้อหาหลักสูตรเน้ือหาในบางรายวิชาสามารถเพมิ่ เติมเวลาหรือ
ขยายไปให้มากกว่าเดิม เช่น การออกแบบ การจัดท้ายุทธศาสตร์
- หลักสูตรดีกิจกรรมดีแต่เรื่องเวลาอัดแน่นเกินไปเรม่ิ เข้าและเลิก
มืดเกินไปอยากให้คุณเวลามากกว่าน้ี
- วิชาหาอยู่หากินควรเข้มข้นกว่าน้คี วรให้ทุกคนมีส่วนร่วมใน
หลายด้านไม่พึ่งแต่คนใดคนหนึ่ง
- เนื้อหาวิชาการออกแบบพื้นท่ี ควรจะเน้นเชิงลึกกว่าน้ี
- เน้ือหาตลอดหลักสูตรน้ันมีความเพียงพอต่อโครงการและควรมี
หรือพัฒนาหลักสูตรให้สามารถเข้าถึงได้ง่าย
- เนื้อหาควรจัดหลักสตู รให้ครบถ้วนตามฐานเรียนรู้ที่มอี ยู่ของ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
- ใช้เวลาในการอบรมท้าให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมลา้ ไม่สามารถรับ
ความรู้ได้เต็มท่ี
- เพิ่มกิจกรรมการลงมือปฏิบัติให้มากกว่านี้ และเพิ่มเติมแนว
ทางการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานในพื้นท่ี
- ให้มีเอกสารแจกเพิ่มเติมเพ่ือกลับไปทบทวนเพ่ิมเวลาบาง
หลักสูตร
2) ด้ำนวิทยำกรและเจ้ำหนำ้ ทโี่ ครงกำร
- วิทยากร มีความรู้ความสามารถถ่ายทอดได้ดี
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการน่ารักทกุ คน
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการอธิบายได้ดีมาก
- วิทยากรมีความรู้ดีและเป็นกันเอง ให้ความสนใจเอาใจใส่ดี
- วิทยากรบุคลิกดีแตง่ กายสุภาพพูดจาดี
- ควรเพ่มิ จ้านวนวิทยากรโครงการ
- วิทยากรเหมาะสมแล้วแต่อาจมีความเกรงใจ หรือละลาย
พฤติกรรมของผู้เข้ารว่ มอบรมให้มากกวา่ น้ี
3) อำคำรสถำนท่ี หอ้ งพัก ห้องอบรม โรงอำหำร
- อาคารสถานท่ีสะอาดดีมาก
- อาคารสถานที่สะดวกสบาย
- อาคารสถานท่ี ไมอ่ ยากรวมตัวกันมากเพื่อป้องกนั โรคโควิด
- อาคารสถานท่ีควรดูแลความสะอาดห้องนา้
4) อปุ กรณ์โสตทัศนูปกรณ์
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ครบถ้วน และทนั สมยั

142

- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ควรจะมีจอทีวีแยกโดยรอบเน่อื งจาก
ภาพขวาโปรเจคเตอร์ขนาดเล็กเกินไป
5) อำหำร/อำหำรว่ำงและเครอ่ื งด่ืม

- อาหารเพียงพอต่อความต้องการ
- อาหาร อาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม สะอาดและอรอ่ ย
- อาหารอร่อยและหลากหลายเกินไป
- อาหาร ควรตรวจสอบว่าผู้อบรมมอี ายุระหว่างเท่าไหร่ ศาสนา
และโรคประจา้ ตัว อาการแพ้อาหาร เพ่อื เตรยี มอาหารท่ีจะรับประทานท่ี
เหมาะสมกบั ผู้เข้าอบรม
- เคร่อื งดืม่ อาจจะเปน็ นา้ สมุนไพรทอ้ งถ่นิ เพ่อื สุขภาพ เชน่
นา้ กระเจี๊ยบ น้ามะตูม นา้ ขงิ น้าตะไคร้
- อาหารและอาหารว่าง มีความเหมาะสม แต่อาจจะ
เปล่ียนเปน็ สมนุ ไพรให้มากขึ้นลดน้าตาลกะทิ

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นที่ 3

สว่ นที่ 1 ผลกำรประเมนิ โครงกำร

1.1 ผตู้ อบแบบประเมนิ โครงกำร จำนวน 68 คน
การประเมินผล ภาพรวมการฝึกอบรมโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกสู่ "โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้ันการพัฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ระหว่างวันที่ 11 - 15 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2564 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ต้าบลสาริกา อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก มี
กลุ่มเป้าหมาย คือ พื้นท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับต้าบล (CLM) จ้านวน 68 คน
ในพ้ืนที่จังหวัดอุบลราชธานี มีผู้ตอบแบบประเมินจ้านวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
จากผลการประเมินข้อมลู ทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการฯ มีรายละเอยี ดดงั นี้
1) เพศ เพศชาย จ้านวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 69.12 และเพศหญิง จ้านวน 21 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 30.88
2) อำยุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.24 รองลงมา
มีอายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.35 และมีอายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.76 และมีอายุ 60 ปี
ข้นึ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.30 และมีอายุตา่้ กวา่ 30 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 7.35 ตามล้าดับ
3) กำรศึกษำ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีการศึกษาอยู่ในระดับต้่ากว่าปริญญาตรี คิดเป็น
รอ้ ยละ 51.47 การศึกษาอยใู่ นระดับระดบั ปริญญาตรี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.35 การศึกษาอยู่ในระดบั ปรญิ ญา
โท คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.18 ตามล้าดับ

143

ส่วนท่ี 2 ควำมคดิ เห็นต่อโครงกำรฝกึ อบรมหลกั สตู ร

2.1) กำรบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงกำร
การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ มีจ้านวน 1 ข้อ คือ เพื่อพัฒนาผู้เข้าอบรมให้มี

ความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายเป็นแกนน้าการ
พัฒนา สามารถเป็นครูกระบวนการ ครูกสิกรรม ครูประจา้ ฐานเรียนรู้การพ่ึงพาตนเอง และครูพาท้า
เพ่ือขับเคล่ือนงานและเช่ือมโยงเครือข่ายในพ้ืนท่ีท้ัง 7 ภาคี

ประเด็น คา่ เฉล่ีย (X) ระดับ
มากที่สดุ
เพือ่ พัฒนาผเู้ ขา้ อบรมให้มคี วามรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพยี งรปู แบบ 4.59 มำกทีส่ ดุ
โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายเป็นแกนน้าการพฒั นา 4.59
สามารถเป็นครกู ระบวนการ ครูกสกิ รรม ครูประจา้ ฐานเรยี นรู้การพึ่งพา
ตนเอง และครพู าทา้ เพื่อขับเคล่ือนงานและเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยในพ้ืนที่
ทงั้ 7 ภาคี

ค่ำคะแนนเฉล่ยี โดยรวมทง้ั หมด

จากผลการประเมินตามตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการ
บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการฯ อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ โดยมีคา่ เฉลยี่ คอื 4.59

2.2) ประโยชน์ของหวั ข้อวิชำตอ่ กำรนำควำมรู้ไปปรับใชใ้ นกำรปฏิบัติงำน

ประเดน็ ค่าเฉล่ีย (X) ระดบั
4.54 มากที่สดุ
1.กจิ กรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ ความคาดหวัง/กระบวนการกลมุ่ 4.53 มากที่สดุ
2.เรยี นรู้ตา้ ราบนผนื ดนิ 4.62 มากทส่ี ุด
3.โครงการพัฒนาพนื้ ทีต่ น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยกุ ตส์ โู่ คก หนอง นา โมเดล 4.51 มากทส่ี ุด
4.การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิแบบเป็นขั้นตอน 4.54 มากทส่ี ุด
5.ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐานเรียนรู้ 4.60 มากทส่ี ุด
6.ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง "ทฤษฎี บนั ได 9 ขน้ั สคู่ วามพอเพยี ง 4.60 มากที่สุด
7.หลักกสกิ รรมธรรมชาติ 4.51 มากที่สุด
8.ทศั นศกึ ษาตวั อย่างความสา้ เรจ็ การพัฒนาพืน้ ทตี่ น้ แบบการพฒั นา
คุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ โู่ คก หนอง นา โมเดล 4.49 มาก
9.ถอดบทเรียนผา่ นสอ่ื "แผ่นดินไทย ตอนแผ่นดนิ วกิ ฤต" 4.44 มาก
10.สุขภาพพงึ่ ตน พัฒนา 3 ขมุ พลงั พลังกาย พลังใจ พลงั ปัญญา

144

ประเดน็ คา่ เฉล่ีย (X) ระดับ
4.54 มากที่สดุ
11.จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามือ้ สามคั คี พัฒนาพ้นื ที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ 4.54 มากทีส่ ุด
12.ถอดบทเรียนผ่านส่อื "วิถภี มู ปิ ญั ญาไทยกบั การพึ่งตนเองในภาวะวกิ ฤต"ิ 4.49
13.การออกแบบเชงิ ภมู ิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสงั คมอยา่ งยัง่ ยนื มาก
เพ่อื การพ่ึงตนเองและรองรบั ภยั พิบตั ิ 4.65
14.พื้นฐานการออกแบบเพ่ือการจดั การพน้ื ท่ตี ามทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ มากทสี่ ดุ
โคก หนอง นา โมเดล 4.52
15.ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ สร้างหุน่ จ้าลอง (กระบะทราย) การจัดการพนื้ ท่ตี าม มากทส่ี ุด
ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สูโ่ คก หนอง นา โมเดล 4.63
16.Team Building ฝกึ ปฏิบตั กิ ารบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่หา มากทส่ี ุด
กิน 4.53
17.การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357 4.57 มากท่ีสุด
18.แผนปฏบิ ตั กิ าร "ยทุ ธศาสตร์การขับเคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกิจ มากทส่ี ดุ
พอเพยี ง 4.55
สกู่ ารปฏบิ ตั ิ มำกทสี่ ุด

