The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-22 08:29:04

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

แผนการสอน 1-64 ม.ต้น

บันทึกหลังสอน

ชื่อสาระ...การประกอบอาชีพ...ชอ่ื รายวชิ า...ทกั ษะการพฒั นาอาชพี ...รหัสวชิ า…อช ๒๑๐๐๒…
คร้งั ที.่ ..4...เรอ่ื ง ...................................... จำนวน ...6... ชั่วโมงระดับ ...มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ...
1. ผลการเรยี นร้ทู ่เี กดิ กบั ผเู้ รยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
2. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
3. ปญั หา/อปุ สรรคหรือส่งิ ทีต่ ้องการพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
4. ข้อเสนอแนะ/วิธกี ารแก้ไข พฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

ลงชื่อ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

ขอ้ คิดเหน็ ของผบู้ ริการ/หรือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

ลงชื่อ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอร้อง

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
รายวชิ าทักษะการพัฒนาอาชีพ รหัสวิชา อช ๒๑๐๐๒
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลุม่ คร้งั ที่ ๕ ( จำนวน ๖ ชั่วโมง )
เรอ่ื ง การทำแผนธรุ กิจเพื่อการพัฒนาอาชีพ
วันที่ .....เดือน ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.

ตัวช้ีวดั
๑. วิเคราะหช์ มุ ชนโดยการระดมความคิดเหน็ ของคนในชุมชน และกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ

รายได้ คา่ นยิ มของชมุ ชน เปา้ หมาย และกลยทุ ธ์ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๒. วเิ คราะห์ศักยภาพและจดั การเก่ยี วกบั ผลการดำเนนิ การในอดีตท่ผี า่ นมา

เนือ้ หา
การทำแผนธุรกจิ เพอ่ื การพฒั นาอาชพี
๑. การวิเคราะหช์ มุ ชน
๒. การกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย และกลยทุ ธ์ในการกำหนดแผนธรุ กจิ ของชมุ ชน

การจดั การความเสย่ี ง
3. การวเิ คราะห์ศักยภาพและการจดั การความเส่ียงกับผลการดำเนินงาน

กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
๑.ผเู้ รียนและครูรว่ มกนั วเิ คราะหช์ ุมชน และรว่ มระดมความคิดเหน็ กบั คนในชมุ ชนเพ่ือหาจดุ

แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรค จากนนั้ รว่ มกันกำหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมายและกลยทุ ธใ์ นการ
กำหนดทำแผนธรุ กิจเพื่อการพฒั นาอาชีพ

๒.ผ้เู รยี นและครูร่วมกนั วิเคราะห์ปญั หาในการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย กลยุทธ์
และวางแนวทางในการวางแผนปฏบิ ัติการใช้นวตั กรรม เทคโนโลยเี พื่อการขยายอาชีพ

๓. ผู้เรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ประเด็นปญั หาจากการอภปิ ราย และวเิ คราะห์นำมากำหนด
กจิ กรรมในการศกึ ษาหาความรูด้ ส้ นตนเอง กระบวนการกลมุ่ หรือวธิ ีอน่ื ๆ ทเี่ หมาะสม

ขนั้ ท่ี ๒ แสวงหาขอ้ มลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ผู้เรยี นศกึ ษาหาความรดู้ ้วยตนเองจากสือ่ อินเตอร์เนต็ ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ แหล่งเรยี นรู้อื่นๆ
๒. ผเู้ รียนนำความรูท้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษาค้นคว้ามาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพอ่ื นในกลุม่
๓. ผู้เรียนร่วมกันสรปุ องค์ความรู้ และเขียนสรปุ รายงาน นำเสนอครผู สู้ อน
๔. ผู้เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้รบั

ขนั้ ท่ี ๓ การปฏบิ ตั ิและการนำไปประยุกตใ์ ช้ (Implementation : I)
๑. ผู้เรียนนำความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปปฏบิ ัตใิ ชใ้ นการทำงาน การวางแผนเพอื่ การพัฒนาอาชพี การ

ดำรงชวี ติ ประจำวัน
๒. ผู้เรยี นรวบรวมผลการปฏิบัติ สรปุ และจดั ทำรายงาน

ขน้ั ที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalyation : E)
๑. ผู้เรยี นและครูร่วมกันสรปุ องคค์ วามร้จู ากการนำเสนอผลงาน รายงานของผเู้ รียน
๒. ผเู้ รียนนำความรู้ทไ่ี ด้จากการสรุปองค์ความรไู้ ปใช้ในการปรบั ปรงุ แก้ไข ข้อบกพรอ่ งของ

