The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2563

Annual Report Sakonnakhon 2020 (2563)

รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 180 2) ส ารวจพื้นที่ของเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดท าข้อมูลและแผน ที่ต าแหน่งแปลงของสมาชิกที่จะเข้าร่วมโครงการ


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 181 3) จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ฯ ระดับจังหวัด เพื่ออนุมัติเงินกู้ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรฯ เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน 2563 เวลา 09.30 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 182 4) ติดตามการใช้เงินกู้ยืมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ - ลงพื้นที่ตรวจสอบ ติดตามการใช๎เงินกู๎เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุน เงินทุนเพื่อสร๎างระบบน้ าในไรํนาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 (ครั้งที่ 1) ในระหวํางวันที่ 14 – 18 กันยายน 2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 183 - ลงพื้นที่ตรวจสอบ ติดตามการใช๎เงินกู๎เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุน เงินทุนเพื่อสร๎างระบบน้ าในไรํนาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 (ครั้งที่ 2) ในระหวํางวันที่ 26 - 30 ตุลาคม 2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 184 โครงการเงินกองทุนสงเคราะห์โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึง แหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2563 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. สนับสนุนเงินกู๎ยืมให๎กับกลุํมเกษตรกรเฉพาะที่ผํานมาตรฐานของกรมสํงเสริมสหกรณ์ เพื่อให๎มีเงินกู๎ยืมใช๎เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแตํละปีรวม ๕ ปี 2. เพื่อสํงเสริมเกษตรกรให๎สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต๎นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร๎าง รายได๎เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจ าหนําย หรือแปรรูปผลผลิตรํวมกัน 3. สร๎างโอกาสการเข๎าถึงแหลํงเงินทุนให๎กับเกษตรกร เพื่อรํวมกันแก๎ไขปัญหาและสร๎างความ ยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให๎การบริหารจัดการกลุํมเกษตรกรมีศักยภาพและความเข๎มแข็งตํอไป 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ประจ าปี 2563 โครงการสร๎างความเข๎มแข็งกับ กลุํมเกษตรกรเพื่อเข๎าถึงแหลํงเงินทุนทางการผลิตและตลาด จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู๎โครงการส ร๎ า ค ว า ม เ ข๎ ม แ ข็งใ ห๎ กั บ ก ลุํ ม เ กษ ต ร ก ร เ พื่ อ เ ข๎ า ถึง แ ห ลํง เงิ น ทุ นใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ระดับจังหวัดจ านวน 3 ครั้ง กลุํมเกษตรขอกู๎เงินกองทุนสงเคราะห์จ านวน 7 แหํง รวมเป็นเงินทั้งสิน 1,900,000 บาท (หนึ่งล๎านเก๎าแสนบาทถ๎วน) 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ปัญหา/อุปสร รค เนื่องจากสถานการณ์การแพรํระบาดอยํ างรุนแรงของไวรัส โคโรนา2019 (COVID– 19) ได๎ขยายวงกว๎างเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง สํงผลกระทบตํอเศรษฐกิจ การด าเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพของประชาชนรวมทั้งสมาชิกสหกรณ์กลุํมเกษตรกร สํงผลให๎การจ าหนํายผลผลิตได๎ลดลง ที่ กลุ่มเกษตรกร สัญญาที่ จ านวน (ล้านบาท) ครบก าหนด 1 กลุ่มเกษตรกรท านานาเพียง 1/2563 100,000 26 ก.พ 64 2 กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางพาราบ้านพันนา 2/2563 200,000 29 ม.ค 64 3 กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางพาราบ้านค าข่า 3/2563 200,000 29 ม.ค 64 4 กลุ่มเกษตรกรท าหนองแปน 4/2563 300,000 26 ก.พ 64 5 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์เจริญศิลป์ 5/2563 300,000 26 ก.พ 64 6 กลุ่มเกษตรกรท านาม่วงลาย 6/2563 300,000 26 ก.พ 64 7 กลุ่มเกษตรกรท าสวนขัวขอนแคน 7/2563 500,000 26 ก.พ 64


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 185 และราคาต่ ากวําภาวะปกติและขาดรายได๎จากการรับจ๎างอื่นๆ ประกอบกับราคาสินค๎าอุปโภคบริโภคที่สูงขึ้น บางรายอาจต๎องเป็นหนี้นอกระบบเพื่อใช๎ในการด ารงชีพ ซึ่งได๎รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกลําวข๎างต๎น สํงผลให๎สมาชิกกลุํมเกษตรกร ไมํสามารถช าระหนี้ให๎แกํกลุํมเกษตรกรได๎ ท าให๎กระทบตํอสภาพคลํองทาง การเงินของกลุํมเกษตรกร และขาดความสามารถในการช าระหนี้ให๎แกํกรมสํงเสริมสหกรณ์ ตามโครงการสร๎าง ความเข๎มแข็งให๎กับกลุํมเกษตรกรเพื่อเข๎าถึงแหลํงเงินทุนในการผลิตและการตลาด - แนวทางแก้ไข กรมสํงเสริมสหกรณ์มีมาตรการขอผํอนผันขยายเวลาช าระหนี้กองทุน สงเคราะห์เกษตรกร ตามมาตรการชํวยเหลือและขยายการช าระหนี้ของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ที่ได๎รับ ผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยให๎กลุํมเกษตรกรมีสัญญา ถึงก าหนดช าระในวันที่ 12 กรกฎาคม 2562 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2563 ที่ขอผํอนผันขยายเวลาช าระหนี้ จ านวน 6 แหํง เป็นจ านวนเงิน 2,700,000 บาท (สองล๎านเจ็ดแสนบาทถ๎วน) ดังนี้ ที่ สหกรณ์ สัญญาที่ จ านวน (ล้าน บาท) ครบก าหนด ได้รับการ ขยาย 1 กลุ่มเกษตรกรท าสวนโคกภู 6/2562 300,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564 2 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต้นผึ้ง 8/2562 500,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564 3 กลุ่มเกษตรกรท านาต้นผึ้ง 9/2562 800,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564 4 กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยหลัว 10/2562 300,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564 5 กลุ่มเกษตรกรท านาโพนงาม 11/2562 300,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564 6 กลุ่มเกษตรกรท านาทรายมูล 12/2562 500,000 30 มิถุนายน 2563 28 ก.พ. 2564


