The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่นชั้นป.1-3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ถวิล หวังกุ่ม, 2024-04-29 23:06:24

4.หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่นชั้นป.1-3

หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่นชั้นป.1-3

Keywords: อัตลักษณ์ท้องถิ่นกาญจนบุรี,อัตลักษณ์ท้องถิ่น,หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ,ชั้นป.1-3

หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เอกสารหลักสูตรฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาชีพของนักเรียนระดับประถมศึกษา (กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี


ก คำนำ หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษนำไปประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum) และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะ ตามผลการเรียนรู้ที่กำหนด หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ตัวอย่างแผนหน่วยการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างนวัตกรรมด้านอาชีพ ของนักเรียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ให้มีคุณภาพบรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรต่อไป


ข กิตติกรรมประกาศ หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 นี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากรองศาสตราจารย์ ดร.กรัณย์พล วิวรรธมงคล อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรีที่ได้เป็นวิทยากรให้ความรู้ ให้ปรึกษา คำแนะนำ แนวคิด ตลอดจนเป็นผู้เชี่ยวชาญ แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆจนหลักสูตรเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี รองศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี และนายชาลี สำรองทรัพย์ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ขอบคุณนายสมาน สาครเสถียรกุล ข้าราชการบำนาญ รวมทั้งพี่ น้องศึกษานิเทศก์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรีทุกท่านที่ให้คำปรึกษาในเรื่องต่างๆรวมทั้งเป็นกำลังใจที่ดี เสมอมา สุดท้ายขอขอบคุณคณะครู ผู้บริหารโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีที่ได้ให้ ความร่วมมือในการทำหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมสำเร็จลุล่วงไปได้


ค สารบัญ หน้า คำนำ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค ส่วนที่ 1 บทนำ 1 ส่วนที่ 2 การออกแบบหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมโดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่น 3 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 1.1 วิสัยทัศน์ 9 1.2 คำอธิบายรายวิชา 10 1.3 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 11 1.4 แผนหน่วยการเรียนรู้ 21 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 2.1 วิสัยทัศน์ 46 2.2 คำอธิบายรายวิชา 47 2.3 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 48 2.4 แผนหน่วยการเรียนรู้ 51 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3.1 วิสัยทัศน์ 138 3.2 คำอธิบายรายวิชา 139 3.3 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 140 3.4 แผนหน่วยการเรียนรู้ 150 ส่วนที่ 3 แนวทางการวัดและประเมินผล 178 ภาคผนวก โครงการ คณะผู้จัดทำ


1 ส่วนที่ 1 บทนำ การจัดการศึกษาของประเทศไทย ปัจจุบันมีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะที่จำเป็น 8 ประการ คือ 1) มีความรับผิดชอบและพึ่งพาตนเองในการเรียนรู้ 2) มี ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ การที่ผู้เรียนสามารถพัฒนาหรือได้รับการฝึกฝนทักษะในด้านการคิดอย่างมีระบบและ ส่งผลความสามารถคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 4) มี ทักษะในการสืบเสาะค้นหา 5) มีความกระตือรือร้น 6) มีทักษะพื้นฐานด้านการใช้ข้อมูลสารสนเทศ 7) มีทักษะใน ด้านการใช้ภาษาสากลหรือภาษาที่สอง และ 8) มีความสนใจในวัฒนธรรมต่างๆ ความตระหนักถึงความเป็นไปใน โลก (สำนักมาตรฐานและพัฒนาการศึกษา, 2553 :20) ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กำหนดแนวการจัดการศึกษาโดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริม ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัดของผู้เรียน คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน แก้ปัญหา และให้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง การปฏิรูปการศึกษาจึงมีความจำเป็นต้องจัดให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันที่เอื้อให้เด็ก สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลให้มากที่สุดทั้งในปัจจุบันและอนาคต (กรมวิชาการ, 2543: 1) สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับ ที่ 12) พ.ศ.2560-2564 ได้กำหนดนโยบายเพื่อดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้มุ่งพัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติ เป็นคน เก่งที่พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เป็นคนดี และมีความสุข โดยมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียน มีทักษะในศตวรรษ ที่ ๒๑ ซึ่งประกอบด้วย3Rs คือ อ่านออก (Reading) เขียนได้ (WRiting) คิดเลขเป็น (ARithmetics) 8Cs คือ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3) ทักษะ ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4) ทักษะด้านความ ร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) 5) ทักษะด้านการ สื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) 6) ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) 7) ทักษะอาชีพ และ ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และ 8) ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 กำหนดให้สถานศึกษานำร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต้องปรับหลักสูตรให้ครอบคลุมสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดย ต้องจัดสาระการเรียนรู้รายวิชาให้หลากหลายและสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดหรือ ความสนใจของ ผู้เรียน และสภาพภูมิสังคมอันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาคนไทย ให้มีคุณภาพ มีความใฝ่รู้ มีความคิด สร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถอยู่และทำงานร่วมกับผู้อื่นซึ่งมีความแตกต่างหลากหลายได้ มี


2 ความรู้เท่าทันโลก และมีทักษะในการประกอบอาชีพตามความถนัดของผู้เรียนแต่ละคน รวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครู ผู้บริหาร ในการสร้างนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาให้นักเรียนเป็นนวัตกร จังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 กำหนดให้มีการจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จำนวน 6 จังหวัด มาตรา 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งเพื่อ ดำเนินการให้มีการขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น 2) ลดความเลื่อมล้ำทางการศึกษา 3) กระจาย อำนาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่มความ คล่องตัวในการบริหารและจัดการให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ 4) สร้างและพัฒนากลไกในการจัด การศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ซึ่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี ได้ขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้พื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี (KAN MODEL) ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการ พัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับพื้นที่ ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้ ด้านการพัฒนารูปแบบการนิเทศ ติดตาม ด้านระบบการวัดประเมินผลผู้เรียน ด้านระบบข้อมูลตาม มาตรฐานการจัดการศึกษา สำหรับสถานศึกษานำร่องจำนวน 41 แห่ง และเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดจึงจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ครูด้านการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาโดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้านอาชีพ สำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศระดับประถมศึกษาขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ด้านการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาโดย ใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาชีพของนักเรียนระดับประถมศึกษา เป้าหมาย ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6ของโรงเรียนนำร่องพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรีได้คู่มือการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการพัฒนานวัตกรรม การศึกษา โดยใช้อัตลักษณะท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาชีพของนักเรียนระดับ ประถมศึกษา 2. โรงเรียนนำคู่มือสร้างเสริมสมรรถนะครูด้านการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาโดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเพื่อ ส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาชีพของนักเรียน ไปใช้จริงซึ่งจะช่วยในการพัฒนาการเรียนการสอน ของครูให้มีประสิทธิภาพ 3. ครูได้รูปแบบวิธีการสอนและเทคนิคการสอน ที่สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนของ ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาต่อยอดเป็นกระบวนการวิจัยเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพครูสมกับเป็นครู มืออาชีพ


