คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 141
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 142
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายละเอียดตัวชี้วดั ตามคารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปงี บประมารณ พ.ศ. 2564
กองการแพทยท์ างเลอื ก
ประเด็นการประเมนิ ผล ตัวช้วี ดั นา้ หนกั เป้าหมาย
การปฏิบตั ิราชการ (รอ้ ยละ) (ขั้นมาตรฐาน)
ตัวช้ีวดั หน่วยงาน
การประเมนิ 1. จานวนส่อื ดา้ นการแพทย์ทางเลือกสาหรับ 10 จดั ทาส่ือ Infographic 80
ประสิทธิผลการ ประชาชนทไ่ี ด้รบั การเผยแพร่ ภาพ, ส่อื วดี ทิ ศั น์ 8 เรอ่ื ง และ
ดาเนนิ งาน เผยแพร่ลงเว็บไซตก์ อง
(Performance การแพทยท์ างเลอื ก
Base) 2. จานวนหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ทิ ใ่ี ช้ศาสตร์ 15 จานวน 6 แห่ง
การแพทย์ทางเลือกรว่ มจดั บริการ
3. จานวนชุมชนมีการดาเนนิ การส่งเสริม 15 จานวน 30 แหง่
สุขภาพและปอู งกันโรคด้วยการแพทย์ทางเลอื ก
ครบทกุ จงั หวดั
4. จานวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั ทมี่ ี 15 จานวน 6 แหง่ ครอบคลุม
การจดั บรกิ ารคลินิกคโี ตจินกิ ไดเอท 6 เขต
5. ระดับความสาเร็จของการศกึ ษาประเมนิ 15 ระดบั 2 มีการถา่ ยทอดองค์
Thailand Wellness Center เพือ่ ยกระดบั ความรู้ให้กบั ผเู้ กี่ยวขอ้ ง
การท่องเทย่ี วเชิงสขุ ภาพ (ผ้ปู ระกอบการ กลุ่มงาน
แพทย์แผนไทย)
รวม 70
ตวั ชว้ี ดั รว่ ม
การประเมนิ ศกั ยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ 8 ร้อยละ 80 – 89.99
การดาเนินงาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ
(Potential Base) หนว่ ยงาน
2. ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนาเว็บไซต์ 8 - เว็บไซตม์ อี ยา่ งน้อย 6 องคป์ ระกอบ
ของหน่วยงาน
- อัพเดตเว็บไซต์ 1 คร้ังต่อไตรมาส
3. ระดบั ความสาเร็จการประเมินดชั นมี วลกาย 8 - ครบถ้วน/ไมท่ ันเวลา
(BMI) ของบุคลากรภายในหน่วยงาน
ไม่ครบถว้ น/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 40
- นา้ หนักดีขนึ้ ร้อยละ 75
4. ระดับความสาเร็จของการประเมนิ ความ 6 มผี ลประเมินความพงึ พอใจ/ไม่พงึ
พึงพอใจ/ความไมพ่ งึ พอใจของผ้รู บั บริการและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99
ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ต่อภารกจิ หลกั ของหนว่ ยงาน
รวม 30
ห น้ า | 143
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวชีว้ ัดหน่วยงาน ตัวช้วี ัดต่อเนื่อง ตัวชวี้ ดั ใหม่ ตัวชว้ี ัดเดิม
กองการแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัดท่ี 1 : จานวนสอ่ื ดา้ นการแพทยท์ างเลือกสาหรับประชาชนทไี่ ด้รบั การเผยแพร่ นา้ หนกั
หนว่ ยวดั : จานวน (ภาพ/เรื่อง) รอ้ ยละ 10
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอื่ มโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปูองกนั โรค และคมุ้ ครองผ้บู ริโภคเป็นเลิศ
(Promotion, Prevention & Protection Excellence : PP&P Excellence )
แผนงาน/โครงการ สร้างความรอบรแู้ ละลดความเหลอ่ื มลา้ ดา้ นสขุ ภาพแกป่ ระชาชนด้วยการแพทย์แผนไทย
การแพทย์ทางเลอื ก และสมนุ ไพร
คาอธบิ าย : (นยิ าม รายละเอยี ดการดาเนินงาน ขอบเขตการประเมิน)
ส่ือด้านการแพทย์ทางเลือก หมายถึง ส่ืออินโฟกราฟฟิค, ส่ือวิดิทัศน์ท่ีผ่านการพิจารณาคัดกรอง/
ตรวจสอบโดยคณะกรรมการคัดกรองข้อมูลข่าวสารการบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพทางการแพทย์ทางเลือก
สาหรบั ประชาชน และเผยแพรผ่ ่านทางเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน และชอ่ งทางสอ่ื ออนไลน์ทไี่ ดร้ ับความนยิ ม
สถานการณ์ :
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ ปูองกัน และคุ้มครอง
ผู้บริโภคเป็นเลิศ มาตรการ/แผนงาน "ส่งเสริมและสนับสนุน สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพ่ือปรับเปล่ียน
พฤติกรรมการบริโภค" และกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง
สาธารณสุข พ.ศ. 2561 ให้กองการแพทย์ทางเลือก มีหน้าท่ีและอานาจในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาองค์
ความรู้ คัดกรองศาสตร์ ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี กาหนด พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน เสนอแนะเกี่ยวกับ
การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ทางเลือกอื่น ตลอดจนผลิตภัณฑ์ท่ีเก่ียวข้อง พัฒนา
รูปแบบ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้มีบรกิ ารการแพทยแ์ ผนจีนและการแพทย์ทางเลอื กอืน่ ผสมผสานในระบบสุขภาพ
กากับ ดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ทางเลือกอื่น ตลอดจน
ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศด้านการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ทางเลือก
กองการแพทย์ทางเลือก จึงเห็นควรดาเนินงานด้านพัฒนาฐานข้อมูลการบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ทางการแพทย์ทางเลือก ด้านบุคลากร สถานบริการ สถานศึกษา ศาสตร์การแพทย์ทางเลือก วิธีการบาบัดด้วย
การแพทย์ทางเลือก บทความวิชาการ งานวิจัย เครือข่าย ดา้ นการแพทย์ทางเลือก ตลอดจนบริการข้อมูลสุขภาพ
ด้านการแพทย์ทางเลือกด้วยส่ือความรู้ที่ประชาชนชนสามารถเข้าถึงได้ง่ายและนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม พร้อมท้ังส่ือสารผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ด้านการแพทย์ทางเลือก ให้
ประชนเขา้ ถึงได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - เผยแพรส่ อ่ื Infographic จานวน เผยแพรส่ ่อื Infographic จานวน
19 เร่ือง, สอื่ วิดีทศั น์ จานวน 0 80 เรือ่ ง, ส่อื วิดที ัศน์ จานวน 8
เรือ่ ง เร่ือง
ห น้ า | 144
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปูาหมาย เผยแพรส่ ่อื อนิ โฟ เผยแพรส่ อ่ื อินโฟ เผยแพรส่ ่อื อนิ โฟ เผยแพร่สื่ออินโฟ เผยแพร่ส่ืออนิ โฟ
กราฟคิ อย่างน้อย 90 กราฟิค อย่างนอ้ ย 90 กราฟิค อย่างน้อย 90 กราฟิค อย่างนอ้ ย 90 กราฟิค อย่างน้อย 90
ภาพ, สื่อวีดทิ ัศน์ ภาพ, สอ่ื วีดิทัศน์ ภาพ, สื่อวดี ิทศั น์ ภาพ, สอื่ วีดทิ ศั น์ ภาพ, สื่อวดี ทิ ศั น์
จานวน 9 เรอ่ื ง จานวน 9 เร่อื ง จานวน 9 เร่ือง จานวน 9 เร่อื ง จานวน 9 เร่ือง
เกณฑก์ ารประเมนิ :
เปา้ หมาย คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ขน้ั ต้น 50 จัดทาส่ือ Infographic จานวน 70 ภาพ, สื่อวีดิทัศน์ จานวน 7 เร่ือง
และเผยแพร่ลงเวปไซต์กองการแพทย์ทางเลือก
ข้ันมาตรฐาน 75 จัดทาส่ือ Infographic จานวน 80 ภาพ, ส่ือวีดิทัศน์ จานวน 8 เร่ือง
และเผยแพร่ลงเวปไซต์กองการแพทย์ทางเลือก
ขัน้ สงู 100 จัดทาสื่อ Infographic จานวน 90 ภาพ, สื่อวีดิทัศน์ จานวน 9 เรื่อง
และเผยแพร่ลงเวปไซต์กองการแพทย์ทางเลือก
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู
1 (3 เดือน) จดั ทาสือ่ Infographic จานวน 30 ภาพ,
ส่ือวดี ทิ ัศน์ จานวน 2 เร่อื ง และเผยแพรล่ ง (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) เวปไซตก์ องการแพทย์ทางเลอื ก
จดั ทาสอื่ Infographic จานวน 60 ภาพ, เวปไซตก์ องการแพทยท์ างเลอื ก
2 (6 เดือน) สือ่ วดี ิทัศน์ จานวน 6 เร่ือง และเผยแพรล่ ง
เวปไซตก์ องการแพทยท์ างเลอื ก เวปไซต์กองการแพทยท์ างเลอื ก
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) จดั ทาสอื่ Infographic จานวน 90 ภาพ,
สื่อวีดทิ ศั น์ จานวน 9 เรอื่ ง และเผยแพรล่ ง เวปไซต์กองการแพทยท์ างเลอื ก
3 (9 เดือน) เวปไซตก์ องการแพทย์ทางเลอื ก
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)
แหล่งข้อมูล : คัดสรรเนื้อหา ข้อมูล หัวข้อประเด็นด้านการแพทย์ทางเลือกท่ีน่าสนใจในช่วงเวลาน้ันๆ เพ่ือ
เผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลท่ีถูกต้อง ผ่านทางคณะกรรมการคัดกรองข้อมูลข่าวสารการบริการและ
ผลิตภณั ฑ์สุขภาพทางการแพทยท์ างเลือกสาหรับประชาชน
วิธกี ารจดั เก็บข้อมลู : เผยแพรล่ งเวปไซต์กองการแพทยท์ างเลอื ก
ประโยชนท์ ี่จะได้รบั :
1. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ระบบบริการสุขภาพด้านการแพทย์ทางเลือกได้สะดวก ถูกต้อง
และรวดเร็วมากขน้ึ
2. ประชาชนมีชอ่ งทางส่อื ทใี่ ห้ความร/ู้ ขอ้ มูลทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นการดแู ลสุขภาพด้านการแพทยท์ างเลือก
ผู้กากบั ตวั ช้วี ดั : นายองอาจ ศิรกิ ลุ พิสทุ ธ์ิ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 2615
นายแพทยช์ านาญการพเิ ศษ
ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู : นางสาวสุพินดา กิจทวี หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 2615
นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ
ห น้ า | 145
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคูม่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวชีว้ ัดหน่วยงาน ตัวชว้ี ดั ตอ่ เน่ือง ตัวชี้วัดใหม่ ตัวช้วี ัดเดิม
กองการแพทย์ทางเลอื ก
ตัวช้ีวัดท่ี 2 : จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ใช้ศาสตร์การแพทย์ทางเลือกร่วม นา้ หนกั
จัดบริการ รอ้ ยละ 15
หน่วยวดั : จานวน (แห่ง)
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน
คาอธบิ าย :
หน่วยบริการระดับปฐมภูมิ (Primary care) หมายถงึ หน่วยบริการหรือเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพ
ระดับปฐมภูมทิ ขี่ น้ึ ทะเบยี นโดยมีแพทยป์ ระจาครอบครวั และเปิดให้มบี รกิ ารประชาชนในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบ
การแพทย์แผนไทย หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์เก่ียวกับการตรวจ วินิจฉัย บาบัด รักษา หรือ
ปูองกันโรค หรือส่งเสริมและฟ้ืนฟูสภาพของมนุษย์หรือสัตว์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และให้หมายความ
รวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเคร่ืองมือทางการแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัย
ความร้หู รอื ตาราทไี่ ดส้ บื ทอดและพฒั นาสบื ต่อกนั มา
การแพทย์ทางเลือก หมายถึง การนาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อันได้แก่
องค์ความรู้ของแพทย์แผนปัจจุบันด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาพ การแพทย์แผนจีน(การฝังเข็ม) ธรรมชาติบาบัด
เวชกรรมไทย การแพทย์โฮมีโอพาธีย์ หัตถบาบัด การแพทย์ทางกายและจิต การใช้อาหาร การใช้วิตามินบาบัด
การแพทย์ในระดับเซลล์เพ่ือการรักษาและฟ้ืนฟูสุขภาพที่เป็นการเฉพาะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดย
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือกแบบต่างๆ
สถานการณ์ :
การร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการปฐมภูมิ เร่ิมดาเนินการในปีงบประมาณ 2562 โดยมี
การนาร่องร่วมจัดบริการ เขตละ 1 แห่ง ปีงบประมาณ 2563 มีการร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือก ในหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ จานวน 33 แห่ง
ข้อมูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย 12 24 50 100 -
ห น้ า | 146
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
50 3 แห่ง
เปา้ หมาย 75 6 แห่ง
ขน้ั ตน้ 100 12 แห่ง
ข้ันมาตรฐาน
ขัน้ สงู
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู
(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
1 (3 เดือน) มีรายช่ือหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมจัดบริการ รายช่ือหน่วยบริการปฐมภมู ิ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2 (6 เดือน) มีก าร เข้าสู่กร ะบวนการร่วมจัดบริการ หนังสือขออนุมัติจัดประชมุ ชี้แจง
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เช่น ประชุมชี้แจงให้
คาปรึกษาพื้นที่ เป็นต้น (บูรณาการร่วมกับ
สถาบันการแพทย์แผนไทย)
3 (9 เดือน) จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมจัดบริการ รายชื่อหน่วยบริการปฐมภูมิ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
12 แห่ง ครอบคลุมทุกเขต
แหลง่ ข้อมูล : กองการแพทย์ทางเลือก และกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สถาบันการแพทย์แผนไทย
วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู : รวบรวมรายชอ่ื หน่วยบรกิ ารปฐมภูมทิ ีม่ กี ารจดั บรกิ ารด้านการแพทยแ์ ผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือกจากกลุม่ เปูาหมาย