คำ่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวมท้งั หมด

จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 68 คน ได้รับประโยชน์
ของหัวข้อวิชาต่อการนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในหัวขอ้ วชิ ามาก โดยเรยี งล้าดบั จากมากไปหานอ้ ย
3 ลา้ ดบั ดังนี้

1. วิชา พ้ืนฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพื้นที่ตามทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคก หนอง นา โมเดล
อยู่ในระดับมากทีส่ ุด คา่ เฉล่ียคะแนน คือ 4.65

2. วชิ า Team Building ฝกึ ปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยหู่ ากนิ อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด
ค่าเฉลย่ี คะแนน คือ 4.63

3. วิชา โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคก

หนอง นา โมเดล อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ค่าเฉลี่ยคะแนน คอื 4.62
จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นผู้ตอบแบบประเมินได้ท้าการประเมินการได้รบั ประโยชน์ของ

หัวข้อวิชาต่อการนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน คา่ เฉลีย่ คะแนนโดยรวมทั้งหมดอยใู่ นระดับมากที่สุด
คา่ เฉลี่ยคะแนน คือ 4.55

2.3) ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมโครงกำร

ประเดน็ คา่ เฉลย่ี ระดบั

1.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : กระบวนกำรข้ันตอนกำรใหบ้ รกิ ำร (X) มากท่สี ดุ
1) ความเหมาะสมของสถานท่ี มากที่สุด
2) ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.56
4.53

145

ประเดน็ ค่าเฉลี่ย ระดับ
มาก
3) ความเหมาะสมของช่วงเวลา (X) มากที่สุด
4) การจัดล้าดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม มำกทส่ี ุด
4.41
ค่ำคะแนนเฉลย่ี โดยรวม ดำ้ นกระบวนกำรข้นั ตอนกำรใหบ้ รกิ ำร 4.56 มากที่สดุ
4.52 มากทส่ี ดุ
2.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : ดำ้ นวทิ ยำกร มากทส่ี ดุ
4.57 มากที่สดุ
1) ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร 4.53 มำกท่ีสุด
2) ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.51
3) การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น 4.56 มากที่สดุ
4) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 4.54 มากทส่ี ดุ

คำ่ คะแนนเฉล่ยี โดยรวม ด้ำนวทิ ยำกร 4.59 มาก
3.ความพงึ พอใจต่อการบริหารโครงการ : เจำ้ หนำ้ ท่ผี ้ใู หบ้ รกิ ำร/ผู้ 4.68 มากทส่ี ุด
ประสำนงำน 4.50 มำกทส่ี ุด
1) การแต่งกาย 4.57
2) ความสุภาพ 4.59 มาก
3) การตอบคา้ ถาม มากทส่ี ุด
4) การประสานงาน 4.44 มากที่สุด
4.53 มากทส่ี ดุ
ค่ำคะแนนเฉล่ียโดยรวม ดำ้ นเจำ้ หนำ้ ทผี่ ้ใู ห้บริกำร/ผปู้ ระสำนงำน 4.62 มำกทส่ี ดุ
4.ความพึงพอใจตอ่ การบริหารโครงการ : กำรอำนวยควำมสะดวก 4.65
1) เอกสาร 4.56 มากทส่ี ุด
2) โสตทัศนูปกรณ์
3) เจ้าหน้าที่สนับสนุน 4.63 มากทส่ี ุด
4) อาหาร เคร่อื งดมื่ และสถานท่ี
4.51 มากที่สุด
ค่ำคะแนนเฉลีย่ โดยรวม ดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก
5.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : คุณภำพกำรใหบ้ รกิ ำร 4.60 มาก
1) ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการ/ มากที่สดุ
กิจกรรมน้ี 4.47 มำกที่สดุ
2) ท่านสามารถนา้ สิ่งท่ีได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/ 4.59 มำกทีส่ ดุ
การปฏิบัตงิ าน 4.56
3) ส่ิงที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมคร้งั นี้ตรงตามความคาดหวังของ 4.55
ท่านหรือไม่
4) สัดส่วนระหว่างฝกึ อบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีความเหมาะสม
5) ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม

ค่ำคะแนนเฉลย่ี โดยรวม ด้ำนคณุ ภำพกำรใหบ้ ริกำร

ค่ำคะแนนเฉล่ียโดยรวมทงั้ หมด 5 ดำ้ น

146

จากผลการประเมินโดยผูต้ อบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 68 คน พบว่า ประเด็นความพงึ พอใจ
ต่อภาพรวมโครงการ โดยมีหวั ขอ้ ดังนี้

1) ดา้ นกระบวนการขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร

2) ด้านวิทยากร
3) ด้านเจา้ หนา้ ที่ผ้ใู ห้บริการ/ผู้ประสานงาน

4) ดา้ นการอ้านวยความสะดวก
5) ด้านคณุ ภาพการใหบ้ ริการ

ผตู้ อบแบบประเมินส่วนใหญ่คิดว่าการบริการทงั้ 5 ดา้ น อยู่ในระดบั มากที่สดุ คา่ คะแนนเฉลี่ยโดยรวม

ท้ังหมด 5 ด้าน คือ 4.55 และผลการวิเคราะห์จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า ผู้ตอบแบบประเมินมี
ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ โดยเรียงล้าดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดสามล้าดับ แยกตามหัวข้อ

ประเมนิ 5 ดา้ น ดงั น้ี

1. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดา้ นกระบวนกำรข้ันตอนกำรใหบ้ ริกำร

ความพึงพอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ ด้านกระบวนกำรขน้ั ตอนกำรให้บริกำร

อยู่ในระดับมากทส่ี ุด คา่ คะแนนเฉล่ียรวมคือ 4.52 โดยมีค่าคะแนนเฉล่ยี 3 ลา้ ดับดงั น้ี

1. ความเหมาะสมของสถานที่ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.56

2. การจัดลา้ ดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม อยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.56

3. ความเหมาะสมของระยะเวลา อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.53

2. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้ำนวิทยำกร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านวิทยากร อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด

ค่าคะแนนเฉล่ยี รวม คือ 4.54 โดยมคี า่ คะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดบั ดงั นี้

1. ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.57

2. การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ อยใู่ นระดับมากที่สดุ ค่าคะแนนเฉลยี่ 4.56

3. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยใู่ นระดับมากที่สดุ คา่ คะแนนเฉล่ีย 4.53

3. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร: ด้ำนเจำ้ หนำ้ ทผ่ี ูใ้ ห้บรกิ ำร/ผู้ประสำนงำน

ความพึงพอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน อยู่ใน

ระดบั มากที่สุด คา่ คะแนนเฉลยี่ รวม คือ 4.59 โดยมีค่าคะแนนเฉล่ยี 3 ล้าดบั ดังน้ี

1. ความสุภาพ อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.68

2. การแต่งกาย อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.59

3. การประสานงาน อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.57

147

4. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร: ด้ำนกำรอำนวยควำมสะดวก

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านการอ้านวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด

คา่ คะแนนเฉลี่ยรวมคือ 4.56 โดยมีค่าคะแนนเฉลยี่ 3 ลา้ ดับดังนี้

1. อาหาร เครื่องด่ืมและสถานท่ี อยู่ในระดบั มากที่สุด คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.65

2. เจ้าหน้าที่สนับสนุน อยู่ในระดับมากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.62

3. โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.53

5. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้ำนคุณภำพกำรให้บริกำร
ความพงึ พอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด

ค่าคะแนนเฉลีย่ รวม คือ 4.56 โดยมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดบั ดงั น้ี
1.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณใ์ หม่ๆจากโครงการ/กิจกรรมน้ี อยใู่ นระดบั

มากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.63

2.ท่านสามารถน้าสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน
อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.60

3.ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.59

2.4) ขอ้ เสนอแนะ

2.4.1) ส่ิงท่ีท่ำนพึงพอใจในกำรร่วมโครงกำร/กิจกรรมคร้งั น้ี
- ประทบั ใจกจิ กรรมวิชาจิตอาสาพฒั นาชมุ ชนเอามอ้ื สามคั คี หลักกสิกรรม

ตามธรรมชาติ
- ประทับใจในหลกั สูตร กระชบั ชัดเจน และทกุ วิชาในหลักสูตรน้ี
- ประทับใจการดแู ลเอาใจใส่ของทางวิทยากร และครูผอู้ บรม

- ไดร้ ับความร้คู วามเขา้ ใจในวิชาต่างๆ ความรู้ใหม่ๆ ทไ่ี ม่เคยไดร้ มู้ าก่อน
- เปน็ โครงการท่สี รา้ งชีวิตของเราให้มีความสุข มีความมั่นคง มีความยง่ั ยนื

- มีการต้อนรบั ทดี่ ี เปน็ กนั เอง การดูแลเอาใจใส่
- วิทยากรภาคปฏบิ ตั ิจริง สอนเขา้ ใจงา่ ย และสามาถนา้ ไปใชป้ ระโยชน์
ในพืน้ ท่ีได้จรงิ

- ประทับใจวิทยากรผู้สอน ถ่ายทอดความรู้ไดเ้ ข้าใจง่าย
- ประทบั ใจทีมวิทยากรทุกทา่ น

