The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-22 08:29:04

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

ตารางการวเิ คราะหห์ ลักสตู รการศกึ ษานอกร
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ภา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและกา

สัปดาห์ สาระ/รายวชิ า เน้ือหาวชิ า

15 บทท่ี2 2.3 ด้านอตุ สาหกรรม
(ต่อ) ประโยชน์และ
2.3.1 ประโยชนจ์ ากพลังงานไฟฟา้ ดา้ นอตุ สาหกรรม
ผลกระทบของ
1) สถานประกอบการ/โรงงาน
พลังงานไฟฟา้
2) ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้าด้านอตุ สาหกรรม

2.4 ด้านคุณภาพชวี ติ

2.4.1 ประโยชน์จากพลงั งานไฟฟา้ ดา้ นคุณภาพชวี ติ

1) เคร่ืองอำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวัน เช่น

เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ระบบส่ือสาร การแพทย์ การบันเทิง การศกึ ษา

2.4.2 ผลกระทบจากพลงั งานไฟฟา้ ด้านคุณภาพชีวติ

2.5 ด้านการเกษตรกรรม

2.5.1 ประโยชนจ์ ากพลังงานไฟฟ้าด้านการเกษตรกรรม

1) โรงสี/การแปรรปู การเกษตร 2) การเพาะปลกู

3) การประมง 4) การปศสุ ัตว์

2.5.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟา้ ดา้ นการเกษตร

2.6 ดา้ นบริการ

2.6.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้าด้านการบรกิ าร

1) ภาคธนาคาร/สถาบันการเงิน 2) การทอ่ งเทย่ี วและการ

โรงแรม

2.6.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟา้ ด้านการบรกิ าร

ระบบ ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 27
าคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ารศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอตากใบ วิธกี ารจัดการเรยี นรู้

จำนวน วเิ คราะหเ์ น้ือหา ตนเอง พบกลุ่ม ทางไกล ชัน้ เรียน
(ชัว่ โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
งา่ ย ปาน ยาก
กลาง (4) √(0.5)



√ (5) √(0.5)

√ √(0.5)
(4)

√ √(0.5)
ร (4)

ตารางการวิเคราะห์หลกั สตู รการศึกษานอกร
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ภา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและกา

สัปดาห์ สาระ/รายวชิ า เนอ้ื หาวิชา

16 บทที่3 พลังงาน 3.1 ความหมายและความสำคัญของพลังงานทดแทน

ทดแทน 3.2 ประเภทและหลกั การของพลังงานทดแทน

3.2.1 พลงั งานลม

1) รปู แบบพลงั งานลม

2) การใชป้ ระโยชน์พลงั งานลม

3) ศักยภาพในการผลติ ไฟฟา้

4) ข้อจำกดั ของพลงั งานลม

3.2.2 พลงั งานน้ำ

1) รปู แบบพลงั งานน้ำ

2) การใช้ประโยชน์พลงั งานนำ้

3) ข้อจำกดั ของพลังงานนำ้

3.2.3 พลงั งานแสงอาทติ ย์

1) รปู แบบพลังงานแสงอาทติ ย์

2) การใช้ประโยชน์

- พลังงานแสงอาทิตย์

- พลงั งานความร้อน

- พลังงานไฟฟ้า

3) ข้อจำกดั ของพลงั งานแสงอาทิตย์

ระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 28
าคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ารศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอตากใบ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้

จำนวน วิเคราะหเ์ นื้อหา ตนเอง พบกลมุ่ ทางไกล ชัน้ เรยี น
(ช่วั โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
30 กลาง (1)
√(1)

√ (3)

(3)
(3)

ตารางการวิเคราะหห์ ลักสูตรการศกึ ษานอกร
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภา

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เนอื้ หาวิชา

16 บทท่ี3 พลงั งาน 3.2.4 พลงั งานชีวมวล

(ต่อ) ทดแทน 1) การใช้พลังงานชวี มวล

- โดยตรง

- รูปแบบอื่น ๆ

2) การนำพลงั งานชวี มวลมาใช้ประโยชน์

3.2.5 พลังงานใต้พภิ พ

1) รปู แบบและความหมายของพลงั งานใตพ้ ภิ พ

2) ประโยชนข์ องพลังงานใต้พิภพ

3) ข้อจำกัดของพลงั งานใตพ้ ภิ พ

3.2.6 พลงั งานนวิ เคลยี ร์

1) รปู แบบพลังงานนวิ เคลยี ร์

2) ประโยชนข์ องพลงั งานนวิ เคลียร์

3.3 พลังงานทดแทนทมี่ ใี นชุมชน

3.4 การผลติ และการใช้พลงั งานในชุมชน

3.5 เปรยี บเทียบขอ้ จำกัดของพลงั งานทดแทนแตล่ ะประเภท

3.6 ตน้ ทนุ การผลติ พลังงานทดแทนตอ่ หนว่ ย

ระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 29
าคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563
ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอตากใบ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้

จำนวน วิเคราะหเ์ นื้อหา ตนเอง พบกลุม่ ทางไกล ช้ันเรียน
(ชว่ั โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
กลาง (3)

(3)

√ (3)

√(1)
√ √(1)
√ (2)
(2)
(2)
(2)

ตารางการวิเคราะหห์ ลักสูตรการศกึ ษานอ

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ภา
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เนือ้ หาวชิ า

16 บทท่ี4 การใช้ 4.1 วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายในครวั เรอื น

(ต่อ) และการอนรุ ักษ์ 4.2 อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า

พลงั งานไฟฟา้ 4.2.1 อุปกรณ์ไฟฟา้ ที่สำคัญ

4.2.2 การเลือกชนดิ และขนาดของสายไฟ

4.2.3 เครอื่ งใช้ไฟฟา้

4.3 การต่อสายดิน

4.4 กลยุทธก์ ารประหยัดพลังงาน 3อ.

4.4.1 อปุ นิสยั การประหยดั พลังงาน

4.4.2 อาคารประหยัดพลังงาน

4.4.3 อปุ กรณ์ประหยดั พลังงาน

4.5 .องคป์ ระกอบของคา่ ไฟฟา้

4.5.1 ค่าไฟฟา้ ฐาน

4.5.2 ค่าไฟฟ้าผนั แปร

4.5.3 ค่าภาษีมูลคา่ เพ่ิม

4.6 การคำนวณค่าไฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ นครวั เรือน

4.7 การคำนวณคา่ ไฟฟา้ จากเครอ่ื งใช้ไฟฟา้

30

อกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551

าคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ารศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอตากใบ

จำนวน วเิ คราะหเ์ นือ้ หา ตนเอง วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ ชั้นเรียน
(ชวั่ โมง) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก พบกลุม่ ทางไกล
30 กลาง (3) (ชม.) (ชม.)
(3)
√ √(0.5)


√ (3) √(0.5)
√ (3)

√ √(1)
(4)

√ √(0.5)
√ (4) √(0.5)

(4)

ตารางการวิเคราะห์หลกั สูตรการศึกษานอกร
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ภา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เน้ือหาวชิ า

16 บทที่4 การใช้ 4.8 หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ
(ต่อ) และการอนุรกั ษ์ 4.8.1 กระทรวงพลังงาน

พลังงานไฟฟา้ 4.8.2 คณะกรรมการประกอบกิจการพลังงาน

4.8.3 กฟผ. คืออะไร
1) ความเป็นมา
2) บทบาทหน้าที่

3) การดำเนินงาน
4.8.4 กฟน. คอื อะไร

1) ความเปน็ มา

2) บทบาทหน้าที่
3) การดำเนนิ งาน
4.8.5 กฟภ. คอื อะไร

1) ความเป็นมา
2) บทบาทหน้าที่
3) การดำเนนิ งาน

ระบบ ระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 31
าคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอตากใบ วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้

จำนวน วิเคราะห์เน้ือหา ตนเอง พบกลุ่ม ทางไกล ชน้ั เรยี น
(ชั่วโมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
งา่ ย ปาน ยาก
กลาง (3)



32

คำอธิบายรายวิชา และรายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า
สาระความรู้พ้นื ฐาน วิชาวสั ดุศาสตร์ รหัสวชิ า พว 22002 จำนวน 3 หน่วยกิต

สาระสำคญั ( มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ )

มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เก่ียวกบั ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ในทวีป
เอเชีย และนามาปรบั ใช้ในการดาเนินชวี ติ เพอื่ ความมน่ั คงของชาติ
การศึกษาและฝึกทกั ษะเก่ยี วกบั เร่อื งต่อไปน้ี

ความภูมิใจในความเปน็ ไทย มรดกไทยสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาและกรงุ ธนบุรี บทเรียนจาก
เหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตรใ์ นสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและกรุงธนบุรี และความสัมพนั ธ์กบั ตา่ งประเทศในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา
และกรงุ ธนบรุ ี
การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นแลกเปล่ียนเรียนรจู้ ากการอภิปลายกล่มุ ศกึ ษาจากใบความรู้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
และเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง ศึกษาจากอนิ เทอรเ์ นต็ ผรู้ ู้ ผเู้ ชย่ี วชาญ สื่อวีดีทัศน์ การทำใบงาน การทาแบบทดสอบ เรียนรู้
ด้วยตนเอง การรายงาน การศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์ตรงโดยใชส้ ถานการณจ์ รงิ และฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ่ีเกีย่ วกับ
ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
การวดั และประเมินผล

จากสภาพจรงิ จากการสงั เกต การอภปิ ราย การสัมภาษณ์ ผลการปฏบิ ัติงาน การมสี ่วนร่วม
ในกิจกรรมการเรยี นรู้ ความสนใจในกระบวนการเรยี นรู้ ความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั งิ าน แบบทดสอบ

ตารางการวิเคราะห์หลกั สตู รการศึกษานอกร
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ภา

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและกา

สัปดาห์ สาระ/รายวิชา เนอ้ื หาวชิ า

17 สาระพฒั นา บทที่1 เร่อื งความภมู ใิ จในความเป็นไทย

สงั คม 1. สถาบนั หลกั ของชาติ

รายวชิ า 1.1 สถาบันชาติ

ประวตั ิศาสตร์ 1.1.1 ความหมายของชาติ

ชาติไทย 1.1.2 ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย

(สค 22020) 1.1.3 การรวมชาติไทยเปน็ ปึกแผ่น
1.1.4 บทบาทของพระมหากษตั รยิ ์ไทยในการรวมชาติ

1.2 สถาบันศาสนา

1.2.1 ศาสนาพุทธ

1.2.2 ศาสนาครสิ ต์

1.2.3 ศาสนาอสิ ลาม

1.3 สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

1.3.1 บทบาทและความสำคัญของสถาบันพระมหากษตั ริย์

1.3.2 พระปรชี าสามารถของพระมหากษัตรยิ ์ไทย

1.3.3 สถาบันพระมหากษตั รยิ ์คือศูนย์รวมใจของคนในชาติ

2. บญุ คณุ ของแผ่นดนิ

2.1 บุญคณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทยตงั้ แตส่ มยั กรงุ สุโขทยั กร

อยุธยา กรงุ ธนบรุ ี และกรงุ รัตนโกสินทร์

ระบบ ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 33
าคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ารศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตากใบ วิธกี ารจดั การเรยี นรู้

จำนวน วเิ คราะหเ์ นือ้ หา ตนเอง พบกลุ่ม ทางไกล ชัน้ เรียน
(ช่ัวโมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
40 กลาง (2)
6


√ (2)

√ (2)
(6) √(2)
รงุ ศรี 34 √

ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สูตรการศกึ ษานอกร
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ภา

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เนื้อหาวชิ า

17 สาระพฒั นา 2.2 พระมหากษตั รยิ ์ไทยในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาและกรุงธนบรุ ี

(ตอ่ ) สงั คม 2.2.1 รายนามพระมหากษตั ริย์ในสมยั กรุงศรอี ยุธยา

รายวิชา 2.2.2 รายนามพระมหากษัตรยิ ใ์ นสมัยกรงุ ธนบรุ ี

ประวัติศาสตร์ 2.3 วรี กษัตรยิ ์ไทยสมยั กรุงศรีอยุธยา

ชาตไิ ทย 2.3.1 สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 1(สมเดจ็ พระเจ้าอู่ทอง)

