The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-22 08:29:04

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

1. ใชส้ ารละลายลา้ งแผล
2. ทายาแก้ไฟไหมห้ รือนำ้ ร้อนลวกให้ทั่วบาดแผล
3. ปิดบาดแผลดว้ ยผ้ากอซเพอ่ื ปอ้ งกนั ฝุน่ ละออง
4. ติดพลาสเตอรท์ บั ให้เรยี บรอ้ ย
5. ในกรณที ่ีแผลรนุ แรงตอ้ งรบี นำส่งโรงพยาบาลโดยดว่ น
* ไม่ควรใชย้ าสฟี นั ทาแผล เพราะแผลอาจอกั เสบมากข้ึนและอาจหายช้า

7. การปฐมพยาบาลเมอ่ื เลือดกำเดาไหล (Epistaxis )
อุปกรณ์ ผา้ ชบุ น้ำเยน็
วธิ กี ารปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1. นงั่ นงิ่ ๆ กม้ หนา้ ลงเลก็ น้อย บีบจมูกนาน 10 นาที
2. ใชผ้ า้ ชบุ นำ้ เย็น หรอื นำ้ แข็งวางบนหน้าผาก สนั จมกู หรอื ใต้ขากรรไกร
3. ถา้ เลือดกำเดายังไมห่ ยุดไหล ให้รบี ไปพบแพทย์

ปฐมพยาบาลผปู้ ่วยกระดูกหกั และข้อเคล่อื น

1. อย่าพยายามดึงข้อหรอื จัดกระดูกใหเ้ ขา้ ทด่ี ว้ ยตนเอง
2. หากจำเป็นต้องถอดเส้อื ผา้ ออก ควรใชว้ ธิ ตี ัดตามตะเขบ็
3. ใชว้ สั ดุที่หาไดห้ นนุ หรอื ประคองขอ้ ใหบ้ รเิ วณทบี่ าดเจ็บนัน้ อยู่นิง่ ๆ และอยใู่ นท่าทส่ี บาย ด้วยการใช้

ผ้าพยงุ หรือดามไวด้ ว้ ยเฝือกช่ัวคราวใหอ้ ยูใ่ นทา่ พกั
4. ประคบบรเิ วณทบ่ี าดเจบ็ ด้วยความเย็น เชน่ ผา้ หรอื ถงุ ใส่นำ้ แขง็ ฯลฯ
5. การเคลื่อนย้ายผบู้ าดเจ็บออกจากสถานทม่ี ีอันตรายไปสู่ทปี่ ลอดภยั หรอื โรงพยาบาล การเคลอ่ื นย้าย

อยา่ งถกู วธิ ีจะชว่ ยลดความพิการและอนั ตรายต่าง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ได้
6. รบี นำสง่ โรงพยาบาล
หลักการเขา้ เฝือกชั่วคราว

1. วสั ดทุ ่ใี ช้ดามต้องยาวกว่าอวยั วะส่วนท่หี กั โดยเฉพาะจะต้องยาวพอที่จะบังคบั ข้อต่อทอ่ี ยเู่ หนอื และใต้
บรเิ วณทส่ี งสยั ว่ากระดกู หกั เช่น ขาทอ่ นลา่ งหัก ขอ้ เขา่ และขอ้ เท้าจะตอ้ งถูกบังคับไวด้ ว้ ยเฝือก เปน็
ตน้

2. ไมว่ างเฝอื กลงบนบรเิ วณท่ีกระดกู หักโดยตรง ควรมสี ่ิงอ่นื รอง เชน่ ผ้าหรอื สำลวี างไวต้ ลอดแนวเฝอื ก
เพอื่ ไมใ่ หเ้ ฝอื กกดบรเิ วณผิวหนังโดยตรง ซงึ่ ทำใหเ้ จบ็ ปวดและเกิดเป็นแผลจากเฝือกกดได้

3. มดั เฝอื กกบั อวัยวะทีห่ ักใหแ้ นน่ พอท่จี ะประคองส่วนทหี่ กั ได้ แต่ตอ้ งไมแ่ น่นเกนิ ไป ถ้ารดั แน่น
จนเกินไปจะกดขดั ขวางการไหลเวยี นของเลอื ด ทำใหเ้ กิดอนั ตรายได้ ต้องระวงั อยา่ ใหป้ มเชือกกดแผล
และคอยตรวจบรเิ วณท่ีหกั เป็นระยะ ๆ เพราะอาจจะมกี ารบวม ซง่ึ จะตอ้ งคลายเชอื กที่ผูกใหแ้ นน่
น้อยลง

4. บรเิ วณทเี่ ข้าเฝือกจะต้องจดั ให้อยูใ่ นทา่ ทสี่ บายทส่ี ดุ อยา่ จัดกระดูกให้เข้ารปู เดมิ ไมว่ ่ากระดูกทห่ี กั จะ
โค้ง โกง่ หรอื คด ก็ควรเข้าเฝอื กในทา่ ที่เปน็ อยู่

ใบงานท่ี ๒

คำช้ีแจง 1. ใหผ้ ู้เรยี นแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ในกลมุ่ เพอ่ื สรุปนำเสนอหนา้ ช้นั เรียน

2. ใหผ้ ูเ้ รยี นสาธติ วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผ้ปู ่วยตามท่กี ำหนด

กลุ่มที่ 1 การปฐมพยาบาลเมื่อถูกไฟฟา้ ชอ็ ต
สาเหตุ

............................................................................................................................. ...............................

..............................................................................................................................................................................
......

อาการ
............................................................................................................................. ..............................

.................................................................................................................................... ..........................................
......

การปฐมพยาบาล
..........................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
......

กล่มุ ท่ี 2 การปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการชอ็ คเนือ่ งจากเลอื ดไปเลยี้ งเซลลต์ า่ ง ๆ ไมเ่ พยี งพอ
สาเหตุ

............................................................................................................................. ...............................

..............................................................................................................................................................................
......

อาการ
...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
......

การปฐมพยาบาล
............................................................................................................................. .............

............................................................................................................................. .................................................

กลุม่ ท่ี 3 การปฐมพยาบาลทม่ี อี าการหายใจลำบากหรือหยุดหายใจ
สาเหตุ

......................................................................................................................................... ...................

..............................................................................................................................................................................

อาการ
............................................................................................................................. ..............................

..................................................................................................................................................... .........................

การปฐมพยาบาล
..........................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
......

กลุม่ ท่ี 4 การปฐมพยาบาลผ้ปู ว่ ยเป็นลมแดด
สาเหตุ

............................................................................................................................. ...............................

..............................................................................................................................................................................

อาการ
............................................................................................................................. ...............................

..............................................................................................................................................................................

การปฐมพยาบาล
............................................................................................................................. .............

............................................................................................................................. .................................................

กลุม่ ท่ี 5 การปฐมพยาบาลผู้ปว่ ยเปน็ ลมจากความร้อน
สาเหตุ

............................................................................................................................................................

....................................................................................................................... .......................................................

อาการ
............................................................................................................................. ...............................

............................................................................................................................................................ ..................

การปฐมพยาบาล
...........................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
......

แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
รายวิชาสุขศึกษา พลศกึ ษา รหสั วชิ า ทช ๒๓๐๐๒
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบพบกลมุ่ คร้งั ที่ ๑๐ (จำนวน ๖ ชั่วโมง)
เรื่อง ทกั ษะชวี ิตเพื่อการสอ่ื สาร
วันที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตัวชีว้ ัด

1. บอกความหมายและความสำคญั ของทกั ษะชีวติ (Life Skill) ได้ท้ัง 10 ประการ

2. บอกทกั ษะชวี ติ ทจ่ี ำเปน็ ได้อยา่ งนอ้ ย 3 ประการ

3. ประยุกตใ์ ชก้ ระบวนการทักษะชีวติ ในการดำเนินชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

4. แนะนำผอู้ ื่นในการนำทกั ษะการแก้ปญั หาในครอบครัวและการทำงาน

เน้ือหา

1. ความหมาย ความสำคญั ของทกั ษะชีวิต 10 ประการ

2. ทกั ษะชีวิตทจ่ี ำเปน็ 3 ประการ

- ทกั ษะการสอ่ื สารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
- ทักษะการสรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล
- ทักษะในการเขา้ ใจและเหน็ ใจผ้อู นื่
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้

ขัน้ ท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้

1. ครชู วนคิด ชวนคุยกับผเู้ รยี น เร่ือง การใชช้ วี ิตในสงั คมอยา่ งปลอดภยั และมีความสขุ โดยใหผ้ ูเ้ รียน
ไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ระหวา่ งครแู ละเพื่อนรว่ มกนั ถึงการถกู ชักจงู ใหไ้ ปในทางทีผ่ ิดและรจู้ กั ปฏเิ สธ โดยใช้เรอ่ื ง
การสอ่ื สาร การสรา้ งสัมพันธ์ การเขา้ ใจ และเห็นใจผอู้ ่ืน

2. ครสู รปุ และแนะนำขอ้ ดแี ละข้อเสียเพ่ือใหผ้ เู้ รียนได้นำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ

ขั้นท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้

1. ครูใหผ้ เู้ รียนศึกษาหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ อินเตอรเ์ นต็

2. ครมู อบหมายใหผ้ เู้ รียนให้ไปศึกษาเกยี่ วกบั ความหมายและความสำคัญของทกั ษะชีวิต 10
ประการ

3. ใหผ้ ู้เรยี นนำขอ้ มลู ที่ได้จัดทำเป็นรปู เล่ม

ขั้นท่ี 3 การปฏบิ ตั แิ ละนำไปประยกุ ต์ใช้

๑. ผเู้ รยี นนำเสนอตามหัวขอ้ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
๒. ผูเ้ รยี นสรุปองคค์ วามรู้ ทำใบงานและบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนรู้
๓. ผู้เรยี นนำความรทู้ ่ไี ด้จากการเรยี นร้มู าปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

ขนั้ ท่ี 4 การประเมนิ ผล

4.1 ประเมินผลงาน

4.2 รปู เลม่ รายงาน

ส่ือ

1. อนิ เตอรเ์ น็ต
2. แหล่งเรยี นรู้
3. ใบงาน

การวดั และประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. การรายงานและการนำเสนอ

ตวั ช้ีวัดการเรยี นรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเป็นของการ

พฒั นาอาชพี เพอื่ ความเขม้ แขง็
2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคุณคา่ ของการวิเคราะห์ศักยภาพของ

ธุรกจิ
3 รอ้ ยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวเิ คราะหต์ ำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงช่ือ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคิดเหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรทู้ ่ี ๓

เร่ือง ทักษะชีวิตเพือ่ การสอื่ สาร

๑. ความหมาย ความสำคญั ของทักษะชวี ติ ๑๐ ประการ

ทักษะชีวติ (Life skill)

ความหมายของทกั ษะชวี ติ

คำว่า ทักษะ (Skill) หมายถงึ ความชัดเจน และความชำนิชำนาญในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ ซง่ึ บุคคล
สามารถสร้างข้นึ ได้จากการเรยี นรู้ ได้แก่ ทกั ษะการอาชีพ การกฬี า การทำงานรว่ มกับผู้อ่นื การอา่ น การสอน
การจัดการ ทกั ษะทางคณิตศาสตร์ ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ ซง่ึ เปน็ ทกั ษะภายนอกที่
สามารถมองเห็นไดช้ ดั เจน จากการกระทำ หรือจากการปฏบิ ัติ ซึ่งทกั ษะดงั กล่าว นัน้ เป็นทกั ษะที่จำเปน็ ตอ่ การ
ดำรงชีวติ ทจี่ ะทำใหผ้ มู้ ที ักษะเหลา่ นน้ั มีชีวิตทด่ี ี สามารถดำรงชพี อยใู่ นสงั คมได้ โดยมีโอกาสท่ีดกี ว่าผไู้ มม่ ี
ทักษะดงั กลา่ ว ซึง่ ทกั ษะประเภทนเี้ รยี กวา่ Livelihood skill หรอื Skill for living ซง่ึ เป็น คนละอยา่ งกับ
ทักษะชีวติ ท่ีเรยี นว่า Life skill (ประเสริฐ ตนั สกลุ )

ดงั นนั้ ทกั ษะชีวิต หรือ Life skill จึงหมายถึง คณุ ลกั ษณะ หรือความสามารถเชงิ สงั คม จติ วทิ ยา
(Psychosocial competence) ทเ่ี ป็นทักษะภายในทจ่ี ะชว่ ยให้บคุ คลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่
เกดิ ขึน้ ในชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และเตรียมพร้อมสำหรบั การปรบั ตัวในอนาคต ไม่วา่ จะเปน็
เรอ่ื งการดแู ลสุขภาพ เอดส์ ยาเสพตดิ ความปลอดภยั สง่ิ แวดล้อม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ฯลฯ เพื่อใหส้ ามารถมี
ชวี ิตอยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข

หรอื จะกล่าวง่าย ๆ ทักษะชวี ิต กค็ อื ความสามารถในการแกป้ ญั หาทต่ี อ้ งเผชิญในชวี ิตประจำวนั เพื่อให้อยรู่ อด
ปลอดภยั และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข

องค์ประกอบของทกั ษะชวี ิต

องคป์ ระกอบของทกั ษะชีวติ จะมีความแตกต่างกันตามวฒั นธรรมและสถานท่ี แต่ทักษะชวี ติ ท่ีจำเปน็
ทส่ี ดุ ทที่ กุ คนควรมี ซึง่ องคก์ ารอนามยั โลกได้สรปุ ไว้ และถอื เปน็ หัวใจสำคัญในการดำรงชีวิต คือ

1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตดั สินใจเกยี่ วกบั
เรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตได้อยา่ งมรี ะบบ เชน่ ถ้าบคุ คลสามารถตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั การกระทำของตนเองที่
เกีย่ วกับพฤติกรรมดา้ นสขุ ภาพ หรือความปลอดภยั ในชวี ติ โดยประเมนิ ทางเลอื กและผลทไี่ ด้จากการ
ตัดสินใจเลอื กทางทีถ่ กู ต้อ งเหมาะสม กจ็ ะมผี ลตอ่ การมีสุขภาพท่ดี ที ง้ั รา่ งกายและจิตใจ

2. ทักษะการแก้ปญั หา (Problem Solving) เป็นความสามารถในการจดั การกบั ปญั หาท่ี
เกิดขึน้ ในชีวิตไดอ้ ย่างมีระบบ ไม่เกดิ ความเครียดทางกายและจติ ใจ จนอาจลกุ ลามเป็นปญั หาใหญ่โต
เกินแก้ไข

3. ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ (Creative thinking) เปน็ ความสามารถในการคดิ ทจี่ ะเป็นส่วน
ช่วยในการตดั สินใจและแกไ้ ข ปัญหาโดยการคดิ สร้างสรรค์ เพื่อคน้ หาทางเลือกตา่ ง ๆ รวมทั้งผลที่จะ
เกิดขึ้นในแต่ละทางเลอื ก และสามารถนำประสบการณ์มาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

4. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคิด
วเิ คราะหข์ ้อมูลตา่ ง ๆ และประเมนิ ปญั หา หรือสถานการณท์ ่ีอย่รู อบตวั เราทม่ี ผี ลตอ่ การดำเนินชีวติ

5. ทกั ษะการสอื่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Effective communication) เปน็ ความสามารถ
ในการใชค้ ำพูดและทา่ ทางเพอื่ แสดงออกถงึ ความร้สู กึ นกึ คดิ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสมกบั วัฒนธรรม
และสถานการณต์ า่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ การแสดงความคดิ เหน็ การแสดงความตอ้ งการ การแสดงความ
ชืน่ ชม การขอร้อง การเจรจาต่อรอง การตกั เตือน การช่วยเหลอื การปฏิเสธ ฯลฯ

6. ทักษะการสร้างสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคล (Interpersonal relationship) เปน็
ความสามารถในการสรา้ งความสมั พันธท์ ่ีดีระหวา่ งกนั และกนั และสามารถรักษาสมั พนั ธภาพไว้ได้ยืน
ยาว

7. ทกั ษะการตระหนกั รใู้ นตน (Self-awareness) เป็นความสามารถในการค้นหารู้จกั และ
เข้าใจตนเอง เช่น รู้ข้อดี ข้อเสยี ของตนเอง ร้คู วามต้องการ และส่ิงท่ไี มต่ อ้ งการของตนเอง ซง่ึ จะช่วย
ใหเ้ รารตู้ ัวเองเวลาเผชิญกบั ความเครยี ดหรอื สถานการณ์ ตา่ ง ๆ และทกั ษะนยี้ ังเป็นพ้ืนฐานของการ
พัฒนาทกั ษะ อ่นื ๆ เช่น การสอ่ื สาร การสรา้ งสมั พนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น

8. ทักษะการเขา้ ใจผูอ้ น่ื (Empathy) เปน็ ความสามารถในการเขา้ ใจความเหมอื นหรือความ
แตกตา่ งระหว่างบคุ คล ในดา้ นความสามารถ เพศ วยั ระดบั การศึกษา ศาสนา ความเชือ่ สีผวิ อาชพี
ฯลฯ ชว่ ยใหส้ ามารถยอมรบั บุคคลอ่นื ทตี่ ่างจากเรา เกดิ การช่วยเหลอื บุคคลอื่นท่ีดอ้ ยกว่า หรอื ได้รบั
ความเดือดรอ้ น เชน่ ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ผตู้ ดิ เชอ้ื เอดส์

9. ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เปน็ ความสามารถในการรบั รู้
อารมณ์ของตนเองและผ้อู ืน่ รู้วา่ อารมณ์มีผลตอ่ การแสดงพฤติกรรมอย่างไร รู้วธิ กี ารจัดการกับ
อารมณโ์ กรธ และความเศรา้ โศก ท่สี ง่ ผลทางลบตอ่ รา่ งกาย และจิตใจได้อยา่ งเหมาะสม

10. ทกั ษะการจัดการกบั ความเครยี ด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการรบั รู้
ถงึ สาเหตขุ องความเครียด ร้วู ิธีผอ่ นคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเบยี่ งเบนพฤตกิ รรมไปในทางทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสมและไม่เกดิ ปญั หาดา้ นสุขภาพ

๒. ทักษะชวี ติ ท่จี ำเปน็ ๓ ประการ

- ทกั ษะการส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปน็ ความสามารถในการใช้
คำพูดและท่าทางเพื่อแสดงออกถึงความรสู้ ึกนกึ คิดของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั วฒั นธรรม และสถานการณ์
ต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นการแสดงความคดิ เห็น การแสดงความต้องการ การแสดงความชื่นชม การขอรอ้ ง การ
เจรจาตอ่ รอง การตักเตอื น การช่วยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ

- ทกั ษะการสรา้ งสมั พนั ธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็นความสามารถใน
การสรา้ งความสัมพนั ธ์ทีด่ รี ะหวา่ งกันและกนั และสามารถรกั ษาสัมพันธภาพไว้ได้ยนื ยาว

- ทักษะการเขา้ ใจและเห็นใจผู้อ่ืน (Empathy) เปน็ ความสามารถในการเข้าใจความเหมือนหรือความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ในด้านความสามารถ เพศ วยั ระดบั การศกึ ษา ศาสนา ความเชือ่ สผี ิว อาชีพ ฯลฯ

ชว่ ยใหส้ ามารถยอมรับบุคคลอ่นื ท่ีตา่ งจากเรา เกดิ การชว่ ยเหลอื บคุ คลอื่นท่ีดอ้ ยกว่า หรอื ไดร้ ับความเดอื ดร้อน
เชน่ ผูต้ ิดยาเสพตดิ ผู้ตดิ เชือ้ เอดส์

ใบงานท่ี ๓

คำช้แี จง ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าหาขอ้ มูลตามหัวข้อที่ครูกำหนด

๑. ใหผ้ ้เู รียนศึกษาอธบิ ายความหมายและความสำคัญของทกั ษะชีวิตทง้ั 10 ประการ

ความหมายและความสำคญั ของทกั ษะชีวิต
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................

ทกั ษะชวี ติ 10 ประการ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................

๒. ใหผ้ ้เู รยี นบอกถงึ ทกั ษะชวี ติ ทีผ่ ู้เรยี นสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชีวติ และ

แกป้ ัญหาในหวั ขอ้ ที่กำหนดต่อไปน้ี

- การคบเพอ่ื น

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................

- การทำงาน

......................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
........................

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศึกษา รหสั วชิ า ทช๒๓๐๐๒
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ คร้งั ท่ี ๑๑ (จำนวน ๖ ชัว่ โมง)
เร่ืองอาชพี แปรรปู สมุนไพร
วนั ที่ .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
ตัวช้ีวดั

1. อธิบายความสำคัญในการใชส้ มุนไพรเพ่อื การประกอบอาชีพ

2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการแปรรปู สมนุ ไพร

เน้อื หา

1. ความหมายของสมนุ ไพรกบั บทบาทเศรษฐกจิ

2. ความหมายของการผลติ สมุนไพรในรูปแบบการประกอบอาชพี

3. การแปรรปู สมุนไพรเพือ่ การจำหนา่ ย

4.การขออนญุ าตผลิตภัณฑอ์ าหารและยา

กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้

ขัน้ ท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้

ครนู ำตัวอย่างยาดองเหล้าและต้นตะไคร้ มาใหผ้ เู้ รียนได้แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละแยกว่า ยาชนิดใดเปน็
ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร โดยสรปุ ประเภทของยาแผนโบราณและสมุนไพรพรอ้ มบอกวิธีการใช้

ขน้ั ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้

1.ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาค้นควา้ หลกั และวิธีการใช้ยา

1.1 ยาแผนโบราณ

1.2 ยาสมุนไพร

1.3 อนั ตรายจากการใชย้ า

2.ให้ผเู้ รยี นนำข้อมลู ที่ไดจ้ ดั ทำเปน็ รปู เล่ม

ข้ันที่ 3 การปฏบิ ัติและนำไปประยุกต์ใช้

๑. ผู้เรียนนำเสนอตามหัวขอ้ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
๒. ผ้เู รียนสรปุ องคค์ วามรู้ ทำใบงานและบนั ทกึ ผลการเรยี นร้ทู ไี่ ดจ้ ากการเรียนรู้

๓. ผู้เรยี นนำความรู้ทีไ่ ด้จากการเรยี นรมู้ าปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

ข้นั ที่ 4 การประเมนิ ผล

4.1 ประเมินผลงาน

4.2 รปู เล่มรายงาน

สื่อ

1.อนิ เตอรเ์ นต็
2.แหลง่ เรียนรู้
3.ใบงาน

การวดั และประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. การรายงานและการนำเสนอ

ตัวชว้ี ัดการเรียนรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชีพเพอ่ื ความเข้มแข็ง
2 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวิเคราะห์ศกั ยภาพของ

ธรุ กจิ
3 ร้อยละ 80 นักศกึ ษาสามารถวิเคราะหต์ ำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชือ่ ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชือ่ ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความร้ทู ี่ ๔

เร่อื ง อาชพี แปรรูปสมุนไพร

๑. ความหมายของสมนุ ไพรกบั บทบาทเศรษฐกิจ

สมนุ ไพร หมายถงึ พชื ที่มีสรรพคณุ ในการรกั ษาโรค หรอื อาการเจบ็ ปวยตาง ๆ การใชสมุนไพรสําหรับ
รักษาโรค หรอื อาการเจ็บปวยตางๆ นี้ จะตองนาํ เอาสมุนไพรต้งั แตสองชนดิ ขึน้ ไปมาผสมรวมกนั ซึ่งจะเรียกวา
ยา ในตาํ รับยา นอกจากพืชสมนุ ไพรแลวยังอาจประกอบดวยสัตวและแรธาตอุ ีกดวย เราเรยี กพชื สัตว หรือแร
ธาตุที่เปน็ สวนประกอบของยาน้ีวา เภสชั วัตถุ สมนุ ไพรเปนสวนหนง่ึ ในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ
กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนนิ โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสขุ มลู ฐาน โดยเนนการนําสมนุ ไพรมาใช
บาํ บัดรกั ษาโรคใน สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐมากข้ึน และ สงเสริมใหปลกู สมนุ ไพรเพื่อใชภายในหมูบา้ น
เปนการสนบั สนนุ ใหมกี ารใชสมนุ ไพรมากยง่ิ ขน้ึ อนั เปนวธิ ีหน่งึ ท่จี ะชวยประเทศชาตปิ ระหยัดเงนิ ตราในการ
สัง่ ซอื้ ยาสาํ เรจ็ รปู จากตางประเทศไดปละเปนจาํ นวนมาก
๒. ความหมายของการผลติ สมนุ ไพรในรูปแบบการประกอบอาชพี

ปัจจุบันมผี ูพ้ ยายามศกึ ษาค้นคว้าเพอ่ื พฒั นาผลิตภณั ฑส์ มุนไพรใหส้ ามารถนํามาใช้ในรปู แบบทส่ี ะดวก
ยิ่งข้นึ เชน่ นาํ มาบดเปน็ ผงบรรจแุ คปซลู ตอกเป็นยาเมด็ เตรยี มเป็นครีมหรอื ยาขผ้ี ง้ึ เพ่ือใช้ทาภายนอกเปน็ ตน้
ในการศึกษาวิจยั เพอื่ นาํ สมนุ ไพรมาใช้เปน็ ยาแผนปจั จบุ นั นนั้ ไดม้ กี ารวิจยั อยา่ งกว้างขวาง โดยพยายามสกัด
สารสาํ คัญจากสมุนไพรเพือ่ ใหไ้ ดส้ ารทบี่ รสิ ุทธ์ิ ศกึ ษาคุณสมบตั ทิ างดา้ นเคมี ฟสิ ิกสข์ องสารเพื่อใหท้ ราบว่าเป็น
สารชนดิ ใด ตรวจสอบฤทธ์ิด้านเภสชั วทิ ยาในสตั ว์ทดลองเพ่อื ดใู หไ้ ด้ผลดใี นการรักษาโรคหรอื ไม่เพียงใดศกึ ษา
ความเปน็ พษิ และผลข้างเคียง เม่อื พบวา่ สารชนดิ ใดใหผ้ ลในการรกั ษาท่ีดี โดยไม่มีพิษหรอื มพี ษิ ขา้ งเคยี งนอ้ ยจงึ
นาํ สารนั้นมาเตรียมเปน็ ยารปู แบบทีเ่ หมาะสมเพอื่ ทดลองใชต้ อ่ ไป

๓. การแปรรูปสมุนไพรเพอ่ื การจำหนา่ ย

การแปรรปู สมนุ ไพรเพอื่ การจำหนา่ ยสมุนไพรถกู นาํ มาใชส้ ารพัดประโยชน์ และถกู แปรรปู ออกมาใน
แบบต่าง ๆ เพ่อื การจําหน่ายซึง่ สามารถนาํ มาใช้ประกอบอาชพี ท่ังอาชีพหลกั ละอาชีพเสริมได้ สงิ่ สาํ คญั ที่สดุ
ของการแปรรปู สมนุ ไพร คอื การปรงุ สมนุ ไพร

การปรงุ สมนุ ไพร หมายถึง การสกัดเอาตัวยาออกมาจากเนอื้ ไม้ยา สารทใ่ี ช้สกดั เอาตวั ยาออกมาที่
นยิ ม
ใชก้ ัน ได้แก่ นา้ํ และเหล้า สมนุ ไพรท่นี ํามาปรุงตามภูมปิ ัญญาดง้ั เดมิ มี 7 รปู แบบ คอื

• การต้ม
• การชง

• การใชน้ ้ำมนั
• การดองเหลา้
• การต้มค้นั เอาน้ำ
• การบดเป็นผง
• การฝน

๔. การขออนุญาตผลติ ภณั ฑอ์ าหารและยา

ใบงานท่ี ๔

คำช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาค้นควา้ หลักและวิธีการใช้ยา

1.1 ยาแผนโบราณ

- ยาแก้ปวดท้อง

สรรพคุณ
............................................................................................................................. ................................................

............................................................................................................................. .................................................

วธิ ใี ช้
..............................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

- ยาธาตนุ ้ำแดง

สรรพคณุ
.......................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

วธิ ีใช้
............................................................................................................................. .................................

..............................................................................................................................................................................

- ยาแกแ้ พ้

สรรพคุณ
............................................................................................................................. ..........................

............................................................................................................................. .................................................

วิธใี ช้
.............................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

1.2 ยาสมนุ ไพร

- ยาต้ม

สรรพคุณ
............................................................................................................................. ..........................
..............................................................................................................................................................................

วธิ ีใช้
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................................