- ความสามัคคีของผู้เข้ารว่ มอบรมในการทา้ กิจกรรมรว่ มกนั ของหลักสูตร
- ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิกิจกรรม การมสี ่วนร่วม
- ประทบั ใจที่ได้เข้ารว่ มและเปน็ ตวั แทนของต้าบลเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี

ของตัวเองและแผน่ ดิน

148

2.4.2) ส่ิงท่ีควรเสนอแนะนำไปพฒั นำกำรจัดโครงกำร/กิจกรรมคร้งั ตอ่ ไป

1) ด้ำนเนอ้ื หำหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในกำรฝึกอบรม
- การออกแบบควรมเี วลามากกว่าน้ี
- เน้ือหาหลกั สูตรและกิจกรรมหลักสูตรเหมาะสมดีมาก
- เร่ืองการใช้กากน้าตาล ควรช้ีแจงข้อเสยี และสงิ่ ทพ่ี งึ ระวงั
ของการใช้ไวด้ ้วย
- จดั กระบวนการจดั อบรมเรือ่ งวินัยของผเู้ ขา้ อบรม มากกวา่ นี้
- ควรเพ่ิมการฝกึ ปฏิบัติฐานเรียนรู้
- มีสาระและสามารถน้าไปใช้ไดใ้ นชวี ิตประจา้ วนั จรงิ
- ควรจะมีเอกสารแต่ละวิชาแจกให้ดว้ ย ใหม้ ีเอกสารประกอบ
เพิ่มเติม
- เพ่มิ เร่ืองการเพาะเห็ด หรอื การท้าเช้อื เหด็ ตามธรรมชาติ

2) ด้ำนวทิ ยำกรและเจำ้ หน้ำที่โครงกำร
- วิทยากรและเจ้าหน้าที่โครงการเป็นกนั เอง มนษุ ย์สัมพนั ธด์ ี
- วทิ ยากรมคี วามรู้ มีความต้งั ใจถา่ ยทอด เข้าใจได้งา่ ย
- เพิ่มเติมเรื่องวชิ าการ กสิกรรมธรรมชาตใิ หช้ ัดเจนมากย่ิงขึ้น
- บรรยาย ใหร้ ูแ้ กน่ แท่ของการใชช้ ีวติ แบบพอเพยี ง
- วิทยากรมีความรู้ดแี ละเป็นกนั เอง ให้ความสนใจเอาใจใส่ดี

3) อำคำรสถำนท่ี ห้องพัก หอ้ งอบรม โรงอำหำร
- อาคารสถานท่ี ห้องพัก ห้องอบรม โรงอาหาร สะอาดดมี าก
สะดวกสบาย และเหมาะสมต่อการจดั ฝึกอบรม
- ห้องพกั สะอาด เรียบร้อย

4) อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์
- สถานท่ี อุปกรณ์สือ่ การสอนพร้อมมาก
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ทนั สมัย และเหมาะสม

5) อำหำร/อำหำรว่ำงและเครอ่ื งดื่ม
- อาหาร อาหารว่างและเคร่อื งดื่ม สะอาดและอรอ่ ย
- ควรใหม้ ีอาหารตามภูมิภาค
- อาหารว่างและเครอ่ื งดืม่ เหมาะสม อรอ่ ย เพยี งพอ
- อาหารอร่อยและหลากหลาย

149

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ที่ 4
สว่ นท่ี 1 ผลกำรประเมนิ โครงกำร

1.1 ผู้ตอบแบบประเมินโครงกำร จำนวน 57 คน
การประเมินผลภาพรวมฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่

ระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล โครงการพฒั นาพนื้ ท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” (CLM รุ่น 4) ระหว่างวันที่ 2-6 มีนาคม 2564
ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ต้าบลสาริกา อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก มีผู้เข้าร่วมอบรม
จ้านวนทั้งสิ้น 57 คน และมีผู้ตอบแบบประเมินจ้านวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
จากผลการประเมินข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบประเมินโครงการฯ มีรายละเอียดดังนี้

1) เพศ เพศชาย จ้านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 77.19 และเพศหญงิ จ้านวน 13 คน คดิ
เป็นรอ้ ยละ 22.81

2) อำยุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีอายุ 50-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.07 รองลงมา มีอายุ
40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 26.32 มีอายุ 30 - 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.05 มีอายุต่้ากว่า 30 ปี คิดเป็น
รอ้ ยละ 12.28 และมีอายุ 60 ปีขนึ้ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 12.28 ตามลา้ ดบั

3) กำรศึกษำ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีการศึกษาอยู่ในระดับต่้ากว่าปริญญาตรี คิดเป็น
ร้อยละ 56.14 รองลงมามีการศึกษาอยู่ในระดับระดบั ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 31.58 และมีการศึกษาอยู่
ในระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 12.28 ตามล้าดับ

ส่วนท่ี 2 ควำมคิดเหน็ ต่อโครงกำรฝกึ อบรมหลกั สตู ร

2.1) กำรบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงกำร
การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ มีจ้านวน 1 ขอ้ คอื เพื่อพัฒนาผู้เข้าอบรมให้มี

ความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพยี งรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล พัฒนาให้กล่มุ เป้าหมายเป็นแกนนา้ การ
พฒั นา สามารถเป็นครูกระบวนการ ครูกสิกรรม ครูประจา้ ฐานเรียนรกู้ ารพง่ึ พาตนเอง และครูพาท้า
เพ่ือขับเคลือ่ นงานและเชื่อมโยงเครือข่ายในพน้ื ทท่ี ั้ง 7 ภาคี

ประเดน็ คา่ เฉล่ีย( )̅ ระดบั

เพ่ือพัฒนาผูเ้ ข้าอบรมใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ 4.70 มากทสี่ ุด
โคก หนอง นา โมเดล พฒั นาให้กลมุ่ เปา้ หมายเป็นแกนนา้ การพฒั นา
สามารถเปน็ ครกู ระบวนการ ครูกสิกรรม ครปู ระจา้ ฐานเรียนรูก้ ารพ่งึ พา
ตนเอง และครพู าทา้ เพ่ือขบั เคลอ่ื นงานและเชอื่ มโยงเครือขา่ ยในพื้นท่ที ้งั 7
ภาคี

คำ่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวมทัง้ หมด 4.70 มำกทีส่ ดุ

จากผลการประเมินตามตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นว่าการบรรลุ
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ โดยมีค่าเฉลย่ี คือ 4.70

150

2.2) ประโยชน์ของหวั ข้อวิชำตอ่ กำรนำควำมรไู้ ปปรับใชใ้ นกำรปฏิบัติงำน

ประเดน็ คา่ เฉลี่ย ( ̅) ระดบั

1.กจิ กรรมกล่มุ สมั พันธ์ ความคาดหวงั /กระบวนการกลุม่ 4.60 มากที่สุด

2.เรยี นรูต้ า้ ราบนผืนดิน 4.60 มากที่สุด

3.โครงการพฒั นาพน้ื ท่ตี ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ 4.60 มากทีส่ ุด

ประยกุ ตส์ ูโ่ คก หนอง นา โมเดล

4.การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติแบบเปน็ ข้ันตอน 4.58 มากทส่ี ุด

5.ฝกึ ปฏิบตั ฐิ านเรยี นรู้ 4.58 มากทส่ี ดุ

6.ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง "ทฤษฎี บันได 9 ข้ันส่คู วามพอเพยี ง 4.65 มากทส่ี ดุ

7.หลักกสกิ รรมธรรมชาติ 4.53 มากทส่ี ดุ

8.ทศั นศกึ ษาตัวอย่างความสา้ เร็จการพฒั นาพน้ื ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพ 4.53 มากที่สดุ

ชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ่โู คก หนอง นา โมเดล

9.ถอดบทเรียนผา่ นสื่อ "แผน่ ดินไทย ตอนแผ่นดินวิกฤต" 4.54 มากท่สี ดุ

10.สุขภาพพง่ึ ตน พฒั นา 3 ขมุ พลงั พลังกาย พลังใจ พลังปญั ญา 4.50 มาก

11.จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามคั คี พัฒนาพื้นท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหม่ 4.67 มากที่สุด

12.ถอดบทเรยี นผา่ นสื่อ "วิถภี ูมปิ ัญญาไทยกบั การพึ่งตนเองในภาวะวกิ ฤต"ิ 4.63 มากที่สดุ

13.การออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทยตามหลกั การพัฒนาภูมิสงั คมอยา่ งยั่งยืนเพื่อ 4.63 มากที่สดุ

การพง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพิบตั ิ

14.พ้ืนฐานการออกแบบเพ่ือการจดั การพืน้ ทต่ี ามทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ โู่ คก 4.54 มากทส่ี ดุ

หนอง นา โมเดล

15.ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร สร้างหนุ่ จา้ ลอง (กระบะทราย) การจดั การพื้นที่ตามทฤษฎี 4.61 มากทส่ี ุด

ใหม่ ประยุกต์สู่โคก หนอง นา โมเดล

16.Team Building ฝึกปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่หากิน 4.65 มากท่สี ุด

17.การขับเคลอื่ นสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357 4.46 มาก

18.แผนปฏบิ ตั กิ าร "ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ 4.49 มาก

การปฏบิ ตั ิ

ค่ำคะแนนเฉลีย่ โดยรวมทัง้ หมด 4.58 มำกท่สี ดุ

จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 57 คน ได้รับประโยชน์
ของหัวข้อวิชาต่อการน้าความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในหัวขอ้ วชิ ามากทสี่ ดุ โดยเรียงลา้ ดบั จากมากไปหา
นอ้ ย 3 ลา้ ดับ ดังนี้