ประโยชนท์ ี่จะได้รบั :
ประชาชนเขา้ ถึงการดแู ลสขุ ภาพด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือกท่ีมคี ุณภาพ
ผกู้ ากับตวั ช้วี ดั : นางสไี พร พลอยทรัพย์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 2605
นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการพิเศษ
ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มูล : นางสาวทัศนีเวศ ยะโส หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 260
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
ห น้ า | 147
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชวี้ ดั หนว่ ยงาน ตวั ชว้ี ดั ต่อเนื่อง ตวั ช้ีวัดใหม่ ตัวชี้วัดเดิม
กองการแพทยท์ างเลือก
ตัวช้ีวัดท่ี 3 : จานวนชมุ ชนมกี ารดาเนนิ การส่งเสรมิ สขุ ภาพและปอู งกันโรคดว้ ย นา้ หนัก
การแพทยท์ างเลอื กครบทุกจงั หวดั รอ้ ยละ 15
หนว่ ยวดั : จานวน (แห่ง)
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกับแผนปฏบิ ัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสรมิ สุขภาพ ปูองกันโรค และคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเป็นเลิศ
(Promotion, Prevention & Protection Excellence : PP&P Excellence )
แผนงาน/โครงการ สรา้ งความรอบรู้และลดความเหลือ่ มลา้ ด้านสุขภาพแกป่ ระชาชนดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทย
การแพทย์ทางเลือก และสมนุ ไพร
คาอธบิ าย :
การสร้างเสรมิ สุขภาพและปอ้ งกันโรคด้วยการแพทยท์ างเลือก หมายถงึ การส่งเสริมสขุ ภาพและปอู งกัน
โรคประชากรทุกกลุ่มวัยด้วยการแพทย์ทางเลือก โดยเน้นการส่งเสริมในการใช้แพทย์ทางเลือก สมาธิบาบัด
มณีเวช และสมนุ ไพรในการดแู ลสขุ ภาพ
สถานการณ์ :
กองการแพทย์ทางเลอื กไดด้ าเนินงานส่งเสรมิ สขุ ภาพและปอู งกันโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือกให้ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย เช่น กลุ่มวัยแม่และเด็ก (การเตรียมความพร้อมของหญิงตั้งครรภ์/
การให้นมบุตร/หลังคลอด) กลุ่มวัยเรียน (การใช้สมุนไพร/การใช้โปรแกรมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย) กลุ่มวัย
ทางาน (การใช้สมุนไพรในการปูองกันโรค) กลุ่มวัยผู้สูงอายุ (การใช้การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ
การผสมผสาน) ซึ่งจะช่วยให้ประชากรทุกกลุ่มวัยมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประชาชนมีความสุข
มพี ฤตกิ รรมดา้ นสขุ ภาพทเี่ หมาะสม สามารถพง่ึ พาตนเองดา้ นสุขภาพได้อย่างยัง่ ยนื
ขอ้ มลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - 12 จังหวัด 24 จงั หวดั
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
คา่ เปูาหมาย 76 จังหวัด - - - -
เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ขนั้ ต้น ชมุ ชนมกี ารส่งเสรมิ สขุ ภาพและปอู งกันโรคด้วยการแพทย์ทางเลือก
75 จานวน 10 แหง่
ขน้ั มาตรฐาน
ชุมชนมกี ารสง่ เสรมิ สุขภาพและปูองกันโรคด้วยการแพทยท์ างเลือก
จานวน 30 แหง่
ห น้ า | 148
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เปา้ หมาย ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ขน้ั สูง
100 ชุมชนมกี ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอู งกนั โรคดว้ ยการแพทยท์ างเลอื กครบ
ทกุ จังหวัด
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมูล
1 (3 เดือน) ชมุ ชนมีการสง่ เสรมิ สุขภาพและปอู งกันโรคดว้ ย (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
การแพทย์ทางเลอื ก จานวน 10 แห่ง
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) รายช่ือชุมชนทส่ี ง่ เสริมสุขภาพและ
ชมุ ชนมกี ารส่งเสริมสขุ ภาพและปูองกนั โรคด้วย ปอู งกันโรคด้วยการแพทย์ทางเลอื ก
2 (6 เดือน) การแพทย์ทางเลอื ก จานวน 30 แหง่
รายช่ือชมุ ชนทสี่ ง่ เสรมิ สขุ ภาพและ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ชมุ ชนมีการส่งเสรมิ สขุ ภาพและปอู งกนั โรคดว้ ย ปอู งกันโรคดว้ ยการแพทย์ทางเลอื ก
การแพทยท์ างเลอื กครบทุกจงั หวดั
3 (9 เดือน) รายชื่อจังหวัดท่ีมีการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
และปูองกนั โรคด้วยการแพทย์
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ทางเลือกครบทุกจงั หวัด
แหลง่ ขอ้ มลู : เวปไซต์กองการแพทย์ทางเลือก
วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมูล : ใช้สื่อโซเชยี ลมเี ดยี ในการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน
ประโยชน์ที่จะได้รับ : 1. มศี าสตร์การแพทยท์ างเลอื กในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามบรบิ ทพ้นื ท่ี
2. ทุกกลุ่มวยั สามารถส่งเสริมสุขภาพ และปูองกันโรคดว้ ยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือก
ผ้กู ากบั ตวั ช้วี ดั : นางสีไพร พลอยทรพั ย์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 2605
นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ
ผจู้ ดั เกบ็ ขอ้ มลู : นางจิรภฎา วนิชอังกูร หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 260
นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ
ห น้ า | 149
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวชี้วดั หน่วยงาน ตัวชีว้ ัดต่อเนอื่ ง ตวั ช้ีวดั ใหม่ ตวั ชี้วัดเดมิ
กองการแพทย์ทางเลือก
ตัวช้ีวัดที่ 4 : จานวนหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั ทม่ี ีการจดั บรกิ ารคลินกิ คีโตจินิก ไดเอท นา้ หนกั
หน่วยวดั : จานวน (แห่ง) รอ้ ยละ 15
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏบิ ตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บริการเปน็ เลิศ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน
คาอธบิ าย :
สถานบรกิ ารของรัฐ ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลชมุ ชน
คีโตจินิก ไดเอท หมายถึง รูปแบบการบริโภคอาหารท่ีมาจากการเลียนแบบผลท่ีไดจากทางชีวเคมีของ
วิธีการอดอาหาร (Fasting หรอื Starvation)
สถานการณ์ :
ปัจจุบันทั่วโลกมีความต้องการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยแนวทางธรรมชาติมากขึ้น เช่น การสร้าง
เสริมสุขภาพให้แข็งแรงด้วยผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การใช้ยาจากสมุนไพรในการรักษาโรค เป็นต้น ประกอบกับ
สภาพปัญหาเก่ียวกับภาวะสุขภาพเกิดการเปล่ียนแปลงไป แบบแผนการเจ็บปุวยและการเสียชีวิตซึ่งมีการเปลี่ยน
จากโรคติดต่อมาเป็นโรคไม่ติดต่อ ซึ่งโรคดังกล่าวเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพท่ีไม่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น โรคอ้วน/
โรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ มะเร็ง ฯลฯ และจากผลการสารวจสุขภาพคนไทยโดยการตรวจ
รา่ งกาย (สถิตสิ าธารณสุข, 2557 ) พบวา่ ประชากรไทยมักไม่รู้ตวั วา่ เป็นโรคเรื้อรัง (กลุ่มโรคไม่ติดต่อ) หรือกลุ่มท่ีรู้
ว่าเป็นโรคเรื้อรังนั้นส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุมอาการและดูแลรักษาตนเองได้อย่างถูกต้อง ซึ่งภาวะดังกล่าว
นามาซ่ึงภาวะทุพพลภาพในท่ีสุดทาให้มีภาวะพ่ึงพิงในการดารงชีวิต และต้องการได้รับการดูแลจากบุคคลใน
ครอบครัวหรือสังคมต่อไป และเม่ือเกิดภาวการณ์เจ็บปุวยส่วนใหญ่มักจะไปหาแพทย์เพอื่ ให้หายจากความเจ็บปวุ ย
และเมือ่ พดู ถึงเร่อื งสุขภาพและความเจ็บปวุ ยก็จะนึกถงึ แพทย์ โรงพยาบาล รวมทง้ั เคร่อื งมือทางการแพทย์
มีการศึกษาวิจัยคีโตจินิก ไดเอท เป็นที่ยอมรับเชิงประจักษ์ ต้ังแต่ คศ. ที่ 19 และปัจจุบันได้รับ
ความนิยมนามาใชเ้ ปน็ อาหารเพื่อลดน้าหนัก และลดน้าตาลในเลือดเปน็ จานวนมาก การรับประทานคีโตให้ได้ผล
เต็มท่ีนั้น จาเป็นต้องมีการวางแผนสัดส่วนการบริโภคอาหารและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดอย่างต่อเนื่อง ในการ
จัดบริการคีโตจินิก ไดเอท จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีทาให้ผู้ปุวยเข้าถึงข้อมูลองค์ความรู้อย่างถูกต้องตามหลัก
วิชาการ ซงึ่ จะเกิดผลประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ประชาชน
ข้อมูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย 12 24 50 76 -
ห น้ า | 150
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ขน้ั ตน้ สถานบรกิ ารของรฐั ท่มี ีการจดั บริการคลินกิ คีโตจินิกไดเอท จานวน
75 3 แห่ง ครอบคลุม 3 เขต
ข้นั มาตรฐาน
100 สถานบริการของรฐั ทม่ี ีการจดั บรกิ ารคลินกิ คโี ตจินกิ ไดเอท จานวน
ขัน้ สูง 6 แห่ง ครอบคลุม 6 เขต
สถานบริการของรัฐที่มกี ารจดั บริการคลนิ กิ คีโตจนิ ิกไดเอท จานวน
12 แหง่ ครอบคลุม 12 เขต
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
1 (3 เดือน) ประชุมคัดเลือกพ้ืนท่ีเปูาหมายการดาเนินการ (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) จัดประชมุ ถ่ายทอดแนวทางในการจัดบริการ รายช่ือพื้นท่ีเปูาหมายการดาเนินการ
ผ่านระบบออนไลน์
2 (6 เดือน) สถานบริการของรัฐที่มกี ารจดั บริการคลินกิ คีโต รายชื่อสถานบรกิ ารของรฐั ท่ีเข้าร่วม
จินิกไดเอท จานวน 12 แห่ง การประชุม
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) รายชื่อสถานบรกิ ารของรฐั ทม่ี ีการ
จดั บรกิ ารคลินิกคีโตจนิ กิ ไดเอท
3 (9 เดือน)
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)
แหลง่ ข้อมูล : รายงานการประชมุ , รายช่ือโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลท่ัวไป ที่มีบรกิ ารคลนิ กิ คีโตจนิ ิกไดเอท
วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู : ตดิ ตามผลการดาเนินงานในพืน้ ทีผ่ ่านระบบออนไลน์
ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการคีโตจินิก ไดเอท ได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และมี
ประสิทธิภาพ
ผูก้ ากบั ตวั ช้วี ดั : นางสไี พร พลอยทรัพย์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 2605
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการพเิ ศษ
ผู้จดั เกบ็ ข้อมูล : นางสาวสุธาสินี ไถวศลิ ป์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 260
นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั ิการ
ห น้ า | 151
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชี้วัดหนว่ ยงาน ตัวชี้วัดต่อเนื่อง ตัวชว้ี ดั ใหม่ ตัวชวี้ ัดเดิม
กองการแพทยท์ างเลือก
ตัวช้ีวัดท่ี 5 : ระดับความสาเร็จของการศกึ ษาประเมนิ Thailand Wellness Center น้าหนกั
เพื่อยกระดับการทอ่ งเท่ยี วเชิงสขุ ภาพ ร้อยละ 15
หน่วยวดั : ระดับความสาเร็จ
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ยกระดับการท่องเทยี่ วเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยครบวงจร
คาอธบิ าย :
Thailand Wellness Center หมายถึง หนว่ ยงานท่ใี หก้ ารส่งเสรมิ สขุ ภาพและปูองกันโรค ทนี่ าความรู้
ทางการแพทย์มากกว่าหนึ่งแบบแผนมาประยกุ ตใ์ ห้บรกิ าร โดยมงุ่ หมายเกิดให้สขุ ภาวะที่ดี ท้งั รา่ งกายและจิตใจ
สถานการณ์ :
ตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) กาหนดใหม้ ีการดาเนินงานโดยมีประเดน็ การท่องเท่ียว
เชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ซ่ึงถือเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ
จากการท่องเท่ียว ซึ่งรายได้จากากรท่องเที่ยวของไทยมีบทบาทสาคัญมากถึงร้อยละ 17 ของ GDP เม่ือพจิ ารณา
ศักยภาพของประเทศไทยจาก The Travel & Tourism Competitiveness Report เม่ือปี 2019 พบว่า ประเทศ
ไทยมีความสามารถในการแข่งขันดา้ นการเดินทางและการท่องเท่ียวเป็นอันดับที่ 31 ของโลก และเป็นอันดับท่ี 7
ของเอเชีย และปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวของแต่ละบุคคลเร่ิมให้ความสาคัญในเร่ืองการดูแลสุขภาพและ
การเข้าถึงวัฒนธรรมท้องถ่ินมากข้ึน จึงทาให้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยได้รับ
ความสาคัญเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนาต้นแบบของหน่วยบริการสุขภาพ
เพอ่ื รองรับการท่องเที่ยวทมี่ ีคุณภาพ มาตรฐาน ภายใต้อัตลักษณ์ของความเป็นไทย จึงเป็นแนวทางสาคัญท่ีตอ้ งเร่ง
ดาเนินการให้เกิดเป็นรูปธรรม โดยมีการศึกษา ต่อยอด และพฒั นารูปแบบบรกิ าร (Thai Integrative Medicine
Wellness Program) ท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน และมีความเป็นอตั ลักษณ์รองรับนักท่องเท่ียว ผา่ นการท่องเที่ยว เชงิ
สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย เพือ่ ใหเ้ กดิ ความมงั่ คั่งกบั ประเทศอย่างยั่งยนื
อย่างไรก็ตาม การส่งเสริมให้เกิดการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยที่มีความย่ังยืน
จาเป็นต้องมีการศึกษารูปแบบบริการ (Thai Integrative Medicine Wellness Program) เพือ่ รองรับการ
ท่องเท่ยี วให้มีคุณภาพ มาตรฐาน ภายใต้อัตลักษณ์ของความเป็นไทยร่วมด้วย ผ่านการดาเนินงานทั้งในพื้นที่เมือง
ทอ่ งเทยี่ วหลักและเมืองท่องเท่ยี วรองเพอื่ เป็นการกระจายรายไดใ้ หแ้ กก่ ารทอ่ งเทยี่ วอย่างทวั่ ถงึ เช่นกัน
ข้อมูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - - - -
ห น้ า | 152
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนระยะยาว / Road Map : 2565 2566 2567 2568
ปงี บประมาณ 2564 24 แห่ง 50 แหง่ 76 แหง่ 100 แห่ง
ค่าเปูาหมาย 12 แหง่
เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50 ระดบั 1 มีหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ Thailand Wellness Center
ขนั้ ต้น 75
ขนั้ มาตรฐาน ระดับ 2 มกี ารถ่ายทอดองค์ความรู้ใหก้ บั ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
100 (ผูป้ ระกอบการ กลมุ่ งานแพทย์แผนไทย)
ข้ันสูง
ระดบั 3 มกี ารประเมิน Thailand Wellness Center ครบ 12
แห่ง
เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู
(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
1 (3 เดือน) มี (ร่าง) หลักเกณฑ์การประเมิน Thailand (ร่าง) หลักเกณฑ์การประเมนิ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) Wellness Center Thailand Wellness Center
2 (6 เดือน) มีการจัดสัมมนาวิชาการ เรื่องการยกระดบั การ 1. หนังสือขออนุมัติจัดสัมมนา
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์ วิชาการ
แผนไทยครบวงจร ผ่านระบบ zoom 2. รายช่ือผู้เข้ารับการอบรมสัมมนา
meeting วิชาการ
3 (9 เดือน) มีผลการประเมิน Thailand Wellness ผลการประเมิน Thailand
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) Center ครบ 12 เขต Wellness Center ครบ 12 เขต
แหลง่ ขอ้ มูล : ผลการประเมินศูนย์สุขภาพดีจากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมูล : แบบผลการประเมิน Thailand Wellness Center ครบ 5 เขต
ประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ ับ :
1. มีตน้ แบบ Thailand Wellness Center ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภยั แก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว
ภายใต้อัตลักษณ์เฉพาะความเป็นไทย ตลอดจนสามารถเป็นต้นแบบให้กับสถานบริการ/สถานประกอบการอื่น
เพื่อนาไปใชใ้ นการสรา้ งรายได้ให้กับนักทอ่ งเทยี่ วท้งั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ
2. ประชาชนและนักท่องเท่ียวมีทางเลือกเพ่ิมข้ึนในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
ทีไ่ ด้รับการส่งเสรมิ และพัฒนาให้ได้คุณภาพมาตรฐาน
ผ้กู ากบั ตวั ชีว้ ดั : นางพนั ทิพา พงศ์กาสอ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ต่อ 2603
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชานาญการพเิ ศษ
ผจู้ ัดเกบ็ ข้อมูล : นางสาวอรุ จั ฉัท วชิ ยั ดิษฐ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2591 7007 ตอ่ 2603
นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ
ห น้ า | 153
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
2. กองพัฒนายาแผนไทยและสมนุ ไพร
ห น้ า | 154
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 155
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 156
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายละเอยี ดตัวชีว้ ัดตามคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการ ประจาปงี บประมารณ พ.ศ. 2564
กองพัฒนายาแผนไทยและสมนุ ไพร
ประเดน็ การประเมนิ ผล ตวั ชี้วดั นา้ หนัก เปา้ หมาย
การปฏิบตั ิราชการ (ร้อยละ) (ขั้นมาตรฐาน)
ตัวช้วี ดั หนว่ ยงาน
การประเมนิ 1. จานวนนา้ มันกัญชาท่ีผลติ เพือ่ งานวิจยั ทาง 25 น้ามันกัญชา จานวน 200,000 ขวด
ประสิทธิผลการ การแพทย์
ดาเนินงาน ตารบั เมตตาโอสถ จานวน 950 ขวด
(Performance 2. จานวน (ร่าง) มาตรฐานสารสกดั สมุนไพร ตารบั การณุ ยโ์ อสถ จานวน 950 ขวด
Base)
25 ร่างมาตรฐานสารสกัด
สมุนไพร จานวน ๒ ร่าง (สาร
สกัดบุก สารสกัดนา้ มันงาดา)
3. จานวนผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรท่ีมีกญั ชงเปน็ 20 ผลติ ภัณฑส์ มุนไพรทีม่ ีกัญชา
ส่วนผสม เปน็ ส่วนผสม จานวน 2
ผลติ ภณั ฑ์
รวม 70
ตัวชวี้ ดั รว่ ม
การประเมนิ ศักยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบกิ จา่ ยงบประมาณ 8 รอ้ ยละ 80 – 89.99
การดาเนนิ งาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ
(Potential Base) หนว่ ยงาน
2. ระดับความสาเร็จของการพฒั นาเว็บไซต์ 8 - เวบ็ ไซต์มอี ยา่ งน้อย 6 องคป์ ระกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อพั เดตเว็บไซต์ 1 คร้ังต่อไตรมาส
3. ระดบั ความสาเรจ็ การประเมนิ ดัชนีมวลกาย 8 - ครบถว้ น/ไม่ทันเวลา
(BMI) ของบคุ ลากรภายในหนว่ ยงาน
ไม่ครบถว้ น/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 40
- นา้ หนกั ดีขึ้น ร้อยละ 75
4. ระดบั ความสาเร็จของการประเมินความ 6 มีผลประเมนิ ความพงึ พอใจ/ไมพ่ ึง
พงึ พอใจ/ความไม่พึงพอใจของผู้รบั บริการและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99
ผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย ต่อภารกิจหลกั ของหนว่ ยงาน
รวม 30
ห น้ า | 157
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชว้ี ดั หนว่ ยงาน ตัวช้ีวัดต่อเน่อื ง ตวั ชว้ี ดั ใหม่ ตวั ชว้ี ัดเดมิ
กองพฒั นายาแผนไทยและสมุนไพร
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 : จานวนน้ามนั กญั ชาทีผ่ ลิตเพือ่ งานวิจัยทางการแพทย์ น้าหนกั
หนว่ ยวดั : จานวน (ขวด) รอ้ ยละ 25
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกบั แผนปฏบิ ัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั เปน็ เลศิ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ขบั เคลื่อนกัญชา กัญชง กระท่อม ทางการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์ทางเลอื กและ
การแพทย์พ้ืนบ้านไทย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
คาอธบิ าย :
น้ามันกัญชา หมายถึง น้ามันที่มีส่วนประกอบของกัญชา ที่ผลิตจากตารับยาหมอพื้นบ้านสูตรอาจารย์
เดชา ตารับเมตตาโอสถ ตารับการุณย์โอสถ ผลิตเพ่ืองานวิจัยติดตามลักษณะการใช้และคุณภาพชีวิตของผู้ใชน้ ้ามัน
กัญชาในทางการแพทย์ไทยและการแพทย์ทางเลือก ในโรงพยาบาล 21 แห่ง ไดแ้ ก่ 1. รพ. เด่นชยั จ.แพร่ 2. รพ.เถิน
จ.ลาปาง 3. รพ.ตากฟูา จ.นครสวรรค์ 4. รพ.หนองฉาง จ.อุทัยทานี 5. รพ.ดอนตูม จ.นครปฐม 6. รพ.สวนผ้ึง
จ.ราชบุรี 7. รพ.เฉลิมพระเกียรติฯ จ.ระยอง 8. รพ.พล จ.ขอนแก่น 9. รพ.ห้วยเกิ้ง จ.อุดรธานี 10. รพ.คูเมือง
จ.บุรีรัมย์ 11. รพ.พนา จ.อานาจเจริญ 12.รพ.ท่าฉาง จ.สุราษฏร์ธานี 13. รพ.ปุาบอน จ.พัทลุง 14.รพ.การแพทย์
แผนไทยฯ กทม. 15. รพร.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี 16. รพ.หนองบัวลาภู จ.หนองบัวลาภู 17. รพ.ศรีประจันต์
จ.สุพรรณบุรี 18. รพ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก 19. รพร.นครไทย จ.พิษณุโลก 20 รพ.พระอาจารฟั่นฯ จ.สกลนคร
21. รพ.วานรนวิ าส จ.สกลนคร 22. รพร.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
สถานการณ์ :
ปี 2563 ได้ผลิตน้ามันกัญชาจากตารับยาหมอพ้ืนบ้านสูตรอาจารย์เดชา จานวน 300,000 ขวด เพ่ือส่ง
ต่อให้กับ รพ. ในโครงการ จานวน 30 แห่ง ๆ เพ่ือศึกษาวิจัยติดตามลกั ษณะการใช้และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้น้ามัน
กัญชา ตารับเมตาโอสถ จานวน 300 ขวด และการุณย์โอสถ 150 ขวด เพ่ือส่งให้คลินิกกัญชากรมการแพทย์แผน
ไทยใชใ้ นการบรหิ ารชอ่ งทางพิเศษแบบ SAS
ปี 2564 ได้รับงบประมาณเพื่อผลิตน้ามันกัญชาตารับยาหมอพื้นบ้านสูตรอาจารย์เดชาจานวน 240,000
ขวด ตารับเมตตาโอสถและตารบั การุณย์โอสถ จานวน 1000 ขวด เพ่อื การศกึ ษาวิจัยฯ ตอ่ ไป
ข้อมูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน นา้ มนั กญั ชา นา้ มันกญั ชาตารับเดชา 300,000
ตารบั เดชา ตารบั เมตตาโอสถ จานวน 300 ขวด
แผนระยะยาว / Road Map : 20,000 ขวด ตารบั การุณย์โอสถ จานวน 300 ขวด
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย น้ามนั กญั ชา จานวน 200,000
ขวด /ตารบั เมตตาโอสถ จานวน
1,000 ขวด /ตารบั การณุ ย์
โอสถ จานวน 1,000 ขวด
ห น้ า | 158
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ข้ันตน้ นา้ มันกัญชา จานวน 180,000 ขวด
75 ตารับเมตตาโอสถ จานวน 900 ขวด
ขั้นมาตรฐาน ตารับการุณยโ์ อสถ จานวน 900 ขวด
100
ข้ันสูง นา้ มนั กัญชา จานวน 200,000 ขวด
ตารับเมตตาโอสถ จานวน 950 ขวด
ตารบั การณุ ย์โอสถ จานวน 950 ขวด
นา้ มนั กัญชา จานวน 220,000 ขวด
ตารบั เมตตาโอสถ จานวน 1,000 ขวด
ตารบั การุณยโ์ อสถ จานวน 1,000 ขวด
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
1 (3 เดือน) ผลิตนา้ มันกญั ชา จานวน 180,000 ขวด (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ผลิตนา้ มนั กัญชา จานวน 200,000 ขวด เอกสารรายงานการผลติ น้ามนั กญั ชา
สตู รเดชา
2 (6 เดือน) ผลิตน้ามนั กัญชา จานวน 220,000 ขวด
ผลิตตารบั เมตตาโอสถ จานวน 1,000 ขวด เอกสารรายงานการผลติ น้ามนั กัญชา
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ผลิตตารบั การุณยโ์ อสถ จานวน 1,000 ขวด สูตรเดชา
3 (9 เดือน) เอกสารรายงานการผลติ นา้ มนั กญั ชา
สูตรเดชา เมตตาโอสถ และการณุ ย์
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) โอสถ
แหลง่ ขอ้ มลู : กองพฒั นายาแผนไทยและสมนุ ไพร
วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล : รวบรวมขอ้ มลู จากรายงานการผลติ
ประโยชน์ทีจ่ ะได้รบั : 1. ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์น้ามนั กญั ชา ทมี่ คี ุณภาพตามขอ้ กาหนดมาตรฐาน
2. ส่งมอบผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาให้โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือก และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องเพื่อใช้ประโยชนท์ างการแพทย์แผนไทยและการวจิ ยั ทางคลนิ กิ ตอ่ ไป
ผู้กากบั ตวั ชว้ี ดั : นายวทิ ูรย์ ยวงสะอาด หมายเลขโทรศพั ท์ 081-8135836
นกั วิทยาศาสตร์ ชานาญการ
ผู้จัดเกบ็ ขอ้ มูล : นางสาวธรี าธร สังหร่าย หมายเลขโทรศัพท์ 064-9376555
เภสชั กรปฏิบตั ิการ
ห น้ า | 159
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้วี ดั หน่วยงาน ตัวชี้วดั ตอ่ เน่อื ง ตัวชว้ี ดั ใหม่ ตวั ช้ีวัดเดมิ
กองพฒั นายาแผนไทยและสมุนไพร
ตัวชี้วัดท่ี 2 : จานวน (ร่าง) มาตรฐานสารสกัดสมุนไพร น้าหนัก
หนว่ ยวดั : จานวน (ร่าง) รอ้ ยละ 25
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั เป็นเลิศ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการพัฒนาอตุ สาหกรรมสมุนไพรแบบครบวงจรเพ่อื เศรษฐกจิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
คาอธบิ าย :
ร่างมาตรฐาน หมายถงึ เอกสารที่ถือเปน็ หลกั สาหรบั เทยี บกาหนดในด้านปริมาณ และคณุ ภาพ
สมุนไพร หมายถึง ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และแร่ธาตุ ท่ีใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอ่ืนตาม
ตารบั ยา เพอื่ บาบดั โรค บารุง รา่ งกาย หรือใช้เปน็ ยาพิษ
ภายหลังจากจัดทาร่างฯ เสร็จแล้วจะส่งต่อให้กับทางสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนาไป
พจิ ารณาเพื่อประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ต่อไป
สถานการณ์ :
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 : 1. สารสกัดขม้ินชันผง ที่มีสารเคอร์คูมินอยด์รวมไม่น้อยกว่า 80%
โดยมวล (มอก.2926-2561) 2. สารสกัดโอลีโอเรซินของขมิ้นชัน ท่ีมีสารเคอร์คูมินอยด์รวมไม่น้อยกว่า 20%
โดยมวล (มอก.2927-2561)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 : 1. สารสกัดฟูาทะลายโจรผง (มอก.2928-2562) 2. น้ามันหอมระเหย
ไพล (มอก.1679-2562) 3. น้ามนั หอมระเหยกานพลู (มอก.1680-2562) 4. น้ามนั หอมระเหยตะไคร้ (มอก.