- ยาผง
สรรพคุณ
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
วธิ ีใช้
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................................
- ยาชง
สรรพคุณ
.......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
วิธีใช้
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................................
1.3 อนั ตรายจากการใชย้ า

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
รายวิชาลกู เสือ กศน.๑ รหสั วิชา สค ๒๒๐๒๑
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ ครงั้ ที่ ๑๒ ( จำนวน ๖ ชวั่ โมง )

เรอื่ ง ๑. วินัย และความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย
๒. ลูกเสือ กศน. กับการพฒั นา
๓. ลูกเสือ กศน. กบั จิตอาสา และการบรกิ าร
๔. การเขยี นโครงการเพื่อพฒั นาชมุ ชนและสงั คม

วันท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตัวชว้ี ดั
๑. อธบิ ายความหมาย และความสำคญั ของวนิ ัย
๒. อธบิ ายผลกระทบจากการขาดวินัย
๓. ยกตวั อยา่ งแนวทางการเสริมสรา้ งวนิ ัย และความเป็นระเบียบเรยี บร้อย
๔. อธบิ ายระบบหมู่ลกู เสอื
๕. อธบิ ายการพฒั นาภาวะผนู้ ำ – ผู้ตาม
๖. อธบิ ายความเปน็ มา และความสำคญั ของลกู เสอื กศน.
๗. อธบิ ายลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา
๘. อธบิ ายบทบาทหน้าที่ของลูกเสือ กศน. ท่มี ตี อ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
๙. ระบบุ ทบาทหนา้ ทข่ี องลกู เสือ กศน. ท่ีมีต่อสถาบนั หลกั ของชาติ
๑๐. อธิบายความหมาย และความสำคญั ของจิตอาสา และการบรกิ าร
๑๑. อธิบายหลกั การของจติ อาสา และการบริการ
๑๒. เสนอผลการปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสือกศน.เพอื่ เปน็ จติ อาสาและการใหบ้ รกิ าร อย่างนอ้ ย 2

กิจกรรม
๑๓. ยกตวั อยา่ งกิจกรรมจติ อาสา และการบรกิ ารของลกู เสอื กศน. อยา่ งนอ้ ย 2 กจิ กรรม
๑๔. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั ของโครงการ
๑๕. จำแนกลกั ษณะของโครงการ
๑๖. ระบุองค์ประกอบของโครงการ
๑๗. อธบิ ายขั้นตอนของการเขียนโครงการ
๑๘. บอกขัน้ ตอนการดาเนนิ งานตามโครงการ
๑๙. อภปิ รายผลการปฏิบัตงิ านตามโครงการและการเสนอผลการดาเนินงาน
เน้ือหา
๑. วินยั และความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย
เรือ่ งที่ ๑ วินัย และความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย
๑.๑ ความหมายของวินยั และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
๑.๒ ความสำคัญของวินยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย
เรอื่ งที่ ๒ ผลกระทบจากการขาดวนิ ยั

เรื่องท่ี ๓ แนวทางการเสรมิ สร้างวนิ ัย และความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย
เรื่องที่ ๔ ระบบหม่ลู กู เสอื
เร่ืองที่ ๕ การพฒั นาภาวะผู้นา –ผู้ตาม
๒. ลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา
เรื่องที่ ๑ ลูกเสอื กศน.

๑.๑ ความเป็นมาของลูกเสือ กศน.
๑.๒ ความสำคญั ของลกู เสอื กศน.
เรื่องที่ ๒ ลูกเสอื กศน. กบั การพัฒนา
เรอ่ื งที่ ๓ บทบาทหน้าที่ของลกู เสือ กศน. ท่ีมตี อ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม
เรอ่ื งที่ ๔ บทบาทหน้าทข่ี องลูกเสอื กศน. ท่มี ตี อ่ สถาบนั หลกั ของชาติ
๓. ลกู เสือ กศน. กบั จิตอาสา และการบริการ
เรื่องที่ ๑ จติ อาสา และการบรกิ าร
๑.๑ ความหมายของจิตอาสา
๑.๒ ความสำคญั ของจติ อาสา
๑.๓ ความหมายของการบริการ
๑.๔ ความสำคญั ของการบรกิ าร
เรอ่ื งที่ ๒ หลกั การของจติ อาสา และการบริการ
๒.๑ หลักการของจติ อาสา
๒.๒ หลกั การของการบรกิ าร
เรอ่ื งท่ี ๓ การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพือ่ เปน็ จิตอาสา และใหก้ ารบริการ
เรอื่ งท่ี ๔ กิจกรรมจิตอาสา และการใหบ้ รกิ ารของลกู เสอื กศน.
๔. การเขยี นโครงการเพอ่ื พัฒนาชมุ ชนและสังคม
เรื่องท่ี ๑ การเขยี นโครงการเพื่อพฒั นาชมุ ชนและสงั คม
๑.๑ ความหมายของโครงการ
๑.๒ ความสาคัญของโครงการ
เรื่องที่ ๒ ลักษณะของโครงการ
เรื่องท่ี ๓ องค์ประกอบของโครงการ
เรื่องท่ี ๔ ข้ันตอนการเขียนโครงการ
เร่ืองที่ ๕ การดาเนนิ การตามโครงการ
เรือ่ งท่ี ๖ การสรปุ รายงานผลการดาเนินงานโครงการเพอ่ื เสนอตอ่ ทีป่ ระชุม

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (Orientation : O)
ครทู กั ทายและสอบถามนกั ศึกษา และอธบิ ายความหมายความสำคัญเกย่ี วกบั วนิ ยั และความเป็น

ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ลกู เสือ กศน. กบั การพัฒนา ลูกเสือ กศน. กบั จิตอาสาและการบรกิ าร และการเขยี น
โครงการเพอื่ พฒั นาชุมชนและสงั คม

ขั้นท่ี ๒ แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. นำเสนอกจิ กรรมการเรียนรู้ตอ่ เนื่อง (กรต.) และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ร่วมกนั

กลุม่ ท่ี 1 วินัย และความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
กลมุ่ ที่ 2 ลกู เสอื กศน. กบั การพฒั นา
กลุม่ ที่ 3 ลกู เสือ กศน. กบั จติ อาสา และการบรกิ าร
กลมุ่ ท่ี 4 การเขยี นโครงการเพือ่ พฒั นาชมุ ชนและสังคม
๒. ผู้เรยี นทำใบงานและสรปุ องคค์ วามรแู้ ละบนั ทึกผลการเรยี นรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการเรยี นรู้
๓. ผเู้ รยี นนำความรทู้ ่ีไดจ้ ากการเรียนรู้มาปรบั ใชเ้ ป็นในชีวิตประจำวัน
๔. มอบหมายงาน กรต.ครงั้ ต่อไป
ข้นั ที่ ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยุกตใ์ ช้ (Implementation : I)
๑. ใหน้ กั ศึกษาแลกเปล่ียนเรยี นรภู้ ายในกลมุ่ ตามใบงานท่ไี ดร้ บั และสง่ ตัวแทนนำเสนอหนา้
ชัน้ เรยี น
๒. ครูและนักศึกษารว่ มกนั สรุปองคค์ วามรรู้ ว่ มกัน
๓. ครใู ห้นักศึกษาแบ่งกลมุ่ มอบหมายงานการเรยี นรตู้ ่อเนื่อง (กรต.) ออกเป็น 4 กลุม่

กลุ่มที่ ๑ ทักษะลูกเสอื
กลมุ่ ท่ี ๒ ความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือ
กลมุ่ ที่ ๓ การปฐมพยาบาล
กลุ่มท่ี ๔ การเดินทางไกล อยูค่ า่ ยพกั แรม และชีวิตชาวค่าย

ขั้นท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evalyation : E)
๑. ผูเ้ รียนทำใบงาน/แบบทดสอบ
๒. ผเู้ รยี นสรปุ องคค์ วามรู้ เพ่ือตอ่ ยอดในการพบกล่มุ ครงั้ ต่อไป

สื่อการเรยี นรู้
๑. หนังสอื เรยี นรายวิชาลูกเสอื กศน.๑ รหสั วิชา สค ๒๒๐๒๑
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. สอ่ื Internet

การวัดและประเมิน
๑. สงั เกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

ตวั ชว้ี ัดการเรียนรู้
1 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอ่ื ความเขม้ แข็ง
2 ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถบอกความจำเป็น และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ

ธรุ กจิ

3 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชือ่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคิดเห็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชือ่ ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้
วนิ ัยและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย

วินยั มคี วามจำเป็นอยา่ งไร

การประกอบกิจกรรมทุกอย่างหรอื การฝึกอบรมทุกประเภทที่ทำกับคนหม่มู าก ถ้าขาดวินัยเสียแลว้ ก็
เท่ากับเป็นการล้มเหลวทุกส่ิงทุกอย่างโดยส้ินเชิง ลูกเสือท่ีมีระเบียบวินัย เชื่อฟังปฏิบัติตามคำส่ัง
ผู้บังคับบัญชา ย่อมที่จะเป็นพลเมืองดีในอนาคต ลูกเสือที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างดีสามารถเป็นผู้นำ
ได้ เพราะวา่ เปน็ คนท่รี กั ษาสัตย์ ประพฤติตนตากฎกตกิ า เป็นคนมีน้ำใจเมตตาอารี เสียสละ ส่งิ เหลา่ น้ยี อ่ ม
ติดตัวไปเปน็ นสิ ัยเกิดขน้ึ ในตวั เองตลอดเวลา วนิ ยั จงึ เป็นส่งิ จำเปน็ มากในกองลกู เสอื คนท่ีมคี ุณภาพควรไดร้ บั
การฝึกฝนให้มีระเบียบวนิ ัย ทำให้รจู้ ักการทำตนเป็นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ที่เป็นหัวหน้า หรือทำตนใน
ฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างที่ดีได้ ซึ่งจะนำประโยชน์มาให้ตนท้ังในด้านส่วนตัวและหน้าที่การ
งาน วินัยมีความจำเป็นอย่างย่ิงท่ีสร้างและส่งเสริม เยาวชนจะได้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ต้ังแต่ยังอยู่ใน
เยาว์วยั เมอ่ื เติบใหญ่จะเป็นกำลังสำคัญช่วยพัฒนาประเทศชาตใิ หเ้ จริญร่งุ เรืองสืบไป

วินัย มี 2 ประการ

ก.วินัยภายนอกซ่ึงเกิดจากการให้กระทำหรืองดเว้นการกระทำในการฝึกอบรมต้องเข้มงวดตา
ลักษณะ หรือกิจการแต่ละประเภท เพื่อที่จะให้ปฏิบัติจนเกิดลักษณะนิสัยวินัยภายนอกไม่ยั่งยืนอยู่ได้
นาน หากวา่ ผทู้ ไ่ี ม่พอใจก็อาจละเลย หรอื วางเฉย เมอ่ื ไมม่ กี ารกำหนดไว้ หรือไม่มีใครรเู้ หน็

ข. วินัยภายใน เป็นท่ีพึงประสงค์เพราะเป็นวินัยท่ีจะปฏิบัติด้วยความเต็มใจ เพราะเห็น
คุณค่า การฝึกอบรมจึงตอ้ งเน้นหนกั ในการสร้างวินยั ภายใน ดว้ ยการกวดขันการประพฤติปฏิบัติอย่าง
จริงจังและตอ่ เนื่อง วนิ ัยภายในเป็นสง่ิ ท่ตี อ้ งการใหม้ อี ยใู่ นทกุ ตัวตน

วินัยที่ดีเกิดจากความรักความเล่ือมใสศรัทธา เด็ก ๆ ย่อมเชื่อฟังและเคารพเล่ือมใสผู้ที่ฉลาดกว่า
ตน มีอายุมากกว่าตน รูปร่างใหญ่กว่าตน ผู้กำกับลูกเสือจึงเป็นกุญแจดอกสำคัญในการสร้างสมวินัยให้
เกิดข้ึนในตัวเด็ก ผู้กำกับลูกเสือจึงต้องวางตวั ให้ดีที่สุด มีบุคลิกภาพที่นา่ นับถือ ย้มิ แย้มแจ่มใสพูดจากชัด
ถ้อยชดั คำ เด็กก็จะเกดิ ความสนใจ รักใคร่นับถอื นิยมชมชอบและเลอื่ มใสศรัทธา เดก็ ก็จะใหค้ วามรว่ มมือใน
อนั ท่จี ะปฏิบตั ิตามกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ซึ่งผลท่ีสดุ การปฏิบัตติ ามคำสั่งหรือปฏิบัติตัวให้อยู่ในระเบยี บวินัยของ
ลูกเสอื กจ็ ะดูเป็นของงา่ ย และผกู้ ำกับลกู เสอื กค็ วรจะกวดขนั ในเรอื่ งวนิ ยั และการเช่ือฟังปฏิบตั ิตามคำส่ังด้วย
ความรวดเร็ว และเคร่งครัดแม้ในเรือ่ งเลก็ ๆ น้อย กไ็ ม่ควรปลอ่ ยเลยไป

กองลูกเสอื ใดมรี ะเบียบวินัยทด่ี ีแลว้ กองลูกเสือนน้ั ก็จะมีความสุข ประสบผลสำเร็จในกิจการ ต่าง
ๆ ไดโ้ ดยงา่ ย

สงิ่ ที่จะช่วยทำใหล้ กู เสอื ไดม้ ีระเบยี บวนิ ัยท่ดี ี ได้แก่
1. การใช้คำสั่งให้ปฏิบัติอย่างงา่ ย ๆ เป็นคำส่ังตรง ๆ มีจดุ หมายที่แน่นอน ไม่ใช่เป็นคำส่ังท่ีเกิด
จากการข่มขู่
2. พิธกี ารต่าง ๆ เพราะในพิธีการตา่ ง ๆ ทำให้ลกู เสอื อยูใ่ นอาการสำรวม
3. การตรวจในการเปิดประชุมกองและปิดประชุมกอง หรือการตรวจการอยู่ค่ายพักแรมในตอน
เช้า เปน็ การช่วยให้ลกู เสือได้รักษามาตรฐานและระเบยี บวินยั ของกองลกู เสอื ให้มีระดับดีขนึ้

4. เครือ่ งแบบมคี วามหมายสำหรับช่ือเสยี งของขบวนการกองลกู เสอื บุคคลภายนอกเขาจะมองและ
ตัดสินเราด้วยสิ่งที่เขาเหน็ เท่านน้ั ผูแ้ ตง่ เครอ่ื งแบบจะตอ้ งสำรวมกริ ิยาวาจา ไมก่ ระทำการใดที่จะทำใหเ้ สื่อม
เสีย

