The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paramee.meow, 2021-03-18 01:50:08

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สถานการณ์ :
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ไดด้ าเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิ

ปญั ญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย (Thai Traditional Digital Knowledge Library: TTDKL) ตัง้ แต่ 17
กันยายน 2557 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบข้อมูลองค์ความรู้และส่งเสริมการ ใช้ประโยชน์ ตั้งแต่
สนับสนุนการขึ้นทะเบียนยาสมุนไพร การคุ้มครองภูมิปัญญาฯ องค์ความรู้ดั้งเดิมของประเทศมิให้ถูกนาไปใช้
อย่างไม่เหมาะสม รวมทั้งพัฒนาต่อยอดงานวิจัยด้านพรีคลินิก และคลินิก ก่อให้เกิดเกิดองค์ความรู้ใหม่ นาไปสู่
การใชใ้ นระบบบรกิ ารที่มีมาตรฐาน สาหรับประชาชน

ซ่ึงปัจจุบันกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้มีการประกาศกาหนดให้ตาราการแพทย์
แผนไทยและตารับยาแผนไทยเพือ่ การคุ้มครอง ให้เป็นตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของ
ชาติ จานวน 29 ฉบับ 493 ตารา 38,646 ตารับ (ข้อมูล ณ วันท่ี 29 ก.ย. 2563 ) โดยได้ดาเนินการ
วิเคราะห์องค์ประกอบของเครื่องยาตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติ จานวน
1,525 ตารับ (ข้อมูล ณ วันท่ี 22 ธ.ค. 2563 ) ซ่ึงหลังจากวิเคราะห์องค์ประกอบของเคร่ืองยาต้องผ่าน
กระบวนการตรวจสอบความถูกต้อง จากคณะทางานวิเคราะห์องค์ประกอบตารับยาสมุนไพรในตาราการแพทย์
แผนไทยของชาติและตารบั ยาแผนไทยของชาติ โดยเฉพาะชือ่ สมุนไพร ส่วนที่ใช้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณ
ทีใ่ ช้ ของสมุนไพรในแตล่ ะตารับ จงึ จะสามารถนาขอ้ มูลการวเิ คราะห์องค์ประกอบของเคร่ืองยาเหล่าน้ันไปบันทึก
ข้อมูลองค์ประกอบของเครื่องยา ในระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศไทย
(Thai Traditional Digital Knowledge Library: TTDKL) ซึ่งปัจจุบนั ดาเนินการแล้ว จานวน 1,141 ตารับ
(ข้อมูล ณ วันที่ 22 ธ.ค. 2563) และออกรหัสมาตรฐานตารับยาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จานวน 872 รหัส
(ข้อมูล ณ วนั ท่ี 22 ธ.ค. 2563)

ดังนั้นเพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์ของการประกาศกาหนดฯ จึงมีความจาเป็นในการบันทึกข้อมูล
องคป์ ระกอบของเคร่ืองยาตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติอย่างต่อเนื่องโดยในปี
2564 มีตาราการแพทย์แผนไทยของชาติและตารับยาแผนไทยของชาติ ท่ีจะดาเนินการบันทึกข้อมูล
องคป์ ระกอบของเคร่ืองยา จานวน 1,500 ตารับ

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน - - บันทกึ ข้อมลู บันทึกข้อมลู บันทกึ ข้อมลู งคป์ ระกอบ
องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของ ของเครอ่ื งยา
- ตารายาพระปวเรศฯ
เคร่อื งยา เครอื่ งยา ในศิลา จานวน 69 ตารบั
- ตาราพระโอสถครงั้ จารึกวัดราชโอรสา - ศลิ าจารกึ วดั ราช โอรสา
ร.2 จานวน 86 รามฯ จานวน 100 รามฯ จานวน 105 ตารับ

ตารบั ตารับ - ศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นฯ

- ตารายาพระองค์เจา้ จานวน 300 ตารบั

สายสนทิ วงศ์

จานวน 20 ตารับ

แผนระยะยาว / Road Map : 2567 2568
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 10,000 ตารบั 10,000 ตารับ

คา่ เปูาหมาย 1,500 ตารบั 5,000 ตารบั 5,000 ตารบั

ห น้ า | 91
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
50 จานวน 1,000 ตารับ
เป้าหมาย 75 จานวน 1,250 ตารับ
ข้ันต้น 100 จานวน 1,500 ตารบั
ขนั้ มาตรฐาน
ขน้ั สูง

เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) - คดั เลือกตารับตารา ตามประกาศ รายงาน/เอกสาร การวิเคราะห์องคป์ ระกอบ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) กาหนดตารบั ยา/ตารายาแผนไทยของ ของเคร่อื งยาในตาราการแพทย์แผนไทยของ
ชาติ ไดร้ บั การถ่ายถอดอกั ษรจากกอง ชาตแิ ละตารบั ยาแผนไทยของชาติ

ค้มุ ครองฯ เพ่ือดาเนินการสงั คายนา

วเิ คราะห์องคป์ ระกอบของเครื่องยา

- วิเคราะห์องค์ประกอบของเครอ่ื งยา

ตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละ

ตารบั ยาแผนไทยของชาติ

2 (6 เดือน) - วเิ คราะห์องคป์ ระกอบของเคร่อื งยา - รายงาน/เอกสาร การวิเคราะห์องค์ประกอบ
ตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ตารบั ยาแผนไทยของชาติ ของเครื่องยาในตาราการแพทย์แผนไทยของ
- ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของการ ชาตแิ ละตารับยาแผนไทยของชาติ
วิเคราะหอ์ งค์ประกอบของเครอ่ื งยา - รายงาน/เอกสาร ผลของการบนั ทึกขอ้ มูล
- บันทึกขอ้ มลู องคป์ ระกอบของเครอื่ ง ในระบบสารสนเทศขอ้ มูลการบรกิ ารการแพทย์
ยาตาราการแพทย์แผนไทยของชาติ แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

และตารับยาแผนไทยของชาติ จานวน

700 ตารบั

3 (9 เดือน) - วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของเคร่อื งยา - รายงาน/เอกสาร การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ
ตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและ
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ตารับยาแผนไทยของชาติ ของเครอื่ งยาในตาราการแพทย์แผนไทยของ
- ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ของการ ชาตแิ ละตารับยาแผนไทยของชาติ
วิเคราะหอ์ งค์ประกอบของเครือ่ งยา - รายงาน/เอกสาร ผลของการบนั ทกึ ขอ้ มูล
- บันทึกข้อมูลองค์ประกอบของเครือ่ ง ในระบบสารสนเทศข้อมูลการบริการการแพทย์
ยาตาราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติ แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

และตารบั ยาแผนไทยของชาติ จานวน

800 ตารับ

แหล่งข้อมูล : ระบบสารสนเทศข้อมลู การบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก (TTDKL)

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : บันทึกข้อมูลองค์ประกอบของตารับยาสมุนไพรในตารายาการแพทย์แผนไทยของชาติ
ในระบบสารสนเทศองค์ความรูด้ จิ ิทัลภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยของประเทศไทย

ห น้ า | 92
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั :
1. เพ่ือให้ประชาชนท่ัวไปสามารถสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ไดส้ ะดวก โดยผา่ นเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็
2. เพือ่ ปกปูอง การคุ้มครอง เฝูาระวงั ภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยดั้งเดิม ที่มมี าก่อนไม่ใหถ้ กู ละเมิด

ผู้กากับตวั ชว้ี ดั : 1. นางสาวรัชนี จนั ทรเ์ กษ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5649

ผ้อู านวยการกองวิชาการแลแผนงาน

2. นางสาวดวงแก้ว ปญั ญาภู หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5696

หัวหน้ากลุม่ งานวิชาการและคลังความรู้

ผู้จดั เก็บขอ้ มลู : 1. นายสมชาย ช้างแกว้ มณี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5649
แพทย์แผนไทยชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5696
หมายเลขโทรศพั ท์ -
2. นางวัชราภรณ์ นลิ เพช็ ร์ หมายเลขโทรศพั ท์ -
แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั กิ าร

3. นายพสิ ิษฎพ์ ล นางาม
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ

4. นางสาวรสรนิ ทร์ ไพฑูรย์
แพทย์แผนไทยปฏิบตั ิการ

ห น้ า | 93
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ดั หนว่ ยงาน  ตวั ช้ีวดั ต่อเนอื่ ง  ตวั ช้วี ดั ใหม่  ตัวชว้ี ัดเดิม

กองวิชาการและแผนงาน

ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสาเร็จของการตรวจราชการและนิเทศงาน กากับ ตดิ ตาม น้าหนกั
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญและการแก้ปัญหาการ รอ้ ยละ 10
สาธารณสุขในพ้ืนท่ี ท่ีเก่ียวข้องกับการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ
การแพทยท์ างเลอื กในระดับเขตสุขภาพและจงั หวดั

หนว่ ยวัด : ระดับความสาเร็จ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชือ่ มโยงกบั แผนปฏบิ ตั ิราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บริหารเปน็ เลศิ ดว้ ยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
แผนงาน/โครงการ การพฒั นาระบบบริหารสูอ่ งค์กรคุณภาพและองค์กรคุณธรรม

คาอธบิ าย :
การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคัญประการหนึ่ง ในการบริหารราชการแผ่นดิน ตามระเบียบสานัก

นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ.๒๕4๘ อันจะทาให้การปฏิบัติราชการหรือการทาภารกิจของ
หน่วยงานเป็นไปตามเปูาหมาย และแก้ไขปัญหาอุปสรรคตา่ งๆ รวมถึงตดิ ตามความก้าวหน้า ประเมินประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค และตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
จัดตั้งเขตสุขภาพเพ่ือประชาชน พ.ศ.2559 เพ่ือเป็นการปฏิรูปให้เกิดการขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้เป็นไปอย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพเกิดการบรู ณาการเปาู หมาย ทศิ ทาง ยุทธศาสตร์ การใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธภิ าพและ
ประสทิ ธผิ ล รวมท้งั เกิดคุณภาพในการทางาน โดยยึดประโยชน์สุขของประชาชนในเขตพื้นท่ีเป็นศูนย์กลาง อนั จะ
เป็นการพัฒนาระบบสุขภาพให้เป็นไปตามเปูาหมายและมีการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยปัจจุบันมีการแบ่งเขตการ
ตรวจราชการของกระทรวงสาธารณสุข จานวน 13 เขตสุขภาพ

สถานการณ์ :
การตรวจราชการเป็นกลไกสาคัญในการประเมินประสิทธิภาพการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ที่ผ่านมา

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้ดาเนินงานดังกล่าวผ่านกลไกการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
โดยผู้หน้าท่ีตรวจราชการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ซ่ึงมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ ให้
ข้อเสนอแนะ และสร้างภาคีเครือข่ายส่วนราชการ รวมท้ังประเมินผลงานภายใต้คารับรองการปฏิบัติราชการที่มีการ
ประเมินตวั ช้วี ัด และคา่ เปาู หมาย เพื่อขับเคลอ่ื นการบรหิ ารราชการจากส่วนกลางสู่ระดับภูมิภาคใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์

ข้อมลู พน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปูาหมาย - - - - -

ห น้ า | 94
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ขัน้ ต้น 1. มีคมู่ อื การตรวจราชการและนเิ ทศงาน การแพทยแ์ ผนไทยและ
75 การแพทย์ทางเลอื ก
ขั้นมาตรฐาน 100 2. ผู้นเิ ทศงานกรมได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพให้มีความรู้
ความสามารถในการนิเทศงานกระทรวงสาธารณสขุ ภายใต้ภารกจิ
ขัน้ สูง กรมฯ รอ้ ยละ 80

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน ตามนโยบายทสี่ าคัญดา้ น
การแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้นื บ้าน และการแพทย์ทางเลือก
คิดเปน็ ร้อยละ 80 ต่อเขตสขุ ภาพ

มีแนวทางการดาเนินงานตามนโยบายทสี่ าคญั และการแกป้ ัญหา
การสาธารณสขุ ท่ีเกี่ยวข้องกบั การแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์
พน้ื บ้าน และการแพทยท์ างเลือกในแต่ละจงั หวัด ในเขตบริการ
สุขภาพ

- นาเสนอในเวทีผลงานกรมฯ /ประชมุ ผบู้ รหิ าร
- รายงานบทสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) - กาหนดตัวช้ีวัดและจัดทา template เพอ่ื ใช้ - ตัวช้วี ัดและ template ประเดน็ การ
ในการตรวจราชการของกรม ตรวจราชการของกรม
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) - แตง่ ตัง้ ผ้ทู าหนา้ ทต่ี รวจราชการและนเิ ทศงาน คาสง่ั แต่งตั้งผูน้ เิ ทศงานกรม
ประจาเขตสุขภาพของกรมการแพทย์แผนไทย - คูม่ อื การตรวจราชการและนิเทศงาน
- มคี มู่ อื การตรวจราชการและนิเทศงาน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ทางเลือก
- ประชมุ ช้ีแจงและพัฒนาศักยภาพผ้ทู าหน้าที่ - สรปุ รายงานการประชมุ ชแ้ี จงการตรวจ
ตรวจราชการ ราชการกรมฯ

2 (6 เดือน) - สนบั สนนุ การตรวจราชการของผนู้ เิ ทศงาน - รายงานการตรวจราชการและการใช้
13 เขตสขุ ภาพ งบประมาณเพ่ือตรวจราชการทุกเขต
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) - สรปุ ผลการตรวจราชการ รอบท่ี 1 สขุ ภาพ
- รายงานสรุปผลการตรวจราชการ

ประเดน็ ที่เกีย่ วข้องกับกรมฯ รอบท่ี 1

3 (9 เดือน) - สนับสนนุ การตรวจราชการของผนู้ ิเทศงาน - รายงานการตรวจราชการและการใช้
13 เขตสุขภาพ งบประมาณเพอ่ื ตรวจราชการทกุ เขต
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) - สรปุ ผลการตรวจราชการ รอบท่ี 2 สุขภาพ
- วเิ คราะหผ์ ลการตรวจราชการ และขอ้ เสนอ - รายงานสรปุ ผลการตรวจราชการ
ต่อผ้บู ริหาร ประเด็นทเ่ี กีย่ วข้องกับกรมฯ รอบที่ 2
- เอกสารนาเสนอผลการตรวจราชการ