(สค 22020) 2.3.2 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
2.3.3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

2.3.4 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

2.4 วรี กษัตริยไ์ ทยสมยั กรุงธนบรุ ี

2.4.1 สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช

2.5 วีรบุรษุ และวีรสตรไี ทยในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี

2.5.1 สมัยกรุงศรีอยธุ ยา

1) สมเด็จพระสุรโิ ยทยั

2) พระสุพรรณกลั ยา

3) ขนุ รองปลดั ชู

4) ชาวบ้านบางระจัน

2.5.2 สมัยกรงุ ธนบรุ ี

1) พระยาพชิ ยั ดาบหกั

ระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 34
าคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ารศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอตากใบ วิธีการจดั การเรยี นรู้

จำนวน วิเคราะห์เนือ้ หา ตนเอง พบกลุ่ม ทางไกล ชัน้ เรยี น
(ช่วั โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
งา่ ย ปาน ยาก
กลาง (6) √(1)



√ (6) √(1)

(4)
√ √(1)

(6)
√ √(1)

ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สูตรการศึกษานอกร
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ภา

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เนือ้ หาวชิ า

18 สาระพฒั นา บทที่2 เร่อื งมรดกไทยสมยั กรุงศรีอยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี

สังคม 1. ความหมาย/นิยาม “มรดกไทย”

รายวชิ า 2. ประเพณีไทย

ประวตั ศิ าสตร์ 2.1 พระราชพิธพี ยุหยาตราทางชลมารค

ชาติไทย 2.2 พระราชพิธีจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั

(สค 22020) 2.3 ประเพณสี งกรานต์

2.4 ประเพณลี งแขกทา นา

2.5 ประเพณเี ดือน 11 การแขง่ เรือ

2.6 ประเพณเี ดือน 12 พธิ ีจองเปรียงตามประทีป (ชกั โคม)

3. วฒั นธรรมไทย

3.1 วฒั นธรรมการแตง่ กายในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา

3.2 ภาษาในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา

3.3 อาหารไทยสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา

3.4 การละเลน่ สมัยกรุงศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี

4. ศลิ ปะไทย

4.1 วรรณกรรมสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา

4.1.1 ลิลิตโองการแช่งน้าหรอื ประกาศแชง่ น้าโคลงหา้

ระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 35
าคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ารศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอตากใบ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้

จำนวน วเิ คราะหเ์ น้อื หา ตนเอง พบกลมุ่ ทางไกล ชน้ั เรยี น
(ชวั่ โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
40 กลาง (3)
15 (3)



√ (3)
√ (3)

ตารางการวเิ คราะห์หลกั สูตรการศกึ ษานอกร
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ภา

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เนอ้ื หาวิชา

18 สาระพฒั นา 4.1.2 มหาชาตคิ า หลวง

(ตอ่ ) สังคม 4.1.3 ลิลติ ยวนพ่าย

รายวชิ า 4.1.4 ลิลติ พระลอ

ประวตั ิศาสตร์ 4.1.5 กาพย์มหาชาติ

ชาตไิ ทย 4.1.6 หนังสอื จนิ ดามณี

(สค 22020) 4.2 สถาปตั ยกรรม

4.2.1 สถาปัตยกรรมสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา

4.2.2 สถาปตั ยกรรมสมยั กรงุ ธนบรุ ี

4.3 ประติมากรรม

4.3.1 ประติมากรรมสมยั กรงุ ศรีอยุธยา

5. การอนุรกั ษม์ รดกไทย

บทท่ี3 เร่ืองบทเรยี นจากเหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ในสมยั กร

อยุธยาและกรงุ ธนบุรี

1. สงครามช้างเผือก

2. การเสยี กรงุ ศรีอยุธยา คร้งั ท่ี 1

3. สงครามยทุ ธหตั ถีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

4. การเสียกรงุ ศรีอยธุ ยา คร้ังที่ 2

5. การกอบก้เู อกราชของสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช

ระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 36
าคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ารศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอตากใบ วิธกี ารจัดการเรยี นรู้

จำนวน วเิ คราะห์เนือ้ หา ตนเอง พบกลุม่ ทางไกล ช้นั เรียน
(ชั่วโมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
กลาง

รงุ ศรี √ (3)
25 √(6)

(3)

(3)
(3)
(3)

(7)

ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สูตรการศึกษานอกร
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ภา

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและกา

สปั ดาห์ สาระ/รายวชิ า เน้ือหาวิชา

19 สาระพฒั นา บทท่ี4 เรื่องความสมั พันธ์กับตา่ งประเทศในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาแ

สงั คม กรงุ ธนบุรี

รายวชิ า 1. ความสัมพันธก์ บั ตา่ งประเทศ 10 ในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา

ประวัตศิ าสตร์ 1.1 ความสัมพนั ธ์กบั รฐั เพอื่ นบา้ น

ชาติไทย 1.2 ความสัมพันธ์กบั ประเทศในทวีปเอเชยี

(สค 22020) 1.3 ความสมั พนั ธก์ บั ประเทศในทวปี ยุโรป (ชนชาตติ ะวนั ตก)

2. ความสมั พนั ธ์กบั ต่างประเทศในสมัยกรงุ ธนบรุ ี

2.1 ความสมั พนั ธ์กบั รัฐเพ่อื นบ้าน

2.2 ความสมั พนั ธก์ บั ประเทศในทวีปยโุ รป

ระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 37
าคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ารศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอตากใบ วิธกี ารจดั การเรยี นรู้

จำนวน วิเคราะหเ์ นื้อหา ตนเอง พบกลุ่ม ทางไกล ชน้ั เรียน
(ชัว่ โมง) (ชม.) (ชม.) (ชม.) (ชม.)
ง่าย ปาน ยาก
กลาง

และ 40

25 √ (6) √(3)

(6)

(10)

15 √ (6) √(3)
(6)

ปฏทิ นิ การพบกลมุ่ ประจำภาคเรยี นท่ี 1/2564 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง จังหวัดนราธิวาส

ครูผู้สอน …………………………………………………………………………………………………….
สถานท่ี ……………………………………………………………………………………………………..

ครงั้ ท่ี วัน เดอื น ปี เวลา กิจกรรม สถานท่ีพบกลมุ่
1 09.00-
16.00 น. ปฐมนิเทศ อาคารอเนกประสงค์ กศน.อำเภอ
2 14-18 เจาะไอร้อง
มิ.ย. 64 09.00- - จัดการเรียนการสอนแบบราย
16.00 น. วิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง -กศน.ตำบล………………….
-มอบหมาย กรต.วิชาเศรษฐกจิ พอเพียง -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ......................

3 21-25 09.00- - จดั การเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….
มิ.ย. 64 16.00 น. วชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ......................
-มอบหมาย กรต.วิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4 28-30 09.00- -กศน.ตำบล………………………….
ม.ิ ย. 64 16.00 น. - จดั การเรยี นการสอนแบบราย -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ......................
วชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ
-มอบหมาย กรต.วชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชพี

- จัดการเรียนการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

5 ก.ค. 64 09.00- วิชาทักษะการพฒั นาอาชีพ -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ......................

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาทกั ษะการพัฒนาอาชีพ

- จดั การเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

6 ก.ค. 64 09.00- วชิ าทกั ษะการพัฒนาอาชีพ -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ.......................

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วชิ าทักษะการพฒั นาอาชพี

ก.ค. 64 - จัดการเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

7 09.00- วชิ าทกั ษะการพัฒนาอาชีพ -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ.......................

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาทักษะการพฒั นาอาชพี

ก.ค. 64 - จัดการเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….
-สถาบันศกึ ษาปอเนาะ......................
8 09.00- วิชาสุขศึกษา พลศกึ ษา
-กศน.ตำบล………………………….
16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาสุขศกึ ษา พลศกึ ษา -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ......................

ก.ค. 64 09.00- - จดั การเรียนการสอนแบบราย
9 16.00 น. วชิ าสุขศึกษา พลศึกษา

-มอบหมาย กรต.วิชาสขุ ศกึ ษา พลศึกษา

ครงั้ ท่ี วัน เดอื น ปี เวลา กิจกรรม

ส.ค. 64 - จดั การเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

10 09.00- วชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. - มอบหมาย กรต.วชิ าสุขศกึ ษา พลศกึ ษา .............................

ส.ค. 64 - จัดการเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

11 09.00- วชิ าสุขศึกษา พลศึกษา -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. - มอบหมาย กรต.วิชาสุขศึกษา พลศึกษา ............................

ส.ค. 64 - จดั การเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

12 09.00- วิชาลูกเสือ กศน. 1 -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. - มอบหมาย กรต.วชิ าลกู เสือ กศน. 1 ............................

ส.ค. 64 - จดั การเรียนการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

13 09.00- วิชาลกู เสือ กศน. 1 -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาลูกเสอื กศน. 1 .............................

ส.ค. 64 - จัดการเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

14 09.00- วิชาการปอ้ งกันการทจุ รติ -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ......................

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาการปอ้ งกันการทจุ ริต

ก.ย. 64 - จัดการเรียนการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

15 09.00- วชิ าการป้องกันการทจุ ริต -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาการปอ้ งกันการทจุ รติ .............................

ก.ย. 64 - จดั การเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

16 09.00- วชิ าการปอ้ งกันการทจุ รติ -สถาบันศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วชิ าการปอ้ งกนั การทจุ ริต ..........................

ก.ย. 64 - จัดการเรยี นการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

17 09.00- วิชาประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วชิ าประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย ............................

ก.ย. 64 - จัดการเรียนการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

18 09.00- วชิ าประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ...........................

ก.ย. 64 - จัดการเรียนการสอนแบบราย -กศน.ตำบล………………………….

19 09.00- วิชาประวัติศาสตรช์ าติไทย -สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

16.00 น. -มอบหมาย กรต.วิชาประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย ..........................

20 2,3 ต.ค. สอบปลายภาค สนามสอบ ร.ร.บา้ นเจาะไอร้อง

64

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

……………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ คร้ังท่ี ๑
เร่อื ง ปฐมนิเทศ
วนั ท่ี .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตัวชี้วดั
นักศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจการเรยี น กศน.หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษา

ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๕๙)
เนอ้ื หา

๑. ชแ้ี จงนโยบายและการดำเนินงานของ กศน.
๒. แนะนำสถานศึกษา/ผบู้ รหิ าร/คร/ู บุคลากร กศน.อำเภอยี่งอ
๓. โครงสร้างหลกั สตู ร/โครงสร้างรายวิชาลงทะเบยี น ๑/๒๕๖4
๔. การจัดกระบวนการการเรยี นการสอน/กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.)
๕. การเทียบโอนผลการเรียน
๖. การวดั และประเมนิ ผล
๗. เกณฑก์ ารจบหลักสูตร
๘. ตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษา
กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
- แนะนำสถานศึกษา กศน.อำเภอยงี่ อ / กศน.ตำบล
- บรรยาย ใหค้ วามรหู้ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช
๒๕๕๑ (ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๕๙)
- จดั กิจกรรมฐาน แบง่ เปน็

ฐาน ตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษา
ฐาน โครงสรา้ งหลกั สตู ร
ฐาน การจดั การเรียนรู้
ฐาน กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (กพช.)
ฐาน การเทียบโอนผลการเรียน
ฐาน การวัดผลประเมนิ ผล
ฐาน การจบหลกั สูตร
สื่อการเรียนรู้
• ค่มู อื การปฐมนเิ ทศ
• แบบทดสอบความเขา้ ใจ

• การวัดและประเมนิ ผล
การวดั และประเมิน

• การสงั เกต
• การมสี ่วนรว่ ม
• แบบแบบทดสอบ
• แบบประเมินความพงึ พอใจ

ลงชือ่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….……..
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………….…..…

ลงชอื่ ........................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง รหสั วชิ า ทช ๒๑๐๐๑
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ คร้ังท่ี ๒ ( จำนวน ๖ ชวั่ โมง )
เร่อื ง ความเป็นมาของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
วนั ท่ี .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.

