The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-22 08:29:04

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

ประชาชนชาวไทยทกุ คน นอกจากนี้ยังกำหนดชดั เจนในหมวดที่ ๕ หนา้ ทข่ี องรัฐว่า “รฐั ต้องส่งเสริม สนบั สนุน
และใหค้ วามรูแ้ กป่ ระชาชนถงึ อนั ตรายท่เี กิดจากการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน และ
จัดใหม้ ีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพอ่ื ป้องกันและขจดั การทจุ ริตและ ประพฤตมิ ิชอบดงั กล่าวอย่าง
เขม้ งวด รวมท้ังกลไกในการส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนรวมตัวกนั เพือ่ มสี ่วนรว่ ม ในการรณรงคใ์ ห้ความรู้ต่อตา้ นการ
ทุจรติ หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมาย บัญญัติ” การบริหารราชการแผ่นดนิ รัฐ
ต้องเสริมสร้างให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวกมีประสิทธิภาพ ที่สำคัญ คือ ไม เลือกปฏิบัติตามหลักการ
บรหิ ารกิจการบา้ นเมืองทดี่ ซี ่งึ การบรหิ ารงานบุคคลของ หนว่ ยงานของรัฐตอ้ งเป็นไปตามระบบคุณธรรมตามที่
กฎหมายบัญญัตโิ ดยอย่างน้อยต้องมมี าตรการ ป้องกันมิให้ผู้ใดใชอ้ ำนาจ หรือกระทำการโดยมิชอบแทรกแซง
การปฏบิ ัติหนา้ ทหี่ รือกระบวนการแต่งตั้ง หรือการพจิ ารณาความดีความชอบของเจา้ หน้าทขี่ องรฐั และรฐั ตอ้ ง
จัดให้มมี าตรฐานทางจรยิ ธรรม เพอ่ื ใหห้ น่วยงานใชเ้ ปน็ หลกั ในการกำหนดประมวลจรยิ ธรรมสำหรบั เจ้าหนา้ ที่
ในหน่วยงาน ซึ่งต้อง ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การท่ีรัฐธรรมนูญได้ให้ความสำคัญต่อการ
บริหารราชการ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และการบรหิ ารบุคคลที่มคี ณุ ธรรมนนั้ สืบเนอื่ งมาจากช่วงระยะเวลาทผี่ ่านมา
ไดเ้ กดิ ปัญหาทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การบริหารบุคคลมกี ารโยกย้ายแต่งตงั้ ท่ไี มเ่ ปน็ ธรรม บังคบั หรอื ชนี้ ำให้ ขา้ ราชการ
หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดม่ันในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐรวมถึงการมุ่งเน้น การแสวงหา
ผลประโยชน์ให้กบั ตนเองรวมถึงพวกพอ้ งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงไดม้ คี วาม
พยายามท่ีจะแสดงให้เห็นอย่างชดั เจนว่าตอ้ งการสร้างประสทิ ธิภาพในระบบการบริหาร 12 แผนการจัดการ
เรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต” งานราชการแผ น่ ดิน และเจา้ หน้าทขี่ องรฐั ต้องยดึ ม่นั ในหลัก
ธรรมาภิบาลและมีคุณธรรมจรยิ ธรรม ตามที่กำหนดเอาไว้ วาระการปฏิรูปท่ี ๑ การป้องกันและปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบของสภาปฏิรูป แห่งชาติ สภาปฏิรูปแห่งชาติในฐานะองค์กรที่มีบทบาท และ
อำนาจหน้าทใ่ี นการปฏริ ูปกลไก และ ปฏิบตั งิ าน ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดินได้มขี ้อเสนอ เพอื่ ปฏิรูปด้าน
การป้องกัน และปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ เพ่ือแก้ไขปั ญหาดังกล่าวให้เป็นระบบมี
ประสิทธภิ าพ ยั่งยืน เป็นรูปธรรม ปฏิบัติได้สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล และบรบิ ทของสังคมไทย โดยเสนอ
ใหม้ ียุทธศาสตร์การแก้ไข ปัญหา ๓ ยุทธศาสตร์ ประกอบดว้ ย (๑) ยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทย ไม่โกง”
เพื่อปฏิรูปคนให้มี จิตสำนึกสร้างจิตสำนึกที่ตัวบุคคลรับผิดชอบชั่วดีอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ มองว่าการ
ทุจริตเป็นเรือ่ ง น่ารงั เกียจเป็นการเอาเปรยี บสังคม และสังคมไม่ยอมรับ (๒) ยทุ ธศาสตรก์ ารป้องกนั ดว้ ยการ
เสริมสร้าง สังคมธรรมาภิบาล เพื่อเป็นระบบป้องกันการทุจริต เสมือนการสร้างระบบภูมิต้านทานแกท่ ุกภาค
ส่วน ในสังคม (๓) ยทุ ธศาสตรก์ ารปราบปราม เพื่อปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการต่อกรณกี ารทจุ ริต ใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพใหส้ ามารถเอาตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้ซง่ึ จะทำใหเ้ กิดความเกรงกลัวไม่กลา้ ท่จี ะกระทำ
การทุจริตขึ้นอีกในอนาคต ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)สภาขับเคล่ือนการปฏิรูป
ประเทศได้กำหนด ให้กฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติมีผลบังคับภายในปีพ.ศ. ๒๕๕๙ หรือภายในรัฐบาลนี้
และกำหนด ให้หน ่วยงานของรัฐทุกหน ่วยงานนำยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ด้านต ่างๆ แผนพัฒนาด้านต
า่ งๆ มาเปน็ แผนแม่บทหลักในการกำหนดแผนปฏบิ ัติการ และแผนงบประมาณ ยุทธศาสตรช์ าติดังกลา่ ว เป็น
ยทุ ธศาสตร์ทีย่ ึดวัตถุประสงค์หลักแหง่ ชาติเปน็ แมบ่ ทหลัก ทิศทางด้านการป้องกนั และปราบปราม การทจุ ริต

การสร้างความโปรง่ ใส และธรรมาภิบาลในการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ของหนว่ ยงานภาครฐั ทุกหนว่ ยงานจะ
ถูกกำหนดจากยุทธศาสตรช์ าติ สภาขับเคลอ่ื นการปฏิรูปแห ง่ ชาติวางกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติในระยะ ๒๐ ปีโดย
มกี รอบ วิสัยทัศน์“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”คติพจน์ประจำชาตวิ ่า “มัน่ คง ม่งั ค่ังยงั่ ยืน” ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ คือ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ ท่ี ๓ การ
พัฒนา และเสรมิ สร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การสร้างโอกาสความเสมอภาค และ เท่าเทียมกันทาง
สังคม ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม และยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ การ
ปรับสมดุลและพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ ในยุทธศาสตร์ท่ี ๖ ได้กำหนด กรอบแนวทางที่สำคัญ ๖
แนวทางประกอบด้วย(๑)การปรบั ปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่าย ของภาครฐั (๒)การพัฒนาระบบ
การให้บรกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ(๓)การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของหน่วยงาน
ภาครัฐให้มีขนาดทเี่ หมาะสม (๔)การวางระบบบรหิ ารงานราชการ แบบบรู ณาการ (๕) การพัฒนาระบบบรหิ าร
จัดการกำลังคน และพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติ ราชการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ 13 (๖) การ
ต่อต้านการทุจริต และประพฤติมิชอบ (๗) การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ให้มีความ
ชัดเจน ทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ ตลอดจนพัฒนา
หน่วยงานภาครัฐ และบุคลากรที่มีหนา้ ท่ีเสนอความเห็นทางกฎหมายให้มีศกั ยภาพ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) กำหนดใน ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการภาครัฐ การ
ปอ้ งกันการทุจริต และประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทยในยุทธศาสตร์นี้ ได้กำหนดกรอบแนว
ทางการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต และ คอร์รัปชัน มุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนาปลูกฝังค่านิยม
วฒั นธรรม วธิ ีคดิ และกระบวนทัศน์ให้คน มคี วามตระหนกั มคี วามรู้เท่าทัน และมีภูมิตา้ นทานต่อโอกาส และ
การชักจูงให้เกดิ การทุจรติ คอรร์ ัปชัน และมพี ฤตกิ รรมไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมชิ อบ รวมทงั้ สนบั สนุนทุก
ภาคสว่ นในสงั คมไดเ้ ข้ามา มีส ว่ นร ่วมในการป้องกนั และปราบรามการทจุ รติ และมุ ง่ เน้นให้เกิดการส่งเสริม
ธรรมาภิบาล ในภาคเอกชน เพ่อื เป็นการตัดวงจรการทจุ ริตระหวา่ งนักการเมือง ข้าราชการ และนักธุรกิจออก
จากกนั ทง้ั น้ีการบริหารงานของสว่ นราชการต้องมีความโปรง่ ใส และตรวจสอบได้ โมเดลประเทศไทยสคู่ วาม
ม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน (Thailand ๔.๐) เป็นโมเดลที่น้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น
แนวคิดหลกั ในการบริหารประเทศ ถอดรหสั ออกมาเป็น ๒ ยทุ ธศาสตร์สำคัญ คอื (๑) การสรา้ งความเขม้ แข็ง
จากภายใน (Strength from Within) และ (๒) การเช่ือมโยงกับประชาคมโลกในยุทธศาสตร์การสรา้ งความ
เข้มแข็งจากภายใน Thailand ๔.๐ เน้นการปรับเปล่ียน ๔ ทิศทาง และเนน้ การพัฒนาที่สมดลุ ใน ๔ มิติมิติท่ี
หยิบยก คือ การยกระดับ ศกั ยภาพ และคณุ ค่าของมนษุ ย์(Human Wisdom) ด้วยการพัฒนาคนไทยใหเ้ ป็น
“มนุษยท์ สี่ มบูรณ์” ผ่านการปรับเปลี่ยนระบบนเิ วศน์การเรียนรเู้ พอื่ เสริมสรา้ ง แรงบันดาลใจบ่มเพาะความคดิ
สร้างสรรค์ ปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ต้ัง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีคุณธรรม
จริยธรรม มีความรับผดิ ชอบ เน้นการสร้างคุณค่ารว่ ม และคา่ นยิ มทด่ี ีคือ สังคมทมี่ ีความหวัง (Hope) สังคม ท่ี
เป่ียมสุข (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉันท์(Harmony) ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ที่กำหนดวสิ ัยทศั น์“ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้ง

ชาติต้านทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) กำหนดยุทธศาสตร์หลักออกเป็น ๖ ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่สำคัญ คือ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการ
กระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิด ภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจรติ ” โดยเริ่มต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลา
ทางสังคม สรา้ งวัฒนธรรมต่อต้าน การทุจริต ปลูกฝังความพอเพียง มีวนิ ัยซ่ือสัตย์สจุ ริต มีจิตสาธารณะ จิต
อาสา และความเสียสละ เพ่อื ส่วนรวม ปลกู ฝังความคดิ แบบดิจทิ ลั (Digital Thinking) ใหส้ ามารถคิดแยกแยะ
ระหว่างประโยชน์ ส่วนตัวและประโยชน์ส่วนรวม และประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
เคร่ืองมือตา้ นทุจรติ สาระสำคญั ทงั้ ๖ ด้านดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือช้นี ำทิศทางการปฏิบัติงาน และการบรู ณา
การ ด้านตอ่ ตา้ นการทุจรติ ของประเทศโดยมสี ำนกั งาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการงานของ ภาค
สว่ นต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน และเพอื่ ใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดียวกัน

ใบงาน ครง้ั ท่ี 15

จงอธิบายการคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ช่อื - สกลุ .............................................รหสั นักศกึ ษา...................................กศน.ตำบล...........................



แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
กลมุ่ สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาการป้องกนั การทุจริต รหัสวิชา สค ๒๒๐๒๒

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบพบกลุ่ม ครงั้ ที่ ๑๖ (จำนวน ๖ ช่วั โมง)
เร่อื ง ลักษณะความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
วันท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
ตัวช้วี ัด

๑ มคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ผลู้ ะอายและไม่ทนตอ่ การทจุ ริตทุกรปู แบบ
๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทุจรติ
เน้อื หา ๑. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
1. ครพู บปะนักศกึ ษาเพอ่ื สอบถามรายละเอียดในวิชาทีส่ อนท่ผี า่ นมาว่ามคี วามรู้ความเข้าใจ

ในวิชาที่สอนรอบที่แลว้
1.2ครูพบปะนกั ศกึ ษาเพอื่ สร้างความค้นุ เคยและทำความเขา้ ใจกับวิชาพรอ้ มชแ้ี จงตวั ช้ีวดั ของ

หน่วยการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี ๒ แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
2.1ครูวางแผนกระบวนการจดั การเรียนการสอน โดยใช้สอื่ การสนออนไลน์เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาม

ความรู้และไดเ้ หน็ ภาพที่ชดั เจนในกระบวนการสอนของครู
2.2ครูแบ่งกลุ่มผเู้ รยี นประมาณกล่มุ ละ 3-5 คนเพอื่ ให้ผเู้ รยี นศึกษาเรอ่ื ง
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ

ขั้นท่ี ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (Implementation : I)
3.๑ ตวั แทนแต่ละกลุม่ ออกมานำเสนอตามท่ีแต่ละกลมุ่ ไดร้ บั มอบหมาย ใหเ้ พื่อนรว่ มช้นั

ฟัง โดยครเู พม่ิ เตมิ ในส่วนทยี่ ังไมส่ มบูรณ์ และใหผ้ เู้ รียนจดบันทกึ ลงในสมุด
3.2ครมู อบใบงานเร่อื งความพอเพยี งกบั การตา้ นการทจุ รติ ใหผ้ เู้ รียนทำใหเ้ สรจ็ ในเวลาที่

กำหนด
3.3 ครมู อบหมายงาน กรต.ครงั้ ตอ่ ไป

ขน้ั ท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
4.1 ครวู ัดผลการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นจากใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบยอ่ ย ช้นิ งานและ

รายงาน
4.2 ครูสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนร้ขู องผู้เรียนเช่นความสนใจ การร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ และ

ความรับผิดชอบ เป็นตน้

สอ่ื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี น
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
5. สือ่ Internet

การวัดและประเมนิ
๑. สงั เกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

ตัวชว้ี ดั การเรียนรู้
1 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พฒั นาอาชีพเพอื่ ความเข้มแข็ง
2 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวเิ คราะห์ศกั ยภาพของ

ธุรกิจ
3 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชือ่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

ความคิดเห็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชือ่ ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

เร่อื ง ลักษณะความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ลักษณะของความละอายและความไมท่ นต่อ
การทจุ ริต ลักษณะของความละอาสามารถแบ่งได้ ๒ ระดับ คือ ความละอายระดับต้น หมายถึง ความละอาย

ไม่กล้ำที่จะทำในส่ิงที่ผิด เนื่องจากกลัวว่าเม่ือตนเองได้ทำลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หากถูกจับได้จะได้รับ การ
ลงโทษหรือไดร้ ับความเดือดรอ้ นจากสง่ิ ท่ีตนเองได้ทำลงไป จึงไม่กล้ำที่จะกระทำผิด และในระดับ ทีส่ องเป็น
ระดับที่สูง คือ แม้ว่าจะไม่มีใครรับรู้ หรือเห็นในสิ่งที่ตนเองได้ทำลงไปก็ไม่กล้ำที่ จะทำผิด เพราะนอกจาก

ตนเองจะได้รบั ผลกระทบแล้ว ครอบครัว สังคมก็จะไดร้ ับผลกระทบตามไปด้วย ท้ังชื่อเสียงของตนเอง และ
ครอบครวั ก็จะเสอ่ื มเสยี บางคร้ัง การทจุ ริตบางเรอ่ื งเป็นสิ่งเลก็ ๆ นอ้ ยๆ เช่น การลอกข้อสอบ อาจจะไมม่ ีใคร
ใส่ใจ หรอื สังเกตเหน็ แต่หากเป็น ความละอายขั้นสูงแล้วบุคคลนน้ั ก็จะไม่กล้ำทำ สำหรับความไม่ทนต่อการ