นาเสนอทีป่ ระชมุ ผูบ้ ริหารกรม

ห น้ า | 95

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ขอ้ มูล : 1. ขอ้ มลู จากการตรวจราชการและนิเทศงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
2. HDC กระทรวงสาธารณสขุ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูล เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งในรูปแบบเอกสารและรูปแบบดิจิทัล รายงาน
ความกา้ วหน้า /จดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนทว่ี างไว้

ประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ ับ :
เกิดการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยการแพทย์ผสมผสานในส่วนภูมิภาค เกิดเครือข่ายความ

ร่วมมืออย่างเป็นระบบและมีกลไกการการส่ือสารข้อมูลเชื่อมโยงกันอย่างเป็นรูปธรรม และทาให้การกากับ
ติดตาม การดาเนินงานตามนโยบายท่ีสาคัญด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตามเวลาท่กี าหนด

ผู้กากบั ตวั ชวี้ ดั : นายยง่ิ ศักดิ์ จติ ตะโคตร์ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5653
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

ผู้จัดเกบ็ ข้อมลู : 1. ภญ.สภุ าพร ยอดโต หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5649
เภสัชกรชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ 02-149-5649

2. นางสาวกัญณัฏฐ์ อทุ มพร
นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร

ห น้ า | 96
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชี้วดั หนว่ ยงาน  ตัวชีว้ ัดตอ่ เนื่อง  ตัวชีว้ ดั ใหม่  ตัวชว้ี ัดเดมิ

กองวชิ าการและแผนงาน

ตัวช้ีวัดที่ 6 : จานวนระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั รองรับองค์กร ๔.0 น้าหนัก
หนว่ ยวดั : จานวน (ระบบ) ร้อยละ 10

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกับแผนปฏบิ ตั ริ าชการของกรมฯ เรอ่ื ง บรหิ ารเปน็ เลศิ ด้วยธรรมาภบิ าล Governance Excellence
แผนงาน/โครงการ การพัฒนาศกั ยภาพองคก์ รสกู่ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0

คาอธบิ าย :
ราชการ 4.0 มาจากรัฐบาลกาหนดนโยบายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดว้ ยนวัตกรรมเพ่อื พฒั นาประเทศ

ไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน หรือท่ี เรียกวา่ “ไทยแลนด์ 4.0” ซ่ึงระบบราชการตอ้ งมีการปรับเปลี่ยน
เพื่อให้สอดรับและส่งเสริมไทยแลนด์ 4.0 จึงจาเป็นต้องมีการปฏิรูประบบราชการ และข้าราชการเพื่อให้เป็น
ฟันเฟืองสาคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ไปสู่การปฏิบัติงานได้อย่างสอดคล้องกับทิศทางการบริหาร
ประเทศและภาครัฐ หรือระบบราชการต้องทางานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ของการบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี
มกี ารวางระบบและวธิ กี ารทางานใหม่ ภายใต้หลกั การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ที่ดี เพ่ือเกิดความน่าเชอ่ื ถือ ไว้วางใจ
และเป็นที่พ่ึงของประชาชนได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ ภายใต้องค์ประกอบระบบราชการ 4.0 คือเปิดกว้างและ
เช่ือมโยงกนั ยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง และมขี ดี สมรรถนะสงู และทนั สมัย

เทคโนโลยีดิจิตอล (Digital Technology) หมายถึง ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล หรือ
Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนาเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็บเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการ
สื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพ่ือพัฒนากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กร
ให้มีความทันสมยั และมีประสิทธภิ าพ
ข้นั ตอนการดาเนินการ :

1. กาหนดขอบเขตของปญั หาและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Problem Define and Feasibility
Study) เพื่อวิเคราะห์และศึกษาความเปน็ ไปได้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาแอปพลิเคชัน รวมถึง
การวิเคราะหเ์ ทคโนโลยีทจ่ี ะนามาใชใ้ นการพฒั นา

2. รวบรวมความต้องการใช้งานระบบ (System Requirements Specification) โดยเก็บรวมรวมข้อมูลจาก
เจ้าของระบบงาน เพื่อกาหนดรูปแบบ แนวทางในการพัฒนา ซ่ึงแบ่งประเภทตามความต้องการออกเป็น 3
ประเภท คือ

2.1 User Requirement เป็นความตอ้ งการท่ีรวบรวมจากผู้ใชร้ ะบบโดยตรง เช่น ลาดับของชอ่ งท่ีจะให้
กรอกขอ้ มูลจะกรอกอยา่ งไร, เรียงลาดบั อย่างไร, ขนาดตวั อักษร หรอื สีอะไร เป็นตน้

2.2 System Requirement ความต้องการของระบบ เช่น ระบบต้องสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบ
เครอื ขา่ ยได,้ ขอ้ มลู ต้องเก็บได้ท้ังท่ี Server และ Work Station เป็นต้น

2.3 Software Specification รายละเอียดทางดา้ นเทคนิคของซอฟต์แวร์ วา่ ต้องทาอะไรได้บา้ ง
3. วิเคราะห์ระบบงาน (System Analysis) เป็นข้ันตอนการวเิ คราะห์ระบบงานปจั จุบันหรือระบบงานเดิม
ซึ่งอาจเป็นระบบท่ีใช้คอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ก็ได้ เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดของระบบงานที่ใช้อยู่ ข้อดีข้อเสีย
ทรพั ยากร และความเหมาะสมของระบบงานในแตล่ ะส่วน เพือ่ เตรยี มการปรับเปลี่ยนให้เป็นระบบสารสนเทศใหม่

ห น้ า | 97
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สิ่งทีจ่ ะตอ้ งวเิ คราะหร์ ะบบมีดงั นี้
3.1 วเิ คราะหถ์ งึ ปัญหาหลกั และปัญหารองทเ่ี กดิ ขึน้ ในระบบ (Redefine the Problem)
3.2 ทาความเข้าใจถงึ ระบบงานเดิม (Understand Existing System)
3.3 กาหนดความต้องการของผู้ใช้ระบบ และข้อจากัดในการใช้ระบบงานใหม่ (User Requirements

and Constrains)
3.4 เสนอทางเลือกในการออกแบบระบบ โดยการสร้างแบบจาลองเชิงตรรกะ ( Logical

Model) เชน่ Database Model Diagram, ER Source Model และ ORM Diagram
4. ออกแบบระบบ (System Design) ทั้ง Functional and Database Design เป็นการนาผลลัพธ์ท่ีได้จาก

การวิเคราะห์ระบบมาพัฒนาเป็นรูปแบบทางกายภาพ (Physical Model) โดยเริ่มจากการออกแบบงานทางด้าน
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ท้ังในส่วนนาข้อมูลเข้า (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผลลัพธ์
(Output) ส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage) การออกแบบจาลองข้อมูล การออกแบบรายงานและการออกแบบ
หน้าจอในการติดตอ่ กับผู้ใชร้ ะบบ ซึ่งจะต้องมุ่งเน้นการวเิ คราะห์วา่ ชว่ ยแก้ปญั หาอะไร (What) และการออกแบบ
ชว่ ยแก้ปัญหาอย่างไร (How)

5. เขียนโปรแกรม (System Coding) เป็นข้ันตอนในการเขียนโปรแกรม หรือพัฒนาแอปพลิเคชนั ตามท่ีได้
ออกแบบไว)้

6. ทดสอบระบบ (System testing) เป็นการทดสอบระบบหรือโปรแกรมโดยดูภาพรวมของการทางานว่ามี
การตอบสนองความต้องการทั้งในส่วนของฟังก์ชันการทางาน และประสิทธิภาพการทางาน ว่าสอดคล้องกับ
ลักษณะของความตอ้ งการของซอฟตแ์ วร์ (Requirement Specification) หรือไม่ โดยส่วนมากนิยมใช้การทดสอบ
แบบ Functional Testing (Black Box Testing)

7. ติดตงั้ นาระบบไปใชง้ านและฝกึ อบรมการใชง้ าน (System Implementation and Training)
ขอบเขตการประเมิน : ประกอบด้วย 1) ระบบบริหารจัดการตัวชี้วัด (Management Cockpit) 2) ระบบให้
คาปรึกษากัญชาทางการแพทย์แผนไทย (Ganja Chatbot) 3) ระบบแจ้งเวียนหนังสือราชการรายบุคคล 4)
ระบบแจ้งซอ่ มครภุ ัณฑอ์ อนไลน์ 5) ระบบแจง้ เตอื นลูกหนเ้ี งนิ ยืม และ 6) ระบบจองใชร้ ถราชการ

สถานการณ์ :
เพ่ือรองรับนโยบาย ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐ หรือ ระบบราชการจะต้องทา งานโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

ของการบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี เพอ่ื ประโยชน์สุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens)
หมายความว่า ระบบราชการต้องปรับเปล่ียนแนวคิดและวธิ ีการทางานใหม่ เพ่ือพลิกโฉม (transform) ให้สามารถ
เปน็ ทีเ่ ช่อื ถอื ไว้วางใจและเป็นพงึ่ ของประชาชนได้อย่างแทจ้ ริง (Credible and Trusted Government) ดังนี้

1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกนั (Open & Connected Government) คือ การทางานต้องเปดิ เผยและโปรง่ ใส เปิด
กว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอ่ืน ๆ เข้ามามีส่วนร่วม โอนถ่ายภารกิจท่ีภาครัฐไม่ควรดาเนินการเองไปให้ภาคส่วนอื่น
ดาเนินการแทน จัดโครงสร้างการทางานเป็นแนวระนาบมากกว่าสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง และเช่ือมโยงการ
ทางาน ราชการบริหารสว่ นกลาง ส่วนภมู ภิ าคและส่วนท้องถนิ่ ใหม้ ีเอกภาพและสอดรับประสานกนั

2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ทางานโดยมองไปข้างหน้า (คิดเสมอว่า
ประชาชนจะได้อะไร) มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาให้ประชาชน ให้บริการเชิงรุก ไม่ต้องรอให้ประชาชนมาขอความช่วยเหลือ
จัดบรกิ ารสาธารณะท่ตี รงกับความตอ้ งการของประชาชน

3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) การทางานต้องมีการวิเคราะห์
ความเส่ียงเพื่อเตรียมการล่วงหน้า นาองค์ความรู้ที่เป็นสหสาขาวิชา มาสร้างนวัตกรรมหรือประยุกต์เพื่อตอบสนอง
การเปลี่ยนแปลงไดท้ ันเวลา ปรับตัวให้เป็นสานักงานที่ทันสมัยมีขีดสมรรถนะสูง และทาให้ข้าราชการมีความผูกพัน

ห น้ า | 98
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ต่อการปฏบิ ตั งิ าน
อีกทั้งในช่วงสถานการณ์ Covid-19 การให้บริการประชาชนได้เปลี่ยนรูปแบบวิถีใหม่ (New Normal)

กรมการแพทย์แผนไทยฯ ได้ดาเนินการจัดทาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือลดความแออัดในการรับบริการ เช่น
ระบบจองคิวรบั บรกิ ารคลนิ ิกกัญชา (Dr.Ganja in TTM) ระบบใหค้ าปรึกษากัญชาทางการแพทย์แผนไทย (Ganja
Chatbot) เพอ่ื สร้างความปลอดภัยใหก้ ับประชาชนในการรับบรกิ าร

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน NA NA NA NA NA

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปูาหมาย 6 ระบบ 4 ระบบ 3 ระบบ 3 ระบบ 3 ระบบ

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ข้นั ต้น 75 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ได้ 3 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบให้คาปรึกษา
กัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย (Ganja Chatbot), ระบบแจง้ เวียน
ขัน้ มาตรฐาน 100 หนงั สือราชการรายบคุ คล และระบบแจ้งเตอื นลกู หนีเ้ งินยมื

ขนั้ สงู พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั ได้ 4 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบให้คาปรกึ ษา
กัญชาทางการแพทย์แผนไทย (Ganja Chatbot), ระบบบรหิ ารจดั การ
ตวั ชี้วดั (Management Cockpit), ระบบแจ้งเวยี นหนงั สือราชการ
รายบคุ คล, ระบบแจ้งเตอื นลกู หนเี้ งินยมื

พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ได้ 6 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบให้คาปรกึ ษา
กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย (Ganja Chatbot), ระบบบรหิ ารจัดการ
ตวั ชว้ี ดั (Management Cockpit), ระบบแจ้งเวียนหนังสือราชการ
รายบคุ คล, ระบบแจง้ เตือนลกู หนี้เงินยมื , ระบบจองใช้รถราชการ และ
ระบบแจ้งซ่อมครภุ ัณฑอ์ อนไลน์

เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล Small Success :

ไตรมาส รายละเอยี ดการดาเนนิ งาน/ขอบเขตการประเมนิ แนวทางการประเมนิ ผล

(เอกสาร หลกั ฐานต่างๆ)

1 (3 เดือน) ระบบ Ganja Chatbot/ระบบพัฒนาแล้วเสร็จ - การเปิดใช้งานของระบบ

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) พร้อมให้บริการ - หน้าจอการทางานของระบบ

2 (6 เดือน) ระบบ Management Cockpit, ระบบแจง้ เวียน - การเปิดใช้งานของระบบ

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) หนังสือราชการรายบคุ คล, ระบบแจง้ เตือนลกู หนี้เงนิ - หน้าจอการทางานของระบบ

ยมื /ระบบพัฒนาแล้วเสร็จพร้อมให้บริการ

3 (9 เดือน) ระบบจองใชร้ ถราชการ และระบบแจ้งซอ่ มครภุ ณั ฑ์ - การเปิดใช้งานของระบบ

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ออนไลน์/ระบบพัฒนาแล้วเสร็จ พร้อมให้บริการ - หน้าจอการทางานของระบบ

ห น้ า | 99
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ขอ้ มลู : ข้อมลู การพฒั นาระบบจากหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง ทง้ั 6 ระบบ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลความต้องการใช้งานระบบ (ท้ัง 6 ระบบ) จัดเก็บข้อมูล รายงาน
ความกา้ วหน้า รายงานสรปุ ผลการดาเนินงาน และรายงานการยอมรบั การใชง้ านระบบ (UAT)