3 ส่วนที่ 2 การออกแบบหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมโดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่น การจัดการศึกษาที่มีหลักสูตรแห่งชาติเป็นแกนหลักในการจัดการศึกษาของประเทศ เป็นเอกสาร เชิงวิสัย (Vision Document) ใช้ในการสื่อสารกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาได้เข้าใจตรงกันและใช้เป็น แนวทางในการดำเนินการจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามที่หลักสูตรกำหนดไว้ เนื่องจากหลักสูตรแต่ ละยุคสมัยมีแบบของหลักสูตร (Type of Curriculum) ที่กำหนดเป้หมายหรือจุดเน้นคุณภาพของผู้เรียนแตกต่าง กันไป และแน่นอนว่าศาสตร์ด้านการพัฒนาหลักสูตรได้พัฒนาต่อเนื่องมาเป็นลำดับ เพื่อให้เอกสารหลักสูตรได้ทำ หน้าที่ของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ช่วยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้ให้เห็นภาพของคุณภาพของ ผู้เรียนที่ชัดเจน เข้าไตรงกัน รวมทั้งเห็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผล จากหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดผลที่คุณภาพผู้เรียนดังกล่าวอย่างเป็นระบบ เป็นการเชื่อมต่อจาก "หลักสูตร" ไปสู่ "การจัดการ เรียนการสอน "และผลที่จะเกิดขึ้นตามเจตนารมณ์ตามที่หลักสูตรกำหนดไว้เนื่องจาก หลักสูตรมีหลายชั้น (Layers of Curriculum) กล่าวคือ (๑) หลักสูตรระดับเป็นทางการที่กำหนดไว้ในเอกสารหลักสูตร (Formal Curriculum) (๒) หลักสูตรระดับปฏิบัติการ (Operational Curriculum) เป็นความเข้าใจของครูเกี่ยวกับหลักสูตรแลแปลงไปสู่ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ (๒) หลักสูตรระดับการจัดการเรียนการสอน(Taught Curriculum) เป็นการจัดการ เรียนการสอนสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน (๔) หลักสูตรระดับการประเมินผล (Assessed Curriculum) เป็น หลักสูตรที่เกิดขึ้นในการวัดประเมินผลที่ว่าครูผู้วัด วัดอะไรในผู้เรียนและผลเป็นอย่างไร และ (๕) หลักสูตรระดับ ผู้เรียน (Learned Curriculum) คือคุณภาพของผู้เรียนที่เกิดขึ้นจริง ๆ (เฉลิมชัย พันธ์เลิศ,2562)


4 แนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Approach) สมรรถนะ (Competence) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ (Performance) ภายได้เงื่อนไข (Condition)โดยใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ระบุไว้ ให้ได้มาตรฐาน (Standard) ตามเกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) และมีหลักฐานการปฏิบัติ (Evidence) ให้ประเมินผลและตรวจสอบได้หลักสูตรฐาน สมรรถนะ จึงยึดความสามารถของผู้เรียนเป็นหลัก การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดนี้จะการกำหนดเกณฑ์ ความสามารถที่ผู้เรียนพึงปฏิบัติ ได้หลักสูตรที่เรียกว่า หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ จัดทำขึ้นเพื่อประกันว่าผู้ที่จบ การศึกษาระดับหนึ่ง ๆ จะมีทักษะและความสามารถในด้านต่างๆ ตามที่ต้องการ เป็นหลักสูตรที่ไม่ได้มุ่งเรื่อง ความรู้หรือเนื้อหาวิชาที่อาจมีความเปลี่ยนแปลได้ตามกาลเวลา แต่จะมุ่งพัฒนาในด้านทักษะ ความสามารถ เจตคติและคำนิยม อันจะมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันและอนาคตของผู้เรียนในอนาดต หลักสูตรนี้มีโครงสร้าง แสดงไห้เห็นถึงเกณฑ์ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติในแต่ละระดับการศึกษา และในแต่ละ ระดับชั้น ทักษะและความสามารถจะถูกกำหนดให้มีความต่อเนื่องกัน โดยใช้ทักษะและความสามารถที่มีไนแต่ละ ระดับเป็นฐานสำหรับเพิ่มพูนทักษะและความสามารถในระดับต่อไป (ดำรง บัวตรี,2535) หลักสูตรฐานสมรรถนะ คือหลักสูตรที่เน้นการวัดผล แบบสมรรถนะแทนการท่องจำเนื้อหา เพียง เพื่อนำมาสอบ เดิมวัดผลจากการจำความรู้แต่ฐานสมรรถนะวัดผลจากการนำความรู้มาใช้งาน ที่นำมาใช้แทนที่ หลักสูตรในปัจจุบัน ฐานคิดของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) 1. ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) การเป็นเจ้าของการ เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดสุขภาวะ (Well-being) ทั้งในด้านสุขภาพ ความฉลาดรู้ สังคมและอารมณ์ อย่างสมดุล รอบด้านและเป็นองค์รวม โดยยึดหลักความเสมอภาค 3. พัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และการสร้างประโยชน์ต่อสังคม 4. พัฒนาผู้เรียนให้รู้เท่าทันและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและ ความก้าวหน้าทางวิทยาการ


5 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรกำหนดสมรรถนะหลัก (Core Competency) ไว้ 5 ประการ เพื่อ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาความสามารถที่จำเป็นของผู้เรียนต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบันและอนาคต ได้แก่ 1. สมรรถนะการจัดการตนเอง 2. สมรรถนะการสื่อสาร 3. สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม 4. สมรรถนะการคิดขั้นสูง 5. สมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง สมรรถนะทั้ง 5 ด้าน จะได้รับการพัฒนาผ่านขอบข่ายการเรียนรู้ (Learning Area) 5 ด้าน เพื่อบูรณาการ หัวข้อการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาและแสดงความสามารถผ่านมุมมองต่าง ๆ ได้แก่