1. วิชา จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉลย่ี คะแนน คอื 4.67

2. วิชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "ทฤษฎี บันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง อยู่ในระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ยคะแนน คอื 4.65

151

3. วชิ า Team Building ฝกึ ปฏิบตั ิการบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่หากนิ อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด
ค่าเฉลยี่ คะแนน คือ 4.65

จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นผู้ตอบแบบประเมินได้ท้าการประเมินการได้รบั ประโยชน์ของ
หัวข้อวิชาต่อการนา้ ความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ค่าเฉลีย่ คะแนนโดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉล่ยี คะแนน คือ 4.57

2.3) ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมโครงกำร คา่ เฉลี่ย ระดับ
ประเดน็ ( ̅)
มาก
1.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : กระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บรกิ ำร 4.68 ที่สุด
1) ความเหมาะสมของสถานท่ี 4.47 มาก
4.58 มาก
2) ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.74 ทีส่ ุด
3) ความเหมาะสมของช่วงเวลา 4.62 มาก
ทส่ี ดุ
4) การจัดล้าดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม 4.63 มำก
4.53 ที่สดุ
คำ่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวม ด้านกระบวนกำรขน้ั ตอนกำรใหบ้ รกิ ำร 4.56
2.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : ดำ้ นวทิ ยำกร 4.61 มาก
1) ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร 4.58 ทส่ี ดุ
มาก
2) ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.65 ทส่ี ุด
4.58 มาก
3) การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเหน็ 4.54 ที่สุด
มาก
4) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ที่สดุ
มำก
ค่ำคะแนนเฉล่ยี โดยรวม ดำ้ นวิทยำกร ท่สี ุด
3.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : เจำ้ หนำ้ ทีผ่ ใู้ ห้บริกำร/ผปู้ ระสำนงำน
1) การแต่งกาย มาก
ทีส่ ดุ
2) ความสุภาพ มาก
ที่สุด
3) การตอบค้าถาม มาก
ทสี่ ดุ

152

ประเด็น ค่าเฉลย่ี ระดบั
( ̅)

4) การประสานงาน 4.65 มาก
ที่สุด

คำ่ คะแนนเฉลย่ี โดยรวม ด้ำนเจ้ำหนำ้ ทผ่ี ้ใู หบ้ ริกำร/ผปู้ ระสำนงำน 4.61 มำก
ทส่ี ดุ

4.ความพงึ พอใจตอ่ การบรหิ ารโครงการ : กำรอำนวยควำมสะดวก

1) เอกสาร 4.44 มาก

2) โสตทัศนูปกรณ์ 4.54 มาก
ทีส่ ดุ

3) เจ้าหน้าท่ีสนับสนุน 4.67 มาก
ทส่ี ุด

4) อาหาร เคร่ืองด่มื และสถานท่ี 4.63 มาก
ทส่ี ุด

ค่ำคะแนนเฉลีย่ โดยรวม ดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก 4.57 มำก
ที่สดุ

5.ความพึงพอใจต่อการบริหารโครงการ : คุณภำพกำรใหบ้ รกิ ำร

1) ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/ 4.65 มาก

กิจกรรมน้ี ที่สดุ

2) ท่านสามารถนา้ สิ่งท่ีได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนไ้ี ปใช้ในการเรียน/ 4.63 มาก

การปฏิบัตงิ าน ท่ีสดุ

3) ส่ิงที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมคร้งั นี้ตรงตามความคาดหวังของท่าน 4.60 มาก

หรือไม่ ทส่ี ดุ

4) สัดส่วนระหว่างฝึกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีความเหมาะสม 4.56 มาก
ทส่ี ดุ

5) ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 4.51 มาก
ที่สดุ

คำ่ คะแนนเฉลีย่ โดยรวม ดำ้ นคณุ ภำพกำรใหบ้ ริกำร 4.59 มำก
ท่สี ุด

ค่ำคะแนนเฉลย่ี โดยรวมท้งั หมด 5 ดำ้ น 4.59 มำก
ที่สุด

จากผลการประเมนิ โดยผตู้ อบแบบประเมินผลโครงการ จ้านวน 57 คน พบวา่ ประเดน็ ความพงึ พอใจ

ตอ่ ภาพรวมโครงการ โดยมหี ัวข้อดังน้ี

1) ดา้ นกระบวนการขน้ั ตอนการใหบ้ รกิ าร

2) ด้านวิทยากร

3) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ใหบ้ ริการ/ผูป้ ระสานงาน

4) ด้านการอา้ นวยความสะดวก

153

5) ดา้ นคณุ ภาพการให้บริการ
ผู้ตอบแบบประเมนิ สว่ นใหญค่ ดิ ว่าการบริการท้งั 5 ดา้ น อยู่ในระดับมากทสี่ ุด คา่ คะแนนเฉล่ียโดยรวม
ท้ังหมด 5 ด้าน คือ 4.59 และผลการวิเคราะห์จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า ผู้ตอบแบบประเมินมี
ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ โดยเรียงล้าดับจากมากที่สุดไปหาน้อยท่ีสุดสามล้าดับ แยกตามหัวข้อ
ประเมนิ 5 ดา้ น ดงั น้ี

1. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้านกระบวนกำรขัน้ ตอนกำรให้บริกำร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านกระบวนกำรขั้นตอนกำรให้บริกำร อยู่ใน

ระดับมากทสี่ ดุ คา่ คะแนนเฉล่ยี รวมคือ 4.62 โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3 ลา้ ดบั ดงั นี้

1. ความเหมาะสมของสถานท่ี อย่ใู นระดบั มากท่สี ดุ คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.74

2. การจัดล้าดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.68

3. ความเหมาะสมของช่วงเวลา อยู่ในระดับมากทีส่ ุด คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.58

2. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้ำนวิทยำกร

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านวิทยากร อยใู่ นระดับมากท่ีสุด คา่ คะแนนเฉล่ีย

รวม คอื 4.58 โดยมีค่าคะแนนเฉล่ยี 3 ลา้ ดบั ดงั นี้

1.ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร อยู่ในระดับมากทส่ี ุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.63

2.การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ อย่ใู นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.61

3.การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็นอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.56

3. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ด้ำนเจำ้ หน้ำทีผ่ ู้ใหบ้ ริกำร/ผ้ปู ระสำนงำน

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน อยู่ใน

ระดับมากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉลีย่ รวม คอื 4.61 โดยมีคา่ คะแนนเฉลีย่ 3 ลา้ ดบั ดงั น้ี

1. การแต่งกาย อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.65

2. การประสานงาน อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉล่ีย 4.65

3. ความสุภาพ อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.58

4. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก

ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านการอ้านวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด

คา่ คะแนนเฉลี่ยรวมคือ 4.57 โดยมคี ่าคะแนนเฉลีย่ 3 ลา้ ดบั ดงั นี้

1. เจ้าหน้าท่ีสนับสนุน อยูใ่ นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.67

2. อาหาร เครื่องดื่มและสถานท่ี อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.63

3. โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.54

5. ควำมพึงพอใจต่อภำพรวมของโครงกำร : ดำ้ นคณุ ภำพกำรให้บรกิ ำร
ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ด้านคุณภาพการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด

ค่าคะแนนเฉลยี่ รวม คือ 4.59 โดยมคี า่ คะแนนเฉลี่ย 3 ล้าดับดังนี้

154

1.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/กจิ กรรมนี้
อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ คา่ คะแนนเฉล่ยี 4.65

2.ท่านสามารถน้าสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน
อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ค่าคะแนนเฉลีย่ อย่ใู นระดับมากท่สี ดุ ค่าคะแนนเฉลีย่ 4.63

3.สิ่งท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งน้ีตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ อยูใ่ น
ระดบั มากที่สุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 4.60

2.4) ขอ้ เสนอแนะ
2.4.1) ส่ิงท่ีท่ำนพึงพอใจในกำรร่วมโครงกำร/กิจกรรมคร้งั น้ี
- ท่ีพกั หอ้ งอบรม อาหาร กิจกรรมหลกั สูตร และวทิ ยากร เจา้ หนา้ ที่
โครงการดีมากและเหมาะสม
- ประทบั ใจกิจกรรมวชิ าหาอยู่ หากนิ ในการมสี ่วนรว่ มของผ้อู บรม ความ
สามัคคี
- ความเป็นกนั เองของทีมงาน
- ประทับใจวิชากจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์ สนกุ สนาน
- เป็นการจดั ฝึกอบรมทข่ี บั เคล่ือนสังคมได้
- ความเปน็ กันเองของวิทยากรและเจ้าหน้าทีโ่ ครงการ
- วทิ ยากรใหข้ ้อมูล ความรู้ และการถา่ ยทอดดีมาก
- ความรู้ทเี่ ปน็ ประโยชนท์ ีจ่ ะเอาไปใช้ด้านการวางแผนพน้ื ที่ต้นแบบฯ ได้
- ประทับใจการฝกึ ปฏิบัติฐานเรยี นรู้ ไดป้ ระโยชน์ สามารถนา้ ไปใชไ้ ด้จริง
- ความรู้ ความเข้าใจทีไ่ ดจ้ ากการอบรม สามารถนา้ ไปปฏิบตั ใิ ช้ในชุมชน
ตา้ บล ตอ่ ไปได้
- การไดเ้ ห็นวถิ ีชีวิตการท้างานอกี มุมหน่งึ ไดค้ วามเชอื่ ในชมุ ชนกลับมาอีก
ครัง้ หนึ่ง
- ได้รบั องคค์ วามรู้ และการไดล้ งมอื ปฏิบัติจริง มีประโยชน์ในการใชช้ ีวติ
- ได้ความรู้ใหม่ๆ จากกิจกรรมทไี่ ด้เรียนรู้ จนถงึ การพ่ึงพาตนเอง การลงมอื
ท้าจรงิ ความสามคั คใี นคณะ
- ควรเพิม่ ระยะเวลาการอบรมให้มากกวา่ นี้
- ประทับใจวิชาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนเอามือ้ สามัคคี ไดเ้ รยี นรกู้ ารมีสว่ นรว่ ม
ความสามัคคี การสร้างเครือขา่ ย และการลงมอื ปฏิบตั จิ ริง สามารถนา้ ไปปรับใชใ้ น
พืน้ ทข่ี องตนเองไดต้ อ่ ไป
- ความร้แู ละเทคนิคการท้างานด้านการเกษตร
- ประทับใจในหลักสูตรและกระบวนการฝกึ อบรม ชดั เจน กระชบั รูปแบบ
กจิ กรรมน่าสนใจ ชวนตดิ ตาม

