The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paramee.meow, 2021-03-18 01:50:08

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชีว้ ัดหนว่ ยงาน  ตวั ชวี้ ัดตอ่ เนื่อง  ตวั ช้วี ดั ใหม่  ตวั ชว้ี ัดเดิม

สถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย

ตัวชี้วัดท่ี 2 : รอ้ ยละของโรงงานผลิตยาสมนุ ไพรในโรงพยาบาลของรัฐท่คี รบการต่ออายุ น้าหนกั
และสมคั รใจเขา้ ร่วมการต่ออายุ ไดร้ ับการประเมนิ ตอ่ อายกุ ารรับรองมาตรฐาน GMP รอ้ ยละ 15
หน่วยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกับแผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรกิ ารเป็นเลิศ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

คาอธบิ าย :
โรงงานผลิตยาสมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐท่ีได้มาตรฐาน GMP หมายถึง โรงพยาบาลท่ีเข้าร่วม

โครงการพัฒนาการผลติ ยาและผลิตภัณฑจ์ ากสมุนไพร ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
โรงงานผลิตยาสมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐท่ีได้มาตรฐาน GMP ที่หมดอายุการรับรอง หมายถึง

โรงพยาบาลที่เคยเข้าร่วมโครงการพฒั นาการผลิตยาและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ของกรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก และได้รับการรับรองมาตรฐาน GMP แต่การรับรองหมดอายุลงแล้ว และสมัครเข้ารับการ
ประเมินเพ่อื ตอ่ อายกุ ารรับรอง
รายละเอยี ดการดาเนนิ งาน :

1. การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิตน้ามนั กญั ชาใหก้ บั โรงพยาบาล WHO-GMP
2. การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การคานวณต้นทนุ การผลิตยาสมนุ ไพรและตารบั ยากัญชาในโรงพยาบาลของรฐั
3. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจสอบกระบวนการรับรองการผลิตยาสมุนไพรและตารับยากัญชา
ตามมาตรฐาน WHO GMP
4. การประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนการผลิตยาสมุนไพรและตารับยากัญชา Demand Supply
Matching ให้มปี ระสิทธิภาพ
5. การติดตามการดาเนินงานพัฒนาการผลิตยาสมุนไพร ตารับยากัญชาและผลิตภัณฑ์สมุนไพรตาม
มาตรฐาน GMP
6. การออกตรวจประเมนิ มาตรฐานโรงพยาบาลที่เข้ารว่ มโครงการฯ
7. ประชุมพจิ ารณาผลการตรวจประเมนิ สถานท่ผี ลิตยาสมนุ ไพรและตารบั ยากัญชา
8. การจดั ทาโล่เชิดชเู กียรติและเกยี รตบิ ตั รเพ่ือมอบใหก้ ับโรงพยาบาลที่ผา่ นมาตรฐาน GMP
ขอบเขตการประเมิน : ประเมนิ ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กกาหนด
โดยเก็บข้อมูลระหวา่ งวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 มิถนุ ายน 2564

สถานการณ์ :
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ยาสมุนไพร

ต่อผู้บริโภค จึงได้พัฒนาการผลิตยาสมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐให้มีมาตรฐาน โดยยกระดับมาตรฐานการผลิตยา
สมุนไพรในโรงพยาบาลของรฐั ตามหลักเกณฑ์วิธีการทีด่ ใี นการผลติ ยาจากสมนุ ไพรขององค์การอนามัยโลก WHO GMP
และส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง ในปี 2564 มีโรงงานผลิตยาสมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐท่ีได้
มาตรฐาน GMP เรียบร้อยแล้ว จานวน 44 แห่ง การรับรองมีระยะเวลา 3 ปี โดยในปี 2564 มีโรงงานผลิตยา
สมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐที่เคยได้รับรองมาตรฐาน GMP แต่การรับรองหมดอายุแล้ว จานวน 18 แห่ง และ

ห น้ า | 41
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือกได้กาหนดเปาู หมายการต่ออายุการรับรองของโรงงานผลิตยาสมุนไพรฯ
ท่ีสมัครเข้าร่วมการต่ออายุไว้ที่ร้อยละ 70 ซ่ึงในปีงบประมาณ 2564 มีโรงพยาบาลสมัครใจต่ออายุการรับรองของ
โรงงานผลิตยาสมนุ ไพรตามมาตรฐาน WHO GMP แล้ว จานวน 7 แห่ง

สูตรคานวณ : จานวนโรงงานทผี่ า่ นการตอ่ อายุ X 100
2562
จานวนโรงงานทสี่ มัครเข้ารับการประเมินเพอ่ื ตอ่ อายุ

ข้อมูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2563

ผลการดาเนินงาน - 1 แห่ง 3 แห่ง 1 แหง่ 7 แห่ง

แผนระยะยาว / Road Map :

ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย รอ้ ยละ 60 - - - -

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 ร้อยละ 50 ของโรงงานท่ีสมัครเข้ารับการประเมินผ่านการต่ออายุ
เป้าหมาย 75 ร้อยละ 60 ของโรงงานท่ีสมัครเข้ารับการประเมินผ่านการต่ออายุ
ข้ันตน้ 100 ร้อยละ 70 ของโรงงานท่ีสมัครเข้ารับการประเมินผ่านการต่ออายุ
ขนั้ มาตรฐาน
ขั้นสงู

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) มีโรงงานท่ีใบรับรองหมดอายุสมัครเข้ารับการ (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
ประเมินเพอ่ื ต่ออายุ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) - รายชื่อโรงงานที่สมัครเข้ารับการ
มีการออกตรวจประเมนิ มาตรฐานโรงพยาบาล ประเมินเพอื่ ต่ออายุ
2 (6 เดือน) ท่สี มคั รเขา้ รว่ มการประเมนิ ฯ
- หนังสืออนุมัติไปราชการ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ร้อยละ 70 ของโรงงานท่ีสมัครเข้ารับการ - ภาพถ่ายการตรวจประเมิน
ประเมินผ่านการต่ออายุ
3 (9 เดือน) - สรุปประชุมคณะกรรมการ/คณะ
ทางานฯ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) - รายช่ือโรงงานที่ผ่านการต่ออายุ

แหลง่ ข้อมลู : กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพมาตรฐานด้านบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย

วิธีการจดั เกบ็ ข้อมลู : จากการลงพน้ื ท่ีเก็บข้อมูล /จากผเู้ ช่ยี วชาญและคณะกรรมการ,คณะทางานต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง

ประโยชนท์ ่จี ะได้รบั : รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. ทกุ แห่ง ไดใ้ ชย้ าสมนุ ไพรท่ีมีคุณภาพ

ห น้ า | 42
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผ้กู ากับตวั ชี้วัด : นายขวัญชยั วศิ ษิ ฐานนท์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600
ผู้อานวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย หมายเลขโทรศัพท์ 0 2590 2614
หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2614
ผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล : 1. นางอัจฉรา เชยี งทอง หมายเลขโทรศัพท์ 0 2590 2614
นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ

2. นางสาวธริตา จนั ทร์หอม
นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัตกิ าร

3. นางสาวชลธิชา บุญมีโชติ
เภสชั กรปฏิบัตกิ าร

ห น้ า | 43
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวดั หนว่ ยงาน  ตัวชีว้ ดั ตอ่ เนื่อง  ตวั ช้วี ัดใหม่  ตัวชี้วัดเดมิ

สถาบันการแพทย์แผนไทย

ตัวช้ีวัดท่ี 3 : จานวนข้อมูลมาตรฐานการเตรียมเคร่อื งยาไทย น้าหนัก
หนว่ ยวดั : จานวน (รายการ) ร้อยละ 15

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกับแผนปฏบิ ตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั เป็นเลศิ

(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ จัดการองคค์ วามร้เู ครอ่ื งยาไทยและตารบั ยาแผนไทย

คาอธบิ าย :

ขอ้ มลู มาตรฐานการเตรยี มเคร่ืองยาไทย หมายถึง วธิ กี ารเตรียมเคร่ืองยาตามองคค์ วามรูก้ ารแพทยแ์ ผนไทย
ซึ่งเป็นขอ้ มูลมาตรฐานการเตรียมเครอื่ งยาไทยทีไ่ ดจ้ ดั ทาข้ึนในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดการดาเนนิ งาน :
1) ทบทวนข้อมูลเครือ่ งยาไทยจากตาราอ้างองิ สมนุ ไพรไทย เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู หวั ขอ้ หรอื ประเดน็ ขอ้ มลู

เคร่อื งยาไทยทยี่ ังไมค่ รบถ้วนสมบรู ณ์
2) จัดทาขอ้ มลู การเตรียมเคร่อื งยา เรม่ิ ต้งั แต่วธิ ีการเก็บเก่ยี ว วิธกี ารแปรรปู เบือ้ งต้น วธิ ีการเตรียมแบบ

เฉพาะ วิธกี ารเก็บรกั ษาเครื่องยาใหค้ งคุณภาพ การเตรียมเคร่อื งยาสาหรบั ปรุงยาและหลกั เกณฑ์การตรวจสอบ
คุณภาพวัตถดุ ิบเครอื่ งยา

3) จดั ประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญ โดยคดั เลือกจากผเู้ ชยี่ วชาญด้านการผลติ อาจารย์แพทยแ์ ผนไทย หมอพน้ื บา้ น
เพ่ือพจิ ารณาข้อมูลวธิ ีการเตรียมเคร่อื งยาไทยและหลกั เกณฑก์ ารตรวจสอบคณุ ภาพวตั ถุดิบเครอ่ื งยาตามองค์
ความรู้การแพทยแ์ ผนไทย

4) ประชุมคณะกรรมการเพอื่ สรุปข้อกาหนดการจา้ งจดั ทาขอ้ มลู จดั ทาตวั อย่างเครือ่ งยาตามมติ
คณะทางาน และพจิ ารณาข้อมลู วธิ กี ารเตรียมเครอ่ื งยาท่ีดาเนนิ การตามขอ้ กาหนดและหลกั เกณฑ์การตรวจสอบ
คณุ ภาพวัตถดุ บิ เครอ่ื งยา

5) ตดิ ตาม สงั เกตการณก์ ารแปรรปู สมนุ ไพรตามขอ้ กาหนด รวบรวมขอ้ มูล รปู ภาพ หรอื วดิ ีโอการเตรยี ม
เครอื่ งยาไทย จัดทาเป็นคมู่ อื เพม่ิ เตมิ ตาราอ้างองิ สมุนไพรไทย ว่าด้วยมาตรฐานการเตรียมเคร่อื งยาไทย

6) สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ และรายงานผล
ขอบเขตการประเมนิ : เก็บข้อมูลระหว่างวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 มถิ ุนายน 2564

สถานการณ์ :
เครื่องยาสมุนไพรท่ีมีการใช้หรือจาหน่ายในปัจจุบันบางชนิดต้องมีการเตรียมเฉพาะเป็นพิเศษ เพ่ือให้

ได้มาซึ่งเคร่ืองยาท่ีถูกต้องตามหลักกเภสัชกรรมไทย ส่วนใหญ่ความรู้และเทคนิคในการแปรรูปสมุนไพร
ให้ได้เครื่องยาท่ีดี ที่เหมาะสมเหล่านี้หมอยาผู้มีความรู้ความชานาญ ไม่ได้เผยแพร่วิธีการเตรียมที่ถูกต้อง
สง่ ผลให้วตั ถดุ บิ สมุนไพรบางชนิดที่มีจาหน่ายในท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณภาพไม่ดี เมื่อนาไปใชป้ รุงยาทาให้ยาไม่มี
ประสิทธิภาพเทา่ ท่คี วร สรา้ งผลลบต่อความเช่อื มน่ั และภาพลักษณข์ องยาสมุนไพร

ห น้ า | 44
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ข้อมลู พนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - 5

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย 15 - - - -

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
50 มขี อ้ มลู มาตรฐานการเตรียมเครื่องยาไทย จานวน 13 รายการ
เปา้ หมาย 75 มขี อ้ มูลมาตรฐานการเตรียมเครอ่ื งยาไทย จานวน 15 รายการ
ขน้ั ตน้ 100 มขี อ้ มูลมาตรฐานการเตรียมเคร่อื งยาไทย จานวน 17 รายการ
ข้นั มาตรฐาน
ขนั้ สงู

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) มีรายชื่อเคร่ืองยาไทยเพื่อใชใ้ นการจัดทาข้อมูล - รายชื่อเคร่ืองยาไทย

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) มาตรฐานการเตรียมเคร่ืองยาไทย

2 (6 เดือน) มีการจัดประชมุ ผู้เชยี่ วชาญ เพ่ือพิจารณาขอ้ มูล - สรุปการประชุม

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) วิธีการเตรยี มเครอ่ื งยาไทยและหลักเกณฑ์การ - ภาพถ่ายการประชุม

ตรวจสอบคณุ ภาพวตั ถดุ บิ เครอ่ื งยาตามองคค์ วามรู้

การแพทยแ์ ผนไทย

3 (9 เดือน) มขี อ้ มูลมาตรฐานการเตรียมเคร่อื งยาไทย จานวน - รายช่ือข้อมูลมาตรฐานการ

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) 17 รายการ เตรียมเครื่องยาไทย

แหลง่ ข้อมลู : กล่มุ งานวชิ าการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย

วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมูล : เกบ็ ขอ้ มลู จากรายงานผลของสถาบันการแพทย์แผนไทย

ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับ : ผู้ประกอบการได้รับความร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกบั การเตรียมเครอื่ งยาไทย สง่ ผลให้สามารถ

ขอข้ึนทะเบยี นตารบั ยาแผนไทยได้สะดวกรวดเรว็ ย่งิ ขนึ้

ผกู้ ากบั ตวั ชวี้ ดั : นายขวญั ชยั วิศิษฐานนท์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600

ผอู้ านวยการสถาบันการแพทยแ์ ผนไทย

ผจู้ ัดเกบ็ ข้อมลู : 1. นางมาลา สรอ้ ยสาโรง หมายเลขโทรศพั ท์ 0-2590-2608

แพทยแ์ ผนไทยชานาญการ

2. นายศุภจิต แพจุ้ย หมายเลขโทรศัพท์ 0-2590-2608

นกั วชิ าการสาธารณสขุ

3. นางสาวกัญญว์ รา ทวิชศรี หมายเลขโทรศัพท์ 0-2590-2608

แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

ห น้ า | 45
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชีว้ ัดหน่วยงาน  ตวั ชี้วัดตอ่ เนอื่ ง  ตวั ชี้วัดใหม่  ตัวชี้วัดเดิม