ทจุ ริต จากความหมายท่ีได้กล่าวมาแลว้ คือ เป็นการแสดงออกอยา่ งใด อย่างหนึง่ เกิดข้ึน เพ่ือให้รับรู้วา่ จะไม่
ทนต่อบุคคล หรือกำรกระทำใดๆ ที่ทำให้เกิดการทุจริต ความไม่ทน ต่อการสามารถแบ่งระดับต่ำงๆ ได้
มากกว่าความละอาย ใชเ้ กณฑ์ความรนุ แรงในการแบ่งแยก เชน่ หากเพ่อื นลอกขอ้ สอบเรา และเราเหน็ ซึ่งเราจะ

ไม ย่ ินยอมให้เพื่อนทุจริตในการลอกข้อสอบ เราก็ใช้มือหรือกระดาษมาบงั ส่วนที่เป็นคำตอบไว้ เช่นน้ี ก็เป็น
การแสดงออกถึงการไม่ทนตอ่ การทจุ รติ นอกจากการแสดงออกดว้ ยวธิ ีดังกล่าวที่ถอื เป็นการแสดงออกทางกาย
แล้ว การว่ากล่าวตักเตือนต่อบุคคล ที่ทุจริต การประณาม การประจาน การชุมนุมประท้วง ถือว่าเป็นการ

แสดงออกซึ่งการไม่ทนต่อการทจุ รติ ทงั้ สิ้น แตจ่ ะแตกต่างกันไปตามระดับของการทุจรติ ความตื่นตัวของประ
ชำชน และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการทุจริต โดยท้ายบทนี้ได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่มีสำเหตุมาจากการ
ทจุ ริต ทำใหป้ ระชำชนไมพ่ อใจ และรวมตัวต่อต้าน ความจำเปน็ ของการที่ไมท่ นต่อการทจุ ริตถือเปน็ สง่ิ สำคัญ

เพราะการทุจรติ ไม่ว่าระดับเลก็ หรอื ใหญย่ ่อมกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายต่อสังคม ประเทศชำติ ดังเช่นตัวอยา่ ง
คดีรถและเรือดับเพลิงของ กรุงเทพมหานคร ผลของการทุจริตสร้างความเสียหายไว้อย่างมาก รถและเรือ
ดับเพลงิ กไ็ ม่สามารถนำ มาใช้ได้ รัฐต้องสูญเสยี งบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน์ และประชำชนเองกไ็ ม่ได้ใช้

ประโยชน์ด้วยเช่น กัน หากเกิดเพลิงไหม้พร้อมกันหลายแห่ง รถ เรือและอุปกรณ์ดับเพลิงจะไม่มีไม่เพียง
พอทีจ่ ะดับไฟไดท้ นั เวลา ดังน้ัน หากยังมกี ารปลอ่ ยให้มกี ารทุจริต ยนิ ยอมให้มกี ารทจุ รติ โดยเห็นว่าเป็นเร่อื ง
ของคนอนื่ เปน็ เรื่องของเจ้าหนา้ ท่ีรัฐ ไม่เกี่ยวขอ้ งกับตนเองแล้ว สุดทา้ ย ความสญู เสยี ที่จะได้รับตนเองก็ยงั คง

ทจี่ ะได้รบั ผลนน้ั อยแู่ มไ้ ม่ใชท่ างตรงก็เป็นทางอ้อม ดงั น้ัน การทบ่ี ุคคลจะเกดิ ความละอายและความไม่ทนต่อ
การทุจริตไดจ้ ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ ง สรา้ งใหเ้ กิดความตระหนกั และรับรูถ้ งึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นจากการทุจรติ ใน
ทุกรูปแบบ ทุกระดับ ซ่ึง หากสังคมเป็นสังคมทมี่ ีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตแล้วจะทำให้เกิด

สังคมท่นี ่าอยู่ และ มีการพฒั นาในทกุ ๆ ด้านใบความรู้ เรื่อง ลักษณะความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ
ลักษณะของความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ลักษณะของความละอายสามารถแบง่ ได้ ๒ ระดบั คือ
ความละอายระดับตน้ หมายถงึ ความละอาย ไมก่ ล้ำท่ีจะทำในสิ่งทผ่ี ิด เน่ืองจากกลัวว่าเมื่อตนเองได้ทำลงไป

แล้วจะมีคนรับรู้ หากถกู จับไดจ้ ะได้รับ การลงโทษหรอื ได้รบั ความเดอื ดร้อนจากสิ่งท่ตี นเองได้ทำลงไป จึงไม่
กล้ำทจ่ี ะกระทำผดิ และในระดบั ทสี่ องเป็นระดบั ทีส่ งู คอื แม้ว่าจะไมม่ ีใครรบั รู้ หรอื เหน็ ในสิง่ ทต่ี นเองไดท้ ำลง
ไปก็ไมก่ ลำ้ ทจ่ี ะทำผดิ เพราะนอกจากตนเองจะได้รับผลกระทบแล้ว ครอบครวั สังคมกจ็ ะไดร้ ับผลกระทบตาม

ไปด้วย ทง้ั ช่อื เสียงของตนเอง และครอบครัวกจ็ ะเสื่อมเสยี บางคร้งั การทุจรติ บางเร่อื งเป็นสงิ่ เลก็ ๆ น้อยๆ เชน่
การลอกข้อสอบ อาจจะไม่มใี ครใสใ่ จ หรอื สังเกตเหน็ แต่หากเป็น ความละอายขัน้ สูงแลว้ บุคคลน้ัน กจ็ ะไมก่ ลำ้
ทำ สำหรับความไม่ทนต่อการทุจริต จากความหมายที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ เป็นการแสดงออกอย่ำงใด อย่าง

หนึ่งเกดิ ข้ึน เพื่อให้รับรู้ว่าจะไม่ทนต่อบุคคล หรือกำรกระทำใดๆ ที่ทำให้เกิดการทุจริต ความไม่ทน ต่อการ
ทจุ ริตสามารถแบ่งระดบั ตำ่ งๆ ใช้เกณฑค์ วามรนุ แรงในการแบ่งแยก เชน่ หากเพ่ือนลอกข้อสอบเรา และเรา
เห็นซึ่งเราจะไม ่ยนิ ยอมให้เพื่อนทุจรติ ในการลอกขอ้ สอบ เราก็ใช้มือหรือกระดาษมาบงั ส่วนที่เป็นคำตอบไว้

เช่นน้ี ก็เป็นการแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทุจริต นอกจากการแสดงออกด้วยวิธีดังกล่าวที่ถือเป็นการ
แสดงออกทางกายแล้ว กาล่าวตกั เตือนต่อบคุ คล ท่ที จุ รติ การประณาม การประจาน การชุมนมุ ประทว้ ง ถือว่า

เปน็ การแสดงออกซึ่งการไม่ทนต่อการทุจรติ ทงั้ สิ้น แต่จะแตกต่างกันไปตามระดบั ของการทุจริต ความต่ืนตัว
ของประชำชน และผลกระทบท่ีเกิดข้ึน จำกาการทุจรติ โดยท้ายบทนี้ได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่มีสำเหตุมา
จากการทุจริต ทำให้ประชำชนไมพ่ อใจ และรวมตวั ต่อตา้ น ความจำเป็นของการท่ีไม่ทนต่อการทุจรติ ถือเป็น

สง่ิ .สำคญั เพราะการทุจริตไมว่ า่ ระดับเลก็ หรอื ใหญย่ อ่ มก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ สงั คม ประเทศชำติ ดังเช่น
ตวั อยา่ ง คดีรถและเรอื ดับเพลิงของ กรุงเทพมหานคร ผลของการทจุ ริตสร้างความเสยี หายไวอ้ ยำ่ งมาก รถและ
เรอื ดบั เพลงิ กไ็ ม่สามารถนำ มาใช้ได้ รฐั ตอ้ งสูญเสยี งบประมาณไปโดยเปลา่ ประโยชน์ และประชำชนเองกไ็ มไ่ ด้

ใช้ประโยชน์ด้วยเช่น กัน หากเกิดเพลิงไหม้พร้อมกันหลายแห่ง รถ เรือและอุปกรณ์ดับเพลิงจะไม่มีไม่เพียง
พอท่จี ะดบั ไฟได้ทนั เวลา ดังนน้ั หากยังมีการปล่อยใหม้ ีการทจุ ริต ยินยอมให้มกี ารทจุ ริต โดยเห็นว่ำเป็นเรือ่ ง
ของคนอืน่ เป็น เร่อื งของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ไม่เกยี่ วข้องกับตนเองแล้ว สดุ ท้าย ความสญู เสียทจี่ ะได้รบั ตนเองก็ยงั คง

ทีจ่ ะได้รบั ผลนัน้ อยแู่ ม้ไมใ่ ชท่ างตรงก็เป็นทางอ้อม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 71 ดังนั้น การท่ีบุคคลจะเกิด
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตได้จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง สร้างให้เกดิ ความตระหนักและรับรู้ถึง
ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนจากการทจุ รติ ในทุกรปู แบบ ทกุ ระดับ ซ่งึ หากสงั คมเป็นสังคมทมี่ ีความละอายและความไม่

ทนตอ่ การทจุ ริตแลว้ จะทำให้เกิดสังคมทน่ี ่าอยู่ และ มกี ารพฒั นาในทุกๆ ดา้ น

ใบงาน คร้งั ท่ี 16

1.จงอธิบายลักษณะความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ลักษณะของความละอายสามารถแบ่งได้ ก่ี
ระดบั อะไรบา้ ง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ช่อื - สกลุ .............................................รหสั นักศกึ ษา...................................กศน.ตำบล...........................

แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
รายวชิ า ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย รหสั วิชา สค ๒๒๐๒๐
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบกลุ่ม คร้ังที่ ๑๗ ( จำนวน ๖ ชว่ั โมง )
เรอื่ ง ความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย

วันท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตัวชวี้ ัด
1. อธิบายความหมายของชาติ

2. อธิบายความเปน็ มาของชนชาติไทย
3. บอกพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตรยิ ไ์ ์ทยกบั การรวมชาติ

4. อธบิ ายประวตั คิ วามเป็นมาของศาสนาพุทธ ครสิ ต์ และอสิ ลาม

5. อธิบายความสำคัญของสถาบันศาสนา

6. ระบุบทบาท และความสำคัญของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์
7. อธิบายบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ไทยในอดตี

เนื้อหา
1.สถาบันหลกั ของชาติ
2.บญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยตง้ั แตส่ มัยกรงุ สุโขทัยกรงุ ศรีอยุธยากรงุ ธนบรุ ี และกรงุ

รตั นโกสนิ ทร์
3.วีรบรุ ุษและวีรสตรีไทยในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาและกรุงธนบรุ ี

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (Orientation :O)
๑. ครนู ำเข้าสู่บทเรยี นด้วยการรว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกบั ความภมู ใิ จของนกั ศึกษาใน

ความเป็นไทยความรเู้ ก่ียวกบั กำเนิดชาตไิ ทย

๒. ผูเ้ รียนร่วมกันแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ศึกษาพระมหากษัตรยิ ์ไทยตั้งแตส่ มัยกรุงสโุ ขทัย
กรุงศรอี ยธุ ยากรงุ ธนบรุ ี และกรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ พอื่ กำหนดสภาพปญั หาและความตอ้ งการในการในการ
เรยี นรู้

ขั้นที่ ๒ แสวงหาขอ้ มลู และการจัดการเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
1. ครูอธบิ ายเนื้อหาเก่ยี วกบั พระมหากษตั ริย์ไทยตั้งแตส่ มยั กรุงสโุ ขทัยกรุงศรอี ยธุ ยา

กรุงธนบรุ ี และกรงุ รตั นโกสินทรต์ ามประเด็นเน้ือหาการเรยี นรูท้ กี่ ำหนดไว้ พรอ้ มยกตัวอยา่ งวรี บรุ ุษ

และวีรสตรไี ทยในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี
2. ผเู้ รยี นศึกษาจากใบความรู้ หนงั สอื พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยต้งั แตส่ มัยกรงุ สโุ ขทยั

กรงุ ศรีอยุธยากรงุ ธนบุรี และกรงุ รตั นโกสินทร์

3. ผเู้ รยี นแบง่ กล่มุ รว่ มกันวเิ คราะห์ ร่วมกันอภิปรายและสรปุ ประเดน็ สำคัญของการ
เรยี นรพู้ ระมหากษตั รยิ ์ไทยต้ังแตส่ มยั กรุงสโุ ขทยั กรงุ ศรีอยธุ ยากรุงธนบรุ ี และกรงุ รัตนโกสนิ ทร์วีรบรุ ุษ
และวรี สตรไี ทยในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรุงธนบรุ ี พรอ้ มทง้ั สรุปหน้าชั้นเรยี น

4. ผเู้ รียนได้วางแผนการเรยี นรดู้ ้วยตนเองเพ่ือตอ่ ยอดองค์ความรู้
ข้ันท่ี ๓ การปฏบิ ตั แิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)

๑. ผู้เรียนทำใบงานรว่ มกนั และสรปุ องค์ความร้แู ละบนั ทึกผลการเรียนรทู้ ี่ไดจ้ ากการ
เรียนรู้

๒. ผเู้ รยี นทำแบบฝึกหัดเพิ่มเตมิ หลังบทเรียน
๓. ผเู้ รียนนำความร้ทู ี่ได้จากการเรียนรมู้ าปรบั ใชเ้ ป็นในชวี ติ ประจำวนั
๔. มอบหมายงาน กรต.ครง้ั ต่อไป

ข้ันท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evaluation : E)
๑.ครผู เู้ รยี นมสี ่วนรว่ ม/แบบฝกึ หดั /ใบงาน
๒. ผเู้ รยี นสรปุ องคค์ วามรู้ เพือ่ ต่อยอดในการพบกลมุ่ ครง้ั ตอ่ ไป

ส่อื การเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรยี นรายวิชาประวัตศิ าสตรช์ าติไทย รหสั วชิ า สค 22๐20
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV
๖. ส่ือ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สังเกตุการมสี ่วนรว่ ม
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ

ตัวชว้ี ดั การเรยี นรู้
1 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอ่ื ความเข้มแข็ง
2 ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถบอกความจำเป็น และคุณคา่ ของการวเิ คราะห์ศักยภาพของ

ธุรกจิ
3 รอ้ ยละ 80 นักศึกษาสามารถวเิ คราะห์ตำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงชอื่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้

บทบาทการรวบรวมชาตไิ ทยให้เปน็ ปกึ แผน่ เป็นบทบาทท่สี ำคญั ของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต หาก
รฐั ใดแควน้ ใด ไม่มีผู้นำหรอื พระมหากษัตริยท์ เ่ี ขม้ แขง็ มีพระปรีชาสามารถทงั้ ดา้ นการรบ การปกครองรวมถึง
ด้านการค้า เศรษฐกิจการคลัง รัฐน้ันหรือแคว้นนั้น ย่อมมีการเสื่อมอำนาจลงและถูกยึดครอง ผนวกไปเป็น
เมืองข้ึนหรือประเทศราชภายใต้การปกครองของชนชาติอ่ืนไป การถูกยึดครองหรือผนวกไปเป็น เมืองข้ึน
ภายใต้การปกครองของอาณาจักรอื่นในอดีต สามารถทำได้หลายกรณี อาทิเช่น การยอม สิโรราบโดยดี โดย
การเจรญิ ไมตรีและสง่ บรรณาธิการถวาย โดยไม่มีศกึ สงครามและการเสีย เลือดเน้ือ เชน่ การรวมแผ่นดินและ
สถาปนากรุงศรีอยุธยาในสมยั สมเด็จพระเจ้าอทู่ อง กษัตริย์ พระองคแ์ รกของกรงุ ศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 1893
พระองค์ไดท้ รงสรา้ งพระราชวังและพระท่นี งั่ ตา่ ง ๆ ใหม้ ีความมนั่ คง ต่อมาพระยาประเทศราชทงั้ 16 หวั เมอื ง
คอื เมืองมะละกา เมืองชวา เมืองนครศรีธรรมราช เมืองทวาย เมอื งเมาะตะมะ เมืองเมาะลำเริง เมืองสงขลา
เมืองจนั ทบรู เมอื งพษิ ณโุ ลก เมืองสุโขทยั เมอื งพิชยั เมืองสวรรคโลก เมอื งก าแพงเพชร และเมอื งนครสวรรค์
ได้มาถวายบังคมอย่รู ่วมเขตขัณฑสีมา หรือการรวมแผ่นดินโดยการการยกทัพไปตีเม่อื ชนะ ก็ยึดครอง เกณฑ์
ไพรพ่ ลกลับมาเมอื งตนเองและแต่งตงั้ เจ้านายหรือผู้ทไี่ ดร้ ับการไว้ใจไปปกครอง เชน่ สมเดจ็ พระเจา้ อทู่ อง ทรง
พระกรุณาให้สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอพระราเมศวร ยกพล 5000 ไปตี กรงุ กมั พชู าธิบดี ซ่งึ พระองคท์ รงรบชนะ จงึ
ได้กวาดเอาครัวชาวกรุงกัมพชู าธบิ ดีเข้าพระนคร เป็นอนั มาก