1681-2562) 5. น้ามันหอมระเหยผิวมะกรูด (มอก.2078-2562) 6. น้ามันหอมระเหยใบมะกรูด (มอก.
2079-2562)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : 1. น้ามันหอมระเหยตะไคร้หอมศรีลังกา (มอก.3020-2563) 2. น้ามัน
หอมระเหยตะไคร้หอมชวา (มอก.3031-2563) 3. สารสกัดกระชายดาผง (มอก.3013-2563)
ขอ้ มลู พนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - 8 ร่าง 3 ร่าง 3 ร่าง
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
คา่ เปูาหมาย 3 ร่าง - - - -
ห น้ า | 160
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ข้นั ต้น ร่างมาตรฐานสารสกัดสมุนไพร จานวน 2 ร่าง (สารสกัดบุก สาร
75 สกัดน้ามันงาดา)
ขั้นมาตรฐาน
100 ร่างมาตรฐานสารสกัดสมุนไพร จานวน ๒ ร่าง (สารสกัดบุก สาร
ขัน้ สงู สกัดนา้ มันงาดา)
ร่างมาตรฐานสารสกัดสมุนไพร จานวน 3 ร่าง (สารสกัดบุก
สารสกัดนา้ มันงาดา และสารสกัดงาข้ีม่อน)
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
1 (3 เดือน) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณาจดั ทารา่ ง (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
มาตรฐาน
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) เอกสารคาสง่ั แตง่ ตัง้ คณะทางาน
ประชมุ คณะกรรมการพิจารณาจัดทารา่ ง
2 (6 เดือน) อยา่ งนอ้ ย 3 ครงั้ รายงานการประชมุ คณะกรรมการ
วิชาการ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) (ร่าง) มาตรฐานสารสกัดสมุนไพร จานวน (รา่ ง) มาตรฐานสารสกัดสมุนไพร
3 รา่ ง หนังสือสง่ เอกสารให้กบั สานักงาน
3 (9 เดือน) มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)
วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู :
1. รวบรวมขอ้ มลู ผลการตรวจวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบทางเคมี
2. สงั เคราะหข์ อ้ มูลและจดั ทาร่างมาตรฐานฯ
3. จดั ทาเอกสารรายงานการประชมุ
ประโยชนท์ ่ีจะได้รบั :
1. เพื่อลดการนาเข้าสารสกดั สมนุ ไพรจากต่างประเทศ
2. เพ่มิ ส่งเสรมิ เกษตรการผปู้ ลุกสมนุ ไพรให้มีรายได้เพ่มิ ข้นึ
3. เพอ่ื ให้เกิดการเจรจาต่อรองทง่ี า่ ยและรวดเรว็ ในการสง่ ออกสารสกัดสมนุ ไพร
ผกู้ ากบั ตวั ช้ีวดั : นายวทิ ูรย์ ยวงสะอาด หมายเลขโทรศพั ท์ 081-8135836
นกั วทิ ยาศาสตร์ ชานาญการ
ผ้จู ัดเกบ็ ขอ้ มูล : นางสาวกฤษณา สุพรรณ หมายเลขโทรศพั ท์ 085-4050216
นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ
ห น้ า | 161
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชว้ี ัดหนว่ ยงาน ตัวช้ีวัดตอ่ เน่ือง ตัวชี้วัดใหม่ ตวั ชวี้ ัดเดมิ
กองพฒั นายาแผนไทยและสมุนไพร
ตัวชี้วัดท่ี 3 : จานวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีกัญชงเป็นส่วนผสม นา้ หนัก
หน่วยวดั : จานวน (ผลิตภัณฑ์) รอ้ ยละ 20
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกับแผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งความสามารถในการแข่งขันเปน็ เลศิ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการขบั เคลอ่ื นกญั ชา กญั ชง กระท่อม ทางการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยท์ างเลอื กและการแพทย์
พนื้ บา้ นไทย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
คาอธบิ าย :
กัญชง หรือ เฮมพ (Cannabis sativa L.subsp. sativa) เป็นพืชในตระกูลเดียวกับกัญชา แต่มีสารที่
ทาให้มีนเมาเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC) น้อยมากหรือไม่มีเลย แต่จะมีสารแคนนาบิไดอัล (CBD) สูง ทาให้
กญั ชงไมท่ าให้มนึ เมา ปัจจบุ นั กฎหมายไทยกาหนด กัญชงต้องมสี าร THC ไมเ่ กนิ 1 %
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร หมายถึง การนาส่วนของพืชสมุนไพรมาผสม ปรุง หรือแปรสภาพอื่นๆ เช่น
บดละเอียด โดยการเปลี่ยนแปลงสถานะของสมุนไพร ให้แตกต่างไปจากเดิม เพ่ือประโยชน์ในการใช้งานท่ี
หลากหลายมากข้ึน
สถานการณ์ :
แนวโน้มการนากัญชงมาใช้ในผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพ่ิมมากข้ึนเน่ืองจากข้อกาหนดทางกฎหมายเปิดกว้าง
มากกวา่ กญั ชา และผลติ ภัณฑจ์ ากตา่ งประเทศก็มีการนา CBD จากกัญชง มีหลากหลายผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้เกิดการ
ส่งเสรมิ และสนบั สนุนแกผ่ ปู้ ระกอบการภายในประเทศได้มีการพฒั นาผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้พัฒนาผลิตภัณฑ์จากกัญชงเพื่อส่งเสริมและเพิ่มช่องทาง
ตลาดผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพกัญชงในระดบั อตุ สาหกรรม ซ่ึงจะเรม่ิ ดาเนนิ การผลิตในปี 2563
ข้อมูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
คา่ เปูาหมาย ผลติ ภัณฑ์
สมนุ ไพรท่ีมกี ญั ชา
เป็นส่วนผสม
จานวน 3
ผลิตภณั ฑ์
ห น้ า | 162
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมนิ :
เปา้ หมาย คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ข้นั ต้น 50 ผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรท่ีมกี ญั ชาเป็นส่วนผสม จานวน 1 ผลติ ภัณฑ์
ข้ันมาตรฐาน 75 ผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรท่มี กี ญั ชาเป็นส่วนผสม จานวน 2 ผลติ ภัณฑ์
ขน้ั สูง 100 ผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรที่มีกญั ชาเปน็ ส่วนผสม จานวน 3 ผลิตภัณฑ์
และถ่ายทอดองค์ความรู้ดา้ นการผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากกัญชง
เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
1 (3 เดือน) จดั หาแหลง่ วัตถดุ ิบกญั ชงทีเ่ หมาะสมต่อการนาไปพัฒนา เอกสารการลงพื้นท่/ี ขอ้ มูลวัตถุดิบกัญ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) เปน็ ผลติ ภัณฑ์ และจดั ซือ้ วัตถดุ บิ สมุนไพร
ชง/เอกสารขอความอนเุ คราะหว์ ัตถดุ ิบ
2 (6 เดือน) พฒั นาผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรที่มีกัญชาเป็นสว่ นผสม รายงานการผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรท่มี ี
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) จานวน 2 ผลิตภณั ฑ์ เช่น บารโ์ ปรตนี ผสมกัญชง กาแฟ กญั ชาเปน็ สว่ นผสม
ผสมกัญชง เวย์โปรตีนผสมกัญชง สครบั บารงุ หนงั ศรี ษะ
และเอสเซน้ CBD เป็นตน้
3 (9 เดือน) พัฒนาผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรทมี่ กี ญั ชาเป็นสว่ นผสม รายงานการผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรทมี่ ี
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) จานวน 3 ผลติ ภณั ฑ์ เชน่ บารโ์ ปรตีนผสมกญั ชง กญั ชาเปน็ ส่วนผสม/รายงานการ
กาแฟผสมกญั ชง เวยโ์ ปรตนี ผสมกญั ชง สครับ ถ่ายทอดองคค์ วามรู้/เทคโนโลยกี าร
บารุงหนังศีรษะ และเอสเซน้ CBD เปน็ ต้น และ ผลิตผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรทมี่ ีกญั ชาเปน็
ถา่ ยทอดองค์ความรู้/เทคโนโลยีการผลติ สว่ นผสม
ผลิตภณั ฑ์สมุนไพรท่ีมีกัญชาเป็นส่วนผสม
แหลง่ ขอ้ มูล : 1. มลู นิธิโครงการหลวงและสถาบันวิจยั และพัฒนาพน้ื ท่สี ูง (องค์การมหาชน) หรอื สวพส
2. รายงานผลทดสอบองค์ประกอบทางเคมีของกัญชง
วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู :
1. ประสานงาน เพอ่ื ขอขอ้ มูลจากผ้ปู ระสานงานในมลู นิธโิ ครงการหลวงและสถาบันวจิ ยั และพฒั นาพนื้ ทีส่ ูง
(องคก์ ารมหาชน) หรอื สวพส.
2. เอกสารทดสอบองค์ประกอบทางเคมขี องกญั ชง
3. รายงานการพัฒนาผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรทมี่ ีกัญชงเป็นส่วนผสม
4. รายงานการถ่ายทอดองค์ความรู/้ เทคโนโลยกี ารผลิตผลิตภณั ฑ์สมุนไพรที่มีกัญชาเปน็ ส่วนผสม
ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ บั : 1. ได้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากัญชง ที่มีคุณภาพตามข้อกาหนดมาตรฐานของวัตถุดิบและ
ผลิตภัณฑย์ าสาเร็จรูปกัญชา
2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพจากกัญชง เพื่อนาไปสร้าง
คณุ ค่าและมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจใหก้ บั ประเทศ
ผู้กากบั ตวั ชวี้ ดั : นายวิทูรย์ ยวงสะอาด หมายเลขโทรศพั ท์ 081-8135836
นกั วิทยาศาสตร์ ชานาญการ
ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู : สิบตารวจโทหญงิ ณภัทร บุญปัญญา หมายเลขโทรศพั ท์ 095-9417155
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร
ห น้ า | 163
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
3. กองสมุนไพรเพอ่ื เศรษฐกิจ
ห น้ า | 164
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 165
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 166
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
รายละเอียดตวั ชว้ี ัดตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกจิ
ประเดน็ การประเมนิ ผล ตวั ชี้วดั นา้ หนกั เปา้ หมาย
การปฏิบัตริ าชการ (ร้อยละ) (ขน้ั มาตรฐาน)
ตัวช้ีวดั หน่วยงาน
การประเมิน 1. ระดบั ความสาเร็จในการขบั เคล่ือนสมนุ ไพร 30 ระดับความสาเร็จในการ
ประสทิ ธิผลการ เพือ่ เศรษฐกิจตามพระราชบัญญัติผลิตภณั ฑ์ ขับเคลอ่ื นสมนุ ไพรเพ่ือ
ดาเนนิ งาน สมุนไพร พ.ศ. 2562 เศรษฐกิจตามพระราชบัญญัติ
(Performance ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพร พ.ศ.