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 186 รูปภาพกิจกรรมประกอบ การประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้และติดตามการใช้เงินกู้กองทุนสงเคราะห์ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 187 โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต๎นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแกํสมาชิก สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 2) เพื่อให๎สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินสํวนที่ได๎รับ การชํวยเหลือไปฟื้นฟูการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว๎ใช๎จํายในครัวเรือน 1.2 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู๎ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต๎นเงินกู๎ขอรับการชดเชยไมํเกิน 300,000 บาท แรก จ านวน 56 แหํง 14,265 ราย จ านวนเงิน 8,925,822.54 บาท 2. ผลการด าเนินงาน : ขั้นตอนการด าเนินงาน 1) กรมสํงเสริมสหกรณ์ แจ๎งแผนงานและงบประมาณรายจํายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด๎านการสร๎างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการชํวยเหลือด๎านหนี้สินสมาชิก สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร (ลดดอกเบี้ยเงินกู๎ให๎เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร) - จัดท าแผนงานโครงการชํวยเหลือด๎านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทั้งหมด 56 แหํง จ านวน 14,265 ราย จ านวนเงิน 8,925,822.54 บาท 2) กรมสํงเสริมสหกรณ์ ได๎โอนเงินตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจํายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โครงการชํวยเหลือด๎านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร (ลดดอกเบี้ยเงินกู๎ให๎เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร) จ านวน 56 แหํง สมาชิก 14,265 ราย วงเงินรวม 8,925,822.54 บาท - จัดท าหนังสือแจ๎งสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ที่เข๎ารํวมโครงการวํากรมฯ ได๎โอนเงินจัดสรรเงินชดเชย ดอกเบี้ยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาแล๎ว และให๎จัดท าเอกสารประกอบการเบิกจํายเงินชดเชยดอกเบี้ย ตามโครงการฯ 3) ตรวจสอบเอกสารประกอบการเบิกจํายเงินตามโครงการชํวยเหลือด๎านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุํม เกษตรกร (ลดดอกเบี้ยเงินกู๎ให๎เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร) -ด าเนินการตรวจสอบเอกสารประกอบการเบิกจํายเงินชดเชยดอกเบี้ยฯ จ านวน 56 แหํง ผลการด าเนินการเบิกจ่ายเงินตามโครงการฯ 1) เบิกจํายเงินชดเชยดอกเบี้ยให๎แกํสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ที่มีคุณสมบัติ ถูกต๎อง ครบถ๎วน ตามเงื่อนไขของโครงการ จ านวน 55 แห่งสมาชิก 14,042 ราย เป็นเงิน 8,829,798.25 บาท - กลุํมเกษตรกร จ านวน 1 แหํง มีมติไมํขอรับเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการฯ จ านวน 8 ราย เป็นเงิน 486.03 บาท


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 188 - สหกรณ์ จ านวน 2 แหํง ได๎ตรวจสอบความถูกต๎องมีการปรับข๎อมูล จึงขอเบิกเงินชดเชย ดอกเบี้ยต่ ากวําที่กรมฯ จัดสรร และขอคืนเงิน จ านวน 7,363.60 บาท - ตรวจสอบข๎อมูลการเบิกจําย เงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการฯ หลังการเบิกจํายเงิน งบประมาณแล๎ว พบวํามีสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร จ านวน 17 แหํง ที่เบิกจํายเงินชดเชยดอกเบี้ยให๎สมาชิกที่ขาด คุณสมบัติ และไมํมีสิทธิ์ได๎รับเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการฯ จ านวน 181 ราย เป็นเงิน 88,174.66 บาท - สํงเงินคืนกรมฯ จ านวนทั้งสิ้น 96,024.29 บาท เรียบร๎อยแล๎ว 2) รายงานผลการเบิกจําย ให๎กรมสํงเสริมสหกรณ์ทราบ ตามแบบรายงานลบ.2 และ ลบ.3 ตาม ก าหนดเวลาเรียบร๎อยแล๎ว 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ได๎รับการชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการฯ ท าให๎มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นไมํน๎อยกวําร๎อยละ 60 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ได๎รับความชํวยเหลือบรรเทาความเดือดร๎อนด๎านภาระหนี้สิน 2) สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ได๎รับโอกาสในการฟื้นฟูตนเองในชํวงการพักช าระหนี้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข จากการตรวจสอบข๎อมูลการเบิกจํายเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู๎ให๎เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรฯ พบวํามีความผิดพลาดด๎านเอกสาร ดังนี้ 1) เลขบัตรประชาชนของสมาชิก ได๎รับสิทธิ์ ธ.ก.ส. แล๎ว 2) สมาชิก 1 รายใช๎สิทธิ์ 2 แหํง 3) เลขบัตร 1 ใบ มี รายชื่อมากกวํา 1 คน 4) เลขบัตรไมํครบ 13 หลัก แนวทางในการแก้ไข ท าความเข๎าใจกับเจ๎าหน๎าที่สหกรณ์ให๎มีการตรวจสอบและยืนยันข๎อมูล พร๎อมทั้งให๎เจ๎าหน๎าที่สํงเสริม สหกรณ์ที่รับผิดชอบรํวมกับเจ๎าหน๎าที่กลุํมงานวิชาการตรวจสอบความถูกต๎องอีกครั้ง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 189 รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 190 …………………………………………………………………………………………………………………..………………………… โครงการการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ภายใต้โครงการ ไทยนิยมยั่งยืน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อเป็นการก ากับและติดตามการใช๎ประโยชน์ จากปัจจัยโครงการพื้นฐานและเครื่องมืออุปกรณ์ การตลาดให๎เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงเกิดความคุ๎มคําของการใช๎จํายงบประมาณ โดยมีสหกรณ์เปูาหมาย จ านวน 2 แหํง คือ 1) สหกรณ์การเลี้ยงปศุสัตว์ กรป.กลาง โพนยางค า จ ากัด และ 2) สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน : ด าเนินการติดตามการใช๎ประโยชน์จากโครงการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (งบประมาณโครงการไทยนิยม ยั่งยืน พ.ศ. 2561) สหกรณ์เปูาหมาย 2 แหํง จ านวน 12 ครั้ง/แหํง 3. ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมต่อเกษตรกรสมาชิกและชุมชน : 1) สหกรณ์การเลี้ยงปศุสัตว์ กรป.กลาง โพนยางค า จ ากัด ปริมาณการรวบรวมผลผลิตรวม 6,273,703 กิโลกรัม ปริมาณการแปรรูปรวม 33,823,770 ถุง/กลํอง จ านวนสมาชิกที่ได๎รับประโยชน์ 1,248 ราย 2) สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จ ากัด ปริมาณการแปรรูป/จ าหนํายรวม 2,824,299.23 กิโลกรัม จ านวนสมาชิกที่ได๎รับประโยชน์ 639 ราย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไมํมี - เครื่องบรรจุสุญญากาศ จ านวน 2 เครื่อง โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกรมส่งเสริมสหกรณ์


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 191 เครื่องปั้นลูกชิ้น ขนาด 250 - 270 ลูก/นาที จ านวน 1 เครื่อง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 192 เครื่องสไลด์เนื้อ จ านวน 1 เครื่อง เครื่องเลื่อยตัดกระดูก จ านวน 2 เครื่อง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 193 รถห้องเย็นส าหรับขนส่งผลิตภัณฑ์นม ขนาด 6 ล้อ ขนาด 145 แรงม้า จ านวน 1 คัน เครื่องตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ านม จ านวน 1 เครื่อง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 194 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์พร้อมอุปกรณ์ส าหรับโรงงานผลิตนม ขนาด 100 ตารางเมตร 1 แห่ง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 195 ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 196 งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2 89,190.00 ลูกหนี้ 3 105,330.00 รายได้ค้างรับ 4 0.00 วัสดุคงเหลือ 0.00 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 0.00 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 194,520.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ยานพาหนะ - สุทธิ 5 4,795,471.52 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 6 2,241,882.06 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 7,037,353.58 รวมสินทรัพย์ 7,231,873.58 หนี้สินและทุน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ - สุทธิ 7 135,300.00 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 8 55,310.20 รวมหนี้สินหมุนเวียน 190,610.20 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินประกันอื่น 81,390.00 เงินทดรองราชการรับจากคลัง 5,000.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 86,390.00 รวมหนี้สิน 277,000.20 สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน ทุน 739,554.00 รายได้สูง/(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิยกมา - บวก รายได้สูง/(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ ปี งปม.2563 2,130,943.64 รวมรายได้สูง/(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 2,130,943.64 บวก รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ยกมา 9 4,084,375.74 6,215,319.38 รวมรายได้สูง/(ต่ า) และทุน 6,215,319.38