ประโยชนท์ จี่ ะได้รบั :
1. เพอ่ื เพิม่ ศักยภาพองคก์ ารสู่การเปน็ ระบบราชการ 4.0
2. เพอ่ื ให้เจา้ หนา้ ที่สามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึน้
3. ประชาชนสามรถเขา้ รบั บริการกัญชาทางการแพทย์แผนไทยได้เพมิ่ ข้นึ

ผู้กากับตวั ชว้ี ดั : นายเจตสิก โพธิพ์ ันธุ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5639
หัวหนา้ ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้จดั เก็บขอ้ มลู : 1. นายชศู ักดิ์ เฮงเจรญิ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5639
นักวิชาการคอมพวิ เตอร์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5639

2. นายจริ ภาส สอสอน
นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์

ห น้ า | 100
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

6. โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ผสมผสาน

ห น้ า | 101
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 102
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 103
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอียดตวั ชวี้ ดั ตามคารบั รองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ประเดน็ การประเมินผล ตวั ชี้วดั น้าหนัก เปา้ หมาย
การปฏิบัตริ าชการ (รอ้ ยละ) (ขน้ั มาตรฐาน)

ตวั ชีว้ ดั หน่วยงาน

การประเมนิ 1. ร้อยละผ้ปู ุวยทีเ่ ข้ารบั บรกิ ารคลินิกกัญชา 20 เพม่ิ ข้ึนมากกวา่ ร้อยละ 3

ประสิทธิผลการ ทางการแพทยแ์ บบบูรณาการของกรมเพิม่ ข้นึ

ดาเนินงาน 2. ระดับความพงึ พอใจของผู้รบั บริการของ 20 ระดับความพงึ พอใจของ

(Performance หน่วยบริการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ ผ้รู บั บริการมากกวา่ ร้อยละ
Base) ผสมผสาน
85

3. รอ้ ยละมูลคา่ การใช้ยาสมนุ ไพรเพมิ่ ขึ้น 20 รอ้ ยละมลู คา่ ยาสมนุ ไพร

เพ่ิมขึ้นมากกว่าร้อยละ 5

4. คลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยแบบ 10 ผา่ นการพิจารณาและได้รบั

บูรณาการของกรมไดร้ ับรางวลั เลศิ รฐั ด้านการ การตรวจประเมนิ จากทาง

พฒั นาการบรกิ าร สานกั งาน กพร.

รวม 70

ตัวชี้วดั ร่วม

การประเมนิ ศกั ยภาพ 1. ร้อยละของการเบกิ จา่ ยงบประมาณ 8 รอ้ ยละ 80 – 89.99

การดาเนนิ งาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หนว่ ยงาน

2. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาเวบ็ ไซต์ 8 - เว็บไซต์มีอย่างนอ้ ย 6 องค์ประกอบ
ของหน่วยงาน
- อัพเดตเว็บไซต์ 1 ครงั้ ต่อไตรมาส

3. ระดบั ความสาเรจ็ การประเมินดชั นีมวลกาย 8 - ครบถว้ น/ไม่ทันเวลา
(BMI) ของบคุ ลากรภายในหนว่ ยงาน
ไมค่ รบถว้ น/ทันเวลา
- ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40

- น้าหนักดีข้นึ ร้อยละ 75

4. ระดบั ความสาเร็จของการประเมินความ 6 มีผลประเมินความพึงพอใจ/ไม่พงึ
พึงพอใจ/ความไมพ่ ึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99

ผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย ต่อภารกจิ หลักของหน่วยงาน

รวม 30

ห น้ า | 104
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและค่มู ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวดั หนว่ ยงาน  ตัวชีว้ ัดต่อเนือ่ ง  ตวั ชีว้ ัดใหม่  ตัวชวี้ ัดเดิม

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : ร้อยละผู้ปุวยที่เข้ารับบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบ น้าหนัก
บูรณาการของกรมเพ่ิมข้ึน รอ้ ยละ 20
หน่วยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกับแผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรกิ ารเปน็ เลศิ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ ลดความแออดั ในระบบบริการสุขภาพดว้ ยระบบบริการคลนิ กิ หมอครอบครัวโดยการแพทย์
แผนไทย การแพทย์ทางเลอื ก และสมุนไพรในระดบั ปฐมภูมิ

คาอธบิ าย :
ผู้ป่วยนอก หมายถึง ประชาชนที่มารับบริการตรวจ วนิ ิจฉัย รักษาโรค ในคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน

ไทยของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานทุกแห่ง โดยผู้ประกอบวิชาชีพท่ีเก่ียวข้องท่ีได้
มาตรฐาน

คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย หมายถึง คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยที่เปิดให้บริการโดย
โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสานทกุ แห่ง มกี ารใหบ้ รกิ ารดูแลรกั ษาผู้ปวุ ยดว้ ยตารับยาแผน
ไทยทม่ี ีกญั ชาปรุงผสมอยู่ และน้ามนั กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน หมายถงึ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน (ยสเส) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย (เรือนไทย) โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี และศูนย์อื่นที่เปิดให้บริการภายใต้โรงพยาบาล
การแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

ระยะเวลาการประเมนิ ต้งั แต่ 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 มถิ ุนายน 2564

สถานการณ์ :
คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พ้ืนบ้านไทย เร่ิมเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ

เมื่อวันท่ี 6 มกราคม 2563 ณ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย อาคารพพิ ิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์
ไทย (ช้ันใต้ดิน) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน (ยสเส) ท่ีสามารถเปิดให้บริการประชาชนทุกวัน ยกเว้นวันหยุดและวันหยุดนักขัตฤกษ์ และเปิด
ให้บริการในส่วนภูมิภาคเพ่ิมท่ี โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพที่ 8
จังหวัดอุดรธานี ตัง้ แตว่ ันท่ี 16 มีนาคม 2563 ปจั จุบันมีบุคลากรรองรับการจัดบริการกัญชาทางการแพทย์แผน
ไทยและการแพทย์พนื้ บา้ น เพ่อื ให้บริการประชาชนไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ มีสอ่ื ความร้แู ละปูายประชาสัมพนั ธเ์ กี่ยวกับ
กัญชาทางการแพทย์แผนไทย ประชาชนสามารถเข้ารับบริการผ่าน 2 ช่องทาง คือ walk-in ตามศูนย์ท่ีให้บริการ
และจองคิวรับบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยผ่านแอปพลิเคชั่น Dr.Ganja จากสถานการณ์การ
ให้บริการ คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ น ตั้งแตว่ ันท่ี 6 มกราคม – 30 กันยายน 2563
จานวน 70,769 Visit และโดยมกี ารเปิดใหบ้ ริการลงทะเบยี นผ่าน Application และลงทะเบยี นดว้ ยตนเอง

ห น้ า | 105
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สตู รคานวณ : จานวนของครง้ั ของผู้มารับบริการคลินกิ กัญชา ปี 64 X 100 2563
จานวนของครง้ั ของผมู้ ารับบรกิ ารคลนิ ิกกัญชา ปี 63 70,769
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน : 2562 (100)
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 -
--- 2568
ผลการดาเนนิ งาน 15

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567

คา่ เปาู หมาย 3 5 7 10

เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เปา้ หมาย 50
ขัน้ ตน้ ร้อยละผู้ปุวยนอกทั้งหมดที่มารับบริการคลนิ ิกกัญชาทาง
75 การแพทย์แผนไทย เท่ากับหรือมากกว่าปี 2563
ข้ันมาตรฐาน
100 ร้อยละผู้ปุวยนอกทั้งหมดท่ีมารับบริการคลนิ ิกกัญชาทาง
ขนั้ สงู การแพทยแ์ ผนไทย เพิ่มข้ึนมากกว่าร้อยละ 3

ร้อยละผู้ปุวยนอกทั้งหมดท่ีมารับบรกิ ารคลนิ กิ กัญชาทาง
การแพทย์แผนไทย เพิม่ ข้ึนมากกว่าร้อยละ 5

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมูล

(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) จานวนผปู้ ุวยนอกทั้งหมดท่มี ารับบริการคลินิก ขอ้ มลู จากระบบ SoftCon

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) กัญชาทางการแพทย์แผนไทย ไมน่ ้อยกว่า Phoenix โรงพยาบาลการแพทย์

*17,694 ครงั้ แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

(หมายเหตุ *1. คดิ จากจานวนครัง้ ในปี 2563 ณ วันที่ 1 มกราคม 2564

โดยเฉล่ยี เป็นรายไตรมาส 2. ผลงานปจั จบุ ัน

ไตรมาสที่ 1 มผี ู้รับบรกิ ารจานวน 18,899 ราย)

2 (6 เดือน) จานวนผู้ปวุ ยนอกทง้ั หมดท่มี ารบั บรกิ ารคลินกิ ขอ้ มลู จากระบบ SoftCon

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย ไมน่ ้อยกว่า Phoenix โรงพยาบาลการแพทย์

*35,388 ครงั้ แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

(หมายเหตุ *คดิ จากจานวนคร้ังในปี 2563 โดย ณ วันที่ 1 เมษายน 2564

เฉล่ียเปน็ รายไตรมาส )

3 (9 เดือน) ร้อยละผู้ปุวยนอกท้งั หมดทมี่ ารบั บริการคลินิก ข้อมูลจากระบบ SoftCon

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย เพิ่มขึน้ มากกว่า Phoenix โรงพยาบาลการแพทย์

รอ้ ยละ ๗.๕ แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ณ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564

ห น้ า | 106
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ขอ้ มลู : ขอ้ มูลจากระบบ SoftCon Phoenix โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน
ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2563 ถงึ 30 กันยายน 2564

วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล : บันทกึ ขอ้ มูลการรบั บริการผา่ นระบบ SoftCon Phoenix และดงึ รายงานจากระบบ

ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั :
นาผลร้อยละการเข้าถึงบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยมาวิเคราะห์ กาหนดทิศทางในการ

พฒั นารูปแบบการให้บริการ และการเข้าถึงบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยที่เหมาะสมตอ่ สถานการณ์
ปัจจุบนั เพื่อเป็นขอ้ มูลสนับสนุนในการกาหนดนโยบายด้านสุขภาพตอ่ ไป

ผกู้ ากับตวั ชี้วดั : นายปรีชา หนทู มิ หมายเลขโทรศพั ท์ 085 485 6911

ผอู้ านวยการโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ผู้จดั เกบ็ ข้อมูล : ปยิ ทศั น์ ใจเย็น หมายเลขโทรศพั ท์ 083 577 6234
แพทย์แผนไทยปฏบิ ัตกิ าร

ห น้ า | 107
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้วี ัดหนว่ ยงาน  ตวั ชี้วัดตอ่ เนอื่ ง  ตัวช้วี ดั ใหม่  ตัวชี้วัดเดิม

โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน

ตัวชี้วัดท่ี 2 : ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการของหน่วยบริการแพทย์แผนไทย น้าหนกั
และการแพทย์ผสมผสาน ร้อยละ 20
หนว่ ยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรกิ ารเปน็ เลิศ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ ยกระดบั โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสานสคู่ วามเป็นเลิศ

คาอธบิ าย :
ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจในการรับบริการ ณ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ผสมผสานและศูนย์บริการทุกแห่ง โดยสารวจจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ สารวจจากบุคลากรประจา บุคลกร
ที่เข้ารับฝกึ อบรม ประชาชนทร่ี ับบริการ และหนว่ ยงานภาครฐั /เอกชน

ด้านความพึงพอใจ ท่ีประเมิน 5 ด้าน ได้แก่ 1. ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการ 2. ดา้ นเจ้าหน้าท่ี
ผใู้ ห้บริการ 3. ส่งิ อานวยความสะดวก 4. คุณภาพการให้บริการ 5. ดา้ นระยะเวลาการรับบริการ และมีการประเมิน
ระดบั ความพึงพอใจในภาพรวม

ระยะเวลาการประเมินตง้ั แต่ 1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 31 สงิ หาคม 2564

สถานการณ์ :
จากการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ

การแพทย์ผสมผสาน ในปีงบประมาณ 2563 จานวน 100 ชุดข้อมูล ได้แก่บุคลากรสาธารณสุข จานวน 2 ราย
ประชาชนที่รับบริการ 23 ราย หน่วยงานภาครัฐ/เอกชนท่ีมีการบริการฝึกอบรม จานวน 1 ราย ประชาชนท่ัวไป
จานวน 54 ราย หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน จานวน 17 ราย อ่ืนๆ จานวน 3 ราย ข้อคาถามความพึงพอใจด้าน
กระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ คิดเปน็ ร้อยละ 81.94 ขอ้ คาถามความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ร้อย
ละ 88.53 คาถามความพึงพอใจดา้ น สงิ่ อานวยความสะดวก รอ้ ยละ 79.13 ขอ้ คาถามความพึงพอใจตอ่ คุณภาพ
การให้บริการ ร้อยละ 86.87 ข้อคาถามความเชื่อมั่นในการเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจ ร้อยละ 85.33 ข้อคาถาม
ความเช่ือมั่นในการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ร้อยละ 85.33 ข้อคาถามความเชื่อม่ันในการอานวยความสะดวก
และความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละ 86.93ภาพรวมการให้บริการความพึงพอใจของ
ผรู้ ับบรกิ าร/ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียของโรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน คิดเปน็ ร้อยละ 86.87

สตู รคานวณ : คะแนนระดบั ความพงึ พอใจรวมทง้ั หมด X 20
จานวนผู้ตอบ

หมายเหตุ ใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 5 ระดบั

ข้อมลู พนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน 80.55 81.20 71.55 76.51 84.12

ห น้ า | 108
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปาู หมาย 8๐ ๘๕ 90 95 100

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการร้อยละ 80
เปา้ หมาย 75 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการมากกว่าร้อยละ 85
ขั้นต้น 100 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการมากกวา่ ร้อยละ 90
ขัน้ มาตรฐาน
ขัน้ สงู