ตนเอง
๓. ครปู ระเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนจากผลงาน เอกสารรายงาน ใบงาน ตามสภาพความ

เป็นจรงิ และธรรมชาติของผเู้ รียน

ส่ือการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรยี นรายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหสั วิชา อช ๒๑๐๐๒
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. สื่อ Internet

การวดั และประเมิน
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ

๔. การรายงานและการนำเสนอ

แหล่งเรยี นรู้
1 กศน.ตำบล
2 หอ้ งสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
4 แหล่งเรยี นในตำบล

ตวั ชวี้ ัดการเรียนรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเป็นของการ

พฒั นาอาชีพเพอื่ ความเข้มแข็ง
2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ

ธุรกิจ
3 ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชอื่ ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ตำแหน่ง …………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้เรื่อง การทำแผนธุรกิจเพอื่ การพฒั นาอาชพี
๑. การทำแผนธุรกจิ เพ่ือการพัฒนาอาชีพ

ความหมายและความสําคัญของการจัดการพัฒนาอาชีพการพัฒนาอาชีพ หมายถึง การดาํ เนินการ
เพื่อใหการประกอบอาชพี มกี ารพัฒนากาวหนา ทงั้ ดานปรมิ าณและคุณภาพใหดีขึ้นสอดคลองกับความตองการ
ของตลาดอยางมีระบบ การพฒั นาอาชีพมคี วามสําคญั สรปุ ได ดังน้ี

1. เปนการใชทรพั ยากรในชุมชนใหเกดิ ประโยชนกับทองถ่ิน โดยการนํามาประกอบอาชพี ใหมรี ายได
มากข้ึน

2. เปนการขยายตลาดใหกวางขวางออกไปไดมากข้นึ
3. ชวยเปลย่ี นรูปแบบของผลติ ภณั ฑหรอื พัฒนาผลติ ภัณฑออกสูตลาดไดมากย่งิ ขน้ึ
4. ผบู ริโภคสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑตามทีต่ นเองตองการไดมากย่ิงข้ึน
5. การพัฒนาผลิตภัณฑชวยเพ่ิมปริมาณของผลิตภัณฑ และทําใหการใชแหลงทุน และการ
ดําเนินการดานการตลาดสามารถดาํ เนินการไดมากข้นึ ดวย
6. ชวยทาํ ใหเศรษฐกิจของชมุ ชนดขี ึ้น
7. เปนการชวยพัฒนาคุณภาพชวี ิตของคนในชมุ ชนใหดขี น้ึ และทําใหคนในชุมชนสามารถพึง่ ตนเองได
ในทีส่ ดุ
การพัฒนาอาชีพจะประสบความสาํ เรจ็ มดนอยเพีงใด ขึ้นอยูกับการพัฒนาตนเองเน่ืองจากปจจุบัน
เทคโนโลยีขาวสารมีความกาวหนา ดังน้ัน ผูประกอบการอาชีพจําเปนตองพัฒนาตนเองใหทันกับการ
เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ โดยฝกใหเปนคนชางสังเกต ชางคิด มีปฏิภาณไหวพริบดี มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
เปนคนละเอียดถถ่ี วน รอบคอบ มหี ลักการ เหตผุ ล ประกอบกบั การมีความขยันหมน่ั เพยี รในการทํางาน มี
ความอดทน ใฝหาประสบการณ อุทิศตนเพอื่ งานอาชีพอยางจริงจงั จงึ จะไดช่อื วาเปนผูที่รูจักพฒั นาตนเองเพอ่ื
ความสําเรจ็ ในงานอาชพี
การพฒั นาตนเอง หมายถงึ การท่ีบคุ คลกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายในชีวิตของตนไวลวงหนา
และหาวิธีพัฒนาใหบรรลุเปาหมายท่ีวางไว เชน กําหนดเปาหมายวาตองการปลูกขาวใหได ไรละ 100 ถัง
ดังน้ัน จะตองหาวิธีการดําเนินงานใหไดตามเปาหมาย เชน ใชพันธุขาวท่ีใหผลผลิตสูงควบคูกับการดูแล
รกั ษาอยางเอาใจใสซ่งึ มปี ระโยชนของการพฒั นาตนเองในการพฒั นาอาชีพ
1. ชวยเพิ่มพูนความรู ความสามารถ
2. ชวยใหเกดิ ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง
3. ชวยใหเกิดประสทิ ธภิ าพในการทํางาน
4. ชวยใหมคี วามสขุ ในการทํางาน
5. ชวยใหเกิดความคิดสรางสรรคในการสรางผลงาน