ตวั ชวี้ ัด ผู้เรยี นบอกความเป็นมาพรอ้ มทง้ั อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพียงได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (Orientation : O)
๑. ครูผู้สอนสอบถามความรพู้ ้นื ฐานของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของนกั ศกึ ษา

แตล่ ะคน

๒. ผูเ้ รยี นรว่ มกบั ครสู นทนา ศกึ ษาสภาพปญั หาทีแ่ ต่ละพ้นื ทเ่ี กิดขึ้นเพื่ออยู่บน

พืน้ ฐานของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขัน้ ท่ี ๒ แสวงหาข้อมลู และการจัดการเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ผู้เรยี นศกึ ษาและจับใจความสำคญั เนอื้ หาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง จากใบ

ความร้แู ละ สรปุ เนอ้ื หารว่ มกนั

2.ผู้เรียนแบ่งกลมุ่ อภิปรายและแบง่ เนอื้ หา จุดประสงค์ในการเรยี นเร่อื งปรัชญา

เศรษฐกจิ พอเพียง

๓. ผู้เรยี นและครแู ลกเปล่ียนเรยี นรู้ เกีย่ วกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้

คำถามปลายเปดิ ในการชวนคิด ชวนคยุ เพื่อหาข้อสรปุ

๔. ผเู้ รียนศกึ ษา เรยี นรเู้ พ่มิ เติมจาก สื่อInternet มาใชร้ ่วมกนั

๕. ผูเ้ รียนนำเสนอกจิ กรรมตามท่ีได้รับมอบหมาย

ขัน้ ที่ ๓ การปฏบิ ตั แิ ละการนำไปประยุกต์ใช้ (Implementation : I)
๑. ผ้เู รียนเรียนรูต้ ามกระบวนการ และศกึ ษาแนวทางในการนำผลการเรยี นรมู้ าปรบั

ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

๒. ผเู้ รียนทำใบงานและสรปุ องคค์ วามรู้และบันทกึ ผลการเรยี นรทู้ ่ไี ด้จากการเรยี นรู้

๓. ผเู้ รยี นนำความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรู้มาปรบั ใช้เปน็ ในชวี ติ ประจำวนั

๔. มอบหมายงาน กรต.ครัง้ ต่อไป

ขน้ั ท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
๑. ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบย่อย

๒. ผู้เรยี นสรุปองค์ความรู้ เพ่อื ต่อยอดในการพบกล่มุ ครง้ั ต่อไป

สอื่ การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรียนรายวิชาภาษาไทย (พท ๒๑๐๐๑)
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV
๖. สอื่ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สงั เกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

แหลง่ เรียนรู้
1 กศน.ตำบล
2 ห้องสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
4 แหลง่ เรยี นในตำบล

ตวั ชี้วดั การเรยี นรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พฒั นาอาชพี เพอื่ ความเข้มแขง็
2 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวิเคราะหศ์ กั ยภาพของ

ธรุ กจิ
3 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงช่ือ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

ความคิดเหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่อื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้
วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ตน้ คร้ังที่ 2
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาชี้ถงึ แนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
ระดบั ครอบครวั ระดบั ชุมชนจนถึงระดับรฐั ทั้งในการพัฒนา และบรหิ ารประเทศให้ดำเนนิ ไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมเี หตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกนั ในตัวที่ดพี อสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อัน
เกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งน้ีจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างย่ิง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกข้ันตอน และ
ขณะเดยี วกันจะตอ้ งเสริมสรา้ งพนื้ ฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกิจ
ในทุกระดับให้มสี ำนกึ ในคุณธรรม ความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ และให้มคี วามรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดำเนนิ ชีวิต ด้วยความ
อดทน ความเพยี ร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเร็ว และกว้างขวางท้ังด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี การนำ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เปน็ กรอบแนวความคิดและทศิ ทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่ง
บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพ่ือมุ่งสู่การพัฒนาที่
สมดลุ ยง่ั ยืน และมีภูมคิ ุม้ กนั เพ่ือความอยูด่ ีมสี ุข มงุ่ สู่สังคมท่ีมีความสุขอยา่ งยั่งยืน หรือทีเ่ รียกว่า สงั คมสีเขียว
(Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับท่ี 10 นจี้ ะไม่เน้นเร่ืองตัวเลขการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ แตย่ ังคงใหค้ วามสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวลิ ักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกตา่ งกัน
ระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งน้ีว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ
ความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญาน้ีไปใช้ทำอะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คำว่า
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทำกิจกรรมใด ๆ เพ่ือให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดำรัสและใ ห้เกิด
ภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพ่ือเป็นเครื่องมือเพ่ือตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจน้ี
อาจเกดิ จากการสบั สนว่าเศรษฐกจิ พอเพียงกับทฤษฎีใหม่นัน้ เปน็ เรอื่ งเดยี วกัน ทำใหม้ ีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจ
พอเพียงหมายถงึ การปฏเิ สธอตุ สาหกรรมแลว้ กลับไปสู่เกษตรกรรม ซ่งึ เป็นความเข้าใจที่ผิด ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การ
สหประชาชาติ ไดท้ ูลเกลา้ ฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงว่า
เป็นปรชั ญาที่สามารถเร่ิมไดจ้ ากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างข้ึนในที่สุด
เป็นปรัชญาท่ีมีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยท่ีองค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนใ ห้
ประเทศต่างๆท่ีเปน็ สมาชิก 166 ประเทศยดึ เปน็ แนวทางสูก่ ารพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื

หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลกั พิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้
กรอบแนวคิด เปน็ ปรชั ญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏบิ ตั ิตนในทางทค่ี วรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจาก
วถิ ีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่มี ีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มงุ่ เน้นการรอด
พ้นจากภัย และวกิ ฤต เพ่อื ความม่นั คง และความย่ังยืนของการพฒั นา คณุ ลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ

นำมาประยุกต์ใชก้ ับการปฏบิ ัติตนได้ในทุกระดับ โดยเนน้ การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็น
ขั้นตอน

คำนยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ พร้อม ๆ กันดงั น้ี
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น
เช่นการผลติ และการบริโภคทอ่ี ยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกบั ระดับ
ของความพอเพียงน้ัน จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งตลอดจนคำนงึ ถึงผล
ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบการมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้
พรอ้ มรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทงั้ ใกล้ และไกลเงอ่ื นไข การตัดสนิ ใจและการดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่
ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยท้ังความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย
ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนำความรูเ้ หล่านนั้ มาพจิ ารณา
ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในข้ันปฏิบัติเง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้อง
เสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้
สติปัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต

เศรษฐกจิ พอเพยี งความหมายกว้างกว่าทฤษฎใี หม่ โดยท่ีเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นกรอบแนวคิดทช่ี ้ีบอกหลักการ
และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำริเกีย่ วกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึง
เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนน้นั เป็นตวั อยา่ งการใชห้ ลักเศรษฐกจิ พอเพยี งในทางปฏบิ ตั ิ
ท่ีเป็นรูปธรรม เฉพาะในพนื้ ทท่ี ี่เหมาะสม ทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดำริ อาจเปรยี บเทยี บกับหลกั เศรษฐกิจ
พอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คอื แบบพื้นฐาน กบั แบบกา้ วหน้า

ขั้นที่ 1 ทมี่ ุ่งแกป้ ญั หาของเกษตรกรทอ่ี ยหู่ ่างไกลแหลง่ น้ำ ต้องพึ่งน้ำฝน และประสบความเสี่ยงจากการที่น้ำไม่
พอเพียง แม้กระท่ังสำหรับการปลูกข้าวเพ่ือบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีท่ีดินพอเพียงในการขุดบ่อเพ่ือ
แกป้ ญั หาในเรอ่ื งดังกล่าว จากการแกป้ ัญหาความเสีย่ งเรอ่ื งน้ำ จะทำให้เกษตรกรสามารถมขี ้าวเพ่อื การบรโิ ภค
ยงั ชีพในระดบั หน่ึง และใช้ทีด่ ินส่วนอน่ื ๆ สนองความตอ้ งการพ้ืนฐานของครอบครัว รวมทัง้ ขายในสว่ นท่เี หลอื
เพอื่ มรี ายได้ที่จะใช้เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ ทีไ่ ม่สามารถผลติ เองได้ ทั้งหมดนี้เปน็ การสร้างภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ให้เกดิ ขึ้น
ในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ก็จำเป็นท่ีเกษตรกรจะต้องได้รับความ
ช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และ
ระดบั องค์กรเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบก้าวหน้า ซ่งึ ครอบคลุมทฤษฎใี หม่

ข้ันท่ี 2 เป็นเร่ืองของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ
รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เม่ือสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองค์กรต่าง ๆ มีความ
พอเพียงขั้นพน้ื ฐานเป็นเบื้องต้นแล้วกจ็ ะรวมกล่มุ กันเพ่ือรว่ มมือกันสร้างประโยชน์ให้แกก่ ลุ่ม และส่วนรวมบน
พื้นฐานของการไม่เบยี ดเบียนกัน การแบง่ ปันชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกัน ตามกำลังและความสามารถของตน ซึ่ง
จะสามารถทำให้ ชุมชนโดยรวม หรอื เครือขา่ ยวสิ าหกิจน้ัน ๆ เกดิ ความพอเพียงในวถิ ปี ฏิบตั อิ ย่างแทจ้ รงิ ความ
พอเพยี งในระดบั ประเทศ เป็นเศรษฐกจิ พอเพียงแบบก้าวหนา้ ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่
ข้นั ท่ี 3 ซึง่ ส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครอื ข่ายวิสาหกจิ สร้างความรว่ มมือกับองค์กรอืน่ ๆ ในประเทศ เชน่ บรษิ ัท
ขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบนั วจิ ยั เปน็ ต้น

การสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในลกั ษณะเช่นน้ี จะเปน็ ประโยชน์ในการสืบทอดภูมปิ ญั ญา แลกเปล่ียนความรู้
เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทำให้ประเทศ

อันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ท่ีดำเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็น
เครอื ข่ายชมุ ชนพอเพียงทเี่ ชอื่ มโยงกันด้วยหลักไม่เบียดเบยี น แบ่งปนั และช่วยเหลือซึง่ กันและกันได้ในทสี่ ุด
ประการท่สี ำคัญของเศรษฐกจิ พอเพียง

พอมพี อกนิ ปลกู พืชสวนครัวไว้กนิ เองบ้าง ปลูกไม้ผลไวห้ ลังบา้ น 2-3 ตน้ พอทจี่ ะมีไว้กนิ เองในครวั เรอื น เหลอื
จึงขายไป
พออยู่พอใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จลุ ินทรีย์ผสมน้ำถู

พืน้ บา้ น จะสะอาดกวา่ ใชน้ ้ำยาเคมี) รายจา่ ยลดลง สุขภาพจะดขี ึน้ (ประหยดั ค่ารักษาพยาบาล)
พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จกั ประมาณตน ไมใ่ ครอ่ ยากใคร่มเี ชน่ ผูอ้ ื่น เพราะเราจะหลงติดกบั วตั ถุ ปัญญา
จะไมเ่ กิด

"การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ท่ีเราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ
พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดำรัสใน
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ

ใบงานครั้งที่ 2
จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. เศรษฐกจิ พอเพียงมีความเปน็ มาอย่างไร?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………..

2. ใหอ้ ธบิ ายความหมายของ “ความพอเพียง?”

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………..

3. ให้ยกตวั อยา่ งหลักการปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ๕ ขอ้ ?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.วธิ ีปฏบิ ตั ิตนในการดำเนินชีวติ แบบพอเพยี งเป็นอย่างไร?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.ใหผ้ ู้เรียนเลอื กศกึ ษาเรอ่ื งที่สนใจคนละ ๑ เรอ่ื ง เล่าให้เพื่อนในกลมุ่ ฟัง โดยเลือกเร่ืองทีด่ ีทสี่ ุด ๑ เรือ่ ง?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

สาระ……………………………………………………………….(……………………………) ระดบั ……………………………………
ครงั้ ที.่ ...................วนั ท่.ี ..................เดอื น..................................พ.ศ..........................