สถาบันการแพทยแ์ ผนไทย

ตัวช้ีวัดท่ี 4 : จานวนรายการมอโนกราฟตารับยาแผนไทยสาหรับนาไปใช้ประกอบการ น้าหนกั
ขนึ้ ทะเบยี นผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร ร้อยละ 10
หนว่ ยวดั : จานวน (ตารบั )

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั เปน็ เลิศ

(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ จัดการองค์ความรู้เครอื่ งยาไทยและตารบั ยาแผนไทย

คาอธบิ าย :
มอโนกราฟยาตารับ หมายถึง ข้อมูลรายละเอียดของตารับยา ประกอบด้วยข้อมูลด้านประสิทธิผล

ความปลอดภัย และการควบคมุ คุณภาพเพื่อนาไปใชส้ าหรบั ประกอบการขน้ึ ทะเบยี นยาจากสมนุ ไพร
รายละเอียดการดาเนนิ งาน :

1. จัดประชุมร่วมระหว่างคณะอานวยการ/กรรมการ กรมการแพทย์แผนไทยฯ สานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ และผูเ้ ช่ียวชาญทีเ่ ก่ียวข้อง เพื่อกาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ที่เพิ่มเติม
จากหลกั เกณฑเ์ ดมิ และการประกาศบงั คบั ใชต้ อ่ ไป

2. จ้างเหมาบริการให้ผู้เช่ียวชาญด้านการแพทย์แผนไทย เภสัชกรรม สืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์
ข้อมูลวิชาการเก่ียวกับตารับยาแผนไทยท่ีจะจัดทา Positive Lists เพื่อนาข้อมูลเสนอต่อคณะทางานฯ/ คณะ
อานวยการฯ

3. จัดประชมุ คณะอานวยการ/คณะกรรมการ เพื่อพจิ ารณาขอ้ มูลประกอบการจดั ทา Positive Lists
4. จัดซื้อ/จัดหาวัตถุดิบสมุนไพร ท่ีใช้ในการต้ังตารับยาแผนไทย ให้กับคณะผู้เชี่ยวชาญต้ังสูตรตารับยา
แผนไทยมาตรฐาน
5. จ้างเหมาวเิ คราะหห์ รอื วิจัยการตง้ั สตู รตารบั ยาแผนไทยมาตรฐาน ในรปู แบบยาเมด็ และยาลูกกลอน
6. รวบรวมข้อมูลรายการมอโนกราฟตารับยาแผนไทยทั้งหมดรายตารับ ส่งให้กับสานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา
ขอบเขตการประเมิน : ประเมินตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการฯ ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือกกาหนด โดยเกบ็ ข้อมลู ระหวา่ งวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 30 มิถนุ ายน 2564

สถานการณ์ :
ปัจจุบนั แนวโน้มการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึน แต่ยังมีข้อจากัดและปัญหา

ต่างๆ ในการข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑ์สมุนไพร กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก มีความร่วมมือกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และมีนโยบายให้สถาบันการแพทย์แผนไทย
จัดทาข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับมอโนกราฟของตารับยาแผนไทย (Positive Lists) ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลด้าน
ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้สามารถดาเนินการข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ได้รวดเร็วย่ิงข้นึ

ห น้ า | 46
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ข้อมูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน - - - 27 19

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย 5 5 5 5 5

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 มีรายการมอโนกราฟทผ่ี า่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการฯ จานวน 3 ตารบั
เป้าหมาย 75 มีรายการมอโนกราฟทผ่ี ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ จานวน 5 ตารบั
ข้นั ต้น 100 มีรายการมอโนกราฟทผ่ี ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ จานวน 7 ตารบั
ขัน้ มาตรฐาน
ขัน้ สงู

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

1 (3 เดือน) จดั เตรียมขอ้ มูลรา่ งมอโนกราฟ เพอื่ เตรยี ม (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
นาเสนอต่อคณะกรรมการฯ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) - สรุปการประชุมของคณะกรรมการฯ
มรี ายการมอโนกราฟทผี่ ่านการพิจารณาของคณะ
2 (6 เดือน) กรรมการฯ จานวน 3 ตารบั - สรุปการประชมุ ของคณะกรรมการฯ/
ข้อมลู มอโนกราฟรายตารับ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) มรี ายการมอโนกราฟทผี่ ่านการพิจารณาของคณะ - สรุปการประชุมของคณะกรรมการฯ/
กรรมการฯ จานวน 5 ตารบั ข้อมูลมอโนกราฟรายตารับ
3 (9 เดือน)

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)

แหลง่ ขอ้ มูล : กลุ่มงานสนับสนุนการขน้ึ ทะเบียนยาแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย

วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมูล : จากการประชมุ คณะกรรมการฯ,คณะทางานผ้เู ชี่ยวชาญ และจากการสัมภาษณ์ขอ้ มลู
เชิงลกึ จากผเู้ ชีย่ วชาญ

ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับ :
1. ผ้ปู ระกอบการสามารถขนึ้ ทะเบียนผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร รปู แบบยาตารบั ได้ภายใน 1 วนั เพิ่มความรวดเรว็ เป็น
อย่างมากในการขึน้ ทะเบียน
2. มีผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรทไี่ ด้มาตรฐานออกสูท่ ้องตลาดเพิ่มมากขึ้น สามารถส่งออกและแขง่ ขนั ทางการตลาดใน
ตา่ งประเทศเพิ่มขน้ึ ได้
3. ประชาชนได้ใชผ้ ลิตภณั ฑ์สมนุ ไพรทไี่ ดม้ าตรฐาน

ผ้กู ากบั ตัวชว้ี ัด : นายขวญั ชัย วศิ ิษฐานนท์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600
ผอู้ านวยการสถาบันการแพทยแ์ ผนไทย

ห น้ า | 47
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผูจ้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู : 1. นางสาวเกษวราภรณ์ วงษ์พมิ พ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600
เภสชั กรชานาญการ หมายเลขโทรศัพท์ 0 2590 2600
หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600
2. นางสาวพิศพรรณ วรี ะย่ิงยง หมายเลขโทรศัพท์ 0 2590 2600
เภสชั กรชานาญการ

3. นางสาวชวิศา ประดษิ ฐ์อกุ ฤษฎ์
แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั กิ าร

4. นางสาวกรรวี กรวศิ ิษฎ์วาทิน
แพทย์แผนไทย

ห น้ า | 48
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวัดหนว่ ยงาน  ตวั ช้วี ดั ต่อเน่อื ง  ตัวชีว้ ัดใหม่  ตัวชี้วัดเดิม

สถาบันการแพทย์แผนไทย

ตัวช้ีวัดที่ 5 : ระดับความสาเร็จของการพฒั นาการท่องเท่ียวสุขภาพวิถีไทย น้าหนัก
หน่วยวดั : ระดับความสาเรจ็ ร้อยละ 10

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั เปน็ เลิศ

(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ยกระดับการท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพด้วยการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือกครบวงจร

คาอธบิ าย :
ผู้ประกอบการ/สถานประกอบการ ได้แก่ ร้านนวดไทย ร้านอาหารไทย สถานประกอบสปาไทย

สถานพยาบาล
การพัฒนาผู้ประกอบการ หมายถึง การส่งเสริม พัฒนาและต่อยอดการบริการให้มีคุณภาพ มาตรฐาน

ภายใต้อตั ลกั ษณ์ของความเป็นไทย เน้นสร้างมลู ค่าทางเศรษฐกิจ
รายละเอียดการดาเนนิ งาน :

1. จดั ประชุมคณะทางานเตรยี มความพร้อมการดาเนนิ งาน
2. แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวสขุ ภาพวถิ ีไทย
3. จัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทางาน เพ่ือจัดทาหลักสูตรสาหรับอบรมผู้ประกอบการท่องเท่ียว
สุขภาพวิถีไทยท่ีเป็นแกนกลาง โดยมีโปรแกรมสุขภาพท่ีน่าสนใจ ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยดั้งเดิม เช่น การปรับ
สมดลุ น้าดี อาหารเป็นยา ฯลฯ
4. อบรมพฒั นาผปู้ ระกอบการทอ่ งเทยี่ วสุขภาพวถิ ไี ทย ในพนื้ ท่เี ปูาหมาย (เมืองท่องเท่ยี ว)
5. กากับ ตดิ ตาม ประเมินผล
ขอบเขตการประเมิน : ประเมินตามหลักเกณฑ์ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกาหนด โดย
เก็บขอ้ มลู ระหว่างวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 มิถนุ ายน 2564

สถานการณ์ :
ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) กาหนดให้มีการดาเนินงานโดยมีประเด็นการ

ทอ่ งเทย่ี วเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย ซ่ึงถอื เป็นสว่ นหน่ึงในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างรายไดใ้ ห้แก่
ประเทศจากการท่องเท่ียว การพัฒนาต้นแบบของหน่วยบริการสุขภาพเพ่ือรองรับการท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพ
มาตรฐาน ภายใต้อัตลักษณ์ของความเป็นไทย จึงเป็นแนวทางสาคัญท่ีต้องเร่งดาเนินการให้เกิดเป็นรูปธรรม ผ่าน
การท่องเทีย่ วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย เพ่ือใหเ้ กิดความม่ังคั่งกบั ประเทศอย่างยัง่ ยืน

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นหน่วยงานแกนกลางในการพัฒนารูปแบบ ส่งเสริม
สนับสนุนการบริการดา้ นการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้สามารถแข่งขัน
ได้ในระดับสากล จึงได้ดาเนินการโครงการยกระดับการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบ
วงจร ผ่านการพัฒนาการท่องเที่ยวสุขภาพวิถีไทย เพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนการท่องเท่ียว ให้เกิดความมั่งค่ังกับ
ประเทศอย่างยัง่ ยนื ตอ่ ไป

ห น้ า | 49
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย ผปู้ ระกอบการได้รบั - - - -
การพฒั นา 50 แห่ง

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 มหี ลักสูตรพฒั นาผปู้ ระกอบการท่องเทีย่ วสุขภาพวถิ ไี ทย
เป้าหมาย 75 ผู้ประกอบการไดร้ ับการพัฒนา 50 แหง่
ขนั้ ต้น 100 ผปู้ ระกอบการทไ่ี ด้รบั การพัฒนา ร้อยละ 60 มกี ารนาความรู้
ข้ันมาตรฐาน ที่ได้รบั ไปใชใ้ นสถานประกอบการ
ข้ันสงู

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) มกี ารประชาสัมพนั ธเ์ นือ้ หาหลกั สูตรพัฒนา (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
ผู้ประกอบการในงานเทย่ี วเมอื งไทย สุขภาพดี
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) วิถีถ่นิ 2020 ณ ลานเมืองชั้น G ลานสุขสยาม - ภาพถ่ายการประชาสัมพันธ์
ไอคอนสยาม กรุงเทพมหานคร
2 (6 เดือน) - รายงานการประชุม
จดั ประชุมคณะทางาน/ผ้เู ช่ียวชาญเพอ่ื จัดทา
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) หลกั สูตรพฒั นาผ้ปู ระกอบการ - รายช่ือผู้ผ่านการอบรม
- สรุปผลการประเมิน
3 (9 เดือน) - มีการจัดอบรมพัฒนาผูป้ ระกอบการ - ภาพถ่ายการนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้
- มีผู้ประกอบการมกี ารนาความรทู้ ี่ไดร้ ับไปใช้ ในสถานประกอบการ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ในสถานประกอบการ รอ้ ยละ 60

แหลง่ ข้อมลู : งานแผนงาน สถาบนั การแพทย์แผนไทย

วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มูล : จากคณะกรรมการ, คณะทางานผ้เู ชีย่ วชาญ และจากการสัมภาษณข์ อ้ มลู เชงิ ลึกจากผู้ประกอบการ

ประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั :
1. ผูป้ ระกอบการรา้ นนวดไทย รา้ นอาหารไทย สถานประกอบสปาไทย และสถานพยาบาล ที่ได้รับผลกระทบ
จากการระบาดของไวรสั COVID-19 ได้รบั การเยยี่ วยาและยกระดับการท่องเทย่ี ว ผ่านการอบรมพฒั นา
ผ้ปู ระกอบการทอ่ งเทยี่ วสขุ ภาพวถิ ีไทย
2. มเี ส้นทางการท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพและผลติ ภณั ฑส์ มุ นไพรในระดับพืน้ ทอ่ี ย่างมคี ุณภาพ มาตรฐาน และเป็น
ท่ีตอ้ งการของนกั ท่องเทยี่ ว

ห น้ า | 50
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผกู้ ากบั ตวั ชวี้ ดั : นายขวญั ชยั วิศิษฐานนท์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2600
ผอู้ านวยการสถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย
หมายเลขโทรศัพท์ 09 2284 6914
ผจู้ ัดเก็บข้อมลู : 1. นางธนัญชนก หิรญั รกั ษ์ หมายเลขโทรศัพท์ 09 8542 6551
แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั กิ าร หมายเลขโทรศพั ท์ 08 7544 6864
หมายเลขโทรศพั ท์ 08 6959 8978
2. นางสาวเบญญาภา รอดจิตต์ หมายเลขโทรศัพท์ 09 2509 1653
แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัตกิ าร

3. นางสาวสนุ ิสา พรหมสวสั ด์ิ
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ

4. นางตวงรัก กาญจนนุกูล
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

5. นางสาวณตั ิยา ไกรทรัพย์
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน

ห น้ า | 51
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

3. กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร

ห น้ า | 52
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 53
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 54
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอียดตัวชีว้ ดั ตามคารบั รองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร

ประเดน็ การประเมินผล ตัวช้ีวดั นา้ หนกั เป้าหมาย
การปฏิบตั ิราชการ (ร้อยละ) (ขนั้ มาตรฐาน)