5. การอย่คู า่ ยพกั แรมต้องทำงานร่วมกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. การเดนิ ทางไกล ไดร้ ับความเหนด็ เหน่อื ย ต้องอดทน เหน็ ใจซ่งึ กันและกัน
7. ระเบียบแถว เปน็ วิธีการฝึกที่จะต้องใหป้ ฏิบตั ิตามคำบอกคำส่ัง
8. ส่งิ แวดลอ้ ม ทม่ี องเหน็ เปน็ แบบอยา่ งท่จี ะกระทำตาม
9. ตัวอยา่ งท่ีดขี องผกู้ ำกบั เป็นเรอ่ื งสำคญั ท่ีสุดทลี่ กู เสอื จะเกิดศรทั ธายึดถอื เป็นแบบอยา่ ง

เครื่องแบบ
องคป์ ระกอบสำคญั อยา่ งหนึง่ ของการลกู เสือ คือ เครอื่ งหมาย มคี วามสำคัญท่ีจะให้รกู้ ันภายในของ

ขบวนการลูกเสือ และบุคคลภายนอกโดยท่ัวไป เป็นส่วนหนึ่งที่จะส่งเสริมให้เกิดวินัยท่ีดีได้ เครื่องแบบ
ลูกเสือไทยมีความหมายและสำคัญกว่าลูกเสือประเทศอื่นๆด้วยเหตุว่าเคร่ื องแบบได้รับพระราชทานจาก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริออกแบบนำมาใช้ และเป็นเครื่องทรงขององค์
พระมหากษัตริย์มาทกุ รชั กาลจนถงึ ปัจจุบัน

สว่ นประกอบของเคร่อื งแบบลูกเสอื ไน จำแนกไดอ้ อกเปน็ 4 กลุ่ม
กลมุ่ 1 องค์พระประมขุ คณะลกู เสือแหง่ ชาติ และพระบรมวงศานุวงศ์
กลมุ่ 2 ผูบ้ งั คบั บัญชาลูกเสอื ท่วั ไป ผู้ตรวจการลูกเสอื กรรมการลกู เสือ และเจา้ หนา้ ท่ลี กู เสือ
กลุ่ม 3 ผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสือประเภทต่าง ๆ รวมทงั้ ลูกเสอื เหล่าสมทุ รและเหล่าอากาศ
กลมุ่ ท่ี 4 นายหมู่ รองนายหมู่ และลกู เสือ
2.1 เครือ่ งแบบแต่ละกลุม่ มีท้ังชาและหญงิ ท้ังท่วั ไปและเครือ่ งแบบพเิ ศษ ประกอบดว้ ย

2.1.1 หมวก
2.1.2 เสือ้
2.1.3 กางเกง กระโปรง
2.1.4 ผ้าผกู คอ
2.1.5 เข็มขัด
2.1.6 ถุงเทา้
2.1.7 รองเท้า
2.2 เครื่องแบบและเครื่องหมายประกอบเคร่ืองแบบลูกเสือ สำหรับพระประมุขของคณะลูกเสือ
แห่งชาติ
2.3 เครอื่ งหมายประกอบเครอ่ื งแบบผ้บู งั คับบญั ชา ผูต้ รวจการลกู เสอื และเจ้าหน้าทีล่ ูกเสอื
2.3.1 เคร่ืองหมายจังหวัด
2.3.2 สายนกหวดี
2.3.3 เครอ่ื งหมายตำแหน่ง
2.3.4 เคร่ืองหมายรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติ (เฉพาะผู้ตรวจการลูกเสือ และเจ้าหน้าที่
ลูกเสอื สงั กดั สำนักงานฯ)
2.3.5 เครอื่ งหมายสงั กัด
2.3.6 เครอ่ื งหมายวิชาผู้กำกบั ลกู เสือเบอื้ งตน้

2.3.7 เครอ่ื งหมายวิชาผ้กู ำกับลูกเสอื ข้นั วดู แบดจ์
2.4 เคร่อื งหมายประกอบเครือ่ งแบบผ้บู งั คับบัญชา และลกู เสือหนว่ ยพเิ ศษ

2.4.1 กองลูกเสอื สามัญวชิราวุธวทิ ยาลัย
2.4.2 กองลูกเสอื สามญั ท่ี 1 พระปฐมวิทยาลัยในพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว
2.4.3 หน่วยสวสั ดิภาพนักเรียน

วินัยและความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย

สัญญาณมือรูปแถวต่างๆ

การใชส้ ัญญาณมือเรยี กแถวในรปู แบบต่าง ๆ นน้ั ก่อนจะเรยี กแถวผ้บู ังคบั บัญชาหรือผูเ้ รยี กจะตอ้ ง
หาที่เหมาะสมเสยี ก่อน และยนื ตรงแล้วจึงเรียก “กอง” (ถ้าเป็นลูกเสอื สำรองเรียก “แพค็ ”) พร้อมท้ังให้
สัญญาณมือทันที ในการฝึกตามบทเรียนต่อไปนี้สมมุติมีลูกเสือ 6 หมู่ เพื่อสะดวกแก่การทำความ
เข้าใจ ตามหนังสอื คมู่ ือการฝึกระเบยี บแถวของสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ดงั น้ี

1. หนา้ กระดานแถวเดียว

ผ้เู รยี กแถวยนื อยใู่ นทา่ ตรง มือแบท้ังสองข้าง เหยียดตรงเสมอแนวไหล่ หันฝ่ามือไปขา้ งหน้าแล้ว
เรยี ก “กอง” ใหร้ องนายหมู่ ๆ ที่ 3 และนายหมู่ ๆ ท่ี 4 ระยะเคียง 1 ก้าว เป็นหลกั อยู่ตรงหนา้ ห่าง
จากผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว หมู่ตอ่ ๆ ไปคอื หมทู่ ี่ 1 และหมูท่ ่ี 2 อยูท่ างซา้ ยมอื ของผเู้ รยี ก ลูกเสอื ทกุ
คนสะบัดหน้าไปทางซ้าย ถือรองนายหมู่ท่ี 3 เป็นหลัก จัดแถวหน้ากระดานชำเลืองดูอกคนที่ 3 เป็น
หลกั หมู่ที่ 5 และหมทู่ ี่ 6 อยทู่ างขวามอื ผเู้ รยี กลูกเสือทุกคนสะบดั หนา้ ไปทางขวา ถือนายหมทู่ ี่ 4 เป็น
หลัก จดั แถวหนา้ กระดาน ชำเลืองดหู น้าอกคนที่ 3 เป็นหลกั

การเขา้ แถว ให้ลูกเสอื ทกุ คน เว้นคนอยซู่ ้ายสุดของแถว) ยกมอื ซ้ายขน้ึ เทา้ ตะโพกให้ฝ่ามอื พกั อยู่
บนตะโพก นิ้วมือเหยียดชิดและช้ีลงพื้น น้ิวกลางอยู่ประมาณแนวตะเข็บกางเกง ศอกอยู่เสมอแนว
ลำตวั การจดั แถวใชแ้ ขนขวาจดปลายศอกซา้ ย เป็นการจัดระยะเคยี งระหว่างบคุ คล สว่ นระยะเคียงระหว่าง
หมู่ห่าง 1 ชว่ งแขนหรอื ประมาณ 1 ก้าว ผู้เรยี กแถวตรวจการจดั แถวแล้วส่งั “นิ่ง” ลกู เสือทกุ คนลดแขน
ลงพรอ้ มกบั สะบดั หนา้ กลบั มาอยใู่ นท่าตรงและนง่ิ

2. แถวตอน

ผู้เรียกแถวยนื อยูใ่ นท่าตรง มือแบทัง้ สองข้างเหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพ้ืน หันฝา่ มือเข้าหา
กันและขนานกัน เรียก “กอง” ให้ลูกเสือทุกหมู่มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก นายหมู่อยู่หน้าลูกหมู่เรียงกัน
ต่อไป ให้นายหมู่หมู่ท่ี 3 และนายหมู่ที่ 4 เป็นหมู่หลัก อยู่ตรงหน้าผู้เรียก ห่างจากผู้เรียก
ประมาณ 6 ก้าว หมตู่ ่อ ๆ ไป คือ หม่ทู ่ี 1 และหมู่ท่ี 2 อยทู่ างซ้ายมอื ของผเู้ รียก นายหม่สู ะบดั หนา้
ไปทางซา้ ย ถอื นายหมูท่ ี่ 3 เป็นหลัก หมทู่ ี่ 5 และหมูท่ ี่ 6 อยูท่ างขวามอื ของผ้เู รียก นายหมู่สะบดั หน้า
ไปทางขวา ถือนายหมู่ที่ 4 เป็นหลัก นอกนั้นลูกเสือทุกคนจัดให้ระยะต่อระหว่างบุคคลของแต่ละหมู่
ประมาณ 1 ชว่ งแขน หรือประมาณ 1 กา้ ว และใหต้ รงคอคนหน้า

ใบความรู้
ความสำคญั ของการลกู เสอื กบั การพัฒนา

การลกู เสือ เป็นการอาสาสมัครทางานให้การศกึ ษาพฒั นาศกั ยภาพบคุ คลทวั่ ไป โดยไมม่ ีการแบง่ แยก
กดี กันในเรอื่ งเชือ้ ชาติ ผวิ พรรณ วรรณะ และลัทธทิ างศาสนาใด ๆ

การพฒั นา คอื การเปลีย่ นแปลง และการเปล่ยี นแปลงนัน้ จะตอ้ งเปน็ ไป ในทศิ ทางท่ดี ขี น้ึ
ดังนนั้ อาจกล่าวได้วา่ การลูกเสอื จะสามารถทาการพัฒนาศักยภาพบคุ คลให้มกี ารเปลี่ยนแปลงไปในทศิ ทาง
ทด่ี ขี น้ึ ได้ ซ่งึ ในหนว่ ยการเรียนน้ี จะกล่าวถึงการลูกเสอื กับ การพัฒนาตนเอง การพฒั นาสมั พันธภาพระหว่าง
บุคคลและการพฒั นาสมั พันธภาพในชมุ ชนและสงั คม ดงั น้ี
การพฒั นาตนเอง

การพัฒนาตนเอง หมายถงึ ความต้องการของบุคคลในการพัฒนาความรคู้ วามสามารถของตนจากที่
เป็นอยใู่ ห้มคี วามรู้ ความสามารถเพิ่มขึน้ เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและหนว่ ยงาน อกี ท้ัง พฒั นาศักยภาพของ
ตนเองใหเ้ พมิ่ ขึ้น ดขี น้ึ ในทุกด้าน ดังนี้

1. การพัฒนาทางกาย
2. การพฒั นาทางจิตใจ
3. การพัฒนาทางอารมณ์
4. การพฒั นาทางสตปิ ัญญา
5. การพัฒนาทางสังคม
6. การพัฒนาทางความรู้
7. การพฒั นาทางอาชพี
8. การพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม
1. การพัฒนาทางกาย หมายถึง การพัฒนาสุขภาพ อนามัย ให้ร่างกายสมบรู ณ์ แข็งแรง รวมถงึ การ
พัฒนาบุคลิกภาพ กริยาทา่ ทาง การแสดงออก การใช้น้าเสียง วาจา การใชค้ าพูดในการสอื่ ความหมาย และ
การแต่งกายทีส่ ะอาด เหมาะสมกับกาลเทศะ เหมาะกบั รปู รา่ งและผิวพรรณ
2. การพฒั นาทางจติ ใจ หมายถึง การพฒั นาเจตคตทิ ่ีดี หรอื ความรสู้ ึกทด่ี ี หรอื การมองโลกในแงด่ ี
รวมถงึ การพัฒนาสุขภาพจิตของตนเองใหอ้ ย่ใู นสถานการณท์ ี่เป็นปกติ และ เปน็ สขุ โดยมคี ุณธรรมเปน็ หลกั ใน
การพัฒนาจติ ใจ
3. การพฒั นาทางอารมณ์ หมายถงึ การพฒั นาความสามารถในการควบคมุ ความร้สู กึ นกึ คดิ การ
ควบคมุ อารมณ์ทเ่ี ป็นโทษต่อตนเองและผอู้ ่ืน โดยมธี รรมะเปน็ หลักพฒั นาทางอารมณ์
4. การพัฒนาทางสตปิ ญั ญา หมายถงึ การพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ดว้ ยการช้นี าตนเอง การพัฒนา
ความสามารถในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง การพฒั นากระบวนการทางความคดิ เชงิ วิเคราะห์ การตัดสินใจ
ดว้ ยความเฉลยี วฉลาดและมีไหวพรบิ ปฏิญาณ ภมู ิคุม้ กนั ที่ดใี นตน มีวถิ ีการดาเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ และมี
เหตผุ ลทดี่ ี
5. การพฒั นาทางสงั คม หมายถึง การพัฒนาความเป็นพลเมอื งดี คดิ ดี ทาดี มจี ิตสาธารณะ สามารถ
ปรบั ตวั ใหอ้ ยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
6. การพัฒนาทางความรู้ หมายถึง การพฒั นาความรอบรทู้ างวิชาการและเทคโนโลยที กี่ ้าวหน้า
สามารถนาเทคโนโลยที มี่ อี ย่มู าใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

7. การพฒั นาทางอาชีพ หมายถึง การพฒั นาทกั ษะฝมี อื ความรู้ ความสามารถความชำนาญการทาง
อาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยการฝกึ ทักษะฝีมือ

8. การพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ ม หมายถงึ การกระตุน้ และรกั ษา ตลอดจนแสวงหาแนวทาง ทีจ่ ะทาให้
สิ่งแวดล้อม มคี วามยงั่ ยืน ดว้ ยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในคณุ ค่า และ การดแู ลการรกั ษา

การพฒั นาสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล
การพัฒนาสมั พนั ธภาพระหว่างบคุ คล หมายถึง ความผกู พนั ความเกีย่ วข้อง เป็นกระบวนการติดตอ่

เกยี่ วข้องระหวา่ งบุคคลตง้ั แตส่ องคนขนึ้ ไป เพ่ือทาความรจู้ ักกนั โดยมีวัตถปุ ระสงค์ร่วมกันดว้ ยความเต็ม
ใจ มีความรสู้ กึ ทีด่ ตี ่อกนั อาศยั การแสดงออกทางกาย วาจา และใจ ในชว่ งระยะเวลาหน่งึ ซึ่งอาจไมจ่ ากัด
แนน่ อน สามารถอยรู่ ่วมกันและทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้ โดยมสี มั พันธภาพท่ดี ตี ่อกนั และสรา้ งสรรค์ผลงานทเ่ี ปน็
ประโยชนใ์ ห้เกิดขึ้นโดยอาศยั ความอดทนในการอยรู่ ่วมกนั การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล จำเป็นอย่าง
ยิ่งทีจ่ ะตอ้ งเร่มิ ที่ตนเอง ดงั น้ี