6 1. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านสุขภาวะกายและจิต 2. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม 3. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านโลกของงานและการประกอบอาชีพ 4. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ ทั้งสมรรถนะและขอบข่ายการเรียนรู้ถูกออกแบบและพัฒนาบนรากฐานสุขภาวะ (WelL being Foundation) 4 ด้าน ซึ่งสถานศึกษาจะต้องสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อม และกลไกการบริหาร สถานศึกษาให้เอื้อต่อการพัฒนา ได้แก่ 1. รากฐานด้านสุขภาพกายและจิต 2. รากฐานด้านสังคมและ อารมณ์ 3. รากฐานด้านความฉลาดรู้ (Literacy, Numeracy, Digital Literacy) 4. รากฐานด้านคุณธรมและจริยธรรม การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะและรากฐานสำคัญ ผ่านขอบข่ายการเรียนรู้ เพื่อบรรลุเป้าหมายสำคัญ คือ มาตรฐานการศึกษาของชาติในรูปแบบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ทางการศึกษา พ.ศ. 2561 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1. การเป็นผู้เรียนรู้ 2. การเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 3. การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง แผนภาพที่ 1 กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รัตนา แสงบัวเผื่อน ,2562)


7 แผนภาพที่ 2 นิยามศัพท์ตามกรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รัตนา แสงบัวเผื่อน ,2562)


8 การออกแบบหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้อง กับหลักสูตรฐานสมรรถนะการเรียนรู้ที่ทางคณะกรรมการฟื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีได้เน้นการ พัฒนาที่สอดคล้องกับท้องถิ่น โดยเน้นบริบทในระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่นและระดับโรงเรีนเป็นการให้ผู้เรียนได้มี ความรู้ ทักษะ สมรรถนะการเรียนรู้ในด้านทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิด ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ อันเป็นผล จากการดำเนินการให้เกิดผลอย่างโดยแท้ สิ่งสำคัญสาระหลักสูตรเพิ่มเติมรายวิชาภาษาอังกฤษเป็นเครื่องชี้แนะ การเรียนรู้ของผู้สอนให้สามารถพัฒนาผู้เรียนบรรลุเป้าหมายได้ซึ่งเน้นสมรรถนะหลัก 5 ประการดังนี้ 1.สมรรถนะการจัดการตนเอง (Self Management) นิยาม: การรู้จักตนเอง รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนดเป้าหมายและนำตนเองในการ เรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความสามารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหาร จัดการเวลา ทรัพยากร และสุขภาวะ เพื่อบรรลุเป้าหมายได้อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ 2.สมรรถนะการสื่อสาร (Communication) นิยาม: การรับและส่งสารบนความเข้าใจ ความเคารพในความคิดเห็นและวัฒนธรรมที่แตกต่างให้ บรรลุเป้าหมาย โดยใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและสื่อดิจิทัลได้เป็นอย่างดี 3.สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม (Teamwork and Collaborative) นิยาม: การเป็นสมาชิกที่ดีและการมีภาวะผู้นำใช้กระบวนการในการทำงานแบบร่วมมือร่วมพลัง อย่างเป็นระบบ ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการประสานความคิดที่แตกต่างสู่การตัดสินใจกลุ่มอย่าง รับผิดชอบร่วมกันสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและจัดการความขัดแย้งด้วยสติ 4. สมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) นิยาม: การไตร่ตรอง คิดวิพากษ์ คิดอย่างเป็นระบบสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจแก้ปัญหา มีความยืดหยุ่นทางความคิด ริเริ่มความคิดใหม่ๆโดยคำนึงถึงผลกระทบรอบด้าน 5. สมรรถนะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active CitiZen) นิยาม: การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาทและกติกา เคารพสิทธิมนุษยชน รับผิดชอบต่อ ส่วนรวม มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมอัตลักษณ์ความเป็นไทยจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นธรรมในระดับท้องถิ่นประเทศและโลกทั้งในความเป็นจริงและโลกติจิทัลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์ประกอบหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม การดำเนินการจัดทำหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 มี องค์ประกอบที่แตกต่างจากการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปกติดังนี้ ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 การออกแบบหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมโดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่น 1. วิสัยทัศน์ 2. คำอธิบายรายวิชา 3. โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 4. แผนหน่วยการเรียนรู้ ส่วนที่ 3 แนวทางการวัดและประเมินผล


9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 วิสัยทัศน์ ขับเคลื่อนและบูรณาการการศึกษาระดับจังหวัดอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณธรรม น้อมนำศาสตร์ พระราชาสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน พันธกิจ/เป้าหมาย 1. เสริมเสริม สนับสนุน ประชากรวัยเรียนให้มีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา (สพป.กจ1) 2. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร และ ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ โดยน้อมนำศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ ปฏิบัติ (ศธจ) 3. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 (สพป.กจ4) 4. สร้างเครือข่ายและพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล (ศธจ) สมรรถนะระดับชั้นที่ควรเน้น ป.1 สมรรถนะหลัก 1 การสื่อสาร (communication) 2. การจัดการตนเอง (Self-Management) อัตลักษณ์ท้องถิ่น ภาษาอังกฤษกับสิ่งแวดล้อมแต่ละอำเภอในจังหวัดกาญจนบุรี ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการยกระดับชั้น ป.1 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการสื่อสาร ในการขอและให้คำศัพท์และข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัด กาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีสมรรถนะตามหลักสูตร มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์พระราชา


10 คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อ 11201 วิชาภาษาอังกฤษกับสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 80 ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เข้าใจ ระบุ บอกคำศัพท์รับสาร ส่งสาร ให้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ใช้ประโยคสั้นๆ บอกความต้องการ ให้ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวที่มีความหมายสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆใกล้ตัว กิจวัตรประจำวัน สัตว์ อาหาร ผลไม้ สถานที่ การคมนาคมขนส่ง อาชีพ สัญลักษณ์ต่าง ๆ แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง นำตนเองสู่การเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความสามารถ ความสนใจ และความถนัดของตน โดยใช้กระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน การรับสาร ส่งสาร สืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล มีทักษะทางสังคม มี วิถีของระบอบประชาธิปไตย ซื่อสัตย์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน แสดงออกถึงความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีทักษะในการ สื่อสารทั้ง 4 ทักษะ มีสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร รักความเป็นไทย ผลการเรียนรู้ 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการสื่อสาร ในการขอและให้คำศัพท์และข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีสมรรถนะตามหลักสูตร มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 และน้อมนำ ศาสตร์พระราชา รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้


11 โครงสร้างรายวิชา อ 11201 ภาษาอังกฤษกับสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1. Daily Routine - Vocabularies Get up, make the bed, wash my face, brush my teeth, take a bath, take a shower, get dress, have breakfast, go to school, do the duty, study, have lunch, go home, do homework, do housework, have dinner, go to bed, go to farm, etc. - Song Daily Routine Song - Structure A : What are you doing? B : I am …………… . 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ กิจวัตร ประจำวัน - กิจวัตร ประจำวัน ของคนใน ท้องถิ่น 10 10