๑. เนอ้ื หาสาระที่จัดกระบวนการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒. ผลท่เี กดิ กับผเู้ รียน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. ปญั หาอปุ สรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................

๔. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................



แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง รหสั วิชา ทช ๒๑๐๐๑
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลุม่ ครงั้ ที่ ๓ ( จำนวน ๖ ช่วั โมง )
เร่ือง การประกอบอาชีพอย่างพอเพยี ง

วนั ท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชี้วดั 1.นำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการจัดการทรพั ยากรทม่ี อี ยขู่ องตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน

2.กำหนดแนวทางและปฏบิ ัตติ นในการนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้
ในการประกอบอาชพี
เนือ้ หา
1.หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ เพียงกบั การจดั การทรพั ยากรทมี่ อี ยขู่ องตนเอง ครอบครัว ชุมชน
2.หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การประกอบอาชพี

กิจกรรมการจดั การเรียนรู้
ขน้ั ที่ ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (Orientation : O)

๑. ครูผู้สอนสอบถามความรู้พืน้ ฐานด้านหลักการการประกอบอาชพี อย่างพอเพียง
ของนกั ศึกษาแต่ละคน

๒. ผ้เู รียนรว่ มกบั ครสู นทนา ศกึ ษาสภาพปญั หาท่ีเกดิ ข้ึนจากการประกอบอาชีพ
อย่างพอเพียงเพื่อปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน
ขั้นที่ ๒ แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)

๑. ผู้เรยี นศกึ ษาหลกั การประกอบอาชพี อย่างพอเพียง จากใบความรแู้ ละทำ
กิจกรรมรว่ มกนั

๒. ผู้เรยี นแบ่งกล่มุ ออกเป็น 3 กลมุ่ ศกึ ษาหลกั การเขยี นเพอื่ การสือ่ สารประเภท
ต่างๆ ดงั น้ี

กลมุ่ ที่ ๑ ใชป้ ๋ยุ คอกและทำปุย๋ หมกั ใช้รว่ มกบั ปุย๋ เคมี
กลุ่มที่ ๒ ปลกู ผกั สวนครัว
กลุ่มที่ ๓ ปลูกพชื สมนุ ไพร
๓. ผู้เรยี นนำเสนอหน้าช้นั ตามหวั ข้อทไ่ี ด้รบั มอบหมาย โดยครูทำหนา้ ทีค่ อย
เสนอแนะ เพิม่ เตมิ ประเดน็ ที่ยังไมส่ มบรู ณ์ ทง้ั น้โี ดยการกระตุ้น ใชค้ ำถามปลายเปดิ ในการชวนคิด
ชวนคยุ เพื่อหาข้อสรปุ
๔. ผู้เรยี นศกึ ษา เรยี นรเู้ พิม่ เตมิ จากส่ือ Internet ตา่ งๆเพ่ือปรับใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ
ขนั้ ท่ี ๓ การปฏิบัติและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (Implementation : I)
๑. ผู้เรยี นนำความรู้จากการเรียนไปใช้ในการวางแผนการประกอบอาชพี ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาอภิปราย แลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ่วมกัน
๒. ผเู้ รียนทำใบงานและสรปุ องค์ความรู้และบันทึกผลการเรยี นรทู้ ี่ได้จากการเรียนรู้
๓. ผ้เู รยี นนำความรู้ทไ่ี ด้จากการเรียนร้มู าปรบั ใชเ้ ป็นในชวี ติ ประจำวัน
๔. มอบหมายงาน กรต.คร้ังต่อไป

ขนั้ ที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
๑. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบย่อย
๒. ผเู้ รียนสรปุ องคค์ วามรู้ เพอื่ ตอ่ ยอดในการพบกลมุ่ ครง้ั ตอ่ ไป

สอื่ การเรยี นรู้
๑. หนังสอื เรยี นรายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง รหสั วชิ า ทช ๒๑๐๐๑
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV
๖. ส่ือ Internet

การวดั และประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

แหล่งเรียนรู้

1 กศน.ตำบล
2 ห้องสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศกึ ษาปอเนาะ
4 แหล่งเรยี นในตำบล

ตัวช้ีวดั การเรียนรู้
1 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พฒั นาอาชีพเพอ่ื ความเขม้ แข็ง
2 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวเิ คราะห์ศักยภาพของ

ธุรกิจ
3 รอ้ ยละ 80 นักศึกษาสามารถวเิ คราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงชอ่ื ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..
ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชอ่ื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้
วชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ม.ตน้ คร้ังท่ี 3

การประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การประกอบอาชพี

จากพระราชดำรสั : เศรษฐกิจพอเพียง มิได้จำกัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไร่ชาวนาเพียงเท่านั้น แต่เป็น
เศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ทง้ั ทอ่ี ย่ใู นเมืองและอยู่ในชนบท เช่น ผูท้ ี่ไดเ้ ป็นเจา้ ของโรงงานอุตสาหกรรมและ
บริษทั ในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถ้าจะต้องขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตจากเน้ือของงาน โดยอาศัย
การขยายตัวอย่างค่อยเปน็ ค่อยไป หรอื หากจะกยู้ มื กก็ ระทำตามความเหมาะสม ไมใ่ ช่กมู้ าลงทนุ จนเกินตัวจน
ไม่เหลือที่มั่นให้ยืนอยู่ได้ เม่ือภาวะของเงินผันผวน ประชาชนก็จะต้องไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกินตัว และ (จาก
การศึกษารายงานการวจิ ัยศกึ ษาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งของชุมชนบา้ นโงกนำ้ )
นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบ้านโงกน้าํ ตำบลนาขยาด
อำเภอควนขนุน จังหวัดพทั ลงุ ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็ หมบู่ า้ นเศรษฐกิจชุมชนพงึ่ ตนเอง ของจงั หวัดพทั ลุง ใน
ปี 2544 และเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับครัวเรือน กลุ่มองค์กร และ
ระดับหมูบ่ ้าน ได้ยึดหลักทางสายกลาง อันได้แก่ 3 หว่ งยึดเหนี่ยว และ2 ห่วงเง่อื นไขการปฏิบัติ โดยเสนอผล
การวิเคราะหใ์ นแต่ละดา้ นดงั นี้

3 ห่วงยึดเหน่ียว
1. ด้านความพอประมาณ
ชุมชนรจู้ ักใช้ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ย่อู ยา่ งพอเพยี ง เหมาะสมแบบค่อยเป็นคอ่ ยไป ใช้เทคโนโลยีเท่าทีจ่ ำเปน็
มีรายไดเ้ สรมิ จากการปลูกผกั เล้ียงสุกร เล้ียงโค เล้ียงปลาดุก ไว้จนุ เจือครอบครัวอกี ทางหนึ่ง สภาพเศรษฐกิจ
ของครอบครวั เหมาะสมตามอัตภาพของตน
2. ด้านความมีเหตุผล
ใช้ทรพั ยากรทุกชนิดอย่างประหยดั และมีประสิทธิภาพสงู สุด เนน้ การใช้วัตถุดิบภายในท้องถิน่ และตอบสนอง
ตลาดในท้องถิ่น เนน้ การจ้างงานเป็นหลกั โดยไม่นำเทคโนโลยีมาทดแทนแรงงาน มขี นาดการผลติ ที่สอดคลอ้ ง
กบั ความสามารถในการบรหิ ารจัดการ เชน่ ใช้พ้นื ท่ที างการเกษตรที่ว่างอย่อู ยา่ งคุ้มคา่ โดยการปลูกพชื ผกั สวน
ครัวข้างบ้าน พื้นท่ีสวนข้างบ้าน ตามสายรั้วบ้าน บางครอบครัว ก็ปลูกพืชผักและผลไม้ครบวงจรเพื่อลด
คา่ ใชจ้ ่าย บางครอบครัวก็เลย้ี งโค เลี้ยงสกุ ร เล้ยี งปลาดุก กลมุ่ อาชพี ทำขนม เพ่อื เพ่มิ รายได้ใหแ้ กค่ รวั เรือนจาก
อาชีพเสริม “ชาวบ้านโงกนำ้ สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพอยู่ในชุมชน ไม่ค่อยไปทำงานนอกหมบู่ ้านและไม่ค่อยมี
คนนอกมาค้าขายหรือประกอบอาชีพในหมู่บา้ น

3. ดา้ นความมภี ูมคิ ุ้มกันในตัวทด่ี ี

เนน้ การกระจายความเสยี่ งจากการมีผลผลติ หลากหลาย ไม่ก่อหนจ้ี นเกนิ ความสามารถในความบรหิ ารจัดการ
มีการเปิดศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านข้ึนท่ีกลุ่มออมทรพั ยบ์ ้านโงกนา้ํ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับคนใน
ชุมชน และกลมุ่ อาชีพตา่ งๆ ทั้งทเ่ี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการอย่างตอ่ เนอ่ื ง มีการทำกล่มุ ป๋ยุ ชวี ภาพอดั เม็ด
ซ่งึ ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมีได้ค่อนข้างมาก การรวมกลุ่มทำปลาดุกร้าทำให้เพ่ิมมูลค่าของปลาดุก
และถนอมอาหารเก็บไวร้ ับประทานได้นานขึ้น นอกจากชว่ ยในด้าน การประกอบอาชีพหลักแลว้ ยังมีกลุ่มทำ
สบเู่ หลว ยาสระผม ซึ่งกใ็ ห้การสนบั สนุน และมสี ่วนร่วมอยเู่ สมอ ในส่วนของข้อเสนอแนะน้ัน ยังบอกว่า อยาก

ใหห้ นว่ ยงานทางราชการเข้ามาสง่ เสริม และใหค้ วามรู้กบั กล่มุ ตา่ งๆ อย่างสมํ่าเสมอ และตอ่ เนอ่ื ง และอยากให้
มกี ลุ่มอาชพี เสริมนีใ้ หค้ วามรูด้ า้ นอาชพี บางอยา่ ง เชน่ การซ่อมรถ มอเตอร์ไซค์ การเยบ็ ผ้า การเช่ือมโลหะ ช่าง
ตดั ผม เป็นต้น เพราะหลายคนอยากให้หน่วยงานทางราชการเข้ามาอบรมให้บ้าง เพือ่ ใหส้ ามารถซ่อมแซมของ
ตนเองได้และประกอบอาชีพเปน็ ธุรกิจ หรือกลุ่มของตนเอง เพ่ือให้มรี ายได้เสริมของครอบครัวด้วย