1. รจู้ ักปรบั ตนเองใหม้ อี ารมณห์ นกั แนน่ ไมห่ วาดระแวง ไมอ่ อ่ นแอหรอื แขง็ กระด้าง ไมเ่ ปลีย่ นแปลง
หรือผนั แปรง่าย

2. รจู้ ักปรับตนเองให้เขา้ กบั บุคคล และสถานการณ์ รวมทง้ั ยอมรบั และปฏบิ ัติตามกฎ กตกิ า ระเบยี บ
ต่าง ๆ รู้จกั บทบาทของตนเอง

3. รจู้ ักสงั เกต รู้จด และรู้จา การสงั เกตจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถเข้ากับทุกคน ทกุ ช้ัน ทุกเพศ และทกุ วัย
ไดด้ ี

4. รู้จกั ตนเองและประมาณตน ชว่ ยใหค้ นลดทิฐิ และเหน็ ความสำคัญของผู้อืน่ ชว่ ยสรา้ งความพงึ
พอใจใหแ้ กก่ นั

5. รจู้ ักสาเหตแุ ละใชเ้ หตผุ ลต่อผอู้ นื่ ชว่ ยลดความววู่ าม ทาใหก้ ารคบหากัน ไปด้วยดี
6. มีความมน่ั ใจในตนเอง และเปน็ ตวั ของตัวเอง

การพฒั นาสมั พนั ธภาพภายในชมุ ชนและสังคม
การพัฒนาสมั พันธภาพภายในชุมชนและสังคม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน

สังคม ทงั้ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การปกครอง และวฒั นธรรม เพือ่ ประชาชน มชี ีวิตความเป็นอยู่ที่
ดีขึน้ ทง้ั ด้านท่ีอยอู่ าศัย อาหาร เครื่องนงุ่ หม่ สุขภาพอนามยั การศกึ ษา การมีงานทา มรี ายไดเ้ พียงพอในการ
ครองชพี ประชาชนได้รับความเสมอภาค ความยตุ ิธรรมมีคณุ ภาพชีวิต ทง้ั นี้ ประชาชนตอ้ งมสี ว่ นรว่ มใน
กระบวนการเปลย่ี นแปลงทุกข้นั ตอนอยา่ งมรี ะบบ การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม จาเปน็ ต้อง
เริ่มตน้ ทต่ี นเอง มดี งั นี้

1. พฒั นาบุคลกิ ภาพใหผ้ พู้ บเหน็ เกิดความชน่ื ชมและประทบั ใจ ด้วยการพดู และกิริยาท่าทาง
2. พฒั นาพฤติกรรมการแสดงออกด้วยความจรงิ ใจ ใจกว้าง ใจดี
3. ให้ความช่วยเหลือเอาใจใส่ในกจิ กรรมและงานส่วนรวม ดว้ ยความมนี า้ ใจและเสยี สละ
4. ใหค้ าแนะนาหรือเสนอแนะสง่ิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
5. ร่วมแกไ้ ขปญั หาข้อขดั แยง้ ในสงั คมให้ดขี น้ึ
6. พูดคุยกบั ทุกคนด้วยความย้ิมแย้มแจม่ ใส และเป็นมติ รกบั ทุกคน

7. ยึดหลกั ปฏบิ ตั ติ ามคา่ นยิ มพืน้ ฐาน คือ การพึ่งตนเอง ขยันหมัน่ เพยี ร มีความรบั ผิดชอบ ประหยัด
และออม มรี ะเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย ปฏบิ ตั ิตามคณุ ธรรมของศาสนา มีความจงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา

และพระมหากษตั รยิ ์
สรปุ ไดว้ า่ การพัฒนาชุมชนและสงั คมเปน็ กระบวนการทจี่ ะช่วยใหป้ ระชาชน ในชมุ ชนเกิดการ

เปลย่ี นแปลงหรอื ปรบั แนวคิด ทัศนคติ และพฤตกิ รรมใหด้ ีข้ึนกว่าเดิม โดยจะช่วยใหเ้ กิดความรว่ มมอื ในการ

พฒั นาใหเ้ ปน็ ชุมชนที่ดี สร้างใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ รักและผกู พนั ต่อชมุ ชนของตนเอง ซง่ึ เป้าหมายสำคญั ของการ
พฒั นาชมุ ชน โดยใชก้ ระบวนการลกู เสอื เปน็ สอื่ ในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ให้กบั ประชาชน ภายใต้
กระบวนการรวมกลมุ่ เพอ่ื ผลกั ดันให้การพัฒนาชมุ ชนบรรลผุ ลสำเร็จและเกดิ ผลตอ่ ประชาชนโดยตรง

คำช้แี จง ให้นกั เรียนเขียนอธบิ ายทา่ ทางการเรียกแถวลูกเสอื ตามหัวข้อต่อไปน้ี

1. แถวหน้ากระดานเรียงหนงึ่
ผู้เรียก ....................................................................................................................................................

.................................................................................................................................. ............................................
การปฏิบตั ขิ องลกู เสอื ............................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
..............................................................................................................................................................................

2. แถวตอนเรียงหน่ึง
ผู้เรียก ....................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
การปฏิบัติของลกู เสือ ............................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................................

3. แถวครงึ่ วงกลม
ผู้เรียก ....................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
การปฏบิ ตั ิของลกู เสอื ............................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................. ................................
..............................................................................................................................................................................

คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนบอกประโยชนข์ องกจิ กรรมลกู เสอื ท่มี ตี อ่ พฒั นาการของเยาวชนด้านตา่ ง
ๆ ในแผนภาพความคิดต่อไปนี้



แผนการจัดการเรียนรรู้ ะดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
รายวชิ าลกู เสือ กศน.๑ รหสั วชิ า สค ๒๒๐๒๑
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ ครง้ั ที่ ๑๓ ( จำนวน ๖ ช่วั โมง )
เรอื่ ง ๑. ทกั ษะลกู เสอื

๒.ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสือ
๓.การปฐมพยาบาล
๔.การเดินทางไกลอย่คู ่ายพกั แรมและชีวติ ชาวคา่ ย
๕.การฝึกปฏบิ ตั ิการเดนิ ทางไกลอย่คู ่ายพักแรมและชีวติ ชาวค่าย

วันที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.

ตวั ช้วี ดั
๑. อธิบายความหมายและความสำคญั ของแผนที่ – เขม็ ทศิ
๒. อธบิ ายสว่ นประกอบของเขม็ ทิศ
๓. อธิบายวิธกี ารใช้ Google Map
๔. อธบิ ายความหมายและความสำคัญของเงอ่ื นเชือกและการผกู แนน่
๕. ผกู เง่อื นเชือกและบอกชอ่ื เง่ือนพรอ้ มประโยชน์ของเงอ่ื นอยา่ งนอ้ ย 5 เง่ือน
๖. สาธิตวิธกี ารผกู เงอ่ื นเชอื ก 1 วิธี
๗. บอกความหมายและความสำคญั ของความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสอื
๘. บอกหลักการวิธกี ารเฝ้าระวงั เบือ้ งตน้ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสอื
๙. อธบิ ายสถานการณห์ รือโอกาสที่จะเกดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสือ
๑๐. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของการปฐมพยาบาล
๑๑. อธิบายวธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณตี ่างๆอยา่ งน้อย 3 วธิ ี
๑๒. อธิบายการวัดสญั ญาณชพี และการประเมนิ เบื้องตน้
๑๓. สาธิตวธิ ีการช่วยชวี ิตขั้นพ้นื ฐาน
๑๔. อธบิ ายความหมายของการเดินทางไกล
๑๕. อธิบายความหมายของการอยคู่ า่ ยพักแรม
๑๖. อธบิ ายการใช้เครอ่ื งมอื สาหรบั ชีวติ ชาวค่าย
๑๗. อธบิ ายวิธกี ารจัดการค่ายพักแรม
๑๘. วางแผนและปฏิบัติกจิ กรรมการเดินทางไกลอยคู่ า่ ยพกั แรมและชีวิตชาวคา่ ยทุกกิจกรรม
๑๙. ใช้ชีวติ ชาวค่ายร่วมกบั ผอู้ ื่นในคา่ ยพกั แรมได้อย่างสนกุ สนานและมีความสขุ

เน้อื หา
๑. ทกั ษะลกู เสอื
เรอ่ื งที๑่ แผนท่ี – เข็มทิศ
๑.๑ความหมายและความสาคญั ของแผนที่
๑.๒ความหมายและความสาคญั ของเข็มทิศ
เรอ่ื งท๒่ี วิธีการใช้แผนที่ – เข็มทิศ
๒.๑วิธกี ารใช้แผนที่
๒.๒วิธีการใช้เขม็ ทิศ
เรื่องท๓่ี การใช้ Google Map
เรือ่ งที๔่ เงอ่ื นเชอื กและการผูกแน่น
๔.๑ความหมายของเง่ือนเชือกและการผกู แนน่
๔.๒ความสาคัญของเง่อื นเชือกและการผกู แน่น
๔.๓การผูกเง่อื นและการผกู แน่น

๒.ความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสอื
เรอ่ื งท่๑ี ความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื
๑.๑ความหมายของความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสอื
๑.๒ความสำคัญของความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสอื
เรื่องท๒่ี หลกั การวธิ กี ารในการเฝา้ ระวังเบ้อื งต้นในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสือ
เร่อื งที่๓การช่วยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตุความไมป่ ลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสอื
เรอ่ื งท่๔ี การปฏิบัตติ นตามหลักความปลอดภยั

๓.การปฐมพยาบาล
เรอ่ื งที่๑การปฐมพยาบาล
๑.๑ความหมายของการปฐมพยาบาล
๑.๒ความสำคัญของการปฐมพยาบาล
๑.๓หลกั การของการปฐมพยาบาล
เรื่องท๒่ี วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีต่างๆ
๒.๑อุบตั เิ หตุ
๒.๒ภาวะการเจบ็ ปว่ ยโดยปัจจุบนั
๒.๓พิษแมลงสตั วก์ ัดต่อย
๒.๔ถกู ทารา้ ย
เรอ่ื งท่ี๓การวัดสัญญาณชพี และการประเมินเบ้อื งต้น
๓.๑การวดั สญั ญาณชีพ
๓.๒การประเมนิ เบือ้ งต้น

เรอ่ื งท๔่ี วธิ ีการช่วยชีวติ ข้นั พื้นฐาน
๔.การเดนิ ทางไกลอยคู่ า่ ยพักแรมและชวี ติ ชาวคา่ ย

เรอ่ื งท๑่ี การเดนิ ทางไกล
๑.๑ความหมายของการเดนิ ทางไกล
๑.๒วัตถปุ ระสงคข์ องการเดนิ ทางไกล
๑.๓หลกั การของการเดินทางไกล
๑.๔การบรรจเุ ครื่องหลงั สาหรับการเดนิ ทางไกล

เรอ่ื งที่๒การอยู่ค่ายพักแรม
๒.๑ความหมายของการอยคู่ า่ ยพกั แรม
๒.๒วัตถปุ ระสงค์ของการอย่คู ่ายพักแรม
๒.๓หลกั การของการอยูค่ า่ ยพกั แรม

เรื่องที่๓ชวี ิตชาวค่าย
๓.๑เครอื่ งมือเครอ่ื งใชท้ ีจ่ าเป็นสาหรับชีวติ ชาวค่าย
๓.๒การสรา้ งครัวชาวค่าย
๓.๓การสรา้ งเตาประเภทต่างๆ
๓.๔การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย
๓.๕การกางเตน็ ท์และการเกบ็ เต็นท์ชนิดตา่ งๆ

เร่ืองท่๔ี วิธกี ารจัดการคา่ ยพกั แรม
๔.๑การวางผงั คา่ ยพกั แรม
๔.๒การสุขาภบิ าลในคา่ ยพกั แรม

๕.การฝกึ ปฏิบตั กิ ารเดนิ ทางไกลอยู่คา่ ยพักแรมและชวี ติ ชาวค่าย
เร่อื งที่๑กจิ กรรมเสรมิ สร้างคุณธรรมและอดุ มการณล์ ูกเสอื
เรอ่ื งที่๒กจิ กรรมสร้างคา่ ยพักแรม
เรอ่ื งที่๓กจิ กรรมชีวติ ชาวค่าย
เรือ่ งท๔ี่ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะลูกเสือ
เรื่องท่๕ี กจิ กรรมกลางแจง้
เรื่องท่ี๖กจิ กรรมนนั ทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟ
เรื่องท๗่ี กจิ กรรมนำเสนอผลการดาเนนิ งานตามโครงการทไี่ ดด้ ำเนินการมากอ่ นการเขา้ คา่ ย

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ขัน้ ที่ ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
ครทู ักทายและสอบถามนกั ศกึ ษาและอธิบายความหมายความสำคญั เกี่ยวกบั ทกั ษะลกู เสือความ

ปลอดภัยในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสอื การปฐมพยาบาลการเดินทางไกลอยูค่ ่ายพกั แรมและชีวติ ชาวคา่ ยและ
การฝกึ ปฏิบตั ิการเดนิ ทางไกลอยู่ค่ายพักแรมและชวี ิตชาวคา่ ย

ขั้นท่ี ๒ แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑.นำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ตอ่ เนือ่ ง (กรต.) และแลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกนั

กลุ่มท่ี ๑ ทกั ษะลกู เสอื
กล่มุ ท่ี ๒ ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสอื
กลุ่มที่ ๓ การปฐมพยาบาล
กลุม่ ท่ี ๔ การเดินทางไกลอยู่คา่ ยพกั แรมและชวี ิตชาวค่าย
๒. ผู้เรยี นทำใบงานและสรปุ องคค์ วามร้แู ละบนั ทึกผลการเรยี นรทู้ ่ีได้จากการเรียนรู้
๓. ผเู้ รยี นนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการเรียนรู้มาปรบั ใช้เป็นในชีวติ ประจำวนั
๔. มอบหมายงาน กรต.ครั้งต่อไป
ขัน้ ที่ ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)
๑.ใหน้ กั ศึกษาแลกเปล่ียนเรยี นร้ภู ายในกลมุ่ ตามใบงานทีไ่ ดร้ บั และสง่ ตวั แทนนำเสนอหนา้
ชน้ั เรยี น
๒. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันสรุปองคค์ วามรรู้ ว่ มกัน
๓. ครใู หน้ ักศกึ ษาแบ่งกลมุ่ มอบหมายงานการเรียนรตู้ อ่ เนือ่ ง (กรต.)
ขน้ั ท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
๑. ผ้เู รียนทำใบงาน/แบบทดสอบ
๒. ผูเ้ รียนสรุปองค์ความรู้ เพ่อื ต่อยอดในการพบกลุ่มครงั้ ตอ่ ไป