Base) 2562 ตามข้นั ตอนท่ี 1 - 4
2. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบ 20 ออกเอกสารเปน็ เอกสาร
ขอรับสิทธส์ิ ง่ เสริมผูป้ ระกอบการสมนุ ไพรผา่ น
ระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Service) อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Licence/e-
Certificate/ e-Document) ผา่ น
ทาง Mobile หรือเวบ็ ไซต์
3. ร้อยละของเมืองสมุนไพรผ่านเกณฑ์การ 20 ร้อยละของเมืองสมนุ ไพรที่
ประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ร้อย
ละ 50 (7 แหง่ )
4. มลู ค่าการบรโิ ภควตั ถุดิบสมนุ ไพรและ 0 เพ่มิ ข้นึ รอ้ ยละ 2 (1,042
ผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศเพมิ่ ขนึ้ รอ้ ย ล้านบาท)
ละ 2
รวม 70
ตัวช้ีวดั ร่วม
การประเมนิ ศักยภาพ 1. ร้อยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณ 8 ร้อยละ 80 – 89.99
การดาเนินงาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ
(Potential Base) หนว่ ยงาน
2. ระดบั ความสาเรจ็ ของการพฒั นาเวบ็ ไซต์ 8 - เวบ็ ไซต์มอี ยา่ งน้อย 6 องคป์ ระกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อพั เดตเว็บไซต์ 1 ครัง้ ต่อไตรมาส
3. ระดับความสาเร็จการประเมินดชั นีมวลกาย 8 - ครบถ้วน/ไม่ทันเวลา
(BMI) ของบคุ ลากรภายในหนว่ ยงาน
ไมค่ รบถ้วน/ทันเวลา
- ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 40
- นา้ หนักดีขึน้ ร้อยละ 75
4. ระดับความสาเรจ็ ของการประเมินความ 6 มผี ลประเมนิ ความพงึ พอใจ/ไม่พึง
พึงพอใจ/ความไมพ่ งึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99
ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย ตอ่ ภารกจิ หลกั ของหนว่ ยงาน
รวม 30
ห น้ า | 167
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้วี ัดหนว่ ยงาน ตัวชว้ี ดั ต่อเนอื่ ง ตัวชวี้ ัดใหม่ ตัวชี้วดั เดมิ
กองสมนุ ไพรเพื่อเศรษฐกจิ
ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสาเร็จในการขับเคล่ือนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจตาม นา้ หนัก
พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 รอ้ ยละ 30
หน่วยวดั : ระดบั ความสาเร็จ
ความสอดคลอ้ งตามยุทธศาสตร์ :
เชือ่ มโยงกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแข่งขนั เปน็ เลศิ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ สง่ เสริมผปู้ ระกอบการและใหค้ าปรกึ ษาสมุนไพรเพอื่ เศรษฐกจิ
แผนงาน/โครงการ พฒั นาอตุ สาหกรรมสมุนไพรแบบครบวงจรเพ่ือเศรษฐกิจ
คาอธบิ าย :
ระดับความสาเร็จในการขับเคล่ือนสมุนไพรเพ่ือเศรษฐกิจตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร
พ.ศ. 2562 หมายถึง การวัดระดับความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกิจกรรมและผลลัพธ์สาคัญ
ทส่ี อดคลอ้ งตามนโยบายรฐั บาล พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 และแผนแม่บทแห่งชาติ วา่ ดว้ ย
การพัฒนาสมนุ ไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2565 ให้เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ข้ันตอนการดาเนินงาน
1. ปรบั ปรงุ คาสัง่ แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการขบั เคลื่อนภารกจิ ของคณะกรรมการนโยบายสมนุ ไพรแหง่ ชาติ
2. จัดการประชุมคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติและคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนภารกิจของ
คณะกรรมการนโยบายสมนุ ไพรแห่งชาติ และคณะทางานอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง อย่างนอ้ ย 8 ครั้ง
3. พิจารณาข้อมูลผู้ประกอบการขอรับสิทธ์ิส่งเสริมผู้ประกอบการผลิตสมุนไพรและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร
และผูป้ ระกอบการไดร้ ับสทิ ธ์ิการสง่ เสรมิ การประกอบการตาม พ.ร.บ.ฯ อย่างนอ้ ย 150 ราย
4. ให้คาปรึกษา หรือจัดการอบรมแก่ผู้ประกอบการผลิตสมุนไพรและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรตาม พ.ร.บ.ฯ
อยา่ งนอ้ ย 500 ราย
5. กาหนดประเด็นสาคญั จดั ทา (รา่ ง) แผนผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2565 – 2570)
สถานการณ์ :
ตามที่พระราชบัญญัติ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้เม่ือวันท่ี 29 มิถุนายน 2562
ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ โดยมีหน้าที่และอานาจในการกาหนดนโยบาย
แผนยุทธศาสตร์ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานเพ่ือให้ปฏิบัติตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ รวมถึง
ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติ ทั้งกาหนดมาตรการส่งเสริมความร่วมมือ
ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรระหว่างภาครัฐและเอกชน กาหนดมาตรการปูองกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลิตภัณฑ์
สมุนไพร แก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมทั้งเสนอสิทธิและประโยชน์
เพอ่ื ส่งเสริมผปู้ ระกอบการ และใหค้ วามเหน็ หรือขอ้ เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรีในเร่ืองที่เกยี่ วข้อง
ข้อมูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - - - -
ห น้ า | 168
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปูาหมาย ดาเนินการ 5 ขน้ั ตอน - - - -
เกณฑก์ ารประเมิน : เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เป้าหมาย คา่ คะแนน
ข้นั ต้น 50 ระดบั ความสาเรจ็ ในการขับเคลอ่ื นสมนุ ไพรเพอ่ื เศรษฐกจิ ตามพระราชบัญญัติ
ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพร พ.ศ. 2562 ตามขน้ั ตอนท่ี 1 - 3
ขน้ั มาตรฐาน 75
ระดับความสาเรจ็ ในการขับเคลื่อนสมนุ ไพรเพื่อเศรษฐกจิ ตามพระราชบัญญตั ิ
ข้ันสูง 100 ผลิตภณั ฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ตามขั้นตอนที่ 1 - 4
ระดับความสาเรจ็ ในการขับเคล่อื นสมนุ ไพรเพอื่ เศรษฐกจิ ตามพระราชบัญญตั ิ
ผลิตภณั ฑส์ มุนไพร พ.ศ. 2562 ตามขน้ั ตอนท่ี 1 - 5
เปา้ หมายรายไตรมาส( Small Success )
ไตรมาส รายละเอียดการดาเนนิ งาน/ แนวทางการประเมินผล
ขอบเขตการประเมนิ
(เอกสาร หลักฐานต่างๆ)
1 (3 เดือน) - ปรบั ปรุงคาสง่ั แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการ
- คาสัง่ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ขับเคล่ือนภารกิจของคณะกรรมการ ภารกจิ ของคณะกรรมการนโยบายสมุนไพร
แห่งชาติ (เพม่ิ เตมิ )
นโยบายสมุนไพรแห่งชาติ - รายงานการประชมุ คณะกรรมการนโยบาย
สมุนไพรแหง่ ชาตแิ ละคณะอนกุ รรมการ
- จดั การประชุมคณะกรรมการนโยบาย ขับเคลอ่ื นภารกิจของคณะกรรมการนโยบาย
สมนุ ไพรแห่งชาติ และคณะทางานอน่ื ๆ ท่ี
สมุนไพรแหง่ ชาตแิ ละคณะอนกุ รรมการ เกี่ยวข้อง
- ข้อมูลผู้ประกอบการที่ได้รับสิทธิก์ าร
ขับเคล่ือนภารกิจของ ส่งเสริมการประกอบการตาม พ.ร.บ.ฯ
- ข้อมูล/รายช่ือผู้ประกอบการท่ีได้รับ
คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ คาปรึกษา หรือเข้าร่วมอบรม
และคณะทางานอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง - รายงานการประชุมคณะกรรมการนโยบาย
สมนุ ไพรแห่งชาติ ประเดน็ (ร่าง) แผน
2 (6 เดือน) - พิจารณาข้อมูลผู้ประกอบการขอรับ ผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.
2565 – 2570)
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) สิทธ์ิการผู้ประกอบการผลิตสมุนไพรและ
ผลิตผลิตภณั ฑ์สมุนไพร
- อบรม/ให้คาปรึกษา หรือจัดการอบรม
แก่ผู้ประกอบการผลิตสมุนไพรและผลิต
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
3 (9 เดือน) - กาหนดประเดน็ สาคัญจัดทา
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) (ร่าง) แผนผลิตภัณฑ์สมุนไพรแห่งชาติ
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2565 – 2570)
แหลง่ ข้อมลู : กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลจากการดาเนินงาน กลุ่มงานขับเคลื่อนแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วย
การพัฒนาสมนุ ไพรและเมอื งสมุนไพร และกล่มุ งานส่งเสรมิ ผู้ประกอบการและรบั รองคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์สมุนไพร
ห น้ า | 169
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั :
เกิดการขับเคล่ือนการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562
และการขับเคล่ือนแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2565
ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และความชัดเจนในการส่งเสริมให้สมุนไพรไทยมีบทบาทสาคัญในการ
สร้างความม่ันคงทางสุขภาพและความย่ังยืนของเศรษฐกิจไทย ซึ่งเป็นทรัพยากรเชิงพันธุกรรมและสิ่งบ่งช้ี
ทางภูมิศาสตร์ท่ีจะนามาใช้ประโยชน์ เพื่อการสร้างรายได้ มูลค่า และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความ
ม่นั คง เสมอภาค และสามารถแขง่ ขันไดใ้ นระบบเศรษฐกจิ
ผกู้ ากับตวั ชี้วดั : นางมณฑกา ธีรชยั สกลุ หมายเลขโทรศพั ท์ 090-919-4391
ผู้อานวยการกองสมุนไพรเพอื่ เศรษฐกิจ
ผ้จู ดั เก็บขอ้ มลู : 1. นางสาวพชิ ญารตั น์ วรรณวุฒกิ ุล หมายเลขโทรศพั ท์ 062-4296194
เภสชั กรปฏบิ ัตกิ าร หมายเลขโทรศพั ท์ 085-550-7444
หมายเลขโทรศพั ท์ 065-395-3914
2. นางดวงมณี บญุ บารุง
เภสัชกรชานาญการ
3. นางสาวสดุ ารตั น์ เกตโล
นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร
ห น้ า | 170
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้ีวดั หน่วยงาน ตัวชว้ี ดั ต่อเนื่อง ตัวชว้ี ดั ใหม่ ตวั ชวี้ ดั เดมิ
กองสมนุ ไพรเพือ่ เศรษฐกิจ
ตัวชี้วัดท่ี 2 : ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบขอรับสิทธิ์ส่งเสริม น้าหนัก
ผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ร้อยละ 20
หนว่ ยวดั : ระดับความสาเร็จ
ความสอดคล้องตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแข่งขันเป็นเลิศ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ส่งเสริมผ้ปู ระกอบการและใหค้ าปรกึ ษาสมุนไพรเพอ่ื เศรษฐกจิ
คาอธบิ าย :
ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบขอรับสิทธิ์ส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบ บ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) หมายถงึ การวดั ระดบั ความสาเร็จของการดาเนินการทีเ่ กยี่ วขอ้ งในการพฒั นาระบบ
ข อ รั บ สิ ท ธ์ิ ส่ ง เ ส ริ ม ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส มุ น ไ พ ร ใ ห้ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ผ่ า น ร ะ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
(e-Service)
e-Service หมายถึง การให้บริการข้อมูลและการทาธุรกรรมของภาครัฐผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ขอรับบริการ โดยเกณฑ์ในการพิจารณาว่าระบบสารสนเทศของหน่วยงาน
จัดว่าเป็นระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ ต้องเป็นการให้บริการกับกลุ่มเปูาหมายที่เป็นบุคคลภายนอก
โดยกลุ่มเปูาหมายเป็นหน่วยงานราชการ ภาคธุรกิจ องค์กร และประชาชน รวมถึงระบบดังกล่าวมีการให้ข้อมูล
สนับสนนุ หรอื ใหบ้ ริการทีส่ อดคล้องกบั ภารกิจงานที่รบั ผิดชอบ
ขนั้ ตอนการดาเนินงาน
1. จัดทาระบบขอรับสิทธิ์ส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (e-Service)
1 ระบบ
2. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการยื่นขอรับสิทธ์ิส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบบ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ออนไลน์ (e-Service)
3. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการใช้งานระบบขอรับสิทธิ์ส่งเสริมผู้ประกอบการ สมุนไพร
และตรวจสอบผลการขอสทิ ธ์สิ ง่ เสรมิ ผูป้ ระกอบการสมุนไพรผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ออนไลน์ (e-Service)
4. พัฒนาระบบขอรับสิทธิ์ส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรให้สามารถจัดพิมพ์ผลการขอรับสิทธ์ิส่งเสริม
ผู้ประกอบการสมนุ ไพร(ใบรับรอง) ผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ อนไลน์ (e-Service)
5. ดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้เกิดการเข้าถึงและใช้งานระบบขอรับสิทธ์ิส่งเสริม
ผปู้ ระกอบการสมุนไพรอยา่ งน้อย 3 หน่วยงาน
สถานการณ์ : ตามท่ีพระราชบัญญัติ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน
2562 และประกาศคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ มีผลบังคับใช้เม่ือวันที่ 31 มีนาคม 2563 ได้
กาหนดประเภทผ้ปู ระกอบการ หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขการแจ้งเปน็ ผู้ประกอบการ และหลักเกณฑ์ วธิ ีการ