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 197 หัก ผลสะสมแก้ไขผิดพลาด - รวมส่วนทุน 6,954,873.38 รวมหนี้สินและทุน 7,231,873.58 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน ส าหรับรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2563 หมายเหตุ 2563 รายได้จากการด าเนินงาน รายได้จากเงินรัฐบาล : รายได้จากเงินงบประมาณ 10 26,595,962.25 รายได้รับบริจาค 0.00 รวมรายได้จากรัฐบาล 26,595,962.25 รายได้จากแหล่งอื่น : รายได้ค่าปรับอื่น 3,000.00 รายได้เหลือจ่าย 509,456.32 รายได้ สรก.รับเงินนอก 105,660.00 รายได้ ปรับเงินฝากคลัง 106,190.00 รายได้ระหว่างกันในกรม 43,006.58 รวมรายได้จากแหล่งอื่น 767,312.90 รวมรายได้จากการด าเนินงาน 27,363,275.15 ค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 11 6,741,954.00 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน 12 11,000,296.29 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ าหน่าย 13 1,029,470.46 ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน 14 5,001,657.19 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 15 1,458,953.57 รวมค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน 25,232,331.51 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมตามปกติ 2,130,943.64 รายการพิเศษ 0.00 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 2,130,943.64


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 198 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส าหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2563 หมายเหตุประกอบที่ 1 นโยบายบัญชีที่ส าคัญ 1.1 หลักการบัญชี ใช้เกณฑ์คงค้างตามหลักการและนโยบายบัญชีส าหรับหน่วยงานภาครัฐที่กระทรวงการคลังก าหนด 1.2 หน่วยงานที่เสนอรายงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร มีหน่วยงานประกอบด้วยฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริม สหกรณ์กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจ การสหกรณ์ และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1.3 ค่าเสื่อมราคา การค านวณค่าเสื่อมราคาโดยใช้วิธีการค านวณแบบเส้นตรง ตามเกณฑ์อายุการใช้งานที่กระทรวง ก าหนด หมายเหตุประกอบที่ 2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย 2563 : บาท เงินสด 0.00 เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากคลัง 81,390.00 เงินฝากธนาคาร 0.00 เงินฝากธนาคาร-ในงบประมาณ 2,800.00 89,190.00 หมายเหตุประกอบที่ 3 ลูกหนี้ ประกอบด้วย 2563 : บาท ลูกหนี้เงินยืม-ในงบประมาณ 105,330.00 105,330.00


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 199 หมายเหตุประกอบที่ 4 รายได้ค้างรับ ประกอบด้วย 2563 : บาท รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ 0.00 0.00 หมายเหตุประกอบที่ 5 ยานพาหนะ-สุทธิ ประกอบด้วย 2563 : บาท ยานพาหนะ 9,766,400.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม ยานพานะ 4,970,928.48 4,795,471.52 หมายเหตุประกอบที่ 6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ประกอบด้วย 2563 : บาท อาคารพักอาศัย 288,000.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม อาคารพักอาศัย 126,657.53 161,342.47 อาคารส านักงาน 3,170,900.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม อาคารส านักงาน 2,113,015.41 1,057,884.59 สิ่งปลูกสร้าง 552,524.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม สิ่งปลูกสร้าง 171,598.56 380,925.44 ครุภัณฑ์ส านักงาน 928,799.08 หัก ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์ส านักงาน 623,996.60 304,802.48 ครุภัณฑ์ไฟฟ้า/วิทยุ 396,035.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์ไฟฟ้า/วิทยุ 369,516.92 26,518.08 ครุภัณฑ์โฆษณา 811,189.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์โฆษณา 679,878.49 131,310.51


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 200 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1,546,434.83 หัก ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1,388,832.42 157,602.41 ครุภัณฑ์บ้านครัว 50,000.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์บ้านครัว 49,999.00 1.00 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 24,000.00 หัก ค่าเสื่อมสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2,504.92 21,495.08 รวมทั้งสิ้น 2,241,882.06 หมายเหตุประกอบที่ 7 เจ้าหนี้ ประกอบด้วย 2563 : บาท เจ้าหนี้การค้า-ภายนอก 135,300.00 135,300.00 หมายเหตุประกอบที่ 8 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ประกอบด้วย 2563 : บาท สาธารณูปโภคค้างจ่าย 52,510.20 ใบส าคัญค่างจ่าย 2,800.00 55,310.20 หมายเหตุประกอบที่ 9 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ประกอบด้วย 2563 : บาท รายได้สูง (ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสมยอดคงเหลือ ณ ต้นงวด 3,095,749.97 เพิ่ม รายได้สูง (ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 988,625.77 รวมรายได้สูง (ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 4,084,375.74


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 201 หมายเหตุประกอบที่ 10 รายได้จากการด าเนินงาน ประกอบด้วย 2563 : บาท รายได้จากเงินงบประมาณ งบบุคลากร 5,261,760.00 งบลงทุน 3,320,600.00 งบด าเนินงาน 6,751,586.67 งบอุดหนุน 10,889,822.54 งบกลาง 372,193.04 26,595,962.25 หมายเหตุประกอบที่ 11 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ประกอบด้วย 2563 : บาท ค่าล่วงเวลา 15,000.00 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 5,261,760.00 เงินสมทบ ปปส.-Rel 171,000.00 ค่าเช่าบ้าน 1,119,200.00 เงินสมทบ กท.เงินทด 9,299.00 เงินช่วยการศึกษาบุตร 131,530.00 ค่ารักษา-นอก-รพ.รัฐ 29,725.00 ค่ารักษาบ านาญนอก-รัฐ 4,440.00 6,741,954.00 หมายเหตุประกอบที่ 12 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ประกอบด้วย 2563 : บาท อุดหนุนด าเนินงานอื่น 11,000,296.29 อุดหนุนลงทุนอื่น 0.00 11,000,296.29 หมายเหตุประกอบที่ 13 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ าหน่าย ประกอบด้วย 2563 : บาท ค่าเสื่อมราคา อาคาร 19,200.00 อาคารส านักงาน 134,239.11 สิ่งปลูกสร้าง 36,836.90 ครุภัณฑ์ส านักงาน 71,326.72 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 606,448.20


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 202 ครุภัณฑ์ไฟฟ้า 17,931.41 ครุภัณฑ์โฆษณา 62,241.48 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 78,741.72 ตัดจ าหน่าย software 2,504.92 1,029,470.46 หมายเหตุประกอบที่ 14 ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน ประกอบด้วย 2563 : บาท ค่าใช้จ่ายอบรมในประเทศ 56,465.00 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม-ภายนอก 100,000.00 ค่าเบี้ยเลี้ยง 343,430.00 ค่าที่พัก 19,648.00 ค่าใช้จ่ายเดินทางภายในประเทศ 507,736.60 ค่าวัสดุ 455,897.83 ค่าเชื้อเพลิง 366,339.00 ค่าจ้างเหมาบริการ-ภายนอก 1,817,366.03 ค่าธรรมเนียมทาง กม. 4,000.00 ค่าไฟฟ้า 229,848.24 ค่าประปาและน้ าบาดาล 20,563.77 ค่าโทรศัพท์ 158,218.92 ค่าบริการไปรษณีย์ 83,692.80 ค่าใช้จ่ายในการประชุม 600,161.00 ค่าเช่าอสังหา-นอก 210,000.00 ค่าใช้จ่ายผลัดส่งรายได้แผ่นดิน 290.00 ค่าประชาสัมพันธ์ 28,000.00 5,001,657.19 หมายเหตุประกอบที่ 15 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประกอบด้วย 2563 : บาท T/E เบิกเกินส่งคืน 734,647.25 T/E โอนเงินให้ สรก. 106,190.00 T/E โอน ร/ดผ/ด ให้ บก. 512,456.32 T/E ปรับเงินฝากคลัง 105,660.00 1,458,953.57