จะเห็นวา่ ในการทeศึกสงครามเพื่อการปกป้องแผ่นดินของตนเองหรอื การ ทeศึกสงครามเพ่ือขยาย
พระราชอาณาเขต ลว้ นเป็นบทบาทของพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานวุ งศ์ ทต่ี อ้ งยกทัพนำไพรพ่ ลออก
ทำศึกสงครามด้วยพระองค์เอง การศกึ สงครามเพื่อ ปกป้องบ้านเมืองจากอริราชศัตรูในอดตี สมยั กรงุ สุโขทัย
และกรุงศรีอยุธยา เกิดข้ึนหลายคร้ัง เช่น การทำยุทธหัตถีหรือการชนช้างระหว่างเจ้าราม หรือพ่อขุน
รามคำแหง กับขุนสามชน เจ้าเมอื งฉอด ในสมัยของพ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ พระราชบิดา ปฐมกษัตริยแ์ ห่งกรุง
สโุ ขทัย ราวปี พ.ศ. 1800 หรือเหตุการณ์การยุทธหัตถี และการกอบกู้เอกราช และรวบรวมไพร่พลเพื่อสร้าง
กรุงศรอี ยุธยา ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช หลังจากทเ่ี สยี กรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 ใหก้ บั พระเจ้าหงสาวดี ซ่ึง
ในขณะน้ันคือพระเจ้าบุเรงนอง เมื่อปี พ.ศ. 2112 ภาพแผนที่ฝร่ังเศส ปี พ.ศ. 2229 แสดงอาณาเขตของ
อาณาจักรสยาม พกุ าม เขมร ลาว โคชินจนี กบั แคว้นตังเก๋ีย ทง้ั หมดเป็นแวน่ แคว้นในสายตาของชาวตะวนั ตกท่ี
เดนิ ทางเขา้ สูภ่ ูมิภาคในยคุ นี้ นัน่ คือช่วงปลายรัชสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช

(ทมี่ า :https://mgronline.com/indochina/detail/9560000008955)

จากตัวอย่างท่ียกมาข้างต้น จะเห็นได้วา่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ได้มีบทบาท สำคัญในการรวมชน
ชาตใิ ห้เป็นปึกแผ่น รวมถึงการปกป้องประเทศชาติและมาตุภูมเิ พ่ือสืบไว้ให้ 10 ลูกหลานไทยได้มีแผ่นดินอยู่
ซ่ึงหากชนชาติไทยในอดีต ไม่มีผู้นำหรือกษัตริย์ที่มีพระปรีชา สามารถแล้ว ในวันนี้อาจไม่มีชาติไทยหลง
เหลืออยู่ในแผนท่ีโลก หรอื ชนชาตไิ ทยอาจต้องตกไป อยู่ภายใตก้ ารปกครองของชาตใิ ดชาติหน่งึ ดังเช่น ชาติ
มอญ ที่อดตี เคยเปน็ ชนชาติทย่ี ่งิ ใหญ่ แตห่ ลังจากท่ีพระเจ้าตะเบง็ ชะเวตี้ กษตั ริย์แห่งตองอู ซึ่งเป็นกษัตริย์พม่า

พระองค์แรก ทีต่ ีเมอื ง หงสาวดี เมอื งหลวงของชนชาตมิ อญ และต่อมาได้สถาปนาเมืองหงสาวดีเป็นเมอื งหลวง
ของพม่า จากนน้ั เปน็ ต้นมาชนชาตมิ อญกถ็ ูกกลืนชาตไิ ปตราบจนทกุ วนั นี้ ดงั บทกวี “วนั สิ้นชาติ” ของ ชาลี ชลี
ยา ทไี่ ด้เตือนสตคิ นไทยใหม้ ีความรกั ชาติ ศาสนา มีความจงรักภักดีและสำนึกในบุญคณุ ของ พระมหากษตั ริย์
โดยได้คัดมาตอนหนึ่งว่า การสนิ้ ชาตขิ าดกษัตริย์ประวัติศาสตร์ หากประมาทอาจเกดิ ไดไ้ ม่วนั ไหน คน-แผ่นดิน-
ภาษา-วัฒนธรรมใด มีรวมได้กลายเป็นชาติอนั สมบูรณ์ หากขาดซ่ึงส่วนใดให้ส้ินชาติ รวมทั้งศาสนก์ ษตั ริยอ์ าจ
สนิ้ สญู ตัวอย่างมอญถกู ทำลายให้อาดรู เราและคุณรักชาติไทยใหร้ ่วมกัน…

ใบงาน

ใหน้ กั ศกึ ษาสรปุ บญุ คุณของพระมหากษตั ริย์ไทยและวรี บุรุษของแต่ละสมยั
กลมุ่ ที่ 1 สมัยกรุงสุโขทัย
กลมุ่ ท่ี 2 กรุงศรีอยุธยา
กล่มุ ท่ี 3 กรงุ ธนบรุ ี
กลมุ่ ท่ี 4 กรุงรตั นโกสินทร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
รายวิชา ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย รหัสวิชา สค ๒๒๐๒๐
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบกล่มุ ครง้ั ที่ ๑๘ ( จำนวน ๖ ช่วั โมง )
เรื่อง มรดกไทยสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบุรี

บทเรยี นจากเหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตรใ์ นสมยั กรงุ ศรีอยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี
วนั ที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชีว้ ดั

1. อธิบายถงึ คุณคา่ ของประเพณีไทย
2. บอกเลา่ วฒั นธรรมไทยสมัยกรุงศรอี ยุธยา และกรงุ ธนบรุ กี ารแต่งกาย การใชภ้ าษาอาหาร
ไทย และการละเล่นเป็นตน้
เนือ้ หา
1.ประเพณไี ทย.
2. วฒั นธรรมไทย
3. ศลิ ปะไทย
4. การอนรุ ักษม์ รดกไทย
๕. สงครามช้างเผือก การเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยา ครง้ั ที่ 1 สงครามยทุ ธหัตถขี องสมเดจ็ พระ
นเรศวรมหาราช การเสียกรงุ ศรอี ยุธยา คร้ังที่ 2 การกอบกู้เอกราชของสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช

กิจกรรมการจดั การเรียนรู้
ขนั้ ที่ ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
๑. ครนู ำเข้าสูบ่ ทเรยี นด้วยการร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์

ในสมยั กรุงศรอี ยุธยาและกรุงธนบรุ ี และมรดกไทยสมยั กรุงศรีอยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี
๒. ผเู้ รียนรว่ มกนั แลกเปล่ียนเรียนรู้ ศกึ ษาเหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตร์ในสมัยกรุงศรี

อยธุ ยาและกรงุ ธนบุรี และมรดกไทยสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ เี พื่อกำหนดสภาพปญั หาและ
ความตอ้ งการในการในการเรียนรู้

ขั้นที่ ๒ แสวงหาข้อมลู และการจัดการเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
1. ครอู ธบิ ายเน้อื หาเก่ยี วกบั เหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตรใ์ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาและ

กรุงธนบรุ ี และมรดกไทยสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบุรีพร้อมยกตัวอยา่ งเหตุการณ์ตา่ งๆ
2. ผเู้ รียนศึกษาจากใบความรู้ หนังสอื เหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ในสมัยกรงุ ศรี

อยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี และมรดกไทยสมยั กรุงศรอี ยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี

3. ผเู้ รียนแบง่ กลมุ่ ร่วมกนั วิเคราะห์ อภปิ รายและสรปุ ประเดน็ สำคญั ของการเรยี นรู้
เหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตรใ์ นสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและกรุงธนบรุ ี และมรดกไทยสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและ
กรงุ ธนบรุ ี แตล่ ะสมยั

4. ผเู้ รยี นไดว้ างแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเพอ่ื ต่อยอดองค์ความรู้

ขัน้ ที่ ๓ การปฏิบตั แิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)
๑. ผ้เู รียนทำใบงานร่วมกันและสรปุ องคค์ วามรู้และบนั ทกึ ผลการเรยี นร้ทู ีไ่ ด้จากการ

เรียนรู้
๒. ผเู้ รยี นทำแบบฝกึ หดั เพมิ่ เตมิ หลังบทเรยี น
๓. ผ้เู รียนนำความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการเรียนรู้มาปรบั ใช้เป็นในชีวิตประจำวัน
๔. มอบหมายงาน กรต.ครงั้ ต่อไป

ขัน้ ที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evaluation : E)
๑.ครผู เู้ รยี นมีส่วนร่วม/แบบฝกึ หัด/ใบงาน
๒. ผเู้ รียนสรุปองค์ความรู้ เพื่อตอ่ ยอดในการพบกล่มุ ครง้ั ตอ่ ไป

สอื่ การเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียนรายวชิ า ประวตั สิ าสตร์ชาตไิ ทย รหสั วิชา สค 2๒๐20

๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV
๖. ส่ือ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สังเกตุการมีสว่ นร่วม
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ

ตัวชวี้ ดั การเรยี นรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเป็นของการ

พัฒนาอาชพี เพอื่ ความเข้มแข็ง
2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเป็น และคุณคา่ ของการวิเคราะห์ศกั ยภาพของ

ธุรกิจ

3 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวเิ คราะหต์ ำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชอ่ื ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชอ่ื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พระราชประวตั สิ มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่า พระนเรศ หรอื "พระองคด์ ำ" เปน็ พระ

ราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธกิ ษัตรยี ์ (พระราชธิดาของสมเดจ็ พระสุรโิ ยทยั และสมเด็จ
พระมหาจักรพรรดิ) พระราชสมภพ เมือ่ พ.ศ. 2098 ที่พระราชวงั จันทน์เมืองพิษณุโลก มพี ระเชษฐภคินีคือ
พระสพุ รรณกัลยา มพี ระอนชุ า คือ สมเดจ็ พระเอกาทศรถ (พระองคข์ าว) สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จขึ้น
ครองราชย์เมอื่ วนั ท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 สิรริ วมการครองราชสมบตั ิ 15 ปี เสดจ็ สวรรคตเมอ่ื วันที่ 25
เมษายน พ.ศ. 2148 สริ พิ ระชนมายุ 50 พรรษา พระราชกรณียกิจ พระปรชี าสามารถและวีรกรรม วีรกรรม
ที่ย่ิงใหญ่ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นวีรกรรมท่ีสำคัญยิง่ ของชาตไิ ทย คือ พระองคไ์ ด้ก้อู ิสรภาพของ
ไทยจากการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังแรก และได้ทรง แผ่อำนาจของราชอาณาจักรไทย อย่างกวา้ งใหญ่ไพศาล
นับตั้งแต่ประเทศพม่าตอนใต้ทั้งหมด คือ จากฝั่งมหาสมุทรอินเดียทางด้านตะวันตก ไปจนถึงฝ่ังมหาสมุทร
แปซิฟิกทางด้านตะวันออก ทางดา้ นทศิ ใต้ตลอดไปถงึ แหลมมลายทู างด้านทศิ เหนอื ก็ถงึ ฝง่ั แมน่ ้ำโขงโดยตลอด
และยังรวม ไปถึงรัฐไทใหญ่บางรัฐ 28 นับตั้งแต่สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชประกาศอิสรภาพเป็นต้นมา หง
สาวดี ได้เพียรส่งกองทัพเข้ามาหลายครั้ง แต่ก็ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาตีแตกพ่ายไปทุกครงั้ เมื่อสมเด็จพระ
มหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ. 2133 พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 29
กรกฎาคม พ.ศ. 2133 มพี ระชนมายุได้ 35 พรรษา ทรงพระนามว่า สมเด็จ พระนเรศวร หรือ สมเดจ็ พระ
สรรเพชญ์ท่ี 2 และโปรดเกล้าฯ ให้พระเอกาทศรถ พระอนุชา ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช แต่มีศักดิ์เสมอ
พระมหากษัตรยิ ์อีกพระองค์ ซงึ่ เหตุการณ์ประกาศอสิ รภาพไม่ขน้ึ ต่อหงสาวดีของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
ในครงั้ น้นั สง่ ผลให้กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ เอกราช ไม่ข้นึ ตรงตอ่ กรุงหงสาวดี อกี ทั้งยงั สามารถขยายพระราชอาณา
เขตไปอย่างกว้างขวาง ส่งผลให้ชนชาติไทยยังคงความเป็นไทย มีเอกราช มีแผ่นดนิ มีพระมหากษตั รยิ ์และไม่
ต้องอยู่ภายใต้การปกครองของชาติใด ๆ อีก สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ท่ีฉลาด
ปราดเปรอื่ ง มีพระปรีชาสามารถทั้งทางดา้ นการรบและการปกครอง พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธคิ ุณ ต่อ
แผน่ ดินไทยและปวงชนชาวไทยอยา่ งหาท่สี ดุ ไม่ได้

สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช

พระราชประวตั ิสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช หรือสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 3 หรือ สมเดจ็ พระ
รามาธิบดศี รสี รรเพชญ (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2231) เป็น
พระมหากษตั ริย์ไทยรัชกาลท่ี 27 ในสมัยกรุงศรอี ยุธยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสดจ็ พระราชสมภพ เม่ือ
วันจันทร์ เดอื นย่ี ปีวอก พ.ศ. 2175 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองกบั พระนางศิริธดิ า
สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เสดจ็ ขน้ึ ครองราชสมบตั ิ เมอื่ วนั ท่ี 15ตลุ าคม พ.ศ. 2199 มีพระนามจารกึ ใน
พระสพุ รรณบฏั ว่าสมเด็จพระรามาธิบดเี ป็นพระมหากษัตรยิ ์ ลำดับท่ี 27 แห่งกรุงศรอี ยธุ ยา พระองค์เสดจ็
สวรรคตเม่ือ11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ณ พระทน่ี ัง่ สุทธาสวรรย์ พระนารายณร์ าชนิเวศน์ จังหวดั ลพบรุ ี รวม
ครองราชสมบัตเิ ปน็ เวลา 32 ปี มพี ระชนมายุ 56 พรรษา พระราชกรณียกจิ พระปรชี าสามารถและวีรกรรม
ด้านการเมอื ง การปกครอง สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เปน็ พระมหากษัตรยิ ท์ ี่ทรงพระปรีชาสามารถ อยา่ ง
ย่งิ ทรงสร้างความร่งุ เรอื ง และความยง่ิ ใหญ่ใหแ้ ก่กรุงศรอี ยธุ ยาเปน็ อยา่ งมาก โดยทรงยกทพั ไปตเี มอื ง
เชยี งใหม่และหัวเมอื งพมา่ อกี หลายเมอื ง ไดแ้ ก่ เมอื งเมาะตะมะ สิเรยี ม ยา่ งกุ้ง หงสาวดี และมกี ำลังสำคัญทท่ี ำ