ส่ือการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรียนรายวิชาลกู เสอื กศน.๑ รหสั วชิ า สค ๒๒๐๒๑
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕.สอ่ื Internet

การวัดและประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

ตวั ช้ีวดั การเรยี นรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอ่ื ความเข้มแข็ง
2 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอกความจำเป็น และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ

ธุรกจิ
3 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถวเิ คราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงชื่อ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคิดเหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชอื่ ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้
เร่อื ง การเลือกตง้ั ท่ีค่ายพักแรม

การเลือกตง้ั ท่คี า่ ยพักแรมนน้ั สำคัญมาก หากเกดิ ข้อบกพรอ่ งขึ้นแลว้ จะเกิดความเสียหายอยา่ งมาก
สถานท่ตี งั้ คา่ ยพักแรมควรมลี กั ษณะดังนี้
1. ควรอยูใ่ นทำเลทเี่ หมาะเปน็ ท่โี ล่งมเี นื้อทพ่ี อทจี่ ะฝกึ วิชาลกู เสอื ไดห้ า่ งไกลจากหมบู่ ้านหรอื มีคน
พลกุ พลา่ นหรือสถานทตี่ ากอากาศเพราะจะทำใหก้ ารปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเป็นไปด้วยความลำบาก
2. มที ิวทศั นส์ วยงามมีต้นไม้ท่ีใหค้ วามร่มเยน็ พอสมควร
3. อยบู่ นทด่ี อนเวลาฝนตกสามารถระบายน้ำออกไดเ้ รว็ ไม่มนี ้ำขงั อยบู่ รเิ วณค่าย
4. เน้ือดนิ เป็นดินปนทราย เวลาเทนำ้ ลงไปจะได้ดูดซมึ ลงไปได้เร็ว ไม่ควรเลอื กบรเิ วณทเ่ี ปน็ ดินเหนยี ว
เพราะเมือ่ ฝนตก นำ้ จะซึมลงใต้พนื้ ดินชา้ มากและทำใหเ้ ป็นโลน
5. ไม่ควรกางเต็นทอ์ ยใู่ ต้ต้นไมใ้ หญเ่ พราะเวลาฝนตกน้ำฝนจะไหลจากใบไมล้ งส่เู ตน็ ท์เปียกเปน็
เวลานานและอาจได้รบั อนั ตรายจากกงิ่ ไม้หกั มาทับ
6. ควรเป็นทท่ี ่ีมีนำ้ เพยี งพอและตอ้ งเปน็ นำ้ ทส่ี ะอาดปลอดภัยแตก่ ็ไมค่ วรอย่ใู กลแ้ ม่นำ้ ลำคลองหรือ
หนองบึงมากเกินไปเพราะอาจได้รบั อนั ตราย
7. ไมค่ วรอยู่ใกล้กบั ถนนทม่ี ยี วดยานผ่านมากๆเพราะอาจเกดิ อบุ ัติเหตไุ ดง้ ่าย
8. ไมค่ วรอย่ไู กลจากตลาดสถานีตำรวจและสถานีอนามยั
9. ควรพจิ ารณาทศิ ทางลมในการกางเต็นทพ์ ยายามใหด้ า้ นขา้ งของเตน็ ทห์ ันเข้าหาลม
10. ควรตงั้ ค่ายพกั แรมใกลป้ า่ ทมี่ ใี บไม้มากๆเพราะจะได้ใช้ไม้ทำเชอื้ เพลงิ ในการหงุ ต้มอาหารและใช้
ในการฝึกลูกเสอื เช่นฝกึ สร้างสะพานและทำอปุ กรณท์ จี่ ำเปน็ อ่ืนๆเช่นทำท่ีควำ่ จานทำราวตากผา้ เป็นตน้

การวางผงั บริเวณทพ่ี ัก
การตง้ั เตน็ ท์ทีพ่ กั แรมควรตงั้ กันอยเู่ ป็นหมู่ ๆ หา่ งกนั ประมาณ 5-6 เมตร หรอื มากกว่านั้น

ให้เตน็ ท์ของผกู้ ำกับลกู เสืออยูต่ รงกลาง เต็นท์ของหมู่ต่าง ๆ ก็หลายลอ้ มเปน็ รปู วงกลมมลี านกว้างตรงกลาง
สำหรับเปน็ ท่ีแสดงรอบกองไฟ และปกั เสาธง

ใบความรู้
แผนท่ี
เส้นช้นั ความสงู (CONGOUR LINE) คือเส้นความสงู เท่านั้นเอง จุดทุกจดุ ทเ่ี สน้ ชน้ั ความสงู จาก
ระดบั น้ำทะเลจะมตี ัวเลขบอกความสงู กำกบั ไว้ (เป็นฟตุ )ในแผนทเี่ ส้นความสงู จะใชส้ ีนำ้ ตาล หลักในการหา
พิกัดตารางในแผนท่ี คอื ต้องอ่านไปทางขวาและข้ึนขา้ งบน (READ RIGHT UP)
เขม็ ทศิ
เขม็ ทิศ หมายถงึ เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการหาแนวทิศเหนือ (ทศิ เหนอื แมเ่ หล็ก) เขม็ ทิศท่ีนยิ มใช้ในวงการ
ลกู เสอื คอื เขม็ ทศิ ของซลิ วา ของสวเี ดน เปน็ เข็มทศิ และไม้โปรแทรคเตอรร์ วมอยดู่ ้วยกนั ใชง้ า่ ยและสะดวก

เขม็ ทศิ ซลิ วามีสว่ นประกอบดงั น้ี
1. แผ่นฐานเปน็ วตั ถโุ ปรง่ ใส
2.ท่ีขอบมมี าตราส่วนเป็นนว้ิ และซม.
3.มีลกู ศรช้ที ิศทางทจ่ี ะไป (Direction of Travel)
4.เลนสข์ ยาย
5. ตลบั เขม็ ทศิ เปน็ วงกลมหมุนได้ บนกรอบหน้าปัดของเข็มทิศและเป็น 360 องศา
6. ปลายเขม็ ทศิ เปน็ แม่เหลก็ สแี ดง จะชไ้ี ปทางทิศเหนอื เสมอ
7. ตำแหนง่ สำหรบั ต้งั หมุน และอ่านคา่ มมุ อยตู่ รงปลายลูกศรช้ที ิศทาง
การใช้เขม็ ทศิ ซลิ วากรณที ท่ี ราบคา่ หรอื บอกมมุ อะซมิ ุทมาให้ และจะตอ้ งการรู้ว่าจะต้องเดนิ ทางไป
ทิศทางใด (สมมตุ วิ ่าบอกมมุ อะซมิ ทุ มาให้ 60 )
1. ถอื เข็มทิศไว้บนฝ่ามอื ในแนวราบ โดยให้แมเ่ หล็กแกว่งไปมาได้อิสระ
2. หมนุ กรอบหนา้ ปัดของตลับเขม็ ทิศใหเ้ ลข 60 อยู่ตรงปลายศรช้ี
3. จงหันเหตวั เขม็ ทศิ ทงั้ ฐานจนกว่าเขม็ แมเ่ หลก็ แถวชตี้ ัวอักษร
4. เม่อื ลกู ศรช้ีทศิ ทาง ไปทางทิศใดกเ็ ดินไปตามทศิ ทางน้ัน (การเดินทางไปตามทิศทางทลี่ ูกศรแถวชี้
นัน้ ใหม้ อบหาจดุ เดน่ เชน่ ตน้ ไม้ ก้อนหนิ โบสถ์ ฯลฯ เปน็ หลกั แล้วเดินตรงไปยงั สงิ่ นั้น)
กรณจี ะหาค่าของมมุ อะซมิ ุท จากตำบลทเ่ี รายืนอยไู่ ปยงั ตำบลทเ่ี ราจะเดนิ ทางไป
1. ถอื เขม็ ทศิ บนฝ่ามือในแนวระดบั
2.หันลกู ศรช้ีทศิ ทาง (Directoin of Travel) จดุ ที่เราจะเดนิ ทางไป
3. หมุนกรอบหนา้ ปัดเขม็ ทิศไปจนครงึ่ อกั ษร จะอยู่ตรงปลายเขม็ แม่เหลก็
4. ตัวเลขบนกรอบหน้าปัดท่ีปลายศรแดง คอื ค่ามุมทเี่ ราตอ้ งการทราบ
ขอ้ ควรระวงั เกบ็ รักษาเขม็ ทิศ
1.จบั ถอื ด้วยความระมัดระวัง เพราะหน้าปดั และเขม็ บอบบางอ่อนไหวง่าย
2. อย่าใหต้ กแรงกระเทอื นทำใหเ้ สียได้
3.ไมค่ วรอา่ นเข็มทศิ ใกลส้ ง่ิ ทเ่ี ป็นเหลก็ หรือวงจรไฟฟา้
4. อย่าใหเ้ ปยี กนำ้ จะขึ้นสนิมอย่าให้ใกลค้ วามรอ้ นจะบิดงอ
คำช้ีแจง ให้นักเรยี นบอกหลักการใช้แผนทล่ี งในแผนภาพต่อไปนี้

คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนบอกช่ือการผกู เง่อื นตามรูปภาพในแตล่ ะหมายเลข

ก. เงือ่ นหว่ ง ข. เง่ือนกากบาท ค. เงอ่ื นตนี แมว
ง. เงอ่ื นบว่ งบาศ จ. เงือ่ นผกู ซงุ ฉ. เง่ือนบ่วงธนู
ช. เง่ือนประมง ซ. เงื่อนลาก ฌ. เงื่อนกระตุกเบด็
ญ. เงื่อนรูด



แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
กลุ่มสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าการป้องกันการทจุ รติ รหสั วชิ า สค ๒๒๐๒๒

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอรอ้ ง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบพบกลมุ่ ครัง้ ที่ ๑๔ (จำนวน ๖ ช่วั โมง)
เร่อื ง STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต

วนั ท่ี .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชี้วดั

1.อธบิ ายเกยี่ วกบั จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.อธิบายแบบอย่างความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมุ ิพลอดุลยเดช
เนอื้ หา
1.ความพอเพียงกับการตา้ นการทจุ ริต
2.STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นท่ี ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
1. ครพู บปะนักศกึ ษาเพอ่ื สอบถามรายละเอยี ดในวิชาที่สอนที่ผา่ นมาว่ามีความรู้ความเข้าใจ

ในวชิ าทีส่ อนรอบที่แลว้
1.2ครพู บปะนกั ศกึ ษาเพอื่ สร้างความคุ้นเคยและทำความเขา้ ใจกับวชิ าพรอ้ มชี้แจงตัวชี้วัด

ของ
หนว่ ยการเรียนรู้

ขั้นท่ี ๒ แสวงหาขอ้ มลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
2.1ครูวางแผนกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สอ่ื การสนออนไลนเ์ พือ่ ให้นกั ศกึ ษาม

ความรแู้ ละได้เห็นภาพที่ชัดเจนในกระบวนการสอนของครู
2.2ครูแบ่งกลมุ่ ผเู้ รยี นประมาณกลมุ่ ละ 3-5 คนเพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาเร่ือง
- ความพอเพยี งกบั การต้านการทจุ รติ
- ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขั้นท่ี ๓ การปฏบิ ัตแิ ละการนำไปประยุกต์ใช้ (Implementation : I)
3.๑ ตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอตามที่แต่ละกลมุ่ ได้รบั มอบหมาย ใหเ้ พอ่ื นรว่ มชนั้

ฟงั โดยครูเพม่ิ เติมในส่วนที่ยังไมส่ มบูรณ์ และให้ผเู้ รียนจดบนั ทกึ ลงในสมดุ
3.2ครมู อบใบงานเรอ่ื งความพอเพยี งกบั การตา้ นการทจุ รติ ใหผ้ เู้ รียนทำใหเ้ สรจ็ ในเวลาท่ี

กำหนด
3.3 ครมู อบหมายงาน กรต.ครง้ั ต่อไป

ข้ันที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
4.1 ครวู ดั ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นจากใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบย่อย ชิน้ งานและ

รายงาน

4.2 ครสู ังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นร้ขู องผเู้ รียนเช่นความสนใจ การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และความรับผิดชอบ เปน็ ต้น

ส่ือการเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี น
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
5. สอ่ื Internet

การวดั และประเมนิ
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

ตัวชวี้ ดั การเรยี นรู้
1 รอ้ ยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชีพเพอื่ ความเขม้ แขง็
2 รอ้ ยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวิเคราะห์ศักยภาพของ

ธุรกจิ
3 ร้อยละ 80 นักศกึ ษาสามารถวเิ คราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชอื่ ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงชื่อ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ความพอเพยี ง (sufficient)
พระราชดำรสั พระราชทานแก่บุคคลตา่ ง ๆ ท่เี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายชยั มงคลเนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระ

ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดสุ ิต วันศุกรท์ ี่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑
“...คำวพ่ อเพยี งมคี วามหมายกวา้ งออกไปอกี ไม่ไดห้ มายถึงการมพี อสำหรบั ใช้ของตวั เองมคี วามหมาย

ว่าพอมพี อกินพอมีพอกินนถ้ี ำ้ ใครไดม้ าอยทู่ นี่ ่ใี นศาลานเี้ มือ่ ๒๔ป๒ี ๕๑๗ถงึ ๒๕๔๑ก็๒๔ปีใชไ่ หมวนั น้นั ได้พูดถงึ
วา่ เราควรจะปฏิบตั ใิ หพ้ อมีพอกินพอมพี อกินนกี้ ็แปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงน่ันเองถ้าแตล่ ะคนพอมพี อกนิ ก็ใช้ได้
ย่งิ ถา้ ทัง้ ประเทศพอมพี อกินก็ยง่ิ ดีและประเทศไทยก็เวลานน้ั ก็เรมิ่ จะเป็นไมพ่ อมพี อกินบางคนกม็ มี ากบางคนก็
ไมม่ เี ลยสมยั ก่อนนี้พอมีพอกนิ มามยั น้ชี กั จะไม่พอมพี อกนิ จงึ ตอ้ งมนี โยบายทจี่ ะทำเศรษฐกจิ พอเพียง
เพอ่ื ทจ่ี ะใหท้ ุกคนมพี อเพยี งได้...”

