The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 05:51:16

CLM Nakhonnayok

รายผลการฝึกอบรม CLM ศพช.นครนายก

35

1) ไมไ้ ผล่ วกหรือไม้ไผ่ซาง ความยาวประมาณ ๑ เมตร
2) ไมไ้ ผซ่ างผ่าเปน็ เส้นยาว
3) ลวด
4) คมี
5) มีดพร้า
6) คอ้ น
7) เล่ือย
8) โทรโขง่
9) ส่อื การเรยี นรู้การท้าเสวียนไมไ้ ผ่
5.3 ขน้ั ตอน / วธิ ีกำร ทำเสวียนไมไ้ ผ่
ครูพาท้าเข้าสู่การแนะน้าฐานการเรียนรู้เสวียนไม้ไผ่ด้วยการแนะน้าตัว และน้าเข้าสู่
บทเรียนด้วยการซักถามผู้อบรมว่า ท่านใดเคยมีประสบการณ์/เคยรู้จักการท้าเสวียนไมไ้ ผ่
มาก่อนหรือไม่? จากนั้นครูพาท้าอธิบายถึงความเป็นมาและความส้าคัญของการท้าเสวยี น
ไม้ไผ่ กล่าวคือ “เสวียน” เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากภูมิปญั ญาของชาวบ้าน ซ่ึงเคยมีการใช้
กันมาตง้ั แต่บรรพบรุ ุษ อาจมกี ารขาดหายไปในบางชว่ งบ้างจนระยะหลังมีปัญหาหมอกควัน
เกดิ ขนึ้ มากชาวบ้านจึงหันกลบั มาใชภ้ มู ิปญั ญาท้องถิน่ ท่ีถา่ ยทอดมาต้งั แต่บรรพบรุ ษุ การท้า
เสวยี น เป็นการ น้าเอาไม้ไผ่มาสานรอบโคนต้นไม้เพื่อใช้เก็บขยะใบไม้ให้ใบไม้เศษไม้ย่อย
สลายตามธรรมชาติ เปน็ การลดฝุ่นละอองจากการเผาเศษใบไม้ เสวียนไม้ไผ่ นับว่าเป็น
ประโยชน์ต่อการจัดการขยะอินทรีย์ พวกใบไม้ เศษกิ่งไม้ และถือเป็นการช่วยอนุรักษ์
สง่ิ แวดล้อม
5.4 ครูพำทำกำรอธบิ ำยและกำรสำธิตกำรทำเสวยี นไม้ไผ่ ดงั นี้
1. ตัดไม้ไผ่ลวกหรือไม่ไผ่ซ่าง ความยาวประมาณ 1 เมตร เพื่อใช้เป็นเสาหลัก ปักลงดิน
ตัดแต่งส่วนท่จี ะปกั ลงดินใหแ้ หลมหรอื เปน็ ล่มิ เพอ่ื ง่ายตอ่ การตอกลงดิน
2. ตอกเสาหลกั ลงดิน ใหเ้ หลอื ส่วนทีพ่ ้นดิน ประมาณ 60 เซนตเิ มตร ระยะห่างระหว่างหลัก
ประมาณ 30 เซนตเิ มตร กรณตี น้ ไมใ้ หญจ่ ะใชป้ ระมาณ 13-15 หลกั
3. ผา่ ไม้ไผซ่ างให้เป็นเสน้ ยาวแล้วนา้ มาสานขดั ไปมารอบเสาหลักท่ีตอกไวร้ อบโคนตน้ ไม้
4. ครพู าทา้ ให้ผ้อู บรมลงมอื ปฏิบตั กิ ารท้าเสวียนไม้ไผ่ จา้ นวน ๑ วง
5. ครูพาท้าตรวจผลงานการท้าเสวียนไม้ไผ่ พร้อมใหค้ า้ แนะนา้ เพ่มิ เตมิ
5.5 ครูพำทำสรปุ บทเรียนจำกกำรทำเสวียนไม้ไผ่ โดยกลำ่ วถงึ เทคนิคกำรทำเสวยี นไม้ไผ่
และประโยชน์จำกกำรทำเสวยี นไมไ้ ผ่ ดงั นี้
เทคนิคที่ 1.การค้านวณขนาดความกว้างของเสวียน ควรจะวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 2-3 เมตร ตามขนาดท่ีต้องการ โดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้เสาจ้านวนเลขคู่ เช่น
6,8,10,12 เป็นตน้ เพอ่ื ง่ายตอ่ การสานไมไ้ ผ่และเป็นลวดลายทีส่ วยงาม
เทคนิคที่ 2.กอ่ นจะทา้ การต่อไม้ไผ่ ควรวัดไมไ้ ผ่แต่ละเสน้ ให้มีขนาดที่เท่ากัน และทา้ การสาน
ทีละเสน้ ตอ่ ขน้ึ ไปเปน็ วงทลี ะ ๑ วง (ลกั ษณะเหมอื นการซอ้ นห่วงยาง)

36

เทคนคิ ท่ี 3.การมดั ไมไ้ ผ่ดว้ ยลวดควรมัดจากทางด้านนอกโดยใหป้ ลายลวดหนั เข้าด้านในเพื่อ

ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ความแหลมคมของปลายลวดจะท่มิ แทงหรือเกยี่ วขาเม่อื เวลาเดนิ ผา่ น

ในส่วนของประโยชน์จากการท้าเสวียนไม้ไผ่ คือ ลดการใช้ปุ๋ย ลดขยะ ลดปัญหามลพิษ

ลดปัญหาหมอกควัน สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับชุมชน สามารถปลูกพืชผักสวนครัวเสริมใส่

เสวยี นไมไ้ ผ่ได้ (ในที่นีจ่ ะเรยี กวา่ เสวยี นยงั ชพี ) ซ่งึ วธิ ีการท้าไมย่ ากเพียงแค่มไี มไ้ ผ่ กส็ ามารถสร้าง

เสวียนรกั ษโ์ ลกได้ตามขนาดทต่ี ้องการ

6) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษน์ ำ้ ” เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำฝำยชะลอนำ้
ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนรักษ์นา้ วิทยากรท้าอธิบายประโยชน์ สาธิตการท้าฝายชะลอ และให้ผู้

เขา้ อบรมลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ขัน้ ตอนดังนี้
1) สา้ รวจและเลอื กพน้ื ที่ท้าฝายชะลอน้า (ฝายแมว้ ) บรเิ วณท่เี หมาะสมในคลองไส้ไก่
2) จดั หาไมไ้ ผ่ ให้มขี นาดความสูงพอดีกบั ความสูงของคลองไสไ้ ก่
3) เหลาปลายไม้ไผ่ให้มคี วามแหลม สา้ หรับปักลงดินเพ่อื ยดึ ดนิ ให้ฝายมีความแขง็ แรง
4) ใช้ค้อนตอกไม้ไผ่ลงดินเพื่อท้าก้าแพงฝาย โดยตอกยึดให้ลึกลงในดินประมาณ

0.30- 0.50 เมตร ท้าเป็นด้านหน้าฝาย และด้านหลังฝาย และเว้นระยะห่างของหลักไม้ไผ่ ให้มี
ระยะหา่ งระหว่างกนั ประมาณ 20 ซม.

5) ใช้ล้าไม้ไผ่ตัดตามความกว้างของคลองไส้ไก่ โดยวางขวางแนวนอนก้นั ด้านในของหลักไม้
ไผ่ดา้ นหน้าฝายและหลงั ฝาย

6) เติมหินให้เต็มฝาย โดยใสห่ นิ ที่มีขนาดเท่าๆ กนั เพ่อื ให้ชอ่ งว่างน้อยท่ีสุดเพ่ือการชะลอนา้
7) เลื่อยไม้ไผใ่ ห้มีความสูงเทา่ กนั เสมอแนวคลองไสไ้ ก่เพ่ือความสวยงาม

7) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษ์น้ำ” เนือ้ หำกำรเรียนร้:ู ธนำคำรนำ้ ใต้ดนิ
ในการฝึกปฏิบัติในฐานเรียนรู้คนรักษ์น้า วิทยากรให้องค์ความรู้เก่ียวกับธนาคารน้าใต้ดินทั้งแบบ

ปิดและแบบเปิด โดยในการฝึกปฏิบัติ วิทยากรให้ผู้เข้าอบรมได้ลงมือท้าธนาคารน้าใต้ดินแบบปิด ใช้หลักการ
ขุดบ่อเพอ่ื สง่ น้าไปเก็บไว้ท่ีชั้นน้าบาดาล ขนาดและความลึกของบ่อข้ึนอยู่กบั สภาพ และช้นั ดนิ ของแต่ละพื้นท่ี
โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี

1) ขุดบ่อใหล้ กึ ถงึ ชน้ั หินอุ้มน้า จากนัน้ ใส่ยางรถยนตเ์ พอ่ื ป้องกนั ขอบบอ่ พงั ทลาย
2) จากน้ันใส่วัสดุท่ีหาได้ในพื้นท่ี เช่นขวดน้า (ใส่น้า 1 ใน 3 ส่วน), ท่อนไม้ หรือเศษปูนให้
เต็มช่องว่างด้านนอกยางรถยนต์
3) นา้ ทอ่ PVC มาวางตรงกลางบ่อเพือ่ เปน็ ชอ่ งระบายอากาศ น้าวัสดุชนิดเดียวกบั ทีใ่ ส่
ช่องว่างด้านนอกมาเติมใส่ช่องว่างด้านในให้เต็ม คลุมด้วยผ้าไนล่อน แล้วทับด้วยก้อนหิน
และตามด้วยหินละเอียดอีกที เพื่อเป็นตัวกรองให้เศษดิน หรือขยะไม่ให้เข้าไปอุดตันในบ่อ
เม่อื ฝนตกลงมาน้าจะไหลส่ชู ้ันใต้ดนิ โดยตรง ผา่ นธนาคารนา้ ใต้ดนิ ระบบปดิ ท่ีท้าขึ้นมา

37

8) ฐำนเรียนรู้ “หนึ่งงำน บำ้ นพอเพยี ง เนอื้ หำกำรเรียนรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพยี ง
ในการฝึกปฏิบัติในฐานเรยี นร้หู น่งึ งานบ้านพอเพยี ง ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้ท่ีมีองค์ความรหู้ ลากหลาย

ในการอบรมครั้งวิทยากรได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการท้าอาหารไก่แบบพอเพียง โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติ มี
ส่วนผสมและวธิ ที ้า ดังน้ี

1. หยวกกล้วย 3 กก.
2. กากน้าตาล 1 กก. (อาหารจุลินทรยี )์
3. เอ็มรอ้ ย 1 ขวด
4. นมเปร้ียว 1 ขวด
อาหารหมักจากหยวกกล้วย เหมาะส้าหรับเกษตรกรที่มีพ้ืนที่จ้ากัด โดยการใช้หยวกกล้วยท่ีล้าต้น
ไม่แก่มาก ซอยใหเ้ ป็นแผ่นเลก็ ๆ ใส่ลงในถงั หมักแลว้ ใส่สวนผสมที่เหลือ ปดิ ไว้ 1 อาทิตย์ สามารถใหไ้ ก่กินได้
เลย หรอื ว่าจะผสมอาหารอย่างอนื่ รว่ มกไ็ ด้

8) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษป์ ่ำ” เนอ้ื หำกรเรียนรู้: กำรขยำยพันธุพ์ ชื
ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนรักษ์ป่า วิทยากรได้ถ่ายองค์ความรู้เก่ียวกับการขยายพันธ์ุพืช ได้แก่

ตอนกง่ิ เสยี บยอด ติดตา ปักช้า และมอบหมายให้ผูเ้ ขา้ อบรมไดฝ้ กึ ปฏิบัตกิ ารตอนก่ิง มขี ั้นตอนดังนี้
อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในกำรตอนกิ่ง
1) มีดขยายพันธ์ุหรือคตั เตอร์ (Cutter) หรือมีดติดตาตอ่ กง่ิ
2) ถุงพลาสตกิ ขนาด 2x4 น้วิ หรอื 3x5 นิว้
3) วัสดุหมุ้ ก่ิงตอน เช่น กาบมะพรา้ ว ถา่ นแกลบหรือขุยมะพรา้ ว
4) เชือกมัดวัสดุหมุ้ กิง่ ตอน เชน่ เชือกฟาง
5) ฮอร์โมนเรง่ ราก
วิธีกำรตอนกิง่
1) เลือกกิ่งท่ีมอี ายไุ มเ่ กิน 1 ปี หรืออยูใ่ นวยั หนุม่ สาว ซ่งึ จะออกรากได้ดกี ว่ากิง่ ท่ีมอี ายุมาก
และควรเปน็ กง่ิ กระโดงหรือกง่ิ นา้ ค้าง ท่ีสมบรู ณ์ ปราศจากโรคและแมลง
2) คว่ันเปลือกกิ่ง ความยาวของรอยแผล ประมาณเส้นรอบวงของก่ิง ท้ังด้านบนและล่าง
ของกิ่ง แลว้ ลอกเอาเปลอื กออกและขูดเยื่อเจริญท่เี ปน็ เมือกล่ืนๆ รอบก่ิงออกให้หมด
3) น้าตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวเก่าที่แช่น้าจนอ่ิมตัว แล้วบีบน้าออกพอหมาดๆ อัดลงใน
ถุงพลาสติกแลว้ ผกู ปากถุงใหแ้ นน่ ) มาผา่ ตามความยาวแล้วน้าไปหมุ้ รอยแผลของก่งิ ตอน มัดด้วยเชอื ก
ทง้ั บนและล่างรอยแผลทค่ี วน่ั

38

4) เมื่อก่ิงตอนงอกรากซ่ึงจะเกิดตรงบริเวณรอยควั่นด้านบน และรากเร่ิมแก่เป็นสีเหลือง
หรือมสี นี ้าตาล ปลายรากมีสีขาวและมจี ้านวนรากมากพอ จงึ ตดั กิ่งตอนไปช้าหรอื ปลกู ได้

5) ตดั ก่ิงตอนไปช้าในภาชนะ ในกระถางหรือถงุ พลาสติก เพ่ือรอการปลูกตอ่ ไป

เม่ือเสร็จสิ้นการเรียนรู้ทั้ง 9 ฐานเรียนรู้ ให้พร้อมกันท่ีห้องอบรม สรุปผลกิจกรรมเป็นรายกลุ่มและ
วิทยากรสรปุ เติมเตม็
7. สรุปผลกำรเรยี นรู้

7.1) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี”

เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรหม่ ดิน
การห่มดินตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ที่สามารถย่อยสลายได้
เองตามธรรมชาติห่มหรอื คลุมลงบนหนา้ ดิน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดิน ดิน

จะปล่อยธาตุอาหารใหพ้ ชื โดยกระบวนการยอ่ ยสลายของจลุ ินทรีย์ เรียกหลักการนี้วา่ “เลีย้ งดิน ให้ดิน
เลยี้ งพชื ”

7.1) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี”
เน้อื หำกำรเรียนรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพ
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก

ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของสิ่งมชี ีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่

ปลายรากของพืชทส่ี ามารถสรา้ งธาตุอาหารกว่า ๙๓ ชนดิ ให้แกพ่ ืช
7.3) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์สุขภำพ”

เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: สเปรยก์ ันยุง

การดูแลรักษาสุขภาพด้วยสมุนไพร ท้าได้ง่ายและใช้วัตถุดิบท่ีมีในท้องถ่ิน คือ สมุนไพรไทย
การแช่เท้าด้วยน้าสมุนไพรอนุ่ ๆร้อนๆ เป็นการกระตุ้นการไหลเวยี น น้าสารอาหารมาหล่อเล้ียงเซลล์

บริเวณส่วนปลายของร่างกาย และเป็นการน้าของเสียออกไปก้าจัด ท้าให้ระบบไหลเวียนส่วน
ปลายดี อาการชาปลายมือปลายเท้าลดลง และยังช่วยให้ผ่อนคลาย หากแช่ช่วงเย็นๆหรือหัวค้่า
จะชว่ ยให้ บ้าบดั ท้าให้หลับสบาย และไม่ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในเข้ารับบรกิ ารร้านนวดหรือสปาที่มีราคา

แพงอีกดว้ ย
7.4) ฐำนเรียนรู้ “คนมนี ้ำยำ”

เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรทำน้ำยำอเนกประสงค์
ในปจั จบุ ันรายจ่ายสูงกว่ารายรับ จงึ เริม่ ประชมุ ปรกึ ษาหารือกันภายในหมู่บ้าน คน้ หาผู้มคี วามรู้
ด้านต่าง ๆ ในการที่จะทา้ อย่างไรในการลดรายจ่ายในครัวเรือนและท้าใหม้ ีรายได้เพม่ิ ขึ้น จงึ มีมตทิ ี่จะ

ท้าน้ายาอเนกประสงค์ใช้ในครัวเรอื นเพ่ือลดรายจ่าย และสามารถเพ่ิมรายได้ให้กบั ครัวเรือน การลด

39

ค่าใชจ้ า่ ยในครัวเรือนในแตล่ ะเดือนครอบครวั ของเราจา่ ยเงินไปเท่าไรในการซือ้ น้ายาซักผา้ น้ายาล้าง
จาน น้ายาล้างรถ หรือน้ายาท้าความสะอาดสารพัดล้าง แล้วสินค้าที่เราซื้อมาใช้น้ันดีจริงอย่างท่ีเขา
โฆษณาหรือเปล่า ดงั นน้ั เราจึงลองใช้ภมู ปิ ญั ญาเพอ่ื พึง่ พาตนเอง มาท้าผลิตภณั ฑ์ดแี ละราคาถกู ใช้เอง

7.5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวยี นไมไ้ ผ่”
เน้อื หำกำรเรียนรู้: กำรทำเสวียนจำกไม้ไผแ่ ละกำรทำเสวียนยงั ชีพ
เสวียน เปน็ สง่ิ ประดิษฐ์ท่ีเกิดจากภมู ิปัญญาของชาวบ้าน ซง่ึ เคยมกี ารใช้กนั มา ตั้งแตบ่ รรพบุรุษ

อาจมีการขาดหายไปในบางช่วง จนระยะหลังมีปัญหาหมอกควัน เกิดข้ึนมาก ชาวบ้านจึงหันกลับมา
ใช้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ที่ถ่ายทอดมาตง้ั แต่บรรพบรุ ุษ การทา้ เสวียน เปน็ การน้าเอาไมไ้ ผ่มาสานรอบโคน
ตน้ ไมเ้ พอ่ื ใช้เกบ็ ขยะใบไม้ ให้ใบไม้เศษไม้ยอ่ ยสลายตามธรรมชาตลิ ดฝนุ่ ละอองจากการเผาใบไม้เศษ
7.6) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษน์ ้ำ”

เนอื้ หำกำรเรียนรู้: กำรทำฝำยชะลอน้ำ
หลักการหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ การท้าฝายชะลอน้า หรือฝายชะลอ

ความช่มุ ช้ืนซ่ึงหมายถึง ส่ิงก่อสร้างท่ีขวางทางกั้นล้าน้าขนาดเล็กในบริเวณต้นน้า หรือพ้ืนท่ีที่มีความ
ลาดชันสูง เพื่อให้นา้ ที่ไหลมาแรงสามารถที่จะชะลอการไหลช้าลงและเก็บกักตะกอน เพื่อไม่ให้
ลงไปส่บู ริเวณลุ่มนา้ ตอนล่าง

ฝายชะลอน้า หรอื Check Dam คือสงิ่ กอ่ สรา้ ง ทีท่ า้ ขึ้นเพื่อขวางหรอื กน้ั ทางน้า โดยปกติมักจะ
กั้นลา้ ห้วย ลา้ ธารขนาดเล็กในบรเิ วณท่เี ปน็ ต้นน้า หรอื พน้ื ท่ีทีม่ ีความลาดชนั สงู ให้สามารถกักตะกอน
อยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้าให้ช้าล งด้วย
เพอ่ื การกกั เก็บตะกอนเอาไว้ไมใ่ ห้ไปทบั ถมลา้ นา้ ตอนลา่ ง อนั เปน็ เปน็ วธิ ีการอนุรักษ์ดินและแหล่งนา้
7.6) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษ์น้ำ”

เนื้อหำกำรเรียนรู้: ธนำคำรน้ำใต้ดิน
ธนาคารน้าใตด้ นิ คอื การท่ีเราขดุ หลุมลักษณะก้นครก เพ่อื จดั กักเกบ็ น้าฝนท่ีตกลงมาในช่วง

ฤดูฝนไว้สู่ใต้ดิน ตั้งระดับใต้ดินถึงความลึกของหลุมที่ขุด เพื่อให้น้ากระจายออกในแนวระนาบ (เปิด
อากาศให้ผวิ ดิน) เพราะหากเราไม่จัดเกบ็ นา้ ลงสู่ใตด้ ิน แล้วปลอ่ ยใหน้ ้าฝนไหลท้ิงตามผิวดนิ เมื่อน้าฝน
ทีไ่ หลท้งิ เหล่านไ้ี ปรวมตวั กนั เยอะก็จะเป็นสาเหตุของปญั หาน้าทว่ มขังดงั เชน่ ในปัจจุบนั และหลุมนี้ยัง
เป็นการรักษาความชุ่มช้ืนให้ช้ันผิวดิน จากดินท่ีแห้งแข็งก็จะนุ่มชุ่มช้ืน ท้าให้ต้นไม้ในบริเวณท่ีท้า
ธนาคารน้าใตด้ ิน จะอุดมสมบูรณ์ไมแ่ ห้งแล้ง เปรยี บเสมือนเราเปลย่ี นพนื้ ที่กนั ดารใหเ้ ป็นท่ีชมุ่ ผืนใหญ่
หรอื กระถางต้นไมแ้ บบแกม้ ลิงขนาดใหญ่ หากพวกเรารว่ มมือกันทา้ ทกุ บา้ น กจ็ ะคนื ความอดุ มสมบูรณ์
ให้ผืนป่า และรักษาแหล่งน้าให้ยังคงมนี ้าเพยี งพอส้าหรบั ฤดูแล้ง ท้าให้สัตว์ป่ามีน้าด่ืม ไม่ตัดออกจาก
ป่ามารบกวนชมุ ชน อกี ท้ังยงั เป็นการลดปญั หาเรือ่ งไฟป่าไปดว้ ย
7.8) ฐำนเรยี นรู้ “หน่งึ งำน บำ้ นพอเพยี ง”