2 ห่วงเง่อื นไขการปฏิบตั ิ

1. เงือ่ นไขความรู้

ในการประกอบอาชีพของคนในชุมชนบ้านโงกนาํ้ มีความรอบคอบ มีความรู้ และมีความระมัดระวัง มีการทำ
แผนแม่บท การแบ่งงานความรับผดิ ชอบในแต่ละกลุ่ม ร้จู กั การอนุรักษ์ทั้ง สงิ่ แวดลอ้ มและประเพณี ร้จู ักการ
ฟ้นื ฟูส่ิงท่ีมคี ุณค่าที่เคยหายไปแลว้ ใหก้ ลบั มาเปน็ ประโยชนอ์ ีกครัง้ หนึ่งตลอดจนมีการประยกุ ตภ์ ูมปิ ัญญาของ
การประกอบอาชีพ แบบด้ังเดิม นำมาบูรณาการกับเทคนิคและวิธีการของการประกอบอาชีพในสมยั ปจั จบุ ัน
แต่ท้ังน้กี ารสง่ เสรมิ การใหค้ วามรู้กต็ ้องทำอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนใหเ้ กดิ ความทวั่ ถงึ เพอื่ ใหบ้ รรลุ
เปา้ หมายส่วนบุคคลและของแต่ละกลมุ่ อาชีพต่างๆ ตลอดจนให้สอดคลอ้ งกบั กระแสโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง
และความต้องการของผู้รับสนิ คา้ และผู้รบั บรกิ ารใหม้ ากขึ้น ท้ายทส่ี ุดคือ การส่งเสริมให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ไดร้ บั
การศึกษาสูงสุดเท่าท่ีจะทำได้ เพ่ือให้เขาเหล่านั้นกลับมาพัฒนาบ้านเกิดภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หัวหน้าครอบครัวสว่ นใหญ่ ไดอ้ ธิบายใหท้ ราบวา่ การประกอบอาชพี ซงึ่ ส่วนใหญ่เปน็ อาชีพเกษตรกรรมนน้ั มี
การถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นปรู่ ุ่นพ่อ รุ่นแม่ มายังรุ่นลูก และหลานไปตลอด สว่ นใหญ่แล้วเป็นการใหค้ วามรู้
จากการได้ลงมอื ปฏิบัติรว่ มกัน เช่น เม่ือไปปลกู ยางก็จะพาลกู หลานไปด้วย ในขณะทไี่ ปชว่ ยเปน็ การให้เขาได้มี
ส่วน ร่วม โดยการสอน แนะนำ ใหล้ ูกหลานได้เหน็ การเลี้ยงสกุ รก็เชน่ กัน และอื่นๆ กเ็ ปน็ ลักษณะนี้ ถามมาให้
ทางราชการนำความร้มู าให้ก็นานๆ มาคร้ัง แต่กต็ ้องเป็นหมบู่ ้าน แต่ก็ถือว่าเป็นหมู่บ้านที่โชคดีท่ีมีประชากร
ชาวบ้าน ท่ีเป็นแหล่งให้ความรู้ได้ค่อนข้างมาก ถึงแม้ว่าคนรุ่นใหม่จะไม่เรียนนอกบ้านมากข้ึน แต่ท่านก็
รวบรวมความรู้ และวัสดอุ ปุ กรณ์ในการทำมาหากนิ หรอื ประกอบอาชพี ให้เหน็

2. เง่อื นไขคุณธรรม

มคี วามซือ่ สัตย์ในการประกอบการไม่เอารดั เอาเปรียบผู้บรโิ ภคและไม่เอารัดเอาเปรียบแรงงานลูกค้า มีความ
ขยันอดทน การประกอบอาชีพของชุมชนบ้านโงกน้ำส่วนใหญ่แล้ว เป็นคนที่มีความซ่ือสัตย์ในการประกอบ
อาชพี ของตนเอง มีความขยัน อดทน มีการแบ่งปนั ระหว่างครัวเรอื น หัวหน้าครอบครวั ที่มีอาชีพการทำสวน
ยางพารา มคี วามซ่ือสัตยต์ ่อตนเองในการขายผลผลติ จากยางพาราทเ่ี ปน็ น้ํายางมคี ณุ ภาพ ไม่มกี ารใส่น้ำและสิ่ง
แปลกปลอม มคี วามตระหนักในการเพาะปลกู โดยพยายามหลีกเลี่ยงในการใช้สารเคมีในการกำจัดศตั รพู ืช หนั
มาใช้สารกำจัดแมลงในธรรมชาติแทน ปุ๋ยทีใ่ ชส้ ่วนใหญ่ก็ใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ที่ผลติ ขึ้นมาเอง หรือใช้มูลปุ๋ยคอก
หรือปุย๋ ชีวภาพอดั เมด็ เพื่อความปลอดภยั ของสมาชกิ ในครวั เรือนเอง และยังผลไปถึงผู้ทซี่ อื้ ไปบริโภค

สว่ นการเลยี้ งสตั ว์ก็ใชอ้ าหารสัตวจ์ ากธรรมชาติท่ีมีหรือเพาะปลูกเอง เช่น หญา้ ท่ใี ช้เลีย้ งโค เพาะอาหารสุกรที่
เหลือจากเศษอาหาร และอาหารจากพืชผัก พืชธรรมชาติที่หาไดเ้ อง หลีกเลยี่ งการใชส้ ารเรง่ เนอ้ื แดง เวลาส่วน
ใหญ่ใช้ไปในการทำมาหาเลี้ยงครัว ให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมห่างไกลยาเสพติด ถึงแม้ว่าหมู่บ้านโงกนํ้าจะเป็น
ชุมชนปลอดยาเสพติดกต็ าม ซ่งึ ในขณะน้ีได้ทำงานรว่ มกนั และมีการสอนคุณธรรมกบั ครอบครวั ด้วย

กิจกรรมที่ 2

แบง่ กลมุ่ ผูเ้ รียนตามความสนใจ กลุ่มละ 5 คน แล้วดำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ในแต่ละกลุ่มระดมความคดิ ในประเดน็ “การนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชก้ บั การใช้ทรพั ยากรที่มอี ยู่
ของตนเอง ครอบคัว ชมุ ชน” แล้วเลือกนำเสนอเพียงหัวข้อเดยี วว่า กลุ่มของตนสามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในจัดสรรทรัพยากรอยา่ งไร เช่น การประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย การพง่ึ ตนเอง ความมีเหตุผล มภี มู ิคม้ กนั
ความรู้ และคุณธรรม เปน็ ต้น

2. ให้ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวทางการเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจำวันหนา้ ช้ันเรยี น
กลุม่ ละ 3 – 5 นาที โดยให้ผู้เรียนและผสู้ อนร่วมประเมิน แนวทางการเผยแพร่ฯ ว่า เหมาะสมหรือควรแก้ไข
อย่างไร เชน่ การเผยแพรโ่ ดยใชป้ ้ายโปสเตอร์ แผ่นพบั และการประชาสมั พันธ์ทาง Internet เปน็ ต้น

3. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำแนวทางการเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิต ไปเผยแพร่ใน
สถานศึกษาและชุมชนใกล้สถานศึกษา

การประกอบอาชีพด้านการเกษตร ควรดำเนนิ ชวี ติ โดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ ด้วยความรู้ ความสามารถ เพือ่ ให้
เกิดการพออยูพ่ อกิน ก่อให้เกิดความสุขสบายภายในครอบครัว และหากเหลือจากการดำรงชีพจึงค่อยนำไป
แจกจา่ ยและขายต่อ เพ่ือเปน็ รายไดแ้ ละเก็บออมเปน็ เงินทนุ ตอ่ ไป ซง่ึ อาชพี เกษตรท่ีดีอาจดำเนนิ การดงั น้ี

1.ทำไร่นาสวนผสม เพอื่ เป็นจุดเริ่มต้นของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนอกจากจะได้พืชผักปลอดสารพิษแล้ว ก็ยัง
ประหยัดคา่ ใช้จา่ ยไปได้มากอกี ด้วย
2.ปลกู ผักสวนครวั ไว้กนิ เอง เพอ่ื ลดรายจา่ ยด้านอาหารในครอบครวั
3.เลือกใช้ปยุ๋ คอก ทำปยุ๋ หมกั ใชเ้ องรว่ มกับป๋ยุ เคมี เพ่ือเปน็ การลดรายจ่ายและช่วยปรับปรุงบำรุงดนิ ใหด้ ขี ้นึ
4.ปลูกต้นไม้เพ่ือใช้สอยอยา่ ง สะเดา มะขาม และปลกู ผลไม้ไวก้ นิ เอง
เพาะเหด็ ไว้กนิ เอง
5.ปลกู พืชสมนุ ไพรไว้เปน็ ยาสามญั ประจำบา้ น
6.เลี้ยงไก่ เลยี้ งเป็ดไวก้ ินไข่ และเกบ็ ขาย
7..ลย้ี งปลาในร่องสวน และนาขา้ วทำนา
8.เล้ยี งหมู เลีย้ งวัวทำกา๊ ชชีวภาพจากมูลหมูหรอื ววั เพือ่ ใช้เปน็ พลงั งานในครอบครวั
9. ทำป๋ยุ นำ้ ฮอรโ์ มนไวใ้ ช้ในนาและสวนเอง
10.พชื ผลทางการเกษตร ปลา ไข่ เก็บไว้กนิ เพยี งพอ เหลอื จึงแจกและจำหนา่ ย
หากเกษตรกรทำไดแ้ บบนี้กจ็ ะสามารถพง่ึ พาตนเองได้อย่างแนน่ อน

การประกอบอาชีพธุรกจิ สว่ นตวั หลกั เศรษฐกจิ พอเพียงไมเ่ พยี งแต่ใชไ้ ด้ดสี ำหรับอาชีพเกษตรกรเท่าน้ัน แตย่ ัง
ใชไ้ ด้กับทุกสาขาอาชีพ รวมท้ังการประกอบธุรกิจสว่ นตัวด้วย โดยควรคำนงึ ถึงความมั่นคงและย่ังยืนมากกว่า
การแสวงหาผลประโยชน์ ดังน้ันสง่ิ ท่คี วรทำคือ ต้องมคี วามรอบรู้ในธุรกจิ ท่ีตนดำเนนิ การอยู่ และศึกษาขอ้ มูล
ข่าวสารอยู่ตลอดเวลา เพื่อทีจ่ ะไดท้ นั ต่อสถานการณแ์ ละการเปลีย่ นแปลงต่างๆ อีกทั้งมคี วามรอบคอบในการ
ตัดสินใจจะได้ไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย นอกจากนี้ยังควรต้องมีคุณธรรมคือมีความซื่อสัตย์สุจริตในการ
ประกอบอาชพี ไมผ่ ลิตสนิ ค้าท่ีก่อใหเ้ กิดโทษหรอื สร้างปญั หาใหก้ บั สังคมและส่งิ แวดล้อม สำคญั ท่สี ดุ คอื ต้องมี
ความขยนั หมน่ั เพยี รดำเนินธรุ กิจอย่างอดทน อุตสาหะ พฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลติ รวมถึงปรบั ปรุงสนิ คา้ และ
คณุ ภาพใหท้ นั กับความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค

สำหรับการประกอบธุรกจิ สว่ นตวั มีหลายๆอาชีพที่นา่ สนใจทำแบบพอเพียงคือ
อาชีพนวดแผนไทยปัจจุบนั อาชพี นวดแผนไทยได้รับความนยิ มเป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็นชาวไทยดว้ ยกันหรือ
ชาวต่างประเทศซึง่ ผู้ที่สนใจด้านนส้ี ามารถเรียนรกู้ ารนวดจากการเปิดอบรมระยะสน้ั ระยะยาว แล้วสามารถมา
นวดตามบา้ น หรอื เปิดร้านนวด ไดเ้ ลย ซง่ึ อาชพี น้นี ่าสนใจตรงทไี่ ม่ต้องลงทุนอะไรเลย อาศัยแคฝ่ ีมือลว้ นๆ ก็
สรา้ งงาน สร้างเงินอยู่แบบพอเพยี งไดแ้ ล้วอาชีพขายอาหารตามสัง่ เปน็ อกี หนง่ึ อาชีพที่นา่ สนใจ เพราะเพียงแค่
มีความรู้ในการทำอาหารหรือขนม ก็สามารถสร้างงาน สร้างเงินได้แล้ว ซึ่งวิธีการอาจไปเรียนรู้จากครูสอน
ทำอาหาร คนทีท่ ำอาหารอร่อยๆ หรือเปิดดตู ามอนิ เตอรเ์ น็ตก็ได้แลว้ กลับมาทดลองทำกินเองใหอ้ รอ่ ย จากนั้น
จึงค่อยเปิดร้าน หรือจะขายทางอินเตอร์เน็ตก็ยังได้ แค่น้ีก็สามารถมีชีวิตท่ีพอเพียงได้แล้วอาชีพช่างซ่อม
รองเทา้ ชา่ งเย็บผ้าสองอาชีพนกี้ ็เปน็ อาชีพหลกั ที่ใช้ได้ แค่ไปเรียนร้จู นชำนาญซอื้ อุปกรณม์ าทำครัง้ หนงึ่ กอ็ ยู่ไป
ได้นานแสนนาน เงินลงทุนก็ไม่มาก อาศัยแค่ใจรักและความประณีต สำหรับร้านเพียงแค่หาย่านที่คนเดิน
พลุกพลา่ น แคน่ ้ีก็รับทรพั ยก์ ันทุกวัน อยูแ่ บบสบายๆพอเพียง ไม่ตอ้ งไปทำให้ใครเขาเดือดร้อนอาชีพเก็บของ
เก่าขาย
อยา่ พึ่งดูถูกอาชีพน้ีนะ เพราะรายได้ดีจนเห็นนำ้ เห็นเนื้อเลยทีเดียว อีกทัง้ สร้างเศรษฐีมานักต่อนัก เพราะเป็น
อาชีพท่ีลงทนุ แค่น้ำมันรถอยา่ งเดียว เข้าได้แทบทุกบ้าน วันหนึ่งมีเงินกินและเลี้ยงครอบครัวสบายๆ แต่อาจ
ตอ้ งใช้ผ้าปิดจมูกและสวมถงุ มอื ถงุ เท้าให้ดีเพือ่ ป้องกันเชื้อโรคท่ีอาจติดมาได้ เป็นอาชีพสุดจริตที่น่าสนใจเลย
ทีเดยี ว