ตวั ชี้วดั หนว่ ยงาน

การประเมนิ 1. จานวนหน่วยงานทม่ี กี ารรายงานผลผ่าน 25 ผลการรายงานขอ้ มูลลงระบบ

ประสทิ ธผิ ลการ ระบบตดิ ตามประเมนิ ผล Management Management Cockpit

ดาเนินงาน Cockpit ไดค้ รบถ้วน ทันเวลา ครบถว้ น 12 หนว่ ยงาน

(Performance ท้ัง 2 ไตรมาส

Base) 2. ระดบั ความสาเร็จของการประกวดรางวลั 25 จดั ทาเอกสารผลรางวัลเลศิ รฐั

เลิศรัฐของกรม 3 สาขา (PMQA บรกิ าร

ภาครัฐ การบรหิ ารราชการ

แบบมีสว่ นร่วม)

3. ระดบั ความสาเร็จของการปรบั ปรงุ บทบาท 20 จดั ประชุมเพื่อทบทวน

ภารกิจและโครงสร้างกรม บทบาทภารกจิ ของกรม ให้

สอดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ่ี

เปล่ียนแปลงไป

รวม 70

ตัวช้ีวดั รว่ ม

การประเมนิ ศกั ยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ 8 ร้อยละ 80 – 89.99

การดาเนินงาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หนว่ ยงาน

2. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาเว็บไซต์ 8 - เวบ็ ไซตม์ ีอย่างนอ้ ย 6 องคป์ ระกอบ
ของหน่วยงาน
- อพั เดตเว็บไซต์ 1 คร้ังต่อไตรมาส

3. ระดบั ความสาเร็จการประเมินดชั นมี วลกาย 8 - ครบถ้วน/ไมท่ ันเวลา
(BMI) ของบุคลากรภายในหนว่ ยงาน
ไม่ครบถ้วน/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 40

- นา้ หนกั ดีขึ้น ร้อยละ 75

4. ระดับความสาเร็จของการประเมนิ ความ 6 มีผลประเมินความพึงพอใจ/ไมพ่ ึง
พงึ พอใจ/ความไม่พงึ พอใจของผูร้ บั บรกิ ารและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99

ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ต่อภารกจิ หลกั ของหน่วยงาน

รวม 70

ห น้ า | 55
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวัดหน่วยงาน  ตวั ชวี้ ัดต่อเนอื่ ง  ตัวช้วี ัดใหม่  ตัวชว้ี ัดเดมิ

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร

ตัวช้วี ดั ที่ 1 : จานวนหน่วยงานทม่ี ีการรายงานผลผา่ นระบบติดตามประเมินผล น้าหนัก
Management Cockpit ได้ครบถ้วน ทันเวลา ร้อยละ 25
หน่วยวดั : จานวน (หน่วยงาน)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรหิ ารเปน็ เลิศด้วยธรรมาภบิ าล (Governance

Excellence)
แผนงาน/โครงการ พัฒนาระบบบรหิ ารสอู่ งค์กรคุณภาพและองคก์ รคณุ ธรรม

คาอธบิ าย :
หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานระดับกองท่ีถูกกาหนดขึ้นตามกฎกระทรวงและหน่วยงานที่ถูกกาหนด

เปน็ การภายในกรมฯ ในปี พ.ศ. 2564 รวมท้งั สน้ิ 16 หน่วยงาน
ระบบติดตามประเมินผล Management Cockpit หมายถึง ระบบการรายงานผลการดาเนินงาน

ตามตัวช้ีวัดคารับรองการปฏิบัติราชการผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน
ตามตัวชี้วัดคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารทุกระดับ สามารถติดตามผล
การปฏบิ ัติราชการและนาขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจไดอ้ ย่างถกู ต้อง แม่นยา รวดเร็ว และ Real-time

ทันเวลา หมายถึง การรายงานผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดคารับรองการปฏิบัติราชการผ่านระบบ
ติดตามประเมินผล Management Cockpit ภายในกาหนด ดังนี้ รอบไตรมาสที่ 2 ภายในวันที่ 10 เมษายน
2564 และไตรมาสที่ 3 ภายในวันท่ี 10 กรกฎาคม 2564

สถานการณ์ :
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลุ่มพฒั นาระบบบริหารร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กองวิชาการและ

แผนงาน ได้ดาเนินการพฒั นาระบบติดตามประเมินผล Management Cockpit เพ่ือใช้ในการติดตามประเมินผล
การดาเนินงานตามตัวชี้วัดคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ในสังกัดกรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก เพื่อใช้เป็นข้อมูลให้ผู้บริหารทุกระดับ สามารถติดตามผลการปฏิบัติราชการและนาข้อมูล
ประกอบการตดั สินใจได้อย่างถกู ต้อง แมน่ ยา รวดเร็ว และ Real-time

ขอ้ มูลพนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map : 2565 2566 2567 2568
ปงี บประมาณ 2564 - -
15 หน่วยงาน 16 หน่วยงาน
ค่าเปาู หมาย 14 หน่วยงาน

ห น้ า | 56
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เปา้ หมาย 50
ขน้ั ต้น ผลการรายงานข้อมูลลงระบบ Management Cockpit ครบถ้วน
75 10 หน่วยงาน ท้ัง 2 ไตรมาส
ขั้นมาตรฐาน
100 ผลการรายงานข้อมูลลงระบบ Management Cockpit ครบถ้วน
ขัน้ สงู 12 หน่วยงาน ท้ัง 2 ไตรมาส

ผลการรายงานข้อมูลลงระบบ Management Cockpit ครบถ้วน
14 หน่วยงาน ทั้ง 2 ไตรมาส

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

1 (3 เดือน) - จดั ประชมุ พจิ ารณาตวั ช้วี ัดระดบั หน่วยงาน (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) - จัดพธิ ีลงนามคารบั รอง
รายงานการประชุมพิจารณาตัวชว้ี ัด
2 (6 เดือน) - เผยแพร่คู่มอื คารับรองฯ ผา่ นเว็บไซต์ ระดับหน่วยงาน และเอกสารลงนาม
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) - กากับ ติดตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของ คารบั รองฯ
รายงานผลการดาเนินงานในระบบ
หนว่ ยงานรอบ 6 เดอื น ครบทุกหนว่ ยงาน ภายใน Management Cockpit ครบทกุ
เวลาท่ีกาหนด (10 เมษายน 2564) หนว่ ยงาน

3 (9 เดือน) กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของ รายงานผลการดาเนนิ งานในระบบ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) หนว่ ยงานรอบ 9 เดอื น ครบทกุ หนว่ ยงาน ภายใน Management Cockpit ครบทุก
หนว่ ยงาน
เวลาท่ีกาหนด (10 กรกฎาคม 2564)

แหลง่ ขอ้ มูล : ระบบ Management Cockpit

วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู : เก็บข้อมูลจากการรายงานผลของทกุ หนว่ ยงานในระบบ Management Cockpit

ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ ับ : 1. ลดต้นทนุ และลดการใชท้ รพั ยากร

2. เพม่ิ ความรวดเรว็ ในการกากบั ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามตัวช้วี ดั ในการ

เช่ือมโยงรบั สง่ ข้อมูล

3. ผู้บรหิ ารทกุ ระดับสามารถตดิ ตามผลการปฏิบตั ิราชการและนาข้อมูลประกอบการ

ตดั สนิ ใจได้อยา่ งถูกตอ้ ง แม่นยา รวดเรว็ และ Real-time

ผกู้ ากับตวั ช้ีวดั : นางวงเดือน จนิ ดาวฒั นะ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1402

ผู้อานวยการกล่มุ พฒั นาระบบบริหาร

ผู้จดั เก็บข้อมูล : 1. นางกรุณา ทศพล หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 1413

นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ

2. นางสาวสุชาวดี เลาะเดรุส หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1414

นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ

3. นางสาวณิชารีย์ เกิดแสง หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1402

นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ห น้ า | 57
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชีว้ ดั หน่วยงาน  ตัวชว้ี ัดตอ่ เน่อื ง  ตวั ช้วี ัดใหม่  ตวั ชว้ี ัดเดิม

กล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร

ตัวชี้วดั ท่ี 2 : ระดับความสาเรจ็ ของการประกวดรางวลั เลิศรฐั ของกรม น้าหนกั
หน่วยวดั : ระดบั ความสาเร็จ ร้อยละ 25

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชือ่ มโยงกับแผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ บรหิ ารเป็นเลศิ ดว้ ยธรรมาภิบาล (Governance

Excellence)
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบริหารสูอ่ งค์กรคณุ ภาพและองค์กรคณุ ธรรม

คาอธบิ าย :
รางวลั เลิศรฐั หมายถึง รางวัลท่ีมอบให้กับหน่วยงานภาครัฐเพ่ือสร้างแรงจูงใจ และสร้างขวญั กาลังใจใน

การปฏิบตั ิราชการ ท่ีมีการพฒั นาองค์การอย่างตอ่ เน่ือง และมีผลการดาเนินงานท่ีโดดเดน่ ประกอบด้วย 3 สาขา
ไดแ้ ก่ สาขาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั สาขาบรหิ ารราชการแบบมสี ว่ นร่วม และสาขาบริการภาครฐั
ขอบเขตการประเมิน : เก็บขอ้ มูลระหว่างวนั ที่ 1 ต.ค. 2563 - 30 ม.ิ ย. 2564

สถานการณ์ : กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้เร่ิมส่งประกวดรางวัลเลิศรัฐ มาต้ังแต่
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 กรมฯ ได้รับรางวลั สาขาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐรายหมวดที่ 1 การนาองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม และมีการขับเคลื่อนการส่งประกวดรางวัล
มาอย่างต่อเน่ืองทุกปี ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมฯ ผ่านการพิจารณารายงานผลการดาเนินงาน
Application Report และได้รับการ Site Visit สาขาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวดที่ 2 แต่ยังไม่
สามารถผ่านเกณฑ์การพิจารณา ดงั น้ัน กรมฯ จึงได้ดาเนินการปรับปรุงกระบวนงานให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพ
อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมฯ ได้ขับเคล่ือนการส่งประกวดรางวัลเลิศรัฐทั้ง 3 สาขา
และม่งุ หวงั ในการไดร้ ับรางวลั อยา่ งนอ้ ย 1 รางวลั

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน - รอบ 1 ผ่านหมวด 1 - รอบ 1 ผ่านหมวด 1 - รอบ 1 ผา่ นหมวด 1 - รอบ 1 ผ่านหมวด 2 - รอบ 1 ผ่านหมวด 2
- รอบ 2 ไมผ่ ่าน - รอบ 2 ผ่านหมวด 1 - รอบ 2 ผ่านหมวด 1 และหมวด 3 และหมวด 3

ได้รบั การ site visit ได้รบั การ site visit - รอบ 2 ไมผ่ ่าน - รอบ 2 ผ่านหมวด 2

- รบั รางวลั หมวด 1 ไดร้ ับการ site visit

แผนระยะยาว / Road Map :

ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย ส่งประกวดรางวลั ส่งประกวดรางวลั - - -
เลศิ รัฐ (3 สาขา) เลิศรัฐ (3 สาขา)

1 รางวัล/สาขา 2 รางวลั /สาขา

ห น้ า | 58
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ขนั้ ตน้ ส่งรางวลั บริการเลศิ รฐั 3 สาขา (PMQA บรกิ ารภาครฐั การ
75 บรหิ ารราชการแบบมสี ่วนรว่ ม) แลว้ เสรจ็ ทนั เวลา
ขัน้ มาตรฐาน
100 จัดทาเอกสารผลรางวัลเลศิ รฐั 3 สาขา (PMQA บริการภาครัฐ
ขัน้ สงู การบริหารราชการแบบมีส่วนรว่ ม)

รายงานผู้บริหารทราบ พรอ้ มเผยแพร่อยา่ งน้อย 2 ช่องทาง
(เว็บไซต์ หนังสือเวยี น)

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

1 (3 เดือน) จดั ประชุมชแ้ี จงแนวทางการสง่ ประกวดรางวัลเลิศ (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) รฐั และคดั เลือกรางวลั การสง่ ประกวด
เอกสารสรปุ ผลการคดั เลือกการสง่
2 (6 เดือน) จดั ทาไฟลเ์ อกสารพรอ้ มสง่ รางวลั บรกิ ารเลิศรัฐ 3 ประกวดรางวลั เลิศรัฐ และแจง้ เวยี น
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) สาขา แล้วเสรจ็ ทนั เวลา ให้ผ้บู ริหารและหนว่ ยงานทราบ

- PMQA - ภาพบันทึกหน้าจอการส่งประกวด
- บริการภาครัฐ รางวัลผ่านระบบออนไลน์
- การบริหารราชการแบบมีส่วนรว่ ม - ภาพบนั ทกึ หน้าจอการอัพโหลด
เอกสารรายงานผลการดาเนนิ การ
3 (9 เดือน) จัดทาเอกสารผลรางวลั เลิศรัฐ 3 สาขา รายงาน พัฒนาองคก์ รจานวน 3 สาขา
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ผบู้ รหิ ารทราบ พร้อมเผยแพรอ่ ย่างนอ้ ย 2
- เอกสารผลรางวลั เลศิ รฐั 3 สาขา
ชอ่ งทาง (เว็บไซต์ หนงั สือเวยี น) - หลักฐานการเผยแพร่

แหลง่ ขอ้ มลู : ผลการดาเนินงานของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

วิธีการจดั เก็บข้อมลู : 1. จัดตัง้ คณะทางาน
2. จดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพื่อขบั เคลื่อนการสง่ ประกวดรางวัล
3. ดาเนนิ การสง่ ประกวดรางวลั เลิศรฐั ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนดใหแ้ ลว้ เสรจ็ ทันเวลา
4. รวบรวมข้อมลู จัดทาเอกสารเผยแพร่ เป็นตน้

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : เพอื่ ปรับปรุงประสิทธภิ าพการดาเนินงาน และเกิดการเรียนรู้ของส่วนราชการ ให้บคุ ลากร
ทุกระดับมกี ารเรียนรแู้ ละพฒั นางาน อนั ส่งผลให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ประชาชน

ผกู้ ากบั ตวั ช้วี ดั : นางวงเดือน จนิ ดาวฒั นะ หมายเลขโทรศัพท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1402
ผอู้ านวยการกลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1402
หมายเลขโทรศัพท์ 0 2591 7007 ต่อ 1402
ผจู้ ัดเก็บข้อมลู : 1. นางมนทพิ า ทรงพานชิ
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ

2. นางสาวอรพินท์ นพมาก
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน

ห น้ า | 59
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวัดหนว่ ยงาน  ตวั ชวี้ ัดต่อเน่ือง  ตวั ช้ีวัดใหม่  ตัวช้วี ัดเดมิ

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร

ตัวช้ีวัดท่ี 3 : ระดับความสาเร็จของการปรับปรุงบทบาทภารกิจและโครงสร้างกรม นา้ หนัก
หน่วยวดั : ระดับความสาเร็จ ร้อยละ 20

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกบั แผนปฏิบตั ิราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ บรหิ ารเป็นเลิศดว้ ยธรรมาภิบาล (Governance

Excellence)
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบริหารสู่องค์กรคุณภาพและองคก์ รคุณธรรม

คาอธบิ าย :
การปรบั ปรุงบทบาทภารกจิ หมายถึง การทบทวนบทบาท ภารกจิ ภาพรวมของกรมการแพทยแ์ ผนไทย

และการแพทยท์ างเลือก ให้ทนั ต่อสถานการณท์ ี่เปล่ยี นแปลงไป โดยมีการวเิ คราะห์อตั รากาลังบุคลากรของ
หนว่ ยงานภายในกรม วเิ คราะห์เปรยี บเทียบความซา้ ซ้อนของบทบาทภารกิจแตล่ ะหนว่ ยงาน

สถานการณ์ :
ปี 2561 กรมฯ มีหน่วยงานรวมจานวน 13 หน่วยงาน แบ่งเป็นหน่วยงานตามกฎกระทรวง

8 หน่วยงาน และหน่วยงานตามการบริหารจดั การภายใน 5 หน่วยงาน
ปี 2562 กรมฯ มีหน่วยงานรวมจานวน 14 หน่วยงาน แบ่งเป็นหน่วยงานตามกฎกระทรวง

8 หน่วยงาน และหน่วยงานตามการบริหารจัดการภายใน 6 หน่วยงาน เพ่ิมขึ้น 1 หน่วยงาน ได้แก่ สานักงาน
จดั การกญั ชาและกระทอ่ มทางการแพทยแ์ ผนไทย

ปี 2563 กรมฯ มีหน่วยงานรวมจานวน 16 หน่วยงาน แบ่งเป็นหน่วยงานตามกฎกระทรวง
8 หน่วยงาน และหน่วยงานตามการบริหารจัดการภายใน 8 หน่วยงาน เพ่ิมขึ้น 2 หน่วยงาน ได้แก่ สานักงาน
การนวดไทย และสานกั งานวิจยั การแพทย์แผนไทย

ข้อมูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน 8 หน่วยงาน 8 หน่วยงาน 8 หนว่ ยงาน 8 หนว่ ยงาน 8 หนว่ ยงาน

แผนระยะยาว / Road Map :

ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย สรุปผลการ - - - -
ดาเนนิ การและ

เผยแพร่

ห น้ า | 60
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ข้ันต้น 75 มีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลอัตรากาลังบคุ ลากรของหน่วยงานภายในกรม
ขนั้ มาตรฐาน
100 จัดประชมุ เพื่อทบทวนบทบาทภารกจิ ของกรม ให้สอดคล้องกับ
ข้นั สงู สถานการณท์ เ่ี ปล่ียนแปลงไป

สรปุ ผลการดาเนนิ การเก่ียวกับภารกิจและโครงสรา้ งของกรมและ
เผยแพร่ลงเวบ็ ไซต์กรม

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) - ทบทวนบทบาทภารกิจและโครงสร้างของ (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
หนว่ ยงาน
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) - วเิ คราะหอ์ ัตรากาลงั บุคลากรทุกประเภทของ เอกสารรายงานการวเิ คราะห์
หนว่ ยงานภายในกรม บทบาทภารกจิ และอัตรากาลัง
2 (6 เดือน)
- จัดประชุมเพื่อทบทวนบทบาทภารกจิ ของกรม สรุปรายงานการประชมุ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ใหส้ อดคล้องกบั สถานการณท์ เ่ี ปลี่ยนแปลงไป
เอกสารสรปุ ผล
3 (9 เดือน) - สรปุ ผลการดาเนนิ การเกย่ี วกับภารกิจและ
โครงสร้างของกรมและเผยแพรล่ งเว็บไซต์กรม
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)

แหลง่ ข้อมูล : เอกสารรายงานสรปุ ผลการวเิ คราะหบ์ ทบาท ภารกิจ โครงสร้างของกรม

วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู : ประชุมคณะทางาน และรวบรวมขอ้ มูลจากการดาเนนิ งาน

ประโยชน์ที่จะได้รับ : กรมมีการทบทวนบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างให้ทันสมัย และทันต่อสถานการณ์
ท่เี ปลีย่ นแปลงไป

ผู้กากบั ตวั ชว้ี ดั : นางวงเดอื น จินดาวัฒนะ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 1402
ผู้อานวยการกลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 1402
หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 1402
ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู : 1. นางมนทพิ า ทรงพานิช
นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

2. นางสาวอรพินท์ นพมาก
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

ห น้ า | 61
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

4. กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมปิ ญั ญา
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย

ห น้ า | 62
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 63
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 64
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอียดตัวชวี้ ัดตามคารับรองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย

ประเด็นการประเมินผล ตัวชวี้ ดั น้าหนกั เปา้ หมาย
การปฏิบตั ิราชการ (รอ้ ยละ) (ข้ันมาตรฐาน)

ตวั ชีว้ ดั หนว่ ยงาน

การประเมนิ 1. จานวนหมอพืน้ บา้ นทไ่ี ดร้ ับการรบั รองตาม 15 หมอพื้นบา้ นทไ่ี ด้รับหนังสือ

ประสทิ ธิผลการ ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข วา่ ดว้ ยการ รับรองหมอพื้นบ้าน เทา่ กับ

ดาเนินงาน รบั รองหมอพืน้ บา้ น พ.ศ. 2562 500 คน

(Performance 2. จานวนภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ตาม 20 ภมู ิปัญญาฯ ตาม ม.15
Base)
มาตรา 15 และภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยที่ มากกว่า 5,000 รายการ

นาไปใชป้ ระโยชน์ทวั่ ราชอาณาจักร ผา่ นรายงาน ตารับยาฯ ใชป้ ระโยชน์

ผลการดาเนนิ งานของนายทะเบยี นจังหวัด มากกวา่ 200 รายการ

3. จานวนตารับยาและตาราการแพทย์แผน 15 ประกาศกาหนดตารับยาแผน

ไทยทไ่ี ดร้ บั การประกาศกาหนดให้เป็นตารบั ยา ไทยของชาติและตารา

แผนไทยของชาติ และตาราการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยแ์ ผนไทยของชาติ

ของชาติ มากกวา่ 6,000 รายการ

4. จานวนกลมุ่ อาการของโรคในตารบั ยาแผน 20 กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผน
ไทยของชาตแิ ละตาราการแพทย์แผนไทยของ
ชาต/ิ แห่งชาติ ที่ถูกนาไปเผยแพร่ ไทยของชาติและตาราการแพทย์
ประชาสัมพันธ์ แผนไทยของชาติ/แหง่ ชาติ ท่ีถูก
เพอ่ื สง่ เสริมการใชป้ ระโยชน์ นาไปเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ เพ่ือ
ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ มากกว่า
4 กลมุ่ อาการของโรค

รวม 70

ตวั ชวี้ ดั ร่วม

การประเมนิ ศักยภาพ 1. ร้อยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณ 8 รอ้ ยละ 80 – 89.99

การดาเนนิ งาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หน่วยงาน

2. ระดบั ความสาเรจ็ ของการพัฒนาเวบ็ ไซต์ 8 - เว็บไซตม์ อี ยา่ งนอ้ ย 6 องค์ประกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อัพเดตเวบ็ ไซต์ 1 ครง้ั ต่อไตรมาส

3. ระดบั ความสาเรจ็ การประเมนิ ดัชนมี วลกาย 8 - ครบถ้วน/ไมท่ ันเวลา
(BMI) ของบคุ ลากรภายในหน่วยงาน
ไม่ครบถ้วน/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 40

- น้าหนักดีข้ึน ร้อยละ 75

4. ระดบั ความสาเร็จของการประเมินความ 6 มีผลประเมนิ ความพึงพอใจ/ไม่พงึ
พงึ พอใจ/ความไม่พึงพอใจของผ้รู บั บรกิ ารและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99

ผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ตอ่ ภารกิจหลกั ของหนว่ ยงาน

รวม 30

ห น้ า | 65
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวดั หนว่ ยงาน  ตวั ชี้วดั ตอ่ เนือ่ ง  ตัวชวี้ ัดใหม่  ตัวชี้วัดเดิม

กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทย์
แผนไทยและแพทยพ์ นื้ บ้านไทย

ตัวช้ีวัดที่ 1 : จานวนหมอพน้ื บ้านทไ่ี ด้รับการรับรองตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ นา้ หนัก
วา่ ดว้ ยการรับรองหมอพื้นบ้าน พ.ศ. 2562 รอ้ ยละ 15
หนว่ ยวดั : จานวน (คน)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกับแผนปฏบิ ัติราชการกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภมู ิปญั ญาเปน็ เลิศ (Wisdom Excellence)
แผนงาน/โครงการคุ้มครอง อนุรักษ์ และพฒั นาองค์ความรู้ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์

พ้นื บ้านไทย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพ้ืนบ้าน พ.ศ. 2562 หมายถงึ การรับรองหมอ

พ้ืนบ้านที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ภายใต้มาตรา 31 (7) แห่ง พรบ.วิชาชีพการแพทย์แผนไทย
2556

หมอพื้นบ้าน หมายถึง บุคคลซึ่งมีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมและดแู ลสุขภาพของประชาชนใน
ทอ้ งถิน่ ดว้ ยภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทย ตามวัฒนธรรมของชมุ ชนทีม่ ีการสืบทอดกันมาไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ปี

สถานการณ์ :
อดีตการดาเนินการรับรองหมอพื้นบ้าน เป็นการรับรองภายใต้ระเบียบของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย

และการแพทย์ทางเลือก (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2555 และต่อมาได้มีการประกาศ พรบ.วิชาชีพการแพทย์แผนไทย
พ.ศ. 2556 ซึ่งมาตรา 31 (7) ได้ยกเวน้ ใหห้ มอพ้ืนบา้ นสามารถส่งเสรมิ ดแู ลสุขภาพประชาชนได้ ดังนัน้ กรมการ
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้มีประกาศระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอ
พ้ืนบา้ น (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 เพอ่ื รบั รองสถานภาพหมอพน้ื บา้ นในการดูแลสขุ ภาพของชมุ ชน

ข้อมูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน 318 337 275 342 458

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย 500 625 750 - -

ห น้ า | 66
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เปา้ หมาย 50 หมอพ้ืนบ้านท่ีได้รับหนังสือรับรองหมอพื้นบ้าน น้อยกว่า 500 คน
ขัน้ ตน้
75 หมอพนื้ บ้านที่ได้รับหนังสือรับรองหมอพืน้ บ้าน เท่ากับ 500 คน
ขั้นมาตรฐาน
100 หมอพน้ื บ้านท่ีได้รับหนังสือรับรองหมอพ้ืนบ้าน มากกว่า 500 คน
ขนั้ สูง

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมูล

1 (3 เดือน) มีคู่มือในการประเมินเพื่อรับรองหมอพ้ืนบ้าน (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) มีหมอพ้ืนบ้านที่ได้รับหนังสือรับรองหมอ คู่มือประเมินเพ่ือรับรองหมอพื้นบ้าน
พื้นบ้าน ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากบั 400 คน
2 (6 เดือน) มีหมอพ้ืนบ้านท่ีได้รับหนังสือรับรองหมอ รายช่ือหมอพ้นื บ้าน พร้อมที่อยู่และ
พื้นบ้าน ไม่น้อยกวา่ หรือเท่ากับ 500 คน ความเชี่ยวชาญโดยสังเขป
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) รายชื่อหมอพน้ื บ้าน พร้อมท่ีอยู่และ
ความเชี่ยวชาญโดยสังเขป
3 (9 เดือน)

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)

แหลง่ ข้อมลู : กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บา้ นไทย

วิธีการจดั เกบ็ ข้อมูล :
1. ศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพของประชาชนด้วยศาสตร์

การแพทย์พ้ืนบ้านไทยในชุมชน
2. ประชมุ คณะกรรมการหมอพน้ื บ้านเพือ่ กาหนดนโยบาย ทศิ ทางและการขับเคลอ่ื นการรบั รองหมอพ้ืนบา้ น
3. ประชุมคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานในการจัดทาหลักสูตร เพ่ือดาเนินการตามประเด็นท่ี

คณะกรรมการหมอพน้ื บา้ นมอบหมาย
4. ประชมุ คณะกรรมการหมอพ้นื บ้าน กทม. ในการพจิ ารณาการรบั รองหมอพ้นื บ้านในเขต กทม.
5. ลงพืน้ ทเี่ พื่อกากับ ตดิ ตาม ใหค้ าปรึกษาด้านการดาเนนิ งานการรบั รองหมอพ้นื บา้ น
6. การรวบรวมและจัดเก็บในฐานข้อมูลหมอพื้นบ้านของประเทศที่ได้รับการรับรองตามระเบียบ กระทรวง

สาธารณสุข วา่ ด้วยการรับรองหมอพน้ื บ้าน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562
7. เผยแพร่รายช่ือ ความชานาญ และทีอ่ ยู่ของหมอพ้นื บา้ นทไ่ี ด้รบั การรับรองไว้บนเวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงาน
8. จัดทารายงานผล Small Success รายไตรมาส (3/6/9 เดอื น)

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : รายชื่อหมอพ้ืนบ้านท่ีผ่านการรับรอง พร้อมสาขาท่ีเชี่ยวชาญเพ่ือผลักดันให้เป็นบุคลากร
ทางด้านสาธารณสขุ ท่ชี ว่ ยดแู ลสุขภาพของประชาชนในชมุ ชน

ผู้กากบั ตวั ช้ีวดั : นายนนั ทศกั ด์ิ โชตชิ นะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5693

ผู้อานวยการกองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย

ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู : นายสมคั ร สมแวง หมายเลขโทรศพั ท์ 080-076-2729

นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

นางสาวองั คณา บุญทวี หมายเลขโทรศพั ท์ 098-105-5215

นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ

ห น้ า | 67
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชีว้ ัดหนว่ ยงาน  ตัวชวี้ ัดตอ่ เนอื่ ง  ตัวชวี้ ดั ใหม่  ตวั ชว้ี ัดเดมิ

กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์
แผนไทยและแพทยพ์ นื้ บ้านไทย

ตัวชี้วัดท่ี 2 : จานวนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามมาตรา 15 และภูมปิ ัญญา นา้ หนัก
การแพทย์แผนไทยทน่ี าไปใช้ประโยชนท์ วั่ ราชอาณาจกั ร ผา่ นรายงานผลการดาเนนิ งาน รอ้ ยละ 20
ของนายทะเบียนจังหวัด
หน่วยวดั : จานวน (รายการ)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภมู ิปญั ญาเปน็ เลศิ (Wisdom Excellence)
แผนไทยแผนงาน/โครงการ คมุ้ ครอง อนุรักษ์ และพัฒนาองคค์ วามรู้ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและ

การแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 15 แห่ง

พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 และรายการตารับยาแผนไทยที่
แตล่ ะจงั หวัดคัดเลอื กเพอื่ นามาใช้

การนาไปใช้ประโยชน์ หมายถึง การนาไปใช้ในระบบบริการสุขภาพเพ่ือการส่งเสริม ปูองกัน และดูแล
รักษาสุขภาพประชาชนในท้องที่

สถานการณ์ :
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาฯ เปน็ หน่วยงานหลักในการดาเนินภารกิจ ตามพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครอง

และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 โดยมีภารกิจในการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทยท่ัวราชอาณาจักร ผ่านกลไกการดาเนินงานของนายทะเบียนกลางและนายทะเบียนจังหวัด
โดยได้ขอรับจัดสรรงบประมาณกองทุนภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย สนับสนุนไปยังสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ทุกจงั หวัด เพื่อดาเนินงาน และสนับสนุนกาลังคน ปฏบิ ตั ิงานเปน็ ผ้ชู ว่ ยนายทะเบียนจังหวดั

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน ภมู ิปญั ญาฯ ตาม ม.15 ภมู ิปญั ญาฯ ตาม ม.15
= 7,650 รายการ
ตารับยาฯ ใช้ประโยชน์ =6,635 รายการ
= 258 รายการ
ตารับยาฯ ใช้ประโยชน์

=343 รายการ

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปูาหมาย ภมู ิปัญญาฯ ตาม ม.15 =6,635 รายการ
ตารับยาฯ ใชป้ ระโยชน์ =343 รายการ

ห น้ า | 68
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ขั้นตน้ ภมู ิปัญญาฯ ตาม ม.15 มากกว่า 4,000 รายการ
75 ตารับยาฯ ใชป้ ระโยชน์ มากกว่า 100 รายการ
ข้นั มาตรฐาน
100 ภูมปิ ญั ญาฯ ตาม ม.15 มากกว่า 5,000 รายการ
ข้นั สูง ตารบั ยาฯ ใชป้ ระโยชน์ มากกว่า 200 รายการ

ภมู ิปญั ญาฯ ตาม ม.15 มากกว่า 6,000 รายการ
ตารับยาฯ ใช้ประโยชน์ มากกว่า 300 รายการ

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) - (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) *เนื่องจากกาหนดรายงานผลการดาเนินงานรอบ 6 -
เดือนและ 9 เดือน
2 (6 เดือน) รายงานผลการดาเนินงานของนาย
มีภูมิปัญญาฯ ตาม ม.15 มากกว่า 4,500 ทะเบียนจังหวัดรอบ 6 เดือน
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) รายการ ตารับยาฯ ใช้ประโยชน์ มากกว่า 200
รายการ รายงานผลการดาเนินงานของนาย
3 (9 เดือน) ทะเบยี นจังหวดั รอบ 9 เดือน
มีภูมปิ ัญญาฯ ตาม ม.15 มากกว่า 6,000
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) รายการ ตารบั ยาฯ ใชป้ ระโยชน์ มากกว่า 300
รายการ

แหลง่ ขอ้ มลู : กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมการแพทยแ์ ผน
ไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู :
1. รายงานผลการดาเนินงานของนายทะเบียนจังหวดั
2. สรุปผลการดาเนินงานของนายทะเบียนจังหวดั เสนอสานกั งานบรหิ ารกองทุนภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย
3. จัดทารายงานผล Small Success รายไตรมาส (3/6/9 เดือน)

ประโยชน์ที่จะได้รบั :
1. ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย สมุนไพรและบรเิ วณถิน่ กาเนดิ ของสมนุ ไพร ได้รบั การรวบรวม อนุรักษ์ และ

คุ้มครอง
2. ประชาชนเข้าถึงบริการตามกฎหมายไดส้ ะดวกและรวดเรว็
3. บคุ ลากรมสี ่วนรว่ มในการส่งเสริม อนุรักษ์ คุม้ ครอง

ผ้กู ากบั ตวั ชวี้ ดั : นายนนั ทศกั ด์ิ โชตชิ นะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5693

ผู้อานวยการกองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย

ผู้จัดเกบ็ ข้อมลู : นางสาวอัมพร ทรงสวัสดิ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 080-076-2729
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ห น้ า | 69
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ัดหน่วยงาน  ตวั ชีว้ ดั ต่อเน่ือง  ตัวชวี้ ัดใหม่  ตัวชีว้ ัดเดมิ

กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์
แผนไทยและแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย

ตัวชี้วัดที่ 3 : จานวนตารบั ยาและตาราการแพทยแ์ ผนไทยทไ่ี ดร้ ับการประกาศ น้าหนกั
กาหนดให้เป็นตารบั ยาแผนไทยของชาติ และตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ รอ้ ยละ 15
หนว่ ยวดั : จานวน (ตารับ)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภมู ปิ ญั ญาเปน็ เลิศ (Wisdom Excellence)
แผนงาน/โครงการ คมุ้ ครอง อนรุ ักษ์ และพฒั นาองคค์ วามรูภ้ ูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

พน้ื บา้ นไทย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
ตารับยาแผนไทย หมายถึง สูตรซึ่งระบุกรรมวิธีการผลิตและส่วนประกอบสิ่งปรุงที่มียาแผนไทยรวมอยู่

ด้วย ไม่ว่าสิ่งปรงุ นั้นจะมีรูปลักษณะใด
ตารับยาแผนไทยของชาติ และตาราการแพทย์แผนไทยชองชาติ หมายถงึ ตารับยาแผนไทยหรือตารา

การแพทย์แผนไทยท่ีมีประโยชน์หรือมีคุณค่าในทางการแพทย์หรือสาธารณสุขเป็นพิเศษท่ีจะประกาศกาหนดให้
เป็นตารับยาแผนไทยของชาติหรือตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ

สถานการณ์ :
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาฯ ได้ดาเนินการตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองและ

ส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ.2542 เพื่อคุ้มครองภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยของชาติ นับต้ังแต่ปี
2558 ปัจจุบันได้ดาเนินการให้มีประกาศตารับแผนไทยชองชาติหรือตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ จานวน
ท้ังส้ิน 30 ฉบับ รวมจานวนตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทย ท้ังส้ิน จานวนกว่า 39,000 รายการ และ
ยังคงดาเนนิ การต่อไปอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน 8,919 7,534 6,883 8,027 5,339

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย 7,000 7,500 8,000 - -

ห น้ า | 70
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ขั้นต้น ประกาศกาหนดตารับยาแผนไทยของชาติและตาราการแพทย์
75 แผนไทยของชาติ มากกวา่ 5,000 รายการ
ข้นั มาตรฐาน
100 ประกาศกาหนดตารับยาแผนไทยของชาตแิ ละตาราการแพทย์
ขั้นสงู แผนไทยของชาติ มากกวา่ 6,000 รายการ

ประกาศกาหนดตารับยาแผนไทยของชาติและตาราการแพทย์
แผนไทยของชาติ มากกวา่ 7,000 รายการ

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

1 (3 เดือน) ดาเนินการให้มีประกาศกาหนดตารับยาแผน (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
ไทยของชาติและตาราการแพทย์แผนไทยของ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ชาติ มากกว่า 1,000 รายการ รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการ
คุ้มครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญา
2 (6 เดือน) ดาเนินการให้มีประกาศกาหนดตารับยาแผน การแพทย์แผนไทย
ไทยของชาติและตาราการแพทย์แผนไทยของ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ชาติ ไม่ตา่ กวา่ 4,500 รายการ รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการ
คุ้มครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญา
3 (9 เดือน) ดาเนินการให้มีประกาศกาหนดตารับยาแผน การแพทย์แผนไทย
ไทยของชาติและตาราการแพทย์แผนไทยของ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ชาติ มากกว่า 7,000 รายการ รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการ
คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย

แหลง่ ข้อมลู : กองค้มุ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย กรมการแพทยแ์ ผน
ไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมูล :
1. ลงพน้ื ท่เี พอื่ รวบรวมตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทย จากหอสมุดแหง่ ชาติ
2. ประชมุ คณะทางานกลนั่ กรองตารบั ยาและตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตเิ พ่ือพิจารณาตารับยาและตารา

การแพทย์แผนไทยเพื่อเสนอคณะอนุกรรมคุ้มครองตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทยพิจารณา เพ่ือส่งเข้าสู่
การพิจารณาของคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย

3. เสนอรัฐมนตรีลงนามในประกาศกระทรวง เพื่อกาหนดเป็นตารับยาแผนไทยของชาติและตาราการแพทย์
แผนไทยของชาติ

4. นาตารับยาแผนไทยของชาติและตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตเิ ข้าฐานขอ้ มูล HMPIS
5. จัดทารายงานผล Small Success รายไตรมาส (3/6/9 เดอื น)

ประโยชนท์ ่จี ะได้รบั :
1. ตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทยของชาติท่ีมีคุณค่าทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขได้รับการ

คุ้มครองตามกฎหมาย
2. ตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ ถูกนาไปพัฒนาต่อยอดเพื่อใช้ในระบบบริการสุขภาพ และ

สาหรับผู้ประกอบการนาไปต่อยอดธรุ กิจ เพือ่ เสริมสร้างเศรษฐกจิ ของประเทศ

ห น้ า | 71
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ อื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผู้กากบั ตวั ชว้ี ัด : นายนันทศักด์ิ โชติชนะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศัพท์ 02-149-5693

ผู้อานวยการกองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย

ผจู้ ดั เกบ็ ขอ้ มูล : นายนนั ทศักด์ิ โชติชนะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5607-8

ผ้อู านวยการกองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยฯ

นางสาวสวุ มิ ล สุมลตรี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5607-8

แพทยแ์ ผนไทยปฏิบตั กิ าร

ห น้ า | 72
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วดั หนว่ ยงาน  ตวั ชีว้ ดั ตอ่ เนอื่ ง  ตัวชวี้ ดั ใหม่  ตัวช้ีวดั เดมิ

กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์
แผนไทยและแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย

ตัวช้ีวัดที่ 4 : จานวนกลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติและตารา นา้ หนกั
การแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ ท่ีถูกนาไปเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 20
เพ่ือส่งเสริมการใช้ประโยชน์
หน่วยวัด : จานวน (กลุ่มอาการของโรค)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภมู ิปญั ญาเปน็ เลิศ (Wisdom Excellence)
แผนงาน/โครงการค้มุ ครอง อนรุ ักษ์ และพฒั นาองคค์ วามรูภ้ มู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์

พ้ืนบา้ นไทย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
ตารับยาและตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ หมายถึง ตารับยาแผนไทยหรือตาราการแพทย์แผนไทย

ทีม่ ีประโยชนห์ รือมีคุณคา่ ในทางการแพทยห์ รือสาธารณสุขเป็นพเิ ศษทีจ่ ะประกาศกาหนดให้เป็นตารับยาแผนไทย
ของชาติหรอื ตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ

ตารับยาแผนไทยแห่งชาติ หมายถึง ตารับยาแผนไทยของชาติหรือตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ
ที่ได้รับการพิจารณา กล่ันกรองตามหลักเกณฑ์กาหนด โดยกลุ่มผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านทางการแพทย์แผนไทย
และผ่านความเห็นจากคณะกรรมการคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย

การนาไปใช้ประโยชน์ หมายถงึ การขอขึ้นทะเบียนเพ่ือผลิตกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา /
การนาไปศึกษา วจิ ัย และพัฒนาเป็นยา หรือผลิตภัณฑ์สมุนไพร/ การเผยแพร่ผ่านช่องทาง online และ offline
และการประชมุ ร่วมกับผ้ปู ระกอบการ/ การนาไปใชใ้ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ/ ขาย จาหน่าย จ่ายแจก

สถานการณ์ :
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผน

ไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย ได้ดาเนินการเพื่อประกาศกาหนดตารับยาแผนไทยของชาติและตาราการแพทย์แผน
ไทยของชาติ มาแล้วจานวนทั้งส้ิน 30 ฉบับ มีจานวนตารับยาและตาราการแพทย์แผนไทย มากกว่า 39,000
รายการ ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแล้ว นอกจากนี้ยังต้องดาเนินการส่งเสริมให้มีการนาตารับยาและตารา
การแพทย์แผนไทยดังกล่าว เพ่ือส่งให้เกิดการใช้ประโยชน์ท้ังด้านการสาธารณสุขและเศรษฐกิจของประเทศ
ผ่านการขบั เคลื่อนจากภาครฐั และเอกชน

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปูาหมาย 5 กลุ่มอาการฯ 10 กลุ่มอาการฯ 15 กลมุ่ อาการฯ 20 กลมุ่ อาการฯ 25 กลมุ่ อาการฯ

ห น้ า | 73
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เป้าหมาย 50
ข้นั ต้น กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติและตารา
75 การแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ ท่ีถูกนาไปเผยแพร่
ขนั้ มาตรฐาน ประชาสัมพนั ธ์ เพ่ือส่งเสริมการใช้ประโยชน์ มากกว่า 3 กลุ่ม
100 อาการของโรค
ขน้ั สงู
กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติและตารา
การแพทย์แผนไทยของชาต/ิ แห่งชาติ ที่ถูกนาไปเผยแพร่
ประชาสัมพนั ธ์ เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์ มากกว่า 4 กลุ่ม
อาการของโรค

กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติและตารา
การแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ ท่ีถูกนาไปเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์ มากกว่า 5 กลุ่ม
อาการของโรค

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) จัดตั้งคณะทางานเพ่ือขับเคลอื่ นการใช้ประโยชน์ คาสั่งแต่งต้ังคณะทางาน
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) จากตารับยาแผนไทยของชาติและตารา

การแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ

2 (6 เดือน) กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติ - การเผยแพร่ตารับยาแผนไทยของ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) และตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ ชาติจากตารับยาแผนไทยของชาติ/
ถูกนาไปเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เพ่ือส่งเสริม แห่งชาติ ตามกลุ่มอาการของโรค
การใช้ประโยชน์ มากกว่า 4 กลุ่มอาการของโรค

3 (9 เดือน) กลุ่มอาการของโรคในตารับยาแผนไทยของชาติ - รายงานประชุมท่ีเชิญเครือข่ายท้ัง
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) และตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ/แห่งชาติ ภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมรับฟัง
ถูกนาไปเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริม
การใช้ประโยชน์ เท่ากับหรือมากกว่า 5 กลุ่ม - การเผยแพร่ตารับยาแผนไทยของ
อาการของโรค ชาติจากตารับยาแผนไทยของชาติ/
แห่งชาติ ตามกลุ่มอาการของโรค

แหลง่ ขอ้ มูล :
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทย

และการแพทย์ทางเลือก

วธิ ีการจดั เกบ็ ข้อมลู :
รายงานการประชุม/การสื่อสารทางช่องทาง online/ offline เพ่ือเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ตามกลุ่ม

อาการของโรคในตารบั ยาและตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ/แห่งชาติ เพอ่ื สง่ เสรมิ การใช้ประโยชน์

ห น้ า | 74
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคูม่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ ับ :
1. ตารับยาแผนไทยที่มีประสิทธิภาพถูกนามาเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการนาไปวจิ ัย พัฒนา

ตอ่ ยอด และใชป้ ระโยชนเ์ พ่อื การดแู ลสุขภาพ
2. ส่งเสริมให้มีการนาตารับยาแผนไทยที่มีประสิทธิภาพนาไปพัฒนา ต่อยอด เป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร

ผา่ นการขบั เคลอื่ นจากภาครัฐและเอกชนเพือ่ เสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจ

ผ้กู ากบั ตวั ชวี้ ัด : นายนันทศกั ด์ิ โชติชนะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5693

ผูอ้ านวยการกองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย

ผู้จดั เก็บขอ้ มลู : นายนนั ทศกั ดิ์ โชตชิ นะเดชาวงศ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5607-8

ผ้อู านวยการกองคุม้ ครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยฯ

นางสาวสวุ ิมล สุมลตรี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5607-8

แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั กิ าร

ห น้ า | 75
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

5. กองวชิ าการและแผนงาน

ห น้ า | 76
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 77
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 78
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดตวั ช้วี ัดตามคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
กองวชิ าการและแผนงาน

ประเด็นการประเมนิ ผล ตวั ชี้วดั นา้ หนัก เป้าหมาย
การปฏิบัตริ าชการ (รอ้ ยละ) (ขัน้ มาตรฐาน)

ตวั ชีว้ ดั หนว่ ยงาน

การประเมนิ 1. รอ้ ยละของหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขทจ่ี ัด 15 ร้อยละ 75

ประสิทธิผลการ คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย นาชุด (จานวน 316 แหง่ )

ดาเนินงาน ความร/ู้ สอ่ื เรอื่ งกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย

(Performance จากกรมฯ ไปใช้ใหค้ วามรู้กบั ประชาชน

Base) 2. รอ้ ยละของแพทย์แผนไทยทป่ี ฏิบตั งิ านใน 15 ร้อยละ 70

ระบบสุขภาพได้รบั การอบรมความรู้เพือ่ ตอ่ อายุ (จานวน 1,619 คน)

ใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพตดิ ให้

โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชาเพือ่ การรกั ษา

ผู้ปวุ ย (กรณีการแพทยแ์ ผนไทย)

3. ระดับความสาเร็จของการขบั เคลื่อน 10 ระดบั 2 มีแผนตดิ ตามผลการ
แผนงานสาคญั ตามประเด็นเชิงนโยบายของ
กระทรวงสาธารณสุขบรรลตุ ามเปาู หมาย ดาเนินงานโครงการสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
และแบบฟอร์มการรายงานผลทง้ั

2 โครงการสาคัญ

4. จานวนการบนั ทกึ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบของ 10 จานวน 1,250 ตารับ

เครือ่ งยาตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละ

ตารบั ยาแผนไทยของชาตทิ มี่ คี วามถกู ต้อง ใน

ระบบสารสนเทศ องคค์ วามรู้ดิจิทัลภมู ปิ ญั ญา

การแพทยแ์ ผนไทยของประเทศไทย

5. ระดบั ความสาเร็จของการตรวจราชการและ 10 การตรวจราชการและนเิ ทศ

นเิ ทศงาน กากับ ตดิ ตาม ประเมินผลสมั ฤทธ์ิ งาน ตามนโยบายทสี่ าคญั ดา้ น

ของการดาเนนิ งานตามนโยบายสาคญั และการ การแพทย์แผนไทย

แก้ปญั หาการสาธารณสขุ ในพน้ื ที่ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง การแพทย์พนื้ บา้ น และ

กบั การแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ืน้ บ้าน และ การแพทย์ทางเลือก คดิ เปน็

การแพทยท์ างเลือกในระดบั เขตสุขภาพและ รอ้ ยละ 80 ต่อเขตสขุ ภาพ

จังหวัด

6. จานวนระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั รองรับ 10 4 ระบบ ได้แก่ ระบบ Ganja
Chatbot, ระบบ
องคก์ ร ๔.0 Management Cockpit,

ระบบแจง้ เวียนหนงั สอื ราชการ

รายบุคคล, ระบบแจง้ เตือน

ลกู หนเ้ี งินยมื

รวม 100

ห น้ า | 79
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ การประเมนิ ผล ตวั ชีว้ ดั นา้ หนัก เปา้ หมาย
การปฏิบัตริ าชการ (ร้อยละ) (ขั้นมาตรฐาน)

ตวั ช้ีวดั รว่ ม

การประเมินศักยภาพ 1. ร้อยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณ 8 ร้อยละ 80 – 89.99

การดาเนินงาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หน่วยงาน

2. ระดับความสาเร็จของการพฒั นาเว็บไซต์ 8 - เว็บไซต์มอี ยา่ งนอ้ ย 6 องค์ประกอบ
- อัพเดตเว็บไซต์ 1 คร้ังต่อไตรมาส
ของหนว่ ยงาน

3. ระดับความสาเรจ็ การประเมนิ ดัชนมี วลกาย 8 - ครบถว้ น/ไม่ทันเวลา
ไม่ครบถ้วน/ทันเวลา
(BMI) ของบุคลากรภายในหนว่ ยงาน - ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 40

- น้าหนกั ดีขึ้น ร้อยละ 75

4. ระดบั ความสาเร็จของการประเมนิ ความ 6 มผี ลประเมินความพึงพอใจ/ไม่พึง
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99
พงึ พอใจ/ความไม่พึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารและ

ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย ต่อภารกิจหลักของหน่วยงาน

รวม 100

ห น้ า | 80
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวัดหนว่ ยงาน  ตัวชีว้ ัดต่อเนือ่ ง  ตวั ชี้วัดใหม่  ตัวชว้ี ัดเดมิ

กองวิชาการและแผนงาน

ตัวชี้วัดท่ี 1 : รอ้ ยละของหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขทจี่ ดั คลินกิ กัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย น้าหนัก
นาชดุ ความร/ู้ สอ่ื เรื่องกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยจากกรมฯ ไปใชใ้ หค้ วามร้กู ับประชาชน รอ้ ยละ 15
หนว่ ยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การส่งเสรมิ สขุ ภาพ ปอู งกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเปน็

เลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence : PP&P Excellence)
แผนงาน/โครงการ สร้างความรอบรู้ และลดความเหล่ือมล้าด้านสุขภาพแก่ประชาชนด้วยการแพทย์แผนไทย

การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร

คาอธบิ าย :
ชุดความรู้/สื่อ หมายถึง ชุดความรู้และส่ือเรื่องกัญชาทางการแพทย์แผนไทยที่ผลิตและเผยแพร่ข้อมูล

ทกุ รูปแบบ ทุกชอ่ งทาง เช่น คูม่ ือ ส่ือสิง่ พิมพ์ อินโฟกราฟกิ คลปิ ความรู้ตา่ งๆ เป็นตน้
หน่วยบริการสาธารณสุขที่จัดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย หมายถึง หน่วยบริการสาธารณสุข

ท่ีจัดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยทั่วประเทศ จานวน 421 แห่ง (ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2563) โดยอ้างอิง
ขอ้ มลู จากสานกั งานจัดการกัญชา และกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย

สถานการณ์ :
กระแสการใช้ประโยชน์จากกัญชาในการดูแลสุขภาพของประเทศต่างๆ อย่างเสรี มีการส่ือสารผ่านส่ือ

สงั คมออนไลนอ์ ย่างแพร่หลาย จึงเปน็ สิ่งเรา้ และกระตนุ้ ให้ผู้ปวุ ยดว้ ยโรคต่างๆ ในประเทศไทย ท่ีรับรู้ว่าหลายโรค
หายได้ด้วยกัญชา เริ่มหันมาสนใจ เสาะแสวงหากัญชามาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อรักษาอาการปุวย
จานวนมาก โดยไม่คานึงถึงข้อควรระวัง ข้อห้าม ท้ังนี้ส่วนใหญ่ จะขาดความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องด้านวิชาการ
ของกัญชา การเข้าถึงและการนากัญชามาใชป้ ระโยชน์ ท้ังด้านของการรักษา และด้านกฎหมาย ส่งผลกระทบต่อ
คณุ ภาพชวี ิตจากการใช้กญั ชาด้วยความไมร่ ู้ ไมเ่ ขา้ ใจ

กลุ่มงานสื่อสารองค์กร กองวิชาการและแผนงานได้ดาเนินการผลิตชุดความรู้ และส่ือทุกรูปแบบ
โดยเฉพาะ Info graphic (อินโฟกราฟกิ ) คือ การเล่าเรื่องหรืออธิบายข้อมูลต่างๆ โดยใช้ ‘ภาพ’ ในการส่ือสาร
ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของกราฟ แผนภูมิ แผนผัง สัญลักษณ์ โดยข้อมูลจะถูกย่อยให้เข้าใจได้ง่าย ทั้งยังมีการ
ออกแบบสี รูปแบบ ลูกเล่น ให้สวยงาม ส่งต่อหรือเผยแพร่ให้กับหน่วยบริการเพื่อการนาไปใช้ให้ความรู้
กบั ประชาชนทม่ี ารับบริการในหนว่ ยบริการ มคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการกลน่ั กรอง ประเมิน และตัดสนิ ใจ
ทีจ่ ะเลอื กใชบ้ ริการและผลิตภณั ฑส์ ุขภาพที่เก่ยี วขอ้ งกับกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทยได้อยา่ งเหมาะสมที่ถกู ต้อง

สตู รคานวณ : จานวนหนว่ ยบรกิ ารคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยฯทน่ี าชุดความรูฯ้ ใหค้ วามรู้กบั ประชาชน X 1 0 0

จานวนหน่วยบริการคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยฯ 421 แห่ง (ขอ้ มลู ปี พ.ศ. 2563)

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน N/A N/A N/A N/A N/A

ห น้ า | 81
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปาู หมาย 100 100 100 100 100

เกณฑก์ ารประเมนิ :

เปา้ หมาย คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

ข้นั ตน้ 50 รอ้ ยละ 50 (จานวน 211 แห่ง)

ขนั้ มาตรฐาน 75 รอ้ ยละ 75 (จานวน 316 แหง่ )

ข้นั สงู 100 รอ้ ยละ 75 (จานวน 421 แห่ง )

เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) ผลิตชดุ ความรู/้ สอ่ื ในรูปแบบค่มู ือการดูแลสุขภาพดว้ ยกญั ชาทาง (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) การแพทย์แผนไทยจากกรม และนาไปเผยแพรค่ วามรใู้ ห้ กับหนว่ ย ส่ือชดุ ความรู/้ ภาพถ่าย/เอกสาร
บริการคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย ร้อยละ 50 (จานวน หลกั ฐานการนาองค์ความรไู้ ป
211 แหง่ ) เผยแพรใ่ นหนว่ ยบริการ

2 (6 เดือน) หนว่ ยบรกิ ารคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยฯ ร้อยละ 75 ส่ือชุดความร/ู้ ภาพถา่ ย/เอกสาร
หลักฐานการนาองค์ความรไู้ ป
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) (จานวน 316 แห่ง) นาชุดความร/ู้ สอ่ื ในรูปแบบคู่มอื การดูแล เผยแพรป่ ระชาชน
สุขภาพด้วยกัญชาทางการแพทย์แผนไทยจากกรมฯ ไปเผยแพร่
ความรูใ้ ห้กบั ประชาชน สอื่ ชุดความร/ู้ ภาพถ่าย/เอกสาร
หลักฐานการนาองค์ความร้ไู ป
3 (9 เดือน) หน่วยบรกิ ารคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยฯ ร้อยละ 100 เผยแพร่ประชาชน

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) (จานวน 421 แหง่ ) นาชดุ ความร/ู้ สอื่ ในรูปแบบคู่มือการดแู ล
สขุ ภาพดว้ ยกัญชาทางการแพทย์แผนไทยจากกรมฯ ไปเผยแพร่
ความรู้ใหก้ ับประชาชน

แหล่งข้อมลู : สานักงานส่ือสารองค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่ สานักงานจัดการกัญชา และกระท่อม
ทางการแพทย์แผนไทย ข้อมูลหลักฐานการเผยแพร่องคค์ วามรู้จากสานักงานสาธารณสุขจังหวดั ทุกจงั หวดั

วิธีการจดั เกบ็ ข้อมูล : รวบรวมขอ้ มลู เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ งรายงานความก้าวหนา้ /จัดทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนทวี่ างไว้

ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั :

1. ประชาชนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เขา้ ถึงข้อมูลวิชาการกัญชาทางการแพทย์แผนไทยท่ถี กู ตอ้ ง

2. ผ้บู รโิ ภคได้รบั การคมุ้ ครองและปลอดภยั จากการใชป้ ระโยชนข์ องกญั ชาทางการแพทย์แผนไทย

3. ผู้บริโภคมคี วามเชื่อมน่ั ดา้ นการรักษาด้วยตารับยาท่มี ีส่วนผสมของกญั ชา

4. ลดขอ้ มูลทบ่ี ิดเบือนสสู่ าธารณะของกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย

5. ประชาชนมีทักษะในการกล่ันกรอง ประเมิน และตัดสินใจ ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใชบ้ ริการและ

ผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพจากกัญชาทางการแพทย์แผนไทย

ผกู้ ากับตวั ช้วี ดั : นางสาวพินท์สุดา เพชรประสม หมายเลขโทรศพั ท์ 02 1495 678

นกั ประชาสมั พันธ์ชานาญการ

ผูจ้ ัดเกบ็ ข้อมูล : นางสาวลัดดาวลั ย์ จาดพนั ธอุ์ นิ ทร์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02 1495 678

นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร

ห น้ า | 82
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชวี้ ัดหน่วยงาน  ตวั ช้วี ัดต่อเน่ือง  ตวั ชว้ี ัดใหม่  ตวั ช้ีวัดเดิม

กองวชิ าการและแผนงาน

ตัวชี้วัดท่ี 2 : รอ้ ยละของแพทยแ์ ผนไทยท่ปี ฏบิ ัติงานในระบบสุขภาพได้รบั การอบรม น้าหนกั
ความรเู้ พ่อื ตอ่ อายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ รอ้ ยละ 15
เฉพาะกัญชาเพื่อการรักษาผู้ปุวย (กรณกี ารแพทย์แผนไทย)
หน่วยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกบั แผนปฏิบตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์บุคลากรเปน็ เลิศ (People Excellence)
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (service plan) สาขาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์

ผสมผสาน
แผนงาน/โครงการ ขับเคลอ่ื นกญั ชา กัญชง กระท่อม ทางการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลอื ก และ

การแพทย์พ้ืนบา้ นไทย

คาอธบิ าย :
กัญชาทางการแพทย์แผนไทย หมายถึง การให้บริการดูแลรักษาผู้ปุวยด้วยตารับยาแผนไทยที่มีกัญชา

ปรุงผสมอยูแ่ ละนา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย ตามแนวทางการแพทยแ์ ผนไทย
ใบอนุญาต หมายถงึ ใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า สง่ ออก จาหนา่ ย หรือมไี ว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพตดิ ให้โทษ

ในประเภท ๕ ตามพระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๗ ) พ.ศ.2562
องค์ความรู้ หมายถึง องค์ความรู้ที่ใช้ในการต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษ

ในประเภท ๕ เฉพาะกญั ชา เพ่อื การรกั ษาผ้ปู วุ ย (กรณกี ารแพทยแ์ ผนไทย)
บุคลากร หมายถึง แพทย์แผนไทยท่ีได้รับใบประกอบวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรม

ไทยหรือ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย
ทาหนา้ ท่ใี นการตรวจวินจิ ฉยั และสัง่ การรักษากัญชาทางการแพทย์แผนไทยในระบบบริการสขุ ภาพ

e-Learning หมายถึง ตัวกลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื ก ผา่ นระบบ Web Application
ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน :

1. ประชุมคณะทางานการพัฒนาหลักสูตรและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เพื่อกาหนดรูปแบบแนวทางการดาเนินงานการจัดทาส่ือการเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือก และเตรยี มความพร้อมระบบ e-Learning

2. ประชุมคณะกรรมการเพ่ือจัดทาองค์ความรู้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และ
การแพทย์ทางเลือก เพอ่ื จัดทากรอบและเนื้อหาองค์ความรู้ท่ีใชใ้ นการต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยา
เสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ เฉพาะกญั ชา เพอ่ื การรกั ษาผู้ปวุ ย (กรณกี ารแพทย์แผนไทย)

3. จัดทาระบบ e-Learning องค์ความรู้ในการอบรมแพทย์แผนไทยในระบบบริการสุขภาพ เพ่ือใชใ้ นการตอ่
อายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา เพื่อการรักษาผู้ปุวย (กรณี
การแพทย์แผนไทย)

4. ประชาสัมพันธ์การอบรมองค์ความรู้เพือ่ ใชใ้ นการต่ออายุใบรับรองการอนุญาต ให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษ
ในประเภท ๕ เฉพาะกญั ชา เพ่ือการรกั ษาผู้ปุวย (กรณีการแพทย์แผนไทย) ผ่านระบบ e-Learning

ห น้ า | 83
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

5. อบรมความรู้ที่ใช้ในการต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕
เฉพาะกญั ชา เพอ่ื การรักษาผู้ปุวย (กรณีการแพทยแ์ ผนไทย) ผา่ นระบบ e-Learning

6. ตดิ ตามและประเมินผลผู้ได้รับการต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕
เฉพาะกญั ชา เพอื่ การรักษาผูป้ ุวย (กรณกี ารแพทยแ์ ผนไทย)
ขอบเขตการประเมิน : รวบรวม ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้อง ระยะเวลา 9 เดือน
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 30 มิถนุ ายน 2564

สถานการณ์ :
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗ ) พ.ศ.2562 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์

2562 เป็นต้นไป มีสาระสาคัญคือ กัญชายังคงเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภทท่ี 5 และให้มีการผ่อนปรนให้สามารถ
นามาใชป้ ระโยชน์ทางการแพทยแ์ ละศกึ ษาวิจยั ได้ ประกอบกับใน ปี พ.ศ. 2562 รัฐบาลมนี โยบายส่งเสรมิ และผลกั ดนั
ใหม้ กี ารใช้ประโยชน์จากกญั ชาทางการแพทย์เพือ่ เปน็ ทางเลือกในการดแู ลรักษาสุขภาพแก่ประชาชน อกี ท้ังยังส่งเสริม
ให้มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย เพื่อเป็นหน่วยบริการในการดูแลรักษาผู้ปุวยด้วยตารับยาแผน
ไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ และน้ามันกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ตามแนวทางการแพทย์แผนไทยควบคู่กับแพทย์
แผนปัจจบุ ัน โดยมหี ลกั เกณฑก์ ารจัดบรกิ ารคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย กาหนดให้ผู้ส่ังจ่ายตารับยาแผนไทยที่
มีกัญชาปรุงผสมอยู่และน้ามันกัญชาทางการแพทย์แผนไทยต้องเป็นแพทย์แผนไทยท่ีได้รับใบประกอบวิชาชีพสาขา
การแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรมไทยหรือ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้
กัญชาทางการแพทย์แผนไทย ได้รับการข้ึนทะเบียนและได้ใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษใน
ประเภท ๕ เฉพาะกญั ชา เพอ่ื การรกั ษาผู้ปุวย (กรณกี ารแพทย์แผนไทย) ทาหน้าท่ีในการตรวจวนิ ิจฉัยและส่ังการรักษา
ซึ่งใบรับรองการอนุญาตดังกล่าวมีอายุคราวละ 2 ปี ปัจจุบันมีแพทย์แผนไทยท่ีได้รับใบรับรองอนุญาตจานวนทั้งส้ิน
5,349 คน ในปี พ.ศ. 2564 มีแพทย์แผนไทยท่ีใบรับรองอนุญาตจะหมดอายุภายใน 30 มิถุนายน 2564 และ
จาเป็นต้องได้รับการต่ออายุใบรับรองอนุญาตจานวน 2,312 คน ดังน้ันเพ่ือเป็นการสอดรับนโยบายการจัดบริการ
คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยให้มีความยั่งยืน สามารถจัดบริการท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน และให้ประชาชน
สามารถเข้าถึงการบริการดังกล่าวได้โดยคานึงถึงความปลอดภยั และประโยชน์สูงสุดของประชาชน จาเป็นตอ้ งพัฒนา
ศักยภาพแพทย์แผนไทยเพือ่ ให้สามารถต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะ
กัญชา เพอื่ การรักษาผู้ปวุ ย(กรณีการแพทย์แผนไทย) ไดแ้ ละด้วยสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 การเรียน
การสอนในรูปแบบออนไลน์เป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมและสามารถกระจายความรู้สู่กลุ่มเปูาหมายได้อย่างท่ัวถึง จึงได้
จัดองค์ความรทู้ ใ่ี ชใ้ นการตอ่ อายใุ บรบั รองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา เพอื่ การ
รักษาผ้ปู วุ ย (กรณกี ารแพทยแ์ ผนไทย) ผ่านระบบ e-Learning

สูตรคานวณ : จานวนผู้ผ่านการอบรมต่ออายุใบประกาศนียบัตรหลักสูตรการใชก้ ญั ชาฯ X 100

จานวนแพทยแ์ ผนไทยทใ่ี บรบั รองอนญุ าตหมดอายภุ ายใน 30 ม.ิ ย.64 ทง้ั หมด (2,312 คน)

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :

ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปูาหมาย รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 80

ห น้ า | 84
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เปา้ หมาย 50
ขนั้ ต้น มีผู้สาเร็จการอบรมองค์ความรู้ท่ีใช้ในการต่ออายุใบรับรองการ
75 อนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา
ขั้นมาตรฐาน เพ่ือการรักษาผู้ปุวย (กรณีการแพทย์แผนไทย) ผ่านระบบ
100 e-Learning รอ้ ยละ 60 (จานวน 1,388 คน)
ขั้นสงู
มีผู้สาเร็จการอบรมองค์ความรู้ที่ใช้ในการต่ออายุใบรับรองการ
อนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา
เพื่อการรักษาผู้ปุวย (กรณีการแพทย์แผนไทย) ผ่านระบบ
e-Learning รอ้ ยละ 70 (จานวน 1,619 คน)

มีผู้สาเร็จการอบรมองค์ความรู้ที่ใช้ในการต่ออายุใบรับรองการ
อนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา
เพ่ือการรักษาผู้ปุวย (กรณีการแพทย์แผนไทย) ผ่านระบบ
e-Learning ร้อยละ 80 (จานวน 1,850 คน)

เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) แต่งต้ังคณะทางานการพฒั นาหลักสตู รและ - คาสัง่ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ถ่ายทอดองคค์ วามร้ดู ้านการแพทย์แผนไทยและ ทางเลือก เรือ่ ง แต่งต้งั คณะทางานการพฒั นา
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) การแพทย์ทางเลือกผ่านสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E- หลกั สตู รและถ่ายทอดองคค์ วามรดู้ า้ น

learning) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

ผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-learning) 1 ฉบับ

2 (6 เดือน) จัดทาองค์ความร้ทู ่ใี ช้ในการตอ่ อายใุ บรบั รองการ - รายงานการประชมุ คณะทางานการพฒั นา
อนุญาต ให้จาหน่ายยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท หลกั สูตรและถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ด้านการแพทย์
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ๕ เฉพาะกัญชาเพ่ือการรกั ษาผปู้ ุวย (กรณี แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1 ฉบับ
การแพทย์แผนไทย) ผ่านระบบ e-Learning - องค์ความรู้ท่ใี ช้ในการต่ออายใุ บรบั รองการ

อนญุ าต ใหจ้ าหนา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท

๕ เฉพาะกญั ชาเพ่อื การรกั ษาผู้ปุวย (กรณี
การแพทยแ์ ผนไทย) ผา่ นระบบ e-Learning

3 (9 เดือน) บรรจอุ งค์ความรทู้ ี่ใชใ้ นการตอ่ อายใุ บรับรองการ - ระบบ e-learning องค์ความรทู้ ใี่ ช้ในการตอ่
อนญุ าตให้จาหน่ายยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ อายุใบรับรองการอนุญาต ให้จาหน่ายยาเสพ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) เฉพาะกญั ชา เพ่ือการรกั ษาผูป้ วุ ย (กรณีการแพทย์ ติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชาเพอื่ การ

แผนไทย) ในระบบ e-learning มีผู้สาเร็จการ รกั ษาผู้ปุวย (กรณกี ารแพทย์แผนไทย)

อบรมองคค์ วามรู้ทใ่ี ช้ในการต่ออายใุ บรับรองการ - รายงานผู้สาเร็จการอบรมความรูท้ ใี่ ชใ้ นการ
อนญุ าตใหจ้ าหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ตอ่ อายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหนา่ ยยา

เฉพาะกญั ชาเพื่อการรักษาผู้ปวุ ย (กรณีการแพทย์ เสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ เฉพาะกญั ชา เพอื่

แผนไทย) ผ่านระบบ e-Learning รอ้ ยละ 80 การรักษาผู้ปวุ ย (กรณีการแพทย์แผนไทย)

(จานวน 1,850 คน) ผา่ นระบบ e-Learning

ห น้ า | 85
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ข้อมูล : กลมุ่ งานพฒั นากาลงั คน กองวชิ าการและแผนงาน

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูล เอกสารที่เก่ียวข้อง ท้ังในรูปแบบเอกสารและรูปแบบดิจิทัล รายงาน
ความก้าวหน้า /จดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนท่ีวางไว้

ประโยชน์ที่จะได้รับ : แพทย์แผนไทยท่ีปฏิบัตงิ านในสถานบริการสาธารณสุขมีความรู้ด้านกาทางการแพทย์แผน
ไทยสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการต่ออายุใบรับรองการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะ
กัญชา เพ่อื การรกั ษาผู้ปุวย (กรณีการแพทย์แผนไทย) สามารถจัดบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และให้ประชาชน
สามารถเขา้ ถงึ การบริการดงั กล่าวได้โดยคานงึ ถงึ ความปลอดภยั และประโยชน์สูงสดุ ของประชาชน

ผกู้ ากบั ตวั ช้ีวดั : นางสพุ ญิ ญา เกดิ โถ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2612

ตาแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ

ผจู้ ัดเก็บขอ้ มูล : 1. นางสาววฐานี อยูพ่ ุ่ม หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2612
นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2612
หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2612
2. นางสาวธารทิพย์ โคกดอกไม้ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2590 2612
แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

3. นายสมนกึ สมบูรณส์ รา้ ง
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร

4. นายสปิ ปภาส บุญรักษา
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ห น้ า | 86
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวดั หนว่ ยงาน  ตวั ชว้ี ัดต่อเนอื่ ง  ตวั ช้ีวดั ใหม่  ตัวชี้วัดเดมิ

กองวชิ าการและแผนงาน

ตัวช้ีวัดที่ 3 : ระดับความสาเร็จของการขับเคลื่อนแผนงานสาคัญตามประเด็นเชิง นา้ หนัก
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขบรรลุตามเปูาหมาย ร้อยละ 10
หนว่ ยวดั : ระดบั

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกับแผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรหิ ารเปน็ เลศิ ดว้ ยธรรมาภิบาล (Governance

Excellence)
แผนงาน/โครงการ การพัฒนาระบบบรหิ ารสู่องค์กรคุณภาพและองคก์ รคณุ ธรรม

คาอธบิ าย :
แผนงานสาคัญตามประเด็นเชิงนโยบาย หมายถึง แผนงานของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ทางเลือก ทสี่ ่งให้กระทรวงสาธารณสุขเพื่อขับเคล่ือนตามแผนงานรองรับนโยบายสาคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 2 แผนงานสาคัญ ได้แก่ 1. สมุนไพร กัญชา กัญชง เพื่อสุขภาพ
สรา้ งเศรษฐกิจ และ 2. ยกระดับการทอ่ งเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบวงจร

ขับเคล่ือนเชิงนโยบาย หมายถึง กระบวนการใดๆ ที่กระตุ้น ติดตาม ให้หน่วยงานดาเนินการ
ตามวตั ถุประสงค์ของแผนงานสาคัญ ให้ตอบสนองต่อวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้

บรรลุตามเป้าหมาย หมายถึง การดาเนินงานตามแผนงานสาเร็จตามเปูาหมายท่ีได้กาหนดไว้ ได้แก่
1. เปูาหมายแผนงานสมุนไพร กัญชา กัญชง เพื่อสุขภาพ สร้างเศรษฐกิจ คือ ประชาชนเข้าถึงผลิตภัณฑ์กัญชา
ทางการแพทย์ และกัญชงเพื่อสุขภาพท่ีมีมาตรฐานและปลอดภัย และ 2. เปูาหมายแผนงานยกระดับการ
ท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบวงจร คือ มีเส้นทางการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพในเมือง
สมุนไพร 5 จงั หวัด

สถานการณ์ :
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และนโยบายรัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

และความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะในด้านการพฒั นาภาคการท่องเที่ยว โดยกระทรวงสาธารณสุข
ได้มีบทบาทสาคัญในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มแก่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซ่ึงสอดรั บกับนโยบายของ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ทม่ี ุง่ เน้นการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ สุขภาพ นาพาใหเ้ กิดรายได้ให้กับประเทศเพม่ิ ขึ้น
อีกทั้งยังให้ความสาคัญในการยกระดับและเร่งศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กัญชา กัญชง และพืชสมุนไพร
ในทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ เพ่ือสร้างโอกาสต่อระบบสุขภาพ ระบบเศรษฐกิจ
และการสร้างรายได้ของประชาชน

ด้านเศรษฐกิจสมุนไพร เม่ือพิจารณาศักยภาพของประเทศไทยจาก The Travel & Tourism
Competitiveness Report เมื่อปี 2019 พบวา่ ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและการ
ท่องเทยี่ วเปน็ อนั ดับท่ี 31 ของโลก และเปน็ อนั ดบั ที่ 7 ของเอเชยี โดยประเทศไทยมเี อกลักษณ์การนวดไทยเปน็ ที่รู้จัก
มากข้ึนจากการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ และศักยภาพของภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นปัจจัยหน่ึงด้านการท่องเท่ียวที่เข้าถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นมากขึ้น จึงทาให้การ
ทอ่ งเท่ยี วเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทยมีความสาคญั ในการสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั เพิ่มขึ้น

ห น้ า | 87
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สาหรับสถานการณ์การขับเคล่ือนกัญชาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้มีการปลูกกัญชา
โดยร่วมมือกับวิสาหกิจชุมชน/สถาบันการศึกษา 6 แห่ง มีแหล่งผลิตตารับยากัญชาและน้ามันกัญชาทางการแพทย์
แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 7 แหง่ มีตารบั ยาท่มี กี ญั ชาปรุงผสม ไดแ้ ก่ ตารบั ยาแผนไทย 16 ตารับ น้ามันกัญชา
3 ตารบั และมหี นว่ ยบริการทจ่ี ัดบริการคลนิ ิกกัญชาฯ 368 แห่ง มีผู้รับบริการกว่า 7 หม่ืนคร้ัง และในปี 2564 ไดม้ ี
นโยบายมุ่งเน้นให้เกิดคลินิกกัญชาแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบัน 450 แห่ง
รวมทั้งการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลครอบคลุมทั่วประเทศ
150 แห่ง โดยมีบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ท่ีสามารถให้
คาแนะนากบั ประชาชนเพื่อให้เกิดการใชก้ ญั ชาในการดแู ลสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน ซ่ึงมีบทบาทในการขับเคลื่อนและติดตามผลการ
ดาเนินงานตามข้อเสนอนโยบาย/แผนงานสาคัญของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และรายงานต่อ
กระทรวงสาธารณสุข เพอื่ เปน็ ข้อมูลในการประเมนิ และตัดสินใจเชงิ นโยบายสาหรับผบู้ รหิ ารต่อไป

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย ระดบั 3

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ขนั้ ตน้ 75 ระดับ 1 มีข้อเสนอนโยบาย/แผนงานสาคัญของหน่วยงาน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีส่งไปยังสานักงาน
ข้นั มาตรฐาน 100 ปลดั กระทรวงสาธารณสุข

ข้ันสูง ระดับ 2 มีแผนติดตามผลการดาเนินงานโครงการสาคัญ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 และแบบฟอร์มการรายงานผล
ทั้ง 2 โครงการสาคัญ เพ่ือใหห้ น่วยงานที่เก่ียวข้องได้จัดทารายงาน
ความกา้ วหน้าผลการปฏิบตั ิงาน

ระดบั 3 มกี ารกากบั ตดิ ตามผลการดาเนินงานจากหน่วยงานท่ี
เกย่ี วข้อง รายเดือน/รายไตรมาส และมีผลวิเคราะหค์ วามก้าวหน้าการ
ดาเนินงาน และขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรับปรุงพฒั นางาน รอบ 6 เดอื น

เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) 1. มีขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย/แผนงานสาคัญของ 1. ขอ้ เสนอนโยบาย/แผนงานสาคญั ของ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) หน่วยงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ี หนว่ ยงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.

ส่งไปยงั สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 2564 ท่ีส่งไปยังสานักงานปลัดกระทรวง

ห น้ า | 88
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

2 (6 เดือน) (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) 2. มแี ผนติดตามผลการดาเนนิ งานโครงการ สาธารณสขุ

3 (9 เดือน) สาคญั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2. แผนติดตามผลการดาเนินงานโครงการ

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) แบบฟอร์มการรายงานผลทง้ั 2 โครงการสาคญั สาคัญ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เพื่อใหห้ น่วยงานท่ีเกี่ยวข้องไดจ้ ดั ทารายงาน 3. แบบฟอรม์ การรายงานผลโครงการสาคัญ

ความก้าวหนา้ ผลการปฏบิ ัติงาน

1. มกี ารติดตามและรวบรวมผลการดาเนนิ งาน 1. เอกสารรายงานผลการตดิ ตามและรวบรวม

จากหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง รายเดอื น/รายไตรมาส การดาเนินงานโครงการสาคัญไตรมาสที่ 1

2. มีรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ 2. เอกสารรายงานผลการตดิ ตามและรวบรวม

สาคัญใหก้ ับสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานโครงการสาคญั ของเดือน

ซง่ึ ผ่านการตรวจสอบความถกู ต้องครบถว้ นของ มกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม 2564

ข้อมูลในระดับกรม

1. มกี ารกากบั ตดิ ตามและรวบรวมผลการ 1. เอกสารรายงานผลการตดิ ตามและ

ดาเนนิ งานจากหน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง รายเดอื น/ รวบรวมการดาเนนิ งานแผนงานสาคญั ของ

รายไตรมาส เดอื นเมษายน พฤษภาคม และมถิ ุนายน

2. มรี ายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการ 2564

สาคัญให้กบั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 2. เอกสารรายงานผลวิเคราะห์

ซึ่งผา่ นการตรวจสอบ ความกา้ วหน้าการดาเนินงาน และ

ความถกู ต้องครบถ้วนของข้อมลู ในระดบั กรม ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การปรับปรงุ พฒั นางาน

3. มีผลวเิ คราะห์ความกา้ วหน้าการดาเนินงาน รอบ 6 เดอื น

และข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงพัฒนางาน

รอบ 6 เดือน

แหล่งข้อมูล : สรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการสาคัญ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ กองวิชาการและแผนงาน
รายงานผลการดาเนินงานรายเดือน/รายไตรมาสของแผนงานกัญชา กัญชง เพื่อสุขภาพ สร้างเศรษฐกิจ และ
แผนงานยกระดับการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบวงจร โดยสานักงานจัดการกัญชา
และกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย กองสมนุ ไพรเพอ่ื เศรษฐกจิ และกองการแพทยท์ างเลอื ก

วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล : รวบรวมรายงานผลการดาเนนิ งานรายเดือน/รายไตรมาสจากหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : แผนงานโครงการสาคัญตามประเด็นเชิงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขบรรลุตาม
เปูาหมาย ประชาชนสามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ และกัญชงเพ่ือสุขภาพที่มีมาตรฐานและ
ปลอดภัย เมืองสมุนไพรได้รับการพัฒนา ยกระดับการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบ
วงจร สามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพนื้ ที่

ผกู้ ากับตวั ชวี้ ดั : นางศรจี รรยา โชตึก หมายเลขโทรศพั ท์ 0-2965-9490
ผู้จัดเกบ็ ขอ้ มูล :
หวั หนา้ กล่มุ งานยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน

นางสาวผสุ ชา จนั ทรป์ ระเสรฐิ หมายเลขโทรศพั ท์ 0-2965-9490
แพทย์แผนไทยปฏบิ ัติการ

ห น้ า | 89
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชีว้ ดั หน่วยงาน  ตวั ชี้วดั ตอ่ เนอ่ื ง  ตัวชว้ี ดั ใหม่  ตวั ช้วี ัดเดิม

กองวิชาการและแผนงาน

ตัวชี้วัดท่ี 4 : จานวนการบันทกึ ข้อมลู องคป์ ระกอบของเครือ่ งยาตาราการแพทย์แผน นา้ หนัก
ไทยของชาติและตารบั ยาแผนไทยของชาติที่มีความถูกต้อง ในระบบสารสนเทศ รอ้ ยละ 10
องค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย
หนว่ ยวดั : จานวน

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกับแผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ ภูมปิ ัญญาเป็นเลิศ (Wisdom Excellence)
แผนงาน/โครงการ คุ้มครอง อนุรักษ์ และพฒั นาองค์ความรู้ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พน้ื บ้าน

ไทย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
การวิเคราะห์องค์ประกอบของเครื่องยา หมายถึง การจาแนก วิเคราะห์และจัดหมวดหมู่ตารับยา

ในตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ ซึ่งประกอบด้วย ชื่อโรค ชื่ออาการ ช่ือตารับยา สรรพคุณของตารับ
ส่วนประกอบของตารับ วิธีการปรุงยา กระสายยา วิธีการใช้ ช่ือผู้ปรงยา เลขท่ีหน้าของต้นฉบับ พิธีกรรม
ชื่อผแู้ ต่ง และรายละเอียดของตัวยาในตารับ (ช่ือสมุนไพร/ ส่วนทใ่ี ช้/ ช่ือวิทยาศาสตร/์ ชอ่ื วงศ์ ปรมิ าณที่ใช้)

ตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติ หมายถึง ตาราการแพทย์แผนไทย
และตารับยาแผนไทย ท่ถี ูกประกาศกาหนดให้เป็นตาราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตารับยาแผนไทยของชาติ
เพื่อการคมุ้ ครอง

ระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย (Thai
Traditional Digital Knowledge Library: TTDKL) หมายถึง คลังข้อมูลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พน้ื บ้านและการแพทย์ทางเลอื กของประเทศ

การตรวจสอบความถูกต้อง ของการวิเคราะห์องค์ประกอบของเครื่องยา หมายถึง เนื้อหาจากการ
วิเคราะห์องค์ประกอบของเคร่ืองยา ตรงตามภาพต้นฉบับ หรือตรงตามเนื้อหาการถ่ายถอดอักษรจากภาพถ่าย
ต้นฉบับ รวมถึงช่ือสมุนไพร ส่วนท่ีใช้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณที่ใช้ ของสมุนไพรแต่ละชนิดในตารับ มี
ความถกู ต้องและเป็นปจั จุบนั
ขั้นตอนการดาเนินงาน : ต่อยอดการปกปูอง คุ้มครอง เฝูาระวังภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยด้ังเดิมมิให้ถูก
ละเมิด โดยดาเนินการสังคายนา วิเคราะห์องค์ประกอบของเคร่ืองยา และออกรหัสมาตรฐานตารับยาภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย ดงั นี้

1. คดั เลือกตารบั ตารา ตามประกาศกาหนดตารบั ยา/ตารายาแผนไทยของชาติ ท่ีได้รับการถ่ายถอดอกั ษรจาก
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย

2. วิเคราะห์องค์ประกอบของเครือ่ งยาตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติ
3. ตรวจสอบความถูกต้อง ของการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบของเครอื่ งยา
4. บนั ทึกข้อมูลองค์ประกอบของเครื่องยาตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติ ใน
ระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย (Thai Traditional Digital
Knowledge Library: TTDKL)
5. ตรวจสอบความถกู ต้อง ความครบถ้วนของการบนั ทึกข้อมูลองค์ประกอบของเครอื่ งยา
6. ออกรหสั มาตรฐานตารับยาภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย
ขอบเขตการประเมิน : บันทึกข้อมูลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตารับยาสมุนไพรในตารายาการแพทย์แผน
ไทยของชาติ ตั้งแตว่ ันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 มิถนุ ายน 2564

ห น้ า | 90
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข


Click to View FlipBook Version