เน้อื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพยี ง
การท้าอาหารสัตว์ นับเป็นปัจจัยส้าคัญยิ่งต่อการเลี้ยงสัตว์และเปน็ หนึ่งในต้นทุนที่ส้าคัญ ซ่ึง
ในวันน้ี เกษตรกรเป็นจ้านวนมากต้องประสบกับภาวะราคาต้นทุนอาหารที่เพ่ิมข้ึน จากภาวการณ์ที่
เกิดข้ึน ไดส้ ง่ ผลกระทบเป็นอย่างมากตอ่ เกษตรกรผเู้ ลีย้ งรายย่อย ที่มีจา้ นวนไม่นอ้ ยท่ีไม่ สามารถแบก
รับภาระต้นทุนค่าอาหารที่เพ่ิมขึ้นได้ จนท้าให้ต้องเลิกอาชีพการเล้ียงสัตว์ไป ในช่วงระยะเวลาท่ีผ่าน
มา เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและท้าให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงสัตว์เพื่อสร้างรายได้ต่อไปได้ จึงได้มี

40

การน้าแนวคดิ เกย่ี วกับการใชว้ ัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถน่ิ มาผสมขึ้นเป็นอาหารใชเ้ อง ทดแทนการซ้ือ
อาหารสา้ เรจ็ รูป
7.9) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษป์ ำ่ ”

เนื้อหำกรเรยี นรู้: กำรขยำยพนั ธุ์พชื
การขยายพันธพ์ุ ชื จดั วา่ มีความส้าคัญในการปลูกพชื เพราะขนั้ ตอนแรกของการเพาะปลูกต้อง
มีต้นกล้าพืชเสียก่อน การเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชท่ีเหมาะสมจะท้าให้สามารถผลิตต้นกล้าได้ตาม
ปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ซึ่งเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือปริมาณของผลผลิตของพืชน้ัน ๆ
นอกจากนก้ี ารขยายพนั ธุ์พชื ยงั มคี วามส้าคัญในด้านการอนรุ กั ษพ์ ันธพ์ุ ชื ท่หี ายากหรอื ใกล้จะสญู พันธ์ุ
8. รูปภำพกิจกรรม

ฐานเรยี นรู้ “คนรักษ์แมธ่ รณี” เน้ือหาการเรยี นรู้: การหม่ ดิน

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์แมธ่ รณี” เน้ือหาการเรยี นรู้: การทา้ ป๋ยุ ชีวภาพ

ฐานเรียนรู้ “คนรักษส์ ุขภาพ” เน้ือหาการเรียนรู้: การแช่เท้าดว้ ยสมุนไพร

41

ฐานเรียนรู้ “คนมีน้ายา” เน้อื หาการเรียนรู้: การทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สูตรน้าหมักรสเปรี้ยว

ฐานเรียนรู้ “เสวยี นไม้ไผ่” เนือ้ หาการเรยี นรู้: การทา้ เสวียนจากไมไ้ ผ่และการท้าเสวียนยังชีพ

ฐานเรยี นรู้ “คนรักษ์น้า” เนอ้ื หาการเรียนร:ู้ การท้าฝายชะลอน้า

ฐานเรยี นรู้ “คนรักษน์ ้า” เนือ้ หาการเรยี นร:ู้ การทา้ ธนาคารน้าใต้ดนิ

42

ฐานเรยี นรู้ “หนง่ึ งาน บ้านพอเพยี ง” เนอื้ หาการเรยี นรู้: การทา้ อาหารไก่แบบพอเพียง

ฐานเรยี นรู้ “คนรักษป์ ่า” เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การขยายพันธ์ุพืช

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ท่ี 2

7. วชิ ำ : ฝึกปฏบิ ัติ “ฐำนกำรเรียนรู้” 9 ฐำนเรยี นรู้
วทิ ยากร นางสาวพมิ พณ์ ดา ไมตรีเวช นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ตั กิ าร และวิทยากรประจา้ ฐานเรียนรู้

1. วตั ถปุ ระสงค์
๑.1) เพอ่ื ให้ผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมรแู้ ละเข้าใจถึงการนอ้ มนา้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรับ

ใช้ในชีวติ ประจ้าวนั และสามารถปฏบิ ัตจิ นเป็นวถิ ชี ีวิต
1.2) เพอ่ื ผ้เู ขา้ อบรมมที กั ษะ ความรใู้ นแตล่ ะฐานการเรยี นรู้และน้าไปปฏิบัติได้
1.3) สามารถน้าความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน เพื่อให้

เกดิ รายไดแ้ ละพึ่งพาตนเองได้

2. ประเดน็ เน้อื หำ
2.1) ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การห่มดิน
2.2) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ ม่ธรณี”
เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การท้าปยุ๋ ชวี ภาพแบบแห้ง
2.3) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การท้านา้ หมักชวี ภาพ สมนุ ไพร 7 รส

43

2.4) ฐานเรยี นรู้ “คนมนี ้ายา”
เน้ือหาการเรยี นรู้: การทา้ น้ายาอเนกประสงค์

2.5) ฐานเรยี นรู้ “เสวียนไม้ไผ่”
เนื้อหาการเรียนรู้: การท้าเสวยี นจากไม้ไผ่และการท้าเสวยี นยังชีพ

2.6) ฐานเรียนรู้ “คนรักษน์ ้า”
เน้อื หาการเรียนรู้: การทา้ ลูกระเบิดจลุ ินทรีย์

2.7) ฐานเรยี นรู้เพอรม์ าคัลเจอร์
2.8) ฐานเรียนรู้ “หนึ่งงาน บา้ นพอเพียง”

เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การทา้ อาหารไก่แบบพอเพียง
2.9) ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษ์ปา่ ”

เน้ือหากรเรยี นรู้: การขยายพันธพ์ุ ชื

3. ระยะเวลำ 3 ชวั่ โมง

4. วิธกี ำร/เทคนิค
4.1) วิทยากรประจ้าฐานบรรยายเพื่อให้มีความรู้ เก่ียวกับฐานการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติและตอบข้อ

ซักถาม
4.2) วทิ ยากรมอบหมายใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมลงมอื ฝกึ ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง
4.3) ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมสรุปผลกจิ กรรมเปน็ รายกลุ่ม

5. วสั ดุ/อปุ กรณ์
5.1) วัสด/ุ อปุ กรณ์ ประจ้าฐานเรียนรู้
5.2) เอกสารองค์ความรูใ้ นแตล่ ะฐานเรียนรู้
5.3) บอร์ด, ปากกา, กระดาษฟลิปชารท์
5.4) อุปกรณข์ ยายเสยี ง, ไมคโ์ ครโฟน

6. ขั้นตอน/วธิ ีกำร
6.1) วิทยากรแนะน้าตัวเอง เน้ือวิชา แผนผังจุดเรียนรู้ และแนะน้าวิทยากรประจ้าจุดเรียนรู้ท้ัง 9

ฐานเรยี นรู้ และมอบโจทย์ ดงั น้ี
1) ท่าน ได้เรยี นรู้อะไรจากการฝึกปฏบิ ัติ

2) ท่าน จะน้าไปปรับใช้/ประยุกต์ใช้ กบั ตนเอง ชุมชน และองค์กร อย่างไร

และให้แตล่ ะกลุ่มสี วิเคราะห์สง่ิ ท่ีไดจ้ ากการฝึกปฏิบัติ ตามโจทยท์ ไ่ี ดร้ ับมอบหมายโดยมีเวลาน้าเสนอ
กลุม่ ละ 10 นาที

6.2) วิทยากรอธิบายกติกาการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ คือ ผู้ใหญ่บ้านใส่รหัสสวัสดี
วิทยากร และกลุ่มสีให้กลุ่มสีน้าเสนอสโลแกน ท่าประจ้าบ้าน ก่อนเร่ิมเรียนนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ทุกจุด และเมื่อ
เสร็จส้นิ กจิ กรรมในแตล่ ะจดุ ใหผ้ ใู้ หญ่บา้ นใส่รหสั ขอบคณุ วิทยากร

6.3) วทิ ยากรประจา้ ฐานเรียนรู้ น้าผู้เข้ารับการฝกึ อบรมแต่ละกลุ่มสี ไปที่ฐานเรียนรู้

44

6.4) วิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ อธิบายเน้ือหาความรู้และน้าผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏิบัติ
(ฐานเรยี นรู้ละ 30 นาที)

1) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี” เนื้อหำกำรเรยี นรู้: กำรห่มดิน
การห่มดินตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใชฟ้ าง เศษหญา้ หรือใบไมท้ ส่ี ามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาตหิ ่มหรอื คลุมลงบนหน้าดิน และใสป่ ๋ยุ อนิ ทรียช์ วี ภาพลงไป เพ่ือให้อาหารแกด่ นิ ดิน จ ะ
ปล่อยธาตุอาหารใหพ้ ืชโดยกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรีย์ เรยี กหลักการนวี้ ่า “เล้ียงดิน ให้ดนิ เลีย้ งพชื ”

1) ห่มดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นหรือพืชที่เราปลูก
หา่ งจากโคนต้นไมห้ รอื พืชท่ปี ลูก 1 คบื หม่ หนา 1 คืบ ถึง 1 ฟตุ ต้องท้าเปน็ วงเหมือนโดนัท

2) โรยด้วยปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) บาง ๆ และรดด้วยน้าหมักชีวภาพผสมน้าเจือจาง อัตราส่วน
1 : 100 - 200 หรอื เรียกขัน้ ตอนนวี้ ่า “แหง้ ชาม น้าชาม”

2) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี” เนอื้ หำกำรเรียนรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพแบบแห้ง
ปุ๋ยอินทรยี ์ชวี ภาพ หมายถงึ สารธรรมชาตทิ ไี่ ด้จากกระบวนการหมักบม่ วตั ถดุ ิบจากธรรมชาติ

ต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นท้ัง
อาหารของดนิ ตวั เร่งการทา้ งานของสงิ่ มีชวี ิตเลก็ ๆ ทีอ่ าศัยอยู่ในดนิ และอาศยั อยปู่ ลายรากของพืชท่ีสามารถ
สรา้ งธาตุอาหารกวา่ ๙๓ ชนดิ ใหแ้ กพ่ ชื

ป๋ยุ หมักแหง้ อนิ ทรยี ช์ ีวภาพ (ชนิดผง) สตู รมลู สัตว์
ส่วนประกอบ
- มลู สัตว์ ๑ กระสอบ
- แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซังข้าวโพด ๑ กระสอบ
- ขีเ้ ถ้าแกลบ ๑ กระสอบ
- รา้ ออ่ น ๑ กระสอบ
- น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร (ถา้ วัตถดุ ิบ แห้งมากกส็ ามารถเพิม่ ปริมาณขึ้น)
- หวั เช้ือจุลนิ ทรียเ์ ขม้ ข้น ๑ ลติ ร

วธิ ีทำ
๑) นา้ มูลสัตว์ แกลบ ขี้เถ้าแกลบ และร้าอ่อนมาผสมคลกุ เคล้าใหเ้ ข้าเป็นเนือ้ เดียวกัน
๒) ผสมน้ากับหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากันจนมีความชื้น
ประมาณ ๓๕% โดยทดลองก้าดจู ะเกาะกนั เป็นกอ้ นได้แตไ่ มเ่ หนียว และเมื่อ ปล่อยท้ิงลงพ้ืนจากความสูง
ประมาณ ๑ เมตร กอ้ นปยุ๋ จะแตกแตย่ ังมีรอยนว้ิ มือเหลอื อยู่
3) คลกุ เคลา้ ให้เข้ากนั ดี ตักปุ๋ยใสก่ ระสอบ และมดั ปากถุงใหแ้ นน่
๔) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนกันเป็นชั้น ๆ และควรวางกระสอบแต่ละตั้งให้ห่างกัน เพ่ือให้ความร้อน
สามารถระบายออกได้ทงั้ ๔ ดา้ น เพอื่ ไมต่ ้องกลับกระสอบทกุ วัน
๕) ทงิ้ ไว้ประมาณ ๕-๗ วัน ตรวจดวู า่ มีกลนิ่ หอมและไม่มไี อร้อน ก็สามารถน้าไปใช้งานและเก็บรักษา
ไว้ได้นาน

45

3) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษแ์ มธ่ รณี” เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำน้ำหมกั ชีวภำพ สมนุ ไพร 7 รส
ในการฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้คนรักษ์แม่ธรณี จุดเรียนรู้การท้าน้าหมัก 7 รส วิทยากรได้อธิบายถึง

วัตถุดิบ และสรรพคุณของน้ามักท้ัง 7 รส และให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรลงมือท้าน้าหมักรสจืดและรสเผ็ด มี
ข้นั ตอนดงั น้ี

1) ปุ๋ยน้ำหมักรสจืด ทำจำกหน่อกล้วย (จุลินทรีย์หน่อกล้วย) ซ่ึงช่วยเป็นปุ๋ยบ้ารุงดิน ให้ดินมี
ความรว่ นซุย โปรง่ และท้าให้ดนิ ไม่แขง็ และสามารถใช้บา้ บัดน้าเสยี ได้ด้วย

1.1) สว่ นประกอบ
- หน่อกลว้ ย เอาพรอ้ มราก เง้า ของหนอ่ กล้วย สูงไม่เกนิ 1 เมตร 3 กิโลกรมั
- กากน้าตาล 1 กโิ ลกรัม

1.2) วิธที ำ
1) นา้ หน่อกลว้ ยท่ีได้มาหน่ั เปน็ แวน่ บาง ๆ หรือบดใหล้ ะเอียด จ้านวน 3 กโิ ลกรัม
2) น้ามาคลุกกับกากน้าตาล จ้านวน 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากัน น้าใส่ถาด

หมกั ไว้ 7 วนั คนทกุ วันเช้า- เยน็ พอถึง 7 วัน ใส่ถงั ปดิ ฝาให้สนทิ
2) ปยุ๋ นำ้ หมักรสเผ็ด ทำจำกพริก สรรพคณุ : ไล่แมลง และ ทา้ ใหแ้ มลงแสบร้อน

1.1) สว่ นประกอบ
- พริกสบั ละเอยี ด 3 กโิ ลกรัม
- กากน้าตาล 1 กโิ ลกรมั

1.2) วิธีทำ
- พริกสับละเอียด 3 กโิ ลกรัม กากน้าตาล จา้ นวน 1 ลติ ร นา้ เปลา่ จ้านวน 10 ลิตร
- เทน้าเปล่าใส่ถังพลาสติกแล้วเทกากน้าตาลลงไปคนเรื่อย ๆ จนกากน้าตาลละลาย

เปน็ เน้อื เดยี วกันกับนา้ จากนน้ั จงึ เทวัตถดุ บิ ทีส่ ับละเอียดแล้วตามลงไป คนใหเ้ ข้ากันอีกคร้งั ปิดฝาใหส้ นิทต้ังไว้
ในทีร่ ม นานประมาณ 3 เดือน จึงสามารถน้ามาใชป้ ระโยชน์ได้

4) ฐำนเรยี นรู้ “คนมนี ำ้ ยำ” เนอ้ื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในการฝึกปฏิบัตใิ นฐานคนมนี ้ายา วิทยากรบรรยายในความรู้เกี่ยวกบั ประโยชน์ของการท้านา้ ยา

ใชเ้ อง วิธีการทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สูตรนา้ หมกั รสเปรี้ยว การทา้ นา้ หมักรสเปรี้ยว และวิธกี ารใช้น้ายาให้เกิด
ประสิทธภิ าพ ใหผ้ ้เู ขา้ อบรมฝึกปฏบิ ัติการทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สตู รน้าหมักรสเปร้ียว มขี ั้นตอนดังน้ี

น้ำยำอเนกประสงคส์ ตู รสองคู่หู
1.1 วัสดุอุปกรณ/์ วตั ถดุ บิ
1) มะกรดู
2) มะละกอ
3) เอ็น70 (N70)
4) เกลอื
5) โซดา
6) น้าเปล่า
7) หม้อต้มแบบมีฝาปดิ
8) ถงั (ส้าหรบั กวน)
9) ผ้าขาวบาง

46

10) ไมพ้ าย
11) ถังแก๊ส
1.2 วิธที ำ
1) ห่ันมะละกอดิบเป็นช้ินเล็ก ๆ เอาเมล็ดออกให้หมด และน้าไปใส่หม้อต้มท่ีต้มนา้
ไว้ 8 ลติ ร รวมกบั มะกรูดอย่างละ 2 กิโลกรัม (มะกรูดตม้ ทง้ั ผล) ใหต้ ้มจนมะละกอและมะกรูดมีสนี ้าตาล และ
น้าลดเหลอื ประมาณ 7 ลติ ร และปดิ แกส๊
2) นา้ น้าทต่ี ม้ ไว้กรองไว้ด้วยผ้าขาวบาง และเกบ็ นา้ ตม้ ไวใ้ นภาชนะ
3) น้า N70 ใส่ในถังพลาสติก และใส่เกลือตามลงไป ใช้ไม้พายกวนให้เป็นเนื้อ
เดยี วกัน เตมิ โซดา และกวนตอ่ อีก
4) ค่อย ๆ เตมิ น้าท่ีตม้ ไว้ ท้งั หมดลงในถงั และกวนให้เป็นเนื้อเดยี วกัน
5) ท้ิงไว้ให้ฟองยุบลง และนา้ ไปบรรจขุ วด เพอ่ื เก็บไวใ้ ชง้ าน

5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวียนไม้ไผ่” เน้อื หำกำรเรียนรู้: กำรทำเสวียนจำกไมไ้ ผ่และกำรทำเสวียนยงั ชพี
5.1) ประเด็นเน้ือหำและกจิ กรรมในกำรฝกึ ปฏบิ ัตฐิ ำนเรยี นรู้
1) ความเปน็ มาของเสวียนไม้ไผ่
2) วิธีการ/ขัน้ ตอน/เทคนคิ การทา้ เสวยี นไมไ้ ผ่
3) ประโยชนจ์ ากการทา้ เสวียนไม้ไผ่
4) การสรุปกจิ กรรม
5.2) วัสดุ / อปุ กรณ์
1) ไมไ้ ผ่ลวกหรือไม้ไผซ่ าง ความยาวประมาณ ๑ เมตร
2) ไม้ไผซ่ างผา่ เปน็ เส้นยาว
3) ลวด
4) คมี

5) มดี พร้า
6) ค้อน
7) เล่อื ย
8) โทรโขง่
9) สอ่ื การเรียนรกู้ ารทา้ เสวียนไมไ้ ผ่
5.3) ข้นั ตอน / วิธีกำร ทำเสวยี นไมไ้ ผ่

วิทยากรท้าเข้าสู่การแนะน้าฐานการเรียนรู้เสวียนไม้ไผ่ด้วยการแนะน้าตัว และน้าเข้าสู่
บทเรยี นดว้ ยการซักถามผูอ้ บรมว่า ท่านใดเคยมปี ระสบการณ/์ เคยรู้จกั การท้าเสวยี นไมไ้ ผ่มาก่อน ห รื อ ไ ม่ ?
จากน้ันครพู าท้าอธิบายถึงความเปน็ มาและความสา้ คัญของการท้าเสวียนไม้ไผ่ กลา่ วคือ “ เ ส วี ย น ” เ ป็ น
สิง่ ประดิษฐท์ เ่ี กดิ จากภมู ปิ ัญญาของชาวบ้าน ซ่ึงเคยมีการใช้กันมาตง้ั แต่บรรพบรุ ุษ อาจมกี ารขาดหายไปในบาง
ช่วงบ้างจนระยะหลังมีปัญหาหมอกควันเกิดขึ้นมากชาวบ้านจึงหันกลับมาใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีถ่ายทอดมา
ตงั้ แตบ่ รรพบรุ ษุ การท้าเสวียน เปน็ การนา้ เอาไม้ไผ่ มาสานรอบโคนต้นไม้เพ่ือใช้เก็บขยะใบไม้ให้ใบไม้เศษไม้
ย่อยสลายตามธรรมชาติ เป็นการลดฝุ่นละอองจากการเผาเศษใบไม้ เสวียนไม้ไผ่ นับว่าเป็นประโยชน์ต่อการ
จดั การขยะอนิ ทรีย์ พวกใบไม้ เศษก่ิงไม้ และถอื เปน็ การชว่ ยอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อม

47

5.4) วิทยำกรทำกำรอธิบำยและกำรสำธิตกำรทำเสวียนไมไ้ ผ่ ดงั นี้
1) ตัดไม้ไผ่ลวกหรือไม่ไผ่ซ่าง ความยาวประมาณ 1 เมตร เพื่อใช้เป็นเสาหลัก ปักลงดิน

ตดั แตง่ ส่วนทจ่ี ะปักลงดินใหแ้ หลมหรือเป็นลิม่ เพ่อื ง่ายตอ่ การตอกลงดนิ
2) ตอกเสาหลักลงดนิ ใหเ้ หลือส่วนทีพ่ ้นดนิ ประมาณ 60 เซนติเมตร ระยะหา่ งระหว่างหลัก

ประมาณ 30 เซนตเิ มตร กรณีตน้ ไมใ้ หญจ่ ะใช้ประมาณ 13-15 หลัก
3) ผา่ ไมไ้ ผซ่ างใหเ้ ป็นเสน้ ยาวแลว้ นา้ มาสานขดั ไปมารอบเสาหลักที่ตอกไวร้ อบโคนต้นไม้
4) ครูพาท้าใหผ้ ู้อบรมลงมอื ปฏบิ ัติการทา้ เสวยี นไมไ้ ผ่ จา้ นวน ๑ วง
5) ครูพาท้าตรวจผลงานการทา้ เสวยี นไมไ้ ผ่ พรอ้ มใหค้ า้ แนะน้าเพิ่มเติม