12 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 2. Fruits - Vocabularies banana, papaya, durian, coconut, orange, pomelo, cherry, pineapple, melon, watermelon, etc. - Song Peel banana Song - Structure A : What is it? B It is ………..…… . A : Is this a/an ………. ? B : Yes, It is./ No, It isn’t. A : What color is it? B : It is ………..... . A : What fruit do you like? B : I like/don’t like….. . A : Do you like ………. ? B : Yes, I do./ No, I don’t. 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (Self Management) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ ผลไม้ - ผลไม้ใน ท้องถิ่น 8 10


13 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 3. Animals - Vocabularies elephant, dog, cat, cow, pig, butterfly, fly, bird, fish, boar, ant, bee, chicken, duck, goat, rabbit, monkey, etc. - Song McDonald Song - Structure A : What is it? B It is ………..…… . A : Can dog fly? B : Yes, It can./ No, It can’t. A : What color is it? B : It is ………..... . A : What animal do you like? B : I like/don’t like….. . A : Do you like ………. ? B : Yes, I do./ No, I don’ 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (Self Management) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับสัตว์ สัตว์ใน ท้องถิ่น 8 5


14 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 4. Nature - Vocabularies mountain, sky, river, forest, waterfall, tree, cave, etc. - Song Nature Song - Structure A : What is it? B It is ………..… . A : Do you like ………. ? B : Yes, I do./ No, I don’ 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (Self Management) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ ธรรมชาติ ธรรมชาติใน ท้องถิ่น 6 5


15 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 5. Attraction - Vocabularies Three Pagodas Pass The RiverKwai Bridge. Saiyok waterfall Erawan waterfall Tham sua temple Safari Park Thipsukonthara m temple, Etong village, Krasae Cave etc. - Structure A : Have you ever been to ..… ? B : Yes, I have/ No, I haven’t. - Passage 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (Self Management) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ สถานที่ สำคัญ/ ชื่อ เฉพาะของ สถานที่ใน จังหวัด กาญจนบุรี สถานที่สำคัญ ของท้องถิ่น/ เอกลักษณ์ เด่นใน ท้องถิ่น 7 5


16 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 6. Transportation - Vocabularies car, van, bus, boat, air plane, ambulance, helicopter, bicycle(bike), motorcycle(mot orbike),etc. - Game Matching card - Structure A : Where is it? B : It is ……….. . A : How do you go to ……? B : I go to ….. by …… . 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับการ คมนาคม การ คมนาคมใน ท้องถิ่น 6 5


17 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 7. Sign - Vocabularies No smoking, don’t feed, wet floor, no dog, no eating, fire exit, don’t touch, no photo, no little, toilet, be quiet, no horn, no entry, do not sit, stop, no parking etc. - Game Matching card - Structure A : Can you ……? B : yes, you can./ No, you can’t. 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ ต่างๆ สัญลักษณ์ ต่างๆใน ท้องถิ่น 8 5


18 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 8. Places - Vocabularies Temple, school, hospital, market, post office, zoo, etc. - Song Where are you going Song - Game Slap the board - Structure A : Where is it? B : It is ………..…… . A : Is this a/an ………. ? B : Yes, It is./ No, It isn’t. A : where are you going? B : I am going to the …… . 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ สถานที่ สถานที่ ต่างๆใน ท้องถิ่น 8 10


19 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 9. Occupation - Vocabularies teacher, doctor, Nurse, police, famer, soldier, carpenter, seller, guide, driver, etc. - Structure A : What do/does you/he/ she do? B : I am a teacher./ She is a seller./ He is a police, etc. A : Where do/does you/he/ she do? B : I work at teacher./ She/ He works at ……… . 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ อาชีพใน จังหวัด กาญจนบุรี อาชีพท้องถิ่น ของคนใน จังหวัด กาญจนบุรี 10 10


20 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ สาระสำคัญ สาระท้องถิ่น เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 10. Signature - Vocabularies Name of district in Kanchanaburi/ important places in each district. - Structure A : Where is…..? A : It in…district. - Passage 1. ระบุ บอก คำศัพท์และข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 2. มีทักษะในการ สื่อสาร ในการขอ และให้คำศัพท์และ ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมใน จังหวัดกาญจนบุรี 3. มีค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ มี สมรรถนะตาม หลักสูตร มี คุณลักษณะใน ศตวรรษที่ 21 และ น้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. การจัดการตนเอง (SelfManagement) การ รู้จักตนเอง รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถกำหนด เป้าหมายและนำตัวเอง ในการเรียนรู้ ทำงาน และใช้ชีวิตตามความ สมารถ ความสนใจ และความถนัดของตน มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการ เวลา ทรัพยากร และ สุขภาวะ เพื่อบรรลุ เป้าหมายได้อย่าง พอเพียง และมี ประสิทธิภาพ 2. การสื่อสาร (Communication) การรับและส่งสารบน ความเข้าใจ ความ เคารพในความคิดเห็น และวัฒนธรรมที่ แตกต่างให้บรรลุ เป้าหมาย โดยใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี คำศัพท์ เกี่ยวกับ สถานที่ สำคัญ/ ชื่อ เฉพาะของ สถานที่โดด เด่นในจังหวัด กาญจนบุรี เอกลักษณ์ และความ เด่นของ สถานที่สำคัญ ในท้องถิ่น 7 5 รวม 80 100


21 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 Daily Routines จำนวน 10 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ กิจวัตรประจำวันได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลัง เรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจ ผลงานหลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่ง มีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up ร้องเพลง Daily Routines ชั่วโมงที่ 2 Presentation สอนคำศัพท์Daily Routines ชั่วโมงที่ 3 - 6 Practice What are you doing? I am ……………………… ชั่วโมงที่ 7-9 Production What are you doing? ให้ นักเรียนเล่นเกม ทำแบบฝึก วาดภาพกิจวัตรประจำวัน เพื่อ นำเสนอ ชั่วโมงที่ 10 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียนเป็น คู่ เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันใน ท้องถิ่นที่วาดมา 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ กิจวัตรประจำวันได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมิน ทักษะการพูด สื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมิน ทักษะการสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันบันทึกผล การประเมิน สมรรถนะการ สื่อสาร สาระ เนื้อหา - Vocabulary about Daily Routines - Present Continuous tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม สาระ ท้องถิ่น - กิจวัตรประจำวันใน ท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - บัตรภาพ - บัตรคำ - เพลง - เกม บันทึกหลังสอน