และเง่ือนไขการส่งเสริมผู้ประกอบการ พ.ศ. 2563 เพ่ือเป็นการส่งเสริม ให้สิทธิและประโยชน์ รวมทั้งเสนอสิทธิ
และประโยชน์ เพ่ือส่งเสริมผู้ประกอบการจากหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าท่ีในการส่งเสริมให้สิทธิและประโยชน์
แก่ผูป้ ระกอบการผลติ ผลิตภณั ฑ์สมุนไพร รับรองและให้คาแนะนาการพฒั นาผลิตภัณฑส์ มุนไพรใหม้ คี ณุ ภาพเพ่มิ ข้นึ
ห น้ า | 171
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย ระบบขอรับสิทธิสง่ เสรมิ
ผู้ประกอบการสมนุ ไพร ออก
เอกสารเป็นอิเล็กทรอนกิ ส์ตาม
มาตรฐาน ETDA และ
ผ้รู ับบริการ print out ได้
เกณฑก์ ารประเมิน : (ตามที่ สานักงาน ก.พ.ร. กาหนด)
เปา้ หมาย ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
ขัน้ ตน้ 50 ออกเอกสารเป็นกระดาษพรอ้ มกบั จดั สง่ ให้ผรู้ ับบรกิ าร (แทนการให้มารบั เอกสาร
ณ สานักงาน)
ขน้ั มาตรฐาน 75 ออกเอกสารเปน็ เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Licence/e-Certificate/ e-Document)
ผา่ นทาง Mobile หรอื เว็บไซต์
ออกเอกสารเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Licence/e-Certificate/e-Document)
ขนั้ สูง 100 ตามมาตรฐาน ETDA ผา่ นทาง Mobile หรือเวบ็ ไซต์ และผูร้ บั บริการสามารถ
print out เอกสารได้
เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :
ไตรมาส รายละเอียดการดาเนนิ งาน/ แนวทางการประเมินผล
ขอบเขตการประเมนิ
(เอกสาร หลักฐานตา่ งๆ)
1 (3 เดือน) จัดประชุมและติดตามเพ่ือจัดทาระบบ
รายงานการประชุมระบบขอรบั สิทธ์ิ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) อิเล็กทรอนิกสอ์ อนไลน์ (e-Service) ร่วมกับ ส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรออนไลน์
(e-Service)
หน่วยงานสารสนเทศ ของกรมฯ แบบฟอร์ม (ใบรับรอง) และผลการขอสิทธ์ิ
ส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบบ
2 (6 เดือน) จัดประชุมกาหนดแบบฟอร์ม (ใบรับรอง) อเิ ล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (e-Service)
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) และทดสอบระบบ แก้ไขปรับปรุงข้อมูลให้มี ผู้ประกอบการสมุนไพรสามารถจัดพิมพ์ผล
การขอรับสิทธิ์ส่งเสริมผู้ประกอบการ
เสถียรภาพมากย่ิงขึ้น ในขอรับสิทธ์ิส่งเสริม สมุนไพร(ใบรับรอง) ผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนิกส์ออนไลน์ (e-Service)
ผู้ประกอบการสมุนไพรผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (e-Service)
3 (9 เดือน) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของระบบและ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ผู้ประกอบการสมุนไพรสามารถจัดพิมพ์ผล
การขอรับสิทธ์ิส่งเสริมผู้ประกอบการสมุนไพร
(ใบรับรอง) ผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกสอ์ อนไลน์
(e-Service)
ห น้ า | 172
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แหลง่ ขอ้ มูล : กองสมนุ ไพรเพอื่ เศรษฐกิจ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลโดยกลุ่มงานส่งเสริมผู้ประกอบการและรับรองคุณภาพผลิตภณั ฑ์สมุนไพร
และกลุ่มงานขบั เคลอื่ นแผนแม่บทแห่งชาตวิ า่ ดว้ ยการพัฒนาสมุนไพรและเมอื งสมุนไพร
ประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ ับ :
เกิดการส่งเสริมผู้ประกอบการจากหน่วยงานของรัฐ (โดยผู้เชี่ยวชาญ) ท่ีมีหน้าที่และความรับผิดชอบ
ในการส่งเสริมให้สิทธแิ ละประโยชน์แก่ผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมถึงการรับรองและให้คาแนะนา
การพฒั นาผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรให้มีคุณภาพ มีศักยภาพในการแข่งขันเพ่ิมขึ้น ซึ่งจะทาให้เกิดการสร้างรายได้ มูลค่า
ความม่ันคง เสมอภาค และสามารถแข่งขนั ได้ในระบบเศรษฐกิจ
ผูก้ ากับตวั ชี้วดั : นางมณฑกา ธีรชัยสกุล หมายเลขโทรศพั ท์ 090-919-4391
ผู้อานวยการกองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ หมายเลขโทรศพั ท์ 085-550-7444
หมายเลขโทรศพั ท์ 098-7468372
ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มูล : 1. นางดวงมณี บุญบารุง หมายเลขโทรศพั ท์ 065-395-3914
เภสชั กรชานาญการ
2. นางสาวสพุ ตั รา คาเหงา้
เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานทว่ั ไป
3. นางสาวสดุ ารัตน์ เกตโล
นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบตั ิการ
ห น้ า | 173
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชีว้ ดั หน่วยงาน ตัวช้วี ัดต่อเนือ่ ง ตวั ชว้ี ัดใหม่ ตัวชี้วัดเดมิ
กองสมนุ ไพรเพ่อื เศรษฐกิจ
ตัวชี้วัดท่ี 3 : ร้อยละของเมืองสมุนไพรผ่านเกณฑ์การประเมิน นา้ หนัก
หน่วยวดั : รอ้ ยละ รอ้ ยละ 20
ความสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกบั แผนปฏบิ ัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแข่งขนั เปน็ เลศิ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ส่งเสริมผูป้ ระกอบการและใหค้ าปรกึ ษาสมุนไพรเพ่อื เศรษฐกจิ
แผนงาน/โครงการ พัฒนาอตุ สาหกรรมสมนุ ไพรแบบครบวงจรเพ่ือเศรษฐกจิ
คาอธบิ าย :
เมืองสมุนไพร หมายถึง เมืองท่ีถ่ายทอดมาตรการและแผนงานจากแผนปฏิบัติการด้านผลิตภัณฑ์
สมุนไพร ลงไปสู่การพัฒนาในระดับภูมิภาคโดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นทาง
กลางทาง และปลายทาง มีจานวนทั้งส้ิน 14 จังหวัด แบ่งเป็น 3 คลัสเตอร์ ได้แก่ 1) คลัสเตอร์เกษตร วัตถุดิบ
สมุนไพร (5 จังหวัด) ประกอบด้วย อานาจเจริญ สุรินทร์ มหาสารคาม อุทัยธานี และสกลนคร 2) คลัสเตอร์
อุตสาหกรรมสมุนไพร (4 จังหวัด) ประกอบด้วย นครปฐม สระบุรี ปราจีนบุรี และจันทบุรี และ 3) คลัสเตอร์
ทอ่ งเที่ยวเชงิ สุขภาพ ความงามและการแพทย์แผนไทย (5 จังหวัด) ประกอบด้วย เชียงราย พษิ ณุโลก อุดรธานี สุ
ราษฎร์ธานี และสงขลา
เกณฑ์การประเมินเมืองสมุนไพร หมายถึง เกณฑ์การประเมินเมืองสมุนไพรในแต่ละคลัสเตอร์ตามที่
คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติกาหนด รวมท้ังสิ้นจานวน 4 ตัวช้ีวัด โดยมีตัวช้ีวัดจานวน 2 ตัว
ที่เหมือนกนั ในทกุ คลัสเตอร์ ประกอบดว้ ย
1) มูลค่าการใชย้ าสมนุ ไพรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3
2) รายงานขอ้ มูลมูลคา่ การบริโภคสมนุ ไพรและผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรของจงั หวัด
และตัวชวี้ ดั จานวน 2 ตัว ที่ตา่ งกันในแต่ละคลสั เตอร์ ประกอบด้วย
คลสั เตอร์ คลสั เตอร์ คลสั เตอร์
เกษตรวตั ถดุ ิบสมนุ ไพร อตุ สาหกรรมสมนุ ไพร ทอ่ งเทยี่ วเชิงสขุ ภาพฯ
3) จานวนเกษตรกรรายใหมท่ ี่ 3) ผลติ ภัณฑพ์ รีเมย่ี ม/ผลติ ภัณฑ์ 3) มรี ายงานขอ้ มลู จานวน
ไดร้ ับการถา่ ยทอดความรู้เร่อื ง เอกลักษณข์ องจังหวดั /สมุนไพร นักทอ่ งเท่ยี วและมูลคา่ การ
GAP/ORGANIC สมนุ ไพรปลี ะ ทม่ี ศี ักยภาพสูงทางเศรษฐกจิ ผ่าน ทอ่ งเที่ยวของจงั หวดั เมืองสมุนไพร
50 ราย/เมืองสมนุ ไพร การวิจัย อย่างครบวงจร อย่าง 4) พัฒนาผลติ ภัณฑพ์ รีเมย่ี ม หรอื
4) จานวนผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนท่ี น้อย 2 ผลติ ภัณฑ์ ผลิตภัณฑบ์ ง่ ช้ที างภูมศิ าสตร์ (GI)
แปรรูปจากสมนุ ไพรเพมิ่ ขนึ้ 4) ผู้ประกอบการสมุนไพรได้รบั หรอื ผลิตภณั ฑเ์ ดน่ จากสมุนไพร
รอ้ ยละ 5 จากปที ผี่ า่ นมา การอบรม/สง่ เสริม/พฒั นา อย่าง ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ผลติ ภัณฑ/์ เมอื ง
นอ้ ย 50 คน/เมอื งสมนุ ไพร สมนุ ไพร
ซึง่ เมอื งสมนุ ไพรทกุ แห่งต้องผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจานวนของตัวช้ีวดั ของคลสั เตอร์ทต่ี นเอง
รบั ผดิ ชอบ (3 ขอ้ ใน 4 ขอ้ )
ห น้ า | 174
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สถานการณ์ :
ปีงบประมาณ 2563 ได้มีการพัฒนาเมืองสมุนไพรโดยการกาหนดบทบาทที่ชันเจนในการขับเคลื่อน
สมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ โดยแบง่ เป็น 3 คลัสเตอร์เพ่ือดาเนินการ 1) คลัสเตอร์เกษตรวัตถุดิบสมุนไพร มุ่งเน้นการ
พัฒนาสมุนไพร วัตถุดิบ แปรรูปสมุนไพรให้ได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาดและ การใช้ประโยชน์
ซึ่งกาหนดจังหวัดเมืองสมุนไพร 5 จังหวัด ดังน้ี จังหวัดอานาจเจริญ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัด
อุทัยธานี และจังหวัดสกลนคร 2) คลัสเตอร์อตุ สาหกรรมสมุนไพร มุ่งเน้นการพัฒนาเพิ่มศักยภาพและยกระดับ
อุตสาหกรรมสมุนไพร ตลอดจนผู้ประกอบการสมุนไพรและผลิตภัณฑ์พรี่เม่ียมภายใต้มาตรฐานคุณภาพระดับ
สากล ซึ่งกาหนดจังหวัดเมืองสมุนไพร 4 จังหวัด ดังนี้ จังหวัดนครปฐม จังหวัดสระบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
และจังหวัดจันทบุรี 3) คลัสเตอร์ท่องเท่ียวเชิงสุขภาพความงามและการแพทย์แผนไทย มุ่งเน้นการพัฒนา
และใช้ประโยชน์สมุนไพรในการท่องเท่ียวของจังหวัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการท่องเที่ยวสุขภาพความงามและ
การแพทย์แผนไทยเพื่อการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งกาหนดจังหวัดเมืองสมุนไพร 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
เชียงราย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา และปีงบประมาณ 2563 มีผล
การประเมินผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 50 จานวน 11 จังหวัด ดังนั้นการประเมินผลการพัฒนาเมืองสมุนไพร
จึงมีความสาคญั และจาเปน็ ที่ควรดาเนินการอย่างตอ่ เน่ือง
สูตรคานวณ : จานวนเมอื งสมนุ ไพรทผ่ี ่านเกณฑก์ ารประเมนิ x 100 2563
จานวนเมอื งสมุนไพรทง้ั หมด
ขอ้ มลู พนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562
ผลการดาเนินงาน - - - - รอ้ ยละ 50
/11 จงั หวดั
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
คา่ เปูาหมาย 70% 70% 80% - -
(9 จงั หวัด) (14 จงั หวดั ) (10 จังหวดั )
เกณฑก์ ารประเมนิ : เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ร้อยละของเมืองสมุนไพรทีผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 35 (5 แหง่ )
เปา้ หมาย ค่าคะแนน
ข้นั ต้น 50
ข้นั มาตรฐาน 75 ร้อยละของเมืองสมุนไพรทผี่ า่ นเกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 50 (7 แห่ง)
ขั้นสงู 100 ร้อยละของเมืองสมุนไพรท่ผี า่ นเกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ 70 (10 แหง่ )
ห น้ า | 175
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
1 (3 เดือน) เมืองสมุนไพร 3 คลัสเตอร์ จัดทาแผนการ แผนการดาเนินงานเมืองสมุนไพร
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ดาเนินงานและได้รับงบประมาณลงพื้นที่ และแผนการจัดสรรงบประมาณ
2 (6 เดือน) ประชุมคณะทางานขับเคลื่อนโครงการพัฒนา ประชุมคณะทางานขับเคล่ือน
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) เมืองสมุนไพร 3 คลัสเตอร์ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร
3 คลัสเตอร์
3 (9 เดือน) มีการประเมินเมืองสมุนไพร 14 จังหวัด รายงานผลการประเมินเมืองสมุนไพร
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ตามเกณฑ์การประเมิน 14 จังหวัด ตามเกณฑ์การประเมิน
แหลง่ ข้อมูล : กองสมนุ ไพรเพื่อเศรษฐกิจ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลโดยกลุ่มงานขับเคลื่อนแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร
และเมอื งสมนุ ไพร และกลมุ่ งานสง่ เสรมิ ผูป้ ระกอบการและรับรองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร
ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ บั : เกิดการพฒั นาแหล่งวัตถดุ บิ สมุนไพรคุณภาพของประเทศ และการพัฒนาผลิตภัณฑแ์ ปรรูป
จากวตั ถุดบิ สมนุ ไพรระดบั ชมุ ชน รวมถงึ เพิ่มศกั ยภาพและยกระดบั มาตรฐานอุตสาหกรรมสมุนไพรของประเทศ และ
มีการนาสมุนไพรบูรณาการสร้างเรื่องราวสนับสนุนการท่องเท่ียว พัฒนาผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัดเชื่อมโยง
เส้นทางการท่องเที่ยวของจังหวัด ซ่ึงจะทาให้เกิดการสร้างรายได้ มูลค่า ความมั่นคง และสามารถแข่งขันได้ใน
ระบบเศรษฐกิจ
ผู้กากบั ตวั ชวี้ ดั : นางมณฑกา ธรี ชยั สกุล หมายเลขโทรศพั ท์ 090-919-4391
ผ้อู านวยการกองสมุนไพรเพ่ือเศรษฐกจิ
ผจู้ ดั เกบ็ ข้อมลู : 1. นายณฐั วุฒิ ปราบภัย หมายเลขโทรศพั ท์ 099-4671110
เภสัชกรปฏบิ ตั กิ าร หมายเลขโทรศพั ท์ 062-4296194
หมายเลขโทรศพั ท์ 065-3953914
2. นางสาวพชิ ญารัตน์ วรรณวฒุ ิกุล
เภสชั กรปฏิบัติการ
3. นางสาวสุดารตั น์ เกตโล
นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ
ห น้ า | 176
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชวี้ ัดหนว่ ยงาน ตัวชวี้ ัดต่อเนื่อง ตวั ชี้วดั ใหม่ ตัวช้วี ัดเดมิ
กองสมนุ ไพรเพือ่ เศรษฐกจิ