5.5) วิทยำกรทำสรุปบทเรียนจำกกำรทำเสวียนไม้ไผ่ โดยกล่ำวถงึ เทคนคิ กำรทำเสวยี น ไ ม้
ไผ่และประโยชนจ์ ำกกำรทำเสวยี นไมไ้ ผ่ ดงั นี้

เทคนิคท่ี 1.การค้านวณขนาดความกว้างของเสวียน ควรจะวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 2-3 เมตร ตามขนาดทต่ี อ้ งการ โดยสว่ นใหญจ่ ะนยิ มใชเ้ สาจา้ นวนเลขคู่ เชน่ 6,8,10,12 เ ป็ น ต้น
เพอ่ื งา่ ยตอ่ การสานไม้ไผ่และเปน็ ลวดลายทส่ี วยงาม

เทคนิคที่ 2.กอ่ นจะท้าการตอ่ ไมไ้ ผ่ ควรวดั ไมไ้ ผแ่ ตล่ ะเสน้ ให้มขี นาดที่เท่ากนั และท้าการสาน
ทีละเส้นตอ่ ข้นึ ไปเป็นวงทลี ะ ๑ วง (ลักษณะเหมอื นการซอ้ นหว่ งยาง)

เทคนคิ ที่ 3.การมดั ไม้ไผ่ด้วยลวดควรมดั จากทางด้านนอกโดยใหป้ ลายลวดหนั เข้าด้านในเพื่อ
ป้องกนั ไม่ใหค้ วามแหลมคมของปลายลวดจะทิม่ แทงหรือเกี่ยวขาเมอ่ื เวลาเดนิ ผ่าน

ในส่วนของประโยชน์จากการท้าเสวียนไม้ไผ่ คือ ลดการใช้ปุ๋ย ลดขยะ ลดปัญหามลพิษ
ลดปัญหาหมอกควัน สร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีดีใหก้ บั ชุมชน สามารถปลกู พชื ผักสวนครวั เสรมิ ใส่ เสวียนไม้ไผ่
ได้ (ในท่นี จี่ ะเรียกวา่ เสวียนยังชีพ) ซ่งึ วธิ กี ารทา้ ไม่ยากเพียงแค่มไี ม้ไผ่ ก็สามารถสรา้ ง เสวียนรักษโ์ ลกได้ตาม
ขนาดทต่ี อ้ งการ

6) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษน์ ำ้ ” เนอ้ื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำลูกระเบดิ จุลนิ ทรีย์
ลกู ระเบดิ จลุ ินทรีย์ ตัวช่วยบา้ บัดน้าเสยี ให้เป็นน้าใส เพราะ “นา้ ” เปน็ ปจั จยั ทส่ี ้าคัญส้าหรับ การ

ด้ารงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ิต และย่อมเกิดความเดอื ดร้อนเม่ือเกดิ สภาวะน้าเน่าเสยี ขึน้ มา ซ่งึ จากการ ทดลองของการ
ใช้ลูกระเบิดจุลินทรีย์ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติพบว่า สามารถเพ่ิมค่า DO (Dissolved Oxygen) หรือค่า
ออกซิเจนท่ีละลายในน้าจาก 3.5 ppm (หรือส่วนในล้านส่วน) เป็น 6.5 ppm ในเวลา 22 นาที เป็นการ
เพ่ิมออกซเิ จนใหก้ บั น้า ซ่งึ ออกซเิ จนเป็นสง่ิ ที่จ้าเป็น อยา่ งยิง่ สา้ หรับปลาหอยพืช และแอโรบกิ แบคทีเรีย (แบค
ท่เี รยี ทต่ี ้องการออกซิเจน)

ในการฝึกปฏิบัติในฐานเรียนรู้คนรักษ์น้า วิทยากรให้องค์ความรู้เกี่ยวกับลูกระเบิดจุลินทรีย์ เป็น
ลูกระเบิดจุลินทรีย์ ซึ่งเป็นตัวช่วยบ้าบัดน้าเสียให้เป็นน้าใส เพราะ “น้า” เป็นปัจจัยท่ีส้าคัญส้าหรับการ
ดา้ รงชวี ติ ของส่งิ มีชวี ิต และย่อมเกิดความเดือดร้อนเมอื่ เกดิ สภาวะน้าเนา่ เสยี ข้ึนมา

วิธีการบ้าบัดง่าย ๆ ท้าได้โดยการน้าน้าหมักชีวภาพมาผสมกับส่วนผสมอื่น ๆ ปั้นเป็นลูกระเบิด
จลุ นิ ทรีย์ เมื่อโยนลงไปในน้าแล้ว จะชว่ ยบ้าบดั นา้ ที่เนา่ เสียให้ใสและไม่ส่งกลิ่นเหม็น เพ่ิมออกซเิ จนในแหล่งน้า
ช่วยใหเ้ กิดแบคทเี รียที่สร้างสรรค์นีอ้ ยา่ งทวีคูณ ส่งเสรมิ ให้เกดิ สัตว์หน้าเลน เช่น ไส้เดอื นแมลงในน้า รวมท้ังไร
นา้ ซ่งึ เปน็ อาหารธรรมชาติทีส่ า้ คญั ยง่ิ ของสตั วน์ า้ พวก ปู กุ้ง ปลา และหอยอีกดว้ ย

48

สูตรทำลกู ระเบดิ จลุ ินทรยี ์อย่ำงงำ่ ย
1) วัสดุ สว่ นผสม
1. ปุย๋ อินทรยี แ์ บบแหง้ ถา้ หาไมไ่ ด้ ใชอ้ ินทรยี ว์ ัตถุ เชน่ ใบไมแ้ หง้ ฟาง หญา้ ชานอ้อย ขยุ มะพร้าว 1 สว่ น
2. มูลสัตว์ เชน่ ไก่ แพะ วัว ควาย 1 ส่วน
3. ดินโคลนเลน ถ้าหาไมไ่ ด้ ใชด้ ินธรรมดาแทนได้ แต่ตอ้ งเนือ้ เหนียวหน่อย เพราะจะปั้นเป็นลูกงา่ ย 1 ส่วน
4. รา้ 1/2 ส่วน
5. ปุ๋ยน้าหมักชีวภาพ รสจืด หมักจากเศษอาหาร ผัก แยกเศษเน้ือสัตว์ออก ควรเป็นรสจืดจะช่วย

บ้าบัดน้าได้ดี ควรใช้ปุ๋ยน้าท่ีหมักไว้แล้วอย่างน้อย 3 เดือน ถ้าหมักไม่ทันก็ใช้ปุ๋ยน้าหมักชีวภาพที่มีขายตาม
รา้ นคา้ ได้ ผสมน้าในอตั รา 1:1 สว่ น

2) วิธกี ำรทำ
1. ผสมส่วนผสมท้ังหมดคลกุ ให้เข้ากนั แลว้ รดดว้ ยปุย๋ น้าหมกั ชวี ภาพผสมน้า พอให้ส่วนผสมชน้ื คลุก
ให้เข้ากัน ลองหยบิ ส่วนผสมมาบีบดู พอให้มีน้าซึมๆ ออกมาตามง่ามนิ้ว ถือว่าใชไ้ ด้ ไม่เละ หรอื เหลวเกนิ ไป
2. ปั้นเป็นลูกขนาดพอเหมาะหรือขนาดเท่าลูกเปตอง วางผึ่งไว้ในท่ีร่มจนแห้ง น้าวัสดุที่สามารถ
ระบายอากาศไดค้ ลุม ประมาณ 4-7 วนั (ห้ามโดดแดด โดนฝน) จงึ สามารถน้าไปบ้าบัดน้าได้
3) วธิ กี ำรบำบดั น้ำเสยี
1. โยนลกู ระเบดิ โดยใช้ในอัตราสว่ น 5 กิโลกรัม ต่อ น้า 1 ล้านลิตร หรือ 25-50 กโิ ลกรมั ตอ่ พื้นท่ี
1 ไร่ หรอื 4 ก้อน ต่อ 1 ลกู บาศกเ์ มตร ทั้งนข้ี ึ้นอยกู่ ับสภาพนา้ ที่เนา่ เสยี
2. น้าน้าหมักชีวภาพ ราดบริเวณขอบบ่อหรือสระท่ีต้องการบ้าบัดน้าเสีย และน้าน้าหนักราดเปน็ รูป
เคร่ืองหมายคูณ บริเวณกลางบอ่ หรอื สระ ลูกระเบดิ จะแตกภายใน 21 นาที บา้ บัดน้าจาก ลา่ ง ข้นึ บน และใส่
ปยุ๋ น้าชีวภาพ จาบา้ บดั น้า จาก บน ลง ลา่ ง
7) ฐำนเรียนรูเ้ พอร์มำคลั เจอร์
เพอร์มาคัลเชอร์ (permaculture) เป็นแนวคิดและวิถีทางการเกษตรที่เน้นเรื่องความยั่งยืนของชีวิต

และส่ิงแวดล้อม เกิดขึ้นในต่างประเทศเมือ่ กว่า 30 ปีท่ีแล้ว องค์ความรู้แบบฝรัง่ น้ี ไม่ได้จ้ากัดอยู่เพยี งการท้า

การเกษตร แต่ครอบคลุมถึงการออกแบบวิถีการด้ารงชีวิตที่เกี่ยวข้องกับระบบเกษตรกรรม รวมถึงการใช้ชวี ติ

ของผู้คนในรูปแบบที่สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ ซ่ึงในการอบรมครั้งนี้ วิทยากรได้น้าแนวคิดนี้มาถ่ายทอด

ความรู้แก่ผู้เข้าอบรม โดยมีขั้นการปฏิบัติ คือ เอาท่อนไม้มากองสุมลงหลุม แล้วเอาดินท่ีหาได้มาโรยทับหนา

ประมาณ 1-2 น้ิว คลุมด้วยวัสดุคลุมดินด้วยฟาง และปลูกพืช 7 เลเยอร์ ซึ่งถือเป็นการปลูกพืชท่ีเก้ือกูลกัน

มากท่ีสดุ และสามารถทา้ ได้ไมว่ ่าจะมีพื้นท่ีเลก็ หรือใหญแ่ ค่ไหนกต็ าม ดงั น้ี

1) Canopy Layer ต้นไมใ้ หญ่

2) Understory Layer ต้นไม้ทต่ี ้องอยใู่ ตต้ น้ ไม้ใหญอ่ ีกที

3) Shrub Layer พุม่ ไม้ ตน้ ไมท้ ี่มคี วามสงู จ้ากัด เชน่ ต้นไม้ตระกลู เบอร์รี่

4) Herbaceous Layer ตน้ ไม้ลม้ ลุก เช่น ตน้ ไมท้ ่โี ตในชว่ งหน้าหนาว และสมุนไพร

5) Groundcover Layer พชื คลมุ ดนิ เพื่อชว่ ยเพม่ิ สารอาหารใหก้ ับพน้ื ดิน

6) Underground Layer พชื หวั เห็ด หรอื ส่งิ อะไรทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับดนิ รวมทงั้ การให้แมลงตา่ ง ๆ ทช่ี ่วย

พรวนดินมาอาศยั อยู่ดว้ ย

7) Vertical Layer ไม้เลอื้ ย

49

8) ฐำนเรียนรู้ “หนงึ่ งำน บ้ำนพอเพยี ง เนอื้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำอำหำรไกแ่ บบพอเพียง
ในการฝึกปฏิบัติในฐานเรยี นรู้หน่งึ งานบ้านพอเพยี ง ซ่ึงเป็นฐานเรยี นรทู้ ี่มีองค์ความรู้หลากหลาย

ในการอบรมคร้ังวิทยากรได้ให้ความรู้เก่ียวกับการท้าอาหารไก่แบบพอเพียง โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติ มี
ส่วนผสมและวธิ ที า้ ดังน้ี

1. หยวกกลว้ ย 3 กก.
2. กากนา้ ตาล 1 กก. (อาหารจุลินทรยี ์)
3. เอ็มร้อย 1 ขวด

4. นมเปรี้ยว 1 ขวด
อาหารหมักจากหยวกกล้วย เหมาะส้าหรับเกษตรกรท่ีมีพ้ืนท่ีจ้ากัด โดยการใช้หยวกกลัวยท่ีล้าต้น

ไม่แก่มาก ซอยให้เป็นแผ่นเลก็ ๆ ใส่ลงในถังหมักแลว้ ใส่สวนผสมท่ีเหลือ ปิดไว้ 1 อาทิตย์ สามารถใหไ้ ก่กินได้
เลย หรือว่าจะผสมอาหารอยา่ งอ่ืนร่วมก็ได้

9) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์ปำ่ ” เน้อื หำกำรเรยี นรู้: กำรขยำยพนั ธุ์พืช

ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนรักษ์ป่า วิทยากรได้ถ่ายองค์ความรู้เก่ียวกับการขยายพันธ์ุพืช ได้แก่
ตอนก่งิ เสียบยอด ติดตา ปกั ชา้ และมอบหมายให้ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติการตอนกงิ่ มีข้ันตอนดงั นี้

อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นกำรตอนกงิ่
1) มดี ขยายพันธ์หุ รอื คตั เตอร์ (Cutter) หรอื มีดตดิ ตาต่อกง่ิ
2) ถงุ พลาสตกิ ขนาด 2x4 นวิ้ หรือ 3x5 นิ้ว

3) วัสดหุ มุ้ กง่ิ ตอน เช่น กาบมะพรา้ ว ถา่ นแกลบหรือขยุ มะพรา้ ว
4) เชือกมัดวสั ดุหมุ้ ก่ิงตอน เช่น เชอื กฟาง

5) ฮอร์โมนเรง่ ราก
วิธีกำรตอนก่ิง

1) เลอื กกิ่งทมี่ อี ายุไมเ่ กนิ 1 ปี หรืออยใู่ นวยั หนุม่ สาว ซ่ึงจะออกรากได้ดีกวา่ กิง่ ทีม่ ีอายุมาก

และควรเปน็ กงิ่ กระโดงหรือกิ่งนา้ คา้ ง ท่สี มบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง
2) คว่ันเปลือกกิ่ง ความยาวของรอยแผล ประมาณเส้นรอบวงของกิ่ง ท้ังด้านบนและล่าง

ของกงิ่ แลว้ ลอกเอาเปลือกออกและขูดเย่ือเจรญิ ท่เี ป็นเมือกลืน่ ๆ รอบกง่ิ ออกใหห้ มด
3) น้าตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวเก่าที่แช่น้าจนอิ่มตัว แล้วบีบน้าออกพอหมาดๆ อัดลงใน

ถุงพลาสติกแล้วผูกปากถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้วน้าไปหุ้มรอยแผลของกิง่ ตอน มัดด้วยเชือกทั้งบน

และล่างรอยแผลที่คว่นั
4) เม่ือก่ิงตอนงอกรากซ่ึงจะเกิดตรงบริเวณรอยควั่นด้านบน และรากเร่ิมแก่เป็นสีเหลือง

หรือมีสนี ้าตาล ปลายรากมสี ีขาวและมจี ้านวนรากมากพอ จึงตัดกง่ิ ตอนไปชา้ หรือปลกู ได้
5) ตัดกง่ิ ตอนไปชา้ ในภาชนะ ในกระถางหรอื ถงุ พลาสตกิ เพื่อรอการปลกู ตอ่ ไป

เมื่อเสร็จสิ้นการเรียนรู้ท้ัง 9 ฐานเรียนรู้ ให้พร้อมกันที่ห้องอบรม สรุปผลกิจกรรมเป็นรายกลุ่มและ

วทิ ยากรสรปุ เติมเตม็

50

7. สรุปผลกำรเรยี นรู้
7.1) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี”

เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรห่มดนิ
การห่มดินตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ที่สามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาตหิ ่มหรือคลุมลงบนหน้าดิน และใสป่ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดนิ ดนิ จะปล่อย
ธาตุอาหารให้พชื โดยกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรยี ์ เรยี กหลักการนี้วา่ “เลย้ี งดิน ให้ดนิ เล้ยี งพชื ”

7.2) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี”

เนือ้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำปุ๋ยชีวภำพแบบแห้ง
ป๋ยุ อนิ ทรียช์ ีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีไดจ้ ากกระบวนการหมักบม่ วัตถุดิบจากธรรมชาติ

ต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติต่าง ๆ ซ่ึงเป็นทั้ง
อาหารของดิน ตวั เร่งการทา้ งานของส่ิงมีชวี ิตเลก็ ๆ ที่อาศยั อย่ใู นดิน และอาศัยอยู่ปลายรากของพืชที่สามารถ
สรา้ งธาตอุ าหารกว่า ๙๓ ชนิด ให้แก่พชื

7.3) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี”
เน้อื หำกำรเรยี นร:ู้ กำรทำนำ้ หมักชีวภำพ สมนุ ไพร 7 รส

น้าหมักสมุนไพร 7 รส เป็นสูตรท่ีรวมรสของสมุนไพรท่ีมี รสจืด ขม ฝาด เบื่อเมา เปรี้ยว
หอมระเหย และ เผ็ดรอ้ น มีคณุ สมบตั ใิ นการก้าจดั แมลงศตั รูพืชเข้าไว้ในสูตรเดียวกนั เพอื่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพใน
การป้องกนั และก้าจดั แมลงศตั รพู ืชผกั โดยการทา้ นา้ หมกั สมนุ ไพร 7 รส เป็นการเลอื กเอาสมุนไพรรสตา่ ง ๆ

มาท้าน้าหมกั จลุ ินทรีย์ชีวภาพ ใหเ้ กิดประโยชน์มากยิง่ ขึน้ ในการท้านาหรอื เพาะกล้าข้าว
น้าหมักสมนุ ไพร 7 รส ประกอบด้วย

1) สมนุ ไพรรสจืด ได้แก่ ใบกล้วย ผกั บุง้ รางจดื และพชื สมุนไพรท่มี รี สจดื ทกุ ชนดิ
สรรพคุณ คือ เปน็ ปุย๋ บ้ารุงดนิ ให้ดนิ มีความร่วนซุย โปรง่ และท้าให้ดินไม่แข็ง และสามารถ
ใชบ้ ้าบัดนา้ เสียได้ด้วย

2) น้าหมกั สมนุ ไพรรสขม ได้แก่ ใบสะเดา บอระเพด็ ใบข้เี หลก็ และพืชสมุนไพรที่มรี สขมทุก
ชนิด สรรพคณุ คอื สามารถฆ่าเชอ้ื แบคทเี รีย เพ่ือสร้างภูมคิ ุ้มกนั ใหก้ ับพืช

3) สมุนไพรรสฝาด ได้แก่ ปลีกล้วย เปลือกมังคดุ เปลือกฝร่ัง มะยมหวาน และพชื สมุนไพรที่
มรี สฝาดทุกชนิด สรรพคณุ คือ ฆา่ เชื้อราในโรคพืชทกุ ชนิด

4) น้าหมักสมนุ ไพรรสเบือ่ เมา ไดแ้ ก่ หัวกลอย ใบเมลด็ สบ่ดู ้า ใบนอ้ ยหนา่ และพืชสมนุ ไพรท่ี

มรี สเบื่อเมาทุกชนิด สรรพคณุ คอื ฆ่าเพลีย้ หนอน และ แมลง ในพืชผกั ทกุ ชนิด
5) นา้ หมักสมุนไพรรสเปรยี้ ว ไดแ้ ก่ มะกรูด มะนาว กระเจ๊ยี บ และพชื สมุนไพรทมี่ รี สเปรย้ี ว

ทกุ ชนิด สรรพคุณ คือ ไล่แมลงโดยเฉพาะ
6) น้าหมกั สมนุ ไพรรสหอมระเหย ได้แก่ ตะไครห้ อม ใบกะเพรา ใบเตย และพชื สมนุ ไพรที่มี

รสหอมระเหยทุกชนดิ สรรพคุณ คอื เปลีย่ นกล่ินของตน้ พชื เพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ให้แมลงไป กัดกินท้าลาย

7) นา้ หมกั สมนุ ไพรรสเผ็ดรอ้ น ได้แก่ พรกิ ขิง ขา่ และพืชสมุนไพรท่ีมรี สเผ็ดรอ้ นทุกชนิด
สรรพคณุ คือ ไลแ่ มลง และ ท้าใหแ้ มลงแสบรอ้ น

7.4) ฐำนเรียนรู้ “คนมีนำ้ ยำ”
เนือ้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในปจั จบุ ันรายจ่ายสงู กว่ารายรับ จงึ เริม่ ประชุมปรกึ ษาหารือกันภายในหมู่บา้ น ค้นหาผู้มคี วามรู้

ดา้ นต่าง ๆ ในการทจ่ี ะทา้ อยา่ งไรในการลดรายจา่ ยในครัวเรือนและท้าให้มรี ายไดเ้ พิม่ ขึ้น จงึ มมี ตทิ จ่ี ะ ทา้ น้ายา

51

อเนกประสงค์ใช้ในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่าย และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน การลด ค่าใช้จ่ายใน
ครัวเรือนในแต่ละเดือนครอบครัวของเราจ่ายเงนิ ไปเท่าไรในการซือ้ น้ายาซักผ้า น้ายาล้าง จาน น้ายาล้างรถ

หรอื น้ายาทา้ ความสะอาดสารพัดล้าง แลว้ สนิ ค้าท่ีเราซอื้ มาใช้นัน้ ดีจริงอย่างที่เขา โฆษณาหรือเปล่า ดังนั้นเรา
จึงลองใชภ้ ูมิปญั ญาเพอ่ื พึ่งพาตนเอง มาทา้ ผลิตภัณฑ์ดแี ละราคาถูกใชเ้ อง

7.5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวยี นไม้ไผ่”
เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำเสวยี นจำกไมไ้ ผ่และกำรทำเสวยี นยังชีพ
เสวยี น เปน็ สิง่ ประดษิ ฐ์ท่ีเกิดจากภูมิปญั ญาของชาวบ้าน ซึ่งเคยมกี ารใช้กนั มา ตง้ั แตบ่ รรพบุรุษ