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

1 (3 เดือน) ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
ร้อยละ 80
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) (หมายเหตุ : ผลงานปัจจุบนั 83.9) แบบสารวจความพงึ พอใจผ่าน Google
form ของโรงพยาบาลแพทยแ์ ผนไทยและ
2 (6 เดือน) ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ การแพทยผ์ สมผสาน และศนู ย์ใหบ้ ริการ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) มากกว่าร้อยละ 85 ทกุ แหง่ ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564

3 (9 เดือน) ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ แบบสารวจความพึงพอใจผา่ น Google
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) มากกว่าร้อยละ 90 form ของโรงพยาบาลแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน และศนู ย์ให้บรกิ าร
ทกุ แหง่ ณ วนั ที่ 1 เมษายน 2564

แบบสารวจความพึงพอใจผา่ น Google
form ของโรงพยาบาลแพทย์แผนไทยและ
การแพทยผ์ สมผสาน และศูนย์ใหบ้ ริการ
ทุกแหง่ ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564

แหลง่ ข้อมลู : โรงพยาบาลแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน และศูนย์ให้บรกิ ารทุกแหง่

วธิ ีการจดั เกบ็ ข้อมลู : สารวจขอ้ มูลโดยใช้ Google form หรือ เอกสาร กบั ผทู้ ่ีมารบั บรกิ ารตั้งแตว่ ันท่ี 1 ตลุ าคม
2563 ถงึ 31 สงิ หาคม 2564

ประโยชนท์ ่ีจะได้รบั : นาผลการสารวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการมาพฒั นาคณุ ภาพการให้บริการ รูปแบบการ
ให้บริการเพอ่ื ยกระดับโรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสานสู่ความเป็นเลศิ ต่อไป

ผกู้ ากับตวั ช้วี ดั : นายปรชี า หนทู ิม หมายเลขโทรศพั ท์ 085 485 6911

ผู้อานวยการโรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน

ผ้จู ัดเก็บข้อมูล : นางสาวโชติกา แหล่มบรรเทิง หมายเลขโทรศพั ท์ -
แพทย์แผนไทยปฏบิ ัติการ

ห น้ า | 109
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้วี ัดหนว่ ยงาน  ตัวช้ีวัดตอ่ เน่ือง  ตวั ชี้วัดใหม่  ตวั ช้ีวัดเดิม

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน

ตัวช้ีวัดท่ี 3 : ร้อยละมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มข้ึน นา้ หนกั
หน่วยวดั : ร้อยละ รอ้ ยละ 20

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกับแผนปฏิบตั ริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บรกิ ารเป็นเลิศ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ผสมผสาน

คาอธบิ าย :
การใชย้ าสมนุ ไพร หมายถงึ จานวนคร้ังการสงั่ จ่ายยาสมนุ ไพร ยาแผนไทย ในการรักษาประชาชนที่มารับ

บริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค ส่งเสริมและฟื้นฟูสภาพ ในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสานทุกแหง่

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน หมายถงึ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน (ยสเส) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย (เรือนไทย) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย (เรือนหมอ
คง) โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ และโรงพยาบาลการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพที่ 8 จงั หวดั อดุ รธานี

ยาสมุนไพร หมายถึง รายการยาสมุนไพรท่ีมีในบัญชีรายการยาสมุนไพรของโรงพยาบาลการแพทย์แผน
ไทยและการแพทย์ผสมผสาน และมีการจ่ายบริการสาธารณสุข ท้ังที่ผลิตเอง ได้รับสนับสนุน และซ้ือจากแหล่ง
ผลิตอนื่

มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร หมายถึง มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรของของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน จากรายงานของระบบ SoftCon Phoenix

ระยะเวลาการประเมินตงั้ แต่ 1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 มิถนุ ายน 2564

สถานการณ์ :
โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานปัจจุบันมีรายการยาสมุนไพรทั้งหมด 283

รายการ ได้แก่ ยาสมุนไพรสาเร็จรูป 83 รายการ ยาตารับแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่กัญชาและน้ามันกัญชา
17 รายการ สมุนไพรเดยี่ ว 142 รายการ และยาตารับแผนไทย 41 รายการ

ผลการดาเนินงานการจ่ายยาสมุนไพรของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ในปี
2558 - 2563 จานวน 4 แห่งมีข้อมูลดังนี้ ในปี 2558 มีการเปิดให้บริการ 1 แห่งคือ โรงพยาบาลการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (ยสเส) มีการจ่ายยาสมุนไพร 13,181 ครั้ง คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร
5,685,089 บาท ในปี 2559 มกี ารเปิดให้บรกิ ารเพิ่ม 2 แหง่ คอื ศูนยส์ ง่ เสริมสุขภาพแผนไทย(เรอื นไทย) และ
ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ มีการจ่ายยาสมุนไพร 17,884 คร้ัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.68 คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร
6,153,068 บาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 8.23 ในปี 2560 มีการจ่ายยาสมุนไพร 26,033 ครั้ง เพ่ิมข้ึนร้อยละ
45.57 คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร 8,679,943 เพิ่มข้ึนร้อยละ 41.07 ในปี 2561 มีการจ่ายยาสมุนไพร
28,002 ครั้ง เพ่ิมข้ึนร้อยละ 7.56 คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร 9,387,127 บาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 8.15 ในปี
2562 มีการจ่ายยาสมุนไพร 38,493 ครั้ง เพ่ิมขึ้นร้อยละ 37.47 คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร 13,691,676

ห น้ า | 110
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

บาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 45.86 และในปี 2563 มีการเปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย และเปิด

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพท่ี 8 จังหวดั อุดรธานีอีก 1 แห่ง มีการ

จ่ายยาสมุนไพร 99,414 ครั้ง เพ่ิมขึ้นร้อยละ 158.27 คิดเป็นมูลค่ายาสมุนไพร 23,944,701 บาท เพิ่มข้ึน

ร้อยละ 74.89 รายละเอียดดังตาราง

ตารางแสดงมลู คา่ ยาสมนุ ไพรของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

จาแนกตามปงี บประมาณ เพิม่ ขึ้นจานวน (ร้อยละ)

ปีงบประมาณ รพ.การแพทย์แผน ศนู ย์สง่ เสรมิ รพ. สาขาศูนย์ รพ.การแพทย์ รวม

ไทยและการแพทย์ สุขภาพแผนไทย ราชการ แจง้ แผนไทยฯ เขต

ผสมผสาน (ยศเส) (กรมฯ) วฒั นะ 8 อดุ รธานี

2558 5,685,089 5,685,089 (100)

2559 4,777,363 1,031,297 344,408 6,153,068 (8.23)

2560 4,821,739 3,066,564 791,640 8,679,943 (41.07)

2561 4,991,303 3,162,092 1,233,732 9,387,127 (8.15)

2562 6,160,095 4,505,939 3,025,642 13,691,676 (45.86)

2563 10,060,433 8,777,694 4,864,276 242,298 23,944,701 (74.89)

0

สูตรคานวณ : มูลค่ายาสมนุ ไพร ปี 64 X 100
มูลคา่ ยาสมุนไพร ปี 63

ข้อมลู พน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน 8.23 41.07 8.15 45.86 74.89
(6,153,068) (8,679,943) (9,387,127) (13,691,676) (23,944,701)

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปาู หมาย 5 10 15 20 25

เกณฑก์ ารประเมนิ : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 ร้อยละมูลค่ายาสมุนไพร เพิ่มข้ึนมากกว่าร้อยละ 2
เปา้ หมาย 75 ร้อยละมูลค่ายาสมุนไพร เพิ่มข้ึนมากกว่าร้อยละ 5
ขน้ั ตน้ 100 ร้อยละมูลค่ายาสมุนไพร เพม่ิ ขึ้นมากกว่าร้อยละ 10
ขัน้ มาตรฐาน
ขั้นสูง

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) มีมูลค่าการใชย้ าสมุนไพร มูลค่าไม่น้อยกว่า (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
*5,986,176 บาท
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) (หมายเหตุ *1. คิดจากมูลค่าในปี 2563 โดย ข้อมูลจากระบบ SoftCon Phoenix
เฉล่ียเปน็ รายไตรมาส 2. ผลงานปัจจุบัน โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน ณ วันที่ 1
มกราคม 2564

ห น้ า | 111
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคูม่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

2 (6 เดือน) ไตรมาสที่ 1 มีมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
10,855,395 บาท)
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) มีมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร มูลค่าไม่น้อยกวา่ ขอ้ มูลจากระบบ SoftCon Phoenix
*11,972,352 บาท โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
3 (9 เดือน) (หมายเหตุ *คิดจากมูลค่าในปี 2563 โดย การแพทย์ผสมผสาน ณ วันท่ี 1
เฉล่ียเปน็ รายไตรมาส) เมษายน 2564
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ร้อยละมูลค่ายาสมุนไพร เพ่มิ ขึ้นมากกว่า ข้อมูลจากระบบ SoftCon Phoenix
ร้อยละ 10 โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน ณ วนั ท่ี 1
กรกฎาคม 2564

แหลง่ ข้อมูล : ขอ้ มูลจากระบบ SoftCon Phoenix โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน ณ
วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2563 ถงึ 30 กนั ยายน 2564

วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู : บันทกึ ข้อมลู การรบั บริการผา่ นระบบ SoftCon Phoenix และดึงรายงานจากระบบ

ประโยชน์ทจ่ี ะได้รับ :
นาผลร้อยละการจ่ายยาสมุนไพรและมูลค่ายาสมุนไพรมาวิเคราะห์ ในการกาหนดทิศทางในการส่งเสริม

การใช้สมุนไพร และยาสมุนไพร ในการรักษาและดูแลสุขภาพของประชาชนให้เหมาะสมต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
เพอ่ื เปน็ การส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดา้ นสมุนไพร

ผกู้ ากับตวั ช้ีวดั : นายปรชี า หนูทิม หมายเลขโทรศพั ท์ 085 485 6911

ผู้อานวยการโรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ผจู้ ัดเก็บข้อมูล : ปิยทัศน์ ใจเย็น หมายเลขโทรศพั ท์ 083 577 6234
แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

ห น้ า | 112
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ดั หนว่ ยงาน  ตวั ช้วี ัดต่อเน่อื ง  ตวั ช้วี ดั ใหม่  ตวั ชว้ี ัดเดิม

โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน

ตัวช้ีวัดท่ี 4 : คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการของกรมได้รับ น้าหนัก
รางวัลเลิศรัฐด้านการพัฒนาการบริการ ร้อยละ 10
หน่วยวดั : ระดับความสาเร็จ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บริการเป็นเลศิ (Service Excellence)
แผนงาน/โครงการ ลดความแออัดในระบบบรกิ ารสุขภาพดว้ ยระบบบรกิ ารคลินกิ หมอครอบครัวโดยการแพทย์

แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมนุ ไพรในระดับปฐมภมู ิ

คาอธบิ าย :
คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยแบบบูรณาการ หมายถงึ คลินิกท่ีให้บริการตรวจ วนิ ิจฉัย รักษาโรค

โดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยกุ ต์ แพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน มกี ารจ่ายยาตารับกัญชาทางการแพทย์
ผปู้ ว่ ยนอก หมายถงึ ประชาชนที่มารับบรกิ ารตรวจ วนิ ิจฉยั รกั ษาโรค ในคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ของ

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสานทุกแห่ง โดยผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทเี่ กย่ี วขอ้ งที่ได้มาตรฐาน
ตารับกัญชาทางการแพทย์ หมายถึง ตารับกัญชาท่ีได้รับการรับรอง 16 ตารับ น้ามันกัญชาสูตรเดชา

ตารบั เมตตาโอสถ ตารับการณุ ยโ์ อสถ และสารสกัดกญั ชา
โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน หมายถงึ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ

การแพทย์ผสมผสาน (ยสเส) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย (เรือนไทย) โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี และศูนย์อื่นที่เปิดให้บริการภายใต้โรงพยาบาล
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ระยะเวลาการประเมิน ตง้ั แต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 มถิ ุนายน 2564

สถานการณ์ :
คลินกิ กัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย เริ่มเปดิ ใหบ้ ริการอยา่ งเป็นทางการเมื่อวันท่ี 6

มกราคม 2563 ณ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย อาคารพิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย (ช้ันใต้ดิน)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (ยสเส)
ท่ีสามารถเปิดให้บรกิ ารประชาชนทุกวัน ยกเวน้ วนั หยุดและวนั หยุดนักขัตฤกษ์ และเปดิ ให้บริการในส่วนภมู ิภาคเพิ่ม
ท่ี โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน สาขาเขตสุขภาพที่ 8 จังหวัดอุดรธานี ต้ังแต่วันที่
16 มีนาคม 2563 ปัจจุบันมีบุคลากรรองรับการจัดบริการกัญชาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
เพอ่ื ให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ มีสื่อความรู้และปาู ยประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
ประชาชนสามารถเขา้ รับบรกิ ารผา่ น 2 ชอ่ งทาง คือ walk-in ตามศนู ย์ท่ีใหบ้ ริการ และจองควิ รบั บรกิ ารคลินกิ กัญชา
ทางการแพทย์แผนไทยผ่านแอปพลิเคช่นั Dr.Ganja จากสถานการณ์การให้บริการ คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน
ไทยและแพทย์พืน้ บา้ น ตง้ั แต่วันที่ 6 มกราคม – 30 กันยายน 2563 จานวน 70,769 Visit และโดยมีการเปิด
ให้บริการลงทะเบียนผา่ น Application และลงทะเบียนด้วยตนเอง

ในปี 2563 มีการเปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย (ตารับเมตตาโอสถและการุณย์โอสถ)
จานวน 1 แห่ง โดยเปิดให้บริการที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย (เรือนไทย) อาคารพิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและ

ห น้ า | 113
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

การแพทยไ์ ทย โดยเปดิ ใหบ้ รกิ ารตง้ั แต่เดือน สิงหาคม 2563 จนถึงปจั จุบนั โดยเปิดให้บริการทุกวนั จันทรถ์ ึงวนั ศุกร์
ในเวลาราชการ มีผู้รับบริการทั้งหมด 380 ราย และส่ังจ่ายยาตารับเมตตาโอสถ จานวน 284 ขวด และการุณย์
โอสถ จานวน 133 ขวด และมีการวางแผนขยายการให้บริการเพ่ิมโดยการเปิดท่ี โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
และการแพทยผ์ สมผสาน (ยสเส) เพ่มิ อกี 1 แห่ง ในปี 2564

ข้อมูลพนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

ค่าเปาู หมาย - - - - -

หมายเหตุ *หมายถงึ ยอดสะสม

เกณฑก์ ารประเมนิ :

เป้าหมาย คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ส่งข้อมูลเข้าร่วมประกวดรางวัลเลิศรฐั ด้านการพัฒนาการบริการ
ขน้ั ต้น 50 ผ่านการพจิ ารณาและไดร้ ับการตรวจประเมินจากทาง สานักงาน กพร.
ผา่ นการพจิ ารณา ได้รบั รางวลั เลศิ รฐั ด้านการพฒั นาการบรกิ าร
ขัน้ มาตรฐาน 75

ขน้ั สงู 100

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) ร่างเอกสารข้อมลู คลนิ กิ กัญชาทางการแพทย์แผนไทย เอกสารร่างขอ้ มลู การสง่ เข้า

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) แบบบรู ณาการของกรม ส่งเข้าประกวดรางวลั เลิศรฐั ประกวดรางวัลเลศิ รัฐ

2 (6 เดือน) เอกสารขอ้ มลู คลนิ ิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย เอกสารขอ้ มลู การส่งเขา้ ประกวด

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) แบบบรู ณาการของกรม สง่ เข้าประกวดรางวลั รางวัลเลศิ รฐั

เลศิ รัฐ ส่งถึง สานกั งาน กพร.