22 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 Fruits จำนวน 8 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถ อ่านออกเสียง สะกดคำศัพท์และ บอกความหมาย ของคำศัพท์ เกี่ยวกับผลไม้ได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลัง เรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจผลงาน หลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่ง มีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง daily routine ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง fruits - นำเสนอด้วยเพลงก่อนสอน คำศัพท์ใหม่ เพลง Peel banana Song ชั่วโมงที่ 3 - 6 Practice – A : What is it? B : It is ……………….. . A : Is this a/an…? , B : Yes, it is. / No, it isn’t. A : What color is it? B : It is …………………. . ชั่วโมงที่ 7 Production - What fruit do you like? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่นเกม และทำแบบฝึกหัดวาดภาพผลไม้ ที่ตนเองชอบและไม่ชอบ ชั่วโมงที่8 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียน เป็นคู่ เกี่ยวกับผลไม้ในท้องถิ่น 2.ทักษะ 1. นักเรียน สามารถพูดขอและ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลไม้ที่ชอบและ ผลไม้ที่ไม่ชอบได้ 2. นักเรียน สามารถเขียนบอก เกี่ยวกับผลไม้ที่ ตนเองชอบและไม่ ชอบได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้าชั้น เรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการ พูดสื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ ในการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมินทักษะ การสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการ ตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะ การสื่อสาร สาระ เนื้อหา - Vocabulary about fruits - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม


23 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ สาระ ท้องถิ่น - ผลไม้ประจำ ท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด - บัตรภาพ - บัตรคำ - เพลง - เกม บันทึกหลังสอน


24 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 Animals จำนวน 8 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถ อ่านออกเสียง สะกดคำศัพท์และ บอกความหมาย ของคำศัพท์ เกี่ยวกับสัตว์ได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึกคะแนน/ ตรวจผลงานหลังเรียน - แบบบันทึกคะแนน/ เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่ง มีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง fruits ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง animals - ร้องเพลง McDonald และ นำเสนอเกมก่อนสอนคำศัพท์ใหม่ ชั่วโมงที่ 3 - 6 Practice A : What is it? B : It is ………..…… . A : Can dog fly? B : Yes, It can./ No, It can’t. A : What color is it? B : It is ………..... . A : What animal do you like? B : I like/I don’t like….. . A : Do you like ………. ? B : Yes, I do./ No, I don’ ชั่วโมงที่ 7 Production - What animal do you like? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่นเกม และทำแบบฝึกหัดวาดภาพสัตว์ที่ ตนเองชอบและไม่ชอบ และสัตว์ ในท้องถิ่น 2.ทักษะ 1. นักเรียน สามารถพูดขอและ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะของสัตว์ และสีของสัตว์ได้ 2. นักเรียน สามารถพูดและ เขียนบอกเกี่ยวกับ สัตว์ที่ตนเองชอบ และไม่ชอบได้ 3. นักเรียน สามารถพูดและ เขียนบอก ความสามารถของ สัตว์ต่างๆ ได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน - เขียนคำศัพท์ เกี่ยวกับสัตว์ เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการพูด สื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนมี พฤติกรรมที่แสดง เห็นความสำคัญ และคุณค่าของ สัตว์ในท้องถิ่น จังหวัดกาญจนบุรี หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ - การสังเกต เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมินทักษะ การสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการ ตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะการ สื่อสาร


25 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ สาระเนื้อหา - Vocabulary about animals - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม ชั่วโมงที่8 Wrap up จัดบอร์ดสัตว์ในท้องถิ่น นำเสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ง่ายๆ เช่น ถิ่นอาศัย, สี, ความสามารถของ สัตว์ สาระ ท้องถิ่น - สัตว์ในท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด - บัตรภาพ - บัตรคำ - เพลง - เกม บันทึกหลังสอน


26 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 Natures จำนวน 6 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ ธรรมชาติในท้องถิ่น ได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลัง เรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจผลงาน หลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่ง มีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up ทบทวนความรู้เดิมเรื่อง animals ชั่วโมงที่ 2 Presentation ร้องเพลง nature และสอน คำศัพท์ใหม่ เรื่อง Natures - mountain, river, forest, waterfall, cave, etc. ชั่วโมงที่ 3 - 4 Practice – A : What is it? B : It is ……………… . A : Do you like………?Yes, I do./ No, I don’t. ชั่วโมงที่ 5 Production ให้นักเรียนวาดรูปธรรมชาติใน ท้องถิ่นของตนและเขียนคำศัพท์ กำกับแต่ละรูป ชั่วโมงที่6 Wrap up ออกมานำเสนอผลงานในชั่วโมงที่ 5 และสนทนาหน้าห้องเรียนเป็นคู่ เกี่ยวกับธรรมชาติในท้องถิ่น 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ธรรมชาติในท้องถิ่น ได้ 2. นักเรียนสามารถ บอกเกี่ยวกับ ธรรมชาติที่ชอบใน ท้องถิ่นตนเองได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมิน ทักษะการพูด สื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมินทักษะ การสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะ การสื่อสาร สาระ เนื้อหา - Vocabulary about natures - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม สาระ ท้องถิ่น - ธรรมชาติในท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - บัตรภาพ - บัตรคำ บันทึกหลังสอน


27 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 Attractions จำนวน 7 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ ระบุ บอก คำศัพท์ และข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับชื่ออำเภอ และสถานที่ที่สำคัญ ในจังหวัดกาญจนบุรี หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึกคะแนน/ ตรวจผลงานหลังเรียน - แบบบันทึกคะแนน/ เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่งมีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ ฝึกปฏิบัติ) และ warp up (ขั้น สรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง natures ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง - District Attractions /Tourist attractions ชั่วโมงที่ 3 - 4 Practice A : Have you ever been to ..… ? B : Yes, I have/ No, I haven’t. ชั่วโมงที่ 5 - 6 Production – Where is .………. ? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่น เกมและวาดภาพระบายสี เกี่ยวกับสถานที่สำคัญของ จังหวัดกาญจนบุรี1 สถานที่ ชั่วโมงที่7 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียน เป็นคู่ เกี่ยวกับชื่อและที่ตั้งของ สถานที่ที่สำคัญในจังหวัด กาญจนบุรี 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ พูดหรือขอข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับชื่อ อำเภอและสถานที่ที่ สำคัญในจังหวัด กาญจนบุรีได้ 2. นักเรียนสามารถ พูดสนทนาได้ถูกต้อง ตามหลักภาษา หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการพูด สื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนมีพฤติกรรม ที่แสดงเห็น ความสำคัญและ คุณค่าสถานที่สำคัญ ในจังหวัดกาญจนบุรี มีความสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมินทักษะ การสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะการ สื่อสาร