ให้สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชนน้ั สามารถยึดหัวเมืองของพมา่ ได้ คอื เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหลก็ ) 29 (ทมี่ า :

ttps://blogazine.pub/blogs/ dulyapak/post/5205) ด้านการคา้ ขาย การทูตกับต่างประเทศ ในรัชสมัย
ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ รุ่งเรอื งมาก มกี าร ตดิ ตอ่ ทง้ั ดา้ นการค้าและ
การทตู กบั ประเทศตา่ ง ๆ เช่น จนี ญปี่ นุ่ อหิ ร่าน อังกฤษ และฮอลันดา มชี าวต่างชาตเิ ข้ามาในพระ
ราชอาณาจักรเปน็ จำนวนมาก ในจำนวนนีร้ วมถึงเจา้ พระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนตนิ ฟอลคอน) ชาวกรกี ท่ี
ทรงโปรดให้ เขา้ รบั ราชการในตำแหนง่ สมหุ นายก ขณะเดยี วกันยงั โปรดเกล้าฯ ให้แตง่ ตั้งคณะทตู นำโดย
เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) ไปเจรญิ สมั พันธไมตรีกบั ราชสำนกั ฝรง่ั เศส ในรัชสมยั พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 ถงึ 4
คร้งั ด้วยกัน พระองคผ์ เู้ ป็นทเี่ ลอ่ื งลอื พระเกียรตยิ ศในพระราโชบายทางคบคา้ สมาคมกบั ชาวต่างประเทศ
รกั ษาเอกราชของชาติให้พน้ จากการเบียดเบียนของชาวต่างชาติ ด้านวรรณคดี สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ได้ทรงอปุ ถมั ภ์บำรงุ กวแี ละงานด้าน วรรณคดีอนั เปน็ ศลิ ปะทีร่ ุ่งเรอื งทสี่ ุดในยุคนน้ั มกี วที ีม่ ชี ่อื เสยี งในยุคน้ัน
เชน่ พระโหราธบิ ดหี รอื พระมหาราชครู ผปู้ ระพันธห์ นังสือจนิ ดามณีซึง่ เปน็ ตำราเรียนภาษาไทยเลม่ แรก กวีอกี
ผหู้ นง่ึ คอื ศรีปราชญผ์ ้เู ปน็ ปฏิภาณกวี เปน็ บุตรของพระโหราธิบดี งานช้ินสำคัญของศรปี ราชญ์ คอื หนังสอื กำ
ศรวลศรีปราชญแ์ ละอนริ ทุ ธค์ ำฉนั ท์ดว้ ยพระปรีชาสามารถดงั ได้บรรยายมาแลว้ สมเดจ็ พระนารายณ์จงึ ได้รับ
การถวายพระเกยี รตเิ ป็น มหาราช พระองค์หนง่ึ

สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช หรอื สมเด็จพระเจา้ กรงุ ธนบุรี

วีรกษัตริยไ์ ทยสมัยกรงุ ธนบรุ ี หรอื สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 4 มีพระนามเดิมว่า สิน (ช่ือจีนเรียกวา่
เซิน้ เซนิ้ ซนิ ) พระราชบดิ าเปน็ จีน แต้จิ๋ว ได้สมรสกบั หญิงไทยชื่อ นกเอ้ียง ภายหลงั เปน็ กรมสมเดจ็ พระเทพา
มาตยส์ มเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช เป็นพระมหากษตั ริย์ผกู้ อ่ ต้ังอาณาจกั รธนบรุ ีและเป็นพระมหากษตั ริย์
พระองคเ์ ดยี ว ในสมยั อาณาจกั รธนบรุ ี ทรงปราบดาภเิ ษกเปน็ พระมหากษตั รยิ ์แห่งกรงุ ศรีอยธุ ยา เมอ่ื วนั ท่ี 28
ธันวาคม พ.ศ. 2310เสดจ็ สวรรคตเม่ือวันที่6 เมษายน พ.ศ. 2325เมอื่ มพี ระชนมายไุ ด้ 48 พรรษา รวมสริ ิด
ารงราชสมบัติ 15 ปี พระราชโอรส-พระราชธดิ า รวมทง้ั ส้ิน 30 พระองค์ 30 พระราชกรณียกจิ พระปรีชา
สามารถและวรี กรรม พระราชกรณยี กจิ และวรี กรรมท่สี ำคญั ใน รัชสมัยของพระองค์ คอื การกอบก้เู อกราชจาก
พมา่ ภายหลังการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้ังทสี่ อง โดยขับไล่ ทหารพมา่ ออกจากราชอาณาจักรจนหมดสิน้ และยงั
ทรงท าสงครามขยายพระราชอาณาเขตตลอดรชั สมัย เพ่ือรวบรวมแผน่ ดินซงึ่ อยูภ่ ายใตก้ ารปกครองของ ขนุ
ศกึ ก๊กต่าง ๆใหเ้ ป็นปกึ แผ่น (ท่มี า : https://finekfc.wordpress.com/2013/09/22/21) นอกจากนี้
พระองคย์ ังทรงมงุ่ มน่ั ทจ่ี ะฟื้นฟูประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ ให้กลบั คืน สู่สภาวะปกตหิ ลงั สงคราม ทรงส่งเสริม
ทางด้านเศรษฐกจิ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม วรรณกรรม และการศึกษา เนอื่ งจากพระมหากรุณาธิคณุ ท่ีมีตอ่
แผน่ ดินไทย รัฐบาลจงึ ได้ประกาศให้วันท่ี 28 ธันวาคมของทุกปเี ป็น "วันสมเด็จพระเจา้ ตากสิน" การขยายพระ
ราชอาณาเขต นอกจากขบั ไลพ่ มา่ ออกไปจากอาณาจักรไดแ้ ล้ว สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ ยงั ได้ ขยายอำนาจเข้าไป
ในลาว ไดห้ วั เมอื งลาวเข้ามาอยูใ่ นอำนาจอาจกลา่ วได้ว่า สมัยสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินเป็นสมยั แหง่ การกเู้ อกราช
ของชาติ รวบรวมประเทศให้เป็นปึกแผน่ มนั่ คง ขับไลข่ า้ ศึก ออกไปจากอาณาเขตไทยและขยายอาณาเขต
ออกไปอย่างกวา้ งขวางในรชั สมัยของพระองค์ ประเทศไทยจงึ ยง่ิ ใหญเ่ ทา่ เทยี มเมอื่ ครง้ั กรงุ ศรอี ยุธยา มีความ
รงุ่ เรือง อาณาเขตของประเทศไทย ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี มดี ังน้ี ทศิ เหนือ ตลอดอาณาจักรลา้ นนา ทิศใต้ได้
ดนิ แดนกลันตนั ตรงั กานแู ละไทรบรุ ที ิศตะวนั ออก ไดด้ ินแดนลาว เขมร จรดอาณาเขตญวน และทิศตะวันตก
จรด ดนิ แดนเมาะตะมะ ได้ดินแดน เมอื งทวาย มะริด ตะนาวศรี ด้านการปกครอง หลังจากทีก่ รงุ ศรอี ยุธยา
แตก กฎหมายบ้านเมืองกระจดั กระจายสญู หายไปมาก จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ทำการสบื เสาะ คน้ หา
มารวบรวมไวไ้ ด้ประมาณ 1 ใน 10 และ โปรดฯ ใหช้ ำระกฎหมายเหลา่ นัน้ ฉบบั ใดยงั เหมาะแกก่ าลสมัยก็
โปรดฯ ใหค้ งไว้ ฉบบั ใด ไมเ่ หมาะกโ็ ปรดใหแ้ ก้ไขเพมิ่ เตมิ กม็ ี ยกเลกิ ไปก็มี ตราข้นึ ใหมก่ ็มี และเปน็ การแก้ไข

เพ่อื ราษฎร ไดร้ บั ผลประโยชนม์ ากขึ้น สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ีทรงปกครองบ้านเมืองคลา้ ยคลงึ กบั พระรา
โชบายของพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช คือ แบบพอ่ ปกครองลกู ไมถ่ อื พระองค์ มักปรากฏ พระวรกายใหพ้ สก
นกิ รเหน็ และมกั ถามสารทกุ ขส์ ุขดิบของพสกนกิ รท่วั ไป ทรงหาวธิ ใี ห้พลเมอื ง 31 ไดท้ ำมาหากนิ โดยปกติสุข
ใครดีก็ยกย่องสรรเสรญิ ผู้ใดทำไมพ่ อพระทยั กด็ ดุ ่าวา่ กล่าวดังพ่อสอนลูก

ชาวบา้ นบางระจัน

ชาวบา้ นบางระจัน ได้รบั ยกยอ่ งใหเ้ ป็นกลมุ่ วีรชนผู้กล้าหาญ และ เสยี สละชีวติ เพอ่ื ปกปอ้ งบา้ นเมือง
และประเทศชาติ เรื่องราวของกลุม่ ผ้กู ลา้ ชาวบา้ นบางระจนั เกดิ ขน้ึ ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาตอนปลาย กอ่ นทจ่ี ะ
เสียกรงุ ศรีอยธุ ยาครัง้ ที่ 2 ใหแ้ กพ่ มา่ กลมุ่ วรี ชน ดงั กล่าวนปี้ ระกอบด้วย อนสุ าวรียว์ รี ชนค่ายบางระจัน อยทู่ ี่
อำเภอคา่ ยบางระจัน จงั หวดั สิงหบ์ รุ ี ประกอบด้วย1) พระอาจารยธ์ รรมโชติ เดิมอยู่วัดเขานางบวช แลว้ มาอยู่
วดั โพธเิ์ ก้าต้น มคี วามรู้ ทางวชิ าอาคม เป็นที่พง่ึ ทางใจแก่ชาวคา่ ยบางระจัน 2) นายแท่น เปน็ ชาวบ้านสบี วั
ทอง ถืออาวุธส้นั ถูกปนื ของพม่าทเี่ ข่า ในการรบ ครง้ั ท่ี 4 เสยี ชวี ติ เมื่อการรบคร้ังสุดทา้ ย 3) นายอิน เปน็
ชาวบ้านสีบวั ทอง 4) นายเมือง เปน็ ชาวบ้านสบี วั ทอง 5) นายโชติ เป็นชาวบ้านสบี วั ทอง ถอื อาวุธส้ัน 34 6)
นายดอก เปน็ ชาวบา้ นกลบั 7) นายทองแกว้ เปน็ ชาวบา้ นโพทะเล 8) นายจัน หนวดเขีย้ ว เกง่ ทางใชด้ าบ
เสียชีวติ ในการรบครงั้ ท่ี 8 9) นายทอง แสงใหญ่ เปน็ ชาวบา้ นบางระจัน 10) นายทองเหมน็ ขีก่ ระบือเขา้ สู้รบ
กับพมา่ ตกในวงลอ้ มถกู พมา่ ตตี าย ในการรบคร้งั ที่ 8 11) ขุนสรรค์ มฝี ีมอื เข้มแข็งมกั ถือปนื เปน็ นจิ แมน่ ปืน

วรี กรรมสำคญั ปี พ.ศ. 2307 พระเจา้ มงั ระกษตั ริยพ์ มา่ ไดย้ กทพั มาตกี รุงศรอี ยธุ ยา โดยได้ยก
กองทัพมา 2 ทาง คือ ทางเมอื งกาญจนบุรแี ละทางเมอื งตาก โดยมีแม่ทพั คือ เนเมียวสหี บดี และมงั มหานรธา
โดยทัพแรกให้เนเมียวสหี บดเี ปน็ แมท่ พั ยกมาตีหวั เมอื งฝา่ ยเหนือของกรุงศรี- อยุธยาแลว้ ให้ยอ้ นกลบั มาตกี รุง
ศรีอยุธยา สว่ นทัพที่ 2 มอบใหม้ งั มหานรธา เปน็ แม่ทพั ยกมาตี เมืองทวายและกาญจนบรุ ี แลว้ ใหย้ กกองทพั มา
สมทบกบั เนเมียวสหี บดเี พื่อลอ้ มกรุงศรอี ยธุ ยา พรอ้ มกนั ทพั ของเนเมียวสหี บดไี ดม้ าตัง้ ค่ายอยทู่ เี่ มืองวิเศษไชย
ชาญ แลว้ ใหท้ หารออก ปล้นสะดมทรัพยส์ มบัตเิ สบียงอาหาร และข่มเหงราษฎรไทย จนชาวเมอื งวิเศษไชย
ชาญ ไม่สามารถอดทนตอ่ การขม่ เหงของพวกพมา่ ได้ กลุ่มชาวบ้านท่ีบางระจนั จึงไดร้ วบรวมชาวบ้าน ตอ่ สกู้ บั
พมา่ โดยได้อัญเชิญพระอาจารย์ธรรมโชติจากสำนักวัดเขานางบวช แขวงเมอื ง สุพรรณบุรี ซง่ึ ชาวบ้านให้ความ
เคารพศรทั ธาให้มาชว่ ยคุม้ ครองและมารว่ มใหก้ ำลังใจ เมอ่ื มี ชาวบา้ นอพยพเข้ามามากขนึ้ จงึ ชว่ ยกันตัง้ คา่ ย
บางระจันขึ้น เพอ่ื ตอ่ สขู้ ัดขวางการรกุ รานของพม่า ค่ายบางระจนั เปน็ คา่ ยที่เขม้ แขง็ พม่าได้พยายามเขา้ ตคี า่ ย
บางระจันถงึ 7ครง้ั แตก่ ็ไม่สำเรจ็ ในท่ีสดุ สกุ ซ้ี งึ่ เป็นพระนายกองของพม่า ไดอ้ าสาปราบชาวบ้านบางระจนั
โดยตง้ั คา่ ยประชดิ คา่ ยบางระจัน แลว้ ใชป้ ืนใหญ่ยงิ เขา้ ไปในคา่ ยแทนการสรู้ บกันกลางแจง้ ทำให้ชาวบา้ น
เสียชีวติ จำนวนมาก ชาวบ้านบางระจนั ไม่มปี นื ใหญ่ยิงตอบโต้ฝ่ายพม่า จงึ มใี บบอกไปทางกรุงศรีอยุธยา ใหส้ ่ง
ปนื ใหญม่ าใหแ้ ต่ทางกรงุ ศรอี ยุธยาไม่กล้าสง่ มาใหเ้ พราะเกรงว่าจะถกู ฝ่ายพม่าดกั ปล้น ระหว่างทาง ชาวบ้านจึง
ช่วยกนั หล่อปืนใหญ่ โดยบรจิ าคของใช้ทุกอย่างที่ทำดว้ ยทองเหลอื ง มาหลอ่ ปนื ไดส้ องกระบอก แตพ่ อทดลอง
นำไปยงิ ปืนก็แตกร้าวจนใชก้ ารไมไ่ ด้ ถึงแม้วา่ ไม่มี ปืนใหญช่ าวบ้านบางระจนั ก็ยงั คงยืนหยดั ตอ่ สกู้ บั พม่าต่อไป
จนกระทั่งวันแรม 2 คา่ เดอื น 8 พ.ศ. 2309 คา่ ยบางระจนั กถ็ ูกพม่าตีแตกและสามารถยึดค่ายไว้ได้หลงั จาก
ท่ียนื หยัดต่อสกู้ บั ข้าศึกมานานถึง 5 เดอื น จากวรี กรรมของชาวบ้านบางระจันทำใหไ้ ดร้ ับการยกย่องวา่ เป็น
วรี กรรมของ คนไทยทมี่ คี ณุ ค่าอย่างยง่ิ ในการเสียสละชีวติ ใหแ้ ก่ชาติบ้านเมอื ง และแสดงให้เหน็ ถงึ ความสามคั คี
และความกลา้ หาญของคนไทยในการต่อสกู้ บั ข้าศกึ และถือเป็นแบบอย่างทดี่ ขี องอนชุ นรนุ่ หลงั 35 ทาง

ราชการจงึ ไดส้ ร้างอนสุ าวรยี ว์ รี ชนคา่ ยบางระจนั เปน็ รปู หล่อวีรชนทเี่ ป็นหัวหน้า ทงั้ 11 คน บรเิ วณหนา้ คา่ ย
บางระจัน อำเภอบางระจัน จงั หวัดสิงหบ์ รุ ีเพ่อื เปน็ อนุสรณ์