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 203 ส่วนที่ 4 กิจกรรมเด่นของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 204 กิจกรรมเด่นของ สสจ./สสพ. ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โครงการ สร้างเครือข่ายลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร จังหวัด สกลนคร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2563 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต๎องการแก๎ไขปัญหาอายุเฉลี่ยของเกษตรกรสูงขึ้นด๎วยการ มอบหมายให๎กรมสํงเสริมสหกรณ์จัดท าโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร โดยการ สนับสนุนให๎ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์หรือบุคคลทั่วไปที่จากบ๎านไปประกอบอาชีพในกรุงเทพฯ หรือใน ตํางจังหวัด กลับมาท าการเกษตรที่บ๎านเกิด สํงเสริมการประกอบอาชีพรํวมกับหนํวยงานภาคีและสถาบัน เกษตรกร สนับสนุนการรวมกลุํมการผลิต ตลอดจนการจัดหาตลาดรองรับ พร๎อมทั้งสํงเสริมการน าหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในการประกอบอาชีพและด ารงชีวิต เพื่อให๎เกษตรกรได๎มีอาชีพที่ยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น โครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร โดยในจังหวัดสกลนคร ได๎รับการตอบ รับจากผู๎ที่ต๎องการเริ่มอาชีพการเกษตรจ านวนมาก มีผู๎สมัคร 162 คน สถาบันเกษตรกรเข๎ารํวมโครงการ 20 แหํง ซึ่งจากการส ารวจความพร๎อมเบื้องต๎นพบวําผู๎สมัครจ านวน 162 คน ยังต๎องการการสนับสนุนด๎านความรู๎ ด๎านการผลิต เทคโนโลยีและปัจจัยการผลิต โดยมีความสนใจพิเศษเรื่อง การเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ เกษตรสมัยใหมํ พลังงานทดแทน เป็นต๎น ขณะเดียวกันยังมีเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ านวนหนึ่งที่มี ประสบการณ์การผลิตในภาคการเกษตรแล๎ว สามารถเป็นแหลํงเรียนรู๎ศึกษาดูงานของโครงการและเป็น ตัวอยํางของความส าเร็จของอาชีพเกษตรกรรมได๎ จึงสมควรสํงเสริมให๎มีการสร๎างเครือขํายการเรียนรู๎ระหวําง ผู๎สมัคร สถาบันเกษตรกร และหนํวยงานภาคี โครงการดังกลําวยังรับสมัครสถาบันเกษตรกรเข๎ารํวมโครงการด๎วยเพื่อเป็นองค์กรที่จะรํวมขับเคลื่อน โครงการและเป็นศูนย์กลางการเรียนรู๎และให๎บริการด๎านการเกษตรแกํผู๎เข๎ารํวมโครงการ แตํสถาบันเกษตรกรที่ เข๎ารํวมโครงการบางสํวนยังขาดความเข๎าใจบทบาทหน๎าที่ และขาดการเตรียมพร๎อมในการรํวมขับเคลื่อน โครงการ อาจเป็นอุปสรรคตํอการขับเคลื่อนโครงการในอนาคต ในการนี้ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร จึงได๎จัดท าโครงการสร๎างเครือขํายลูกหลานเกษตรกรกลับ บ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร จังหวัดสกลนคร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 เพื่ออบรมให๎ความรู๎ สร๎าง แรงบันดาลใจในการพัฒนาอาชีพการเกษตร เกิดเครือขํายการเรียนรู๎ระหวํางผู๎เข๎ารํวมโครงการ และสามารถ วางแผนการผลิต ตลอดจนการสร๎างโอกาสทางด๎านการตลาด ให๎สามารถมีชํองทางการจ าหนําย อันจะเป็นการ สร๎างรายได๎อยํางยั่งยืนตํอไป วัตถุประสงค์ ๑ เพื่อชี้แจงโครงการ สร๎างแรงบันดาลใจในการพัฒนาอาชีพการเกษตร แกํผู๎เข๎ารํวมโครงการฯ และเตรียมความพร๎อมในการขับเคลื่อนโครงการฯ ๒ เพื่อสํงเสริมให๎มีเครือขําย และสํงเสริมการเรียนรู๎ระหวํางผู๎เข๎ารํวมโครงการ สถาบันเกษตรกร และหนํวยงานภาคีในพื้นที่


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 205 กลุ่มเป้าหมาย ผู๎สมัครในโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร สถาบันเกษตรกรใน โครงการฯผู๎แทนหนํวยงานภาคี เจ๎าหน๎าที่สํงเสริมสหกรณ์ ผู๎สังเกตการณ์ และเจ๎าหน๎าที่โครงการฯ รวมจ านวน ทั้งสิ้น 172 คน 2. ผลการด าเนินงาน : ประชุมโครงการสร๎างเครือขํายลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร จังหวัดสกลนคร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วัตถุประสงค์เพื่อ สร๎างความเข๎าใจและสร๎างแรงบันดาลใจ สํงเสริมการแลกเปลี่ยน เรียนรู๎และการสร๎างเครือขํายระหวํางผู๎เข๎ารํวมโครงการ และหนํวยงานภาคีในพื้นที่ที่เกี่ยวข๎อง กลุํมเปูาหมาย ได๎แกํ ผู๎ที่สมัครเข๎ารํวมโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร ผู๎แทนสถาบัน เกษตรกรพี่เลี้ยง หนํวยงานภาคีในพื้นที่ เจ๎าหน๎าที่สํงเสริมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 172 คน ระหวํางวันที่ 21 – 22 กันยายน 2563 ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลซ ต าบลธาตุเชิงชุม อ าเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร โดยมี 2 กิจกรรม ได๎แกํ 1) การชี้แจงรายละเอียดของโครงการ และหนํวยงานภาคีชี้แจงเกี่ยวกับภารกิจในการ สนับสนุนและขับเคลื่อนโครงการ การบรรยายให๎ความรู๎ด๎านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหมํ โดย วิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร การวิเคราะห์การจัดท าแผนการผลิต/แผนการตลาด วิทยากรจาก ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร 2) กิจกรรมการศึกษาดูงานด๎านการเกษตรสมัยใหมํ /เกษตรอัจฉริยะ/ เกษตรอินทรีย์และเทคโนโลยีการผลิต ณ ศูนย์บํมเพาะการเกษตรสมัยใหมํ สวนปุาบ๎านดิน ในวันที่ 22 กันยายน 2563 ซึ่งศูนย์แหํงนี้ได๎ให๎แนวคิดเกี่ยวกับ การบริหารจัดการวิธีคิดที่จะท าการเกษตร (การปรับ Mindset) การบริหารจัดการด๎านน้ า (การปิดเปิดน้ าด๎วยระบบอัตโนมัติ) ด๎านอาหารสัตว์ (น้ าหมัก/ปุ๋ยหมัก) ด๎านดิน (การปรุงดิน/หมักดิน) ด๎านการผลิตพันธุ์พืช (การเพาะเมล็ดพันธุ์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การปลูกพืชใน โรงเรือน) ด๎านการปลูกปุาและการรักษาระบบนิเวศน์ เป็นต๎น ซึ่งในการประชุมในครั้งนี้สร๎างการรับรู๎และความ เข๎าใจการท าการเกษตรสมัยใหมํ พร๎อมทั้งการน าแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในการประกอบ อาชีพ และการด ารงชีพ เพื่อให๎เกษตรกรได๎มีอาชีพที่ยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตํอไป 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู๎ที่สมัครเข๎ารํวมโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎าน สานตํออาชีพการเกษตร ผู๎แทนสถาบัน เกษตรกรพี่เลี้ยง หนํวยงานภาคีในพื้นที่ เจ๎าหน๎าที่สํงเสริมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 172 คน โดยมี 2 กิจกรรม ได๎แกํ 1) การชี้แจงรายละเอียดของโครงการ และหนํวยงานภาคีชี้แจงเกี่ยวกับภารกิจในการสนับสนุนและ ขับเคลื่อนโครงการ การบรรยายให๎ความรู๎ด๎านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหมํ โดยวิทยากรจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร การวิเคราะห์การจัดท าแผนการผลิต/แผนการตลาด วิทยากรจากส านักงาน สหกรณ์จังหวัดสกลนคร 2) กิจกรรมการศึกษาดูงานด๎านการเกษตรสมัยใหมํ /เกษตรอัจฉริยะ/เกษตรอินทรีย์ และเทคโนโลยีการผลิต ณ ศูนย์บํมเพาะการเกษตรสมัยใหมํ สวนปุาบ๎านดิน