28 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ สาระ ท้องถิ่น - ชื่ออำเภอและ สถานที่ที่สำคัญใน จังหวัดกาญจนบุรี -สถานที่ท่องเที่ยวใน แต่ละอำเภอ สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด - บัตรภาพ - บัตรคำ - เกม บันทึกหลังสอน


29 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 Transportations จำนวน 6 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ การ ขนส่งในท้องถิ่นได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจ ผลงานหลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่ง มีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up ทบทวนเรื่อง Attractions ชั่วโมงที่ 2 Presentation เล่นเกม Matching cards สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง Transportation ชั่วโมงที่ 3 - 4 Practice A: What is this? B : It is a/an ……………………………... A: How do you go to ………? B : I go to …………. by …………… . ชั่วโมงที่ 5 Production ให้นักเรียนวาดภาพยานพาหนะที่ ชอบ เพื่อนำเสนอ ชั่วโมงที่ 6 Wrap up ออกมาพูดหน้าห้องเรียน เกี่ยวกับยานพาหนะที่วาด 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถให้ ข้อมูลเกี่ยวกับ ยานพาหนะในท้องถิ่น ได้ 2. นักเรียนสามารถ บอกเกี่ยวกับ ยานพาหนะตนเอง ชอบได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมิน ทักษะการพูด สื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมิน ทักษะการ สนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันบันทึกผล การประเมิน สมรรถนะการ สื่อสาร สาระ เนื้อหา - Vocabulary about Transportations - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม สาระ ท้องถิ่น - การขนส่งในท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - บัตรภาพ - บัตรคำ เพลง บันทึกหลังสอน


30 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 Sign จำนวน 8 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลัง เรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจ ผลงานหลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่งมีด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ ฝึกปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง Transportations ชั่วโมงที่ 2 Presentation – เล่นเกม Matching card และ สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง sign ชั่วโมงที่ 3 - 4 Practice – A : Can you……………. ? B : Yes, you can./ No, you can’t. ชั่วโมงที่ 5 - 7 Production – Can you……………. ? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่น เกมและทำแบบฝึกหัด ชั่วโมงที่8 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียน เป็นคู่ เกี่ยวกับสัญลักษณ์และ เครื่องหมายต่างๆในท้องถิ่น 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ พูดหรือเขียนได้ ถูกต้องตามหลักทาง ภาษา 2. นักเรียนสามารถ บอกประโยคตรงตาม สัญลักษณ์ และ เครื่องหมายที่พบใน ท้องถิ่นได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้าชั้น เรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการ พูดสื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมิน ทักษะการสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะ การสื่อสาร สาระเนื้อหา - Vocabulary about signs - Present Simple tense คุณลักษณะ - มีความมุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม


31 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ สาระ ท้องถิ่น - สัญลักษณ์และ เครื่องหมายต่างๆใน ท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด - บัตรภาพ - บัตรคำ - เกม บันทึกหลังสอน


32 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 Places จำนวน 8 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถอ่าน ออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ สถานที่ต่างๆ ใน จังหวัดกาญจนบุรีได้ หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลัง เรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจผลงาน หลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่งมี ด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิมเรื่อง sign, ร้อง เพลง Where are you going และ เล่นเกม Slap the board ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง places – temple, school, hospital, market, etc. ชั่วโมงที่ 3 - 6 Practice – A : Where is it? B : It is ………..…… . A : Is this a/an ……. ? B : Yes, It is./ No, It isn’t. A : Where are you going? B : I am going to the …… . . ชั่วโมงที่ 7 Production - What do you do? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่นเกม และทำแบบฝึกหัด สร้างนิทานง่ายๆ เกี่ยวกับการ เดินทางไปยังสถานที่ที่สนใจ 1 แห่ง 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ พูดขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับสถานที่ใน จังหวัดกาญจนบุรีได้ 2. นักเรียนสามารถ เขียนบอกเกี่ยวกับ สถานที่ในจังหวัด กาญจนบุรีได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนาหน้า ชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการ พูดสื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมินทักษะ การสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันบันทึกผล การประเมิน สมรรถนะการสื่อสาร สาระเนื้อหา - Vocabulary about Places - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมีความ มุ่งมั่นในการ ทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม


33 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่8 Wrap up ออกมานำเสนอหน้าห้องเรียน เกี่ยวกับสถานที่ที่สนใจในจังหวัด กาญจนบุรี สาระ ท้องถิ่น - สถานที่ในใน ท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - บัตรภาพ - บัตรคำ - เพลง - เกม บันทึกหลังสอน


34 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 Occupations จำนวน 10 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ นักเรียนสามารถ อ่านออกเสียงสะกด คำศัพท์และบอก ความหมายของ คำศัพท์เกี่ยวกับ อาชีพในจังหวัด กาญจนบุรีได้ หลักฐาน ความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจ ผลงานหลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่งมี ด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอ สิ่งที่ได้ฝึกปฏิบัติ) และ warp up (ขั้น สรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวน ความรู้เดิมเรื่อง Places - ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอน คำศัพท์ใหม่ เรื่อง Occupations - ชั่วโมงที่ 3 - 8 Practice – A : What do/does you/he/ she do? B : I am a teacher./ She is a seller./ He is a police, ect. A : Where do/does you/he/ she do? B : I work at school./ She/He works at field . ชั่วโมงที่ 9 Production - What do you do? กิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนเล่นเกมและทำ แบบฝึกหัด ชั่วโมงที่10 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียนเป็นคู่ เกี่ยวกับอาชีพในจังหวัดกาญจนบุรี 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ พูดขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับอาชีพใน จังหวัดกาญจนบุรีได้ 2. นักเรียนสามารถ เขียนบอกเกี่ยวกับ อาชีพในจังหวัด กาญจนบุรีได้ หลักฐานทักษะ - พูดสนทนา หน้าชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการ พูดสื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ ในการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจต คติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมิน ทักษะการสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรม ผู้เรียนระหว่าง เรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันบันทึกผล การประเมิน สมรรถนะการ สื่อสาร สาระเนื้อหา - Vocabulary about Occupations - Present Simple tense คุณลักษณะ - นักเรียนมี ความมุ่งมั่นใน การทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม


35 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ สาระท้องถิ่น - อาชีพในในท้องถิ่น สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - บัตรภาพ - บัตรคำ - เพลง - เกม บันทึกหลังสอน