ใบความรู้

สงครามยทุ ธหตั ถขี องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ความเป็นมา

สงครามยทุ ธหัตถี ทย่ี กมาเปน็ บทเรียนน้ี เปน็ การท าสงครามยทุ ธหัตถที ่ีเกดิ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2135

ระหว่างสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชแห่งกรงุ ศรอี ยธุ ยา กบั พระมหาอุปราชา แห่งกรุงหงสาวดี ผลของสงคราม
ครั้งนัน้ ปรากฏว่ากรงุ ศรอี ยธุ ยาเป็นฝ่ายชนะถงึ แมจ้ ะมกี ำลงั พลน้อยกวา่ ประวัตสิ งคราม ในปพี .ศ. 2135
พระเจ้านันทบเุ รง โปรดใหพ้ ระมหาอปุ ราชา นำกองทัพทหาร 240,000 คน มาตกี รงุ ศรีอยธุ ยาหมายจะชนะ

ศกึ ในครง้ั นี้ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทรงทราบว่า พมา่ จะยกทพั ใหญม่ าตี จงึ ทรงเตรยี มไพรพ่ ล มกี ำลงั
100,000 คน เดินทางออกจากบ้านป่าโมก ไปสุพรรณบุรขี า้ มน้ำตรงท่าทา้ วอู่ทอง และต้ังค่ายหลวงบรเิ วณ
หนองสาหรา่ ย เช้าวันจันทร์ แรม 2 คำ่ เดือนย่ี ปมี ะโรง พ.ศ. 2135 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช และสมเด็จ

พระเอกาทศรถทรงเครอ่ื งพชิ ยั ยุทธ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงชา้ ง นามวา่ เจ้าพระยาไชยานภุ าพ ส่วน
สมเดจ็ พระเอกาทศรถ ทรงช้างนามว่า เจา้ พระยาปราบไตรจกั ร ช้างทรงของทง้ั สองพระองค์น้ันเปน็ ชา้ งชนะงา
คอื ชา้ งมีงาทีไ่ ดร้ บั การฝึกใหร้ จู้ ักการตอ่ ส้มู าแล้ว หรอื เคยผา่ นสงครามชนช้างชนะช้างตวั อื่นมาแล้ว ซง่ึ เปน็ ช้าง

ทก่ี ำลงั ตกมัน ในระหว่างการรบจงึ วิง่ ไลต่ ามพม่าหลงเข้าไปในแดนพมา่ มีเพียงทหารรักษาพระองค์และจาตุ
รงคบาทเทา่ น้ันที่ติดตาม ไปทัน สงครามยทุ ธหัตถีของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทอดพระเนตรเห็นพระมหาอปุ ราชาทรงพระคชสาร อยู่ในร่มไมก้ ับเหล่า
ทา้ วพระยา จึงทราบไดว้ ่าชา้ งทรงของสองพระองคห์ ลงถลำเข้ามาถึงกลางกองทพั และตกอยใู่ นวงล้อมข้าศึก

แลว้ แต่ด้วยพระปฏภิ าณไหวพริบของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเห็นวา่ เป็นการเสยี เปรยี บขา้ ศึกจงึ ไส
ชา้ งเขา้ ไปใกลแ้ ล้วตรสั ถามด้วยคนุ้ เคยมากอ่ นแต่วัยเยาว์วา่ 70 “พระเจ้าพเี่ ราจะยนื อยใู่ ยในรม่ ไม้เล่า เชญิ
ออกมาทำยทุ ธหัตถีดว้ ยกนั ใหเ้ ปน็ เกียรติยศไวใ้ น แผน่ ดนิ เถิด ภายหน้าไปไม่มพี ระเจา้ แผน่ ดินที่จะได้ยุทธหตั ถี

แล้ว” พระมหาอปุ ราชาได้ยินดังนั้น จึงไสช้างนามวา่ พลายพัทธกอ เขา้ ชนเจ้าพระยาไชยานภุ าพเสียหลกั พระ
มหาอุปราชาทรงฟัน สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชด้วยพระแสงของ้าว แตส่ มเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเบี่ยง
หลบทนั จงึ ฟันถูกพระมาลาหนงั ขาด จากนั้นเจ้าพระยาไชยานภุ าพชนพลายพทั ธกอเสยี หลัก สมเดจ็ พระ

นเรศวรมหาราช ทรงฟนั ด้วยพระแสงของ้าวถกู พระมหาอุปราชาเข้าทีอ่ ังสะขวา สนิ้ พระชนม์อยู่ บนคอช้าง
ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงฟนั เจา้ เมอื งจาปะโรเสยี ชวี ิตเชน่ กนั ทหารพม่าเหน็ ว่า แพ้แน่แลว้ จึงใช้ปืน
ระดมยิงใสส่ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราชไดร้ บั บาดเจบ็ ทันใดนั้น ทพั หลวงไทย ตามมาชว่ ยทนั จึงรบั ทง้ั สอง

พระองคก์ ลบั พระนคร พมา่ จึงยกทพั กลบั กรงุ หงสาวดไี ป นบั แต่นน้ั มา กไ็ มม่ ีกองทัพใดกลา้ ยกทพั มากลำ้ กราย
กรุงศรีอยุธยาเปน็ ระยะเวลาอีกยาวนาน

การเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยา ครง้ั ที่ 2

ความเปน็ มา

ในสมยั ที่พระเจ้าเอกทศั น์ปกครองเมืองนน้ั บา้ นเมอื งมีความอยเู่ ยน็ เป็นสุข การคา้ ขายเจรญิ กา้ วหน้า
แตบ่ ้างกบ็ นั ทกึ ไว้วา่ ในสมัยพระเจา้ เอกทศั น์ ทรงท าให้เมอื งถดถอย พระชายามีอ านาจเทา่ กับพระเจ้าแผ่นดนิ

จากเดิมผทู้ ี่กระทำความผดิ ร้ายแรงจะถกู ประหารชีวิต แต่กลับเปล่ียนมาเป็นการริบทรัพยก์ ลายเป็นของพระ
ชายา จนทำให้เช้ือพระวงศ์หลายคน ไม่พอใจแล้วเริ่มตั้งตนเป็นกบฏ โดยมีความหวงั ว่าตนจะได้เปน็ ใหญ่ซึ่งก็
ได้รบั การสนบั สนุนจาก ขนุ นางและชาวบา้ น ทำใหบ้ า้ นเมอื งเริม่ มกี ารแบง่ เป็นฝกั เปน็ ฝา่ ย เพราะเหตนุ ี้เองท่ที ำ

ใหก้ รงุ ศรี อยธุ ยาเรม่ิ มคี วามตกตำ่ เส่ือมถอยลงไปทกุ วัน เม่ือพระเจา้ อลองพญาแห่งเมอื งพมา่ ไดท้ ราบถึงปญั หา
ในกรุงศรอี ยุธยา พระเจ้าอลองพญาจึงได้ประกาศสงครามกับเมอื งอยุธยา เพอื่ ทจ่ี ะได้เมอื งอยุธยาเป็นเมอื งขึ้น

แต่ในระหวา่ งการทำศกึ พระเจ้าอลองพญากไ็ ดส้ ้ินพระชนม์ลงและพ่ายแพ้กลับไป หลังจากนั้น ฝง่ั อยุธยาคดิ ว่า
ได้โอกาส เจ้าเมืองจึงตอบโต้โดยการส่งทูตไปยั่วยุให้ประเทศราชต่าง ๆ ของพม่า เกิดการแข็งข้อ เมื่อพระ
เจา้ มงั ระกษตั รยิ ์องค์ใหมข่ องพม่าได้ทราบถึงเหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ จึงตดั สนิ ใจส่งเนเมียวสหี บดีและมงั มหานรธา

ไปปราบเมืองข้ึนท่ีแข็งข้อให้หมด 72 ทัพของเนเมียวสีหบดีก็ไดเ้ ข้าตีในแคว้นล้านชา้ ง เชียงตุงและเชียงใหม่
จึงได้รับชัยชนะด้วยจำนวนคน 20,000 คน สว่ นทัพของมังมหานรธาก็ได้เข้าตีเมอื งทวาย และ ทัพของพระ
เจ้ามังระกเ็ ข้าตีท่เี มอื งมณปี รุ ะ หลงั จากท่ีได้ชัยชนะแลว้ ทัพของพระเจา้ มังระ ก็ไปรวมตัวกับทัพของมงั มหานร

ธารวมเป็นกำลังพลกว่า 30,000 คน หลังจากนั้นพระเจ้ามังระ จึงได้ทำการประกาศศึกกับเมืองอยุธยา
เพราะเพียงแค่ตอ้ งการทำลายอทิ ธพิ ลของเมอื งอยุธยา ให้ส้ิน เพือ่ จะได้ไม่มใี ครมายุยงการกอ่ กบฏอีก โดยพระ
เจ้ามงั ระได้ประกาศออกไปว่าหากเมือง ใดท่ียอมเขา้ ร่วมแต่โดยดี โดยส่งกำลังพลส่งเสบียงมาเขา้ ร่วมดว้ ยจะ

เว้นไว้ แต่หากหัวเมืองใด ขัดขืนก็จะถูกเผาให้ส้ินในไม่ชา้ พระเจ้าเอกทัศน์กท็ ราบถึงข่าวแล้วได้รวมกำลังพล
กว่า 60,000 คน และวาง กำลังพลไว้ทีเ่ มืองกาญจนบรุ ี เมืองสโุ ขทัย เมืองพิษณโุ ลก และได้เตรยี มกองทัพไว้
ตงั้ รบั ท่ี กรุงศรีอยุธยา ส่วนในฝั่งของพมา่ ก็ไดเ้ รมิ่ การโจมตโี ดยแบ่งการโจมตขี องทพั ของเนเมียวสีหบดี โดยเร่มิ

ตีเมืองจากเมอื งลำปาง กำแพงเพชร สโุ ขทัย พิษณุโลก จนไปถงึ เมืองอยธุ ยา ส่วนทาง ฝา่ ยทัพของมังมหานรธา
กไ็ ด้แบ่งการโจมตเี ป็น 3 ทาง ในทางแรกเป็นการโจมตีจากเมอื งเมาะตามะ แลว้ ตามด้วยเมอื งสพุ รรณบรุ ี ทาง
ทีส่ องโจมตโี ดยเรมิ่ จากเมอื งมะริด เมอื งเพชรบุรี เมอื งชมุ พร นนทบุรี ในทางทีเ่ ป็นการโจมตีเรมิ่ จากทวายไปยงั

เมืองกาญจนบุรแี ละทง้ั 3 ทัพก็ไปรวมตัวกัน ที่กรุงศรอี ยุธยา และสาเหตุที่ทพั ของเนเมียวสีหบดแี ละทัพของมงั
มหานรธาสามารถเขา้ ไปถึง กรงุ ศรีอยุธยาได้ง่ายกเ็ พราะวา่ การต้านทานของแต่ละเมอื งนน้ั มีการต้านทานเพียง
เล็กน้อย ที่เป็นเช่นน้ี ก็เน่ืองมาจากความกลัวของหัวเมืองจากการโจมตีของพม่า พระเจ้าเอกทัศน์จึงได้

ตดั สินใจให้สร้างค่ายล้อมเมอื งเอาไว้ท้งั 8 แห่ง ซ่ึงในวันท่ี 14 กันยายน พ.ศ. 2309 พม่าได้รกุ คืบไปอยูใ่ กล้
กับกำแพงเมอื งและได้สรา้ งค่ายกวา่ 27 ค่าย ลอ้ มรอบกรงุ ศรีอยธุ ยาเอาไว้ เม่ือพวกขนุ นางรกู้ พ็ ากันกันหนเี อา
ตัวรอด เพราะคิดว่าอย่างไร กรุงศรีอยุธยาก็ต้องผ่ายแพ้ให้กับพมา่ แน่นอน ระหว่างท่ีกองทัพพมา่ ล้อมกรงุ ศรี

อยุธยาอยนู่ ้ัน พระยาตาก (สิน) เหน็ ว่า ไมอ่ าจจะต่อส้พู ม่าได้ จึงรวบรวมสมคั รพรรคพวกประมาณ 500 คน ตี
ฝ่าวงล้อมของกองทัพพม่า ออกไปทางทิศตะวันออก และไปตั้งอยู่ท่ีเมืองจันทบุรี เพ่ือหาฐานที่ม่ันวางแผน
กลับมาตีกองทัพ พม่าต่อไป ในที่สุดฝ่ายพม่าที่ต้ังทัพล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นั้นก็สามารถตีกรุงศรีอยุธยาได้

สำเร็จ เป็นคร้งั ท่ี 2 ในปี พ.ศ. 2310 จากเหตุการณ์ในคร้ังน้ี ท าให้บ้านเมืองสูญเสียครง้ั ยิ่งใหญ่ เพราะพม่า
ได้ ท าลายบา้ นเรอื น และวดั ต่าง ๆ ดว้ ยการจุดไฟเผา รวมทัง้ กวาดตอ้ นผคู้ นไปเปน็ เชลย และ นำทรัพย์สมบัติ
ต่าง ๆ กลบั ไปเปน็ จำนวนมาก สาเหตุของสงคราม พระเจ้ามงั ระ สืบราชย์ต่อจากพระเจา้ มังลอก พระเชษฐา

ใน พ.ศ. 2306 และ อาจนับได้ว่า พระเจ้ามังระมีพระราชดำรพิ ิชิตดินแดนอยุธยานับแต่น้ัน ในคราวที่พระ
เจ้าอลองพญา 73 เสด็จมาบุกครองอาณาจักรอยุธยานั้น พระเจ้ามังระก็ทรงรว่ มทพั มาด้วย หลังเสวยราชย์
แล้ว ด้วยความท่ีทรงมีประสบการณ์ในการสู้รบครั้งก่อน พระเจ้ามังระจึงทรงทราบจุดอ่อนของอาณาจักร

อยุธยาพอสมควร และตระเตรียมงานสงครามไว้เป็นอันดี ในรัชกาลพระเจ้ามังระ มีการปราบกบฏในแว่น
แคว้นตา่ ง ๆ และพระองค์ ก็ทรงเหน็ ความจำเปน็ ต้องลดอำนาจของกรุงศรีอยุธยาลง ถงึ ขนาดตอ้ งใหแ้ ตกสลาย
หรือ ออ่ นแอไป เพอ่ื มิให้เปน็ ทพ่ี ึ่งของเหลา่ หัวเมอื งทคี่ ดิ ตตี ัวออกหา่ งไดอ้ กี พระองค์ไมม่ ีพระราชประสงคใ์ นอนั

ที่จะขยายอาณาเขตอย่างเคย ในเวลาไล่เล่ียกัน หัวเมืองล้านนาและหัวเมืองทวาย ก็กระด้างกระเด่ืองต่อ
อาณาจักรพมา่ พระเจ้ามังระจงึ ตอ้ งทรงส่งร้ีพลไปปราบกบฏเด๋ียวน้นั ฝา่ ยพม่าบันทึกว่าอยุธยาได้สง่ กำลังมา
หนุนกบฏลา้ นนานี้ด้วย แตพ่ งศาวดารไทยระบวุ า่ ทหาร อยุธยาไม่ได้รว่ มรบ เพราะพมา่ ปราบปรามกบฏเสร็จ

ก่อนกองทัพอยุธยาจะไปถงึ นอกจากน้ี คาดวา่ มสี าเหตุอ่ืน ๆ อันนำไปสู่การสงครามกับอยุธยาด้วยเป็นต้นว่า
อยุธยาไม่ส่งหยุ ตองจา ท่ีเปน็ ผ้นู ำกบฏมอญ คืนพม่าตามท่พี มา่ ร้องขอ (ตามความเข้าใจของ ชาวกรุงเก่าพระ