- ตอ้ งการใหม้ ีกิจกรรมหลักสูตรแบบนี้มีอยา่ งต่อเนอื่ งและคงอยตู่ ลอดไป

155

- ระยะเวลาเรยี นรายวชิ า ใช้เวลามากไปท้าให้ผูเ้ ข้าอบรมเหนื่อยล้า ควรให้
เวลาเรียนแตล่ ะวชิ า ประมาณวชิ าละ 2 ชวั่ โมง จึงจะเหมาะสม เนื่องจากคนเราจะ
โฟกสั ส่งิ ทเี่ รยี นโดยใชเ้ วลาประมาณ 2 ชว่ั โมง

- ควรปรับปรุงช่วงเวลาการฝึกอบรมต่อวัน จากเร่ิมตีห้า เลิกสามทุ่ม เป็น
ชว่ งเวลาที่เหมาะสมกว่าน้ี เน่ืองจากผู้เข้าอบรมส่วนใหญเ่ ป็นผู้สงู อายุร่างกายไม่ไหว

2.4.2) ส่ิงท่ีควรเสนอแนะนำไปพัฒนำกำรจัดโครงกำร/กิจกรรมคร้งั ต่อไป

1) ด้ำนเนอ้ื หำหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรในกำรฝึกอบรม
- เน้ือหาหลกั สตู รแนน่ เกินไป ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม
- ควรปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้คนในครอบครวั สามารถมาอบรมรว่ มได้
- ควรมีการแลกเปล่ยี นความคิด การแสดงความคิดเห็นที่

หลากหลายมากกวา่ น้ี
- อยากใหก้ จิ กรรมหน้าเสาธงท้าให้ศกั ดิส์ ิทธิ์มากกว่าน้ี และมีการ

ลงโทษในการรกั ษาเวลาดว้ ย
- วิชาบรรยายไมค่ วรอยตู่ ิดๆกัน ควรสลับกับวิชาฝึกปฏิบัติ

มากกวา่ น้ี และควรมีกิจกรรมการท้าความรจู้ กั กัน และกจิ กรรมแลกเปลีย่ น
เรียนรู้ ประสบการณ์

- เพิม่ ระยะเวลาการฝึกอบรม ผู้อบรมจะได้รบั ความรู้ รายละเอียด
มากขึน้ อีก

- หลักสตู รและกิจกรรมควรมีการปฏบิ ัติใหม้ ากกว่าการนั่งฟงั
เนื่องจากอายขุ องผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมบางทา่ น อาจไม่เหมาะในการนง่ั ฟัง
การบรรยายทม่ี รี ะยะเวลานาน

- เน้ือหาครบสมบรู ณ์ เขา้ ใจง่าย
- บางรายวิชามรี ะยะเวลาในการอบรมน้อยเกินไป
- กจิ กรรมท่ดี ีอยู่แล้ว เหมาะสม ได้แก่ วิชาฝกึ ปฏิบตั ิฐานเรยี นรู้
จิตอาสาพฒั นาชมุ ชนเอามื้อสามัคคี วชิ าหาอย่หู ากนิ
- ต้องการให้มีการอบรมรว่ มกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องของแต่ละ
พนื้ ที่

2) ด้ำนวิทยำกรและเจำ้ หน้ำที่โครงกำร
- วิทยากรมีประสบการณ์ มคี วามสามรถรวมทัง้ เจ้าหน้าท่ีทา้ หนา้ ท่ี

ดีมาก
- ควรมกี ารเขม้ งวดในแตล่ ะกิจกรรมใหม้ ากกวา่ นี้
- วิทยากรและเจ้าหนา้ ท่ีโครงการมีความสุภาพ เปน็ กันเอง เอาใจ

ใสด่ ีมาก
- วิทยากรมีความรู้ความเขา้ ในในเรือ่ งทีส่ อน มคี วามตง้ั ใจถ่ายทอด

เขา้ ใจไดง้ า่ ย ชดั เจน สามารถนา้ ไปปรบั ใชไ้ ดจ้ ริงในพื้นท่ี

156

- วิทยากรและเจ้าหน้าที่โครงการมีอธั ยาศัยทด่ี ี ย้ิมแยม้ อบอ่นุ ให้
ค้าแนะน้าผู้รับการอบรมเปน็ อย่างดี

3) อำคำรสถำนท่ี ห้องพัก หอ้ งอบรม โรงอำหำร
- อาคารสถานที่ หอ้ งพัก ห้องอบรม โรงอาหาร เหมาะสมกับการ

จัดฝึกอบรม มีความสะอาด เรยี บร้อย สะดวกสบาย ร่มรน่ื
- มีความปลอดภัย สะดวก สะอาด เหมาะสมกบั การจัดอบรม

4) อุปกรณ์โสตทัศนปู กรณ์
- อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ทันสมัย และเหมาะสม
- เสียงดงั ชัดเจนดี
- ควรมโี ปรเจคเตอรส์ ้าหรับชว่ งตรงกลางหอ้ ง หรือท้ายห้องด้วย

เนอ่ื งจากโปรเจคเตอร์อย่ไู กลเกนิ ไป เปน็ ข้อจ้ากัดส้าหรบั ผู้ที่มปี ญั หาทางค่า
สายตา หรอื น่งั อยดู่ า้ นหลัง

- เพมิ่ อุปกรณใ์ ห้ทันสมัยขนึ้ ไปอกี ระบบกระจายเสียงทัว่ พนื้ ท่ี
เพม่ิ ไฟแสงสวา่ งตอนกลางคนื

5) อำหำร/อำหำรว่ำงและเครื่องด่ืม
- อาหาร อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม เหมาะสมกับการจัดอบรม

ทุกมอ้ื สะอาด และอร่อย
- อาหารอร่อย เพียงพอ และหลากหลาย

157

ภาคผนวก

Community Lab Model for quality of life: CLM) ระดับตาบล รุน่ ท่ี 1

ภาพประกอบรายงานผลการฝกึ อบรม
โครงการพฒั นาพ้ืนทต่ี น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ประยุกสู่ "โคก หนอง นา โมเดล"

กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพมิ่ ทักษะระยะส้นั การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล กลุม่ เป้าหมาย CLM รุ่นที่ 1
ระหวา่ งวนั ที่ 14-18 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
ณ ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
วันที่ 14 ธนั วาคม 2563

ภาพบรรยากาศพธิ ีเปดิ โดย นางประภา ปานนิตยกลุ ผอู้ านวยการศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนนครนายก

กจิ กรรมกล่มุ สมั พันธ์ แบง่ กลมุ่ มอบภารกิจ

วชิ า เรยี นรูต้ าราบนผนื ดิน : กิจกรรมเดนิ ชมพื้นท่ี
วชิ า โครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

วิชาการแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบัตแิ บบเปน็ ข้ันเปน็ ตอน

วันที่ 15 ธนั วาคม 2563
วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎบี ันได 9 ขั้น สู่ความพอเพียง และวชิ าหลักกสิกรรมธรรมชาติ

ฝกึ ปฏิบัติฐานเรียนรู้

วชิ า ถอดบทเรียนผา่ นสอ่ื “วิถีภูมปิ ญั ญาไทยกบั การพง่ึ ตนเองในภาวะวกิ ฤต”
วนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2563

วชิ า สุขภาพพึง่ ตน พัฒนา 3 ขมุ พลัง พลังกาย พลงั ใจ พลังปญั ญา

วิชา ฝึกปฏิบตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอามือ้ สามัคคี พฒั นาพน้ื ท่ตี ามหลกั ทฤษฎีใหม่”

วชิ าการออกแบบเชงิ ภมู ิสงั คมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสงั คมอยา่ งยัง่ ยืนเพอื่ การพงึ่ ตนเองและรองรบั ภยั พบิ ตั ิ
วันที่ 17 ธนั วาคม 2563

\

วิชา พนื้ ฐานการออกแบบเพ่ือการจัดการพืน้ ที่ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นาโมเดล”
วชิ าฝกึ ปฏบิ ัติ สรา้ งหนุ่ จาลอง (กระบะทราย) การจดั การพื้นท่ตี ามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ “ โคก หนอง นาโมเดล”

วชิ า Team Buliding ฝึกปฏบิ ัติการบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต “หาอยู่ หากนิ ”