36 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 Signature จำนวน 7 ชั่วโมง 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.ความรู้ ระบุ บอก คำศัพท์ และข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับชื่ออำเภอ และสถานที่ที่สำคัญ ในจังหวัดกาญจนบุรี หลักฐานความรู้ - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ ระหว่างเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน เครื่องมือความรู้ - แบบบันทึก คะแนน/ตรวจ ผลงานหลังเรียน - แบบบันทึก คะแนน/เฉลย จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของ communicative approach ซึ่งมี ด้วยกัน 5 ขั้นตอนคือ warm up (นำเข้าสู่บทเรียน), presentation (นำเสนอ) practice (ฝึกการปฏิบัติ), production (นำเสนอสิ่งที่ได้ฝึก ปฏิบัติ) และ warp up (ขั้นสรุป) ชั่วโมงที่ 1 Warm up – ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง Occupations ชั่วโมงที่ 2 Presentation – สอนคำศัพท์ใหม่ เรื่อง signature ชั่วโมงที่ 3 - 4 Practice A : Where is .………. ? B : It in …………….. district. ชั่วโมงที่ 5 - 6 Production Where is .………. ?กิจกรรมกลุ่มให้ นักเรียนเล่นเกมและวาดภาพ ระบายสีเกี่ยวกับสถานที่สำคัญใน อำเภอมา 1 สถานที่ ชั่วโมงที่7 Wrap up ออกมาสนทนาหน้าห้องเรียนเป็นคู่ เกี่ยวกับชื่ออำเภอและสถานที่ที่ สำคัญในจังหวัดกาญจนบุรี 2.ทักษะ 1. นักเรียนสามารถ พูดหรือขอข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับชื่อ อำเภอและสถานที่ที่ สำคัญในจังหวัด กาญจนบุรีได้ 2. นักเรียนสามารถ พูดสนทนาได้ถูกต้อง ตามหลักภาษา หลักฐานทักษะ - พูดสนทนา หน้าชั้นเรียน เครื่องมือทักษะ - แบบบันทึกการ ประเมินทักษะการ พูดสื่อสาร - ใบกิจกรรม 3.เจตคติ นักเรียนสนุกสนาน และเห็นประโยชน์ใน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ หลักฐานเจตคติ - การสัมภาษณ์ เครื่องมือเจตคติ - แบบสอบถาม - แบบประเมิน ทักษะการสนทนา สมรรถนะ - การสื่อสาร - การจัดการตนเอง พฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน/ทำ กิจกรรม แบบบันทึกผลการ ประเมินสมรรถนะ การสื่อสาร สาระ เนื้อหา - Vocabulary about Name of district in Kanchanaburi / important places in each district คุณลักษณะ - มีความมุ่งมั่น ในการทำงาน - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม


37 1) เป้าหมายการเรียนรู้ 2) หลักฐานการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ เครื่องมือ/วิธีการ ประเมิน ขั้นตอน/วิธีการจัดการเรียนรู้ - Present Simple tense สาระ ท้องถิ่น - ชื่ออำเภอและ สถานที่ที่สำคัญใน จังหวัดกาญจนบุรี สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด - บัตรภาพ - บัตรคำ - เกม บันทึกหลังสอน


38 แบบบันทึกผลการประเมินสมรรถนะการสื่อสาร คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินศึกษาเกณฑ์และทำการประเมินผลตามระดับเกณฑ์แล้วใส่หมายเลข 3,2,1, ตามพฤติกรรมที่ เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานในชั้นเรียน ที่ ชื่อ สกุล ระดับคะแนนพฤติกรรมการประเมิน รวม คะแนน ผลการประเมิน ร้อยละ (ผ่านร้อยละ 80) ตัวบ่งชี้ 1 การรับและการ ส่งสาร ตัวบ่งชี้ 2 เคารพความ คิดเห็นที่ แตกต่าง ตัวบ่งชี้ 3 เปรียบเทียบ ความเหมือน และความ แตกต่างของ การใช้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ตัวบ่งชี้ 4 การใช้ ภาษาอังกฤษใน การให้และค้นหา ข้อมูลโดยใช้สื่อ ดิจิทัล คะแนนเต็ม 3 3 3 3 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 รวมคะแนน คะแนนเฉลี่ย


39 แบบประเมินใบกิจกรรม/ชิ้นงาน วิชา...................................................................................ภาคเรียนที่......................ปีการศึกษา......................... ชั้น.……….....……........ วันที่…….......เดือน.……………..................พ.ศ. …………. ลงชื่อ……………………………………………………….ผู้ประเมิน (…………………………………………………….) วันที่……………เดือน……………………….พ.ศ…………… เลขที่ ชื่อ-สกุล ความสมบูรณ์ของ ชิ้นงาน ความคิด สร้างสรรค์ การนำเสนอ ผลงาน รวม ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม 4 4 2 10


40 เกณฑ์การให้คะแนนใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ระดับคะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก ความสำคัญ คะแนน รวม 4 3 2 1 ความสมบูรณ์ ของชิ้นงาน ชิ้นงานมี รายละเอียด ครอบคลุมวง คำศัพท์/ประโยคที่ เรียนและถูกต้อง สมบูรณ์ ชิ้นงานมี รายละเอียด ครอบคลุม วงคำศัพท์/ ประโยค ที่ เรียนและ ถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ ชิ้นงานมี รายละเอียด ครอบคลุม วงคำศัพท์/ ประโยค ที่เรียน และถูกต้อง พอควร ชิ้นงานไม่มี รายละเอียด ไม่ครอบคลุม วงคำศัพท์/ ประโยค ที่ เรียนและไม่ ค่อยถูกต้อง 2 4 ความคิด สร้างสรรค์ เป็นชิ้นงาน ที่แปลกใหม่ คิดขึ้นเอง ไม่เหมือน ตัวอย่าง เป็นชิ้นงาน ที่แปลกใหม่ แต่มีบางส่วน คล้ายกับ ตัวอย่าง เป็นชิ้นงาน ที่ปรับปรุง ดัดแปลง เล็กน้อยจาก ตัวอย่าง เป็นชิ้นงานที่ เหมือนกับ ตัวอย่าง 2 4 การนำเสนอ ผลงาน รูปแบบการ นำเสนอน่าสนใจ ใช้เทคนิคแปลก ใหม่ ทุกคนมีส่วน ร่วม รูปแบบการ นำเสนอ น่าสนใจ สมาชิก ส่วนใหญ่ มีส่วนร่วม รูปแบบการ นำเสนอ ไม่น่าสนใจ สมาชิก ส่วนน้อย มีส่วนร่วม รูปแบบ ไม่เหมาะสม ไม่น่าพอใจ ผู้นำเสนอ ทำงานคน เดียว 1 2 รวม 5 10 การกำหนดระดับคุณภาพโดยรวม - ระดับดีมาก คะแนนระหว่าง 8-10 - ระดับดี คะแนนระหว่าง 5-7 - ระดับพอใช้ คะแนนระหว่าง 2-4 - ระดับปรับปรุง คะแนนระหว่าง 0-3