ตวั ช้ีวดั ที่ 4 : มลู ค่าการบรโิ ภควัตถุดบิ สมุนไพรและผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรภายในประเทศ น้าหนกั
เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 2 ร้อยละ 0
หน่วยวดั : ร้อยละ
ความสอดคลอ้ งตามยุทธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแข่งขันเป็นเลิศ
(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ส่งเสริมผ้ปู ระกอบการและใหค้ าปรกึ ษาสมุนไพรเพอ่ื เศรษฐกจิ
แผนงาน/โครงการ พัฒนาอุตสาหกรรมสมนุ ไพรแบบครบวงจรเพอ่ื เศรษฐกจิ
คาอธบิ าย :
มูลคา่ การบรโิ ภควัตถดุ ิบสมุนไพรและผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศ หมายถงึ มูลค่าที่เกิดข้ึนจาก
การบริโภควัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ผลิตภัณฑ์สมุนไพร หมายถงึ ยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์
จากสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ท่ีมีส่วนประกอบสาคัญที่เป็นหรือแปรสภาพจากสมุนไพร) ภายในประเทศเพิ่มขึ้น
รอ้ ยละ 2 (1,042 ล้านบาท) จากปี พ.ศ. 2562 โดยใช้ข้อมูลจากฐานขอ้ มลู Euro monitor International
สถานการณ์ :
ตามที่พระราชบัญญัติ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2562
ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ โดยมีหน้าที่และอานาจในการกาหนดนโยบาย
แผนยุทธศาสตร์ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานเพ่ือให้ปฏิบัติตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ รวมถึง
ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ท้ังกาหนดมาตรการส่งเสริมความร่วมมือ
ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรระหว่างภาครัฐและเอกชน กาหนดมาตรการปูองกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลิตภัณฑ์
สมุนไพร แก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมท้ังเสนอสิทธิ
และประโยชน์เพ่ือส่งเสริมผู้ประกอบการ และตามเปูาหมายแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย
ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2565 มีเปูาหมายให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบสมุนไพรคุณภาพ
และผลิตภัณฑ์สมุนไพรคุณภาพช้ันนาของภูมิภาค ASEAN และมูลค่าวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ภายในประเทศเพิ่มขน้ึ อยา่ งน้อย 1 เท่าตัว ภายในปี พ.ศ. 2564
สูตรคานวณ : มลู คา่ การบรโิ ภควัตถดุ ิบสมนุ ไพรและผลติ ภัณฑส์ มุนไพรภายในประเทศปี 2564 - 2562 .x 100
มูลค่าการบริโภควตั ถดุ ิบสมนุ ไพรและผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศปี 256
หมายเหตุ : ใชข้ อ้ มลู มูลค่าการบรโิ ภควัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรภายในประเทศปี 2562 เนื่องจากปี 2563
ไม่มกี ารวัดผล
ข้อมูลพน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนินงาน - - - - -
ห น้ า | 177
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัติราชการและค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย รอ้ ยละ 2
(1,042 ล้านบาท)
เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เปา้ หมาย 50
ขนั้ ต้น 75 มลู ค่าการบริโภควัตถุดบิ สมุนไพรและผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรภายในประเทศ
100 เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 1.5 (781 ล้านบาท)
ขัน้ มาตรฐาน
มูลคา่ การบริโภควัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศ
ขน้ั สูง เพิ่มข้ึน รอ้ ยละ 2 (1,042 ล้านบาท)
มลู ค่าการบริโภควตั ถุดบิ สมนุ ไพรและผลติ ภัณฑส์ มุนไพรภายในประเทศ
เพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 2.5 (1,303 ล้านบาท)
เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :
ไตรมาส รายละเอียดการดาเนนิ งาน/ แนวทางการประเมนิ ผล
ขอบเขตการประเมิน
(เอกสาร หลกั ฐานต่างๆ)
1 (3 เดือน) การจัดนทิ รรศการแสดงสนิ คา้ เจรจาจบั คู่ รายงานผลการจดั นิทรรศการแสดงสินค้า
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ธรุ กจิ จาหน่ายสนิ ค้าและผลติ ภัณฑจ์ าก เจรจาจับค่ธู รุ กจิ จาหนา่ ยสินค้าและ
สมุนไพร ผลติ ภณั ฑ์จากสมนุ ไพร
2 (6 เดือน) การรับรองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร ประกาศผลการรับรองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) และการสง่ เสรมิ และขบั เคลื่อนเสน้ ทางการ สมุนไพร รายงานผลการส่งเสรมิ และ
ทอ่ งเทยี่ วในเมอื งสมุนไพร ขบั เคลอ่ื นเสน้ ทางการทอ่ งเท่ียวในเมอื ง
สมนุ ไพร
3 (9 เดือน) มลู คา่ การบรโิ ภควตั ถุดิบสมนุ ไพรและ รายงานมลู คา่ การบริโภควัตถดุ ิบสมนุ ไพร
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรภายในประเทศที่ และผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศ
เพมิ่ ข้นึ
แหลง่ ข้อมูล : กองสมนุ ไพรเพือ่ เศรษฐกิจ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลโดยกลุ่มงานขับเคล่ือนแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร
และเมืองสมุนไพร และกลุ่มงานสง่ เสรมิ ผูป้ ระกอบการและรบั รองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร
ประโยชนท์ ่ีจะได้รบั :
เกิดการขับเคลื่อนการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562
และการขับเคล่ือนแผนแม่บทแห่งชาติ วา่ ด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 - 2565 ให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ และความชัดเจนในการส่งเสริมให้สมุนไพรไทยมีบทบาทสาคัญในการสร้างความม่ันคงทาง
สุขภาพและความยั่งยืนของเศรษฐกิจไทย ซึ่งเป็นทรัพยากรเชิงพันธุกรรมและสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ท่ีจะนามาใช้
ประโยชน์ เพ่ือการสร้างรายได้ มูลค่า และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และสามารถ
แขง่ ขนั ไดใ้ นระบบเศรษฐกิจ
ห น้ า | 178
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ผ้กู ากบั ตวั ชี้วดั : นางมณฑกา ธีรชัยสกุล หมายเลขโทรศัพท์ 090-919-4391
ผอู้ านวยการกองสมนุ ไพรเพือ่ เศรษฐกจิ หมายเลขโทรศพั ท์ 099-4671110
หมายเลขโทรศพั ท์ 062-4296194
ผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล : 1. นายณัฐวุฒิ ปราบภยั หมายเลขโทรศัพท์ 065-3953914
เภสัชกรปฏบิ ัตกิ าร
2. นางสาวพิชญารัตน์ วรรณวฒุ กิ ลุ
เภสชั กรปฏิบตั ิการ
3. นางสาวสุดารตั น์ เกตโล
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร
ห น้ า | 179
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
4. สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี
ห น้ า | 180
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 181
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ห น้ า | 182
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและค่มู ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายละเอยี ดตวั ชีว้ ดั ตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
สถาบันการแพทย์ไทย-จีน
ประเด็นการประเมนิ ผล ตวั ชว้ี ดั นา้ หนัก เปา้ หมาย
การปฏิบัติราชการ (ร้อยละ) (ขัน้ มาตรฐาน)
ตวั ชวี้ ดั หนว่ ยงาน
การประเมนิ 1. ร้อยละของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร 30 รอ้ ยละ 80 - 89
ประสทิ ธิผลการ แพทย์ฝังเข็ม มีการนาองค์ความรู้ไปใช้ใน
ดาเนนิ งาน ระบบบริการสุขภาพ
(Performance 2. จานวน(รา่ ง)คาศพั ทก์ ารแพทยแ์ ผนจนี ท่ี 20 จานวน 450 คา
Base) แปลเป็นภาษาไทยและองั กฤษ
3. จานวนองค์ความรทู้ างวชิ าการดา้ น 20 จานวน 5 เรื่อง
การแพทยแ์ ผนจนี ทไี่ ดร้ บั การเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ใหก้ ับประชาชนนาไปใชใ้ นการ
ดูแลสขุ ภาพ
รวม 70
ตัวชว้ี ดั รว่ ม
การประเมนิ ศกั ยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณ 8 รอ้ ยละ 80 – 89.99
การดาเนนิ งาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ
(Potential Base) หนว่ ยงาน
2. ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนาเว็บไซต์ 8 - เวบ็ ไซต์มอี ยา่ งน้อย 6 องค์ประกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อพั เดตเว็บไซต์ 1 ครัง้ ต่อไตรมาส
3. ระดบั ความสาเรจ็ การประเมนิ ดชั นีมวลกาย 8 - ครบถ้วน/ไมท่ ันเวลา
(BMI) ของบคุ ลากรภายในหน่วยงาน
ไม่ครบถ้วน/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 40
- น้าหนักดีข้นึ ร้อยละ 75
4. ระดบั ความสาเรจ็ ของการประเมนิ ความ 6 มผี ลประเมนิ ความพงึ พอใจ/ไม่พงึ
พงึ พอใจ/ความไมพ่ งึ พอใจของผู้รับบรกิ ารและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99
ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ต่อภารกจิ หลักของหน่วยงาน
รวม 30
ห น้ า | 183
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชีว้ ดั หนว่ ยงาน ตัวชีว้ ัดตอ่ เนอื่ ง ตวั ชี้วดั ใหม่ ตวั ชีว้ ัดเดิม
สถาบันการแพทย์ไทย-จนี
ตัวช้ีวัดที่ 1 : ร้อยละของผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรแพทย์ฝังเข็ม มีการนาองค์ความรู้ไป น้าหนัก
ใช้ในระบบบริการสุขภาพ รอ้ ยละ 30
หน่วยวดั : ร้อยละ
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชือ่ มโยงกบั แผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์บริการเป็นเลศิ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
คาอธิบาย :
ผเู้ ข้ารว่ มการอบรม หมายถึง แพทย์แผนปัจจบุ ันท่ีเขา้ รบั การฝึกอบรมหลกั สตู รแพทย์ฝังเข็ม (๓ เดือน)
ระบบบริการสุขภาพ หมายถึง หนว่ ยบริการสขุ ภาพทง้ั ภาครฐั และเอกชน
หลกั สตู รแพทยฝ์ งั เข็ม (๓ เดือน) หมายถึง หลกั สตู รที่พัฒนาจากหลักสตู ร Basic Acupuncture Training
Course ที่องคก์ ารอนามัยโลกรับรองแก่มหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนเซ่ียงไฮ้และ Guideline for basic Training
in Acupuncture 1995 ขององค์การอนามัยโลกโดยปรับให้เข้ากับสภาพปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขของ
ประเทศไทยและผ่านการรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย ที่มุ่งฝึกอบรมให้แพทย์ที่ได้รับอนุญาต
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมในประเทศไทย ได้มีความรู้ทักษะ และประสบการณ์ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา
การฝังเข็มพ้ืนฐาน สามารถตรวจวินิจฉัย และรักษาบรรเทาอาการของโรคทั่วไปท่ีเป็นปัญหาทางการแพทย์และ
สาธารณสขุ ตามการรับรองของ WHO จานวนอยา่ งน้อย ๒๕ โรค /อาการ ซึง่ พบบ่อยในประเทศไทย
การประเมนิ เปน็ แบบประเมินร้อยละของผู้เขา้ รบั การอบรม ท่นี าองคค์ วามรู้ไปใช้ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
สถานการณ์ :
บุคลากรผู้ให้บริการฝังเข็มแก่ผู้ปุวยในระบบบริการสาธารณสุข ประกอบด้วย ๑) แพทย์แผนจีน หรือ
ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนจีน ซ่ึงข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
การแพทย์แผนจีนจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนจีน จานวน ๑,656 คน (ข้อมูล ณ กันยายน
2563: สานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศลิ ปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) ๒) ผู้ประกอบวชิ าชีพเวช
กรรม หรือแพทย์แผนปัจจบุ นั ซ่ึงข้ึนทะเบยี นและรบั ใบอนุญาตเป็นผปู้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรมจากแพทยสภาและ
ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรแพทย์ฝังเข็ม (3 เดือน)
ปัจจุบันในประเทศไทย มี 2 หน่วยงานที่จัดอบรม หลักสูตรแพทย์ฝังเข็ม (3 เดือน) สาหรับแพทย์แผน
ปัจจุบัน ได้แก่ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขและกรมแพทย์ทหารบก
กระทรวงกลาโหม ซ่ึงมีผู้ผ่านหลักสูตร รวมแล้วประมาณ 1,979 คน (ข้อมูล ณ กันยายน 2563: สถาบัน
การแพทย์ไทย-จีน) ทั้งนี้ ในงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้
ดาเนินการผลักดันการฝังเข็มรักษาโรคหลอดเลือดสมองในระยะฟ้ืนฟูเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า และบรู ณาการร่วมกับการดแู ลระยะเปล่ียนผ่านผู้ปุวยก่ึงเฉียบพลัน (Intermediate care) ทาให้
การฝงั เข็มยิ่งมีบทบาทในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ มากย่ิงขึ้น
สูตรคานวณ : จานวนผู้ที่ผ่านการฝกึ อบรมทม่ี กี ารนาองค์ความรไู้ ปใช้ในระบบบริการสขุ ภาพ X 100
จานวนผูท้ ่ีผา่ นการฝกึ อบรมหลักสูตรแพทยฝ์ งั เข็มท้งั หมด
ห น้ า | 184
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปูาหมาย ร้อยละ ๘๐ - - - -
เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 รอ้ ยละ 70 - 79
เป้าหมาย 75 รอ้ ยละ 80 - 89