วันท่ี 18 ธันวาคม 2563
กตญั ญตู ่อสถานทพี่ ัฒนาจิตใจ ทาบญุ ตักบาตร
วชิ า การขบั เคลอ่ื นสืบสานศาสตรพ์ ระราชากลไก 357
วิชาการจดั ทาแผนปฏิบัติการ“ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏบิ ตั ิ” /นาเสนอ

รายช่ือกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (CLM) ครัวเรือนละ 1 คน
จานวน 96 คน ในพื้นที่จังหวัด 15 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร ร้อยเอ็ด สระแก้ว ยโสธร นครศรีธรรมราช นครสวรรค์
ลาปาง แพร่ ลาพนู ชลบุรี สระบุรี ราชบรุ ี นครนายก ปทมุ ธานี ผ่านการฝึกอบรมครบทงั้ หมด 96 คน คิดเป็น 100 %

Community Lab Model for quality of life: CLM) ระดับตาบล รนุ่ ท่ี 2
ภาพประกอบรายงานผลการฝกึ อบรม

โครงการพัฒนาพนื้ ท่ตี น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สู่" โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมท่ี 1
ฝกึ อบรมเพมิ่ ทักษะระยะส้นั การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง CLM รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน – 26

ธันวาคม พ.ศ. 2563
ณ ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนนครนายก





รายชื่อกลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมายประกอบดว้ ย ครัวเรอื นพ้ืนทเ่ี รียนรชู้ มุ ชนต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
(CLM) จานวน 100 คน ในพนื้ ที่ 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ 43 คน กาญจนบุรี 28 คน กระบ่ี 29 คน

จังหวัด เปา้ หมาย (คน) เขา้ รว่ มอบรม (คน) ผา่ นการอบรม (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ

กาฬสินธ์ุ 43 43 43 100

กาญจนบรุ ี 28 28 28 100

กระบี่ 29 29 29 100

รวม 100 100 100 100

รายช่อื ผู้เข้าอบรม จานวน 100 คน

ท่ี ชื่อ-สกลุ ท่อี ยู่

1 นายวรี ะยุทธ พรมศรี เลขท่ี หมู่ท่ี ตำบล อำเภอ จังหวัด
2 นางวาสนา การนา 96 7 แซงบาดาล สมเดจ็ กาฬสนิ ธ์ุ
3 นางณฐั สดุ า พดู เพราะ 17 11 ผาเสวย สมเดจ็ กาฬสินธ์ุ
4 นายชวลิต ภารยี ์ 95 1 หนองแวง สมเดจ็ กาฬสินธ์ุ
5 นายรงั สรรค์ ศลิ าพัฒน์ กาฬสินธ์ุ
6 นายไพฑรู ย์ วนั ชูเสรมิ 107 4 ศรีสมเด็จ สมเด็จ กาฬสินธุ์
7 นางวระนยั บาดาล 53 6 หมูมน่ สมเดจ็ กาฬสินธุ์
8 นางจรี ะภา มุลทา 209 1 สมเด็จ สมเด็จ กาฬสินธุ์
9 นางศริ ดา ทองปลิว กาฬสินธุ์
10 นายเด่นพงษ์ กิจบารงุ 138 8 ลาห้วยหลัว สมเดจ็ กาฬสนิ ธ์ุ
11 นายรินทอง บญุ แสน กาฬสนิ ธ์ุ
12 นายพเิ ชษฐ์ ปรีจิตต์ 125 3 มหาไชย สมเดจ็ กาฬสนิ ธ์ุ
13 น.ส.พิมพ์รัก เขาขจร 13 11 บ่อแกว้ นาคู กาฬสนิ ธุ์
14 นางสาวอบุ ล การนติ ย์ กาฬสนิ ธ์ุ
15 นายบญุ ชอบ ลีลานุช 30 5 สายนาวงั นาคู
16 นายธรรมศักด์ิ กดุ แถลง กาฬสนิ ธุ์
17 นางอไุ ลย์ ทบวนั 104 9 นาคู นาคู กาฬสินธุ์
18 นางสมบูรณ์ พลธริ กั ษา กาฬสินธุ์
19 นายปิยพงษ์ สีหล่ิง 20 4 นคิ ม สหัสขันธ์ กาฬสินธุ์
20 นายจรญั จนุ นั กาฬสินธ์ุ
21 ร.ต.ต.เลง้ สกุลโพน 25 11 นามะเขือ สหัสขันธ์ กาฬสนิ ธ์ุ
22 นายสววรรธน์ วราธนั ยโชติ กาฬสินธุ์
45 9 ม่วงนา ดอนจาน
9 2 ยอดแกง นามน กาฬสนิ ธ์ุ
37 7 หนองแปน กมลาไสย
99 10 เจา้ ท่า กมลาไสย กาฬสนิ ธุ์

119 11 ฆ้องชยั พัฒนา ฆ้องชยั
104 15 คาบง หว้ ยผง้ึ

67 4 ไคน้ นุ่ ห้วยผ้งึ

47 1 หนองอีบตุ ร ห้วยผงึ้

35 9 แจนแลน กฉุ นิ ารายณ์

ท่ี ชอ่ื -สกลุ ท่ีอยู่ จงั หวดั
เลขที่ หมู่ท่ี ตำบล อำเภอ กาฬสินธ์ุ
23 พระอาจารย์มหาสุภาพ พุทธวิรโิ ย 240 6 จุมจงั กฉุ ินารายณ์ กาฬสินธุ์
24 นางกัลยา ก้องจิราภาส 199 10 บัวขาว กุฉนิ ารายณ์ กาฬสนิ ธุ์
25 นางสาวสมศรี ไชยสุข 83 8 นาโก กฉุ นิ ารายณ์ กาฬสนิ ธุ์
26 นางศจุ ิมาศ แสนแก้ว 122 12 นาขาม กฉุ ินารายณ์ กาฬสินธุ์
27 นายกิตติศกั ดิ์ กาพย์กลอน 87 1 สมสะอาด กุฉนิ ารายณ์ กาฬสนิ ธุ์
28 นายสมั ฤทธ์ิ ชมศริ ิ กาฬสินธุ์
29 นายสาเรงิ ไชยขันธุ์ 78 5 หนองหา้ ง กฉุ ินารายณ์ กาฬสนิ ธ์ุ
30 นายบุญสวน พิมพลิ า กาฬสินธ์ุ
31 นางรัศมี ภูผาสุข 183 1 เหลา่ ใหญ่ กุฉนิ ารายณ์ กาฬสนิ ธ์ุ
32 นายจักริน ภูแข กาฬสนิ ธ์ุ
33 นางกติ ติประภาพรรณ สาราญร่นื 21 1 กลางหมน่ื เมอื งฯ กาฬสนิ ธ์ุ
34 นายปรญิ ญา ภูผวิ เดือน กาฬสินธ์ุ
35 นายทวศี ักด์ิ เจรญิ รมั ย์ 176 6 ไผ่ เมืองฯ กาฬสินธ์ุ
36 นายสุนนั มิทะลา กาฬสนิ ธ์ุ
37 นายวฒั นา แสนตรี 91 1 ภดู นิ เมอื งฯ กาฬสนิ ธ์ุ
38 นายประยงค์ จนั ทะรัด กาฬสินธ์ุ
39 นางสาธนิ ี โยธาภกั ดี 114 5 ภปู อ เมอื งฯ
40 นายจรญั กงมหา กาฬสินธุ์
41 นายสุนทร ไกรพินจิ 172 7 โนนสงู ยางตลาด กาฬสินธุ์
42 นางสาววรินทรญ์ า ภถู มทอง กาฬสนิ ธุ์
43 นายศราวธุ คนกล้า 97 6 หนองอิเฒา่ ยางตลาด
44 นายสุเทพ สงิ ห์คลี กาฬสินธ์ุ
45 นางวงพกา ทศั นา 119 ๔ หนองตอกแป้น ยางตลาด กาญจนบรุ ี
46 นายพิสิษฐ์ เพียงกระโทก กาญจนบรุ ี
47 นายธนภัทร์ ทพิ ยทศั น์ 14 1 เขาพระนอน ยางตลาด กาญจนบุรี
48 นายสุรตั น์ อสพิ งษ์ กาญจนบรุ ี
49 นางสาววนั ทนา สุวรรณ์ 104 5 นาเชอื ก ยางตลาด กาญจนบรุ ี
50 นางสาวชญานติ ตรัสโกศล กาญจนบุรี
51 นางจาเรญิ วรรณากาญจน์ 61 12 คลองขาม ยางตลาด กาญจนบุรี
52 นางเบ็ญจา เปรินทร์ กาญจนบุรี
53 นางเงนิ ยวง คิ้ววงศ์งาม 44 1 เว่อ ยางตลาด กาญจนบุรี
กาญจนบุรี
54 นายพรี พงค์ วอ่ งวงศษ์ าโรจน์ 28 12 หวั นาคา ยางตลาด
กาญจนบรุ ี
172 7 โนนสูง ยางตลาด

70 1 สงเปลอื ย เขาวง
28 8 จรเข้เผือก ด่านมะขามเต้ยี
21 5 หนองปลาไหล หนองปรอื
2/3 9 หนองลู สังขละบุรี
9/9 7 ทา่ เสา ไทรโยค