การวิเคราะหชุมชนเพือ่ การพฒั นาอาชีพ
การพัฒนาอาชีพ เปนการดําเนินงานอาชีพใหมีการพัฒนาและกาวหนายิ่งข้ึน ทั้งดานปริมาณและ

คุณภาพ โดยมคี วามสอดคลองกับความตองการของตลาดอยางมรี ะบบ
การพัฒนาอาชีพ จะประสบความสําเร็จมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับการวิเคราะหขอมูลสถานการณ

ของชุมชนท้ังภายในและภานอกใหตรงกับสภาพความเปนจริงตามท่ีมีการเปล่ียนแปลง เพ่ือการสรางความ
เชื่อมนั่ และกําหนดเปาหมายการพัฒนางานอาชีพทชี่ ดั เจน

ดงั น้นั การดาํ เนินการพฒั นาอาชีพใหประสบความสาํ เรจ็ แมวาผูดําเนนิ การอาชพี จะไดมกี ารดําเนินงาน
อาชีพมาแลว พรอมทัง้ ไดผานการวิเคราะหความเปนไปได รวมทั้งไดมีการศึกษาขอมลู องคประกอบท่ีเกย่ี วของ

มาแลวก็ตาม
ในการพัฒนาอาชพี จงึ มคี วามจําเปนทต่ี องวเิ คราะหขอมลู สถานการณของชมุ ชน ใหเหมาะสมสอดคล

องกับสภาพบริบทของพื้นที่ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม

ประเพณี และวถิ ชี ีวติ และทรัพยากรมนุษย
ดังนั้น เพอื่ เปนการสรางความเชื่อมน่ั และสามารถกําหนดเปาหมายในการดําเนินงานพัฒนาอาชีพได

อยางเหมาะสม จึงควรไดมีการวิเคราะหชุมชนเก่ียวกับสภาพบริบทของพื้นที่กับงานอาชีพที่ตัดสินใจจะ

ดาํ เนนิ การพัฒนา
การดําเนินการวิเคราะหชุมชน โดยทั่วไปนิยมใชเทคนิค SWOT ในการประเมิน เพราะ เปนเทคนิค

สาํ หรับการวเิ คราะหสภาพแวดลอมท่มี ผี ลกระทบวา มผี ลดีหรือผลเสยี อยางไรตอส่งิ ท่ีจะกระทาํ มีรายละเอยี ด

ดงั นี้
S (Strength) จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถ หรือสถานการณภายในชุมชนที่เปนเชิงบวก ซ่ึง

สามารถนํามาใชประโยชนในการทํางาน เพอ่ื ใหงานบรรลุวัตถปุ ระสงค หรือกอใหเกิดประโยชนตอการทํางาน

สงผลใหงานทท่ี ําเกดิ ความเขมแข็ง
W (Weakness) จุดออน หมายถึง สถานการณภายในชุมชนท่ีเปนเชิงลบ ซึ่งไมสามารถนํามาใชเป

นประโยชนในการทํางาน เพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงค หรือไมกอใหเกิดประโยชนตองาน อาจสงผลใหงานท่ี

ทาํ เกิดคงวามลมเหลวได
O (Oportunity) โอกาส หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ที่เอื้อประโยชนในการ

ทาํ งานใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค หรอื หมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกทเี่ ปนประโยชนตอการดาํ เนนิ งาน

T (Treat) อุปสรรค หมายถึง ป จจัยและสถานการณ ภายนอกชุมชน ท่ีขัดขวางหรือไม
สนบั สนนุ ตอการทํางานใหบรรลุวัตถปุ ระสงค หรอื หมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกที่เปนปญหาตอการ
ดําเนินงาน

ในการดําเนินการวิเคราะหชุมชนตามสภาพบริบทของพื้นท่ีไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะ
ภูมอิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ และทรัพยากรมนุษย กับงานอาชีพท่ีตัดสนิ ใจ
จะดาํ เนนิ การพฒั นา ดวยเทคนิค SWOT เพอ่ื การเขาสูอาชพี มีขน้ั ตอนการดําเนินงานดงั น้ี

1. กําหนดประเด็นสภาพบริบทของพ้ืนท่ีที่มีความสัมพันธตองานอาชีพท่ีตัดสินใจท่ีจะดําเนินการ
พฒั นา เพ่อื การนํามาวเิ คราะห เชน