อาจมีการขาดหายไปในบางช่วง จนระยะหลังมีปัญหาหมอกควัน เกิดข้ึนมาก ชาวบ้านจึงหันกลับมาใช้ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นท่ีถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ การท้าเสวียน เป็นการน้าเอาไม้ไผ่มาสานรอบโคนต้นไม้เพื่อใช้

เกบ็ ขยะใบไม้ ใหใ้ บไม้เศษไม้ย่อยสลายตามธรรมชาตลิ ดฝนุ่ ละอองจากการเผาใบไม้เศษ
7.6) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษ์น้ำ”
เนอ้ื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำฝำยชะลอน้ำ

หลักการหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ การท้าฝายชะลอน้า หรือฝายชะลอ
ความชุ่มช้นื ซึ่งหมายถึง สงิ่ กอ่ สร้างที่ขวางทางก้นั ล้าน้าขนาดเลก็ ในบริเวณต้นน้า หรอื พ้ืนทีท่ ม่ี ีความลาดชันสูง

เพื่อให้น้าที่ไหลมาแรงสามารถที่จะชะลอการไหลช้าลงและเก็บกักตะกอน เพื่อไม่ให้ลงไปสู่บริเวณลุ่มน้า
ตอนลา่ ง

ฝายชะลอนา้ หรอื Check Dam คือสิ่งก่อสรา้ ง ทท่ี ้าข้นึ เพ่ือขวางหรอื ก้ันทางน้า โดยปกติมักจะ

ก้ันล้าห้วย ล้าธารขนาดเล็กในบริเวณท่ีเป็นต้นน้า หรือ พ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้
และหากเป็นช่องที่น้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้าให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอน

เอาไว้ไม่ให้ไปทบั ถมลา้ น้าตอนลา่ ง อนั เป็นเป็นวธิ กี ารอนรุ ักษด์ นิ และแหล่งน้า
7.7) ฐำนเรียนรู้เพอร์มำคัลเจอร์
หัวใจหลกั ของเพอรม์ าคัลเจอร์ ไมว่ า่ จะน้าไปใช้ท่ีไหน อันดับแรกเลยกค็ อื การใสใ่ จโลก เพราะถ้า

ไม่มีโลก เราเองไม่สามารถมีชีวติ อยู่ได้ สอง การใส่ใจผู้อ่ืน เพ่ือให้เราสามารถเข้าถึงทรัพยากรท่ีจ้าเป็นต่อการ
ด้ารงชีวิตได้ และสุดท้าย มีความเป็นธรรม เลือกใช้ทรัพยากรเท่าที่จ้าเป็นและคืนสิ่งท่ีดีกลับสู่ธรรมชาติด้วย

การจัดพ้ืนที่แบบเพอร์มาคัลเจอร์ ยังเน้นการจัดวางที่ท้าให้ทุกสิ่งเกิดประโยชน์สูงสุดในตัวเอง และเมื่อสิ่ง
เหล่านั้นรวมกันแลว้ จะตอ้ งเกดิ ประโยชน์สงู กว่าการท่ีพวกมันอยู่เด่ียว ๆ โดยตอ้ งใช้พลังงาน แรงงานและสรา้ ง
ขยะให้น้อยท่ีสดุ

7.8) ฐำนเรียนรู้ “หนึง่ งำน บ้ำนพอเพยี ง”
เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรทำอำหำรไกแ่ บบพอเพียง

การท้าอาหารสัตว์ นับเป็นปัจจัยส้าคัญย่ิงต่อการเล้ียงสัตว์และเปน็ หนงึ่ ในต้นทุนที่ส้าคัญ ซึ่ง
ในวนั น้ี เกษตรกรเป็นจ้านวนมากต้องประสบกับภาวะราคาต้นทนุ อาหารทเี่ พม่ิ ขึ้น จากภาวการณ์ท่ีเกิดขึ้น ได้
ส่งผลกระทบเปน็ อยา่ งมากตอ่ เกษตรกรผู้เล้ยี งรายยอ่ ย ทม่ี ีจา้ นวนไมน่ อ้ ยทไี่ ม่ สามารถแบกรับภาระต้นทุน

ค่าอาหารที่เพิ่มขึ้นได้ จนท้าให้ต้องเลิกอาชีพการเลี้ยงสัตว์ไป ในช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมา เพื่อเป็นการแก้ไข
ปัญหาและท้าให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงสัตว์เพื่อสร้างรายได้ต่อไปได้ จึงได้มี การน้าแนวคิดเก่ียวกับการใช้

วตั ถุดบิ อาหารสัตวใ์ นทอ้ งถนิ่ มาผสมข้ึนเป็นอาหารใชเ้ อง ทดแทนการซอ้ื อาหารสา้ เรจ็ รูป

52

7.9) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์ป่ำ”
เนือ้ หำกรเรยี นรู้: กำรขยำยพันธพุ์ ืช
การขยายพนั ธพุ์ ืชจดั ว่ามีความสา้ คัญในการปลูกพชื เพราะขัน้ ตอนแรกของการเพาะปลูกตอ้ ง

มตี น้ กลา้ พชื เสยี ก่อน การเลอื กวธิ กี ารขยายพนั ธพ์ุ ืชทีเ่ หมาะสมจะท้าให้สามารถผลติ ต้นกลา้ ไดต้ ามปริมาณและ
คุณภาพท่ีต้องการ ซึ่งเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือปรมิ าณของผลผลิตของพืชนัน้ ๆ นอกจากน้ีการขยายพันธ์ุพืช
ยงั มีความส้าคัญในด้านการอนุรักษพ์ นั ธุ์พืชท่ีหายากหรอื ใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์
รูปภำพกิจกรรม

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี” เนื้อหาการเรียนร:ู้ การหม่ ดนิ

ฐานเรียนรู้ “คนรักษแ์ มธ่ รณี” เนอื้ หาการเรยี นรู้: การท้าปยุ๋ ชีวภาพแบบแหง้

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี” เน้อื หาการเรียนรู้: การทา้ น้าหมกั ชีวภาพ สมุนไพร 7 รส

53

ฐานเรียนรู้ “คนมีนา้ ยา” เนอื้ หาการเรยี นร:ู้ การท้าน้ายาอเนกประสงค์

ฐานเรียนรู้ “เสวียนไม้ไผ่” เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การท้าเสวยี นจากไม้ไผแ่ ละการท้าเสวยี นยังชพี

ฐานเรียนรู้ “คนรักษ์นา้ ” เนื้อหาการเรยี นร:ู้ การทา้ ลูกระเบดิ จุลินทรีย์

ฐานเรียนรเู้ พอร์มาคัลเจอร์

54

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 3

วิทยำกรหลัก นางสาวพิมพณ์ ดา ไมตรเี วช ตา้ แหน่ง นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ัติการ
และวิทยากรประจ้าฐานเรยี นรู้ จ้านวน 10 คน

1) วัตถปุ ระสงค์
๑.1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจ้าวัน และสามารถปฏิบัติจนเป็นวถิ ชี วี ติ
1.2) เพอื่ ผเู้ ขา้ อบรมมที กั ษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรยี นรูแ้ ละนา้ ไปปฏบิ ัตไิ ด้
1.3) เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมสามารถน้าความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสริม

ในครัวเรอื น เพื่อใหเ้ กิดรายได้และพึง่ พาตนเองได้

2) ประเดน็ เนื้อหำ
2.1) ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษ์แมธ่ รณี”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การห่มดนิ
2.2) ฐานเรยี นรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี”
เนอ้ื หาการเรียนรู้: การท้าป๋ยุ ชวี ภาพ
2.3) ฐานเรียนรู้ “คนมีน้ายา”
เน้อื หาการเรียนรู้: การท้าน้ายาอเนกประสงค์ สตู รสองคูห่ ู
2.4) ฐานเรียนรู้ “หลุมพอเพยี ง”
2.5) ฐานเรยี นรู้ “หนึง่ งานบ้านพอเพยี ง”
เน้ือหาการเรียนรู้: การทา้ อาหารไกแ่ บบพอเพียง สตู รเปลี่ยนศัตรูมาเป็นมิตร

3) ระยะเวลำ
จ้านวน ๖ ชว่ั โมง

4) วิธกี ำร/เทคนิค
4.1) วิทยากรประจ้าฐานบรรยายให้ความรู้ เกี่ยวกับฐานการเรียนรู้ มีการสาธิตวิธีการ ขั้นตอน

และเปิดโอกาสใหผ้ ู้อบรมไดซ้ ักถาม
4.2) วทิ ยากรมอบหมายใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง
4.3) วทิ ยากรมอบโจทย์ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม เพื่อสังเคราะหอ์ งคค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการฝึกปฏบิ ตั ิ

ในฐานการเรียนรู้
4.4) ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมนา้ เสนอผลการสรุปกิจกรรมเปน็ รายกลมุ่

5) วัสดุ/อุปกรณ์
5.1) วัสดุ/อุปกรณ์ ประจา้ ฐานเรียนรู้
5.2) เอกสารองคค์ วามรู้ในแตล่ ะฐานเรียนรู้
5.3) บอร์ด, ปากกา, กระดาษฟลปิ ชาร์ท
5.4) อุปกรณข์ ยายเสยี ง, ไมค์โครโฟน

55

6) ขน้ั ตอน/วธิ ีกำร
6.1) วิทยากรแนะน้าตัวเอง เนื้อวิชา แผนผังจุดเรียนรู้ และแนะน้าวิทยากรประจ้าจุดเรียนรู้

ทั้ง 9 ฐานเรยี นรู้ และมอบโจทย์ ดังนี้
1) ทา่ น ได้เรียนรู้อะไรจากการฝึกปฏิบัติ
2) ท่าน จะนา้ ไปปรบั ใช้/ประยกุ ต์ใช้ กับตนเอง ชุมชน และองคก์ ร อยา่ งไร

และใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสี วเิ คราะหส์ งิ่ ทไี่ ดจ้ ากการฝกึ ปฏิบตั ิ ตามโจทยท์ ีไ่ ด้รบั มอบหมายโดยมีเวลานา้ เสนอ
กลุม่ ละ 10 นาที

6.2) วิทยากรอธิบายกติกาการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ คือ ผู้ใหญ่บ้านใส่รหัสสวัสดี
วิทยากร และกลุ่มสีให้กลุ่มสีน้าเสนอสโลแกน ท่าประจ้าบ้าน ก่อนเริ่มเรียนนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ทุกจุด และเม่ือ
เสร็จสิ้นกจิ กรรมในแต่ละจุดใหผ้ ูใ้ หญ่บา้ นใส่รหสั ขอบคณุ วิทยากร

6.3) วทิ ยากรประจา้ ฐานเรียนรู้ น้าผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแตล่ ะกล่มุ สี ไปที่ฐานเรยี นรู้
6.4) วิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ อธิบายเน้ือหาความรู้และน้าผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏิบัติ
(ฐานเรยี นรู้ละ 30 นาที)

1) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์แมธ่ รณี” เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรห่มดนิ
การห่มดินตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ โดยใช้ฟาง เศษหญา้ หรือใบไมท้ ี่สามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาติห่มหรอื คลุมลงบนหน้าดิน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไป เพ่ือให้อาหารแก่ดิน ดิน
จะปล่อยธาตุอาหารให้พืชโดยกระบวนการย่อยสลายของจุลนิ ทรยี ์ เรียกหลกั การนี้วา่ “เลย้ี งดิน ให้ดิน
เล้ียงพืช”

1) ห่มดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นหรือพืชที่เราปลูก
หา่ งจากโคนต้นไม้หรอื พชื ทปี่ ลูก 1 คืบ หม่ หนา 1 คืบ ถึง 1 ฟุต ต้องทา้ เป็นวงเหมอื นโดนทั

2) โรยด้วยปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) บาง ๆ และรดด้วยน้าหมักชีวภาพผสมน้าเจือจาง อัตราส่วน
1 : 100 - 200 หรือเรยี กข้นั ตอนนว้ี า่ “แหง้ ชาม น้าชาม”
2) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษแ์ ม่ธรณี” เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำปุ๋ยชีวภำพ

ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก
ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพชื ท่สี ามารถสรา้ งธาตอุ าหารกวา่ ๙๓ ชนิด ใหแ้ ก่พืช
ปยุ๋ หมักแห้งอินทรียช์ วี ภาพ (ชนิดผง) สตู รมลู สตั ว์

ส่วนประกอบ
- มูลสตั ว์ ๑ กระสอบ
- แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซังขา้ วโพด ๑ กระสอบ
- ขเี้ ถา้ แกลบ ๑ กระสอบ
- รา้ ออ่ น ๑ กระสอบ
- น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร (ถ้าวตั ถดุ ิบ แห้งมากกส็ ามารถเพ่ิมปริมาณขึ้น)
- หวั เชื้อจลุ นิ ทรยี ์เขม้ ข้น ๑ ลติ ร

56

วิธีทำ
๑) น้ามลู สตั ว์ แกลบ ขเ้ี ถา้ แกลบ และรา้ อ่อนมาผสมคลุกเคลา้ ให้เข้าเปน็ เนอ้ื

เดยี วกัน
๒) ผสมน้ากับหัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากัน

จนมีความช้ืนประมาณ ๓๕% โดยทดลองก้าดูจะเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเมื่อ
ปล่อยท้ิงลงพ้ืนจากความสงู ประมาณ ๑ เมตร กอ้ นปุ๋ยจะแตกแตย่ ังมรี อยน้ิวมือเหลอื อยู่

3) คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั ดี ตักปยุ๋ ใส่กระสอบ และมัดปากถุงใหแ้ น่น
๔) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนกันเป็นชั้น ๆ และควรวางกระสอบแต่ละตงั้ ให้ห่างกัน เพื่อให้
ความร้อนสามารถระบายออกได้ท้ัง ๔ ด้าน เพ่ือไม่ต้องกลับกระสอบทกุ วัน
๕) ท้ิงไว้ประมาณ ๕-๗ วัน ตรวจดูว่ามีกล่ินหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถน้าไปใช้
งานและเก็บรักษาไว้ไดน้ าน
ปยุ๋ น้าหมักรสจดื ทาจากหน่อกล้วย (จุลินทรยี ์หน่อกล้วย) ซึ่งช่วยเป็นปุย๋ บ้ารุงดิน ใหด้ ินมคี วามร่วน
ซุย โปร่ง และท้าให้ดนิ ไม่แขง็ และสามารถใช้บา้ บัดนา้ เสยี ได้ด้วย

1.1) ส่วนประกอบ
- หนอ่ กลว้ ย เอาพร้อมราก เงา้ ของหนอ่ กล้วย สงู ไมเ่ กนิ 1 เมตร 3 กิโลกรมั
- กากน้าตาล 1 กิโลกรมั

1.2) วิธีทำ
1) นา้ หน่อกลว้ ยท่ไี ด้มาหั่นเปน็ แวน่ บาง ๆ หรือบดใหล้ ะเอียด จ้านวน 3 กิโลกรัม
2) น้ามาคลุกกับกากน้าตาล จ้านวน 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากัน น้าใส่ถาด

หมักไว้ 7 วัน คนทุกวันเชา้ - เย็น พอถึง 7 วัน ใส่ถงั ปิดฝาให้สนิท
3) ฐำนเรียนรู้ “คนมนี ำ้ ยำ” เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำน้ำยำอเนกประสงค์

ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนมีน้ายา วิทยากรบรรยายในความรู้เกย่ี วกบั ประโยชน์ของการท้านา้ ยา
ใชเ้ อง วธิ กี ารทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สูตรน้าหมักรสเปร้ียว การทา้ นา้ หมกั รสเปรย้ี ว และวธิ กี ารใชน้ า้ ยาให้เกิด
ประสิทธิภาพ ใหผ้ ู้เขา้ อบรมฝึกปฏิบัติการท้าน้ายาอเนกประสงค์ สูตรนา้ หมักรสเปรี้ยว มีขน้ั ตอนดังนี้

น้ำยำอเนกประสงคส์ ตู รสองคหู่ ู
1.1 วสั ดอุ ุปกรณ์/วตั ถุดบิ
1) มะกรูด
2) มะละกอ
3) เอน็ 70 (N70)
4) เกลอื
5) โซดา
6) นา้ เปล่า
7) หม้อตม้ แบบมีฝาปิด
8) ถัง (สา้ หรับกวน)
9) ผา้ ขาวบาง
10) ไม้พาย
11) ถงั แก๊ส

57

1.2 วธิ ีทำ
1) หั่นมะละกอดิบเป็นช้ินเล็ก ๆ เอาเมล็ดออกให้หมด และน้าไปใส่หม้อตม้ ที่ต้มน้า

ไว้ 8 ลิตร รวมกับมะกรูดอยา่ งละ 2 กโิ ลกรัม (มะกรดู ต้มทัง้ ผล) ใหต้ ม้ จนมะละกอและ
มะกรูดมสี ีนา้ ตาล และน้าลดเหลอื ประมาณ 7 ลิตร และปิดแกส๊

2) น้าน้าท่ีตม้ ไว้กรองไว้ด้วยผ้าขาวบาง และเก็บนา้ ต้มไวใ้ นภาชนะ
3) นา้ N70 ใส่ในถงั พลาสติก และใสเ่ กลอื ตามลงไป ใช้ไม้พายกวนใหเ้ ปน็ เน้อื
เดียวกนั เติมโซดา และกวนต่ออกี

4) คอ่ ย ๆ เติมน้าทตี่ ม้ ไว้ ทัง้ หมดลงในถัง และกวนใหเ้ ปน็ เนือ้ เดียวกนั
5) ท้งิ ไว้ใหฟ้ องยุบลง และนา้ ไปบรรจขุ วด เพอ่ื เก็บไวใ้ ชง้ าน

4) ฐำนเรียนรู้ “หลุมพอเพยี ง”
ในการฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้หลุมพอเพียง ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้ที่ให้องค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหาร

จัดการพื้นที่ ๆ มีอย่างจ้ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมีนัยส้าคัญให้ปลูกป่า ปลูกไม้บ้านาญ เป็นวิธีการ
บริหารจัดการส่ิงที่อยู่ในหลุม เร่ิมจากเตรียมพ้ืนที่ตามขนาดที่ก้าหนด แล้วก็ปลูกหญ้าแฝกเป็นรูปวงกลมหรอื

เป็นล็อกสี่เหลี่ยม จากนั้นปลูกไม้ในหลุมนี้ ลงได้ถึง 4 – 5 ประเภทในหลุมเดียว เพื่อลดภาระการรดน้า
ปลกู ซ้า และเกือ้ ตอ่ การก้าจดั ศตั รพู ืชเพราะให้ทุกอย่างเกื้อกูลกนั เอง

หลมุ พอเพียง คือ การปลกู พชื หลายอย่างในหลมุ เดียว หลมุ ทีว่ ่านไ้ี มไ่ ดส้ ภาพเป็นหลุมลึก ๆ แตเ่ ป็น

การปลูกพืชเป็นกลุ่ม ขนาดที่น่าลองท้าคือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร แต่ส้าหรับคนที่มีพ้ืนที่ว่าง
เพ่ือเตรียมปลูกพชื อาจจะท้าหลายๆหลุม ขนาดที่ก้าลังพอแรง คือขนาดกว้าง 80 – 100 เซนติเมตร จะท้า

วงกลมหรือสี่เหล่ียมก็ได้ ระยะห่างระหว่างหลุม 4 x4 เมตร ถ้ามีพ้ืนท่ี 1 ไร่ จะได้ 100 หลุม หรือถ้าไม่มี
ท่เี ปน็ ผนื ก็สร้างหลมุ ไว้ตามหวั ไร่ปลายนา มุมบ้าน หลงั ครัว ขอบบอ่ นา้ ริมทางเดนิ ไดห้ มด

58

5) ฐำนเรียนรู้ “หน่ึงงำน บ้ำนพอเพียง เน้ือหำกำรเรียนรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพียง
สตู รเปล่ียนศตั รมู ำเป็นมิตร

ในการฝกึ ปฏิบัตฐิ านเรยี นรู้หน่งึ งานบา้ นพอเพียง ซงึ่ เป็นฐานเรยี นรู้ท่มี อี งค์ความรูห้ ลากหลาย ใน
การอบรมครั้งวิทยากรได้ให้ความรู้เก่ียวกับการท้าอาหารไก่แบบพอเพียง โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติ

มีสว่ นผสมและวิธที ้า ดังนี้
วตั ถดุ บิ /อปุ กรณ์
1) ผักตบชวา ไมเ่ อาราก

2) น้าตาลทราย
3) เกลอื

4) ถงั สา้ หรบั หมัก
5) มดี
6) เขียง

วธิ กี ำรทำ
1) แบง่ ผักตบชวาออกเปน็ 4 ส่วนๆ ละ 12.5 กโิ ลกรัม จะบรรจไุ ดเ้ ตม็ ถงั ขนาด 50 ลติ ร พอดี

2) จากน้นั ใสผ่ กั ตบชวาลงไปในถงั พลาสตกิ ชัน้ ล่างสดุ ประมาณ 12.5กโิ ลกรมั เหยียบกดลงไปให้แน่น
3) โรยนา้ ตาลทรายชน้ั ละ 0.5 กิโลกรมั
4) โรยทับดว้ ยเกลอื อีกประมาณ 1 กา้ มอื เสรจ็ ช้ันที่ 1

5) ท้าเหมือนกนั ซา้ อีกจนครบ 4 ชนั้ จะเต็มถังพอดี
6) ปิดฝาถงั ใหส้ นิท ต้งั ไวใ้ นท่ีร่มหมกั นาน 21 วัน สามารถนา้ ไปใชเ้ ล้ยี งสัตวไ์ ด้

59

7) สรุปผลกำรเรยี นรู้

7.1) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษแ์ มธ่ รณี”
เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรห่มดนิ
การห่มดินตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ท่ีสามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาติหม่ หรอื คลุมลงบนหนา้ ดิน และใสป่ ยุ๋ อนิ ทรยี ช์ ีวภาพลงไป เพอ่ื ใหอ้ าหารแก่ดนิ
ดินจะปล่อยธาตอุ าหารให้พชื โดยกระบวนการยอ่ ยสลายของจลุ ินทรีย์ เรียกหลักการนว้ี ่า
“เล้ียงดนิ ใหด้ นิ เลยี้ งพชื ”