ยังมีอาชีพธุรกิจสว่ นตวั อีกมากมายท่ีเริ่มจากเงนิ ลงทุนเพียงน้อยนิด แต่ให้ผลตอบแทนท่ีสามารถเล้ียงตัวเอง
และครอบครัวไดอ้ ย่างพอเพยี ง ขอเพยี งไม่ยอ่ ทอ้ ต่อชวี ิตเทา่ นน้ั

มนุษยเ์ งนิ เดอื น มนุษย์เงนิ เดอื นค่อนขา้ งมคี วามแนน่ อนทางการเงิน เพราะส้นิ เดือนก็มีเงนิ เดือนให้ใช้จ่ายแล้ว
ดังน้ันกลุ่มนี้จึงอาจลืมตัวใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยได้ง่ายๆ ดังนั้น ในการน้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
อาจจะทำง่ายๆด้วยการ อยู่อย่างพอมีพอกิน รู้จักคิดรู้จักจ่ายอย่างมีสติ ไม่ใช้จา่ ยเงินเกินตัว อะไรที่มันแพง
มากก็ไม่จำเป็นต้องซ้ือ เพราะหากใช้เงินเกินตวั ไปเร่ือยๆจะก่อใหเ้ กิดปญั หาเงินไม่พอใช้และไปกยู้ ืมเงินคนอ่ืน
เป็นการเบียดเบยี นคนอ่นื อีกด้วย ดังน้ันทางท่ีดใี ช้เท่ามีเป็นพอ และอกี สง่ิ ทสี่ ำคญั ไมน่ ้อยไปกวา่ กันคือ การออม
ซง่ึ ควรจะมกี ารเกบ็ ออมทกุ เดอื นเพ่ือนำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในอนาคต

ใบงานคร้ังที่ 3

1.การประกอบอาชีพหมายถึงอะไร?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.การประกอบอาชีพมคี วามสำคัญต่อนักศกึ ษาอย่างไร?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.อาชีพต่างๆช่วยพัฒนาคณุ ภาพชีวติ อยา่ งไร จงอธิบายพร้อมยกตวั อยา่ ง?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.นักศกึ ษาจะเลอื กอาชพี รับจ้างหรอื อาชพี อิสระจงอธบิ าย?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.จงอธิบายการประกอบอาชีพทสี่ จุ ริตและทำใหต้ นเองมีความสุขอยา่ งพอเข้าใจ?

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
รายวิชาทกั ษะการพัฒนาอาชพี รหัสวชิ า อช ๒๑๐๐๒
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบพบกลุ่ม ครง้ั ท่ี ๔ ( จำนวน ๖ ช่วั โมง )
เรือ่ ง ทักษะในการพฒั นาอาชพี
วนั ท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตัวชี้วัด
๑. อธบิ ายความจำเป็นในการฝึกทักษะกระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทใ่ี ชน้ วัตกรรมเทคโนโลยี
๒. อธบิ ายความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชพี และรบบการจัดการเพอื่ การพฒั นาอาชพี

โดยประยกุ ตใ์ ชภ้ มู ิปัญญา
๓. สำรวจแหลง่ เรียนรแู้ ละสถานที่ฝึกอาชพี ในการพฒั นาอาชพี
๔. วางแผนในการฝกึ ทกั ษะอาชพี โดยพัฒนาตอ่ ยอด และประยกุ ต์ใชภ้ มู ิปัญญา

เนือ้ หา
ทักษะในการพฒั นาอาชีพ
๑. กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดที่ใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยีเพอ่ื พัฒนาอาชพี
๒. ความหมาย ความสำคัญของการจดั การอาชพี
๓. แหลง่ เรยี นรแู้ ละสถานทฝี่ ึกอาชีพ
๔. การวางแผนในการฝกึ อาชพี

กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
ข้นั ที่ ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (Orientation : O)
๑. ผู้เรยี นร่วมกบั ครสู นทนาถงึ การวางแผนในการพฒั นาอาชีพ
๒. ผเู้ รยี นร่วมกบั ครอู ภิปรายเก่ียวกับความจำเป็น ความสำคัญของการจัดการอาชพี และ

ระบบการจัดการเพอ่ื การพฒั นาอาชีพในการสำรวจแหล่งเรยี นรแู้ ละสถานทฝ่ี ึกทกั ษะเพอ่ื เข้าสู่การพฒั นาอาชีพ
ขน้ั ท่ี ๒ แสวงหาข้อมูลและการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ผเู้ รียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ กลุ่มละไม่เกิน ๕ คน ศกึ ษาเร่อื งทักษะในการพฒั นาอาชีพ ตาม

หวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี
- ความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชพี
- แหลง่ เรยี นรู้และสถานท่ีฝึกอาชีพ
- การวางแผนในการฝกึ อาชพี
- เทคโนโลยเี พือ่ พัฒนาอาชีพ

๒. ผู้เรียนเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ จาก Internet
๓. ผูเ้ รียนร่วมกันสรปุ องค์ความรู้ และเขยี นสรปุ รายงานนำเสนอครผู ู้สอน

ขน้ั ที่ ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)
๑. ผูเ้ รียนนำเสนอทักษะในการพัฒนาอาชพี ตามหัวขอ้ ที่ไดร้ ับมอบหมาย โดยครเู ลอื ก

ประเดน็ ใหใ้ นแตล่ ะกลมุ่
๒. ผู้เรียนสรุปองคค์ วามรู้ ทำใบงานและบันทึกผลการเรยี นรู้ที่ได้จากการเรยี นรู้

๓. ผุ้เรียนนำความรูท้ ่ีได้จากการเรียนร้มู าปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
๔. มอบหมายงาน กรต.คร้ังตอ่ ไป
ข้ันท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evalyation : E)
๑. ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หัด/ใบงาน/แบบทดสอบยอ่ ย
๒. ผูเ้ รยี นสรุปองค์ความรู้ เพอ่ื ตอ่ ยอดในการพบกลมุ่ ครง้ั ตอ่ ไป
สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรียนรายวิชาทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหสั วชิ า อช ๒๑๐๐๒
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV
๖. สือ่ Internet
การวัดและประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ
แหลง่ เรยี นรู้

1 กศน.ตำบล
2 หอ้ งสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
4 แหล่งเรียนในตำบล

ตัวช้วี ัดการเรียนรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเป็นของการ

พฒั นาอาชีพเพอื่ ความเขม้ แข็ง
2 รอ้ ยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอกความจำเป็น และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ

ธรุ กิจ
3 ร้อยละ 80 นักศกึ ษาสามารถวิเคราะหต์ ำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงช่ือ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………..…………..

ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชอื่ ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้ เรอื่ ง ทกั ษะในการพัฒนาอาชีพ
๑. กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดท่ีใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อพฒั นาอาชพี
1.1 ความจําเปนในการฝกทักษะเพื่อพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะอาชีพดานตางๆ ใหทันตอการ
เปล่ียนแปลงของตลาด ไดแก ความรู ความสามารถในกระบวนการผลิต และกระบวนการการตลาด การ
พฒั นาอาชพี มีความสาํ คญั และจําเปน ดงั นี้

1. ดานเศรษฐกจิ จากการแขงขันทางธรุ กิจท่ีมีการแขงขันทางการตลาดสงู จึงเกดิ การรวมกลุมการค
าตาง ๆ เชน เขตการคาเสรีอาเซยี น เขตเศรษฐกิจยุโรป ดังนั้นการพัฒนาอาชพี จึงเปนมีการพัฒนาสนิ คาให
สามารถ เขาสูตลาดการแขงขัน และเปนท่ยี อมรบั ของตางประเทศ

2. ดานสงั คม ประเทศท่มี ีเศรษฐกิจดจี ะสงผลใหสภาพของสงั คมดีขึ้น เชน ปราศจากโจรผูราย
3. ดานการศึกษา ครอบครวั ท่ีมีเศรษฐกิจดจี ะสามารถสงบุตรหลานเขารบั การศกึ ษาไดตามความตอง
การ และในอนาคตเยาวชนเหลานก้ี ็จะเปนประชากรทมี่ คี ณุ ภาพ มีความสามารถในการประกอบอาชพี สงผลต
อเศรษฐกจิ สังคมใหมคี วามเจริญกาวหนาตอไป
1.2 ความจําเปนในการพัฒนากระบวนการผลิตจากสภาพสงั คมท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงอยูตลอดเวลา สงผลให
ความตองการสินคาของผูบริโภคมีความแตกตางกันทั้งทางดานปริมาณและดานคุณภาพ ดังน้ัน การพัฒนา
อาชีพจึงมีความจําเปนเพอ่ื รองรับการเปลยี่ นแปลงนน้ั เทคนคิ และวธิ ีการในการพฒั นากระบวนการผลิต และ
กระบวนการตลาด โดยการนําภมู ปิ ญญา นวตั กรรม/เทคโนโลยี มาประยุกตใชในการพัฒนาการประกอบอาชีพ
กระบวนการผลิต เปนการบริหารจัดการดานทุน แรงงาน ที่ดินหรอื สถานที่ใหเกิดผลผลิตหรือสินคาท่ีมีการ
พฒั นาอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหตรงกบั ความตองการของตลาด องคประกอบของกระบวนการผลติ นาํ เสนอไดตาม
แผนภมู ิ ดังน้ี

1. ทุน หมายถึง ปจจัยท่ีเปนเงนิ ทุน วัสดุ อุปกรณ วตั ถดุ ิบ เครื่องมอื เครื่องจกั ร ซ่ึงตองศึกษาวามีทุน
ใดเขามาเก่ยี วของและถาจะปรบั ปรุงแกไขตองพิจารณาวาตองใชทุนประเภทใดมากนอยเพยี งใด ลดจาํ นวนใช
ไปบางไดหรอื ไม หรือใชส่ิงทดแทนที่มีราคาถูกแทนสิง่ ท่มี ีราคาแพงไดหรือไม หรอื เนนใชทุนท่มี ีอยูในทองถ่ิน

เพราะถาใชทุนจากท่อี นื่ จะมคี าใชจายสงู ข้ึน เชน คาขนสง คาแรงงาน ถาเปนเงินที่ตองใชในการลงทุนทีต่ องไป
กูยมื เสยี ดอกเบ้ยี ในอตั ราท่ีสงู จะทาํ อยางไรถึงจะลดดอกเบี้ยใหตำ่ ลง ซ่ึงจะมผี ลตอการลดตนทนุ

2. แรงงาน หมายถึง แรงงานคน สัตว เคร่ืองจักรตาง ๆ ที่ใชในการผลิต ผูเรียนจะตอง
ศกึ ษา วิเคราะห การใชแรงงานวาใชแรงงานคุมคากับเงนิ ทนุ และเวลาหรือไม ใชแรงงานเหมาะสมกับ
งานหรอื ขนาดของพ้นื ทหี่ รือไม เชน พื้นท่นี อยก็ควรใชแรงงานคนไมควรใชเครื่องจักรขนาดใหญแรงงานท่ีใชมี