52/1 2 ปรงั เผล สงั ขละบรุ ี

201 2 ท่ากระดาน ศรสี วัสด์ิ

65 11 สระลงเรือ หว้ ยกระเจา

48/6 3 ด่านแมเ่ ฉลย ศรีสวัสดิ์

9 2 หนองเป็ด ศรีสวสั ด์ิ

99 4 หนองนกแก้ว เลาขวญั

59/1 1 เขาสามสบิ ท่ามะกา
หาบ

ท่ี ชื่อ-สกลุ ท่อี ยู่ จงั หวัด
เลขท่ี หมทู่ ี่ ตำบล อำเภอ กาญจนบุรี
55 นายชานุ อารีย์ชน 100/2 3 พงั ตรุ ท่าม่วง กาญจนบุรี
56 นางเดือนนภา สวสั ด์ผิ ล 221 6 วังกระแจะ ไทรโยค กาญจนบรุ ี
57 นางสาวอรณุ ทองดี กาญจนบรุ ี
58 นายมาโนช แยม้ ช่ืน 197/9 8 หนองหญ้า เมือง กาญจนบุรี
59 นายสชุ ิน บวั สองสี 152/2 3 วังเยน็ เมอื ง กาญจนบรุ ี
60 นายดารงค์ ป่นิ เสอื 106/1 11 หนองประดู่ เลาขวัญ กาญจนบรุ ี
61 นายวุฒชิ ยั แกว้ ดอนไพร 24/1 10 หนองโสน เลาขวญั กาญจนบุรี
62 นางราพรรณพร ระย้าย้อย 98/3 2 สมเด็จเจรญิ หนองปรอื กาญจนบุรี
63 นายพนม ลอ้ มวงษ์ 41/4 3 ยางม่วง ท่ามะกา กาญจนบุรี
64 นายฉตั รชยั สวัสดิ์วณาทร 44 2 หนองฝา้ ย เลาขวัญ กาญจนบุรี
65 นายมณฑล ปรกแก้ว กาญจนบุรี
66 นายมนสั ป้องกนั 4 เขาโอด ศรีสวัสดิ์ กาญจนบุรี
67 นายพยุงศักด์ิ กลัดตลาด กาญจนบุรี
68 นายพชั รพล ดวงผาสขุ 130 1 นาสวน ศรสี วัสด์ิ กาญจนบรุ ี
69 นางสาวศุภชิ ยานันท์ ผิวหอม 1 10 ช่องด่าน บ่อพลอย กาญจนบรุ ี
70 นายภทั รกร กลีบเมฆ 88 1 หลบรงั บอ่ พลอย กาญจนบรุ ี
71 นายสทุ ธภิ ากร จันทนา 96/7 6 หนองตากยา ทา่ ม่วง
72 นางสาวปราณี ภมู าวงษ์ 1 5 หนองกร่าง บ่อพลอย กระบ่ี
73 นายชยั ยทุ ธ ห้าหวา 79/9 7 รางสาลี ทา่ ม่วง กระบ่ี
74 นายธเนศ จันทร์สริ ิกมล 19/2 1 เขานอ้ ย ท่าม่วง กระบ่ี
75 นายอนุสรณ์ ขา้ วงาม 16 1 เกาะกลาง เกาะลันตา กระบี่
76 นายกมล กสิคุณ 9 1 เกาะลนั ตาน้อย เกาะลันตา กระบี่
77 นางจารุวรรณ จติ รา 267 1 เกาะลนั ตาใหญ่ เกาะลนั ตา กระบี่
78 นางมนรตั น์ บุญประกอบ 203 4 คลองยาง เกาะลันตา กระบี่
79 นายจาเริญ เขียวขาว 13 2 ศาลาดา่ น เกาะลนั ตา กระบี่
80 นางสาวอมรรัตน์ นวนสริ ิ 226 1 เขาดนิ เขาพนม กระบ่ี
81 นางสาวเพ็ญประภา ชมบุตร 34/4 9 เขาพนม เขาพนม กระบี่
82 นางนวลจนั ทร์ สังข์รอด 648 4 โคกหาร เขาพนม กระบี่
83 นายประมาณ บุตรเลี่ยม 39 1 พรเุ ตยี ว เขาพนม กระบี่
84 นายวันโชค จนั ทร์พบิ ลู ย์ 126 6 สินปุน เขาพนม กระบ่ี
85 นายประกอบ ใหล่ทอง 54 1 หน้าเขา เขาพนม กระบ่ี
86 นายอรณุ สมานลักษณ์ 287/2 2 คลองท่อมใต้ คลองทอ่ ม กระบี่
154 4 คลองท่อมเหนอื คลองทอ่ ม
- 6 พรดุ ินนา คลองทอ่ ม
95/2 1 ห้วยนาขาว คลองทอ่ ม

ท่ี ช่อื -สกุล ท่ีอยู่ จังหวดั
เลขที่ หมูท่ ่ี ตำบล อำเภอ กระบ่ี
87 น.ส.อมรรัตน์ ตันติธรรม 148 4 คลองพน คลองท่อม กระบ่ี
88 นายสิทธชิ ยั บ่อม่วง 8/1 4 ทรายขาว คลองท่อม กระบ่ี
89 นายชานวล คงนิล 11/1 5 เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
90 นายกอ้ งภพ สุธาประดิษฐ์ 226/23 12 ปลายพระยา ปลายพระยา กระบี่
91 นายประจบ จันทร์ดวง 58/2 8 กระบี่นอ้ ย เมืองกระบี่ กระบ่ี
92 นายสุชา วันศกุ ร์ 23 3 เขาคราม เมอื งกระบ่ี กระบ่ี
93 นางเนตรดาว หาญกลา้ 60 6 ดนิ แดง ลาทับ กระบ่ี
94 นางจนั ท์นภิ า หวานสนทิ 50 7 ดนิ อุดม ลาทับ กระบ่ี
95 นายวิชัย จานงรตั น์ 28 3 ทงุ่ ไทรทอง ลาทบั กระบ่ี
96 นางสาวอารีรตั น์ ไชยสนธ์ 103 3 ลาทับ ลาทับ กระบี่
97 นายสุธี ตาวนั 29 3 ตลง่ิ ชนั เหนือคลอง กระบี่
98 นายชวน เจียวก๊ก 37 3 ปกาสัย เหนือคลอง กระบี่
99 นายพยงค์ ทองเจริญ 90 7 ห้วยยูง เหนอื คลอง กระบี่
100 นายเอกสทิ ธิ์ ศรรี ักษ์ 100 1 เหนอื คลอง เหนือคลอง

Community Lab Model for quality of life: CLM) ระดบั ตาบล รนุ่ ท่ี 3

รายชื่อผเู้ ข้าอบรม
โครงการพัฒนาพ้นื ท่ีต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่

ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
หลักสตู รเพิ่มทกั ษะระยะสน้ั การพฒั นากสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

(CLM รนุ่ ท่ี 3) จงั หวัดอบุ ลราชธานี
ดาเนนิ การระหว่างวันที่ 11 - 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ณ ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก

1.นางพัชรี อมรสนิ ชอ่ื – สกลุ
2.นายสรุ วุฒิ ยทุ ธชนะ
3.นายวนั ชัย สารทิศ 35.นายศภุ ณัฐ พินจิ
4.นายชาติชาย ปรือทอง 36.นายเสมยี น ขันจันทา
37.นางสุทธิกาญจน์ กอ่ บุญ
5.นายศกั ดิ์สยาม หลกั คา 38.นายประเสริฐ ดปี าละ
6.นางสมพศิ ตระการจันทร์ 39.นางอมุ าพร เมอื งจนั ทร์
7.นายรวินนั ท์ หมน่ื สขุ 40.นายประกาศิต อาพันธ์
8.นายถาวร บุญชิต 41.นางสว่ น สทุ ธสิ นิ
9.นายสรุ เชษฐ์ แกว้ คาแสน 42.นางสาวบุญมี พันธะโคตร
10.นางอไุ รวรรณ เกาะประทมุ 43.น.ส.กลั ยานิล แหวนเพชร
11.นายไทย สสี ิทธิ์ 44.นายอาชวิน สัญญารักษ์
12.นายไพบูลย์ อุไรพนั ธ์ 45.นางสาวรุ่งทิพย์ พวงเพชร
13.นางยพุ ิน โพธารนิ ทร์ 46.นายสมพงษ์ คาศรี
14.นายศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ทรพั ยค์ ูณ 47.นายกนกพล เก้นิ สอน
48.นางจันทรศ์ รี พันธส์ วา่ ง
15.นางสาวมลัยวรรณ ถ้าหนิ 49.นางนยิ ตุ า พรมสว่าง
16.นายกาพล มลี าด 50.นายมังกร ไชยกาล
17.นายสายนั แกว้ พรม 51.นายหว่ งพศิ าล สดุ ดี
18.นายอัครพงษ์ ทันธิมา 52.น.ส.ณิฌาพฒั น์ สุธาฌาณ
19.นางเรืองศรี หลงชนิ 53.นางสาววาสนา สืบอ้วน
20.นางสมยั สงิ สีทา 54.นางสาววรรณภา แกว้ เนตร
21.นายฐิติวฒั น์ อ่อนภา 55.นายวิทยา สดี าแกว้
22.นางบุญมี ทุมมา 56.น.ส.พฒั นาพร แดงสอาด
23.น.ส.บุญธิดา บุญสุข 57.นางผกาศรี นรบตุ ร
24.นายแกล้วกลา้ บวั ศรี 58.นายภาณุพงษ์ ดอกอนิ ทร์
59.นายศักด์ิศรี จนั ทรา
25.นายสพุ รรณ์ ทองจนั ทร์ 60.นายสุดใจ พิณโท
26.นายร่งุ รวี โชตพิ นั ธ์ 61.นายวราวุฒิ วงค์มัน่
27.นายไชยเวช รนั คาภา 62.นางสุคนธ์ อม่ิ ใจ
28.นายสดุ ตา หอมกลน่ิ 63.นายพรหมมา มิ่งแนน
29.นายสมคดิ วงศรี 64.นายศิระวธุ มธุ ุสทิ ธิ์
30.นายคาพา มะณสี ังข์ 65.นายสุพิน กาละเลข
31.นางศกุ ขี สายวงค์ 66.นายประชัน คมุ้ หินลาด
32.นายวีระศักด์ิ อนิ ทรแ์ ก้ว 67.นายวรี ะพันธ์ บุญลา้ (ผแู้ ทนวดั )
33.นายสที า นลิ ภา
34.นายพงศพ์ ร พุม่ จันทร์ 68.คณะกรรมการหมบู่ ้านเบญจ์