“...คำวา่ พอกเ็ พยี งพอเพียงนีก้ พ็ อดงั นน้ั เองคนเราถ้ำพอในความต้องการก็มีความโลภน้อยเมื่อมีความ
โลภน้อยก็เบยี ดเบยี นคนอนื่ น้อยถำ้ ทุกประเทศใดมีความคดิ อนั นี้ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกิจมคี วามคิดว่าทำอะไรต้อง
พอเพยี งหมายความวา่ พอประมาณไมส่ ุดโตง่ ไม่โลภอยา่ งมากคนเรากอ็ ยู่เปน็ สขุ พอเพียงนอ้ี าจจะมีมากอาจจะมี
ของหรหู ราก็ไดแ้ ต่ว่าต้องไม่ไปเบยี ดเบียนคนอืน่ ต้องใหพ้ อประมาณพูดจำกพ็ อเพยี งทำอะไรกพ็ อเพยี งปฏบิ ตั ิ
ตนกพ็ อเพียง…”

“...อย่างเคยพดู เหมือนกันวา่ ทา่ นทงั้ หลายท่ีนั่งอย่ตู รงนถี้ ้ำไม่พอเพียงคอื อยากจะไปนงั่ บนเก้าอข้ี องผูท้ ี่
อยขู่ า้ งๆอนั นน้ั ไมพ่ อเพียงและทำไม่ได้ถำ้ อยากนง่ั อยา่ งนั้นกเ็ ดือดรอ้ นกันแนเ่ พราะว่าอดึ อดั จะทำใหท้ ะเลาะกัน
และเมอื่ มีการทะเลาะกันก็ไม่มปี ระโยชน์เลยฉะนนั้ ควรทจ่ี ะคิดว่าทำอะไรพอเพียง...”

“...ถ้าใครมคี วามคิดอย่างหน่ึงและตอ้ งการใหค้ นอน่ื มคี วามคดิ อย่างเดยี วกับตัวซงึ่ อาจจะไม่ถูกอนั นกี้ ็
ไมพ่ อเพยี งการพอเพยี งในความคดิ ก็คอื แสดงความคดิ ความเห็นของตัวและปลอ่ ยใหอ้ กี คนพูดบ้างและมา
พจิ ารณาว่าทีเ่ ขาพดู กบั ทเี่ ราพดู อันไหนพอเพยี งอนั ไหนเขา้ เร่อื งถ้ำไมเ่ ขา้ เรอื่ งกแ็ ก้ไขเพราะวา่ ถ้ำพูดกันโดยทีไ่ ม่
รู้เรอ่ื งกนั ก็จะกลายเปน็ การทะเลาะจากการทะเลาะด้วยวาจาก็กลายเปน็ การทะเลาะดว้ ยกำยซา่ งในทส่ี ุดก็
นำมาสคู่ วามเสยี หายเสยี หายแกค่ นสองคนทีเ่ ป็นตวั การเปน็ ตัวละครทง้ั สองคนถ้ำเป็นหมูก่ เ็ ลยเปน็ การตกี าน
อย่างรุนแรงซงึ่ จะทำให้คนอ่ืนอกี มากเดือดรอ้ นฉะนน้ั ความพอเพยี งนก้ี แ็ ปลวา่ ความพอประมาณและความมี
เหตผุ ล...” 74 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”สำนกั งานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ไดป้ ระมวลและกล่ันกรองจากพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระ
ปรมินทรมหาภูมิ

สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ไดป้ ระมวลและกลนั่ กรองจาก
พระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เรอ่ื ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง และขอ
พระราชทานพระบรมราชานญุ าตนำไปเผยแพร่ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระ
กรุณาปรบั ปรุงแก้ไขและทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามท่ขี อ
พระมหากรุณาโดยมใี จความว่า

“เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ปรัชญาชถ้ี งึ แนวการดำรงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทกุ ระดับตง้ั แต่
ระดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถึงระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ ำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ให้ก้าวทันต่อโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ
ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบภูมิคมุ้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อัน
เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงทงั้ ภายนอกและภายใน ทั้งน้ีจะต้องอาศยั ความรอบรคู้ วามรอบคอบ และความระมดั

ระวงั อย่างยงิ่ ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดำเนนิ การทุกข้นั ตอน และขณะเดยี วกัน
จะต้องเสริมสรา้ งพื้นฐานจติ ใจของคนในชาติ

คุณลักษณะทส่ี ำคญั ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบด้วย ๓ หว่ ง ๒ เงอ่ื นไข คอื แนวทาง
การดำเนินชีวิตให้อยู่บนทางสายกลางตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพน้ จากภยั และวิกฤตกิ ารณ์ตา่ ง ๆ
ทเ่ี กดิ ขึ้นก่อใหเ้ กิดคณุ ภาพชีวิตทด่ี อี ยา่ งมัน่ คงและยงั่ ยนื

• ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดตี อ่ ความจำเปน็ ไม่มากเกนิ ไป ไมน่ ้อยเกินไปและ
ตอ้ งไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผูอ้ ืน่

•ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจดำเนนิ การเรอื่ งต่าง ๆ อย่างมเี หตผุ ลตามหลกั วชิ าการ
หลักกฎหมาย หลกั ศีลธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมทีด่ ีงาม คดิ ถึงปจั จยั ทเ่ี กีย่ วข้องอย่างถี่ถว้ นโดยคำนงึ ถึงผล
ท่คี าดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทำน้ัน ๆ อยา่ งรอบคอบ

•มีภูมคิ ุม้ กนั ทีด่ ีในตัวเอง หมายถึงการเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลง
ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ มทจี่ ะเกดิ ข้ึน เพอ่ื ใหส้ ามารถปรับตัวและรบั มือได้อย่างทนั ท่วงที

เงื่อนไขในการตัดสนิ ใจในการดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑. เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกย่ี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องรอบดา้ นความ
รอบคอบทจี่ ะนำความรูเ้ หลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ใน
การปฏบิ ัติ
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ท่จี ะต้องเสรมิ สรา้ ง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่ือสตั ย์
สจุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ิต

ทม่ี า: สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ แนวทางดำเนินชวี ิตทางสายกลาง การพ่ึงตนเอง รจู้ ักประมาณตน
อยา่ งมีเหตุผล อยู่บนพื้นฐานความร้แู ละคุณธรรมในการพจิ ารณา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งดำเนนิ การไมไ่ ด้
เฉพาะเจาะจงในเรื่องของเศรษฐกิจแตเ่ พยี งอย่างเดยี วแตย่ งั ครอบคลมุ ไปถึงการดำเนนิ ชีวติ ดา้ นอืน่ ๆของ
มนษุ ย์ใหอ้ ยู่ร่วมกันในสังคมไดอ้ ยา่ งปกติสขุ อยา่ งเช่น หากเรามีความพอเพียง เราจะไมท่ จุ รติ คดโกงไมล่ กั ขโมย
ของ เบยี ดเบียนผอู้ ่นื ก็จะสง่ ผลใหผ้ ู้อนื่ ไมเ่ ดือดรอ้ น สงั คมกอ็ ยู่ไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ

การตา้ นการทจุ ริต
การทุจริต (Corruption) หมายถึง การใชอ้ าํ นาจทไี่ ดม้ าหรอื การใช้ทรพั ยส์ นิ ที่มอี ยูใ่ นทางมิชอบเพื่อ

ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั เพอ่ื น คนรู้จกั หรือประโยชน์อนื่ ใดอนั มคิ วรได้ซ่งึ กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่
ประโยชนข์ องผูอ้ ่ืน การทุจริตอาจเกิดไดห้ ลายลักษณะ เช่น การตดิ สนิ บนเจ้าพนกั งานดว้ ยการใหห้ รือการรบั
สินบน ทง้ั ทเ่ี ปน็ เงินและสง่ิ ของการมผี ลประโยชนท์ ้ับซ้อน การฟอกเงนิ การยักยอกการปกปิดขอ้ เท็จจรงิ การ
ขัดขวางกระบวนการยุติธรรม เปน็ ตน้

บริษทั และบรษิ ทั ยอ่ ยได้ตระหนักและใหค้ วามสําคญั ในการต่อตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน ซง่ึ ทีผ่ ่านมา
บริษทั ไดก้ ําหนด แนวทางในการประพฤติปฏบิ ตั ิทเ่ี หมาะสมของ คณะกรรมการ ฝา่ ยบรหิ าร และพนกั งาน ใน
จรรยาบรรณทางธุรกจิ และการกาํ กบั ดแู ลกจิ การ นอกจากน้นั บรษิ ทั ได้คํานึงถงึ ความเสยี หายทีจ่ ะเกิดจากการ
ทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน จงึ ได้กาํ หนดนโยบายต่อตา้ นการทุจริตคอรร์ ปั ชัน โดยห้ามกรรมการผบู้ รหิ าร พนกั งาน และ
ลูกจ้างของบริษทั และบริษทั ยอ่ ยกระทาํ การอันใดทเี่ กย่ี วข้องกบั การทจุ รติ คอรปั ช่ันทุกรูปแบบ เพื่อประโยชน์
ทางตรงหรือทางออ้ มตอ่ ตนเอง ครอบครวั เพื่อน และคนรจู้ ัก ไมว่ ่าตนจะอยูใ่ นฐานะผูร้ บั หรือผ้ใู ห้ทง้ั ทีเ่ ปน็ ตวั
เงนิ หรอื ท่ไี มเ่ ป็นตัวเงนิ แกห่ นว่ ยงานของรัฐ หรอื หนว่ ยงานเอกชนท่บี รษิ ทั และบรษิ ัทยอ่ ยได้ดําเนินธรุ กจิ หรอื
ติดต่อดว้ ย โดยมีแนวทางปฏิบัติดงั น้ี

๑. สร้างวฒั นธรรมองค์กรทซ่ี ่ือสตั ย์และยดึ มนั่ ในความเป็นธรรม
๒.ไมร่ บั สินบนหรอื ติดสินบน แกผ่ ู้มสี ว่ นได้เสียในเรอื่ งท่ตี นทําหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ท้ังโดยตรงหรือโดย
อ้อม เพอ่ื ให้ได้มาซึง่ ประโยชน์ในทางมชิ อบ
๓.ในการจัดซอ้ื จดั จ้าง/การจ่ายคา่ คอมมิชชั่น ตอ้ งดําเนินการผา่ นข้ันตอนตามระเบียบของบริษทั มี
ความโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้
๔.หลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ซ่งึ อาจนํามาซง่ึ การทจุ ริตคอรร์ ปั ชัน เชน่ ไมถ่ อื ห้นุ ในบริษทั
คแู่ ขง่ หลีกเลยี่ งการใช้ข้อมลู ภายใน เพอื่ ประโยชนข์ องตนในการซือ้ หรอื ขายหุ้นของบริษัทหรอื ใหข้ อ้ มลู
ภายในแก่ผู้อ่นื
๕.มคี วามรับผิดชอบต่อการจัดทํารายงานทางการเงนิ ที่มคี วามถกู ต้อง ครบถว้ น ตามมาตรฐานการ
บัญชที ่ีรบั รอง ท่วั ไป
๖. จดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ภายในท่ีรดั กุมมีประสิทธภิ าพ และมีการประเมนิ ความเพียงพอของ
ระบบการควบคมุ ภายในทกุ ปที ง้ั นีบ้ ริษทั ได้มกี ารวา่ จ้างบรษิ ทั ภายนอก (Outsource) ทาํ หนา้ ทเี่ ป็นผ้ตู รวจสอบ
ภายใน เพือ่ ประเมนิ ความเสีย่ งและรายการท่ีผดิ ปกติโดยจะนําเสนอผลการตรวจสอบภายในต่อคณะกรรมการ
ตรวจสอบอยา่ งนอ้ ยทุก ๆ ๓ เดอื น
๗. หากพบเห็นการกระทําทเี่ ข้าขา่ ยการทจุ รติ ที่มผี ลเกย่ี วข้องกบั บรษิ ทั ท้งั ทางตรงหรือทางออ้ มควร
แจง้ ใหป้ ระธาน เจา้ หน้าทบี่ รหิ ารทราบทันทโี ดยบรษิ ทั จะรกั ษาความลบั ของผู้แจง้ หรือร้องเรียนการทจุ รติ
เพ่อื ใหท้ กุ คนในองค์กรไดร้ ับทราบนโยบายการตอ่ ต้านทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน บริษทั จะเผยแพร่นโยบายดงั กล่าว

ใบงาน

คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง
๑.
ความพอเพยี งกับการตา้ นการทจุ รติ หมายถงึ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................
.................................................................................................................................................

๒. ๓ หว่ ง ๒เงื่อนไขคอื อะไรประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบายพอสงั เขป

............................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

๓. การต้านทุจรติ หมายถงึ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

๔. จงบอกวธิ กี ารต้านทุจริตมากลุ่มละ๓วิธี พรอ้ มอธบิ ายพอสงั เขป
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................

........................................................................................................ .........................................

ช่อื - สกลุ .............................................รหสั นกั ศกึ ษา...................................กศน.ตำบล...........................