คุณภาพหรือไม มีการใหขวญั กําลังใจแกแรงงานทใี่ ชหรือไม
3. สถานท่ี หมายถึง ท่ีดินทํากิน หรือสถานท่ีตาง ๆ เชน หางสรรพสินคา รานคา ซ่ึงเปนสถานท่ี

ประกอบการ ถาเปนท่ีดินทํากินอาชีพเกษตรก็อาจจะพิจารณาวาไดใชท่ีดินคุมคากับการลงทุนหรือไม ใช

ท้งั หมด หรอื ใชอยางเหมาะสมกบั การปลกู พชื หรือเล้ยี งสัตวหรือไม มีการทํานบุ าํ รุงทีด่ ินทํากนิ บางหรือไม เชน
บาํ รุงดินโดยปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเพอ่ื บํารุงดินสําหรับอาชีพบริการ เชน ขายอาหาร เปดรานเสริม
สวย ซอมรองเทา นวดแผนโบราณ ซ่ึงตองอาศยั ทําเลทตี่ ง้ั เชน อยูในยานชุมชน การเดินทางสะดวกสบาย มีที่

จอดรถใหลกู คา สงิ่ ตางๆ เหลานี้ตองนาํ มาพิจารณาเพอ่ื พัฒนาใหดขี นึ้
4. การจัดการ เปนการนําทุน แรงงาน และที่ดินหรือสถานท่ีไปบริหารจัดการใหเกิดผลผลิตอยางคุ

ม คาและไดประโยชนสูงสุด ดังนั้น การจัดการจึงเปนสิ่งสําคัญและจําเปนตอการประกอบธุรกิจ ถามี

กระบวนการจัดการที่ผานการคดิ วิเคราะห วางแผนอยางเปนข้ันตอน รอบคอบบนฐานขอมูลทเ่ี ปนจริง และ
ตามสถานการณในขณะน้นั ก็นับวาไดเปรยี บกวาบุคคลอนื่ ๆ ท่ีไมไดใหความสาํ คัญ แตทําดวยความเคยชนิ ทํา
ใหขาดการพัฒนาอยางตอเน่ือง จึงทําใหธุรกิจมแี ตคงที่หรือถอยหลัง เพ่ือใหอาชีพดําเนินตอไปได มีรายไดให

ครอบครัวมีกินมีใชในครัวเรือน ควรตองคํานึงถึงการออมเงินเพื่อเปนหลักประกันของครอบครัวตอการ
ดาํ รงชีวิตของลูกหลานและการศกึ ษาตอ การประกอบอาชีพจําเปนตองมกี ารจดั การในการนํานวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยมี าใชในการผลิต เพอื่ ใหผลผลติ มีคุณภาพและมปี ริมาณเพยี งพอตอความตองการของตลาด

1.3 ความจาํ เปนในการพัฒนากระบวนการตลาด เปนการบริหารจัดการดานการตลาด เริ่มตั้งแตการศึกษา
ความตองการของลกู คา การกําหนดเปาหมาย การทําแผนการตลาด การสงเสริมการขาย การกาํ หนดราคา
ขาย การขาย การสงมอบสินคาใหกับลกู คา ผูผลติ กต็ องศึกษาวิเคราะหจุดออน จุดแขง็ ของกระบวนการตลาด

ทุกข้นั ตอนเพื่อนําขอมูลมาใชพฒั นาอาชีพการตลาดเปนเร่อื งยากของผูประกอบอาชพี ใหมรวมถงึ ผูทปี่ ระกอบ
อาชีพอยูแลวการศึกษาขอมูลและการทําความเขาใจในวธิ ีการตลาดจะสามารถนํามาปรับใชเพ่ือการพัฒนา
กระบวนการตลาด สามารถแสดงกระบวนการไดตามแผนภมู ิ ดงั นี้

1. ผลิตภณั ฑ / สินคา หมายถึง ผลผลิต/ผลิตภัณฑ/การบริการ เชน ผลผลิตการเกษตร ผลิตภัณฑ
แปรรูปตาง ๆ หรือเปนสินคาประเภทบริการ เชน ขายอาหาร เสริมสวย นวดแผนโบราณ ซึ่ งผู
ประกอบการ ตองพิจารณาความตองการของลกู คาอยตู ลอดเวลาวา ความตองการนั้นลดลงหรือเพ่ิมขึน้ ถา

ลดลงจะตองมีการศึกษา วิเคราะห ลักษณะของผลผลิต/ผลติ ภัณฑ เชน รูปลักษณ ความสวยงาม ความตนื่ ตา
ตน่ื ใจ ประโยชนของการใชสอย โดยยึดความตองการของกลุมลูกคาเปนสําคัญ สําหรับอาชีพบริการตองให
ความสาํ คัญกับการบรกิ ารดวย เชน มารยาทการบริการ ความรบั ผิดชอบ การมมี นษุ ยสมั พันธ

2. ราคา หมายถงึ การตั้งราคาขายสนิ คา ซง่ึ ขึน้ อยกู ับตนทนุ การผลติ เชน คาวสั ดุอุปกรณ คาดอกเบย้ี
คาเชาสถานที่ คาแรงงาน คาประชาสัมพันธ คาขนสง คาน้ำมัน ถาสงไปขายตางประเทศจะมีราคาแพงกวา
ขายในประเทศไทย แตอยางไรกต็ ามผูขายควรเนนการต้ังราคาใหเหมาะสมกับคณุ ภาพของสนิ คาและควรให

ใกลเคยี งกับคูแขงขนั ถาสนิ คาใดคูแขงนอย ผูขายกค็ วรตงั้ ราคาใหยตุ ิธรรมกบั ผูบรโิ ภค ไมควรเอาเปรยี บลูกคา
เกินไปดังนน้ั ผูประกอบการควรศกึ ษา วเิ คราะหวา ราคาของปจจัยการผลิตผันแปรอยางไรลดลงหรือเพ่ิมข้ึน
หรือจัดหาวัสดุที่มีราคาถูกทดแทนวัสดุที่ราคาแพงได เพื่อใหตนทุนลดลงได หรือสามารถปรับลดอัตรา

ดอกเบ้ีย คาเชาสถานที่ คาขนสง หรือลดการประชาสัมพันธก็จะทําใหตนทุนการผลิตลดลง ซึง่ จะมีผลต
อการกําหนดราคาขายผลิตภัณฑ ถากําหนดราคาขายต่ำกวาคูแขง แตปริมาณการขายมากจะดีกวาขายราคา
แพง ซงึ่ ผลกําไรโดยรวมสูงกวาก็นาจะยึดหลักการน้ี

3. ชองทางการจดั จาํ หนาย เปนการกระจายสินคาใหไปถึงผูบรโิ ภคอยางปลอดภยั ซึ่งมีหลายวิธี เชน
การขายผานคนกลาง การขายปลีก ซ่ึงผูประกอบการจะตองพิจารณาความรู ความสามารถและศกึ ษาศกั ยภาพ
ของตนเองในการเลือกชองทางการจัดจําหนายสินคา ซ่ึงไมจําเปนตองมีชองทางจําหนายสินคาเพียงวธิ ีเดียว

อาจใชหลาย ๆ วิธเี พื่อใหเหมาะสม เชน แตเดิมขายผลไมผานคนกลางเพียงอยางเดียว ตอมาเพิ่มวิธีการขาย
ปลีก ทําใหมชี องทางการจัดจาํ หนายทั้งขายผานคนกลางและขายปลกี

4. การสงเสริมการขาย เปนการใชเทคนคิ หรอื วิธีการใหลกู คารูจักและตองการซื้อสินคาโดยวิธีตาง ๆ

เชน การจัดใหมีการชิงรางวัล การมีสวนลด ซ้ือ 1 แถม 1 การสงเสริมการขายอาจจะประชาสัมพันธโดย
วธิ ี ตาง ๆ เชน แจกแผนปลิว ประกาศลงในหนงั สอื พิมพ วทิ ยุ โทรทัศน

นอกจากจะสงเสริมการขายดวยวธิ ีตาง ๆ แลว การบริการหลังการขายก็เปนเร่ืองสําคัญเพราะการที่

ลูกคาสงั่ ซือ้ สินคาคร้ังหนึง่ นนั้ ไมไดหมายความวาผูขายจะขายไดครงั้ เดยี ว แตหากมีการบริการหลังการขายทดี่ ี

ลูกคาก็สามารถกลับมาซื้อใหม หรืออาจบอกตอคนอื่น ๆ ใหมาใชบริการก็ได ดังนั้น ผูประกอบการจะตอง
ศึกษา วิเคราะห การสงเสริมการขายที่ดําเนินการอยูวามีขอดีขอเสียอยางไร ควรมีการปรบั ปรุงวิธีการหรือไม่
อยางไร

1.3 ทกั ษะการใชนวตั กรรม/เทคโนโลยเี พอ่ื การพัฒนาอาชพี นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบตั ิ หรือส่ิง
ประดษิ ฐใหมทย่ี งั ไมเคยใชมากอนหรือเปนการพฒั นา ดัดแปลง มาจากของเดิมทีม่ ีอยูแลวเทคโนโลยี หมายถึง
การใชความรู เคร่อื งมือ ความคิด หลักการ เทคนคิ ระเบียบวิธีการ ตลอดจนกระบวนการท่ีมนุษยพัฒนาขึ้น
เพ่อื ชวยในการทํางานหรือแกปญหาตางๆ เชน อปุ กรณ เคร่ืองจกั ร วัสดุ หรอื แมกระทั่งสิง่ ทีไ่ มสามารถจบั ตอง
ได

การทจ่ี ะยอมรับหรือปฏิเสธนวตั กรรม/เทคโนโลยี อาจจะตองพจิ ารณาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรม/
เทคโนโลยี สวนใหญกจ็ ะดอู งคประกอบ 4 ดาน คอื

1. ความสามารถในการทํางาน
2. ประหยดั คาใชจาย
3. ทํางานไดรวดเร็ว
4. ไมทําลายสง่ิ แวดลอม
ความสามารถในการทํางาน ไดตรงตามวัตถุประสงคของนวัตกรรม/เทคโนโลยี ไดมากนอยเพียงใด แตจําเป
น ตองมีเกณฑชีว้ ัดเพอ่ื การยอมรับวาเทาใดจึงจะยอมรบั ได อาจจะเปรยี บเทียบกับความสามารถเดมิ ทเ่ี คยใช
มา แตอยางไรกต็ ามการนาํ นวตั กรรม เทคโนโลยมี าใชตองดขี ึ้นกวาเดิม อาจกําหนดเปนรอยละกไ็ ด เชน การใช
เคร่อื งนวดขาวเครือ่ งใหมสามารถนวดขาวไดมากกวาเดิมรอยละ 20 ซึ่งยอมรับไดประหยดั คาใชจาย เปนการ
มงุ ประเมินเทยี บเคียงระหวางนวัตกรรม/เทคโนโลยขี องใหมทจี่ ะนําเขามาใชแทนเทคโนโลยเี กา โดยพจิ ารณา
เปรียบเทียบราคานวัตกรรม/เทคโนโลยีใหมท่ีตองจายเปนเงิน และการลดรายจายจากเดิมการทํางานได
รวดเร็ว เปนการประเมินเทียบเคียงความรวดเร็วในการทํางานใชเวลาส้ันระหวางนวัตกรรม/
เทคโนโลยี เกากับใหมไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม ผูประกอบการตองคาํ นึงอยูเสมอวานวัตกรรม/เทคโนโลยี
จะนาํ มาใชตอง เปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอม และไมทําใหผทู ี่อยูอาศยั ใกลเคียงเดือดรอน

๒. ความหมาย ความสำคญั ของการจัดการอาชพี
การจัดการอาชีพ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมงานอาชีพ นับต้ังแต การวางแผนการ

จัดการ องคการ การตดั สินใจ การสั่งการ การควบคมุ การตดิ ตามผล เพอ่ื ใหไดผลผลติ หรอื บรกิ ารท่เี ปนที่ต
องการของลกู คาและไดรับการยอมรับจากสังคม