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 206 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1)ผู๎สมัครเข๎ารํวมโครงการยังไมํได๎ลาออกจากการไปท างานที่ตํางจังหวัด 3) ผู๎ที่สมัครเข๎ารํวมโครงการบางรายไมํสามารถติดตํอได๎ 3) ผู๎ที่สมัครเข๎ารํวมโครงการบางรายมีอาชีพประจ าท าอยูํแล๎ว อาจไมํมีเวลาในการท าการเกษตรเอง กิจกรรมตามโครงการสร๎างเครือขํายลูกหลานเกษตรกรกลับบ๎านสานตํออาชีพการเกษตร ในระหวํางวันที่ 21 – 22 กันยายน 2563 ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลซ ห๎องแกรนบอลรูม ต าบลธาตุเชิงชุม อ าเภอเมือง สกลนคร จังหวัดสกลนคร และศูนย์บํมเพาะเกษตรกรรุํนใหมํ สวนปุาบ๎านดินสกลนคร บ๎านดอนเชียงบาน ต าบลเชียงเครือ อ าเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 207 11.07 10 2 0.7 0.4 2.1 3 0 2 4 6 8 10 12 โครงการปกติ โครงการพัฒนาการผลิต น้ านมโคที่มีคุณภาพลด … โครงการสนับสนุนการ เข้าถึงแหล่งเงินทุนของ … โครงการสนับสนุนการ เข้าถึงแหล่งเงินทุนของ … โครงการสนับสนุนเงิน กพส. ให้แก่สหกรณ์ใน … โครงการสนับสนุนเงินทุน เพื่อการพัฒนาอาชีพ … โครงการสนับสนุนเงินทุน หมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ … โครงการปกติ โครงการพิเศษ โครงการ: การบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ: บริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อสนับสนุน การด าเนินกิจการของสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร ผลการด าเนินงาน: การพิจารณาอนุมัติและเบิกจ่ายเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได๎รับจัดสรรวงเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 36 ล๎านบาท เป็น โครงการปกติ 13 ล๎านบาท และโครงการพิเศษ 23 ล๎านบาท รายละเอียด ดังนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนครเบิกจํายเงินกู๎ กพส. รวมทั้งสิ้น 29.27 ล๎าน บาท ให๎แกํสหกรณ์ 17 แหํง 20 สัญญา เป็นโครงการปกติ 11.07 ล๎านบาท ให๎แกํสหกรณ์ 11 แหํง 11 สัญญา โครงการพิเศษ 18.20 ล๎านบาท ให๎แกํสหกรณ์ 6 แหํง 9 สัญญา 13 10 2 2.7 0.4 4.9 3 โครงการปกติ โครงการพัฒนาการ ผลิตน้ านมโคที่มี คุณภาพลดต้นทุน … โครงการส่งเสริม การผลิตและ กระจายเมล็ดพันธุ์ …โครงการสนับสนุน การเข้าถึงแหล่ง เงินทุนของ … โครงการสนับสนุน เงิน กพส. ให้แก่ สหกรณ์ในพื้นที่ … โครงการสนับสนุน เงินทุนเพื่อการ พัฒนาอาชีพ … โครงการสนับสนุน เงินทุนหมุนเวียน ให้แก่สหกรณ์ตาม … โครงการปกติ โครงการพิเศษ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ที่ได้รับจัดสรร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 208 การติดตามการส่งช าระหนี้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ครบก าหนดช าระ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกอบด๎วย สัญญาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จ านวน 1 สัญญา สหกรณ์ช าระเงินกู๎งวดที่ 6 ได๎ตาม ก าหนด และสัญญาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ านวน 27 สัญญา วงเงิน 30,845,000 บาท สหกรณ์สํงช าระหนี้ ตั้งแตํ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 10 พฤศจิกายน 2563 ครบทั้ง 27 สัญญา มีสัญญาระยะยาว สิ้นสุด 31 ส.ค. 2567 จ านวน 4 สัญญา ก าหนดช าระรายงวด 5 งวด ครบก าหนดช าระ งวดที่ 2 ในปีงบประมาณ 2564 ผลลัพธ์: ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ 17 แหํงได๎รับเงินกู๎ กพส. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน าไปใช๎เป็นทุนให๎สมาชิกกู๎ยืม จ านวน 20.67 ล๎านบาท เพื่อจัดหาสินค๎ามาจ าหนําย จ านวน 5.4 ล๎านบาท และเพื่อรวบรวมผลผลิต จ านวน 3.2 ล๎านบาท 2. ติดตามการสํงช าระหนี้ กพส. ที่ครบก าหนดช าระในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จ านวน 28 สัญญา เป็นต๎นเงิน จ านวน 24.42 ล๎านบาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์เข๎าถึงแหลํงเงินทุนดอกเบี้ยต่ าเพื่อให๎บริการสินเชื่อต๎นทุนต่ าแกํสมาชิก ลดภาระดอกเบี้ยจําย เงินทุนในการรวบรวมผลผลิตและจัดหาสินค๎ามาจ าหนํายได๎ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สหกรณ์ไมํสามารถเบิกจํายเงินกู๎ได๎ตามแผนที่ก าหนด เนื่องจากจัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข๎องไมํทัน เจ๎าหน๎าที่สํงเสริมสหกรณ์ควรแนะน าการจัดเตรียมเอกสารอยํางใกล๎ชิด ภาพการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 209 โครงการ: สหกรณ์ที่น ามาจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในผ่านการประเมินการจัดชั้น คุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ: เพื่อสํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการควบคุมภายใน ที่ดีในการบริหารจัดการองค์กร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดสกลนครมีเปูาหมายด าเนินการใน สหกรณ์ 98 แหํง ดังนี้ 1) รักษาสหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให๎อยูํในระดับดีและดีมาก (39 แหํง) 2) ยกระดับสหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให๎สูงขึ้นจากเดิมหนึ่งระดับ (59 แหํง) 2.1) ยกระดับจากระดับพอใช๎ขึ้นไปอยํางน๎อยหนึ่งระดับ (18 แหํง) 2.2) ยกระดับจากระดับต๎องปรับปรุง/ไมํมีการควบคุมภายในขึ้นไปอยํางน๎อยหนึ่งระดับ (41 แหํง) ผลการด าเนินงาน กลุ่มที่ 1 สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีและดีมาก จ านวน 37 แหํง กลุ่มที่ 2 สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช๎ ต๎องปรับปรุง และไมํมีการควบคุมภายใน จ านวน 61 แหํง รายละเอียด ดังนี้ 1) สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช๎จ านวน 19 แหํง 2) สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับต๎องปรับปรุง และไมํมีการ ควบคุมภายใน จ านวน 42 แหํง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 210 ซึ่งเมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบกับผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในของปีที่ผํานมา ผลเป็นดังนี้ กลุ่มที่ 1 สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีและดีมาก จ านวน 37 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถรักษาระดับการควบคุมภายในให๎อยูํในระดับดีและดีมาก จ านวน 30 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถยกระดับการควบคุมภายในจากระดับต่ ากวําขึ้นมา จ านวน 5 แหํง เป็นสหกรณ์ที่ระดับการควบคุมภายในลดระดับลงจากเดิม จ านวน 2 แหํง กลุ่มที่ 2 สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช๎ ต๎องปรับปรุง และไมํมี การควบคุมภายใน จ านวน 61 แหํง รายละเอียด ดังนี้ 1) สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช๎จ านวน 19 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถรักษาระดับการควบคุมภายในให๎อยูํในพอใช๎จ านวน 10 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถยกระดับการควบคุมภายในจากระดับต่ ากวําขึ้นมา จ านวน 5 แหํง เป็นสหกรณ์ที่ระดับการควบคุมภายในลดระดับลงจากเดิม จ านวน 4 แหํง 2) สหกรณ์ที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับต๎องปรับปรุง และไมํมีการ ควบคุมภายใน จ านวน 42 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถรักษาระดับการควบคุมภายในให๎อยูํในระดับต๎องปรับปรุงและ ไมํมีการควบคุมภายใน จ านวน 26 แหํง เป็นสหกรณ์ที่สามารถยกระดับการควบคุมภายในจากระดับต่ ากวําขึ้นมา จ านวน 5 แหํง เป็นสหกรณ์ที่ระดับการควบคุมภายในลดระดับลงจากเดิม จ านวน 11 แหํง 30 9 18 23 18 29 8 19 19 23 แผนและผลการด าเนินงานส่งเสริมการรักษาและยกระดับชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในของสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนการสํงเสริม ผลการด าเนินงาน