7.2) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี”
เน้ือหำกำรเรยี นรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพแบบแห้ง
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก

ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพชื ที่สามารถสรา้ งธาตอุ าหารกว่า ๙๓ ชนดิ ใหแ้ ก่พืช

น้าหมักสมุนไพร 7 รส เป็นสูตรที่รวมรสของสมุนไพรที่มี รสจืด ขม ฝาด เบื่อเมา เปรี้ยว
หอมระเหย และ เผ็ดร้อน มีคุณสมบัติในการก้าจัดแมลงศัตรูพืชเข้าไว้ในสูตรเดียวกัน เพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืชผัก โดยการท้าน้าหมักสมุนไพร 7 รส
เป็นการเลือกเอาสมุนไพรรสต่าง ๆ มาท้าน้าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นใน
การทา้ นาหรือเพาะกลา้ ขา้ ว

น้าหมกั สมนุ ไพร 7 รส ประกอบดว้ ย
1) สมุนไพรรสจืด ไดแ้ ก่ ใบกลว้ ย ผักบงุ้ รางจดื และพชื สมนุ ไพรท่มี ีรสจืดทุกชนิด
สรรพคุณ คือ เป็นปุ๋ยบ้ารุงดิน ให้ดินมีความร่วนซยุ โปร่ง และท้าให้ดินไม่แข็ง และสามารถ
ใช้บา้ บัดน้าเสยี ไดด้ ว้ ย
2) นา้ หมกั สมนุ ไพรรสขม ไดแ้ ก่ ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบข้เี หลก็ และพชื สมนุ ไพรทมี่ รี สขมทุก
ชนดิ สรรพคุณ คอื สามารถฆา่ เช้ือแบคทีเรยี เพอื่ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหก้ บั พชื
3) สมุนไพรรสฝาด ได้แก่ ปลีกลว้ ย เปลอื กมังคุด เปลอื กฝรงั่ มะยมหวาน และพืชสมนุ ไพรท่ี
มรี สฝาดทุกชนดิ สรรพคณุ คอื ฆา่ เช้อื ราในโรคพชื ทุกชนดิ
4) น้าหมักสมนุ ไพรรสเบือ่ เมา ไดแ้ ก่ หัวกลอย ใบเมล็ดสบู่ด้า ใบนอ้ ยหนา่ และพืชสมนุ ไพรที่
มีรสเบือ่ เมาทุกชนดิ สรรพคณุ คอื ฆา่ เพลี้ย หนอน และ แมลง ในพชื ผักทุกชนิด
5) น้าหมกั สมนุ ไพรรสเปรี้ยว ไดแ้ ก่ มะกรูด มะนาว กระเจี๊ยบ และพชื สมุนไพรท่มี ีรสเปร้ียว
ทกุ ชนิด สรรพคุณ คือ ไล่แมลงโดยเฉพาะ
6) นา้ หมักสมนุ ไพรรสหอมระเหย ไดแ้ ก่ ตะไครห้ อม ใบกะเพรา ใบเตย และพชื สมุนไพรที่มี
รสหอมระเหยทกุ ชนดิ สรรพคุณ คอื เปลยี่ นกลนิ่ ของต้นพืช เพื่อปอ้ งกนั ไม่ให้แมลงไป กัดกนิ ทา้ ลาย
7) น้าหมักสมุนไพรรสเผ็ดร้อน ได้แก่ พริก ขิง ข่า และพืชสมุนไพรที่มีรสเผ็ดร้อนทุกชนิด
สรรพคณุ คอื ไลแ่ มลง และ ท้าใหแ้ มลงแสบร้อน

60

7.3) ฐำนเรียนรู้ “คนมนี ำ้ ยำ”
เน้ือหำกำรเรียนรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในปจั จุบนั รายจา่ ยสงู กวา่ รายรับ จึงเรม่ิ ประชุมปรกึ ษาหารือกนั ภายในหมู่บ้าน คน้ หาผู้มีความรู้

ด้านต่าง ๆ ในการท่ีจะทา้ อยา่ งไรในการลดรายจา่ ยในครวั เรือนและท้าใหม้ ีรายได้เพม่ิ ข้ึน จึงมมี ตทิ ่ีจะ
ท้าน้ายาอเนกประสงค์ใช้ในครัวเรือนเพ่ือลดรายจ่าย และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน การลด
คา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรอื นในแต่ละเดือนครอบครัวของเราจ่ายเงนิ ไปเท่าไรในการซื้อ น้ายาซักผา้ น้ายาล้าง
จาน น้ายาล้างรถ หรือน้ายาท้าความสะอาดสารพัดล้าง แล้วสินค้าท่ีเราซ้ือมาใช้นั้นดีจริงอย่างท่ีเขา
โฆษณาหรอื เปล่า ดังนัน้ เราจึงลองใชภ้ ูมปิ ญั ญาเพอ่ื พึ่งพาตนเอง มาท้าผลิตภณั ฑ์ดแี ละราคาถกู ใชเ้ อง

7.4) ฐำนเรียนร้หู ลุมพอเพยี ง
หลุมพอเพียง เป็นแนวคิดแบบบูรณาการบริหารจัดการให้มีกินมีใช้แบบประหยัดทุน

ประหยัดเวลา ท่ีเรียกว่าหลุมพอเพียงก็คือ วิธีการบริหารจัดการส่ิงที่อยู่ในหลุมตามขนาดท่ีก้าหนด
และพชื ทกุ อยา่ งเกือ้ กลู อันเอง

เทคนิคกำรทำหลมุ พอเพยี ง
- ขนาดหลุมพอเพียงควรมีขนาดกว้าง 80 – 100 เซนติเมตรลึกประมาณ 30 เซนติเมตร
ระยะหา่ งระหวา่ งหลุม 4 x 4 เมตร ถ้ามีพน้ื ที่ 1 ไร่ จะได้ 100 หลุม
- พืชท่ีปลกู ตามแนวทางของพระอาจารย์ 1 หลุมพอเพียง ประกอบดว้ ยพชื 4 ประเภท

1) พชื พ่เี ลย้ี ง เปน็ ไม้ท่ใี หร้ ่มเงา เก็บน้า เก็บความช้ืนโดยเฉพาะชว่ งรอ้ นหรือ
หนา้ แลง้ เช่น กลว้ ยนา้ ว้า กล้วยหอม ควรปลูกทางทิศตะวนั ตก เพราะช่วยบงั แสงช่วงบ่ายที่
อากาศร้อนจัด เป็นพี่เลี้ยงให้พืชที่ไม่ชอบแดดจัดมาก ได้กล้วยเครือแรกเม่ือปลูก 1 ปี
ก็ตัดทง้ิ ปล่อยหนอ่ ใหมใ่ ห้ท้างาน

2) พืชยืนต้น ประกอบด้วย ขนุน มะม่วง มะนาว กระท้อน เงาะ ทุเรียน มังคุด
ยางพารา เป็นตน้ ในหลุมหน่งึ ควรเลือกปลกู แคป่ ระเภทเดียว

3) พืชฉลาด เป็นไม้ข้ามปี ท่ีสามารถเอาตัวรอดได้ดี เก็บผลได้นานพอสมควร เช่น
ชะอม ผกั หวาน มะละกอ ผักต้วิ ผกั เม็ก เริ่มเกบ็ กินได้ต้ังแต่ 1 เดอื นไปเรือ่ ย ๆ

4) พชื ปัญญาออ่ น หรือ ไมร้ ายวัน เปน็ ไม้ล้มลุกปลกู ง่าย ตายเรว็ ต้องคอยปลูกใหม่
ดูแลรดน้าทุกวัน แต่เก็บผลได้เร็ว ได้ทุกวัน เช่น พริก มะเขือ กะเพรา โหระพา ตะไคร้ ข่า
ฟกั ทอง แตงไทย แตงกวา ผักบ้งุ จีน คะนา้ เปน็ ตน้ เร่ิมเกบ็ กินได้ตัง้ แต่ 15 วัน
การปลูกพืชแบบหลุมพอเพียงนี้ สามารถให้ผลิตผลกับเราตั้งแต่ระยะส้ันถึงระยะยาว อีกท้ัง
ยังลดภาระการใหน้ ้าและลดต้นทุนในการปลูกซ้า พื้นที่ช่องว่างในหลุมยังใช้ประโยชน์ปลูกพชื ผักช่วย
คลมุ พืน้ แทนท่ีจะปลอ่ ยใหว้ ัชพืชข้นึ เลยท้าใหล้ ดภาระในการก้าจัดวัชพืช เรยี กได้วา่ ให้ผลตอบแทนทั้ง
รายวัน รายเดือน และรายปี

7.5) ฐำนเรียนรู้ “หน่ึงงำน บ้ำนพอเพียง”
เน้อื หำกำรเรียนรู้: กำรทำอำหำรไกแ่ บบพอเพยี ง สูตรเปล่ียนมำเป็นมติ ร
การท้าอาหารสัตว์ นบั เปน็ ปัจจยั สา้ คญั ยง่ิ ตอ่ การเลี้ยงสตั ว์และเป็นหนงึ่ ในต้นทุนที่สา้ คญั

ซ่งึ ในวันน้เี กษตรกรเปน็ จา้ นวนมากตอ้ งประสบกบั ภาวะราคาต้นทุนอาหารทีเ่ พมิ่ ข้ึน

61

จากภาวการณ์ที่เกดิ ข้นึ ได้ส่งผลกระทบเป็นอยา่ งมากต่อเกษตรกรผเู้ ลย้ี งรายย่อย ที่มจี ้านวนไม่นอ้ ย
ท่ไี ม่สามารถแบกรับภาระต้นทุนคา่ อาหารท่เี พิ่มขึน้ ได้ จนท้าใหต้ อ้ งเลกิ อาชพี การเลี้ยงสัตว์ไปในชว่ ง
ระยะเวลาที่ผา่ นมา เพื่อเปน็ การแก้ไขปญั หาและทา้ ใหเ้ กษตรกรสามารถเลย้ี งสตั ว์เพื่อสรา้ งรายได้
ต่อไปได้ จงึ ไดม้ ีการน้าแนวคิดเก่ยี วกบั การใชว้ ัตถดุ บิ อาหารสัตวใ์ นทอ้ งถิ่นมาผสมข้นึ เป็นอาหารใชเ้ อง
ทดแทนการซอ้ื อาหารสา้ เรจ็ รูป
8) รูปภำพกจิ กรรม

ฐานเรยี นรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี” เนือ้ หาการเรยี นร้:ู การหม่ ดนิ

ฐานเรียนรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี” เนื้อหาการเรียนร้:ู การท้าปยุ๋ ชวี ภาพ

ฐานเรียนรู้ “คนมีน้ายา” เน้ือหาการเรียนร:ู้ การทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สตู รสองคู่หู

62

ฐานเรียนรู้ “หลุมพอเพยี ง”

ฐานเรยี นรู้ “หนง่ึ งาน บา้ นพอเพียง” เนื้อหาการเรยี นร:ู้ การท้าอาหารไกแ่ บบพอเพยี ง
สตู รเปลย่ี นศัตรูใหเ้ ปน็ มิตร

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 4

วิทยำกรหลัก นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรีเวช ต้าแหน่ง นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ
และวิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ จา้ นวน 10 คน

1) วัตถปุ ระสงค์
๑.1) เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจา้ วัน และสามารถปฏิบัติจนเป็นวถิ ชี ีวิต
1.2) เพือ่ ผ้เู ข้าอบรมมที กั ษะ ความรใู้ นแต่ละฐานการเรียนรูแ้ ละน้าไปปฏิบตั ไิ ด้
1.3) เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมสามารถน้าความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสริม

ในครัวเรอื น เพือ่ ให้เกิดรายไดแ้ ละพงึ่ พาตนเองได้

2) ประเดน็ เนอ้ื หำ
2.1) ฐานเรยี นรู้ “หน่งึ งานบ้านพอเพยี ง”
เนือ้ หาการเรยี นรู้: การทา้ อาหารไก่แบบพอเพยี ง สูตรเปลย่ี นศตั รูมาเป็นมิตร
2.2) ฐานเรยี นรู้ “คนมีน้ายา”
เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การท้าน้ายาอเนกประสงค์
2.3) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี”

63

เนื้อหาการเรียนรู้: การทา้ ปุ๋ยชีวภาพ
2.4) ฐานเรียนรู้ “คนหวั เห็ด”
เนื้อหาการเรยี นรู้:การเรยี นร้กู ารเพาะเห็ด
2.5) ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษ์ปา่ ”
เนือ้ หาการเรยี นรู้: การขยายพันธ์ุพชื

3) ระยะเวลำ
จา้ นวน ๖ ช่วั โมง

4) วิธกี ำร/เทคนคิ
4.1) วิทยากรประจ้าฐานบรรยายให้ความรู้ เกี่ยวกับฐานการเรียนรู้ มีการสาธิตวิธีการ ขั้นตอน

และเปิดโอกาสให้ผู้อบรมได้ซกั ถาม
4.2) วิทยากรมอบหมายให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝกึ ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง
4.3) วิทยากรมอบโจทย์ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรม เพอื่ สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการฝึกปฏิบตั ิ

ในฐานการเรยี นรู้
4.4) ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมน้าเสนอผลการสรปุ กจิ กรรมเปน็ รายกลุม่

5) วัสดุ/อุปกรณ์
5.1) วสั ด/ุ อุปกรณ์ ประจา้ ฐานเรยี นรู้
5.2) เอกสารองคค์ วามรใู้ นแต่ละฐานเรยี นรู้
5.3) บอรด์ , ปากกา, กระดาษฟลิปชาร์ท
5.4) อปุ กรณข์ ยายเสียง, ไมคโ์ ครโฟน

6) ขน้ั ตอน/วิธีกำร
6.1) วิทยากรแนะน้าตัวเอง เนื้อวิชา แผนผังจุดเรียนรู้ และแนะน้าวิทยากรประจ้าจุดเรียนรู้

ทัง้ 9 ฐานเรยี นรู้ และมอบโจทย์ ดงั นี้
1) ท่าน ไดเ้ รียนรู้อะไรจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
2) ท่าน จะน้าไปปรบั ใช้/ประยุกต์ใช้ กบั ตนเอง ชุมชน และองค์กร อย่างไร

และใหแ้ ต่ละกลุ่มสี วิเคราะห์สง่ิ ที่ได้จากการฝกึ ปฏิบัติ ตามโจทย์ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายโดยมีเวลานา้ เสนอ
กลมุ่ ละ 10 นาที

6.2) วิทยากรอธิบายกติกาการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ คือ ผู้ใหญ่บ้านใส่รหัสสวัสดี
วิทยากร และกลุ่มสีให้กลุ่มสีน้าเสนอสโลแกน ท่าประจ้าบ้าน ก่อนเริ่มเรียนนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ทุกจุด และเมื่อ
เสร็จสิน้ กิจกรรมในแตล่ ะจดุ ใหผ้ ูใ้ หญ่บ้านใส่รหสั ขอบคณุ วิทยากร

6.3) วทิ ยากรประจา้ ฐานเรียนรู้ นา้ ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมแตล่ ะกลมุ่ สี ไปท่ีฐานเรยี นรู้
6.4) วิทยากรประจ้าฐานเรียนรู้ อธิบายเน้ือหาความรู้และน้าผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏิบัติ
(ฐานเรยี นรู้ละ 30 นาที)

64

1) ฐำนเรียนรู้ “หน่ึงงำน บ้ำนพอเพียง เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพียง
สตู รเปล่ียนศตั รมู ำเป็นมิตร

ในการฝกึ ปฏิบัตฐิ านเรยี นรู้หนง่ึ งานบา้ นพอเพยี ง ซงึ่ เป็นฐานเรยี นรู้ท่มี อี งค์ความรูห้ ลากหลาย ใน
การอบรมครั้งวิทยากรได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการท้าอาหารไก่แบบพอเพียง โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติ

มีสว่ นผสมและวิธที ้า ดังนี้
วตั ถดุ บิ /อปุ กรณ์
1) ผักตบชวา ไมเ่ อาราก

2) น้าตาลทราย
3) เกลอื

4) ถงั สา้ หรบั หมัก
5) มดี
6) เขียง

วธิ กี ำรทำ
1) แบง่ ผักตบชวาออกเปน็ 4 ส่วนๆ ละ 12.5 กโิ ลกรัม จะบรรจุไดเ้ ตม็ ถงั ขนาด 50 ลติ ร พอดี

2) จากน้นั ใสผ่ กั ตบชวาลงไปในถงั พลาสตกิ ชั้นลา่ งสุดประมาณ 12.5กโิ ลกรัมเหยียบกดลงไปให้แน่น
3) โรยนา้ ตาลทรายชน้ั ละ 0.5 กโิ ลกรัม
4) โรยทับดว้ ยเกลอื อีกประมาณ 1 กา้ มอื เสร็จช้นั ท่ี 1

5) ท้าเหมือนกนั ซา้ อีกจนครบ 4 ชั้น จะเตม็ ถังพอดี
6) ปิดฝาถงั ใหส้ นิท ต้งั ไวใ้ นท่ีรม่ หมักนาน 21 วัน สามารถนา้ ไปใช้เล้ยี งสัตวไ์ ด้

65

2) ฐำนเรยี นรู้ “คนมนี ้ำยำ” เนื้อหำกำรเรยี นรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนมนี ้ายา วิทยากรบรรยายในความรู้เกีย่ วกบั ประโยชน์ของการท้านา้ ยา

ใชเ้ อง วธิ กี ารทา้ น้ายาอเนกประสงค์ สตู รน้าหมักรสเปร้ียว การทา้ นา้ หมักรสเปร้ียว และวธิ ีการใช้น้ายาให้เกิด
ประสิทธภิ าพ ใหผ้ เู้ ข้าอบรมฝกึ ปฏบิ ัติการทา้ นา้ ยาอเนกประสงค์ สตู รนา้ หมักรสเปรีย้ ว มขี ั้นตอนดังน้ี

น้ำยำอเนกประสงคส์ ูตรสองคูห่ ู
1.1 วสั ดอุ ุปกรณ์/วตั ถุดบิ
1) มะกรดู

2) มะละกอ
3) เอน็ 70 (N70)

4) เกลือ
5) โซดา
6) น้าเปล่า

7) หม้อต้มแบบมีฝาปดิ
8) ถัง (ส้าหรับกวน)

9) ผา้ ขาวบาง
10) ไมพ้ าย
11) ถังแก๊ส

1.2 วธิ ที ำ
1) ห่ันมะละกอดิบเป็นช้ินเล็ก ๆ เอาเมล็ดออกให้หมด และน้าไปใส่หมอ้ ต้มท่ีต้มน้า

ไว้ 8 ลติ ร รวมกบั มะกรูดอย่างละ 2 กโิ ลกรัม (มะกรูดตม้ ทง้ั ผล) ใหต้ ้มจนมะละกอและ

มะกรดู มีสีน้าตาล และน้าลดเหลือประมาณ 7 ลิตร และปิดแกส๊
2) น้านา้ ทตี่ ้มไวก้ รองไว้ดว้ ยผ้าขาวบาง และเก็บนา้ ต้มไว้ในภาชนะ

3) นา้ N70 ใส่ในถงั พลาสตกิ และใส่เกลือตามลงไป ใชไ้ มพ้ ายกวนใหเ้ ป็นเน้อื
เดียวกัน เติมโซดา และกวนตอ่ อกี

4) ค่อย ๆ เติมน้าท่ีต้มไว้ ทั้งหมดลงในถงั และกวนใหเ้ ป็นเนือ้ เดียวกนั

5) ทิ้งไว้ให้ฟองยุบลง และน้าไปบรรจขุ วด เพ่อื เก็บไว้ใชง้ าน

66

3) ฐำนเรียนรู้ “คนรักษ์แมธ่ รณี” เนอื้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพ
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก

ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นทั้งอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของสิ่งมชี ีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพชื ท่สี ามารถสร้างธาตอุ าหารกวา่ ๙๓ ชนิด ให้แก่พืช
ปุย๋ หมกั แห้งอินทรยี ์ชวี ภาพ (ชนดิ ผง) สูตรมูลสตั ว์

ส่วนประกอบ
- มูลสัตว์ ๑ กระสอบ
- แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั ข้าวโพด ๑ กระสอบ
- ขี้เถ้าแกลบ ๑ กระสอบ
- รา้ อ่อน ๑ กระสอบ
- น้าสะอาด ๑๐ ลิตร (ถา้ วตั ถุดิบ แห้งมากก็สามารถเพิม่ ปริมาณขนึ้ )
- หัวเชือ้ จุลินทรียเ์ ขม้ ข้น ๑ ลิตร

วธิ ีทำ
๑) นา้ มูลสตั ว์ แกลบ ขเ้ี ถ้าแกลบ และรา้ อ่อนมาผสมคลุกเคล้าใหเ้ ขา้ เปน็ เนื้อ

เดียวกนั
๒) ผสมน้ากับหัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากัน

จนมีความช้ืนประมาณ ๓๕% โดยทดลองก้าดูจะเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเมื่อ
ปล่อยทิ้งลงพื้นจากความสงู ประมาณ ๑ เมตร ก้อนปยุ๋ จะแตกแตย่ ังมีรอยน้วิ มอื เหลืออยู่

3) คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กันดี ตกั ป๋ยุ ใสก่ ระสอบ และมดั ปากถงุ ใหแ้ นน่
๔) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนกันเปน็ ชั้น ๆ และควรวางกระสอบแต่ละตัง้ ให้หา่ งกนั เพ่ือให้
ความรอ้ นสามารถระบายออกไดท้ ้ัง ๔ ด้าน เพ่อื ไม่ตอ้ งกลับกระสอบทกุ วัน
๕) ท้ิงไว้ประมาณ ๕-๗ วัน ตรวจดูว่ามีกล่ินหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถน้าไปใช้
งานและเก็บรักษาไวไ้ ดน้ าน
ปยุ๋ นา้ หมักรสจดื ทาจากหนอ่ กล้วย (จุลนิ ทรีย์หนอ่ กลว้ ย) ซ่ึงช่วยเป็นปยุ๋ บ้ารงุ ดิน ให้ดินมคี วามรว่ น
ซุย โปรง่ และทา้ ให้ดนิ ไม่แขง็ และสามารถใช้บ้าบดั น้าเสยี ได้ด้วย