เจา้ มังระ หมายพระทยั จะเปน็ ใหญ่เสมอพระเจา้ บุเรงนอง หลังพระเจ้าอลองพญา รกุ รานในคร้ังกอ่ น มกี ารตก
ลงว่าฝ่ายอยุธยาจะถวายราชบรรณาการ แต่กลับบิดพล้ิว (ปรากฏใน The Description of the Burmese
Empire) หรอื ไมก่ พ็ ระเจา้ มังระ มีพระดำริว่า อาณาจักร อยุธยาอ่อนแอ จึงสบโอกาสทจี่ ะเขา้ ชว่ งชิงเอาทรพั ย์

ศฤงคาร และจะไดน้ ำไปใช้เตรยี มตัวรับศึก กับจีนดว้ ย

ใบงาน

ให้นักศึกษาสรปุ เหตกุ ารณส์ ำคัญตอ่ ไปนี้
กล่มุ ที่ 1 สงครามชา้ งเผือก
กลมุ่ ที่ 2 การเสียกรงุ ศรอี ยุธยา ครง้ั ท่ี 1
กลุ่มที่ 3 สงครามยทุ ธหัตถขี องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
กลุ่มที่ 4 การเสยี กรงุ ศรอี ยุธยา ครง้ั ที่ 2
กลุ่มท่ี 5 การกอบกเู้ อกราชของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

รายวิชา ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย รหัสวชิ า สค ๒๒๐๒๐

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกล่มุ คร้ังท่ี ๑๙ ( จำนวน ๖ ชวั่ โมง )
เรอ่ื ง ความสมั พนั ธ์กับต่างประเทศในสมัยกรงุ ศรีอยุธยาและกรงุ ธนบุรี

วันที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชี้วดั

1.อธบิ ายความสมั พันธ์กบั ต่างประเทศ ในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา และสมัยกรุงธนบุรี

2. วิเคราะห์ความสมั พันธ์กับต่างประเทศ ในทวปี เอเชยี และทวีปยุโรปทส่ี ่งผลตอ่ ความม่นั คง
ของประเทศ

1) ดา้ นเศรษฐกิจ การค้า

2) ดา้ นการเมอื งการปกครอง
3) ดา้ นการทตู
4) ด้านศาสนา และวฒั นธรรม

5) ด้านการศกึ ษา
เนอ้ื หา

1. ความสมั พนั ธก์ ับตา่ งประเทศในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา

2. ความสมั พันธก์ ับต่างประเทศในสมยั กรุงธนบรุ ี
กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้

ข้นั ท่ี ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (Orientation :O)

๑. ครนู ำเขา้ ส่บู ทเรยี นด้วยการสนทนาเกยี่ วกับความสมั พันธ์ของประเทศไทยกบั
ต่างประเทศในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี

๒. ผูเ้ รยี นรว่ มกันแลกเปลย่ี นเรียนรู้ความสมั พนั ธก์ บั ตา่ งประเทศในสมยั กรงุ ศรี

อยุธยาและกรงุ ธนบรุ เี พอ่ื กำหนดสภาพปัญหาและความตอ้ งการในการในการเรยี นรู้
ขั้นที่ ๒ แสวงหาขอ้ มูลและการจัดการเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
1. ครูอธบิ ายเนอ้ื หาเกยี่ วกบั ความสมั พันธก์ ับตา่ งประเทศในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยาและ

กรงุ ธนบรุ ีตามประเดน็ เน้อื หาการเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้ พรอ้ มยกตัวอย่างเหตกุ ารณส์ ำคัญๆ
2. ผเู้ รียนศกึ ษาจากใบความรู้ หนังสือ การดำเนินการเกยี่ วกับความสัมพันธ์กับ

ตา่ งประเทศในสมัยกรุงศรอี ยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี

ด้านตา่ งๆ 3. ผเู้ รยี นร่วมกนั วเิ คราะห์ ร่วมกนั อภปิ รายและสรปุ ประเดน็ สำคญั ของการเรยี นรู้
1) ดา้ นเศรษฐกจิ การค้า

2) ด้านการเมอื งการปกครอง
3) ด้านการทตู

4) ดา้ นศาสนา และวัฒนธรรม

5) ดา้ นการศกึ ษา

4. ผเู้ รยี นไดว้ างแผนการเรยี นรู้ด้วยตนเองเพอ่ื ตอ่ ยอดองค์ความรู้

ข้นั ท่ี ๓ การปฏิบัตแิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)
๑. ผ้เู รยี นทำใบงานรว่ มกันและสรปุ องคค์ วามรแู้ ละบนั ทึกผลการเรียนรูท้ ่ไี ดจ้ ากการ

เรียนรู้
๒. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเพ่ิมเตมิ หลงั บทเรียน
๓. ผูเ้ รยี นนำความรทู้ ่ไี ด้จากการเรียนรูม้ าปรบั ใช้เป็นในชีวิตประจำวนั
๔. มอบหมายงาน กรต.คร้งั ต่อไป

ขั้นที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evaluation : E)
๑.ครผู เู้ รียนมีส่วนร่วม/แบบฝกึ หดั /ใบงาน
๒. ผเู้ รยี นสรปุ องคค์ วามรู้ เพอื่ ตอ่ ยอดในการพบกลมุ่ ครงั้ ตอ่ ไป

ส่อื การเรียนรู้
๑. หนังสอื เรียนรายวิชาประวตั ิสาสตรช์ าติไทย รหสั วิชา สค 2๒๐20
๒. ใบความรู้

๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. ETV

๖. สื่อ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สังเกตุการมสี ่วนรว่ ม
๒. ใบงาน

๓. แบบทดสอบ

แหล่งเรียนรู้

1 กศน.ตำบล

2 หอ้ งสมุดประชาชน
3 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ
4 แหลง่ เรียนในตำบล

ตวั ชว้ี ดั การเรียนรู้

1 รอ้ ยละ 80 นักศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ
พัฒนาอาชพี เพอื่ ความเขม้ แข็ง

2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเป็น และคณุ คา่ ของการวเิ คราะห์ศักยภาพของ

ธุรกิจ
3 รอ้ ยละ 80 นักศึกษาสามารถวิเคราะหต์ ำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชอื่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้
เรอ่ื งท่ี 1
ความสมั พนั ธ์กบั ต่างประเทศในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา

ความสมั พันธก์ ับต่างประเทศในสมยั กรุงศรีอยุธยาขึ้นอยู่กับนโยบาย ด้านเศรษฐกจิ และการเมอื ง การ
ปกครอง การทูต ศาสนา วฒั นธรรม และด้านการศึกษา แบ่งเป็นด้าน ๆ ได้ดังนี้

1) ด้านเศรษฐกิจ กรุงศรีอยุธยาต้ังอยู่ในทำเลที่เป็นศูนย์กลางของ รัฐต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และอยู่ใกล้ทะเลท่ีเป็นเสน้ ทางการค้าระหว่างอนิ เดีย และจีน กรงุ ศรีอยุธยาจึงมีการตดิ ต่อ
คา้ ขายกับรัฐอน่ื ๆ เช่น จีน อินเดีย ชาติตา่ ง ๆ ทางด้านตะวันตก และผลักดันนโยบายการเมืองในการขยาย
อำนาจไปยังรัฐใกล้เคียง เพราะต้องการสินค้าประเภท ของป่า บรรณาการ และควบคุมเมืองท่าอื่น ๆ เช่น
มะริด ทวาย ตะนาวศรี หัวเมืองมลายู ที่เปน็ เมืองทา่ ค้าขาย โดยมีจุดมุง่ หมายเพอ่ื ความม่ันคงของอาณาจกั ร
เป็นสำคัญ

2) ด้านการเมือง อาณาจักรกรุงศรีอยุธยาขยายอิทธิพลเพ่ือความ มั่นคงเป็นปึกแผ่น โดยการขยาย
อำนาจไปยงั สโุ ขทยั นครศรีธรรมราช และเมืองอ่ืน ๆ ทำให้ อาณาจักรเขม้ แข็งข้ึน แล้วขยายอำนาจสู่ลา้ นนา
ทางเหนือ เขมรทางตะวันออก มอญทาง ตะวันตก และหัวเมืองมลายูทางใต้ เพ่ือแสดงความยิ่งใหญ่และเป็น
ศูนย์กลางอำนาจทาง การเมอื งในภมู ภิ าคนี้

3) ด้านการทูต กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์ด้านการทูตทั้งประเทศ ในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
ไดแ้ ก่ (3.1) ญีป่ ุ่น ความสัมพันธ์ทางการทตู ระหว่างไทยกับญี่ป่นุ เจริญสูงสุดในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
ระหว่าง ปี พ.ศ. 2153 - ปี พ.ศ. 2171 ในสมัยนี้ กรุงศรีอยุธยาได้ส่งคณะทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับ
ประเทศญ่ีปุ่น จำนวน 4 คร้ัง คือ ในปี พ.ศ. 2159 พ.ศ. 2164 พ.ศ. 2166 และ พ.ศ. 2168 (3.2)
อหิ รา่ น ชาวอิหร่านหรือชาวอาหรบั ได้มาติดตอ่ คา้ ขายกับ กรงุ ศรีอยธุ ยาและเข้ามารบั ราชการในราชสำนกั ไทย
ตงั้ แต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม อิหรา่ น ไดส้ ่งทตู มาเจริญสมั พันธไมตรีกับกรงุ ศรีอยุธยา แต่ไมค่ ่อยราบร่ืน
เพราะถูกออกญาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) กีดกัน (3.3)ลังกา กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์กับ
ลังกา เพราะลังกาส่งทูต มาขอพระสงฆ์จากไทย เพ่ือไปฟื้นฟพู ุทธศาสนาในลังกา ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว
บรมโกศ ลังกา จึงเรียกพระสงฆ์ที่ไปปฏิบัติธรรมท่ลี ังกาวา่ ลัทธิสยามวงศ์ 91 (3.4) โปรตุเกส ส่งทูตมาเจรา
จาทำสนธิสัญญาสัมพันธไมตรีกับ กรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2059 ตรงกับสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ท
าให้โปรตเุ กสได้สิทธิดา้ น การคา้ การตัง้ ถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา การทำสัญญาดงั กลา่ ว ทำให้การค้าระหว่าง
กรุงศรีอยุธยา กับโปรตุเกส เฟื่องฟูขึ้น จนกรุงศรีอยุธยากลายเป็นแหล่งสินค้าสำคัญสำหรับพ่อค้าโปรตุเกส
(3.5)ฮอลนั ดา ปี พ.ศ. 2146 ฮอลันดาได้เข้ามาตงั้ สถานกี ารคา้ ทีป่ ัตตานซี งึ่ เปน็ เมอื งประเทศราชของกรงุ ศรี
อยธุ ยาในขณะนนั้ ฮอลันดาส่งทตู เข้ามาติดตอ่ กับ กรงุ ศรอี ยธุ ยาในสมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เพ่ือกอ่ ต้ัง
สถานกี ารค้า แต่การคา้ และ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างกรงุ ศรีอยธุ ยากบั ฮอลันดาในระยะหลังไม่ค่อยราบร่ืนนัก ท
าให้ความสัมพันธ์ ระหว่างกรงุ ศรอี ยุธยากบั ฮอลันดาเส่อื มลงตามลำดับ จนฮอลันดาตอ้ งปดิ สถานีการค้าไปใน

ที่สุด (3.6)ฝร่ังเศส สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต้องการให้ฝร่ังเศส เป็นพันธมิตรกับกรุงศรีอยุธยา เพื่อ

ถ่วงดุลอ านาจของฮอลันดา ซ่ึงมีทา่ ทคี ุกคามไทย จึงมกี ารติดต่อ ทางการคา้ และทางการทตู พอ่ ค้าฝรง่ั เศสได้

เข้ามาต้ังสถานีการค้าในกรุงศรีอยุธยาเป็นคร้ังแรก ฝรั่งเศสได้จัดส่งคณะทูตชุดใหญ่ ซ่ึงมีเชอวาเลีย เดอ โซ

มองต์ เป็นหัวหน้าเดินทางมาเยือน กรุงศรีอยุธยา ต่อมาภายหลังกรุงศรีอยุธยาได้ส่งออกพระวิสุทธสุนทร

(โกษาปาน) ราชทูตไทยไป เจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศส ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ท่ีพระราชวังแวร์ซาย
(3.7)สเปน ได้มที ูตของสเปนเดนิ ทางมาเพือ่ ทำสญั ญาสัมพันธไมตรี และการค้าโดยฝ่ายกรุงศรอี ยุธยาอนุญาต
ให้สเปนต้งั สถานกี ารค้าบนฝ่งั แมน่ ้ำเจา้ พระยา

4) ด้านการศึกษา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงสนพระทัยในการ ทำนุบำรุงทางด้านการศึกษา
พระองค์ได้จัดส่งบุตรออกไปศึกษา ณ ประเทศฝร่งั เศส และนำเอา วิชาการต่าง ๆ มาเผยแพร่และพัฒนาใน
ประเทศไทย มกี ารฝกึ ทางด้านการทหารแบบยโุ รปการ อกั ษรศาสตรแ์ ละวรรณคดี

5) ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ศาสนาและวัฒนธรรมสมัยอยุธยา ต่างชาติท่ีรับเข้ามามากท่ีสุดคือ
วัฒนธรรมอินเดีย แต่มิได้รับโดยตรง รับต่อจากขอม มอญ และ จากพราหมณ์ท่ีสืบเช้ือสายต่อ ๆ กันมา
ปัจจุบันท่ีเห็นได้เด่นชัด คือ วัฒนธรรมเก่ียวกับพระพุทธศาสนา นอกจากน้ัน อยุธยายังรับวัฒนธรรมจาก
อาณาจักรไทยอ่นื ๆ เชน่ รบั เอารูปแบบตัวอักษรและ การเขียนหนงั สอื จากสโุ ขทัย กล่าวโดยสรปุ อาณาจักร
กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับรัฐ ที่อยู่ใกล้เคียงและกับรัฐที่อยู่ห่างไกลออกไปท้ังในทวีป
เอเชียและทวีปยุโรป ส่วนใหญ่ก็เป็นไป เพ่ือผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการค้า ความม่ันคงของ
ราชอาณาจักร และวฒั นธรรม นโยบายส่วนใหญม่ ีลกั ษณะของการสร้างความเป็นมติ รไมตรี การถ่วงดุลอำนาจ
และการ เผชิญหน้าทางการทหาร อย่างไรก็ตาม กรุงศรีอยุธยาต้องเผชิญปัญหาการถูกรุกรานจากรัฐที่อยู่
ใกล้เคียงกับกรุงศรีอยุธยา ตลอดแนวพระราชอาณาเขตทางด้านตะวันตก ดังน้ัน กรุงศรีอยุธยา จึงต้องใช้
นโยบายการเผชิญหน้าทางการทหาร เพอ่ื ป้องกันราชอาณาจกั รใหพ้ ้นจากการคุกคาม 92 มากกว่าที่จะเข้าไป
รุกราน ส่วนความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก เน่อื งจากมีมหาอำนาจ ตะวันตกหลายประเทศต้องการติดต่อ
กบั กรงุ ศรีอยุธยา กรุงศรอี ยธุ ยาจงึ สามารถใช้นโยบายการ ถ่วงดุลอำนาจอยา่ งไดผ้ ลพอสมควร แต่บางคร้ังเม่ือ
การถ่วงดุลอำนาจไมไ่ ดผ้ ล กรุงศรีอยุธยา ก็ต้องอาศัยการปอ้ งกนั การคุกคามจากมหาอำนาจตะวันตกก่อนท่ี
สถานการณ์รา้ ยแรงจะเกิดข้ึน

เร่อื งที่ 2

ความสมั พันธก์ ับต่างประเทศในสมัยกรงุ ธนบุรี

ความสัมพนั ธก์ บั ตา่ งประเทศในสมัยกรุงธนบรุ ี อาณาจกั รกรงุ ธนบรุ แี มจ้ ะดำรงอยไู่ ด้เพียง 15 ปี แต่
กรงุ ธนบรุ ีก็ไดม้ กี ารพฒั นา ทางดา้ นความสมั พนั ธ์กับต่างประเทศอย่างรวดเร็ว ความสมั พันธก์ บั ต่างประเทศใน
สมัย กรงุ ธนบรุ ี มลี กั ษณะสำคัญ 2 ประการ คอื