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 211 ผลลัพธ์: ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ 98 แหํงที่น ามาจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในผํานการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับพอใช๎ขึ้นไป จ านวน 56 แหํง 2. สหกรณ์ 39 แหํงที่มีระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีและดีมาก สามารถรักษาระดับ การประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน จ านวน 30 แหํง 3. สหกรณ์ 59 แหํงที่มีระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช๎ ต๎องปรับปรุงและไมํมีการ ควบคุมภายใน สามารถยกระดับการควบคุมภายในให๎สูงขึ้นจากเดิมหนึ่งระดับ จ านวน 10 แหํง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ 81 แหํง สามารถรักษาและยกระดับการควบคุมภายในให๎สูงขึ้นจากเดิมอยํางน๎อยหนึ่งระดับ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สหกรณ์ขนาดเล็กหลายแหํงไมํมีการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่ เพียงมอบหมายคณะกรรมการด าเนินงานในด๎าน ตํางๆ ซึ่งอาจไมํได๎มีพื้นฐานความรู๎เฉพาะด๎านของงานที่ได๎รับมอบหมาย จึงควรจัดให๎คณะกรรมการหรือ เจ๎าหน๎าที่สหกรณ์ได๎รับการอบรมที่เพียงพอเพื่อการปฏิบัติงานในหน๎าที่อยํางมีประสิทธิภาพ กรณีตัวอย่างผลส าเร็จของเกษตรกรในการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ นายนนทกร ชรารินทร์ อายุ 52 ปี สมาชิกสหกรณ์การเกษตรผสมผสานสกลนคร จ ากัด เริ่มท าเกษตรผสมผสานแบบอินทรีย์ในพื้นที่ตนเอง จ านวน 100 ไรํ ด๎วยหลักการตลาดน าการผลิต โดยได๎กู๎เงินจากสหกรณ์การเกษตรผสมผสาน จ ากัด (ซึ่งได๎รับอนุมัติให๎กู๎เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์) เพื่อพัฒนาระบบน้ าเพื่อการเกษตรและเป็นทุนหมุนเวียนในการท าเกษตรผสมผสานแบบอินทรีย์ใน พื้นที่ตนเอง จ านวน 100 ไรํด าเนินการผลิตสินค๎าเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐาน SDGPGS พร๎อมทั้ง แปรรูปผลผลิตสํงจ าหนํายในตลาด Modern Trade เชํน Tops supermarket สาขาโรบินสัน ไลฟ์ สไตล์ เซ็นเตอร์ สกลนคร โรงพยาบาลศูนย์สกลนคร โครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยและจุด จ าหนํายในโรงพยาบาล Organic farm outlet อุทยานบัว ณ อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตลาดออนไลน์ รวมทั้ง 1 7 4 23 5 10 5 11 15 ยกระดับ รักษา ยกระดับ รักษา ยกระดับ รักษา ยกระดับ รักษา รักษา ดีมาก ดี พอใช๎ ต๎องปรับปรุง ไมํมีการ ควบคุม ภายใน ผลการประเมินการจัดระดับชั้นการควบคุมภายใน แยกตามการรักษา/ยกระดับการควบคุมภายใน


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 212 น าสินค๎าไปจัดแสดงและจ าหนํายในงาน Events ตํางๆ เชํน งานเกษตรแฟร์ ตลาดนัดสินค๎าเกษตร ตลาดประชารัฐ เป็นต๎น ท าให๎มีรายได๎หมุนเวียนเฉลี่ยเดือนละ 80,000 – 100,000 บาท เตรียมงาน/รํวมต๎อนรับนางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 213 รัฐมนตรีชํวยวําการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสหกรณ์โคนมภูพาน สกลนคร จ ากัด และแปลงเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์การเกษตรผสมผสาน จ ากัด เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2563


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 214 ด าเนินการติดตามหนี้ค้างช าระ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ฟ้องร้องด าเนินคดี จ านวน 16 สหกรณ์ 22 สัญญา ประกอบด๎วย - กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 8 สัญญา - กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน 10 สัญญา - กองทุนรวมเพื่อชํวยเหลือเกษตรกร จ านวน 4 สัญญา ได๎ด าเนินการจัดท าค าสั่งจังหวัดสกลนคร ที่ 5621/2562 เรื่องแตํงตั้งคณะกรรมการด าเนินการบังคับคดี สั่ง ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562 (เอกสารแนบ 3) ประชุมติดตามหนี้ค๎างสหกรณ์การเกษตรดงหม๎อทองใต๎ จ ากัด และประชุมเจรจาไกลํเกลี่ยลูกหนี้ตาม ค าพิพากษา ณ ส านักงานอัยการคุ๎มครองสิทธิและชํวยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดสกลนคร สาขาสวํางแดนดิน น าเจ๎าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินลูกหนี้ตามค าพิพากษา โดยขอความรํวมมือกับนายอ าเภอสํองดาว จ.สกลนคร สนับสนุนเจ๎าหน๎าที่กรมการปกครอง และเจ๎าหน๎าที่ต ารวจ ผลการด าเนินงาน 1. ด าเนินการสืบทรัพย์ จ านวน 9 แหํง 2. ด าเนินการอายัดทรัพย์ จ านวน 4 แหํง แยกเป็นที่ดิน 1 แหํง , เงินฝาก 3 แหํง 3. ด าเนินการตรวจสอบที่อยูํทรัพย์ จ านวน 4 แหํง 4. ด าเนินการเจรจาไกลํเกลี่ย จ านวน 3 แหํง 5. ด าเนินการประนีประนอมหนี้ จ านวน 3 แหํง 6. ด าเนินการฟูองล๎มละลาย โดยผู๎ช าระบัญชี จ านวน 3 แหํง