41 แบบบันทึกแบบประเมินการพูด วิชา...................................................................................ภาคเรียนที่......................ปีการศึกษา......................... ชั้น.……….....……........ วันที่…….......เดือน.……………..................พ.ศ. …………. ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมิน (..................................................................) วันที่.................เดือน...............................พ.ศ. ................... เลขที่ ประเด็น/คะแนน ชื่อ - สกุล ความถูกต้อง ความคล่องแคล่ว การแสดงท่าทาง/ น้ำเสียงประกอบการ พูด รวม คะแนน 8 8 4 20


42 เกณฑ์การให้คะแนนการพูด ระดับคะแนน ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก/ ความสำคัญ คะแนน รวม 4 3 2 1 ความถูกต้อง ออกเสียง ตัวอักษร คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียงออกเสียง เน้นหนัก-เบาใน คำและเสียงสูงต่ำในประโยค อย่างสมบูรณ์ ออกเสียง ตัวอักษร คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียงออกเสีย เน้นหนัก-เบา ในคำและ เสียงสูง-ต่ำใน ประโยคเป็น ส่วนใหญ่ ออกเสียง ตัวอักษร คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ ขาดการ ออกเสียง เน้นหนักเบาในคำ และเสียง สูง-ต่ำใน ประโยค ออกเสียง ตัวอักษร/ คำ/ ประโยคผิด หลักการออก เสียง ทำให้ สื่อสารไม่ได้ 2 8 ความคล่องแคล่ว พูดต่อเนื่อง ไม่ติดขัด พูดชัดเจน ทำให้สื่อสารได้ พูดตะกุก ตะกักบ้าง แต่ ยังพอสื่อสาร ได้ พูดเป็นคำๆ หยุดเป็น ช่วงๆทำให้ สื่อสาร ได้ไม่ชัดเจน พูดได้บางคำ ทำให้สื่อ ความหมาย ไม่ได้ 2 8 การแสดงท่าทางและ น้ำเสียงประกอบ การพูด แสดงท่าทาง และพูดด้วย น้ำเสียง เหมาะสมกับบท พูดอย่าง สมบูรณ์ แสด ท่าทาง และพูดด้วย น้ำเสียง เหมาะสมกับ บทพูดเป็น ส่วนใหญ่ แสดง ท่าทางไม่ เป็น ธรรมชาติ พูดเหมือน อ่าน ไม่แสดง ท่าทาง ประกอบการ พูด พูดได้น้อย มาก 1 4 รวม 5 20 การกำหนดระดับคุณภาพโดยรวมทั้งหน่วย - ระดับดีมาก คะแนนระหว่าง ๑๗-๒๐ - ระดับดี คะแนนระหว่าง ๑๓-๑๖ - ระดับพอใช้ คะแนนระหว่าง ๙-๑๒ - ระดับปรับปรุง คะแนนระหว่าง ๐-๘


43 แบบบันทึกการสังเกตความสนุกสนานในการเรียน ชื่อ............................................................. ชั้น ............ วันที่ ............ เดือน .................... พ.ศ…….. ครั้งที่ .............................. ผู้สังเกต……………………………………………………………………………………… ลำดับที่ พฤติกรรม ทำ ไม่ทำ 1 กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรม 2 ทำกิจกรรมด้วยความรื่นเริงแจ่มใส 3 ชักชวนให้เพื่อนเข้าร่วมกิจกรรม 4 ทำกิจกรรมนอกเวลาเรียนเมื่อมีโอกาส รวมคะแนน คำชี้แจง: ให้ผู้สังเกตบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนโดยเขียนเครื่องหมาย ✓ลงในช่องทำ/ไม่ทำ การให้คะแนน 1= ทำ 0= ไม่ทำ การกำหนดระดับคุณภาพโดยรวมทั้งหน่วย - ระดับดีมาก คะแนน 4 - ระดับดี คะแนน 3 - ระดับพอใช้ คะแนน 2 - ระดับปรับปรุง คะแนน 0-1


44 แบบบันทึกการสังเกตการใฝ่เรียนรู้ ชื่อ............................................................. ชั้น ............ วันที่ ............ เดือน .................... พ.ศ…….. ครั้งที่ .............................. ผู้สังเกต……………………………………………………………………………………… ลำดับที่ พฤติกรรม ทำ ไม่ทำ 1 รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2 ทำงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3 คิดหาแนวทางเพื่อปรับปรุงการทำงาน 4 ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม รวมคะแนน คำชี้แจง: ให้ผู้สังเกตบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนโดยเขียนเครื่องหมาย ✓ลงในช่องทำ/ไม่ทำ การให้คะแนน 1= ทำ 0= ไม่ทำ การกำหนดระดับคุณภาพโดยรวมทั้งหน่วย - ระดับดีมาก คะแนน 4 - ระดับดี คะแนน 3 - ระดับพอใช้ คะแนน 2 - ระดับปรับปรุง คะแนน 0-1


45 ที่ ชื่อ สกุล ระดับคะแนนพฤติกรรมการประเมิน รวมคะแนน ผลการประเมิน (ผ่านร้อยละ 80) ตัวบ่งชี้ 1 การเป็นสมาชิก ที่ดี 1. ปฏิบัติงาน ตามข้อตกลง 2. มีจิตอาสาใน การ ช่วยเหลือผู้อื่น 3. ยอมรับความ คิดเห็น ของสมาชิกใน กลุ่ม 4. มีความ รับผิดชอบ ตัวบ่งชี้ 2 การมีภาวะผู้นำ 1.รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย 2. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 3. มุ่งมั่นในการ ปฏิบัติหน้าที่ 4. ยอมรับความ คิดเห็น ของ สมาชิก ตัวบ่งชี้ 3 การทำงานแบบ ร่วมมือร่วมพลังอย่าง เป็นระบบ 1. สมาชิกในกลุ่ม ให้ ความร่วมมือในการ ปฏิบัติงานบรรลุ เป้าหมาย 2. ร่วมกันแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ 3. มีความเป็นผู้นำและ ผู้ตามที่ดี 4. ยอมรับความ คิดเห็นของสมาชิกใน กลุ่ม คะแนนเต็ม 3 3 3 9 100 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 รวมคะแนน คะแนนเฉลี่ย แบบบันทึกผลการประเมินการทำงานเป็นทีม คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินศึกษาเกณฑ์และทำการประเมินผลตามระดับเกณฑ์แล้วใส่หมายเลข 3,2,1 ตามพฤติกรรมที่ เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานในชั้นเรียน


Click to View FlipBook Version