1) การป้องกันประเทศจากการรุกรานของตา่ งชาติ

2) การแผข่ ยายอำนาจไปยงั อาณาจกั รข้างเคียง เปน็ ลกั ษณะการเผชญิ หน้าทางการทหาร เพ่อื
เสริมสร้างความมั่นคงแกบ่ า้ นเมอื ง ทง้ั นเี้ พอ่ื ประโยชนท์ างดา้ นความมั่นคงและความ ปลอดภัยจากการรุกราน
ของข้าศกึ อกี ทั้งเพ่อื ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการค้าของ อาณาจักรธนบรุ ี ลกั ษณะความสัมพันธ์กบั
ต่างชาตสิ มัยกรงุ ธนบรุ ีเป็นความสมั พันธท์ ี่เกดิ ขน้ึ ในระยะสนั้ ๆ เพียง 15 ปี ไดแ้ ก่ ความสัมพนั ธก์ ับรฐั เพ่ือน
บา้ น ความสมั พันธก์ บั ประเทศ ในทวปี เอเชีย และความสัมพนั ธก์ ับประเทศในทวีปยโุ รป

1. ความสมั พันธก์ บั รฐั เพ่อื นบ้าน

1.1 ความสัมพนั ธก์ บั พม่า ความสมั พันธร์ ะหว่างไทยกบั พมา่ ในสมยั กรงุ ธนบุรี จะเปน็ ไปในรูปของ
ความขดั แย้ง การทำสงคราม โดยไทยเป็นฝ่ายตงั้ รบั การรุกรานของพม่า หลังจากไดร้ บั เอกราชต้อง ทำสงคราม
กบั พมา่ ถงึ 10 ครงั้ ส่วนใหญ่พม่าเปน็ ฝ่ายปราชัย คร้ังสำคญั ท่สี ุด คอื ศกึ อะแซหวนุ่ ก้ี ตีเมอื งเหนือ ในปี พ.ศ.
2318 ครงั้ นัน้ เจา้ พระยาจกั รี (รชั กาลท่ี 1) และเจา้ พระยาสรุ สีห์ สองพีน่ ้อง ไดร้ ว่ มกนั ปอ้ งกันเมืองพษิ ณโุ ลก
อย่างสดุ ความสามารถ แต่พม่ามกี ำลังไพรพ่ ลเหนือกวา่ จงึ ตหี กั เอาเมอื งได้ ความขัดแย้งระหว่างไทยกบั พม่า
เกดิ ขนึ้ เกือบตลอดรชั กาล ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี และเปน็ บ่อเกดิ ของสงคราม ดงั น้ี

ครั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2310เปน็ การรบทค่ี า่ ยโพธ์สิ ามต้น กอ่ นหนา้ ทีจ่ ะสถาปนา กรงุ ธนบรุ ีไทยเป็นฝา่ ย
ชนะ เปน็ การกอบกเู้ อกราชของพระเจา้ ตากสินมหาราช 93

คร้งั ที่ 2 ปี พ.ศ. 2310 เปน็ การรบกนั ท่บี างกุ้ง เขตแดนระหว่างเมอื ง สมทุ รสงครามกบั ราชบรุ ไี ทย
เป็นฝ่ายชนะ

ครงั้ ท่ี 3 ปพี .ศ. 2313เป็นการรบเม่อื พมา่ ตเี มืองสวรรคโลกไทยสามารถตี กองทัพพมา่ แตกพา่ ยหนี
ไป

ครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2313 เปน็ การรบเมื่อครง้ั สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช ยกทพั ไปตนี ครเชยี งใหม่
คร้งั แรก แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่องจากขาดเสบียง

ครง้ั ท่ี 5 ปี พ.ศ. 2315เปน็ การรบเมอ่ื พมา่ ยกทัพมาตเี มืองพิชยั ในคร้ังแรก โปสพุ ลา แมท่ พั พมา่ ยก
ทัพไปชว่ ยเมอื งเวยี งจันทน์รบกบั หลวงพระบาง ขากลบั แวะตีเมอื งพชิ ัย แต่พม่ากลบั ถกู ไทยตแี ตกพา่ ยไป

ครั้งที่ 6 ปพี .ศ. 2316เปน็ การรบเมอ่ื พม่ายกทพั มาตเี มืองพชิ ยั เป็นคร้ังที่ 2 แตก่ องทพั พม่าตีไม่
สำเร็จ กองทพั ไทยตที พั พมา่ แตกพ่ายไปในการรบครงั้ น้พี ระยาพชิ ัย ได้ตอ่ สู้ จนได้วรี กรรม เป็นทรี่ จู้ ักกนั ท่ัวไป
ในนาม “พระยาพิชยั ดาบหัก”

ครั้งที่ 7 ปี พ.ศ. 2317เป็นการรบกับพมา่ เมอ่ื ไทยยกทพั ไปตเี มืองเชยี งใหม่ ครง้ั ที่ 2 ปรากฏว่า
กองทพั ไทยชนะ ยึดนครเชยี งใหม่กลบั คนื จากพม่าได้ เพราะชาวลา้ นนาออกมา สวามภิ ักดิ์กบั ไทยสมเด็จพระ
เจา้ ตากสินมหาราช ทรงแต่งตั้งใหพ้ ระยาจา่ บา้ น เปน็ พระยาวิเชียรปราการ ปกครองนครเชียงใหม่ พระยากา
วิละ ซ่งึ เปน็ ตน้ ราชวงศก์ าวิละ ปกครองนครลำปาง และ พระยาลำพูน เปน็ พระยาวยั วงศา ปกครองเมอื ง
ลำพนู การรบในครงั้ นี้ไดเ้ มอื งเชียงใหม่ ลำปาง ลำพนู และน่าน กลบั มาอยู่ในราชอาณาจกั รไทย คร้งั ที่ 8 ปี
พ.ศ. 2318 เปน็ การรบกบั พมา่ ทบ่ี างแกว้ ราชบรุ ีในขณะ เดินทพั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ตรัสวา่
“อยา่ ให้ผใู้ ดแวะบา้ นเรอื นเดด็ ขาด”แตพ่ ระยาโยธา ขดั รับสง่ั แวะเขา้ บ้าน เม่ือพระองค์ทรงทราบจึงพโิ รธ ทรง
ตัดศีรษะพระยาโยธาดว้ ยพระหัตถ์ ของพระองค์ และนำศรี ษะไปเสยี บประจานทป่ี ้อมวชิ ยั ประสทิ ธิ์ในการรบ
ครง้ั น้กี องทพั พม่าถูก กองทพั ไทยตีแตกพา่ ยกลับไป

ครั้งที่ 9 ปี พ.ศ. 2319 เปน็ การรบกบั พม่าคร้งั สำคัญ เพราะการ ทำสงครามครัง้ นศ้ี กึ ใหญก่ ว่าทกุ
ครง้ั ในสมยั กรุงธนบุรี การรบครงั้ นีก้ องทพั พม่ามแี ม่ทัพ คอื อะแซหวุน่ กเ้ี ป็นผูน้ ำท่เี ชยี่ วชาญศึก ยกทัพมาตหี ัว
เมืองทางเหนอื ของไทย ฝา่ ยกรงุ ธนบรุ มี ี แมท่ พั หนา้ ทส่ี ำคญั คอื เจา้ พระยาจักรี (ทองด้วง) (ตอ่ มา คือ
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช) และเจ้าพระยาสรุ สีห์พษิ ณวาธิราช (บุญมา) ในการรบครงั้ น้ี
พม่ายกพลมา 30,000 คน เข้าล้อมเมอื งพษิ ณโุ ลก อกี 5,000 คน ล้อมเมืองสโุ ขทัย สว่ นเมอื งพษิ ณุโลก มี
พล ประมาณ 10,000 คน เทา่ นนั้ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงยกทพั ไปช่วยรบหลายครงั้ แต่พม่าไม่
สามารถยึดเมืองพิษณุโลกได้ ตอ้ งยกทพั กลบั ไป

ครัง้ ที่ 10 ปี พ.ศ. 2319 เป็นการรบเมื่อพมา่ ยกทัพมาตเี มอื งเชยี งใหม่ พระเจา้ จิงกจู า โปรดใหเ้ กณฑ์
ทัพพม่า มอญ 6,000 คน ยกมาตเี มืองเชียงใหม่ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2319 94 พระยาวิเชยี รปราการได้พจิ ารณา
เหน็ วา่ นครเชียงใหม่ไมม่ ีพลมากมายขนาดทีจ่ ะปอ้ งกนั เมืองได้ จงึ ใหป้ ระชาชนพลเรือนอพยพลงมาอยทู่ ่ีเมอื ง
สวรรคโลก สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสรุ สหี ค์ ุมกองทพั เมอื งเหนอื ข้ึนไปสมทบ
กองกำลังพระยากาวลิ ะ เจ้าเมือง นครลำปาง ยกไปตเี มืองเชียงใหมค่ นื สำเรจ็ และทรงปลอ่ ยใหน้ ครเชยี งใหม่
เป็นเมอื งรา้ งถึง 15 ปี จนถงึ สมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทรจ์ ึงได้ฟน้ื ฟขู ้ึนอกี ครั้ง

ตลอดเวลาตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2310 -2319 อาณาจกั รธนบรุ ตี ้องทำสงคราม เพ่อื ปกป้องอาณาจกั รไทย
ใหพ้ ้นจากการคกุ คามของกองทพั พมา่ โดยทก่ี องทพั พมา่ ไมส่ ามารถ ยึดครองเอาดินแดนของกรงุ ธนบุรไี ด้ จงึ
นบั ว่าอำนาจทางการทหารและกองทพั ไทยมีความเขม้ แขง็ จนพม่าไมอ่ าจเอาชนะไทยได้

1.2 ความสัมพันธ์กับกัมพูชา กัมพูชาเป็นเมืองข้ึนของไทยมาตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา หลงั กรุงศรี
อยุธยาเสียกรงุ ให้แกพ่ ม่าในปี พ.ศ. 2310 กัมพูชากต็ ้งั ตนเป็นอิสระ จากไทย แตค่ ร้ันเวลาล่วงมา 2 ปี สมเดจ็
พระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้ยกกองทัพไปตีเมือง เสียมราฐ และพระตะบอง ได้ทั้ง 2 เมือง สมเด็จพระ
นารายณ์รามาธิบดีกษัตริย์กัมพูชาใน ขณะนั้นส่งกองทัพกัมพูชาโจมตีเมืองตราด เมืองจันทบุรี แต่ไม่สำเร็จ
เพราะถูกกองทัพจันทบุรี ตแี ตกพ่ายไปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จงึ ให้ยกทัพไปตีกัมพูชา การรบครั้งนี้
ไทยจงึ ได้ เมืองบนั ทายมาศ จากนัน้ จงึ เตรียมการเข้าโจมตีเมอื งพนมเปญ อกี ทงั้ ให้พระยาจกั รยี กทัพไปตี เมือง
พระตะบอง เมืองโพธิสตั ว์ เมืองบริบูรณ์ และเมืองบันทายเพชร สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดี เห็นวา่ สู้ไม่ได้
จึงทิ้งเมืองบันทายเพชรหนีไปขอพึ่งญวนให้มาช่วยรบกับไทย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงยกทัพตีได้
เมืองพนมเปญ และทรงอภิเษกพระรามราชา พระราชวงศ์ของสมเด็จพระนารายณ์- รามาธิบดีเป็นกษัตรยิ ์
กัมพชู าโดยข้นึ ตรงตอ่ กรงุ ธนบรุ ี ต่อมาในปีพ.ศ. 2323 เกิดการแย่งชิงอำนาจในอาณาจักรกัมพูชา ทำให้ เกิด
การจลาจลข้ึน กษตั ริย์กัมพชู าทีก่ รุงธนบรุ ีใหก้ ารสนับสนนุ ถูกสำเร็จโทษในปี พ.ศ. 2322 ทำให้ กมั พชู าตกอยู่

ภายใต้อิทธพิ ลของญวน สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชจึงทรงโปรดเกล้าฯ ใหส้ มเดจ็ เจา้ พระยามหากษัตริย์ศึก
(ทองดว้ ง) เปน็ แม่ทพั ใหญ่ และเจ้าพระยาสุรสหี เ์ ปน็ แม่ทพั หนา้ ยกทพั ไปตีกมั พูชา ในปี พ.ศ. 2323 และหาก
ตีกัมพูชาได้แลว้ โปรดใหส้ มเด็จเจา้ พระยามหากษัตรยิ ์ศกึ จัดการอภเิ ษกให้เจ้าฟ้ากรมขนุ อนิ ทรพิทักษ์ พระราช
โอรสขึน้ เป็นกษตั รยิ ์ครองกัมพูชา แต่ขณะที่กองทัพไทยกำลังจะตกี ัมพชู าอยู่น้ัน เกิดการจลาจลในกรงุ ธนบุรี
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรยิ ์ศกึ ซ่งึ เป็นแม่ทพั ใหญ่จำเป็นต้องยกทัพกลับกรงุ ธนบุรี สงครามระหว่างไทยกับ
กมั พูชาจึงยตุ ลิ ง

1.3 ความสัมพันธก์ บั ลา้ นช้าง (สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวใน ปจั จบุ นั ) ในสมยั นี้ พระยา
นางรอง เจ้าเมืองนางรอง ซึ่งเป็นเมอื งขึ้นของเมอื งนครราชสีมา ได้เอาเมืองนางรองไปข้ึนต่อเจ้าโอ เจา้ เมือง
นครจำปาศักด์ิ ซึ่งตั้งตนเป็นอิสระในสมัยน้ัน อาณาจักร 95 ล้านช้างมีปัญหาภายในราชวัง จึงได้แตกพรรค
พวก ได้แบ่งเป็น 3 อาณาจักร ได้แก่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจำปาศักด์ิทำใหอ้ าณาจักรล้านช้างอ่อน
กำลงั ลง พระเจ้าตากสนิ มหาราชได้ที เลยหาขอ้ อา้ งทำศึกกบั ลา้ นช้าง การทำศึกกับลา้ นชา้ งเกดิ ขึ้น 2 ครง้ั ดังนี้
การตเี มืองจำปาศักด์ใิ นปี พ.ศ. 2319 สาเหตุเน่อื งจากพระยานางรอง (คาดว่าเป็นเมืองนครนายก) เกิดขัดใจ
กับเจ้าเมืองนครราชสีมา จึงคิดกบฏต่อไทยไปขอข้ึนกับ เจ้าโอ เจ้าเมืองจำปาศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช จงึ ทรงโปรดให้ เจา้ พระยาจักรียกทพั ไปตเี มืองนางรอง เจ้าเมืองนางรองถูกจบั ประหารชีวิตในปี พ.ศ.
2320 และโปรดให้เจ้าพระยาสรุ สีห์ ยกทพั ไปปราบนครจำปาศกั ดทิ์ ี่เตรยี มยกทัพมาตีเมืองนครราชสีมาหรือ
เมืองใดเมืองหน่ึง มีผลทำให้ กรุงธนบุรี ได้เมืองจำปาศักดิ์ เมืองอัตตะปือ สุรินทร์ สังขะ และขุขันธ์ เป็น
เมืองขึ้น หลังจาก เสร็จสงคราม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้เล่ือนเจ้าพระยาจักรี เป็น สมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พิฤกมหิมา ทุกนัครระอาเดช นเรศรราชสุริยวงษ์ องค์อรรถบาท มุ ลิกากร บวร
รตั นปรนิ ายก ดำรงตำแหนง่ สมหุ นายก นับเป็นการพระราชทานยศสูงที่สุดเทา่ ท่ี เคยมี ในปี พ.ศ. 2321 เจ้า
นครเวยี งจันทน์แหง่ ล้านช้างสง่ กองทัพมารบั พระวอ เสนาบดีเมอื งเวยี งจนั ทน์ พระวอ จงึ พาสมัครพรรคพวก
หนมี าอ่อนนอ้ มตอ่ กรงุ ธนบรุ ี โดยมาต้งั ถน่ิ ฐานอยู่ท่ี ตำบลดอนมดแดง รมิ แม่น้ำมลู จงั หวัดอุบลราชธานี และ
เจ้าสิริบุญสารได้สง่ กองทพั มาปราบและจบั พระวอฆ่าจนเสียชีวิต สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช จึงโปรดให้
สมเด็จ เจ้าพระยามหากษตั รยิ ์ศึก และพระยาสรุ สหี ์ ยกทพั ไปตีเมืองเวียงจันทน์ได้เป็นผลสำเรจ็ ขณะท่ีไทย ยก
ทพั ไปน้ัน เจ้าร่มขาว เจา้ ผู้ครองหลวงพระบาง มาขอสวามภิ ักดติ์ ่อไทย และสง่ กองทพั มาช่วยตี เวียงจนั ทน์ เจา้
สิริบญุ สาร ส้ไู ม่ไดจ้ ึงหลบหนีไป ทำให้กรงุ ธนบุรไี ดเ้ มืองเวียงจันทน์ หลวงพระบาง และหัวเมืองอนื่ ๆ ท่ีอยู่ติด
กับอาณาจักรญวนเปน็ หัวเมอื งประเทศราช นอกจากน้ีสมเด็จ เจา้ พระยามหากษตั ริย์ศึกไดอ้ ญั เชิญ พระพุทธ
มหามณรี ัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) และพระบาง ซ่งึ ประดิษฐานอย่ทู ่ีเวียงจันทน์กลับมาประดษิ ฐานท่ีกรุง
ธนบุรี