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 215 1. กรมสํงเสริมสหกรณ์ กลุํมติดตามและประเมินผล กองแผนงาน (ออนไลน์) เข๎าถึงได๎จาก : http://webhost.cpd.go.th/plancpd/index.html (วันที่ค๎นข๎อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒563) ๒. กลุํมงานข๎อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร วิสัยทัศน์จังหวัดสกลนคร (ออนไลน์) เข๎าถึงได๎จาก : http://webhost.cpd.go.th/sakonnakhon/datacoop.html (วันที่ค๎นข๎อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒563) 3. กรมบัญชีกลาง งบทดลอง 2563 4. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ รายงานปริมาณธุรกิจและผลการด าเนินงานของสหกรณ์ 5. รายงานประจ าปี สหกรณ์/กลุํมเกษตร 2563 6. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ฝุายบริหารทั่วไป ข๎อมูลพื้นฐาน (ออนไลน์) เข๎าถึงได๎จาก : http://web.cpd.go.th/sakonnakhon (วันที่ค๎นข๎อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒๕63) บรรณานุกรม


รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 216 คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา : นายดุสิต ทองทา สหกรณ์จังหวัดสกลนคร : หัวหน๎าฝุายบริหารทั่วไป : ผู๎อ านวยการกลุํมจัดตั้งและสํงเสริมสหกรณ์ : ผู๎อ านวยการกลุํมสํงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ : ผู๎อ านวยการกลุํมสํงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ : ผู๎อ านวยการกลุํมตรวจการสหกรณ์ : ผู๎อ านวยการกลุํมสํงเสริมสหกรณ์ 1 - 4 ผู้รวบรวมและเรียบเรียง : นายนพรัตน์ ไชยอิ่นค า นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ : นางสาวญาณิศา ค าจวง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน : นางสาวปริยานุช บุระเนตร นักวิชาการมาตรฐานสินค๎า ผู้จัดพิมพ์ : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร 401 ถนน สกล-นาแก ต าบลธาตุเชิงชุม อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โทร/โทรสาร : 0 4271 1671 E-mail : [email protected]


สารจากสหกรณจังหวัดสกลนคร สํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร เปนหนวยงานสวนภูมิภาค สังกัดกรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ จัดอยูในระดับจังหวัดที่มีขนาดใหญ มีสหกรณและกลุมเกษตรกรใน จังหวัดสกลนครทั้งหมด 183 แหง ผลการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามตัวชี้วัดที่กรม สงเสริมสหกรณกําหนดอยูในเกณฑ ระดับมาตรฐาน ขาพเจา นายดุสิต ทองทา สหกรณจังหวัดสกลนคร ในนามของสํานักงานสหกรณจังหวัด สกลนคร ขอขอบคุณสหกรณและกลุมเกษตรในจังหวัดสกลนคร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ รวมทั้งหนวยงาน ราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกแหง ตลอดจนเจาหนาที่กรมสงเสริมสหกรณ และบุคลากรใน สังกัดสํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร ที่ทุมเทรวมมือรวมแรงกายแรงใจปฏิบัติหนาที่ เพื่อประโยชนสวนรวม ของงานราชการดวยดี สงผลใหการแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร ในสวนของ สํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร มีผลการปฏิบัติงานอยูในเกณฑระดับมาตรฐานตามตัวชี้วัดที่กรมสงเสริม สหกรณกําหนด เพื่อเปนพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศใหยั่งยืน ตอไป สุดทายนี้ขออาราธนาอํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์ในสากล ที่ทุกทานเคารพนับ ถือ จงดลบันดาลประทานพรใหสหกรณและกลุมเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร พรอมดวยบุคลากรและ เจาหนาที่หนวยงานราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกแหง และเจาหนาที่กรมสงเสริมสหกรณ ตลอดจนบุคลากรในสังกัดสํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร ประสพแตความสุข ความเจริญ คิดหวังสิ่งใดที่ เปนไปในทางที่ถูกที่ควร ขอใหเปนผลสัมฤทธิ์ดังใจมุงมาดปรารถนาทุกประการเทอญ (นายดุสิต ทองทา) สหกรณจังหวัดสกลนคร มกราคม 2564


บทสรุปผูบริหาร (Executive Summary) สํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดําเนินการตามกฎหมายวา ดวยสหกรณกฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ สงเสริมและพัฒนา สหกรณทุกประเภท กลุมเกษตรกร และกลุมลักษณะอื่น สงเสริม เผยแพร และใหความรูเกี่ยวกับอุดมการณ สหกรณ หลักการและวิธีการสหกรณ ใหแกบุคลากรสหกรณ กลุมเกษตรกร และประชาชนทั่วไป สงเสริมและ พัฒนาธุรกิจของสหกรณ/กลุมเกษตรกร และกลุมลักษณะอื่น ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือไดรับมอบหมาย โดยมีอัตรากําลังในการขับเคลื่อนงานตามแผน/โครงการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จํานวนทั้งสิ้น 56 คน แบงเปนขาราชการ 29 คน ลูกจางประจํา 7 คน และพนักงานราชการ 20 คน และไดรับงบประมาณรายจาย จากกรมสงเสริมสหกรณ รวมทั้งสิ้น 25.296 ลานบาท แยกเปนงบบุคลากร 6.761 ลานบาท งบดําเนินงาน 4.621 ลานบาท งบลงทุน 3.320 ลานบาท และงบเงินอุดหนุน 10.593 ลานบาท ผลการปฏิบัติงานสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณและกลุมเกษตรกร อยูในความรับผิดชอบในการแนะนําสงเสริม กํากับ ดูแล ตรวจสอบ ประจําป พ.ศ. 2563 รวมทั้งสิ้น จํานวน 183 แหง โดยแยกเปนสหกรณ 98 แหง มีสมาชิก จํานวน 184,066 คน ปริมาณธุรกิจรวมของสหกรณ 23,905,459,057.70 บาท บาท กลุมเกษตรกร 85 แหง จํานวนสมาชิก 7,625 คน ปริมาณธุรกิจรวมของกลุมเกษตรกร 134,695,934.58 บาท ไดรับ งบประมาณรายจายประจําป จํานวน 25,296,868 บาท เบิกจายได 100% ผลการประเมินสํานักงาน สหกรณจังหวัดสกลนคร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 อยูในกลุมมาตรฐาน โดยมีผลการดําเนินงาน/ โครงการสําคัญและงานนโยบายสําคัญ ในรอบปที่ผานมาสามารถปฏิบัติงานไดตามเปาหมายที่วางไวและมี ผลงานเปนไปตามตัวชี้วัดที่กรมสงเสริมสหกรณกําหนด ภายใตงบประมาณที่เหมาะสมไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. แผนงานบุคลากรภารัฐ ดานการแกไขปญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ําและสรางการเติบโตจาก ภายใน ผลผลิต : รายการคาใชจายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเขมแข็ง กิจกรรมหลัก : คาใชจายบุคลากรภาครัฐกรมสงเสริมสหกรณ 2. แผนงานพื้นฐาน ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ผลผลิต : สหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับการสงเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : เสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกร กิจกรรมรอง : สงเสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรใหมีความเขมแข็งตามศักยภาพ กิจกรรม 1 : พัฒนาดานระบบการบริหารจัดการและธรรมาภิบาลในการบริหารสหกรณ/ กลุมเกษตรกร