3 (9 เดือน) ไดร้ บั การตรวจประเมินในพื้นที่ขัน้ ตอนที่ 2 จาก ประกาศผลขนั้ ตอนท่ี 1 จาก

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) สานกั งาน กพร. สานกั งาน กพร.

แหลง่ ข้อมูล : ผลการประเมนิ รางวลั เลศิ รฐั จาก สานกั งาน กพร.

วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมูล : รายงานการใหบ้ รกิ ารผา่ นระบบ SoftCon Phoenix และดงึ รายงานจากระบบ

ประโยชน์ที่จะได้รับ : ผู้ปุวยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชา สามารถเข้าถึงบริการกัญชาทาง

การแพทยไ์ ดม้ ากขน้ึ และมกี ารตดิ ตามดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ โดยแพทย์แผนปจั จบุ นั และแพทยแ์ ผนไทย

ผูก้ ากบั ตวั ชี้วดั : นายปรีชา หนทู ิม หมายเลขโทรศพั ท์ 085 485 6911

ผอู้ านวยการโรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ผจู้ ดั เกบ็ ข้อมูล : สิบเอกหญิง ภาวิณี อ่อนมุข หมายเลขโทรศพั ท์ -

แพทยแ์ ผนไทยชานาญการ

ห น้ า | 114
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

7. สานักงานจัดการกญั ชาและกระท่อม
ทางการแพทย์แผนไทย

ห น้ า | 115
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 116
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 117
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดตัวชีว้ ัดตามคารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปีงบประมารณ พ.ศ. 2564
สานักงาจดั การกัญชาและกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย

ประเด็นการประเมนิ ผล ตัวช้ีวดั นา้ หนัก เปา้ หมาย
การปฏิบตั ริ าชการ (ร้อยละ) (ขนั้ มาตรฐาน)

ตัวชี้วดั หน่วยงาน

การประเมนิ 1. รอ้ ยละหนว่ ยบริการสาธารณสุขทจ่ี ดั บริการ 30 รพศ./รพท./รพช. ทเ่ี ปิด

ประสทิ ธผิ ลการ คลินกิ กญั ชาทางการแพทยแ์ บบบูรณาการ บรกิ ารคลินกิ กญั ชาทาง

ดาเนินงาน การแพทยแ์ ผนไทยบรู ณาการ

(Performance กบั แผนปัจจุบนั รอ้ ยละ 50

Base) (จานวน 450 แห่ง)

2. จานวนโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลที่ 20 จานวน รพ.สต.ทีย่ ่นื คาขอ

ยน่ื คาขอปลกู กญั ชาเพ่ือรองรับการผลิตกัญชา ปลกู กัญชาฯ 113 แห่ง

ทางการแพทย์ ครอบคลุมทุกเขตสขุ ภาพ

3. ร้อยละผูผ้ ่านการอบรมตอ่ อายใุ บ 20 ร้อยละ 75

ประกาศนียบัตรหลักสตู รการใช้กญั ชาทาง (จานวน 2,276 คน)

การแพทยแ์ ผนไทย

รวม 70

ตัวชวี้ ดั ร่วม

การประเมินศักยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณ 8 รอ้ ยละ 80 – 89.99

การดาเนนิ งาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หนว่ ยงาน

2. ระดบั ความสาเรจ็ ของการพฒั นาเวบ็ ไซต์ 8 - เว็บไซตม์ ีอยา่ งน้อย 6 องค์ประกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อพั เดตเว็บไซต์ 1 ครงั้ ต่อไตรมาส

3. ระดับความสาเร็จการประเมนิ ดชั นีมวลกาย 8 - ครบถ้วน/ไมท่ ันเวลา
(BMI) ของบุคลากรภายในหนว่ ยงาน
ไม่ครบถว้ น/ทันเวลา
- ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 40

- นา้ หนักดีข้นึ ร้อยละ 75

4. ระดับความสาเรจ็ ของการประเมินความ 6 มีผลประเมนิ ความพงึ พอใจ/ไม่พึง
พงึ พอใจ/ความไมพ่ ึงพอใจของผรู้ ับบริการและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99

ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย ตอ่ ภารกจิ หลักของหน่วยงาน

รวม 30

ห น้ า | 118
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการและคูม่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ดั หน่วยงาน  ตวั ช้วี ัดต่อเนอ่ื ง  ตัวชว้ี ัดใหม่  ตวั ช้วี ัดเดมิ

สานกั งานจดั การกญั ชาและกระท่อม
ทางการแพทย์แผนไทย

ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีจัดบริการคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์ น้าหนัก
แบบบูรณาการ รอ้ ยละ 30
หนว่ ยวดั : ร้อยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่ือมโยงกบั แผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตรบ์ รกิ ารเป็นเลิศ (Service Excellence )
แผนงาน/โครงการ ขับเคลอื่ นกัญชา กัญชง กระทอ่ ม ทางการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์ทางเลือกและ

การแพทย์พ้นื บา้ นไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
คลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ หมายถึง การจัดบริการ คัดกรอง ตรวจ วนิ ิจฉัย รักษาโรค

จ่ายยา และให้คาปรึกษาผู้ปุวยที่ต้องใช้ยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ร่วมกันระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน
แพทย์แผนไทยและสหวิชาชพี ตามแนวทางทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ กาหนด
ขนั้ ตอนการดาเนินงาน :

1. จัดทาแนวทางการจดั บริการคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยบรู ณาการกบั แผนปจั จุบนั
2. สนับสนนุ ผลิตภณั ฑต์ ารบั ยาแผนไทยทม่ี กี ญั ชาปรุงผสมใหเ้ พยี งพอกับการใช้ในหน่วยบริการ
3. ขยายการจดั บริการคลินกิ กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยบูรณาการกบั แผนปจั จุบัน
4. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการเขา้ ถึงคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยบูรณาการกบั แผนปจั จุบัน
ขอบเขตการประเมิน : ประเมินเฉพาะในสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(รพศ. 34 แห่ง รพท. 87 แห่ง และ รพช. 778 แห่ง รวมท้ังสิ้น 899 แห่ง) เก็บข้อมูลระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม
2563 – 30 กนั ยายน 2564

สถานการณ์ :
ความตื่นตัวด้านการใช้กัญชาและกัญชงในระบบสุขภาพเกิดขึ้นจาก พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ

ฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2562 บังคับใช้ จึงเกิดนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคล่ือนการพัฒนาให้มี
การใช้ประโยชนท์ างการแพทย์กญั ชาทางการแพทย์ โดยกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กสนับสนุน
การปลูก ผลิต และกระจายยา เพ่ือให้เกิดการเข้าถึงการใช้กัญชาท่ีมีมาตรฐานและปลอดภัย พบว่า ได้มีการ
จัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยตารับยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมและน้ามันกัญชา (ตารับหมอ
เดชา) ท้ังสนิ้ 63,120 ครง้ั จากหนว่ ยบริการทั้งส้ิน 363 แห่ง มีการเข้าถึงสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ท่ีได้รับ
การสนับสนุนจาก GPO จานวน 309 ราย โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสนับสนุน
แนวทางการจดั บริการคลินกิ กัญชาทางการแพทย์แผนไทย และผลิตภัณฑ์ตารับยาแผนไทย 16 ตารับ และน้ามัน
กญั ชา (ตารับหมอเดชา) ให้กบั หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐทัว่ ประเทศ

สตู รคานวณ : จานวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขทเี่ ปิดบรกิ ารคลินิกกญั ชาทางการแพทย์แบบบรู ณาการ X 100
จานวนหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช.)

ห น้ า | 119
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน : 2559 2560 2561 2562 2563
ปงี บประมาณ
- สนบั สนนุ การจัดบรกิ าร
ผลการดาเนินงาน คลินิกกัญชาทางการ
แพทย์แผนไทยในระดบั รพ
ศ./รพท./รพช. 363 แหง่
(รพศ./รพท. 103 แหง่
และ รพช. 260 แหง่ )

แผนระยะยาว / Road Map : 2565 2566 2567 2568
ปงี บประมาณ 2564 ร้อยละ 75 รอ้ ยละ 100 - -

ค่าเปูาหมาย รอ้ ยละ 50

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
เป้าหมาย 50
ขัน้ ตน้ รพศ./รพท./รพช. ท่เี ปิดบริการคลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผน
75 ไทยบรู ณาการกับแผนปัจจุบนั ร้อยละ 25 (จานวน 225 แห่ง)
ขั้นมาตรฐาน
100 รพศ./รพท./รพช. ทเี่ ปดิ บริการคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แผน
ขั้นสงู ไทยบรู ณาการกบั แผนปจั จุบนั รอ้ ยละ 50 (จานวน 450 แหง่ )

รพศ./รพท./รพช. ทีเ่ ปิดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผน
ไทยบูรณาการกับแผนปจั จบุ นั รอ้ ยละ 75 (จานวน 676 แหง่ )

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

1 (3 เดือน) - มีแนวทางการจัดบริการคลนิ กิ กญั ชาทาง (เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) การแพทยแ์ ผนไทยบรู ณาการกบั แผนปจั จุบนั
- คู่มอื การจดั บริการคลนิ กิ กัญชาทาง
2 (6 เดือน) เปิดบริการคลินกิ กญั ชาทางการแพทย์แผน การแพทยแ์ ผนไทยบรู ณาการกับแผน
ไทยบรู ณาการกบั แผนปจั จบุ นั ดังน้ี ปัจจุบัน
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) รพศ. จานวน 10 แห่ง (25%) - รายงานการจัดบริการคลินกิ กัญชา
รพท. จานวน 22 แหง่ (25%) แบบบรู ณาการจาก สกกท.
3 (9 เดือน) รพช. จานวน 195 แห่ง (25%)
- รายงานการจัดบริการคลินิกกญั ชา
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) เปดิ บรกิ ารคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผน แบบบรู ณาการจาก สกกท.
ไทยบูรณาการกบั แผนปัจจบุ นั ดังนี้
รพศ. จานวน 17 แหง่ (50%)
รพท. จานวน 39 แหง่ (50%)
รพช. จานวน 389 แหง่ (50%)

ห น้ า | 120
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ข้อมูล : สานกั งานจดั การกัญชาและกระทอ่ มทางการแพทย์แผนไทย

วิธีการจดั เกบ็ ข้อมูล : เกบ็ ขอ้ มลู จากการรายงานผลการเปดิ บรกิ ารคลินิกกญั ชาทางการแพทยแ์ บบบรู ณาการ

ประโยชนท์ ี่จะไดร้ บั : 1. ประชาชนเขา้ ถึงบริการกัญชาทางการแพทยท์ ี่มมี าตรฐานและปลอดภัย
2. สง่ เสรมิ การใชก้ ัญชาในระบบบรกิ ารสขุ ภาพอย่างเป็นรูปธรรม

ผู้กากับตวั ชวี้ ดั : นางมาลา สรอ้ ยสาโรง หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647

ผอู้ านวยการสานักงานจดั การกญั ชาและกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย

ผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล : นางสาวอรปภา จันทร์หอม หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647
เภสชั กรปฏิบัตกิ าร

ห น้ า | 121
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ัดหน่วยงาน  ตัวช้วี ัดต่อเนอื่ ง  ตัวชว้ี ดั ใหม่  ตัวชวี้ ัดเดิม

สานักงานจัดการกญั ชาและกระทอ่ ม
ทางการแพทย์แผนไทย

ตัวช้ีวัดท่ี 2 : จานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลที่ย่ืนคาขอปลูกกัญชาเพ่ือ นา้ หนัก
รองรับการผลิตกัญชาทางการแพทย์ ครอบคลุมทุกเขตสุขภาพ รอ้ ยละ 20
หน่วยวดั : จานวน (แห่ง)

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ: ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันเป็นเลิศ

(Competitiveness Excellence)
แผนงาน/โครงการ ขบั เคลอื่ นกญั ชา กัญชง กระท่อม ทางการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและ

การแพทย์พ้ืนบ้านไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
จานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลที่ยื่นคาขอปลูกกัญชาเพื่อรองรับการผลิตกัญชาทาง

การแพทย์ หมายถึง จานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ท่ีย่ืนคาขอรับอนุญาตผลิตยาเสพติด
ให้โทษในประเภท 5 ที่ไม่ใช่เฮมพ์ ภายใต้โครงการพัฒนากัญชาสาหรับการใช้ทางการแพทย์แผนไทย
ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลและชุมชน ระยะที่ 2
ชั้นตอนการดาเนนิ งาน :

1. รพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ส่งเอกสารคาขอรับอนุญาตผลิตฯ มายังกรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

2. สานักงานจดั การกัญชาและกระทอ่ มทางการแพทย์แผนไทย ตรวจสอบเอกสารตามแบบตรวจสอบเอกสาร
คาขอรบั อนญุ าตผลติ ซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 ทไี่ ม่ใชเ่ ฮมพ์

3. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รวบรวมเอกสารคาขอรับอนุญาตผลิตฯ ที่ครบถ้วนตาม
แบบตรวจสอบฯ สง่ ไปยังกองควบคุมวตั ถเุ สพตดิ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ขอบเขตการประเมิน : จานวนคาขออนุญาตผลิตฯ ของ รพ.สต.ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ ส่งไปยังกองควบคุมวตั ถุเสพ
ติด สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา จานวน 150 แหง่ ครอบคลมุ 13 เขตสุขภาพ

สถานการณ์ : กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดทาโครงการพัฒนากัญชาสาหรับการใช้
ทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลและชุมชน ระยะที่ 2 โดยเป็นการดาเนินงานร่วมกัน
ระหว่าง รพ.สต. และวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงมีเปูาหมาย 150 รพ.สต. ครอบคลุม 13 เขตสุขภาพ และในปัจจุบัน
ได้ดาเนินการแล้ว จานวน 6 รพ.สต. ได้แก่ รพ.สต.หนองไผ่ จ.นครสวรรค์, รพ.สต.บา้ นพนมรอก จ.นครสวรรค์,
รพ.สต.บ้านวังคาง จ.นครสวรรค์, รพ.สต.บา้ นเขาทอง จ.นครสวรรค์, รพ.สต.บ้านดอนชะเอม จ.กาญจนบุรี และ
รพ.สต.เฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษา นวมนิ ทราชินี ตาบลคูบวั จ.ราชบรุ ี

ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - 6 แหง่

ห น้ า | 122
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปาู หมาย 150 - - - -

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
50 จานวน รพ.สต.ท่ีย่ืนคาขอปลกู กัญชาฯ 75 แหง่
เป้าหมาย 75 จานวน รพ.สต.ทยี่ ่ืนคาขอปลูกกญั ชาฯ 113 แหง่
ข้นั ตน้ 100 จานวน รพ.สต.ที่ยน่ื คาขอปลกู กัญชาฯ 150 แห่ง ครอบคลุม
ขัน้ มาตรฐาน ทุกเขตสขุ ภาพ
ข้ันสูง

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมูล

1 (3 เดือน) - (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) -

2 (6 เดือน) - จดั ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารส่งเสรมิ และพฒั นา รวบรวมขอ้ มูลจากเอกสาร
ศกั ยภาพกลุม่ ผู้ปลูกกัญชาใน รพ.สต.และชมุ ชน คาขอรับอนุญาตผลติ ยาเสพตดิ ให้
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) - จานวน รพ.สต.ท่ียน่ื คาขอปลูกกญั ชาฯ 75 แห่ง โทษในประเภท 5 ที่ไมใ่ ช่เฮมพ์

3 (9 เดือน) - จานวน รพ.สต.ทีย่ น่ื คาขอปลกู กญั ชาฯ 150 แหง่ รวบรวมขอ้ มลู จากเอกสาร
คาขอรบั อนญุ าตผลิตยาเสพติดให้
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) โทษในประเภท 5 ท่ีไมใ่ ชเ่ ฮมพ์

แหลง่ ข้อมลู : สานกั งานจดั การกัญชาและกระทอ่ มทางการแพทย์แผนไทย

วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มูล : รวบรวมข้อมลู จากเอกสารคาขอรบั อนุญาตผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ทไี่ มใ่ ช่เฮมพ์

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์ และมีแหล่งวัตถุดบิ กัญชาทางการแพทย์แผนไทย
เพม่ิ ข้ึน เพอ่ื นาวตั ถดุ ิบเข้าสู่กระบวนการผลิตตารบั ยาทม่ี กี ัญชาปรุงผสม สาหรับสนบั สนุนใหส้ ถานพยาบาลต่อไป

ผกู้ ากบั ตวั ชี้วดั : นางมาลา สรอ้ ยสาโรง หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647

ผู้อานวยการสานกั งานจัดการกญั ชาและกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย

ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสาวณัชชา สาลีวรรณ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647
เภสัชกรปฏบิ ัติการ

ห น้ า | 123
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชวี้ ัดหนว่ ยงาน  ตัวชีว้ ัดต่อเนือ่ ง  ตวั ช้วี ดั ใหม่  ตวั ชีว้ ัดเดิม

สานักงานจัดการกญั ชาและกระท่อม
ทางการแพทยแ์ ผนไทย

ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละผู้ผา่ นการอบรมตอ่ อายใุ บประกาศนียบตั รหลกั สตู รการใชก้ ัญชา น้าหนัก
ทางการแพทยแ์ ผนไทย รอ้ ยละ 20
หน่วยวดั : รอ้ ยละ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เช่อื มโยงกบั แผนปฏิบัตริ าชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตรบ์ คุ ลากรเป็นเลิศ (People Excellence )
แผนงาน/โครงการ ขับเคลื่อนกญั ชา กญั ชง กระท่อม ทางการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยท์ างเลือกและ

การแพทย์พืน้ บ้านไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย :
หลกั สตู รการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์แผนไทย (ต่ออาย)ุ หมายถงึ การอบรมการใช้ตารับยาแผนไทยทีม่ ี

กัญชาปรุงผสมอยู่ สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย การแผนไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบ้าน
ให้สามารถสั่งจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ให้แก่ผู้ปุวยในสถานพยาบาลในสังกัดตามพระราชบัญญัติยาเสพ
ตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) และตามกฎหมายวิชาชีพ ซึ่งเน้ือหาในแต่ละรายวิชาเป็นเน้ือหาที่เพ่ิมเติมและเป็นปัจจุบัน
โดยจานวนชว่ั โมงในการอบรม จานวน 3 ช่วั โมง

อายุของใบประกาศนียบัตร หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่การสาเร็จการอบรมจนถึงวันหมดอายุของ
ใบประกาศนียบตั รหลกั สูตรการใชก้ ญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย โดยมรี ะยะเวลา 2 ปี
ขั้นตอนการดาเนนิ งาน :

1. จดั ทารายละเอยี ดเน้ือหารายวิชาและรปู แบบการตอ่ อายใุ บประกาศนยี บัตร
2. สานักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย เปิดอบรมเพ่ือต่ออายุใบประกาศนียบัตร
หลกั สูตรการใชก้ ัญชาทางการแพทย์แผนไทย สาหรบั ผทู้ ่ีสาเร็จการอบรมหลักสตู รการใชก้ ัญชาทางการแพทย์แผน
ไทยแลว้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2562
3. ผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย การแผนไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบ้าน ต้องผ่านการทดสอบความรู้
หลกั สูตรการใชก้ ญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย
4. สานักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย ตรวจสอบรายช่ือผู้ผ่านการอบรมต่ออายุ
ใบประกาศนียบตั รหลกั สูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย สง่ ไปยังสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา
ขอบเขตการประเมิน : จานวนผผู้ า่ นการอบรมตอ่ อายุใบประกาศนยี บตั รการใช้กญั ชาการใชก้ ัญชาทางการแพทย์
แผนไทย สง่ ไปยังสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

สถานการณ์ : กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร่วมกับสภาการแพทย์แผนไทยและหน่วยงานใน
ส่วนภูมิภาค ได้ดาเนินการจัดอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย สาหรับแพทย์แผนไทยแพทย์
แผนไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบ้าน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่
ใหก้ บั ผ้ปู ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบา้ นตามกฎหมายว่าด้วยวชิ าชีพ
การแพทย์แผนไทย ในการส่ังยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 ให้กับผู้ปุวยไดอ้ ย่างถูกต้องตามหลักวชิ าการและเปน็ ไป
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ปัจจุบันมีผู้ผ่านการอบรมแล้วทั้งสิ้น จานวน
5,621 คน (ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2563) โดยผู้ที่สาเร็จการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์
แผนไทยแลว้ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2562 และจะหมดอายุในภายปี งบประมาณ พ.ศ.2564 มจี านวน 3,034 คน ซงึ่ เป็น
กลมุ่ เปาู หมายทจี่ ะต้องอบรมภายในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 นี้

ห น้ า | 124
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สตู รคานวณ : จานวนผูผ้ ่านการอบรมตอ่ อายใุ บประกาศนียบตั รหลักสตู รการใชก้ ญั ชาฯ X 100
จานวนผผู้ า่ นการอบรมหลกั สตู รการใช้กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย 3,034 คน
ข้อมลู พน้ื ฐาน :
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map : 2565 2566 2567 2568
ปงี บประมาณ 2564 รอ้ ยละ 60 รอ้ ยละ 70 - -

ค่าเปาู หมาย รอ้ ยละ 50

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เป้าหมาย 50
ขั้นต้น ผผู้ ่านการอบรมต่ออายุหลกั สูตรการใชก้ ัญชาทางการแพทยแ์ ผน
75 ไทย รอ้ ยละ 50 (จานวน 1,517 คน)
ขั้นมาตรฐาน
100 ผผู้ ่านการอบรมตอ่ อายุหลกั สตู รการใช้กญั ชาทางการแพทย์แผน
ขน้ั สงู ไทย รอ้ ยละ 75 (จานวน 2,276 คน)

ผผู้ า่ นการอบรมตอ่ อายุหลกั สูตรการใชก้ ัญชาทางการแพทยแ์ ผน
ไทย ร้อยละ 100 (จานวน 3,034 คน)

เป้าหมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ข้อมลู

1 (3 เดือน) - (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) -

2 (6 เดือน) จานวนผผู้ ่านการอบรมต่ออายหุ ลกั สตู รการใช้กญั ชา รายชอื่ ผู้ผา่ นการอบรม/หนังสือ
ทางการแพทย์แผนไทย 600 คน (รอ้ ยละ 19.8) นาสง่ ผผู้ า่ นการอบรมไปยงั อย.
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64)
จานวนผู้ผ่านการอบรมต่ออายุหลกั สูตรการใชก้ ัญชา รายชือ่ ผูผ้ ่านการอบรม/หนังสือ
3 (9 เดือน) ทางการแพทยแ์ ผนไทย 3,000 คน (รอ้ ยละ 98) นาส่งผผู้ ่านการอบรมไปยัง อย.

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)

แหลง่ ขอ้ มลู : สานักงานจดั การกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย

วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล : รวบรวมขอ้ มลู รายช่อื ผู้ผ่านการอบรมต่ออายกุ ารใชก้ ัญชาทางการแพทย์แผนไทย

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ : สามารถส่ังจ่ายตารับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ให้แก่ผู้ปุวยในสถานพยาบาลในสังกัด
ตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) และตามกฎหมายวชิ าชีพ

ผกู้ ากับตวั ช้ีวดั : นางมาลา สร้อยสาโรง หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647

ผอู้ านวยการสานักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทยแ์ ผนไทย

ผจู้ ดั เก็บข้อมูล : นายปยิ ะพงษ์ พกุ ะนดั ด์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2149 5647

แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั ิการ

ห น้ า | 125
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

8. สานกั งานการนวดไทย

ห น้ า | 126
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 127
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ห น้ า | 128
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดตัวชี้วดั ตามคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการ ประจาปงี บประมารณ พ.ศ. 2564
สานักงานการนวดไทย

ประเดน็ การประเมนิ ผล ตัวช้วี ดั น้าหนัก เปา้ หมาย
การปฏิบัตริ าชการ (รอ้ ยละ) (ข้นั มาตรฐาน)

ตวั ช้วี ดั หน่วยงาน

การประเมนิ 1. ระดบั ความสาเรจ็ การจัดทารปู แบบการนวด 20 ระดับ 2 ดาเนินการตาม

ประสิทธผิ ลการ ไทยในการทอ่ งเทีย่ วสุขภาพวิถไี ทย ขนั้ ตอน 1 – 4 แล้วเสร็จ

ดาเนินงาน 2. ระดับความสาเร็จการนาองค์ความรมู้ ณเี วช 20 ระดับ 2 ดาเนินการตาม

(Performance เพอื่ ใช้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ข้นั ตอน 1 – 4 แล้วเสร็จ
Base) 3. จานวนองค์ความรดู้ า้ นการนวดไทยที่ไดร้ ับ 30 จานวนองค์ความรู้ 3 เรื่อง

การเผยแพร่

รวม 70

ตัวชว้ี ดั ร่วม

การประเมนิ ศักยภาพ 1. รอ้ ยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณ 8 ร้อยละ 80 – 89.99

การดาเนินงาน ตามแผนรายจา่ ยงบประมาณรายไตรมาสของ

(Potential Base) หน่วยงาน

2. ระดบั ความสาเร็จของการพฒั นาเวบ็ ไซต์ 8 - เว็บไซต์มีอย่างนอ้ ย 6 องคป์ ระกอบ
ของหนว่ ยงาน
- อัพเดตเวบ็ ไซต์ 1 ครัง้ ต่อไตรมาส

3. ระดับความสาเรจ็ การประเมินดชั นีมวลกาย 8 - ครบถ้วน/ไม่ทันเวลา
(BMI) ของบุคลากรภายในหน่วยงาน
ไม่ครบถว้ น/ทันเวลา
- ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40

- นา้ หนกั ดีขึ้น ร้อยละ 75

4. ระดบั ความสาเรจ็ ของการประเมินความ 6 มผี ลประเมนิ ความพงึ พอใจ/ไมพ่ งึ
พึงพอใจ/ความไมพ่ งึ พอใจของผู้รบั บริการและ
พอใจฯ ร้อยละ 75 – 84.99

ผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย ต่อภารกจิ หลักของหนว่ ยงาน

รวม 30

ห น้ า | 129
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและค่มู อื การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ดั หน่วยงาน  ตวั ชีว้ ัดตอ่ เนื่อง  ตัวช้ีวัดใหม่  ตัวชี้วัดเดมิ