1.1) สว่ นประกอบ
- หน่อกลว้ ย เอาพร้อมราก เง้า ของหน่อกล้วย สงู ไมเ่ กนิ 1 เมตร 3 กโิ ลกรมั
- กากนา้ ตาล 1 กิโลกรัม

1.2) วธิ ที ำ
1) น้าหนอ่ กล้วยท่ีได้มาห่ันเป็นแวน่ บาง ๆ หรือบดใหล้ ะเอียด จา้ นวน 3 กโิ ลกรมั
2) น้ามาคลุกกับกากน้าตาล จ้านวน 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากัน น้าใส่ถาด

หมกั ไว้ 7 วนั คนทกุ วันเชา้ - เยน็ พอถงึ 7 วัน ใส่ถังปิดฝาให้สนทิ

67

4) ฐำนเรยี นรู้ “คนหัวเห็ด”
1. การเตรียมโรงเรอื นสา้ หรับเพาะเห็ดนางฟ้า สา้ หรับโรงเรอื นเพาะเห็ดนางฟ้าน้นั ควรมีขนาด

2 x 15 x 2 (กว้าง x ยาว x สูง) เมตร ซ่ึงจะวางก้อนเช้ือเห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้าได้ประมาณ
4,000 ก้อน โรงเรือนควรเป็นแบบท่ีสร้างง่าย ลงทุนน้อย และวัสดุท่ีจะน้ามาสร้างเป็นโรงเรือนน้ัน

จะต้องหาง่ายทมี่ อี ยูใ่ นท้องถนิ่ เป็นวสั ดทุ ม่ี าจากธรรมชาติ เช่น ฟาง, หญ้าแฝก, ไมไ้ ผ่ เป็นตน้ ส้าหรับ
การสร้างโรงเรือนให้เหมาะสมนนั้ ควรสร้างในท่ีเย็นชื้นและสะอาดปราศจากศัตรูของเห็ดท่ีจะเข้ามา
รบกวน หลงั คามงุ จากหรือแฝก แล้วคลมุ ทับด้วยสะแลนอีก 1 ช้ิน การคลุมหลงั คาข้ึนอยู่กับชนิดของ

เห็ดด้วย เพ่ือป้องกันลม ลมแรง ลมค่อย ลมหนาว ลมแห้งแล้ง สภาพลม สภาพอากาศ มีผลกระทบ
ต่อการออกดอกของเห็ดไดเ้ ชน่ เดียวกัน ปิดประตดู ้วยกระสอบป่านหรือแผ่นยาง ปพู ื้นดว้ ยทราย เพอ่ื

เก็บความชืน้ ทศิ ทางลม มีสว่ นสา้ คญั ในการโรงเพาะเห็ด ต้องดทู ิศทางของลมเหนือลมใต้ เพ่อื ป้องกนั
การพดั พาเชอ้ื โรค ทีจ่ ะมผี ลต่อก้อนเหด็ และการออกดอกของเห็ด

การสรา้ งโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟา้ ขนาด 2 x 15 x 2 มที ั้งหมด 4 ดา้ นด้วยกัน ซ่งึ แต่ละดา้ น

สามารถเก็บก้อนเช้ือเห็ดนางรม และเหด็ นางฟ้าได้ถึง 1,000 ก้อน ซึง่ การท้าโรงเรอื นในลักษณะน้ี ใช้
พ้นื ทรี่ วมแล้วแคป่ ระมาณ 60 ตารางเมตรเท่านั้น วสั ดใุ นการท้างานก็ใช้ทีม่ อี ยู่ตามธรรมชาติ เชน่ ไม้

ไผ่ ไม้ยูคา หรือ อื่น ๆ ตัวเสาก็อาจจะใช้ไม้ที่มีขนาดใหญ่เพ่ือความแข็งแรงของโรงเรือน หลังคาก็ใช้
หญา้ แฝก ซึง่ เป็นวสั ดทุ เ่ี หมาะกับการท้าโรงเรอื นเปน็ อย่างดี เน่อื งจากสามารถกักเก็บความรอ้ นชื้นได้
ดี เป็นภมู ิอากาศท่ีเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา้ ชอบ

วธิ กี ำรทำก้อนเชือ้ เพำะเหด็ นำงรม และเห็ดนำงฟ้ำ
การท้ากอ้ นเช้อื เพาะเหด็ นางฟา้ นนั้ จ้าเป็นตอ้ งหาวัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีต้องเตรียมดงั น้ี ไดแ้ ก่ขเ้ี ลือ่ ย

ยางพาราหรือข้ีเลอ่ื ยไม้เนื้ออ่อน แตใ่ นทางปฏบิ ตั ินน้ั ข้ีเลอื่ ยยางพาราจะใหผ้ ลดที ี่สดุ จากนัน้ ก็หา
สว่ นผสมตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้คุณคา่ ทางอาหารมากยิ่งข้นึ และสูตรการทา้ ก้อนเชือ้ เหด็ นางรม และเหด็
นางฟ้ามีสว่ นผสมหลัก ๆ ดงั น้ี

ข้ีเลือ่ ยยางพาราแห้งสนิท 100 กิโลกรมั
ร้าละเอยี ด 6 – 8 กิโลกรมั

ข้าวโพดป่น 3 – 5 กโิ ลกรมั
ปูนยิบซมั 1 กิโลกรัม
หินปูนหรือผงชอลก์ 1 กิโลกรัม

ดเี กลอื 0.2 กิโลกรมั
นา้ 80 กโิ ลกรัม

EM 1 ลติ ร
เมอ่ื หาส่วนผสมมาครบแล้ว กท็ ้าการตากและกองข้เี ลื่อยยางพาราไวป้ ระมาณ 7 วัน จากนั้น
ค่อยทา้ การผสมโดยการเตมิ น้าลงประมาณ 70 เปอร์เซนต์ ทดสอบโดยการกา้ ส่วนผสมถ้ามีน้าซมึ ตาม

งา่ มมือแสดงวา่ การผสมน้ผี สมน้ามากเกินไปแตถ่ า้ เม่ือบีบแล้วขี้เล่อื ยแตกเป็น 3 ก้อนแสดงว่าการผสม
ใช้ไดเ้ รียกวา่ พอดีแล้วแต่ถ้าว่าถ้ากา้ แลว้ แบมอื ออกแลว้ ขีเ้ ล่ือยจับตัวไมเ่ ป็นก้อนแสดงว่าเติมน้าน้อย

จนเกนิ ไป เมอ่ื ผสมเข้ากันไดท้ ่แี ลว้ ก็ทา้ การกรอกใสถ่ ุงเพาะเห็ด ใส่ให้ไดน้ า้ หนักประมาณ 800 –
900 กรัม หลงั จากน้นั กท็ า้ การรวบปากถุงกระท้งุ กบั พื้นให้แนน่ พอประมาณหลงั จากนน้ั ก็ทา้ การใส่
คอขวด

68

5) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์ปำ่ ” เน้ือหำกำรเรยี นรู้: การเพาะพนั ธุก์ ลา้ ไม้
กำรปักชำ (cutting) หมายถงึ การน้าสว่ นใดสว่ นหนึง่ ของต้นพชื ไมว่ า่ จะเปน็ ล้าต้น ราก กง่ิ

ใบ และ หัว ทีไ่ ดจ้ ากตน้ แม่หรอื ตน้ เดมิ มาปักลงดนิ วัสดุปลูกหรอื นา้ ทีม่ ีแร่ธาตหุ รือสารอาหารสา้ หรบั
การแตกราก และแตกยอดเพ่ือเจรญิ เติบโตเปน็ ต้นใหม่ ซ่ึงจะไดล้ กั ษณะตา่ งๆเหมือนกับต้นเดิมหรือ

ตน้ แม่นนั่ เอง
การปักชา้ ส่วนใด ๆ ของพชื นัน้ เป็นวธิ ีการขยายพันธพุ์ ืชเพอ่ื ใหไ้ ด้ต้นพชื ใหม่ทีร่ วดเร็วกวา่

การขยายพันธ์ุด้วยการเพาะเมลด็ อีกทงั้ สามารถท้าไดง้ ่าย รวดเร็ว และสามารถขยายพันธุไ์ ด้จา้ นวน

มากในระยะเวลาอนั สั้น แบ่งประเภทการปักช้าออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. การปักช้าก่ิง

2. การปักชา้ ล้าตน้
3. การปกั ชา้ ยอด
4. การปักชา้ ใบ

5. การปักชา้ ราก
กำรปักชำใบ

1. การเตรยี มวสั ดุปกั ช้าใบใช้ขัน้ ตอนเหมอื นการปักช้ากง่ิ
2. การเลอื ก และตัดใบปกั ช้า
การปักชา้ ใบมกั ได้ผลดกี ับพืชท่ีมีใบอวบน้า และแหง้ ช้า โดยเฉพาะไม้ดอกไม้ประดับเปน็ หลัก

ไดแ้ ก่ โกศล แขยง กวักมรกต วา่ นลิ้นมงั กร วา่ นงาช้าง ว่านรวยไม่เลกิ และยางอนิ เดียเป็นตน้
การตดั ใบนนั้ จะมคี วามแตกต่างกันของแตล่ ะพืช เช่น โกศล และแขยงจะใช้การตัดบรเิ วณโคนกา้ นใบ

3. ความเอยี ง ความลึกขณะปักช้าใบ และการดูแลรกั ษา
การปักชา้ ใบจะใช้สว่ นท่แี ตกต่างกนั ของแตล่ ะพชื ปักช้าลงดิน ซึ่งมักปกั ช้าลงไมล่ กึ คอื ประมาณ 3-5
เซนตเิ มตร เช่น โกศล และแขยงจะใชเ้ ฉพาะสว่ นกา้ นใบปกั ช้าใหม้ ิดลงดิน ส้าหรบั ใบพืชทีไ่ ม่มกี ้านใบ

เชน่ ว่านรวยไม่เลกิ วา่ นลนิ้ มงั กร เปน็ ต้น จะใชส้ ว่ นใบปกั ชา้ ลึกลงดิน 3-5 เซนติเมตร เชน่ กนั สว่ น
แผน่ ใบใหโ้ ผล่เหนือดิน ส่วนความเอียงให้เอียง 45-60 องศากบั ผวิ ดิน สว่ นการดูแลรักษาให้ใชว้ ธิ ี

เดียวกันกับการปกั ชา้ กง่ิ
7) สรุปผลกำรเรียนรู้

7.1) ฐำนเรียนรู้ “อำหำรไก่”

ฐำนเรยี นรู้ “หนึง่ งำน บ้ำนพอเพียง”
เนื้อหำกำรเรยี นรู้: กำรทำอำหำรไกแ่ บบพอเพยี ง สูตรเปล่ยี นมำเปน็ มิตร

การท้าอาหารสัตว์ นับเป็นปัจจัยส้าคัญย่ิงต่อการเลี้ยงสัตว์และเป็นหนึง่ ในต้นทุนท่ีส้าคัญ ซึ่ง
ในวันนี้ เกษตรกรเป็นจ้านวนมากต้องประสบกับภาวะราคาต้นทุนอาหารที่เพิ่มขึ้น จากภาวการณ์ท่ี
เกิดขนึ้ ไดส้ ่งผลกระทบเป็นอย่างมากตอ่ เกษตรกรผู้เลีย้ งรายยอ่ ย ทมี่ ีจ้านวนไมน่ อ้ ยทีไ่ ม่ สามารถแบก

รับภาระต้นทุนค่าอาหารท่ีเพิ่มขึ้นได้ จนท้าให้ต้องเลิกอาชีพการเล้ียงสัตว์ไป ในช่วงระยะเวลาที่ผา่ น
มา เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาและท้าให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงสัตว์เพ่ือสร้างรายได้ต่อไปได้ จึงได้มี

การนา้ แนวคดิ เก่ยี วกบั การใชว้ ัตถดุ ิบอาหารสตั ว์ในทอ้ งถนิ่ มาผสมข้นึ เปน็ อาหารใชเ้ อง ทดแทนการซื้อ
อาหารส้าเรจ็ รูป

69

7.2) ฐำนเรยี นรู้ “คนมนี ำ้ ยำ”
เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์

ในปัจจบุ ันรายจา่ ยสงู กว่ารายรับ จงึ เริม่ ประชมุ ปรึกษาหารือกันภายในหมู่บ้าน คน้ หาผ้มู คี วามรู้
ด้านต่าง ๆ ในการทจี่ ะท้าอยา่ งไรในการลดรายจ่ายในครวั เรือนและท้าให้มรี ายได้เพิ่มข้นึ จงึ มมี ตทิ ่ีจะ

ท้าน้ายาอเนกประสงค์ใช้ในครัวเรือนเพ่ือลดรายจ่าย และสามารถเพ่ิมรายได้ให้กบั ครัวเรือน การลด
ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนในแตล่ ะเดือนครอบครัวของเราจ่ายเงินไปเทา่ ไรในการซอื้ น้ายาซักผา้ นา้ ยาล้าง
จาน น้ายาล้างรถ หรือน้ายาท้าความสะอาดสารพัดล้าง แล้วสินค้าท่ีเราซื้อมาใช้น้ันดีจริงอย่างที่เขา

โฆษณาหรือเปล่า ดงั นั้นเราจงึ ลองใชภ้ ูมปิ ัญญาเพอ่ื พึ่งพาตนเอง มาท้าผลิตภณั ฑ์ดแี ละราคาถูกใชเ้ อง
7.3) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี”

เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพแบบแหง้
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก
ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ

ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการท้างานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพืชทีส่ ามารถสรา้ งธาตอุ าหารกว่า ๙๓ ชนิด ใหแ้ กพ่ ืช

น้าหมักสมุนไพร 7 รส เป็นสูตรที่รวมรสของสมุนไพรที่มี รสจืด ขม ฝาด เบ่ือเมา เปรี้ยว
หอมระเหย และ เผ็ดร้อน มีคุณสมบัติในการก้าจัดแมลงศัตรูพืชเข้าไว้ในสูตรเดียวกัน เพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืชผัก โดยการท้าน้าหมักสมุนไพร 7 รส

เป็นการเลือกเอาสมุนไพรรสต่าง ๆ มาท้าน้าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นใน
การท้านาหรอื เพาะกลา้ ข้าว

น้าหมักสมนุ ไพร 7 รส ประกอบดว้ ย
1) สมุนไพรรสจดื ได้แก่ ใบกล้วย ผกั บงุ้ รางจดื และพืชสมุนไพรท่ีมีรสจดื ทกุ ชนดิ
สรรพคุณ คือ เป็นปุ๋ยบ้ารุงดิน ให้ดินมีความร่วนซุย โปร่ง และท้าให้ดินไม่แข็ง และสามารถ

ใชบ้ ้าบดั นา้ เสียไดด้ ว้ ย
2) น้าหมกั สมนุ ไพรรสขม ได้แก่ ใบสะเดา บอระเพด็ ใบขี้เหล็ก และพืชสมนุ ไพรทีม่ รี สขมทุก

ชนดิ สรรพคณุ คือ สามารถฆ่าเชื้อแบคทเี รยี เพ่ือสรา้ งภูมิคุ้มกันใหก้ ับพืช
3) สมุนไพรรสฝาด ไดแ้ ก่ ปลกี ลว้ ย เปลือกมังคุด เปลือกฝร่งั มะยมหวาน และพชื สมนุ ไพรท่ี

มรี สฝาดทกุ ชนดิ สรรพคุณ คือ ฆ่าเช้ือราในโรคพืชทกุ ชนิด

4) น้าหมักสมุนไพรรสเบอ่ื เมา ไดแ้ ก่ หวั กลอย ใบเมล็ดสบู่ดา้ ใบน้อยหน่า และพืชสมนุ ไพรที่
มีรสเบ่อื เมาทกุ ชนดิ สรรพคุณ คือ ฆ่าเพล้ีย หนอน และ แมลง ในพชื ผักทกุ ชนิด

5) น้าหมกั สมุนไพรรสเปร้ียว ได้แก่ มะกรูด มะนาว กระเจี๊ยบ และพืชสมุนไพรท่ีมีรสเปรี้ยว
ทกุ ชนดิ สรรพคณุ คือ ไล่แมลงโดยเฉพาะ

6) น้าหมักสมุนไพรรสหอมระเหย ได้แก่ ตะไครห้ อม ใบกะเพรา ใบเตย และพืชสมุนไพรท่ีมี

รสหอมระเหยทุกชนิด สรรพคณุ คอื เปลี่ยนกลิ่นของตน้ พืช เพ่อื ปอ้ งกันไม่ให้แมลงไป กัดกินท้าลาย
7) น้าหมักสมุนไพรรสเผ็ดร้อน ได้แก่ พริก ขิง ข่า และพืชสมุนไพรที่มีรสเผ็ดร้อนทุกชนิด

สรรพคณุ คือ ไล่แมลง และ ท้าให้แมลงแสบร้อน

70

7.4) ฐำนเรียนรคู้ นหัวเห็ด
โดยธรรมชาตแิ ล้ว เห็ด สามารถเกิดและเจริญเตบิ โตได้เอง ค้าถามจึงเกิดขึน้ วา่ ทา้ ไมเราจึง

ต้องมกี ารเพาะเห็ด? เพราะคุณประโยชนข์ องเหด็ เป็นตวั ผลักดนั ให้ เห็ด กลายเป็นพืชผักเศรษฐกจิ ใน
ปจั จุบนั ผ้คู นนิยมบริโภคเห็ดกนั มากขึ้น ท้งั ในรปู แบบอาหาร และยาสมุนไพร จงึ ได้มกี ารพฒั นาเชิง

วิชาการผสมผสานกบั หลักธรรมชาตขิ องเห็ด เพอื่ ให้ได้ผลผลิตทีส่ งู ขนึ้ และมีคุณภาพทด่ี ีอย่างต่อเน่อื ง
ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค และเพ่ือใหเ้ กษตรกรได้รับผลตอบแทนสงู สุด
เรม่ิ ตน้ เพำะเหด็ อยำ่ งไรดี?

ถา้ เราสนใจเพาะเห็ดไวบ้ ริโภคในครัวเรอื น หรือ คิดไปไกลกวา่ นัน้ คือ เพาะเหด็ เปน็ ธุรกิจ แตไ่ ม่มี
ประสบการณ์ ควรเร่ิมต้นจาก…ซ้ือก้อนเช้อื สา้ เรจ็ รูปมาทดลองดกู ่อน

ก้อนเชอ้ื เหด็ ส้าเรจ็ รปู ทว่ี ่านี้ มกี ารหยอดเชอ้ื มาแล้ว แค่เพียงรดนา้ ใหเ้ ห็ดออกดอกกน็ า้ มาปรงุ อาหาร
รับประทานได้เลย เม่ือมีประสบการณ์ตรงนี้แลว้ คอ่ ยเพ่ิมจ้านวนและศกึ ษาวธิ ีการเพาะ เมอื่ มีความ
ช้านาญขน้ึ จงึ เร่มิ ลงทุนผลิตก้อนเชื้อ พฒั นาคุณภาพ เพมิ่ ผลผลิต และขยายกจิ การให้ใหญ่ขึ้น แต่การ

เพาะเห็ดนัน้ นอกจากความรคู้ วามสนใจทผ่ี ู้ลงทนุ มีแล้ว ยังต้องมีความอดทน มีเวลาที่จะดแู ลเอาใจใส่
ดว้ ยตนเอง เพือ่ ใหไ้ ด้รบั ผลตอบแทนจาก การเพาะเหด็ ทคี่ ุม้ ค่ากบั การลงทุน

การเพาะเล้ียงเหด็ นางฟา้ ภฐู าน เป็นส่ิงท่ีท้าได้ง่าย ต้องหมั่นศกึ ษาและเรยี นรู้ เพื่อสรา้ งความ
มัน่ คงทางอาหารใหแ้ ก่คนในครัวเรอื นและสรา้ งรายไดอ้ ีกทางหนึง่ ด้วย
7.5) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษป์ ำ่ ”

การขยายพันธ์ุพชื จัดว่ามีความส้าคญั ในการปลกู พืช เพราะขั้นตอนแรกของการเพาะปลกู ตอ้ ง
มตี ้นกลา้ พชื เสียกอ่ น การเลอื กวธิ ีการขยายพนั ธ์พุ ืชที่เหมาะสมจะท้าใหส้ ามารถผลติ ต้นกลา้ ได้ตาม

ปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ซึ่งเปน็ ผลไปถึงคุณภาพหรอื ปริมาณของผลผลิตของพชื น้ัน ๆ
นอกจากนี้การขยายพันธ์พุ ืชยงั มีความส้าคญั ในดา้ นการอนุรกั ษพ์ นั ธพ์ุ ชื ท่ีหายากหรอื ใกล้จะสูญพันธุ์

1. ตอ่ มนุษย์ การเพ่มิ จา้ นวนตน้ ไม้ เปน็ การเพม่ิ แหล่งปัจจยั 4 สา้ หรบั มนุษย์โดยทางตรง

และทางอ้อมท้าใหม้ นษุ ย์มีอาหาร ทอ่ี ยู่อาศัย เคร่ืองนงุ่ หม่ และยารักษาโรค
2. ตอ่ ประเทศ การเพ่ิมจา้ นวนต้นไม้ ท้าใหเ้ กดิ อาชพี ต่าง ๆ มากมาย เกิดสินค้าท่ที ้า

รายไดใ้ หแ้ กป่ ระเทศ ทา้ ให้เศรษฐกิจของประเทศมนั่ คง เชน่ การขยายพนั ธุ์ล้าไยปลูกเป็นสวนล้าไย
จา้ นวนมากมผี ลผลติ ออกจ้าหน่าย กจ็ ะเกดิ อาชพี ตอ่ เนื่อง เช่น คนงานเก็บลา้ ไย โรงงานทา้ กล่องบรรจุ
รถขนสง่ โรงงานอบล้าไยแหง้ บรษิ ทั จดั ส่งออกจ้าหน่ายต่างประเทศ ฯลฯ