Community Lab Model for quality of life: CLM) ระดับตาบล รุ่นที่ 4

โครงการพัฒนาพ้นื ทต่ี น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ประยกุ ตส์ ู่ "โคก หนอง นา โมเดล"

กิจกรรมที่ 1 ฝกึ อบรมเพม่ิ ทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งรูปแบบ
“โคก หนอง นา โมเดล”
รนุ่ ท่ี 4

ระหว่างวันที่ 2 - 6 มนี าคม 2564
ณ ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนนครนายก

ประมวลภาพประกอบกจิ กรรม

















รายชื่อกลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (CLM)
ประกอบด้วย 15 จงั หวัด ชยั ภมู ิ เชยี งใหม่ ตาก นครนายก นครราชสีมา นา่ น ปทุมธานี พัทลงุ พษิ ณุโลก

เพชรบรุ ี แม่ฮ่องสอนสกลนคร สุโขทัย สุรินทร์และอุดรธานี

ท่ี ชื่อ - สกุล บา้ นเลขท่ี หมู่ ตาบล อาเภอ จังหวดั

ท่ี บา้ นหลมุ เมอื งสุโขทัย สุโขทยั
ตาลเตย้ี เมอื งสโุ ขทัย สุโขทัย
1 นายพสั กร โชติสุข 60/29 4 ปากพระ เมืองสโุ ขทัย สุโขทัย
บา้ นกล้วย เมอื งสโุ ขทัย สโุ ขทัย
2 นายชนะ เพมิ่ พลู 100 2 เมอื งเกา่ เมืองสุโขทยั สโุ ขทยั
วังทองแดง เมืองสุโขทัย สโุ ขทยั
3 นายจเร เรืองศิริ 13 ยางซ้าย เมืองสโุ ขทัย สโุ ขทัย
บา้ นสวน เมอื งสโุ ขทยั สุโขทัย
4 นายวิโรจน์ ศริ ิโภคา 78/8 5 ทับผ้ึง ศรสี าโรง สุโขทยั
ราวต้นจันทร์ ศรสี าโรง สุโขทยั
5 นานเสนาะ มีฤทธิ์ 90/3 3 สามเรอื น ศรีสาโรง สโุ ขทัย
ไทยชนะศกึ ทุ่งเสลีย่ ม สุโขทยั
6 นายศักด์เิ กษม แห่ชู 12/4 2 ทงุ่ หลวง สโุ ขทยั
ไฮหย่อง ครี มี าศ สกลนคร
7 นายเปยี น บัญติ 57/2 2 เขอื น้า พงั โคน อุดรธานี
สมุ เส้า บา้ นผอื อุดรธานี
8 นายสุระชยั บวั ศรี 287 3 ตาดทอง เพญ็ อุดรธานี
แจม่ หลวง ศรีธาตุ เชยี งใหม่
9 วา่ ที่ พ.ต.ทับทมิ พาโคกทม 1/2 2 ท่าเดื่อ กลั ยาณวิ ัฒนา เชียงใหม่
โปงทุ่ง ดอยเต่า เชยี งใหม่
10 นางสุรลี กั ษณ์ เกดิ ศิลป์ 85/4 1 กองแขก ดอยเตา่ เชยี งใหม่
ช่างเค่งิ แม่แจ่ม เชยี งใหม่
11 นายเชาวลติ อยู่มาก 37/5 9 ทา่ ผา แมแ่ จ่ม เชยี งใหม่
บา้ นทับ แม่แจม่ เชยี งใหม่
12 นายหาญ นนั ทะชัย 70/1 10 ปางหินฝน แมแ่ จม่ เชียงใหม่
แม่นาจร แมแ่ จม่ เชียงใหม่
13 นายถนอม วงศษ์ า 23/1 3 แม่ศกึ แม่แจ่ม เชียงใหม่
แม่แจ่ม
14 นางสาวอินท์ชลติ า คุณธรรมพงศไ์ ท 211 3

15 นายเรียงศรี บุตลี 61

16 นางสาวศริ นิ ภา ยางขนั ธ์ 10 7

17 นายสมหมาย สิทธโิ ชติ 92

18 นายชาตรี เมธานร 263 3

19 นางสาวกัญจนพร ตนุ่ ธิ 147/1 3

20 นางสาวรสสุคนธ์ ป้อนอ้ ย 229 9

21 นายวิทยา เจนจิตรสนั ติ 162 2

22 นายบุญมา ฟองตา 8 10

23 นายภศู ษิ ฏ์ จนั ทร์ต๊ะ 122 6

24 นายบญุ มา แหลมคม 6/1 1

25 นายสมชาย ยง่ั สนั ตวิ งศ์ 91 10

26 นายวฒั นา ทรงพรไพศาล 69/2 17

27 นายสพุ จน์ เมฆสวรรคบ์ ารุง 40/3 17

28 นายเฉลมิ หนอ่ เรือง 54/2 7 ขวั มุง สารภี เชียงใหม่

29 นางสาวกลุ ปัญญาวงศ์ 10 6 ศรีภมู ิ ทา่ วังผา นา่ น
30 นางเดอื น คายนั ต์ 99 นา่ น
31 นายธวชั ชยั นันทสว่าง 168 6 และ ทงุ่ ช้าง น่าน
32 นายกติ ตศิ กั ด์ิ กรุณากอ้ 107 น่าน
33 นายชวลกั ษณ์ รัตนะ 187 5 งอบ ทงุ่ ช้าง นา่ น
34 นายอสิ รภาพ คาฟู 92 น่าน
35 นายวิฑรู วรัญสริ ภพ 3 10 ศรษี ะเกษ นานอ้ ย น่าน
36 นายสุทศั น์ คีรีเกริกกอ้ ง 231 นาหมน่ื ตาก
37 นายปรชี า ปลูกปัญญาดี 84/3 5 บอ่ แก้ว ตาก
38 นางสายสุนีย์ นุชบ้านปา่ 43/1 บา้ นหลวง พิษณุโลก
39 นางพรรณี พูลโพธ์ิ 9/2 2 บ้านพ้ี พษิ ณโุ ลก
40 นายบันเทงิ ฤทธิ์ศักด์ิ 229/1 ภูเพยี ง พษิ ณุโลก
41 นายไชยยันต์ ปญั ญาคา 18/1 7 เมอื งจัง พษิ ณโุ ลก
42 นายชยั ชนะ สุชาโต 407/1 อ้งุ ผาง พิษณุโลก
43 นายสนุ ทร บ่ายโพธ์ิ 36 2 โมโกร แม่ระมาด พิษณโุ ลก
44 นายมนตรี ปรอดครบรุ ี 124/7 3 พระธาตุ บางกระทมุ่ พษิ ณุโลก
45 นายทวี พรหมทอง 61 7 บางกระทมุ่ วงั ทอง พัทลงุ
46 นายพงษศ์ ักด์ิ แกว้ ทพิ ย์ 44 1 ชัยนาม วงั ทอง นครราชสมี า
47 นางสาวรินปวีร์ ภิรมยไ์ ทย 79 26 บา้ นกลาง วังทอง ชัยภูมิ
48 นายกล้าจน จงใจจน 110 12 ท่าหมื่นราม วังทอง สุรนิ ทร์
49 นายคณากร สินบวั ผ่อง 59/11 9 ดนิ ทอง วังทอง ปทมุ ธานี
7 หนองพระ วงั ทอง
50 นางสาวสภุ สิ าข์ มัยขนุ ทด 13/1 2 แมร่ ะกา ศรบี รรพต เพชรบุรี
51 นายปิยะวฒั น์ จนั ลา 104 9 เขายา่ ปากช่อง นครนายก
52 นายจริ ะสนิ เกริกไพรี 122 7 หนองน้าแดง แม่ฮอ่ งสอน
53 นายตา๋ สขุ ลอื อุ่นอ้ ย 35 14 กุดนา้ ใส จัตุรัส แมฮ่ ่องสอน
54 นายประเสริฐ จนั ทร์โอภาส 14 5 ชุมพลบุรี ชมุ พลบรุ ี แม่ฮอ่ งสอน
55 นางศรจี ันทร์ ปติ านี 89 4 บึงกาสาม หนองเสือ แม่ฮอ่ งสอน
56 ร.ต.อ.ทองสขุ เหล่าทองสาร 61 สโุ ขทยั
57 นางสาวบษุ บา อามีน 55 7 ท่าไม้รวก ทา่ ยาง นครนายก
1 ศรีนาวา
8 ห้วยหอ้ ม เมืองนครนายก
3 แม่นาเตงิ
2 ห้วยโปง่ แม่ลาน้อย
6 ผาบอ่ ง ปาย
8
7 หนองหญา้ ปล้อง เมอื งแม่ฮ่องสอน

ดอนยอ เมอื งแม่ฮอ่ งสอน

บา้ นด่านลานหอย

เมืองนครนายก


Click to View FlipBook Version