1.1 กลุมอาชีพ เกษตรกรรม ประเด็นสภาพบริบทที่ ควรนํามาวิเคราะห ไดแก

ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิอากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ และทรพั ยากรมนษุ ย
1.2 กลุมอาชีพ อุตสาหกรรม ประเด็นสภาพบริบทท่ีควรนํามาวิเคราะ ห ไดแก

ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ สภาพภูมอิ ากาศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ

1.3 กลุมอาชีพพาณิ ชยกรรม ประเด็นสภาพบริบทท่ีควรนํามาวิเคราะห ไดแก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมอิ ากาศ ภมู ิประเทศ และทาํ เลทีต่ ้ัง

1.4 กลุมอาชีพความคิดสรางสรรค ประเด็นสภาพบริบทที่ควรนํามาวิเคราะห ไดแก

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย

1.5 กลุมอาชีพอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ประเด็นสภาพบรบิ ทท่ีควรนํามาวิเคราะห
ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และ

ทรัพยากรมนษุ ย
2.กาํ หนดรายละเอียดยอยท่ีจะทําการวิเคราะหในแตละประเด็นของสภาพบริบทแตละดานกับงาน

อาชีพทก่ี ําหนดจะดาํ เนนิ การพฒั นา เชน

ประเดน็ ของสภาพบริบท รายละเอียดของประเดน็

1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1.1 ความเหมาะสมและคุณภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ

1.2 ทรัพยากรธรรมชาติในชมุ ชน และ/หรือ ชุมชนขางเคียงท่ีเอ้ือต

องานอาชีพ

1.3 ปรมิ าณและคาใชจายในการซอ้ื ทรัพยากร

1.4 ปรมิ าณน้ำ /แหลงนำ้ ทต่ี องใชในงานอาชพี

1.5 รายละเอยี ดของประเดน็ อน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วของ

2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 2.1 ลกั ษณะภมู ิอากาศ

2.2 สภาพภมู ิอากาศกับการสนับสนนุ งานอาชีพ

2.3 ความสัมพันธของภูมอิ ากาศกบั สภาพพน้ื ที่

2.4 ความสัมพนั ธของภมู อิ ากาศกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ

2.5 รายละเอียดของประเดน็ อืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วของ

3. ภมู ปิ ระเทศ 3.1 ลักษณะภมู ิประเทศ

3.2 สภาพภูมปิ ระเทศกับการเก้อื หนนุ งานอาชีพ

3.3 ความสมั พันธของภมู ปิ ระเทศกบั งานอาชพี

3.4ความสมั พันธของภมู ิประเทศกับทรัพยากรธรรมชาติ

3.5 รายละเอยี ดของประเด็นอื่นๆ ทีเ่ กย่ี วของ

4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ี 4.1 งานอาชีพสอดคลองกับศิลปะของชมุ ชน

ชวี ติ 4.2 งานอาชีพมคี วามสัมพันธกับวัฒนธรรมของชุมชน

4.3 งานอาชีพมีความสมั พันธกบั ประเพณขี องชมุ ชน

4.4 งานอาชพี มคี วามสมั พนั ธกบั วถิ ชี วี ิตของคนในชมุ ชน

4.5 รายละเอียดของประเด็นอ่นื ๆ ทเ่ี กี่ยวของ

5. ทรพั ยากรมนษุ ย์ 5.1 ความรู ในการประกอบอาชีพของตนเอง

5.2 ผูรูในชุมชน ท่มี ีความรูเก่ียวกับงานอาชพี

5.3 แรงงานในชมุ ชนทีจ่ าํ เปนตองใชในงานอาชีพ

5.4การบริหารงานบคุ คล /แรงงาน

5.5 ความสัมพนั ธของคนในชุมชนกับผูประกอบการ

5.6 รายละเอยี ดของประเด็นอื่นๆ ทเ่ี กย่ี วของ

3. เมื่อสามารถกําหนดรายละเอียดยอยไดในแตละประเด็นของสภาพบริบทแลวในการวิเคราะห ให
ดาํ เนินการวิเคราะหในแตละดานของการวเิ คราะหดวยเทคนิค SWOT ตามตารางวเิ คราะหดังนี้

อาชพี ทีต่ ัดสนิ ใจเลือก................................................