สานักงานการนวดไทย

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : ระดับความสาเร็จการจัดทารูปแบบการนวดไทยในการท่องเที่ยว นา้ หนกั
สุขภาพวิถีไทย รอ้ ยละ 20
หนว่ ยวดั : ระดับความสาเร็จ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั (Competitiveness

Excellence )
แผนงาน/โครงการ ยกระดับการทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทยครบวงจรโครงการ

คาอธบิ าย : (นยิ าม รายละเอียดการดาเนินงาน ขอบเขตการประเมนิ )
การท่องเที่ยวสุขภาพไทยวิถีไทย หมายถึง การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (health tourism) เป็นการ

ท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติและแหล่งวัฒนธรรมเพื่อการพักผ่อนและเรียนรู้วิธีการรักษาสุขภาพกายใจได้รับ
ความเพลิดเพลิน และสุนทรียภาพ มีความรู้ต่อการรักษาคุณค่า และคุณภาพชีวิตที่ดี มีจิตสานึกต่อการรักษา
ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถ่ิ น โ ด ย ป ร ะ ช า ช น ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น มี ส่ ว น ร่ ว ม ต่ อ ก า ร จั ด ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ที่ ย่ั ง ยื น
อาจจดั รปู แบบเปน็ การท่องเที่ยวเพ่อื สขุ ภาพและความงาม (health beauty and spa)

รูปแบบการนวดไทยในการท่องเท่ียวสุขภาพวิถีไทย หมายถึง การใช้ศาสตร์การนวดไทย ที่สามารถใช้
ในการดูแลสุขภาพที่มีการพัฒนาต่อยอดมาจากภูมิปัญญาไทย โดยใช้หลักการส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคแก่
ประชาชนอย่างมีรูปแบบที่เหมาะสม มุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อการท่องเท่ียวที่มีเอกลักษณ์และมีการเพิ่มมูลค่า
เปน็ การสง่ เสริมผ้ปู ระกอบการและการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก และการสร้างงานสรา้ งอาชพี แกป่ ระชาชน
ขน้ั ตอนการดาเนินงาน :

ข้ันตอนที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญและผู้เกี่ยวข้องเพ่ือจัดทารูปแบบการนวดไทยในการส่งเสริม
สุขภาพและการทอ่ งเท่ียวสุขภาพวถิ ีไทย

ขัน้ ตอนที่ 2 รวบรวมข้อมลู จดั ทาเป็น (รา่ ง) รปู แบบการนวดไทยในการทอ่ งเทีย่ วสุขภาพวิถีไทย
ข้ันตอนท่ี 3 จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยและพัฒนา
รูปแบบการนวดไทยในการทอ่ งเท่ยี วสขุ ภาพวถิ ไี ทย
ขน้ั ตอนที่ 4 จัดทารูปแบบการนวดไทยในการท่องเท่ียวสุขภาพวิถีไทย สาหรับพัฒนาผู้ประกอบการท่องเที่ยว
สุขภาพวิถีไทย
ขนั้ ตอนท่ี 5 นารูปแบบการนวดไทยในการทอ่ งเที่ยวสุขภาพวถิ ไี ทยนารอ่ งดาเนินการในพื้นที่เปาู หมาย

สถานการณ์ :
การดาเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข มีการบริหารขับเคลื่อนและสนับสนุนนโยบายด้านการส่งเสริม

การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ Medical and Wellness Tourism อีกทั้งนโยบายดังกล่าวยังเปน็ หนึ่งในอุตสาหกรรม
เปาู หมายท่ีสาคัญของรฐั บาลซ่ึงเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม
ของทกุ ภาคสว่ นตามกรอบแนวคิด หลักการของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-
2564) และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มุ่งเน้นการพฒั นาการท่องเท่ียวท่ีมีเอกลักษณ์และมี
มูลค่าเพ่ิม การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดเล็ก การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และการสร้างงาน
สร้างอาชีพแก่ประชาชน ปัจจุบันการนวดไทยได้รับความนิยมในการดูแลสุขภาพจากชาวไทยและชาวต่างชาติ

ห น้ า | 130
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ส่งผลตอ่ ภาคเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มรายไดจ้ ากการท่องเที่ยวและการบริการ ท้ังนี้กรมการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบการ นวดไทย จึงได้ดาเนินการพัฒนาการนวดไทย
ตอ่ ยอดมาจากภูมิปัญญาไทย โดยนาอัตลักษณ์ไทยมาเป็นจุดสร้างรายได้ให้บูรณาการกับการท่องเที่ยวในจังหวัด
ทอ่ งเท่ียว

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปาู หมาย รปู แบบการนวดไทย - - - -
ในการทอ่ งเท่ียว

สุขภาพวถิ ีไทย

ดาเนินการ

นารอ่ งในพื้นท่ี

เปาู หมาย

เกณฑก์ ารประเมิน : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 ระดับ 1 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 3 แล้วเสร็จ
เป้าหมาย 75 ระดับ 2 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 4 แลว้ เสร็จ
ขัน้ ตน้ 100 ระดับ 3 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 5 แล้วเสร็จ
ขน้ั มาตรฐาน
ข้ันสงู

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

(เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) เก็บรวบรวมองคค์ วามร้จู ากตารา / ลงพื้นที่เก็บ เอกสาร(รา่ ง)รูปแบบการนวดไทยใน

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ข้อมูลจากผ้เู ชยี่ วชาญ การทอ่ งเท่ียวสขุ ภาพวถิ ไี ทย

2 (6 เดือน) ประชมุ คณะกรรมการจัดทารปู แบบการนวด รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) ไทยในการทอ่ งเทยี่ วสุขภาพวถิ ีไทย

3 (9 เดือน) นารปู แบบการนวดไทยในการท่องเท่ยี ว รายงานการประเมินผลการ

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) สขุ ภาพวถิ ไี ทยไปใช้ในพนื้ ทเี่ ปูาหมายและ ดาเนินงานของพ้ืนท่ีเปาู หมาย

ประเมนิ ผล

แหลง่ ข้อมูล : รายงานของสานักงานการนวดไทย

วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู : รวบรวมขอ้ มูลจากการดาเนินงานการจดั ทารายงานของสานักงานการนวดไทย

ห น้ า | 131
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประโยชนท์ จี่ ะได้รับ :
1. ผู้ประกอบการด้านการนวดไทยมีรูปแบบการนวดไทยในการท่องเท่ียวสุขภาพวิถีไทยท่ีถูกต้องและ

ตอบสนองความต้องการของลกู คา้
2. ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้รับการนวดไทยจากผู้ท่ีได้รับการพฒั นารูปแบบการนวดไทยในการท่องเท่ียว

สุขภาพวถิ ีไทย

ผกู้ ากับตวั ชี้วดั : นายสมศกั ดิ์ กรชี ัย หมายเลขโทรศพั ท์ 081 684 6683
ผู้อานวยการสานักงานการนวดไทย

ผู้จัดเก็บขอ้ มูล : 1. นางนันท์นภัส ตอ้ ยติ่ง หมายเลขโทรศพั ท์ -
นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
2. นางประภาศรี วงษม์ ิตรแท้ หมายเลขโทรศพั ท์ -
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
3. นายนิเวศน์ บวรกลุ วฒั น์ หมายเลขโทรศพั ท์ -
แพทย์แผนไทยปฏิบัตกิ าร

4. นางสาวคญั ฑมารา สิทธิไกรพงษ์
แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ัติการ

5. นายเธยี รธรรม อภจิ รรยาธรรม
แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ัตกิ าร

6. นายชยั วัฒน์ อทุ ยาน
นักวชิ าการสาธารณสขุ

7. นางสาวบัณฑติ า อ่อนแกว้
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ห น้ า | 132
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคู่มือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ัดหน่วยงาน  ตัวช้วี ัดตอ่ เนือ่ ง  ตวั ช้วี ัดใหม่  ตวั ช้ีวัดเดิม

สานักงานการนวดไทย

ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสาเร็จการนาองค์ความรู้มณีเวชเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพ น้าหนัก
ผู้สูงอายุ ร้อยละ 20
หนว่ ยวดั : ระดับความสาเร็จ

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอื่ มโยงกบั แผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ บคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence )
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ผสมผสาน

คาอธบิ าย :
มณีเวช หมายถึง ศาสตร์ที่สามารถใช้ในการดูแลสุขภาพและรักษาผู้ปุวยได้เป็นศาสตร์หนึ่งที่มีการ

พัฒนาต่อยอดมาจากภูมิปัญญาไทย โดยใช้หลักการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกายทาให้การไหลเวียนของเลือด
ลม และน้าเหลือง สะดวก สามารถนาศาสตร์ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพ
ท้ังบาบัดรักษา ส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคแก่ประชาชนอย่างมีรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อเป็นการต่อยอดองค์
ความร้นู าสกู่ ารใชใ้ นการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายซุ ึ่งเปน็ กลมุ่ ท่ีมจี านวนประชากรท่เี พิม่ ขน้ึ
ข้นั ตอนการดาเนินงาน :

ขั้นตอนที่ 1 แตง่ ต้งั คณะกรรมการผูเ้ ช่ยี วชาญการดูแลสุขภาพผ้สู ูงอายดุ ้วยองคค์ วามรมู้ ณีเวช
ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมลู จัดทาเป็น (รา่ ง) เอกสารองค์ความรู้มณเี วชเพื่อใชใ้ นการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายุ
ขน้ั ตอนท่ี 3 จดั ประชุมคณะกรรมการเพื่อพจิ ารณาเอกสารสรุปองค์ความร้แู ละใหข้ ้อเสนอแนะ
ขั้นตอนท่ี 4 จัดทาองคค์ วามรแู้ ละหลักสูตรการอบรมผู้ประกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์แผน
ไทยประยกุ ตเ์ พอื่ ใหส้ ามารถใช้ศาสตร์องคค์ วามรูม้ ณีเวชเพือ่ ใช้ในการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุได้อยา่ งถกู ต้อง
ขน้ั ตอนที่ 5 นาหลักสตู รมณีเวชเพอ่ื ใชใ้ นการดแู ลสขุ ภาพผูส้ งู อายุไปทดลองใชใ้ นพ้ืนท่ีนาร่อง
ขอบเขตการประเมิน : ระยะเวลาการดาเนินงานสิ้นสดุ ณ เดอื นสิงหาคม 2564

สถานการณ์ :
ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุน ให้การแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ผสมผสานเข้ามามีส่วนร่วม และมีบทบาทในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชน กลุ่มงานวิชาการนวดไทย
สถาบันการแพทย์แผนไทย จงึ ได้พฒั นาองค์ความรู้ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย เพื่อประยกุ ต์ใช้ในระบบบริการสุขภาพ
ในภูมิภาค โดยได้เห็นความสาคัญของศาสตร์มณีเวชที่สามารถใช้ในการดูแลสุขภาพและรักษาผู้ปุวยได้ และเป็น
ศาสตร์หน่ึงที่มีการพัฒนาต่อยอดมาจากภูมิปัญญาไทย โดยใช้หลักการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกายให้การ
ไหลเวียนของเลือด ลม และน้าเหลือง สะดวก และในปีพ.ศ. 2560 – 2561 ได้มีการจัดอบรมให้บุคลากร
สาธารณสุขไปแล้วจานวนท้ังสิ้น 461 คน จาก 97 หน่วยงาน และปัจจุบันพบว่าแพทย์ในสถานบริการ
สาธารณสขุ หลายแหง่ ไดน้ าศาสตร์ดังกลา่ วไปประยุกตใ์ ช้เป็นแนวทางในการดูแลสขุ ภาพ ท้งั บาบัดรักษา สง่ เสรมิ
สุขภาพและปอู งกันโรคแก่ประชาชนอยา่ งมรี ปู แบบทเ่ี หมาะสม และเพือ่ ให้เกิดการตอ่ ยอดขององค์ความรู้และเกิด
ความต่อเนื่องของการนาสูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นระบบบริการในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ กรมการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก จึงได้ส่งเสริมการนาภมู ิปัญญาศาสตร์มณีเวชมาพัฒนาตอ่ ยอดในการดูแลผู้สูงอายุท่ีเป็น
กลมุ่ เพ่มิ จานวนมาข้ึนในปจั จุบัน ทงั้ นี้มงุ่ หวงั ให้ผสู้ งู อายุมสี ขุ ภาพท่ีแขง็ แรงปราศจากโรค

ห น้ า | 133
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการและคูม่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนินงาน - - - - -

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปาู หมาย ระดบั 3 - - - -

หลกั สูตรมณีเวชเพ่อื

ใช้ในการดูแลสุขภาพ

ผ้สู งู อายทุ ดลองใชใ้ น

พ้ืนทนี่ ารอ่ ง

เกณฑก์ ารประเมนิ : ค่าคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
50 ระดับ 1 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 3 แล้วเสร็จ
เป้าหมาย 75 ระดับ 2 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 4 แล้วเสร็จ
ข้ันตน้ 100 ระดับ 3 ดาเนินการตามข้ันตอน 1 – 5 แล้วเสร็จ
ขั้นมาตรฐาน
ขน้ั สงู

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มลู

1 (3 เดือน) เก็บรวบรวมองค์ความรูจ้ ากตาราและ (เอกสาร/หลกั ฐาน/รายงาน)
ผ้เู ชีย่ วชาญ
(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) เอกสาร(รา่ ง)มณเี วชเพ่ือใชใ้ นการ
ประชมุ คณะกรรมการจดั ทาองคค์ วามรู้และ ดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุ
2 (6 เดือน) หลักสตู รมณีเวชเพ่ือใช้ในการดแู ลสุขภาพ รายงานการประชุมคณะกรรมการ
ผูส้ งู อายุ
(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) รายงานผลการประเมินการ
นาหลักสูตรมณีเวชเพื่อใชใ้ นการดูแลสุขภาพ ดาเนินงานของพ้ืนที่เปาู หมาย
3 (9 เดือน) ผู้สงู อายุไปทดลองใชใ้ นพื้นทนี่ ารอ่ งและ
ประเมนิ ผล
(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64)