3. ตอ่ อาชีพ อาชีพเกษตรกรรมทา้ การปลกู พืชเลี้ยงสตั ว์ การเพม่ิ จา้ นวนตน้ ไม้ทา้ ใหเ้ กิด
รายไดท้ ้ังทางดา้ นผลผลติ และรายไดจ้ ากพนั ธุไ์ มท้ จ่ี ้าหนา่ ยโดยตรงนอกจากนนั้ ยังเปน็ การเพ่ิมปรมิ าณ

อาหารสัตว์ใหเ้ พียงพอกับการเล้ียงสัตว์ เปน็ การเพิม่ รายได้อีกประการหนงึ่
4. ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม การเพิม่ จา้ นวนตน้ ไม้ ย่อมท้าใหเ้ กิดความร่มรืน่ ตน้ ไมช้ ่วยยดึ เกาะดนิ

ไมใ่ หเ้ กดิ การพงั ทะลายของหนา้ ดิน เปน็ แหล่งทรัพยากรอนั มีค่าท้าให้อากาศบรสิ ุทธ์ ฯลฯ

5. ต่อทรัพยากรธรรมชาติ ทา้ ใหท้ รพั ยากรธรรมชาติทีม่ ีอย่อู ย่างจ้ากดั เกดิ คุณค่ามากยิง่ ข้ึน
เช่นทด่ี ินวา่ งเปล่า เม่ือปลกู พืช ก็ทา้ ให้ที่ดนิ นั้นมคี ุณค่ามากยิ่งกว่าปล่อยท้ิงไวเ้ ปลา่ ๆ

71

8. หัวข้อวิชำ ถอดบทเรียนผ่ำนส่ือ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต และ “วิถีภูมิปัญญำไทยกับกำร
พ่งึ ตนเองในภำวะวิกฤต”

วิทยากร นางประภา ปานนติ ยกลุ ผู้อ้านวยการศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนนครนายก
1. วัตถุประสงค์

๑.1) เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นได้สังเคราะห์ความรู้ท่ไี ดร้ บั จากวิทยากรที่ได้มาบรรยายในแตล่ ะวิชา มาสงั เคราะห์
ความรผู้ ่านการถอดบทเรยี นจากสือ่

1.2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความส้าคัญของการน้อมน้าหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดา้ รงชวี ติ

1.3) เพ่ือให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจสถานการณ์โลกปัจจุบันกับการเปลี่ยนแปลงของดิน
ฟา้ อากาศ และตระหนักถงึ วกิ ฤตปญั หาด้านดนิ นา้ ลม ไฟ โรคติดตอ่ ระบาดทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ในประเทศไทยและ
การปอ้ งกันภยั

2. ประเดน็ เน้อื หำ
2.1) การพ่งึ พาตนเองในภาวะวิกฤต
2.2) การนอ้ มนา้ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นการด้ารงชีวติ
2.3) ภาวะวิกฤตสงั คมโลก สงั คมไทย ในปัจจบุ ัน
2.4) หาทางออกวิกฤตดว้ ยศาสตร์พระราชา

3. ระยะเวลำ
จ้านวน 2 ชว่ั โมง

4. วธิ กี ำร/เทคนคิ
4.1) ชมสอื่ วีดีทศั น์
4.2) วิธีการแบง่ กลุ่ม ระดมสมอง ร่วมกนั สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้
4.3) น้าเสนอข้อมลู รายกล่มุ ตามโจทยท์ ไี่ ด้รับมอบหมาย
4.4) สร้างกระบวนการมีส่วนรว่ มด้วยการถาม-ตอบ

5. วัสดุ/อปุ กรณ์
5.1) ส่ือวีดีทัศน์ แผ่นดินไทย ตอน แผ่นดินวิกฤต และส่ือวีดีทัศน์ “พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหน้ี

ดว้ ยศาสตรพ์ ระราชา: คนรักษป์ า่
5.2) เครอื่ งคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย และจอภาพ
5.3) กระดาน กระดาษฟลปิ ชาร์ต ปากกา กระดาษกาว

6. ขั้นตอน/วิธกี ำร
6.1) วิทยากรแนะน้าตนเอง และชี้แจงวัตถุประสงค์ของวิชา เกร่ินน้าก่อนเข้าสู่บทเรียนในประเด็น

สถานการณ์ของโลก ประเทศไทย
6.2) วทิ ยากรใหช้ มชมสือ่ วีดที ศั น์ แผน่ ดนิ ไทย ตอน แผน่ ดนิ วกิ ฤต

72

6.3) วิทยากรมอบโจทย์ในการเรียนรู้ คือ ได้อะไรจากการชมสื่อวีดีทัศน์ ข้อคิด และมุมมองใน
การแกป้ ญั หาเชงิ บวก

6.4) กลุ่มสแี ตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ระดมสมองตามโจทย์ทีไ่ ด้รับ
6.5) แตล่ ะกลมุ่ สีนา้ เสนอ และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
6.6) วิทยากรสรปุ เติมเต็ม และสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใชว้ ธิ ีการ ถาม-ตอบ และให้ผูเ้ ข้ารับ
การฝึกอบรมใหข้ ้อเสนอแนะเพมิ่ เติม
6.7) วิทยากร เกริ่นน้าในประเด็น สถานการณ์วิกฤตในปัจจุบันท่ีมนุษย์รวมถึงคนไทยก้าลังเผชิญ
การพึ่งตนเองด้วยศาสตร์พระราชา และให้ชมสื่อวีดีทัศน์ของบุคคลตัวอย่างที่ฝ่าวิกฤตในชีวิตด้วยศาสตร์
พระราชา “พอ่ เล่ียม บุตรจนั ทา” ปลดหนี้ด้วยศาสตร์พระราชา: คนรกั ษป์ า่
6.8) วิทยากรสร้างการมีส่วนร่วมแก่ผู้รับการฝึกอบรม โดยใช้วิธีการถาม-ตอบ เพื่อกระตุ้นให้เกิด
กระกวนการคดิ และกระตอื รือร้น ด้วยประเด็นคา้ ถาม “ได้ข้อคิด/มมุ มองอะไรบา้ ง และจะทา้ อะไรตอ่ ไป”

7. สรุปผลกำรเรียนรู้

Community Lab Model for quality of life: CLM รนุ่ ที่ 1

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวีดีทัศน์ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต จากการ

สงั เคราะหค์ วามร้ขู องผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ทั้ง 5 กลุม่ สี สรุปไดด้ งั น้ี

ข้อคิดทไ่ี ด้รบั จำกกำรชมส่ือ มมุ มองในกำรแก้ไขปญั หำเชิงบวก

1) เกดิ ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ 1) แก้ไขด้วยการพึ่งตนเอง สร้างภูมิคุ้มกัน ด้วย

2) ชาวบา้ นไมม่ ีท่ีทา้ กนิ แนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

3) เกดิ การย้ายถน่ิ ฐาน 2) ปลกู ฝงั จติ สา้ นกึ รกั บา้ นเกดิ รักษาสิง่ แวดลอ้ ม

4) คนว่างงาน 3) สร้างความม่ันคงทางอาหาร และผลิดอาหารที่

5) ขาดแคลนอาหาร และแหล่งอาหาร ปลอดภยั

6) การพัฒนาทางเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่าง 4) แสวงหาความรู้ สรา้ งภูมคิ มุ้ กันทางปัญญา

รวดเรว็ 5) หาเหตขุ องปญั หา และแก้ไขให้ตรงจุด

7) ระบบทุนนิยมที่เข้ามามีอิทธิพลต่อระบบ

โครงสร้างทางสังคม

8) ความเหลอื่ มทางสงั คม

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านส่ือวีดีทัศน์ พ่อเล่ียม บุตรจันทา” ปลดหนี้ด้วยศาสตร์พระราชา:
คนรักษ์ป่า จากการสังเคราะห์ความรู้จากประเด็นค้าถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะท้าอะไรต่อไป”
ของผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม ทัง้ 5 กลุ่มสี สรปุ ได้ดงั น้ี

ประเด็นท่ี 1 ไดข้ ้อและมมุ มองอะไรบา้ ง
- การท้าบัญชีครัวเรือน เพื่อให้รู้จักตนเอง เพราะรู้ตัวเอง ก็จะทราบถึงปัญหา และสามารถ

แก้ไขปัญหาไดอ้ ยา่ งตรงจดุ
- การพึง่ ตนเองดว้ ยการน้อมหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใช้การดา้ เนินชีวิต

73

- การวางแผนชวี ติ ล่วงหน้า เพ่อื สามารถพึ่งตนเองไดใ้ นภาวะวิกฤต
ประเดน็ ท่ี 2 จะท้าอะไรต่อ

- น้าองค์ความรกู้ ารทา้ บญั ชคี รวั เรอื นไปทา้ ในครอบครวั
- สง่ เสริมการใชช้ วี ิตดว้ ยศาสตร์พระราชาแกค่ นในชมุ ชน

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ท่ี 2

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวิดีทัศน์ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต จากการ

สังเคราะห์ความรู้ของผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม ทั้ง 5 กลุ่มสี สรปุ ได้ดงั น้ี

ข้อคิดทไี่ ด้รบั จำกกำรชมสื่อ มมุ มองในกำรแก้ไขปัญหำเชิงบวก

1) ภยั ธรรมชาติทีเ่ กิดข้ึนจากมนษุ ย์ 1) การน้อมน้าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา

2) เกิดการยา้ ยถน่ิ ฐานเขา้ เมือง ประยกุ ต์ใช้ในการด้าเนนิ ชีวิต

3) เกิดหน้ีครัวเรือน เน่ืองจากต้องกู้เงินนายทุนเพอื่ 2) รู้จักตัวตนเอง เพื่อแกไ้ ขปญั หาให้ได้ตรงจุด

มาประกอบอาชพี 3) นา้ วถิ ภี ูมปิ ญั ญาไทยในการทา้ เกษตร ตงั้ แตบ่ รรพ

4) ไม่มที ่ีทา้ กนิ บรุ ษุ กลบั มาใช้

5) พง่ึ ปจั จยั ภายนอกเปน็ หลัก ไมพ่ ึ่งตนเอง 4) ผลติ อาหารทป่ี ลอดภยั ไร้สารพิษ

6) ระบบทุนนิยม ท้าลายธรรมชาติ และความเป็น 5) ลงมือท้าแบบคนจน ลดการพึ่งปัจจัยภายนอก

มนษุ ย์ และหนั มาลงมือทา้ ด้วยมอื ของตนเอง

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านส่ือวดิ ีทัศน์ พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหนี้ด้วยศาสตร์พระราชา:
คนรักษ์ป่า จากการสังเคราะห์ความรู้จากประเด็นค้าถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะท้าอะไรตอ่ ไป”
ของผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ท้ัง 5 กลมุ่ สี สรปุ ไดด้ งั นี้

ประเดน็ ที่ 1 ไดข้ ้อและมมุ มองอะไรบ้าง
- การท้าบญั ชคี รวั เรอื น
- การพงึ่ ตนเองการน้อมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้การด้าเนนิ ชวี ติ
- การวางแผนชวี ติ ล่วงหนา้ เพ่ือสามารถพึ่งตนเองได้ในภาวะวกิ ฤต
- การนอ้ มหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาส่กู ารปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
- การใช้ชีวติ ด้วยภมู ิปญั ญาไทย
- สง่ ต่อภมู ปิ ัญญาแกล่ ูกหลานและผอู้ ่นื ด้วยการทา้ ใหเ้ ห็นรปู ธรรม

ประเดน็ ท่ี 2 จะทา้ อะไรตอ่
- น้าองค์ความรกู้ ารท้าบญั ชีครัวเรอื นไปทา้ ในครอบครัว
- ส่งเสรมิ การใชช้ วี ิตดว้ ยศาสตร์พระราชาแกค่ นในชุมชน
- กลับมามองตนเอง หาเหตขุ องปัญหาที่เกดิ ข้ึน และแก้ไขให้ตรงจดุ

74

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 3

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวิดีทัศน์ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต จากการ
สังเคราะห์ความรู้ของผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ท้ัง 5 กลุม่ สี สรุปไดด้ งั น้ี

ขอ้ คดิ ท่ีได้รับจำกกำรชมสอ่ื มุมมองในกำรแกไ้ ขปัญหำเชงิ บวก

1) วิกฤตสิ่งแวดล้อม ได้แก่ น้าท่วม มลพิษทาง 1) การนา้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

อากาศ ดินขาดความอุดมสมบรู ณ์ มาสู่การปฏิบัติให้เหาะสมกับภูมิสังคมและบริบท

2) วกิ ฤตสังคม ไดแ้ ก่ คนย้ายถิ่นฐานเข้าเมอื งหางาน ของตนเอง

ความเหลอื่ มล้า 2) สรา้ งภมู ิค้มุ กัน หาความรู้ แกป้ ัญหาด้วยปญั ญา

3) วกิ ฤตเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ คนว่างงาน-ตกงาน 3) ปลกู ฝงั จติ สา้ นึกในการให้ความส้าคญั

กบั สิง่ แวดล้อม

4) พ่ึงพาตนเองเป็นหลกั

5) การท้างานอย่างบูรณาการของหน่วยราชการ

เพอื่ มเี ปา้ ประสงค์เดียว คอื การชว่ ยเหลือประชาชน

ใหอ้ ยดู่ ีมสี ขุ

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวิดีทัศน์ พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหนี้ด้วยศาสตร์พระราชา:
คนรักษ์ป่า จากการสังเคราะห์ความรู้จากประเด็นค้าถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะท้าอะไรตอ่ ไป”
ของผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม ท้งั 5 กลุ่มสี สรปุ ไดด้ งั น้ี

ประเด็นท่ี 1 ได้ข้อและมมุ มองอะไรบา้ ง
- การจะแกไ้ ขปัญหาต้องรู้เหตุของปญั หาเสยี ก่อน
- สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยใช้หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ การวาง

เสน้ ทางชวี ติ ของตนเองให้เรียบง่าย ธรรมดา และเดินสายกลางด้วยปญั ญาพร้อมคุณธรรมในจิตใจ เพอ่ื นา้ ชีวิต
ไปสู่ความสมดุลของทรัพยากร ให้มีความม่ันคง และเกิดความยั่งยืนในที่สุด เปรียบเสือมเป็นการวางรากฐาน
ของอาคารให้แขง็ แรง

- การปลกู ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง น้ามาซง่ึ พอกนิ พออยู่ พอใช้ และพอร่มเย็น
- การท้าบญั ชคี รวั เรอื น ลดหนี้ รู้ตนเอง
ประเด็นที่ 2 จะทา้ อะไรต่อ
- กลบั ไปลงมือทา้ บญั ชีครัวเรือน
- ลงมอื ทา้ ทนั ที ปรบั แนวคิดและวธิ ีการทา้ ใหม่ โดยเน้นการพึ่งพาตนเอง
- ปลกู ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง
- กลับไปสร้าง โคก หนอง นา ในแบบฉบับของตนเอง ให้พึ่งพาตนเองได้และสามารถ
เปน็ ท่ีพง่ึ ของคนอืน่

75

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 4

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านส่ือวิดีทัศน์ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต จากการ

สังเคราะห์ความรู้ของผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ท้ัง 5 กลุ่มสี สรุปได้ดงั นี้

ขอ้ คดิ ท่ีได้รับจำกกำรชมสื่อ มุมมองในกำรแก้ไขปัญหำเชงิ บวก

1) วิกฤตสิ่งแวดล้อม ได้แก่ น้าท่วม มลพิษทาง 1) การน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่

อากาศ ดินขาดความอุดมสมบรู ณ์ การปฏิบัติให้เหาะสมกับภูมิสังคมและบริบทของ

2) วกิ ฤตสังคม ไดแ้ ก่ คนย้ายถิ่นฐานเขา้ เมืองหางาน ตนเอง

ความเหลอื่ มล้า 2) สรา้ งภมู ิคุ้มกัน หาความรู้ แกป้ ัญหาดว้ ยปญั ญา

3) วกิ ฤตเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ คนว่างงาน-ตกงาน 3) ปลูกฝังจิตส้านึกในการให้ความส้าคัญกับ

ส่งิ แวดล้อม

4) พึง่ พาตนเองเปน็ หลกั

5) การท้างานอย่างบูรณาการของหน่วยราชการ

เพอ่ื มีเปา้ ประสงค์เดียว คอื การช่วยเหลือประชาชน

ให้อยู่ดมี ีสุข

สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวดิ ีทัศน์ พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหน้ีด้วยศาสตร์พระราชา:

คนรักษ์ป่า จากการสังเคราะห์ความรู้จากประเด็นค้าถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะท้าอะไรต่อไป”

ของผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม ท้งั 5 กลมุ่ สี สรปุ ได้ดังน้ี

ประเด็นท่ี 1 ได้ข้อและมมุ มองอะไรบ้าง

- การจะแกไ้ ขปัญหาตอ้ งรูเ้ หตุของปญั หาเสยี กอ่ น

- สามารถพึ่งตนเองได้อย่างย่ังยืน โดยใช้หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การวาง

เสน้ ทางชวี ติ ของตนเองให้เรียบง่าย ธรรมดา และเดินสายกลางดว้ ยปัญญาพร้อมคุณธรรมในจิตใจ เพ่อื น้าชีวิต

ไปสู่ความสมดุลของทรัพยากร ให้มีความมั่นคง และเกิดความย่ังยืนในที่สุด เปรียบเสือมเป็นการวางรากฐาน

ของอาคารให้แขง็ แรง

- การปลกู ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง นา้ มาซงึ่ พอกนิ พออยู่ พอใช้ และพอรม่ เยน็

- การท้าบญั ชคี รวั เรอื น ลดหนี้ ร้ตู นเอง

ประเด็นที่ 2 จะทา้ อะไรต่อ

- กลบั ไปลงมือทา้ บญั ชีครวั เรือน

- ลงมอื ทา้ ทนั ที ปรบั แนวคดิ และวธิ กี ารทา้ ใหม่ โดยเนน้ การพึ่งพาตนเอง

- ปลกู ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง

- กลับไปสร้าง โคก หนอง นา ในแบบฉบับของตนเอง ให้พ่ึงพาตนเองได้และสามารถ

เปน็ ท่ีพง่ึ ของคนอืน่

76

9. หัวขอ้ วิชำ: ฝึกปฏิบตั ิ “จิตอำสำพฒั นำชุมชน เอำมื้อสำมคั คีพฒั นำพน้ื ท่ตี ำมหลักทฤษฎใี หม่”
วทิ ยำกรหลัก นายเมธาพันธ์ นิลแก้ว นักทรัพยากรบุคคลปฏบิ ัติการ

นายปราโมทย์ กิจปล้ืม ทปี่ รกึ ษาเครือข่ายโคก หนอง นา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
1) วตั ถปุ ระสงค์

เพอ่ื ให้ผู้เขา้ อบรมเห็นถึงความสา้ คัญของการแลกเปล่ยี นแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเป็นการ
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ในด้านการพัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในชื่อ
กิจกรรมการ “ลงแขก” หรือ เอาม้ือ “เอาแรง” ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมชุมชนท่ีอยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน

77

โดยในช่วงหลังมาน้ีนอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนในด้านแรงงานแล้วยังได้เน้นให้เกิดการสร้างความรู้ที่
เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี

2) ประเดน็ เนอ้ื หำ
2.1 แนะน้าวทิ ยากร
2.2 แนวทางการพฒั นาพืน้ ท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหม่
2.3 ขนั้ ตอนการตรวจแปลง 10 ขั้นตอน
2.4 การมอบหมายหน้าที่ผูเ้ ข้ารบั การอบรม และกรรมการตรวจแปลง
2.5 การวางแผนร่วมกนั ทั้งในกลุม่ ยอ่ ยและกลุม่ ใหญ่
2.6 การลงมอื ปฏบิ ัตเิ อาม้ือ
2.7 การตรวจแปลง
2.8 สรปุ การเรียนรู้

3) ระยะเวลำ 7 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค
4.1 สอ่ื Power Point บรรยาย
4.2 แลกเปล่ยี นค้าถามกอ่ นลงมือปฏิบัติ
4.3 ลงมือปฏบิ ัตโิ ดยมีครูพาท้าคอยแนะนา้ ในทุกๆ กลมุ่
4.4 คณะกรรมการตรวจแปลงด้าเนินการตรวจแปลงและให้คา้ แนะน้า
4.5 สรุปผลกิจกรรม
4.6 ให้คะแนนและมอบรางวัลกล่มุ ที่ได้คะแนนมากทีส่ ดุ

5) วัสดุ / อุปกรณ์
5.1 สอ่ื Power Point /ไมโครโฟน/อปุ กรณป์ ระกอบจงั หวัด
5.2 อุปกรณ์การเกษตร ได้แก่ จอบ เสยี ม พลวั่ คราด มีดอีโต้ เล่อื ย ฟาง ปุ๋ยแห้ง ปุย๋ นา้ ลวด

คีม บงุ้ ก๋ี บัวรดนา้
5.3 ต้นไมท้ ใ่ี ชป้ ลูกป่า 5 ระดบั
5.4 เคร่ืองขยายเสยี ง โทรโข่ง
5.5 น้าดมื่
5.6 ยาสามัญประจ้าบ้าน

6) ขนั้ ตอน / วิธกี ำร
1. วิทยากรเรม่ิ ตน้ โดยการแนะนา้ ตนเอง
2. วิทยากรให้ความรูเ้ ก่ียวกับการเอามือ้ สามัคคแี ละการพัฒนาพื้นท่ีตามหลกั ทฤษฎใี หม่ โดย

ยดึ หลักกสิกรรมธรรมชาติ ได้แก่
1) การจัดการกลมุ่ สา้ รวจพืน้ ที่ แบ่งหนา้ ที่ แบ่งคน ความสามัคคี
2) การเตรียมดิน ขุดร่องน้า ฝาย