สถานการณภายในชมุ ชน

จดุ แขง็ จดุ ออ่ น

1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ

2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภูมิประเทศ

4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ

5.ทรพั ยากรมนุษย์ 5.ทรพั ยากรมนษุ ย์

สถานการณภายนอกชมุ ชน

โอกาส อุปสรรค

1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ

2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

3. ภมู ิประเทศ 3. ภมู ปิ ระเทศ

4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต \ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ

5.ทรพั ยากรมนุษย์ 5.ทรพั ยากรมนุษย์

4. ดาํ เนินการวเิ คราะหระบขุ อมูลตามความเปนจริง ตามหัวขอของรายละเอียดยอยในแตละประเด็น

ของสภาพบริบทชุมชนวา มีความสัมพันธกับงานอาชีพที่จะดําเนินการพัฒนาอยางไร ท้ังน้ี ในการวิเคราะห

ระบขุ อมูล ผูดําเนินการไดแกผูที่ตดั สินใจพัฒนาอาชีพ เปนผูดําเนินการเอง โดยตองวิเคราะหระบุขอมูลดวย

ความเปนจรงิ

ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายในชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูลเกี่ยวกับ

รายละเอียดยอยในแตละประเด็น แยกขอมูลภายในชุมชนที่เปนเชิงบวกหรือเปนสวนสนับสนุน เกื้อหนุนให

งานอาชีพประสบความสําเร็จ ในดานจุดแข็ง และระบุขอมูลในชุมชนที่เปนเชิงลบ หรือเปนขอมูลที่

อาจจะ เปนปญหาไดกบั งานอาชพี ในดานจุดออน

ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายนอกชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูลเก่ียวกับ

รายล ะเอีย ดย อ ยใน แ ต ละ ป ระเด็ น แย ก ขอ มู ล ภาย น อ กชุ ม ชน ท่ี เป น เชิงบ วก ห รือ เป น ส วน

สนับสนุน เอื้อประโยชนในการทํางานอาชีพใหบรรลุวัตถุประสงค หรือเปนประโยชนตอการ

ดําเนินงาน ในดานโอกาส และระบุขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรืออาจจะเปนสิ่งท่ีขัดขวางหรือไม

สนบั สนุนตอการทํางานอาชีพใหบรรลวุ ตั ถุประสงค หรือเปนปญหาตอการดําเนนิ งานอาชีพ ในดานอุปสรรค

๒. การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการกำหนดแผนธุรกิจของชุมชนการจัดการ
ความเสี่ยง

วิสยั ทศั น์ เป็นการกาํ หนดภาพในการประกอบอาชีพในอนาคต มุงหวังใหเกดิ ผลอยางไร หรอื กลาวอีก

นยั หนึ่งคอื การมองเปาหมายของธรุ กจิ วาตองการใหเกิดอะไรข้ึนขางหนา โดยมขี อบเขตและระยะเวลากาํ หนด

ท่แี นนอน เชน รานขนมปงแหงหนึ่งในจังหวดั ชลบุรกี ําหนดวิสัยทัศนไววา “จะพัฒนาผลิตภัณฑขนมปงใหมี

ยอดการจําหนายสงู สุดของภาคตะวันออกภายใน 3 ป” ในการกาํ หนดวสิ ยั ทศั นเปนการนําเอาผลการวิเคราะห
ขอมูลชุมชนและขอมูลอาชีพของผูประกอบการ มาประกอบการพิจารณาอยางรอบคอบเพื่อการตัดสินใจท่ี
ดี มีความเปนไปไดเพอ่ื นําไปสู ความสาํ เร็จของธรุ กจิ ในทส่ี ุด

พันธกิจ คอื ภาระงานที่ผูประกอบการจะตองดาํ เนินการใหเกิดผลสําเร็จตามวิสัยทศั นที่กําหนดไวให
ได ผูประกอบการจะตองสรางทมี งานและกําหนดภารกจิ ของสถานประกอบการใหชัดเจน ครอบคลมุ ทง้ั ดาน
การผลติ และการตลาดการ

วิเคราะหพันธกจิ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพนั ธกิจใดควรทาํ กอนหรือหลัง หรือ
พนั ธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปลีย่ นแปลง ผูประกอบการและทีมงานจะตองรวมกันวิเคราะห เพื่อกําหนด
พันธกิจหลักของสถานประกอบการ ผูประกอบการและทีมงานจะตองจัดลําดับความสําคัญของพันธกิจและ
ดาํ เนนิ การใหบรรลุเปาหมายใหได