แหลง่ ข้อมูล : รายงานของสานกั งานการนวดไทย

วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู : รวบรวมข้อมลู จากการดาเนินงานการจดั ทารายงานของสานกั งานการนวดไทย

ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ ับ :
1. ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ท้ังในสถานพยาบาลภาครัฐและ

เอกชนไดร้ บั ความรูม้ ณเี วชเพือ่ ใช้ในการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุ
2. ประชาชนผู้สงู อายุมีโอกาสเข้าถงึ และได้รบั บรกิ ารการดแู ลสขุ ภาพด้วยมณเี วชทเี่ ปน็ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ

ผู้กากบั ตวั ช้ีวดั : นายสมศกั ดิ์ กรชี ัย หมายเลขโทรศพั ท์ 081 684 6683
ผู้อานวยการสานกั งานการนวดไทย

ห น้ า | 134
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผ้จู ดั เก็บข้อมลู : 1. นางนันท์นภัส ตอ้ ยติง่ หมายเลขโทรศพั ท์ -
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
2. นางประภาศรี วงษม์ ติ รแท้ หมายเลขโทรศพั ท์ -
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
3. นายนิเวศน์ บวรกุลวัฒน์ หมายเลขโทรศพั ท์ -
แพทย์แผนไทยปฏบิ ตั กิ าร

4. นางสาวคญั ฑมารา สทิ ธิไกรพงษ์
แพทย์แผนไทยปฏิบตั กิ าร

5. นายเธียรธรรม อภิจรรยาธรรม
แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ัติการ

6. นายชยั วฒั น์ อทุ ยาน
นักวิชาการสาธารณสขุ

7. นางสาวบัณฑติ า ออ่ นแกว้
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ห น้ า | 135
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วดั หนว่ ยงาน  ตัวชว้ี ัดต่อเนอื่ ง  ตวั ชีว้ ัดใหม่  ตวั ช้วี ัดเดิม

สานักงานการนวดไทย

ตัวชี้วัดที่ 1 : จานวนองค์ความรู้ด้านการนวดไทยท่ีได้รับการเผยแพร่ นา้ หนัก
หน่วยวดั : จานวน (เร่ือง) รอ้ ยละ 30

ความสอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ :
เชอ่ื มโยงกบั แผนปฏบิ ัติราชการของกรมฯ ยทุ ธศาสตร์ ภมู ิปญั ญาเป็นเลิศ (Wisdom Excellence )
แผนงาน/โครงการ พฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์

ผสมผสาน

คาอธบิ าย : (นิยาม รายละเอียดการดาเนินงาน ขอบเขตการประเมนิ )
องค์ความรู้ด้านการนวดไทย หมายถึง ความรู้ในการตรวจประเมิน การวินิจฉัย การบาบัด การปูองกัน

โรค การส่งเสริมสุขภาพและการฟ้นื ฟสู ุขภาพ ด้วยวิธีการกด คลึง บบี จับ ดดั ดึง ประคบ อบ หรือวิธีการอ่ืนตาม
ศิลปะการนวดไทย หรือด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย มีความสาคัญในการการส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค
การรกั ษา และฟนื้ ฟสู มรรถภาพ โดยองคค์ วามรนู้ ปี้ ระกอบด้วยการนวดไทย 4 เรื่อง ดงั นี้

1. มาตรฐานการนวดไทย เป็นการจัดทาองค์ความรู้สาหรับใช้ในการให้บริการการนวดไทย เพื่อให้
ผู้รับบริการได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย โดยสร้างคุณค่าและส่งเสริมการอนุรักษ์และยกระดับ
บริการการนวดไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับสากล ซ่ึงเป็นการสร้างมาตรฐานกลางที่สอดคล้องกับ
กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง และการบริหารจัดการในทุกระดับ ให้เป็นกรอบการปฏิบัติร่วมกันและเกิดประโยชน์สูงสุด
รวมถงึ การมีสว่ นชว่ ยในการพฒั นาเศรษฐกิจ

2. การนวดไทยแก้ลมอันทพฤทธิ คอื การนวดท่ีเกิดจากลมธาตุทงั้ ๔ ที่เป็นมูลเหตขุ องโรค ผทู้ ี่จะแก้ลมน้ี
ได้ ก็ต้องศึกษารู้จกั ตาแหนง่ ท่อี ย่ขู องเอน็ นอกเอน็ ในและเสน้ ตา่ งๆ โรคทีเ่ กดิ จากลมน้ี ไดแ้ ก่

๑) โรคท่เี กิดจากปถวีธาตุ (ธาตดุ นิ ) มอี าการแสดงทอ้ งแขง็ เปน็ ดาน หยิกหรือทุบถองไม่รู้สึกตัว
๒) โรคที่เกิดจากอาโปธาตุ (ธาตุน้า) มีอาการแสดงร่างกายเป็นน้าเหลืองข้ึน ในบางขณะ มีอาการ
เมอื่ ยขบไปทวั่ ทงั้ ตวั กลา้ มเนือ้ ตามบริเวณท้องอักเสบและเจ็บนานๆ
๓) โรคที่เกิดจากวาโยธาตุ (ธาตุลม) มีอาการโลหิตและน้าเหลืองจาง ผิวกายขาวซีด เหง่ือมักมีกล่ิน
สาบ
๔) โรคทเ่ี กดิ จากเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) มีอาการหนา้ และนัยนต์ าแดง ทอ้ งเฟอู ทอ้ งข้นึ เหนอื่ ยออ่ น
3. การนวดไทยสาหรับนักกีฬา คือ การนาภูมิปัญญาการนวดไทย ท่ีจะนาไปใช้ดูแลสุขภาพของนักกีฬา
ให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์ซ่ึงการนวดมีผลต่อสุขภาพของนักกีฬาเป็นอย่างมาก เพราะการนวดจะมีผลในการลด
อาการปวด ลดการเกร็งของกล้ามเน้ือ และลดการเกิดตะคริว การนวดยังทาให้การหมุนเวียนของโลหิตและ
น้าเหลืองดีขึ้น ทาให้อาการเจ็บปวดเมื่อยตามร่างกายดีขึ้น ลดการเกิดแผลในกล้ามเน้ือของร่างกายภายในและ
ผิวหนังภายนอก ตลอดจนการนวดยังทาให้กล้ามเน้ือนักกีฬามีการปรับและรักษาให้มีสภาพยืดหยุ่นดี มีความ
คลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวในการเลน่ กฬี า
4. การนวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย (ผู้สูงอายุ) คือ การนวดท่ีช่วยเสริมสร้างสุขภาพ
ใหแ้ กผ่ สู้ ูงอายุ ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง ความร้สู ึกสนองตอบต่อสิ่งแวดล้อมดี อารมณ์จิตใจสดช่ืนเบิกบาน ลดอาการ
ปวดท่ีพบบ่อยในผู้สูงอายุ คือ การปวดข้อต่อ การปวดที่มีสาเหตุมาจากกล้ามเน้ือ ปวดเม่ือย เมื่อยล้า มักจะบอก
ตาแหน่งปวดไม่ค่อยชัดเจน การปวดเม่ือยท่ีมีสาเหตุจากเส้นเอ็น การปวดเม่ือยท่ีมีสาเหตุจากเส้นประสาทถูก

ห น้ า | 136
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ัติราชการและค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดบั หน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กดทบั การปวดเมอ่ื ยจากเสน้ เลือดขอดบริเวณขา มวี ิธีการนวดสาหรับผ้สู ูงอายุ ได้แก่ การกด บีบ ลูบไล้ ทุบ เคาะ
เบาๆ และมีข้อควรระวัง ผู้สูงอายุท่ีมีโรคต่างๆ ซึ่งการนวดไทยจะช่วยบาบัด รักษาโรค ปูองกันโรค ฟื้นฟู
สมรรถภาพ และสร้างเสรมิ สุขภาพของผู้สูงอายุ
ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน :

1) รวบรวมขอ้ มลู จากการลงพ้นื ที่จดั ทาเป็น (ร่าง) เอกสารองคค์ วามรทู้ เี่ กย่ี วข้อง
2) แต่งตัง้ คณะกรรมการผ้เู ช่ยี วชาญองคค์ วามร้ดู ้านการนวดไทย
3) จดั ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเอกสารสรุปองค์ความรแู้ ละใหข้ ้อเสนอแนะ
4) เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ ในรูปแบบเอกสารหรือส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน
ไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ได้รับทราบและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการให้บริการได้ใน
สถานพยาบาลภาครฐั และเอกชน

สถานการณ์ :
การนวดไทย เป็นภูมิปัญญาทางการแพทย์ของชาติไทย ท่ีใช้ในการดูแลสุขภาพของประชาชนนับตั้งแต่

อดีต เป็นศาสตร์และศิลปห์ นง่ึ ทส่ี าคญั ของหลกั วิชาการแพทย์แผนไทย มอี ัตลักษณ์เฉพาะที่ไดพ้ ัฒนาผ่านการบรู ณา
การร่วมกับองค์ความรู้ของศาสตร์การแพทย์ในระบบการแพทย์อ่ืนๆ จนได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางท้ังใน
ประเทศและในระดบั นานาชาติ เป็นองคค์ วามรู้หน่ึงทมี่ ีการสืบทอดความรู้มาอย่างตอ่ เนื่องจากประสบการณ์ของครู
บาอาจารย์แพทย์แผนไทยผู้มีความเช่ียวชาญ สรา้ งคุณค่าสาคัญในดา้ นการรักษาและส่งเสรมิ สขุ ภาพของประชาชน
มาอย่างยาวนานจวบจนปัจจุบัน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็น
หน่วยงานหลักในการจัดทาองค์ความรู้เรื่องการนวดไทยได้ตระหนักถึงคุณค่า องค์ความรู้การนวดไทย ซึ่งเป็นภูมิ
ปัญญาทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการดูแลสุขภาพทั้งด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพ จึงได้จัดทามาตรฐาน
การนวดไทยเพือ่ ผลักดันสสู่ ถานบริการทงั้ ภาครฐั และเอกชน เปน็ บรกิ ารสุขภาพท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานภายใต้อัต
ลักษณว์ ฒั นธรรมไทยเพ่อื ใหก้ ารบริการมคี ุณภาพและปลอดภยั การพฒั นาองคค์ วามรูก้ ารนวดไทยแก้ลมอันทพฤทธิ
การนวดไทยสาหรับนักกีฬา และการนวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย (ผู้สูงอายุ) จะเป็นความรู้ทาง
วชิ าการด้านการนวดไทย และเพ่ือใหส้ ามารถถ่ายทอดใหก้ ับแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนไทยประยุกต์ พร้อมท้ังมี
การผลกั ดนั ขบั เคลื่อนการนวดไทยทั้งระบบโดยเชื่อมประสานกบั หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องตอ่ ไป

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน :

ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ผลการดาเนนิ งาน 2 1 1 4 2

แผนระยะยาว / Road Map :
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568

คา่ เปาู หมาย 3 5 5 5 5

เกณฑก์ ารประเมิน : คา่ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
50 จานวนองค์ความรู้ 2 เร่ือง
เป้าหมาย 75 จานวนองค์ความรู้ 3 เรื่อง
ขนั้ ตน้ 100 จานวนองค์ความรู้ 4 เรื่อง
ข้ันมาตรฐาน
ขน้ั สูง

ห น้ า | 137
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและคูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ระดบั หนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เปา้ หมายรายไตรมาส (Small Success) :

ไตรมาส เกณฑ/์ เปา้ หมาย (Small Success) แหลง่ ขอ้ มูล

(เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน)

1 (3 เดือน) เกบ็ รวบรวมองค์ความรจู้ ากตาราและ เอกสาร(รา่ ง)องค์ความรู้ 4 เรื่อง

(1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 63) ผู้เชีย่ วชาญ

2 (6 เดือน) ประชุมคณะกรรมการจัดทาองค์ความรู้ดา้ นการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ

(1 ม.ค. – 31 มี.ค. 64) นวดไทย

3 (9 เดือน) เผยแพรอ่ งคค์ วามร้ดู า้ นการนวดไทยสาหรับผู้ เอกสารเผยแพร่และสือ่

(1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 64) ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและ อิเลก็ ทรอนิกส์

การแพทย์แผนไทยประยุกต์และผู้สนใจ

แหลง่ ขอ้ มูล : รายงานของสานักงานการนวดไทย

วธิ ีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู : รวบรวมข้อมลู จากการดาเนนิ งานการจดั ทารายงานของสานกั งานการนวดไทย

ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ ับ :
1. ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ท้ังในสถานพยาบาลภาครัฐและ

เอกชนไดร้ บั ความรทู้ างดา้ นการนวดไทย
2. ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงและไดร้ ับบริการนวดไทยที่เป็นมีเช่ียวชาญเพื่อการดูแลสุขภาพเฉพาะโรคเพ่ิมข้ึน

ได้ในระบบบรกิ ารสุขภาพ

ผู้กากบั ตวั ชีว้ ดั : นายสมศกั ด์ิ กรชี ยั หมายเลขโทรศพั ท์ 081 684 6683
ผูอ้ านวยการสานักงานการนวดไทย หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มูล : 1. นางนนั ท์นภัส ตอ้ ยต่งิ หมายเลขโทรศพั ท์ -
นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
2. นางประภาศรี วงษ์มติ รแท้ หมายเลขโทรศพั ท์ -
นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ หมายเลขโทรศพั ท์ -

3. นายนิเวศน์ บวรกุลวฒั น์
แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ตั ิการ

4. นางสาวคัญฑมารา สทิ ธไิ กรพงษ์
แพทย์แผนไทยปฏบิ ัตกิ าร

5. นายเธียรธรรม อภจิ รรยาธรรม
แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

6. นายชยั วฒั น์ อทุ ยาน
นกั วชิ าการสาธารณสขุ

7. นางสาวบัณฑิตา ออ่ นแก้ว
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ห น้ า | 138
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการและคมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

หน่วยงานภายใตก้ ากบั ดแู ลรองอธิบดคี นท่ี 2

ห น้ า | 139
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คารับรองการปฏบิ ัตริ าชการและคมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับหนว่ ยงาน
ของกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1. กองการแพทยท์ างเลอื ก

ห น้ า | 140
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ


Click to View FlipBook Version