ความสําคญั ของการจดั การอาชีพ จากคําจาํ กัดความของการจัดการอาชีพ ทาํ ใหทราบถึงความสําคัญ
ของการจัดการอาชีพ เพราะทําใหผบู ริหารสามารถพัฒนากิจการใหมุงไปสูความมีประสิทธภิ าพและสมารถ
ดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคของกิจการได กลาวคือ กิจการสามารถผลิตสินคาหรือบริการท่ีมีคุณภาพ
ทันเวลาตามความตองการของลกู คา และกจิ การไดรบั ผลตอบแทนคือกาํ ไรสงู สุด สามารถขยายกิจการได หรือ
เพ่มิ พูนในการดาํ เนินการได

จากการศกึ ษาวิจยั พบวา การจัดการอาชพี ใหประสบความสาํ เรจ็ ประกอบดวย
1. การจัดการอยางมีคุณภาพ หมายถึง ผูบริหารมีความรูประสบการณ สามารถทํางานใหบรรลุผล
สําเรจ็ อยางมีประสทิ ธิภาพ
2. ผลิตภณั ฑท่ีมีคุณภาพ หมายถงึ การผลิตสินคาที่มีคุณภาพ อาจกระทําไดโดยการใชเทคนิคตางๆ
เริม่ ตั้งแตการใชวัตถดุ ิบ กระบวนการผลติ การตรวจคณุ ภาพสินคากอนสงมอบใหลูกคา
3. ผลติ ภัณฑทที่ นั สมัยดวยนวตั กรรมใหม

4. การลงทุนระยะยาวอยางมคี ุณคา
5. สถานภาพการเงนิ มัน่ คง
6. มคี วามสามารถในการดงึ ดดู ใจลูกคาใหสนใจผลิตภณั ฑ/สนิ คา
7. คํานึงถึงความรับผดิ ชอบตอสังคมและสง่ิ แวดลอม
8. การใชทรัพยสนิ อยางคุมคา

๓. แหล่งเรยี นรแู้ ละสถานท่ฝี ึกอาชีพ
จากการท่ผี ูเรียนไดศึกษาเกย่ี วกบั การพัฒนากระบวนการผลติ กระบวนการตลาด การประยุกตใช

ภูมปิ ญญาและนวตั กรรม/เทคโนโลยีแลว ทาํ ใหรูวาตองพฒั นาอาชีพดานใดบาง ในการพฒั นาความรู เพื่อการ
พัฒนาอาชีพ จําเปนที่ผูประกอบการอาชีพตองศึกษาขอมูลจากแหลงเรียนรูเฉพาะ เชน ตองการเงินทุนเพ่ือ
นําไปซื้อเครื่องจักรก็ตองศึกษาจากแหลงเงินทุน หรือขาดแรงงานก็ตองจัดเตรียมหาแรงงานในชวงท่ีตอง
การ เปนการเตรียมความพรอมเพอื่ รองรับการพฒั นาอาชพี

ผทู ี่มีความสามารถในการบรหิ ารจดั การธรุ กิจไดอยางมีประสิทธภิ าพ จาํ เปนจะตองรูจักเลือกใช ไดแก
1. แหลงเรียนรูและสถานที่ฝกอาชีพแหลงเรียนรูและสถานท่ีฝกอาชีพ หมายถึง แหลงท่ีมีขอมูล ข
าวสาร ความรู ประสบการณ สารสนเทศ และเทคโนโลยี สาํ หรับผูเรียนใชในการแสวงหาความรูและหรือฝ
กทักษะในการประกออาชีพซ่งึ มอี ยูตามธรรมชาติ และมนุษยสรางขึ้น แหลงในท่ีนอ้ี าจจะเปนเอกสาร สถานที่
ตัวบุคคล ผูรู แหลงเรียนรูธรรมชาติ เชน ทะเล ปา ภูเขา แหลงเรยี นรูท่ีมนุษยสรางขึ้น เชน หองสมุด พิพิธ
ภัณฑ อินเทอรเน็ต เว็บไซตตาง ๆ แหลงเรยี นรูและสถานทฝี่ กอาชีพมคี วามสาํ คัญตอการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู
สําหรบั ผูเรียน โดยเฉพาะผูเรียนที่อยูนอกระบบโรงเรียนทต่ี องศกึ ษาหาความรูดวยตนเองเปนสวนใหญ จึงตอง
อาศยั แหลงเรียนรูตาง ๆ ใกลตวั เชน หองสมดุ อําเภอ ศนู ยการเรยี นชมุ ชน ภูมปิ ญญา แหลงธรรมชาตติ าง ๆ ผู
เรียนสามารถศึกษาหาความรูไดดวยตนเอง แหลงเหลานีเ้ ปนขมุ ทรพั ยทางปญญาที่สามารถคนหาความรูไดไมรู
จบปจจบุ ันสถานทฝ่ี กอาชพี มีหลากหลายทงั้ ภาครัฐและเอกชนท่ีจดั ใหกับประชาชนทั่วไป เชน สาํ นกั งาน กศน.
กระทรวงแรงงาน สาํ นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงเกษตรและสหกรณโรงเรยี นของเอกชนตาง ๆ
ทเ่ี ปดสอนหลักสูตรวชิ พี ระยะสน้ั
2. แหลงเงินทนุ แหลงเงนิ ทุน หมายถึง แหลงทส่ี ามารถใหกูยืมเงินเพ่อื การประกอบอาชีพได ซึ่งมีทั้ง
แหลงเงินทุนของภาครัฐและเอกชน เชน ธนาคารพาณิชยตาง ๆ สหกรณ กองทุนกูยืมตาง ๆ การท่ีจะกูยืม
ได้ ตองมีโครงการรองรับ เพ่ือใหแหลงเงนิ ทุนพิจารณาความเปนไปไดในการสงใชเงนิ คืน
3. แหลงวัสดุ อุปกรณ เครอ่ื งจกั รแหลงวสั ดุ อุปกรณ เคร่ืองจกั ร หมายถึง แหลงขายหรือแหลงทจ่ี ะได
มาของวสั ดุ อปุ กรณ เคร่ืองจกั ร ที่เกี่ยวของกับการประกอบอาชีพ เชน ประกอบอาชีพการเกษตรจะตองมวี ัสดุ
อุปกรณ เคร่อื งจักรท่เี ก่ียวของ เชน พันธพุ ืช ปุย รถแทรกเตอร
4. แหลงแรงงานแหลงแรงงาน หมายถึง แหลงทีจ่ ะไดแรงงานมาใช ไดแก แรงงานจากคน สตั ว และ
เครื่องจกั รทใ่ี ช
- แรงงานคน หมายถึง แรงงานเจาของกับแรงงานนอกทจี่ างมาทํางาน
- แรงงานสัตว หมายถึง แรงงานสัตวทใี่ ชในการประกอบอาชีพ เชน แรงงานจากวัว ควาย ชางมาท่ี
นาํ มาใชในการประกอบอาชพี
- เครือ่ งจกั ร บางอาชพี มีการใชเคร่ืองจักรในการประกอบอาชีพ เชน อาชพี ทาํ นาอาจจะตองใชรถไถ
อาชพี ทาํ เหลก็ ดัดประตู หนาตาง อาจจะใชเคร่ืองเช่ือม ตองพิจารณาวา อาชพี ของตนเองใชเคร่ืองจกั ร
อะไรบาง ทม่ี ีอยลู าสมัยหรอื ไมอยางไร ขนาดหรอื จาํ นวนพอเพียงกับการผลติ หรือไม

5. ตลาดคือ แหลงที่มที ้ังผูซ้อื และผูขายสินคาตาง ๆ จากผูผลติ ไปสูผูบริโภคหรอื ผูใชบริการนั้นๆ ได
รับความพอใจ รวมถึงการพัฒนาอาชีพมีวัตถุประสงคในการขยายตลาดขายสินคาใหมากข้ึน โดยพิจารณา
ตลาดเดิมวา สามารถรับสนิ คาทพ่ี ัฒนาขนึ้ ใหมไดหรอื ไม ถาไมไดจะตองหาตลาดใหมรองรบั

๔. การวางแผนในการฝึกอาชีพ
การวางแผน หมายถึง วธิ ีการตดั สินใจลวงหนา เพื่ออนาคตองคการ ซึ่งเปนหนาท่ีของการจัดการใน

ทางเลอื กวาควรจะใหใครทําอะไร ท่ีไหน อยางไร เปนขั้นตอนดําเนินงาน การใชทรัพยากร การบรหิ ารเพ่ือให
บรรลุวตั ถุประสงค และเปาหมายทต่ี องการ

ทกั ษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความชํานิชํานาญในเรอื่ งใดเร่ืองหนึ่ง ซ่งึ บคุ คลสามารถสราง
ขน้ึ ไดจากการเรยี นรูจากสง่ิ ตางๆ ที่อยูรอบตวั

การฝกทักษะอาชีพ หมายถึง ฝกทักษะอาชีพใดอาชีพหนึ่งจนเกิดความชัดเจนและชํานาญ จน
สามารถถายทอดความรูและประสบการณน้ันๆ ใหกบั ผูอนื่ ไดประโยชนของการวางแผนฝกทกั ษะอาชพี มดี ังน้ี

1. มีโอกาสวิเคราะหทกั ษะที่จําเปนและตองฝกอยางถถ่ี วน
2. ทําใหครอบคลุมทกั ษะที่ตองการฝกและมองเห็นภาพรวม ของการพัฒนาอาชพี ทง้ั ระบบ
3. สามารถวางแผนในการเลอื กสถานที่ฝกและวิธกี ารฝกทักษะกับหนวยงานท่รี ับผดิ ชอบโดยตรง หรือ
บางทักษะอาจฝกดวยตนเองได
ข้นั ตอนการวางแผนการฝกทกั ษะอาชพี มดี ังน้ี
1. สรุปทกั ษะทต่ี องการฝกเพ่มิ เตมิ
2. ศึกษาหาขอมูลเกี่ยวกับแหลงฝกทักษะอาชีพ และประสานงานกับแหลงฝกวา ตองการฝกเรื่อง
ใด บาง เมอ่ื ใด
3. กาํ หนดวัน เวลา สถานทใี่ นการฝกทักษะทัง้ หมดลงในการฝก
4. ผตู องการฝกควรศึกษาเร่ืองที่ตองการฝกทักษะดวยตนเองลวงหนาไปกอน เพอ่ื ใหมคี วามเขาใจใน
ระดบั หน่ึง แลวจดเปนคําถามท่ยี งั ไมเขาใจเพอื่ นําไปซกั ถามในวนั เวลาทม่ี ีการฝกจริง

ใบงานที่ 1
เร่ือง ทักษะในการพัฒนาอาชพี

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. กระบวนการผลติ หมายถงึ
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
2. กระบวนการผลติ มีความสำคญั อย่างไร
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
3. องคป์ ระกอบของกระบวนการผลติ ท่สี ำคญั ทส่ี ดุ คอื อะไร เพราะอะไร
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
4. กระบวนการทางการตลาดมปี ระโยชน์อยา่ งไร
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
5. ระดบั ของเทคโนโลยมี อี ะไรบา้ ง พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ
........................................................................................................................................................ ..............
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .........................................
6. คอมพิวเตอรเ์ ขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจำวนั อยา่ งไร
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
7. องคป์ ระกอบทสี่ ำคญั ของสารสนเทศมอี ะไรบ้าง
............................................................................................................................. .........................................

ใบงานท่ี 2
เร่ือง ทักษะในการพัฒนาอาชพี

จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. การจดั การอาชพี หมายถงึ
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
2. การจัดการอาชพี มคี วามสำคญั อยา่ งไร
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
........................................................................................................................................ ..............................
3. แหลง่ เรยี นรู้ หมายถึง
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
4. แหลง่ เรียนรทู้ ีเ่ ราเข้าไปคน้ ควา้ ได้มที ไ่ี หนบ้าง ( ไม่น้อยกวา่ 3 ท)่ี พร้อมอธบิ าย
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
........................................................................................................................................ ..............................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................................... ...................
......................................................................................................................................................................
5. สถานทฝ่ี กึ อาชพี ในชุมชนของผเู้ รียนมีอะไรบ้าง (จงบอกมา 3 ท)ี่
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version