1.4 ความสมั พนั ธก์ ับล้านนา ลา้ นนาเปน็ เมืองทก่ี องทพั พมา่ เข้ามาคุกคาม บอ่ ยครงั้ แตไ่ ทยกพ็ ยายาม

ขบั ไล่พมา่ ออกไปจากล้านนาได้สำเร็จทุกครง้ั แต่ไทยก็ไม่สามารถ รักษาเมืองล้านนาไว้ได้ เพราะเม่ือทัพกรุง

ธนบุรีออกจากเมอื งล้านนา ทัพพม่ากเ็ ขา้ มาคุกคาม เมืองลา้ นนาอกี สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชเห็นว่าเมอื ง

ลา้ นนาเป็นเมอื งซึง่ พม่าใช้เปน็ ฐาน ทัพทุกครั้งที่พมา่ ยกทพั มาตเี มอื งไทย ทุกครง้ั ท่ีพมา่ มารบกับไทย พม่าจะใช้

เมอื งล้านนาเป็น สถานท่ีเก็บคลงั เสบยี ง ดงั นัน้ ในปี พ.ศ. 2317 สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชจงึ ต้องทรงยก
ทัพไป ตีเมืองเชียงใหม่ และเมื่อตเี มืองเชียงใหม่ได้สำเร็จ เมอื งล้านนาก็เป็นอิสระ โดยมีกรุงธนบุรี คุ้มครอง
ป้องกนั

1.5 ความสัมพันธก์ บั มลายู หลังจากกรงุ ศรอี ยธุ ยาเสียแกพ่ ม่า ในปี พ.ศ. 2310 หัวเมืองมลายู ไดแ้ ก่
เมืองปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน และตรังกานู ที่เคยเป็นเมืองข้ึนของไทยมาตลอด 96 สมัยกรงุ ศรีอยุธยา ได้ตั้ง
ตนเปน็ อสิ ระในสมยั กรงุ ธนบรุ ี สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราชยกทัพไปตี เมอื งนครศรธี รรมราช สงขลา พัทลุง
แต่มิไดย้ กทพั ไปตีเมอื งมลายู มแี ตอ่ อกอุบายให้เจ้าพระยานครศรีธรรมราชไปยมื เงนิ เมืองปัตตานี และไทรบรุ ี
เมืองละ 1,000 ช่งั สำหรบั ท่ีจะซื้อเคร่อื งศาสตราวุธ เพื่อหย่ังท่าทพี ระยาไทรบรุ ี และพระยาปัตตานี ดูวา่ จะ
ทำประการใด แต่ทัง้ สองเมืองไมย่ อมให้ขอยืม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกม็ ิได้ยกทพั ไปตีหัวเมืองมลายู
เพราะเหน็ ว่าขณะนน้ั เป็นการเกิน กำลังของพระองค์ท่ีจะยกทัพไปปราบ จึงปล่อยให้หัวเมืองมลายเู ป็นอิสระ
ตอ่ ไป

1.6 ความสัมพนั ธก์ ับจีน คนไทยกบั คนจีนในสังคมไทยสมัยกรุงธนบรุ ีตา่ งกม็ ี ความสมั พนั ธภาพอันดี
เพราะทั้งสองฝา่ ยนับถอื พระพุทธศาสนาเหมอื นกนั แมจ้ ะตา่ งนิกายกต็ าม แม้แต่สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช
ก็ทรงมีเชื้อสายจีนทางพระบิดา อีกท้ังทหารไทยและจีน ต่างร่วมป้องกันกรุงธนบุรีในการสู้รบกับพม่า แต่
ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่ของไทยกับจีนเปน็ เร่ือง การคา้ ขาย ในสมัยกรุงธนบุรปี รากฏวา่ มีสำเภาของพ่อคา้ จีน
เข้ามาติดตอ่ ค้าขายตลอดรชั กาล และทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการทำนุบำรุงการค้าขายทางเรือเป็นอย่างมาก
สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช ทรงส่งสำเภาหลวงออกไปทำการตดิ ต่อค้าขายกับเมืองจีนอย่เู สมอ นบั ไดว้ ่าจีน
เป็นชาติที่ สำคัญที่สุดท่ีติดต่อทางการค้าด้วย ในสมัยกรุงธนบุรีในปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช ไดท้ รงส่งคณะทูตชุดหนงึ่ มเี จ้าพระยาศรธี รรมาธริ าช เปน็ หัวหน้าคณะ ออกไปเจรญิ สมั พันธไมตรกี ับ
พระเจา้ กรุงจนี ในแผ่นดินพระเจา้ เกาจงสนุ ฮ่องเต้(พระเจ้ากรุงต้าฉ่ิง) ณ กรุงปักกิ่ง เพ่ือขอให้ทางจนี อำนวย
ความสะดวกให้แก่ไทยในการจัดแต่งสำเภาหลวง บรรทุกสินค้าออกไป คา้ ขายท่ีเมืองจีนต่อไป โดยขอให้จีน
ยกเว้นคา่ จังกอบและขอซื้อส่ิงของบางอย่าง เช่น อฐิ เพอ่ื นำมาใช้ในการสร้างพระนคร และขอให้ทางจีนช่วย
หาต้นหนสำเภา สำหรบั จะแต่งเรือออกไป ซ้ือทองแดงท่ีประเทศญ่ีปุ่น เข้ามาใช้สร้างพระนครเช่นเดียวกัน
ปรากฏว่า คณะทูตไทยท่ีออกไป เจริญสัมพันธท์ างพระราชไมตรกี ับพระเจ้ากรุงจนี คร้ังน้คี ุมเรือสำเภาบรรทุก
สินค้าออกไปด้วยถงึ 11 ลำ ในพระราชสาสน์ ที่สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงมไี ปยังพระเจ้ากรงุ ต้าฉ่งิ ใน
ครั้งนั้น ปรากฏในจดหมายเหตุจีนว่า สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราชทรงออกพระนามของพระองค์เองเป็น
ภาษาจีนว่า “แต้เจียว” มีคำเต็มว่า เส้ียมหลอก๊กเจียงแต้เจียว ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงธนบุรี และจีน
ก่อใหเ้ กดิ ผลดีในดา้ นเศรษฐกจิ ของกรงุ ธนบุรี เนอื่ งจากพ่อคา้ จีนสามารถเดินทางเข้ามา ค้าขายได้สะดวก ทำให้
เศรษฐกิจของประเทศฟ้ืนตัวได้รวดเร็ว ด้านการเมืองทำให้ฐานะของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มี
ความชอบธรรม และด้านความม่ันคง ทำให้กรงุ ธนบุรีสามารถ ซอื้ ยุทธปจั จัย เช่น กำมะถันและกระทะเหล็ก
จากจนี เพอื่ นำมาทำปืนใหญ่ไว้ต่อสู้กบั ขา้ ศึก โดยเฉพาะพมา่ สำหรบั ป้องกันอาณาจักร เป็นต้น 97 2.

ความสมั พันธก์ บั ประเทศในทวีปยุโรป

2.1 ความสมั พนั ธก์ บั ฮอลันดา ในปพี .ศ. 2313ชาวฮอลันดาจากเมอื งปัตตาเวยี (จาการ์ตา) และพวก
แขก เมอื งตรงั กานูไดเ้ ข้าเฝ้าฯ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช เพ่ือถวายปืนคาบศลิ าจำนวน 2,200กระบอก
และต้นไม้เงนิ ต้นไมท้ อง เป็นการแสดงความสัมพันธไมตรที ดี่ ตี ่อกนั

2.2 ความสัมพันธ์กับอังกฤษ ในตอนปลายสมัยกรุงธนบุรี มีความสัมพันธ์กับอังกฤษ แต่มิได้เป็น
การคา้ ขายกับพอ่ คา้ องั กฤษเหมอื นสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา บรรดาฝรัง่ ชาตติ า่ ง ๆ ท่เี ดนิ ทางเขา้ มาค้าขาย ในเอเชียมี
การแย่งชิงอำนาจทางการค้ากันเป็นอันมาก ดว้ ยเหตุนี้ อังกฤษจงึ มีความประสงค์ท่ี จะได้สถานที่ตงั้ ทางด้าน
แหลมมลายูสักแหง่ สำหรับทำการค้าขายแข่งกบั พวกชาวฮอลันดา อังกฤษเห็นวา่ เกาะหมาก(ปีนงั ) มีความ

เหมาะสม จึงได้พยายามเจรจาเกลีย้ กล่อมกับพระยาไทรบรุ ี ผมู้ อี ำนาจปกครองเกาะนีเ้ พ่ือจะขอเชา่ ในปี พ.ศ.
2319 พ่อค้าชาวองั กฤษชื่อ รอ้ ยเอก ฟรานซิส ไลต์ หรือที่ไทยเรียกวา่ กะปิตนั เหล็ก ซงึ่ สำนักกรงุ ธนบรุ ีตดิ ตอ่
ให้เป็นผู้จัดหาอาวุธให้ไทยสำหรับใช้ ต่อสกู้ ับพม่า ภายหลัง ฟรานซิส ไลต์ได้รบั พระราชทานยศเป็น พระยา
ราชกปติ ัน ในฐานะทม่ี ี ความดีความชอบเปน็ ผูจ้ ดั หาอาวธุ ใหก้ บั ไทย

2.3 ความสัมพันธก์ ับโปรตุเกส กรุงธนบุรีมีความสัมพันธด์ ้านการค้าขายกับโปรตุเกส โดยมีหลักฐาน
ปรากฏในจดหมายเหตขุ องบาทหลวงฝรง่ั เศสซ่งึ เข้ามาอยใู่ นกรุงธนบุรใี นตอนนัน้ มคี วามตอนหน่งึ ว่า เม่อื เดอื น
กันยายน พ.ศ. 2322 มีเรอื แขกมวั ร์จากเมืองสรุ ัต ซึง่ ขณะนน้ั เป็นเมอื งข้นึ ของ โปรตเุ กสเขา้ มาคา้ ขาย ณ กรุง
ธนบรุ ี และทีภ่ เู ก็ตมีพวกโปรตุเกสอยู่ 2-3 คน อยู่ในความปกครอง ของบาทหลวงฟรังซสิ แกงของโปรตุเกส จงึ
อาจเชื่อได้วา่ ในสมัยกรงุ ธนบรุ ีไทยได้มีการติดตอ่ คา้ ขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอย่บู า้ ง โดยทางไทยไดเ้ คยส่ง
สำเภาหลวงออกไปค้าขายยัง ประเทศอินเดียจนถงึ เขตเมอื งกวั เมอื งสรุ ัต อนั เปน็ อาณานคิ มของโปรตเุ กสอยูใ่ น
ครง้ั นน้ั แตท่ วา่ ในตอนนนั้ ยงั มิได้ถงึ กบั มกี ารส่งทตู เข้ามาหรอื ออกไปเจรญิ ทางสัมพันธไมตรีอย่างเปน็ ทางการ
แต่อย่างใด

กล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยสมัยกรุงธนบุรี โดยส่วนใหญ่ จะมีความสัมพันธ์กับ
อาณาจักรทวปี เอเชียที่เป็นประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง เพราะเป็นช่วงท่ีไทย ต้องทำการสู้รบกับอาณาจกั ร
เพ่ือนบ้านหลายครั้ง ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยธุ ยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 ทั้งน้ีเพื่อความมน่ั คงและ
ป้องกนั อาณาจกั รใหพ้ ้นจากถูกยึดครองของขา้ ศึกศตั รู และในขณะเดียวกนั ก็เป็นการขยายพระราชอาณาเขต
ออกไปให้กว้างขวาง ความสัมพันธ์กับ ประเทศเพ่ือนบ้านในทวีปเอเชียสำหรับกรุงธนบุรี ก็เพ่ือผลประโยชน์
ทางด้านการค้า 98 สำหรับความสัมพันธ์กับประเทศในทวีปยุโรปนั้น กรุงธนบุรยี ังไม่ได้ มีความสัมพันธ์กับ
ทวีปยโุ รป (ชนชาตติ ะวันตก) ในทางการทตู แต่สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงเปิดโอกาสใหบ้ าทหลวงชาติ
ตะวันตกท่ีนับถือคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในกรุงธนบุรีได้และในบางคร้ังก็ให้
บาทหลวงได้มีโอกาสแลกเปลย่ี นความ คิดเหน็ และกราบทลู เกี่ยวกบั เรอื่ งศาสนาแดพ่ ระองค์อีกดว้ ย

ใบงาน

ให้นักศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์กบั ตา่ งประเทศ ในทวปี เอเชยี และทวปี ยุโรปท่ีสง่ ผลต่อความ
ม่นั คงของประเทศในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา และสมยั กรงุ ธนบุรีในด้านต่างๆ

1) ด้านเศรษฐกจิ การค้า
2) ดา้ นการเมอื งการปกครอง
3) ดา้ นการทตู
4) ดา้ นศาสนา และวฒั นธรรม
5) ดา้ นการศึกษา

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาต้อนต้น
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบพบกลมุ่ คร้งั ที่ 20 ( จำนวน ๖ ชั่วโมง )
เรือ่ ง การสอบวัดผลสมั ฤทธิป์ ลายภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วนั ท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
เน้อื หา

1. การเตรยี มตวั สอบ
2. กฎระเบยี บ ขอ้ ปฏบิ ตั ิการเข้าสอบการแตง่ กายสถานทสี่ อบ รหสั สถานศึกษา
3. ขอจบการศกึ ษาและการศึกษาต่อ

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
ข้ันท่ี ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (Orientation :O)
๑. ผ้เู รยี นรว่ มกบั ครสู นทนาขา่ วสารท่วั ไป
ขนั้ ที่ ๒ แสวงหาขอ้ มูลและการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ครูชแี้ จงการสอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
2. ติดตามงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสอบถามการเตรยี มตวั สอบปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา

2564
ข้นั ท่ี ๓ การปฏบิ ตั ิและการนำไปประยุกตใ์ ช้ (Implementation : I)
๑. ผเู้ รียนสรุปองค์ความรู้และบันทกึ ผลการเรียนรทู้ ี่ไดจ้ ากการเรียนรู้
2. สามารถปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บ ข้อปฏบิ ัติการเขา้ สอบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ขน้ั ที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evaluation : E)
- ผลการสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

สอ่ื การเรยี นรู้
-

การวัดและประเมนิ
-

ลงชอ่ื ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชื่อ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง




Click to View FlipBook Version