78

3) การปลกู ป่า 5 ระดับ
4) การปลูกแฝก อนรุ กั ษ์ดินและน้า

5) การปลูกดอกไมเ้ พ่อื บรหิ ารแมลง
6) การหม่ ดิน

7) การเล้ยี งดนิ โดยการใส่ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ (แหง้ ชาม-นา้ ชาม)
8) การทอ่ งคาถาเล้ยี งดิน 5 ภาษา

เลย้ี งดินใหด้ นิ เลีย้ งพืช

ฟีด เดอะ ซอย แอนด์ เลท เดอะ ซอย ฟีด เดอะ แพลนท์
เจยี ม ได๋ ออย ได๋ เจียม ตะน้า

เล่ยี ง เทะ อึด เทะ เลยี่ ง ละชวิ
เลยี้ งแม่ธรณีใหแ้ ม่ธรณเี ลยี้ งแม่โพสพ
9) ศลิ ปะ ความสวยงาม ความเรียบรอ้ ยของแปลง

10) การจัดเกบ็ อุปกรณ์ ล้างท้าความสะอาดจัดวางใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
3. วิทยากรขอตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมของแต่ละกลุ่ม (5 กลุ่ม) เพ่ือลงไปส้ารวจพ้ืนท่ีที่จะ

ด้าเนินงาน ซึ่งทางคณะวิทยากรได้ก้าหนดขอบเขตของพนื้ ท่ีไว้ (บริเวณด้านหลังโรงอาหารเก่าติดกับ
โรงครัว) และแบ่งเป็น 5 โซน ตามจ้านวนกลุ่มสีท่ีได้แบ่งไว้ก่อนแล้ว โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มจับ
สลากเพื่อเลอื กวา่ กลุม่ ใดจะได้โซนใด

4. วทิ ยากรขอตัวแทนแตล่ ะกลุ่ม เพ่ือรว่ มเปน็ คณะกรรมการตรวจแปลง
5. ผ้เู ขา้ รบั การอบรมแตล่ ะกล่มุ วางแผนการพัฒนาพ้นื ท่ี โดยยดึ หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ

4. ผเู้ ข้ารบั การอบรมลงมือปฏิบัตงิ าน โดยมคี รูพาทา้ ให้คา้ แนะน้าทุก ๆ กลุ่ม
5. ระหว่างลงมือปฏิบัตทิ างวทิ ยากรจะเปดิ เพลงท่ีเกย่ี วกับหลักกสิกรรมธรรมชาติ และเพลง
สนกุ สนานอื่น ๆ เพอ่ื ให้การเอามือ้ สามัคคีมีความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ

6. คณะกรรมการตรวจแปลงดา้ เนนิ การตรวจแปลงครั้งที่ 1 โดยการตรวจแปลงครง้ั นเี้ นน้ ที่
การใหค้ ้าแนะน้าต่าง ๆ มากกวา่ การให้คะแนน

7. เมื่อคณะกรรมการด้าเนินการตรวจแปลงเสร็จแลว้ ผเู้ ข้ารบั การอบรมแต่ละกลมุ่ จะ
ด้าเนนิ การปรบั ปรุงแก้ไขพนื้ ท่ี ตามค้าแนะนา้ ของคณะกรรมการ

8. คณะกรรมการดา้ เนินการตรวจแปลงคร้ังที่ 2 การตรวจแปลงคร้งั นีเ้ ปน็ การตรวจเพอื่ ให้

คะแนน ผเู้ ขา้ รับการอบรมจะตอ้ งต้งั แถวบริเวณพื้นท่ีที่กลมุ่ ตนเองรบั ผดิ ชอบ และกล่าวใส่รหัสสวัสดี
คณะกรรมการเมอ่ื คณะกรรมการมาถึง จากน้นั จะตอ้ งร่วมใจกนั ทอ่ งคาถาเล้ียงดิน และหลังจากน้นั

ใหน้ า้ เสนอส่ิงทก่ี ลมุ่ ได้ดา้ เนนิ การให้คณะกรรมการฟงั จากนัน้ เปน็ การซกั ถามจากคณะกรรมการ ใน
ระหว่างนี้คณะกรรมการจะบันทึกคะแนนลงในแบบฟอรม์ โดยยึดหลกั 10 ข้ันตอน

9. เมื่อคณะกรรมการตรวจแปลงครบท้ัง 5 กลมุ่ แล้ว จะด้าเนินการรวมคะแนนและจะแจ้ง

ผลตอนท้ายชวั่ โมงการอบรมวชิ าน้ี
10. เมอ่ื ทุกกลุ่มไดร้ ับการตรวจแปลงเสรจ็ แลว้ จะเป็นกจิ กรรมสรุปผลการด้าเนนิ กจิ กรรม

เอาม้อื สามัคคี ไดว้ ิทยากรจะมอบโจทย์และใหแ้ ต่ละกลุม่ รว่ มกนั คดิ และสง่ ตวั แทนออกมาน้าเสนอ
11. วทิ ยากรประกาศผลกลุ่มทไ่ี ด้รับคะแนนสงู ที่สุดของกจิ กรรมน้ี และมรี างวัลให้กลมุ่ ท่ี

ชนะเพอื่ เปน็ แรงจงู ใจในการนา้ กิจกรรมนไ้ี ปปรับใช้ในพืน้ ท่ขี องตนเองต่อไป

79

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
จากการด้าเนินกิจกรรมพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ให้การมีส่วนร่วมใน

กระบวนการเรียนรู้ เนื่องจากเป็นการลงมือปฏิบัติจริง ทุก ๆ กลุ่มจะต้องท้าผลงานให้ดีท่ีสุด เกิดภาวะ
ความเป็นผู้น้าของทุก ๆ กลุ่ม ผู้ที่มีความสามารถด้านการเกษตรจะคอยแนะน้าเพื่อนๆ คนอ่ืนในกลุ่ม
มีการแบ่งหน้าที่กันท้าอย่างชัดเจน เช่น ผู้ชายท้างานที่หนัก ผู้หญิงคอยช่วยงานที่เบากว่าหรืองานที่ต้องใช้
ความละเอียด เป็นต้น มีการพูดคุยช่วยกันแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นระหว่างด้าเนินงานทั้งในแต่ละกลุ่มและ
ระหว่างกลุ่ม เพ่ือให้ภาพรวมของแปลงออกมาดีท่ีสุด ระหว่างด้าเนินกิจกรรมมีการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน
ผู้เข้าอบรมคนใดเหน่ือยก็พัก เม่ือหายเหน่ือยก็กลับมาช่วยกนั ต่อ หลายๆ คนน้าน้าและอาหารว่างไปบริการ
เพื่อนๆ ในกลุ่ม ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีเป็นสิ่งท่ีตอบวัตถุประสงค์ของวิชาเน่ืองจากต้องการให้น้ากระบวนการเอาม้ือ
สามคั คี หรือการลงแขก กลบั มาใชใ้ นยุคปจั จุบนั อีกคร้ัง ดังค้าท่กี ล่าวไวว้ า่ “ทา้ แบบคนจน”

Community Lab Model for quality of life: CLM รนุ่ ท่ี 1

80

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ท่ี 2
ภำพถำ่ ยกิจกรรม

81

Community Lab Model for quality of life: CLM ร่นุ ที่ 3

Community Lab Model for quality of life: CLM รุ่นท่ี 4

82

10. หัวข้อวิชำ กำรออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตำมหลักกำรพฒั นำภูมิสังคมอย่ำงย่ังยืนเพ่ือกำรพ่ึงตนเอง
และรองรบั ภัยพบิ ตั ิ
วิทยำกรหลัก

1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกลุ อาจารย์คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้
คุณทหารลาดกระบงั (สจล.) ทป่ี รกึ ษาอธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจา้ คุณทหารลาดกระบงั (สจล.) ท่ปี รกึ ษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน

1) วัตถปุ ระสงค์
เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการออกแบบพืน้ ทเ่ี ชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการ

พัฒนาภูมิสงั คมอย่างยั่งยนื เพ่ือการพง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพบิ ตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล”

2) ประเด็นเนอ้ื หำ
๑. สถานการณ์และภาวะวกิ ฤตขิ องโลก ประเทศ ชมุ ชน (นา้ อาหาร พลังงาน)
1.1 ทรพั ยากรน้า
1.1.1) การใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรน้า
1.1.2) สถานการณ์ทางน้า
1.2 วกิ ฤตการณด์ า้ นอาหาร
1.2.1) สถานการณข์ าดแคลนดา้ นอาหาร
1.3 วกิ ฤตการณด์ า้ นพลังงาน
1.3.1) การขาดแคลนพลังงาน
2. แนวทางการแกไ้ ขและรองรับภัยพิบัติดว้ ยการบริหารจดั การพื้นท่ี “โคก หนอง นา”

3) ระยะเวลำ 2 ชั่วโมง

4) วธิ กี ำร /เทคนิค
๑. วทิ ยากรบรรยายประกอบส่อื Power point และสอ่ื วีดีทัศน์
2. บรรยาย
3. กระตนุ้ ดว้ ยค้าถามและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็
4. สรุปการเรียนรู้

5) วัสดุ /อปุ กรณ์
1. สอ่ื วีดีทัศน์
2. สือ่ น้าเสนอดว้ ยโปรแกรม power point

6) ข้ันตอน /วิธีกำร
๑. วิทยากรเล่าสถานการณ์และวกิ ฤตของโลกและประเทศในปัจจุบัน (น้า อาหาร พลังงาน) พร้อม

ยกตวั อยา่ ง
2. วิทยากรบรรยายการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสังคมอย่างย่ังยนื เพื่อการ

พง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพบิ ตั ิ (การออกแบบพน้ื ท่ีชีวิต)

83

3. วทิ ยากรยกตัวอยา่ งแบบจา้ ลองการจัดการพื้นท่กี สกิ รรมประกอบ เพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพชัดเจนย่ิงขนึ้
4. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขและรองรบั ภัยพิบัติด้วยการบริหารจัดการ
พื้นท่ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” พร้อมยกตัวอย่าง
ความส้าเรจ็ (พื้นท่ตี ้นแบบ)
5. สื่อวีดีทัศน์ กรณีศึกษา “ความส้าเร็จของ “คนผู้เดินตามรอยศาสตร์พระราชา” : เจาะใจ” (ลุง
แสวง ผมู้ ่งั ค่ัง)

สรปุ เนือ้ หำกำรเรยี นรู้

วิทยากรผู้เช่ียวชาญ เกร่ินน้าสถานการณ์โลกท่ีต้องเผชิญกับภยั พบิ ัติในหลากหลายรูปแบบและทาง
เดียวท่ีประเทศไทยจะรอดพ้นจากภัยพิบัติเหล่าน้ีได้คือ การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
หลักการทรงงาน พระราชด้ารัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต
พรอ้ มเชือ่ มโยงถงึ สถานการณก์ ารท้าเศรษฐกิจพอเพียงทีไ่ มป่ ระสบความส้าเร็จท่ผี ่านมา ไปไม่ถงึ ไหนเพราะท้า
ไมจ่ รงิ ท้าเล่นๆ แม้ในมุมมองภาควิชาการท่ีท้างานวิจัยเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพยี งมากกว่าแปดหม่นื เรื่อง ก็ยัง
ไม่สามารถน้าผลที่ได้จากการวจิ ัยนน้ั มาปรบั ใช้และด้าเนนิ การในพ้ืนที่จริงได้ หน่วยงานภาครฐั จึงต้องน้อมนา้
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปเป็นตัวชี้วัดหลักขององค์กร โดยเน้นหลัก 2 เง่ือนไข คือ การใช้ความรู้
บวกกบั คุณธรรม คือ การรู้รกั สามัคคี ในท่ีนี้คอื การเอามือ้ สามัคคี การรว่ มแรงรว่ มใจกันปรับและพฒั นาพื้นท่ี
ให้สามารถเป็นแหล่งอาหารและเป็นศูนย์พ่ึงพิงได้เมื่อยามเกิดภัยพบิ ัติ อีกท้ังเป็นศูนย์เรียนรู้ในระดับพื้นทไี่ ด้
ด้วยหลกั การทง้ั หมดนเ้ี ราจะสามารถอยรู่ อดและพ่ึงตนเองได้ จะเปน็ ทางรอดของประเทศไทย

วิทยากรกล่าวถึงบทบาทและภารกิจการด้าเนินงานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนท่ีจะต้อง
ขับเคล่ือนให้เป็นมหาวิทยาลัยศาสตร์พระราชา โดยยกตัวอย่างการด้าเนินงานของสถาบันเศรษฐกิจพอเพยี ง
ภูมิพล King Bhumibol Institute of Sufficiency Economy (KBISE) ท่ีเน้นการขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์
พระราชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายความยั่งยืนของโลก และกรมการพัฒนาชุมชนต้อง
ต้ังเป้าหมายพ้ืนที่ต้นแบบในการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ได้อย่างน้อยหมู่บ้านละ 15
แปลง อีกท้ังใช้กลไกการท้างานแบบเครือข่ายในการขยายผล จัดท้าบันทึกข้อตกลงร่วมมือ “การขับเคลื่อน
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่เปา้ หมายความยัง่ ยืนโลก” โดยมเี ครอื ขา่ ย ดงั นี้ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศ
ไทย,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.),มูลนิธิสภาคริสตจักร,นาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.),มหาวิทยาลยั แม่โจ้,มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์,มูลนิธิรักษ์ดิน
รกั ษน์ า้ ,มลู นธิ กิ สกิ รรมธรรมชาติ และบริษทั เอามื้อสามัคคีวิสาหกิจเพ่ือสงั คม จ้ากดั ซึง่ มเี ปา้ หมายรว่ มกนั คือ
ความยั่งยืนของโลก เครือข่ายการขยายผลนั้นได้แก่ เครือข่ายระดับพื้นที่ ระดับลุ่มแม่น้า ระดับจังหวัด และ
ระดับประเทศ โดยเริ่มจากพื้นท่ีจงั หวัดท่ีประสบปญั หาภัยแล้งซ้าซาก เช่น จังหวัดกาญจนบุรี จงั หวดั เชียงราย
ได้ด้าเนินการส่งประชาชนในพ้ืนท่ีเขา้ รับความรู้ด้วยการอบรมตามหลักสูตรของศูนยก์ สิกรรมธรรมชาติ (มาบ
เอ้ือง) จังหวัด ชลบุรี เน้นกลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่ม คือ 1. คน, 2.ความรู้, 3.เครือข่าย และ 4.ขยายผล ภายใต้
แนวคิดท่ีว่าทุกคนมีความสามารถ มีสิทธิเป็นครูได้ ซ่ึงเป้าหมายท่ี 1 ด้านคนนั้น ให้เน้นผ่าน
กระบวนการพัฒนาคนผ่านศูนย์บ่มเพาะเบ็ดเสร็จ โดยมีองค์ประกอบคือ หลักสูตรที่เหมาะสม วิทยากรฐาน
เรียนรู้/วิทยากรกระบวนการ ทีมออกแบบพ้ืนที่ ทีมขับเคล่ือนพื้นที่ ทีมเก็บข้อมูล และทีมวิจัยร่วมชุมชน ป้า
หมายที่ 2 ด้านความรู้ เน้นด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลและติดตามแบบบูรณาการ วิเคราะห์/สังเคราะห์ ตัวอย่าง
ความส้าเร็จสู่งานวิชาการ เช่ือมโยงความรู้สู่สากล โดยมีองค์กระกอบคือ หลักสูตรท่ีเหมาะสม วิทยากรฐาน
เรียนรู้/วิทยากรกระบวนการ ทีมออกแบบพ้ืนท่ี ทีมขับเคล่ือนพื้นที่ ทีมเก็บข้อมูล และทีมวิจัยร่วมชุมชน

84

เป้าหมายที่ 3 ด้านเครือข่าย เน้นกระบวนการสร้างเครือข่าย โดยมีองค์ประกอบคือ การบวนการสร้าง
เครอื ขา่ ย กระบวนการเช่ือมรอ้ ยกลไกการมีสว่ นรว่ ม กิจกรรมรณรงคแ์ ลกเปลีย่ นเรยี นรู้

วิทยากรยกตัวอย่างกรณีศึกษา โคก หนอง นา โมเดล ซ่ึงทฤษฎีดังกล่าวเป็นการแปลงปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงให้เปน็ รูปธรรม โดยมี 5 ขน้ั ตอน คอื

1.บนั ได 9 ขน้ั สเู่ ศรษฐกิจพอเพียง
2.ทฤษฎีใหมก่ ว่า 40 ทฤษฎี
3.วธิ ีปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ ขนั้ เปน็ ตอนกว่า 4,741 โครงการ และ 47,000 เรอ่ื ง

4.เทคนคิ /นวัตกรรม ท่ีเป็นเคล็ดวชิ า เคล็ดลบั บทเรยี นจ้านวนมาก
5.การบริหารแบบคนจนโดยยึดวลีว่า “ความขาดแคลนไม่เป็นปัญหาถ้ามีปัญญาถ้ามีปัญญาและ

ความอดทน”
ส้าหรับหลักการท้า โคก หนอง นา โมเดล หากมีพ้ืนท่ีในการด้าเนินการ จ้านวน 1 ไร่ เรียกว่าเป็น

การลดรายจ่าย จ้านวนพื้นท่ี 3 ไร่ เรียกว่าพึ่งตนเอง จ้านวนพื้นที่ 5 ไร่ เรียกว่าแก้จน จ้านวนพ้ืนที่ 10 ไร่

เรียกว่า พ้นเกษียณ และจ้านวนพ้ืนที่ 10 ไร่ เรียกว่า ศูนย์พึ่งพิง หากใครเริ่มท้าก่อนก็จะรอดก่อน เพราะ
เป้าหมายของการท้า โคก หนอง นา คือ การขดุ หนองน้าไวใ้ หส้ ามารถมีนา้ ใชไ้ ด้ท้ังปี ปลูกไม้ยืนตน้ ปลกู พชื ผัก

ทา้ ประมง ท้าปศุสตั ว์ ซึง่ ในหลกั สูตรน้ี จะเนน้ ไปทีก่ ารบริหารจัดการพ้นื ทีข่ นาดเลก็ ให้สามารถเก็บกักน้าฝนไว้
เป็นการช่วยแก้สถานการณ์ภัยแล้งรุนแรงหรือซ้าซาก ในขณะท่ีวิธีคิดการบรหิ ารจัดการน้าแบบเก่าท่ีต่างชาติ
คิดนั้นเป็นวิธีคิดท่ีจะกักเก็บน้าแต่ไม่สามารถน้าน้าไปใช้ประโยชน์ได้เท่าที่ควร ประเทศไทยเราจึงคิดวิธีการ

บรหิ ารจัดการนา้ ในรูปแบบใหมท่ ีส่ ามารถนา้ นา้ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้ จึงมีโครงการเกิดข้นึ ดังนี้
1.โครงการ โขง ชี มูล โดยใชห้ ลักการแรงโน้มถว่ งของโลกในการแกป้ ัญหาแมน่ า้ โขงแห้ง

2.โครงการผนั น้าเข้าแม่นา้ สาละวินไปยงั เขื่อนภูมพิ ล เพ่อื แก้ปัญหาภเู ขาหัวโลน้ ในพนื้ ที่จังหวัดน่าน
และเชียงราย

3.โครงการผนั น้าจากเขื่อนป่าสกั ไปยงั เขอื่ นล้าตะคอง

4.โครงการผันนา้ จากเขื่อนศรีนครินทร์ เพ่ือแกป้ ัญหาการใช้สารเคมีที่เกินปริมาณและท้าให้สารเคมี
ตกคา้ งในดนิ

5.โครงการอโุ มงคผ์ ันน้าที่จงั หวดั เชียงใหม่ แต่มคี วามล่าช้าถงึ ร้อยละ 85 กรมชลประทานจึงเข้ามา
แก้ปัญหาด้วยการขุดโคก หนอง นา ให้กับพ่ีน้องประชาชน โดยใช้งบประมาณในการขุด จ้านวน 26,500
บาทต่อ 1 ไร่ จึงเปน็ ทีม่ าของ “ชมุ ชนกสิกรรมวถิ ี” ซ่ึงการท้า โคก หนอง นา น้ัน ถือเปน็ การบริหารจดั การใน

ดา้ น ดิน นา้ ป่า คน ให้สามารถพงึ่ พาอาศัยเก้ือกูลกนั ระหวา่ งคนกับธรรมชาติ เป็นการปรบั สมดุลเพือ่ คืนชีวิต
ให้กับธรรมชาติ และเป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือต้ังรับกับสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดหรือภัยพิบัติในรูปแบบ

ต่าง ๆ ไม่เว้นแม้กระทั่งวิกฤตที่คนจะตกงานในอนาคต ให้มีพื้นท่ีท้ามาหากิน สามารถเลี้ยงตนเองและ
ครอบครวั ได้

หลักการออกแบบพืน้ ที่ ต้องคา้ นงึ ถึงศาสตรพ์ ระราชา (เกษตร 2 ขา) คือ การรวมกันระหวา่ งทฤษฎี

ใหม่กับการเกษตรเชิงเด่ียว ต้องวิเคราะห์พ้ืนที่ โดยเลือกพื้นท่ีท่ีมีระดับพน้ จากการเกิดน้าท่วม มีวิธีปฏิบัติคอื
หาหรอื ปรบั ปรงุ แหลง่ นา้ ปรับปรุงคุณภาพของดินและเลือกกิจกรรมที่มีความเหมาะสมและฟื้นฟูสภาพดินโดย

ใช้การย่้าข้ี ห่มดิน(แห้งชาม น้าชาม) ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ท้าน้าหมักชีวภาพ มีการขุดลอก
หนองนา้ เดิมให้สามารถรองรับน้าฝนได้ในปรมิ าณมาก ท้าการขดุ คลองไส้ไกเ่ พอ่ื ให้สามารถควบคมุ ทิศทางการ
ไหลของน้า และสามารถใช้พนื้ ทีใ่ นการรองรับน้าฝน ถือเปน็ การวางแผนให้คนสามารถอย่กู บั น้าได้ ไมก่ ่อปญั หา


Click to View FlipBook Version