ขน้ั ต้น 100 มากกว่าหรือเท่ากบั ร้อยละ 90
ขั้นมาตรฐาน
ข้ันสงู
เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู
(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
1 (3 เดือน) จัดทารา่ งแบบประเมินผเู้ ข้ารว่ มการอบรมมีการ เอกสารรา่ งแบบประเมิน
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) นาองค์ความร้ไู ปใช้ในระบบบริการสขุ ภาพ
2 (6 เดือน) จดั ทาแบบประเมินผู้เขา้ รว่ มการอบรมมีการนา เอกสารแบบประเมิน
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) องค์ความรูไ้ ปใชใ้ นระบบบรกิ ารสุขภาพ
3 (9 เดือน) ประเมนิ ผทู้ ผี่ า่ นการฝึกอบรมมกี ารนาองค์ สรปุ ผลการประเมนิ ผ้ทู ่ีผา่ นการ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ความรู้ไปใช้ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ฝึกอบรมหลักสตู รแพทยฝ์ ังเขม็ มีการนา
องค์ความรู้ไปใชใ้ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
แหลง่ ข้อมูล : สถาบันการแพทยไ์ ทย-จีน
วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มูล : รวบรวมแบบประเมินจากผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรแพทย์ฝังเข็ม
ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั :
๑. แพทย์ท่ีผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้หลักการแพทย์แผนจีนข้ันพ้ืนฐานในการ
ตรวจวินิจฉัยโรคก่อนการฝังเข็ม ตามแนวทางการแพทย์แผนจีน และนาไปประยุกต์ใช้ดูแลรักษาผู้ปุวยร่วมกับ
การแพทย์แผนปัจจุบันได้
2. มีการพัฒนากาลังคนด้านการให้บริการท่ีตอบสนองนโยบาย และรองรับการขยายชุดสิทธิประโยชน์การ
ฝังเข็มรักษาโรคหลอดเลือดสมองในระยะฟื้นฟูในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้ครอบคลุมหน่วยบริการที่มีระบบ
การดแู ลระยะเปลยี่ นผ่านผ้ปู วุ ยกงึ่ เฉยี บพลัน (Intermediate care)
3. มีการส่งเสริม พัฒนาวิชาการ และการส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับการบริการฝังเข็มที่ได้
มาตรฐานและปลอดภยั
ห น้ า | 185
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ผู้กากับตวั ชว้ี ดั : ๑. นางบญุ ใจ ลิ่มศลิ า หมายเลขโทรศพั ท์ ๐ ๒๑๔๙ ๕๖๗๖
ผอู้ านวยการสถาบนั การแพทย์ไทย-จีน
๒. นางวรวรรณ เธียรสุวรรณ
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ
ผู้จัดเก็บข้อมลู : 1. นายวรชัย คงแสงไชย หมายเลขโทรศพั ท์ ๐ ๒๑๔๙ ๕๖๗๖
แพทยแ์ ผนจีน หมายเลขโทรศพั ท์ ๐ ๒๑๔๙ ๕๖๗๖
2. นางสาวนารีรัตน์ ทับทอง
นกั วิชาการสาธารณสขุ
ห น้ า | 186
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชี้วัดหน่วยงาน ตวั ชีว้ ดั ต่อเนื่อง ตัวช้ีวดั ใหม่ ตวั ช้วี ัดเดมิ
สถาบันการแพทยไ์ ทย-จนี
ตัวชี้วัดที่ 2 : จานวน(ร่าง)คาศัพท์การแพทย์แผนจีนที่แปลเป็นภาษาไทยและอังกฤษ น้าหนัก
หนว่ ยวดั : จานวน (คา) ร้อยละ 20
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกับแผนปฏิบตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภูมิปญั ญาเป็นเลศิ (Wisdom Excellence)
แผนงาน/โครงการ พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
คาอธบิ าย :
คาศัพท์การแพทย์แผนจีน หมายถึง คาศัพท์ท่ีใช้บ่อยทางการแพทย์แผนจีน ได้แก่ คาศัพท์ทฤษฎี
พืน้ ฐานการแพทย์แผนจีน การตรวจวนิ ิจฉัยโรคด้ายการแพทย์แผนจีน เภสัชกรรมจีน การฝังเข็ม รมยา การนวด
จีน กายวภิ าคศาสตร์ โรค และการรกั ษาโรค ประกอบดว้ ย 3 ภาษา คือ ภาษาจนี ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ
สถานการณ์ :
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีต้นกาเนิดมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นศาสตร์ท่ีมีความลึกซ้ึง ศัพท์
การแพทย์แผนจีนเป็นศัพท์เฉพาะ ซึ่งแตกต่างจากการแพทย์แผนปัจจุบัน เน่ืองมาจากพื้นฐานท่ีแตกต่างกัน โดยมี
พ้ืนฐานมาจากหลักปรัชญา วัฒนธรรม และศาสนา เป็นศัพท์ท่ีมีรากฐานมาจากภาษาโบราณเป็นส่วนใหญ่
ส่วนหลักการแพทยแ์ ผนจนี จะประกอบไปดว้ ย ทฤษฎีและเหตผุ ล หลกั วธิ กี ารรกั ษา รวมถึงตารบั ยาจนี
มหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสถาบันวิชาชีพท่ีมีความเชี่ยวชาญใน
ด้านการศึกษา การวิจัย และการรักษาโรคโดยใช้การแพทย์แผนจีนมาเป็นเวลามากกว่า 60 ปี สถาบันการแพทย์
ไทย-จีน ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบในการพัฒนามาตรฐานศาสตร์การแพทย์แผนจีนในประเทศไทยได้ร่วมมือกับ
มหาวทิ ยาลัยการแพทย์แผนจีนเฉิงตจู ัดทาโครงการ “การจัดทาพจนานุกรมศพั ท์การแพทย์แผนจีน” ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2554 ขั้นเป็นปีแรก และได้ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นพจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีนเล่ม 1 และเล่ม 2
ตามลาดับ ดังนั้นเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สถาบันการแพทย์ไทย-จีนจึงได้จัดทาโครงการจัดทา
พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีนเล่ม 3 ขึ้น โดยในเล่มท่ี 3 จะเน้นคาศัพท์ท่ีใช้บ่อยในคลินิกซ่ึงเป็นคาศัพท์
เฉพาะทาง 7 แผนกในการแพทย์แผนจีน ได้แก่ 1. อายุรศาสตร์การแพทย์แผนจีน (ภายใน) 2. อายุรศาสตร์
การแพทย์แผนจีน (ภายนอก) 3. สูตินรีเวชศาสตร์การแพทย์แผนจีน 4. กุมารเวชศาสตร์การแพทย์แผนจีน
5. กระดูกและการบาดเจ็บ 6. โรคหู คอ จมูก การแพทย์แผนจีน และ 7. โรคตา การแพทย์แผนจีน โดยผลผลิต
ท่ีไดจ้ ะนาไปใชเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการจัดการเรียนการสอน เป็นค่มู ือสาหรับแพทย์ฝังเข็ม แพทย์จีน และผู้สนในท่ัวไป
รวมถงึ เป็นตาราอ้างอิงมาตรฐานด้านการแพทยแ์ ผนจีนในประเทศไทย
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเปาู หมาย 450 คา - - - -
ห น้ า | 187
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50
เป้าหมาย 75 400 คา
ขน้ั ต้น 100 450 คา
ขน้ั มาตรฐาน 500 คา
ข้ันสูง
เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมูล
1 (3 เดือน) 100 คา (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
150 คา
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) 200 คา เอกสารรายละเอยี ดจานวนคาศพั ท์
ท่ีผ่านการพิจารณาจากคณะทางาน
2 (6 เดือน)
เอกสารรายละเอียดจานวนคาศพั ท์
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ที่ผ่านการพจิ ารณาจากคณะทางาน
3 (9 เดือน) เอกสารรายละเอยี ดจานวนคาศพั ท์
ทีผ่ ่านการพิจารณาจากคณะทางาน
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)
แหลง่ ขอ้ มูล : รายงานจานวนคาศพั ท์ทผี่ ่านการพิจารณาจากคณะทางานจากสถาบนั การแพทย์ไทย-จีน
วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู : รวมรวมรายละเอียดคาศพั ท์ท่ีผ่านการพจิ ารณาจากการจดั ประชุมคณะทางานจัดทา
พจนานกุ รมศพั ท์การแพทยแ์ ผนจนี ปีงบประมาณ 2564
ประโยชน์ที่จะได้รับ : 1. เป็นประโยชน์ในการจดั การเรยี นการสอน
2. เป็นคู่มอื สาหรับแพทยฝ์ ังเข็ม แพทย์จนี และผสู้ นใจท่ัวไป
3. เป็นตาราอา้ งองิ มาตรฐานด้านการแพทย์แผนจนี ในประเทศไทย
ผกู้ ากบั ตวั ช้ีวดั : 1. นางบญุ ใจ ล่มิ ศิลา หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
ผ้อู านวยการสถาบนั การแพทย์ไทย-จีน
2. นางลักขณา อังอธภิ ทั ร หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ
ผจู้ ัดเกบ็ ข้อมูล : 1. นางสาวสินีพร ดอนนาปี หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
เภสัชกรปฏิบตั กิ าร หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
2. นางสาววรรณวิล เชี่ยวเชงิ กล
แพทยแ์ ผนจีน
ห น้ า | 188
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชวี้ ดั หนว่ ยงาน ตัวช้วี ัดตอ่ เนอ่ื ง ตัวชวี้ ัดใหม่ ตัวช้ีวัดเดมิ
สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี
ตัวชี้วัดที่ 3 : จานวนองค์ความรูท้ างวิชาการดา้ นการแพทย์แผนจีนทีไ่ ด้รับการเผยแพร่ นา้ หนกั
ประชาสมั พนั ธ์ ให้กบั ประชาชนนาไปใช้ในการดูแลสขุ ภาพ ร้อยละ 20
หนว่ ยวดั : จานวน (เรื่อง)
ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกับแผนปฏิบตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสง่ เสรมิ สุขภาพ ปอู งกันโรค และคุ้มครองผบู้ ริโภค
เป็นเลศิ (Promotion, Prevention & Protection Excellence : PP&P Excellence)
แผนงาน/โครงการสร้างความรอบรู้ และลดความเหล่อื มล้าดา้ นสขุ ภาพแกป่ ระชาชนด้วยการแพทยแ์ ผนไทย
การแพทยท์ างเลอื ก และสมนุ ไพร
คาอธบิ าย :
องค์ความรู้ หมายถึง ความรู้ทางด้านศาสตร์การแพทย์แผนจีนท่ีได้มีการรวบรวม คัดกรอง สังเคราะห์
ความรู้เพื่อเผยแพร่ในการดสู ุขภาพประชาชน
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ หมายถึง การนาองค์ความรู้ทางด้านศาสตร์การแพทย์แผนจีนที่ได้
สังเคราะห์แล้ว เผยแพร่ให้แก่ประชาชนรับทราบผ่านทาง website ของสถาบันการแพทย์ไทย-จีน
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
สถานการณ์ :
การแพทย์แผนจีน เป็นวิธีการรักษาโรคท่ีถือกาเนิดในสาธารณรัฐประชาชนจีนและได้รับความนิยม
แพรห่ ลายไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมท้ังในประเทศไทยด้วย การแพทย์แผนจีนนอกจากจะมีประสิทธิภาพใน
การรกั ษาโรคที่ได้ผลดีแล้วยงั มุ่งเนน้ ในเรื่องการปูองกนั และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เพื่อไม่ใหเ้ กิดการเจ็บปุวยท่ีไมจ่ าเป็น
นอกจากน้กี ารแพทยแ์ ผนจีนยังให้ความสาคัญกับการรักษาสมดุลของร่างกายให้มีการเปล่ียนแปลงคล้อย
ตามธรรมชาติ ซ่ึงจะช่วยให้มีอายุยืนยาว สุขภาพแข็งแรง เช่น การดูแลสุขภาพตามวิถีธรรมชาติ ปรับสมดุลของ
จิตใจโภชนาการเหมาะสม ปรับสมดุลของชีวิตประจาวันให้มีการทางานและพักผ่อนพอเหมาะปรับตัวให้เข้ากับ
การเปลย่ี นแปลงของธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ ม
การเผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการด้านการแพทย์แผนจีน ในหน้า website ของสถาบันการแพทย์
ไทย-จีน ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นการเผยแพร่ให้กับกลุ่มวิชาชีพแพทย์แผนจีน และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในการ
ปฏบิ ัติงานดา้ นการแพทย์แผนจีน สาหรับในการเผยแพร่สาหรับกลุ่มประชาชนทั่วไป เพื่อใชใ้ นการดูแลสุขภาพยัง
มนี อ้ ยอยู่ โดยจะพัฒนาความรู้สาหรบั ประชาชนและเผยแพรใ่ หค้ รอบคลุมมากข้ึน
ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563
ผลการดาเนนิ งาน - - - - -
แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
คา่ เปูาหมาย 5 เร่ือง - - - -
ห น้ า | 189
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50
เปา้ หมาย 75 4 เรือ่ ง
ขน้ั ตน้ 100 5 เรอ่ื ง
ขนั้ มาตรฐาน 6 เรือ่ ง
ขั้นสงู
เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :
ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู
1 (3 เดือน) รวบรวมองค์ความร้/ู คัดเลือกองค์ความรู้ สาหรับ (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
ประชาชนในการใชด้ ูแลและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) รายการองค์ความรู้ที่ไดร้ วบรวม
2 เรอ่ื ง
2 (6 เดือน) 1. หนังสือขออนมุ ตั ิเผยแพร่
2. เอกสารที่เผยแพร่
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) 3. หนา้ website สถาบนั
การแพทย์ไทย-จีน
3 (9 เดือน) 5 เรอื่ ง 1. หนงั สอื ขออนุมัตเิ ผยแพร่
2. เอกสารทเ่ี ผยแพร่
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) 3. หนา้ website สถาบนั
การแพทยไ์ ทย-จีน
แหลง่ ข้อมูล : กลุ่มงานวิจัยและพฒั นาวชิ าการ สถาบันการแพทยไ์ ทย-จีน
วิธีการจดั เกบ็ ข้อมลู : รวบรวบจานวนองค์ความรทู้ างวิชาการด้านการแพทยแ์ ผนจีนทไี่ ดร้ ับการเผยแพร่
ประชาสมั พนั ธ์บน website ของสถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี ในปงี บประมาณ 2564
ประโยชน์ที่จะได้รับ : ประชาชนได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง และมีการพ่ึงตนเองในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์
การแพทย์แผนจนี ถกู ตอ้ งและได้รบั การคุ้มครองผู้บรโิ ภคดา้ นการแพทย์แผนจีน
ผู้กากับตวั ชวี้ ดั : 1. นางบญุ ใจ ล่ิมศลิ า หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
ผู้อานวยการสถาบนั การแพทยไ์ ทย-จีน
2. นางลกั ขณา อังอธิภัทร
นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ
ผูจ้ ัดเกบ็ ขอ้ มูล : 1. นางสาววลัยลักษณ์ ดุริยะศรีไพร หมายเลขโทรศพั ท์ 02 149 5676
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
2. นางลักขณา อังอธิภัทร
นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ
ห น้ า | 190
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