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
กลมุ่ สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าการป้องกนั การทุจริต รหัสวชิ า สค ๒๒๐๒๒

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ คร้งั ที่ ๑๕ (จำนวน ๖ ช่วั โมง)
เร่อื ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
วนั ที่ .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชว้ี ัด

1.มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทจุ รติ

เนื้อหา
1 สาเหตขุ องการทจุ รติ และทิศทางการปอ้ งกันการทจุ รติ ในประเทศไทย
2.ทฤษฎคี วามหมาย และรูปแบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์
๓ แก้“ทจุ ริต” ตอ้ งคดิ แยกแยะปรบั วิธคี ิด พฤตกิ รรมเปล่ยี น สังคมเปล่ียนประเทศชาติเปลี่ยน โลก

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ ที่ ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ (Orientation :O)
1. ครพู บปะนักศกึ ษาเพอื่ สอบถามรายละเอยี ดในวชิ าท่ีสอนท่ผี า่ นมาว่ามคี วามรคู้ วามเข้าใจ

ในวชิ าที่สอนรอบทแี่ ล้ว
1.2 ครูและนักศึกษารว่ มกันศกึ ษาและสร้างความคุ้นเคยและทำความเข้าใจกบั วชิ าพรอ้ ม

ช้แี จงตัวชี้วดั ของหน่วยการเรียนรู้
ขั้นที่ ๒ แสวงหาข้อมูลและการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)

2.1 ครวู างแผนกระบวนการจดั การเรียนการสอน โดยใชส้ ่ือการสนออนไลนเ์ พอ่ื ใหน้ กั ศึกษามี
ความรแู้ ละได้เหน็ ภาพทช่ี ัดเจนในกระบวนการสอนของครู

2.2ครูแบ่งกลมุ่ ผู้เรียนประมาณกล่มุ ละ 3-5 คนเพื่อให้ผเู้ รยี นศกึ ษาเรอ่ื ง
- ความพอเพยี งกับการต้านการทจุ ริต
- แยกแยะปรบั วิธคี ิด พฤติกรรมเปลี่ยน สงั คมเปล่ียนประเทศชาติเปลีย่ น โลก

เปล่ียน

ขนั้ ที่ ๓ การปฏบิ ัตแิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (Implementation : I)
3.๑ ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอตามที่แตล่ ะกลมุ่ ไดร้ บั มอบหมาย ใหเ้ พอื่ นรว่ มช้ัน

ฟัง โดยครเู พม่ิ เตมิ ในสว่ นทย่ี ังไมส่ มบรู ณ์ และใหผ้ เู้ รียนจดบันทกึ ลงในสมดุ

กำหนด 3.2ครูมอบใบงานเรอื่ งความพอเพยี งกบั การต้านการทจุ ริตใหผ้ เู้ รียนทำใหเ้ สรจ็ ในเวลาที่
3.3 ครมู อบหมายงาน กรต.ครง้ั ตอ่ ไป

ข้ันท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)

4.1 ครวู ดั ผลการเรียนรูข้ องผู้เรยี นจากใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบย่อย ชิน้ งานและ
รายงาน

4.2 ครูสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนร้ขู องผเู้ รียนเช่นความสนใจ การร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และ
ความรบั ผิดชอบ เปน็ ตน้

สอ่ื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรียน
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
5. ส่ือ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สังเกต

๒. ใบงาน

๓. แบบทดสอบ

๔. การรายงานและการนำเสนอ

ตัวชี้วดั การเรียนรู้
1 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอ่ื ความเข้มแข็ง
2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเป็น และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ ักยภาพของ

ธรุ กจิ
3 ร้อยละ 80 นักศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงชอื่ ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

เร่อื ง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม การทจุ รติ เป็นหน่ึง
ในประเด็นที่ทั่วโลกแสดงความกังวล อันเนื่องมาจากเป็นปัญหาที่มีความ ซับซ้อน ยากต่อการจัดกรและ
เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนเป็นที่ยอมรับกันว่าการทุจริตน้ันมีความเป็นสำกล เพราะมีการทุจริตเกิดขึ้นในทุก
ประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศที่กำลังพัฒนา การทุจริตเกิดข้ึนทั้งในภาครัฐและ
ภาคเอกชน หรอื แมก้ ระทั่งในองคก์ รทไ่ี มแ่ สวงหำผลกำไรหรือองคก์ ร เพ่ือการกศุ ลในปจั จุบนั การกลา่ วหาและ
การฟ้องรอ้ งคดี การทุจรติ ยงั มีบทบาทสำคัญในด้านการเมอื ง มากกว่าช่วงทผ่ี ่านมา รฐั บาลในหลายประเทศมี
ผลการปฏิบัติงานท่ีไม่โปรง่ ใสเท่าทีค่ วร องค์กรระดบั โลกหลายองคก์ รเส่อื มเสยี ชื่อเสียง เนื่องมาจากเหตุผล
ดา้ นความโปรง่ ใส สื่อมวลชนท่ัวทั้งโลกต่างเฝ้ารอ ท่ีจะได้นำเสนอข่าวอื้อฉาวและการประพฤติผิดจรยิ ธรรม
ด้านการทุจรติ โดยเฉพาะบุคคลซึง่ ดำรงตำแหน่งระดบั สงู ต่างถกู เฝา้ จับจ้องวา่ จะถูกสอบสวน เมื่อใดไดท้ ุจริต
เป็นหน่งึ จะขัดประเทศให้เปน็ รฐั สมยั ใหม่ ซ่งึ เป็นทก่ี ันดีทจุ ริตควรเป็นประเดน็ แรกๆ ท่คี วรให้สำคญั ในระของ
ประเทศของทกุ ประเทศ เห็นได้ทุจริตส่งผลกระทำ โดยในประเทศ ที่กำลงั เชน่ เดยี วกันกับกลมุ่ ประเทศในภูม
เอเชียแปซิฟิกก็มีกังวลในหำกำทุจริต ด้วยเช่นเดียวกัน โดยเห็นพ้องต้องกันทุจริตใหญ่ท่ีกำลังขัด
เศรษฐกิจ และสังคม ใหก้ ้ำไปสู่รัฐสมัยใหม่และควรเป็นหำทค่ี วรจะต้องรบี แก้ไขโดยเร็วท่ีสุด ทจุ ริตน้ันเกิดข้ึน
ได้ในประเทศท่ีมี ดังต่อไปนี้ ๑) ระเบียบ หรือ ข้อกำหนดจำที่เก่ียวข้องกับดำเนินกิจ ซ่ึงจะเป็นที่จะท ำให้
เกิดผล หรือมูลค่ำเพ่ิม หรือกำไรส่วนเกินเศรษฐกิจ และโดยย่ิง หรือข้อกำหนด ดังซับซ้อน คลุมเครือเลือก
ปฏบิ ัติ เปน็ ความลบั หรอื ไมโ่ ปร่งใส ๒) เจา้ หนา้ ที่ มีสทิ ธใ์ิ ช้ดลุ ยพินิจ ซ่ึงให้อสิ ระในการเลอื กปฏบิ ัติจะเลอื กใช้
อำนาจใด กับใครก็ได้ ๓) ไม่มีกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ หรือองค์กรท่ีมีหน้าท่ีควบคุมดูแลและจัดการต่อการ
กระทำ ใดๆ ของเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจโดยย่ิง การทุจริตมีแนวโน้มที่จะเกิด ขึ้นได้อย่างมาก โดยไม่ใช่เพียง
เพราะว่าลักษณะประชำกรนั้นแตกต่างจากภูมิภาคอื่นท่ีพัฒนาแล้ว หาก แต่เป็นเพราะกลุ่มประเทศที่กำลัง
พฒั นานนั้ มีปัจจัยภายในต่ำงๆ ท่ีเอื้อ หรือสนับสนุนต่อการเกิดการ ทุจริต ๑) แรงขบั เคล่ือนที่อยากมีรายได้
เปน็ จำนวนมากอันเป็นผลเนื่องจากความจน คำ่ แรง ในอตั ราท่ตี ำ่ หรือมีสภาวะความเสย่ี งสูงในด้านตำ่ งๆ เช่น
ความเจบ็ ปว่ ย อุบัตเิ หตุ หรือการว่างงาน ๒) มีสถานการณ์ หรอื โอกาสท่ีอาจก่อใหเ้ กิดกรทุจรติ ไดเ้ ป็นจำนวน
มาก และมีกฎระเบียบต่ำงๆ ที่ อำนาจนำไปสู่การทุจริต ๓) กำรออกกฎหมายและกระบวนกำรยุติธรรมทไ่ี ม่
เข้มแข็ง ๔) กฎหมายและ 10 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต” ประมวล
จรยิ ธรรมไม ไ่ ด้รบั การพฒั นาให้ทนั สมยั ๕) ประชากรในประเทศยงั คงจำเปน็ ต้องพึ่งพา ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยู่
เป็นจำนวนมาก ๖)ความไม่มีเสถียรภาพ ทางการเมอื งและเจตจำนงทางการเมือง ท่ีไมเ่ ขม้ แข็ง ปัจจัยต่าง ๆ
ดังกลา่ วจะนำไปสูก่ ารทจุ รติ ไม่ว่าจะเปน็ ทจุ ริตระดบั บน หรอื ระดบั ล่างกต็ าม ซึ่งผลที่ตามมาอย่างเห็นไดช้ ัดเจน
มีด้วยกันหลายประการ เชน่ การทจุ ริตทำให้ภาพลกั ษณข์ องประเทศ ด้านความโปร่งใสน้ันเลวร้ายลงการลงทนุ
ในประเทศโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงจากนักลงทุนต่างชาตลิ ดน้อยลง สง่ ผลกระทบทำใหก้ ารเตบิ โตทางเศรษฐกิจลด
น้อยลงไปด้วยเช่นกัน หรือการทุจริตทำให้เกิดช่องว่าง ของความไม่เท่าเทียมท่ีกว้างข้ึนของประชากรใน
ประเทศ หรืออีกนัยหนึ่งคือระดับความจนน้ันเพ่ิมสูงข้ึน ในขณะท่ีกลุ่มคนรวยกระจุกตัวอยู่เพียงกลุ่มเล็กๆ
กลมุ่ เดยี ว นอกจากน้กี ารทจุ รติ ยงั ทำใหก้ ารสร้างและปรับปรงุ สาธารณูปโภคตา่ งๆ ของประเทศนั้นลดลง ท้งั ใน
ด้านปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งยังอาจนำพาประเทศไปสู่วิกฤติทางการเงินที่ร้ายแรงได้อีกด้วย การ

เปล่ียนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) จึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างมากต่อการดำเนินงาน ด้านการต่อต้านการ
ทุจรติ ตามคำปราศรัยของประธานท่ไี ดก้ ล่าวต่อท่ีประชุมองคก์ ารสหประชาชาติ ณ นครนวิ ยอรก์ สหรัฐอเมริกา
เมอื่ ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ว่า “การทจุ ริตเป็นหนึ่งในความทา้ ทายท่ีมคี วามสำคญั มากในศตวรรษท่ี ๒๑ ผนู้ ำโลกควร
จะเพ่ิมความพยายามขน้ึ เป็นสองเทา่ ทจ่ี ะสรา้ งเครื่องมอื ทม่ี คี วาม เข้มแขง็ เพือ่ รื้อระบบการทจุ ริตท่ีซ่อนอย่อู อก
ให้หมดและนำทรพั ยส์ ินกลับคืนให้กับประเทศตน้ ทาง ท่ีถูกขโมยไป…” ทั้งนไ้ี ม่เพียงแตผ่ ู้นำโลกเท่าน้นั ทต่ี ้อง
จรงิ จังมากขึ้นกบั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เราทกุ คน ในฐานะประชากรโลกกม็ ีความจำเป็นท่จี ะตอ้ งเอาจรงิ เอาจงั
กบั การตอ่ ตา้ นการทุจรติ เช่นเดียวกัน โดยท่ัวไปอาจมองว่าเป็นเรอ่ื งไกลตัวแต่แท้ท่ีจริงแลว้ การทจุ ริตนั้นเป็น
เรอื่ งใกล้ตัวทกุ คนในสังคมมาก การเปลีย่ นแปลงระบบวธิ กี ารคิดเป็นเร่อื งสำคญั หรอื ความสามารถในการการ
แยกแยะระหวา่ งประโยชน์ ส่วนตนออกจากประโยชน์สว่ นรวม เปน็ สงิ่ จำเปน็ ท่ีจะต้องเกิดข้นึ กบั ทกุ คนในสงั คม
ต้องมีความตระหนัก ได้ว่าการกระทำใดเป็นการลว่ งล้ำสาธารณประโยชน์การกระทำใดเป็นการกระทำท่ีอาจ
เกดิ การทบั ซอ้ น ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของประเทศชาติ
เป็น อันดับแรกกอ่ นที่จะคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง การทุจริตในสังคมไทยระหว่างชว่ งกว่า
ทศวรรษที่ผ่านมาส่งผลเสียต่อประเทศอยา่ งมหาศาล และเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ
รปู แบบการทจุ รติ จากเดมิ ทเ่ี ปน็ การทจุ รติ ทางตรงไมซ่ บั ซอ้ น อาทกิ ารรับสินบน การจดั ซอ้ื จดั จ้างในปจั จุบนั ได้
ปรับเปลย่ี นเป็นการทุจรติ ที่ซับซ้อน มากขึ้น ตัวอยา่ งเช่น การทจุ รติ โดยการทำลายระบบการตรวจสอบการใช้
อำนาจรัฐ การกระทำที่เป็น การขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือผลประโยชน์ทับซ้อนและการทุจริตเชิงนโยบาย
ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ร่วมกันสร้าง เครื่องมือกลไก
และกำหนดเป้าหมายสำหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ เริ่มต้ังแต่ช่วงปีพ.ศ.
๒๕๕๑ จนถึงปจั จุบนั การดำเนินงานไดส้ รา้ งความตนื่ ตวั และเขา้ มามสี ่วนร่วม ในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต ตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ท่ีจะต้องปรับฐานความคิดและสร้าง
ความตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วนของสังคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 11 สำหรับประเทศไทยได้กำหนดทิศ
ทางการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตซ่ึงมีความสอดคล้อง กับสถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และความรนุ แรง รวมถึงการสร้างความ ตระหนกั ในการประพฤตปิ ฏิบตั ิตนดว้ ยความซือ่ สัตย์สุจริต
ของคนในสังคม ทัง้ นีส้ ำนักงาน ป.ป.ช. ใน ฐานะองค์กรหลัก ดา้ นการดำเนินงานปอ้ งกันและปราบปรามการ
ทุจริต รวมทั้งการการทำงาน ด้านการต่อต้านการทุจริต เข้ากับทุกภาคส่วน ดังน้ัน สาระสำคัญที่มีความ
เช่ือมโยงกับทิศทาง การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ที่สำนักงาน ป.ป.ช. มีดังนี้ ๑. รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๒. วาระการปฏิรูปท่ี ๑ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบของสภาปฏิรูป แห่งชาติ ๓. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๔.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ๕. โมเดลประเทศไทยสู่ความ
ม่นั คง มงั่ ค่งั และยงั่ ยืน (Thailand ๔.๐) ๖. ยุทธศาสตรช์ าตวิ ่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะ
ที่๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ กำหนดในหมวดที่ ๔
หน้าทข่ี อง ประชาชน ชาวไทยวา่ “...บุคคลมหี นา้ ท่ีไม่ร่วมมือหรือสนับสนนุ การทุจริตและประพฤติมิชอบทุก
รปู แบบ” ถือได้วา่ เป็นครั้งแรกท่ีรฐั ธรรมนญู ไดก้ ำหนดใหก้ ารป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าท่ีของ


Click to View FlipBook Version