กิจกรรม 2 : สรางความเขมแข็งใหกับกลุมเกษตรกร เพื่อเขาถึงแหลงเงินทุนในการผลิตและการตลาด กิจกรรมหลัก : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมรอง : สงเสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็งตามศักยภาพ (รายจายเพื่อการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ) 3. แผนงานยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม โครงการ : สงเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (เฉพาะรายการจัดจางเจาหนาที่ปฏิบัติงานในสหกรณและโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ) กิจกรรมหลัก : พัฒนา/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมรอง : สงเสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรม 1 : สงเสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรม 2 : ประยุกตใชแนวพระราชดําริเปนแนวทางการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน (บันได 7 ขั้น) กิจกรรม 3 : สงเสริมความรูดานการสหกรณแกกลุมชาวบาน กิจกรรม 4 : สงเสริมกิจกรรมสหกรณนักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรม 5 : ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสงเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหมใน สหกรณและกลุมเกษตรกร 4. แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ : ชวยเหลือดานหนี้สินสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกร (ลดดอกเบี้ยเงินกูใหเกษตรกรสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกร) 5. แผนงานบูรณาการพัฒนาและสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ : สงเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแกไขปญหาที่ดินทํากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : สงเสริมและพัฒนาอาชีพภายใตโครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการ : สงเสริมและพัฒนาอาชีพภายใตโครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการ : ศูนยเรียนรูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร ผลลัพธจากการปฏิบัติงาน : สหกรณและกลุมเกษตรกร มีจํานวนสมาชิกเพิ่มขึ้น ดําเนินกิจการในกรอบของ กฎหมาย มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร มีรายไดเพิ่มขึ้น อัตราสวนเงินออมตอ หนี้สินเพิ่มขึ้น สมาชิกลดตนทุนการผลิตได สามารถสรางความเขมแข็งของสหกรณและกลุมเกษตรกร สงเสริม ใหสหกรณและกลุมเกษตรกรเขมแข็งมีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินคา และพัฒนาบุคลากรใหเปน Smart Officers


สารบัญ สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมของหนวยงาน 1.1 วิสัยทัศน พันธกิจ และอํานาจหนาที่สํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร 1 1.2 โครงสรางและอัตรากําลังของสํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร 2 1.3 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 19 1.4 ขอมูลสถิติของสหกรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 1.5 ขอมูลสถิติของกลุมเกษตรกร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 22 29 สวนที่ 2 ผลการดําเนินงาน 35 2.1. สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 36 2.3 ผลการปฏิบัติงานสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 44 2.4 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 1) งาน/โครงการตามภารกิจ 2) โครงการตามนโยบายสําคัญ (Agenda) 3) โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกรมสงเสริมสหกรณ 144 144 165 190 สวนที่ 3 รายงานการเงิน 3.1 งบการเงิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 3.2 งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 3.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 195 196 197 198 สวนที่ 4 กิจกรรมเดนของสํานักงานสหกรณจังหวัดสกลนคร 203 บรรณานุกรม 215


สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม ของหนวยงาน


รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ของหน่วยงาน การสหกรณ์มั่นคง สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรเข๎มแข็ง เศรษฐกิจและสังคมของชุมชนยั่งยืน 1. ก ากับดูแลสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎อยูํในกรอบของกฎหมายและทันตํอสถานการณ์ 2. เสริมสร๎างการเรียนรู๎และทักษะด๎านการสหกรณ์ให๎แกํบุคลากรสหกรณ์และประชาชนทั่วไป 3. สํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎มีการด าเนินการอยํางมีประสิทธิภาพและเข๎มแข็ง ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. สนับสนุนด๎านเงินทุน สารสนเทศ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให๎แกํสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 1. ด าเนินการเกี่ยวกับงานด๎านกฎหมายวําด๎วยสหกรณ์ กฎหมายวําด๎วย การจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข๎อง 2. สํงเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุํมเกษตรกร 3. สํงเสริม เผยแพรํ และให๎ความรู๎เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ ให๎แกํบุคลากร สหกรณ์ กลุํมเกษตรกร และประชาชน ทั่วไป 4. สํงเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร 5. ปฏิบัติงานรํวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนํวยงานอื่น ที่เกี่ยวข๎องหรือที่ได๎รับมอบหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อ านาจหน้าที่ของหน่วยงาน


รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 2 โครงสร้างและอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร โครงสร้างส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร สหกรณ์จังหวัดสกลนคร ฝ่ายบริหาร ทั่วไป กลุ่มจัดตั้ง และส่งเสริม สหกรณ์ กลุ่มส่งเสริม และพัฒนาการ บริหารการ จัดการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริม และพัฒนา ธุรกิจ สหกรณ์ กลุ่มตรวจ การสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ 1 – 4 -งานแผน -งานบัญชี -งานการเงิน -งานพัสดุ -งานบุคคล -งานติดตาม และ ประเมินผล -งานธุรการ -งานอ านวย การอื่นๆ -จัดตั้ง สหกรณ์/กลุํม เกษตรกร -ก ากับตาม กฎหมาย สหกรณ์/กลุํม เกษตรกร -แก๎ไขเพิ่มเติม ข๎อบังคับ/ ระเบียบของ สหกรณ์/กลุํม เกษตรกร -วางโครงสร๎าง บริหารจัดการ สหกรณ์/กลุํม เกษตรกร -สนับสนุน เงินทุนสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร -สํงเสริม พัฒนาธุรกิจ สหกรณ์ -สินเชื่อ รวบรวม ผลผลิต -แปรรูป ผลผลิต -จัดหาสินค๎า และ บริการ -ตรวจการ กิจการและ ฐานะการเงิน ของสหกรณ์ -ก ากับและ ติดตามการ ช าระบัญชี ของสหกรณ์/ กลุํม เกษตรกร -เลิกสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร -สํงเสริม แนะน า ก ากับ ดูแลสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร ในพื้นที่


รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 3 อัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร หน่วย : คน ประเภทอัตราก าลัง ชาย หญิง รวม ข้าราชการ 12 17 29 ลูกจ้างประจ า 6 1 7 พนักงานราชการ 3 17 20 พนักงานจ้างเหมา 9 2 11 รวม 30 37 67 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 43% 11% 30% 16% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ พนักงานจ้างเหมา


รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 4 บุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร จ านวน 63 คน ประกอบด้วย สหกรณ์จังหวัดสกลนคร นายดุสิต ทองทา ระยะด ารงต าแหน่ง 17 ธันวาคม 2563 – ปัจจุบัน ฝ่ายบริหารทั่วไป จ านวน 14 คน ประกอบด้วย นายนพรัตน์ ไชยอิ่นค า นางสาวอัจฉรา สีลาวงศ์ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ


รายงานประจ าปี 2563 (Annual Report) | 5 นางสาวญาณิศา ค าจวง นางสาวกัญจน์ฐิตา ใยพันธ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าพนักงานธุรการ นางสาววิภาภรณ์ แข็งแรง นางสาวพุทธิดา ไทยเหนือ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นายชญตว์ โคตรชนะ นายอภิชาติ ระดาพันธ์ พนักงานงานพิมพ์ (ส4) พนักงานพิมพ์ (ส3)


Click to View FlipBook Version