เปาหมายหรือเปาประสงค เปาหมายในการพัฒนาอาชีพ คอื การบอกใหทราบวาสถานประกอบการ
นน้ั สามารถทาํ อะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซง่ึ อาจจะกาํ หนดไวเปนระยะสัน้ หรือระยะยาว 3 ป หรอื 5 ป
ก็ได การกําหนดเปาหมายของการพัฒนาอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การ
กําหนด เปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดกจ็ ะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยให
การวางแผนมีคณุ ภาพยง่ิ ข้ึน และจะสงผลในทางปฏบิ ัติไดดีย่ิงขึ้น
กลยุทธในการวางแผนพัฒนาอาชีพ เปนการวางแผนกลยุทธในการพัฒนาอาชีพหรือธุรกิจน้ัน ๆ ใหสําเร็จ
ตามเปาหมายท่ีวางไวการวางแผนจะตองกําหนดวิสยั ทัศน เปาหมาย ระยะเวลาใหชดั เจน มีการวเิ คราะหสง่ิ ท่ี
จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต และมีการทํางาน วางระบบไวคอนขางสูงเพอ่ื ใหมีความคลองตัวในการปรับเปลี่ยนไดตาม
สถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งน้ี เพื่อใหผูประกอบการและทีมงานสามารถพัฒนาอาชีพใหมี
ประสิทธิภาพและมีความกาวหนาไดในอนาคต

3. การวิเคราะห์ศักยภาพและการจดั การความเส่ยี งกบั ผลการดำเนนิ งาน
ความสาํ คญั ของการวางแผน

การวางแผนพัฒนาธรุ กจิ ของชมุ ชน มีความสําคัญ ดังน้ี
1. ชวยลดความเสยี่ งที่จะเกิดขึ้นจากความไมแนนอนในการทํางานได เพราะไดมกี ารเตรียมการหรือ
เตรยี มความพรอมไวในแผนลวงหนาแลว
2. ทําใหการดําเนินการของสถานประกอบการเปนไปตามเปาหมายที่วางไว ต้ังแตเร่ิมตนจนถึงการ
ดําเนินการส้ินสุด
3. เปนการยอมรบั ความคิด วิธีการใหม ๆ ในการดาํ เนินการเนื่องจากมกี ารเปลยี่ นแปลงอยูตลอดเวลา
4. ชวยประหยัดเวลาในการดําเนนิ การ เนอ่ื งจากการวางแผนทาํ ใหมองเหน็ ภาพรวมของการทาํ งานได
ตลอดท้งั กระบวนการ
5. ทําใหสมาชกิ ของสถานประกอบการมคี วามเขาใจ สามารถมองเห็นภาพการทาํ งานรวมกนั ได โดยมี
แผนงานเปนเคร่ืองมือการดําเนนิ งานทช่ี ัดเจนขึ้น
6. ทาํ ใหเกิดการประสานงานที่ดีในสถานประกอบการ เน่อื งจากสมาชิกทกุ คนรูแนวทางการทํางานล
วงหนา
7. เปนแรงจงู ใจที่ดีในการทํางานของสมาชิกในสถานประกอบการ

ขนั้ ตอนกระบวนการวางแผน
ข้นั ตอนของกระบวนการวางแผนในการพัฒนาธรุ กจิ ของชมุ ชน มดี ังน้ี

1. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคตองใหชัดเจน เพ่ือเปนแนวทางการปฏิบัติหรือการดําเนิน
กิจกรรม ตาง ๆ

2. ขัน้ การกําหนดวตั ถปุ ระสงค การกําหนดวตั ถปุ ระสงคตองมีความชดั เจนวาจะทําเพื่ออะไรและวัตถุ

ประสงคน้นั จะตองมคี วามเปนไปไดหรือไม และสามารถวดั ผลได
3. ขน้ั การตง้ั เปาหมาย เปนการระบเุ ปาหมายทจี่ ะทําวาตงั้ เปาหมายในการดําเนนิ การไวจาํ นวนเทาใด

และสามารถวดั ไดในชวงเวลาสน้ั ๆ

4. ข้ันการกําหนดข้ันตอนการทํางาน เปนการคิดไวกอนวาจะทํากจิ กรรมอะไรกอน หรือหลัง ซ่ึงการ
กาํ หนดแผนกจิ กรรมน้ีจะทาํ ใหการดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธภิ าพ

5. ขัน้ ปฏบิ ัติกิจกรรมตามแผน ซ่งึ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่องจึงจะไดผล

6. ข้ันการปรับแผนการปฏบิ ตั ิงาน ในบางคร้งั แผนทวี่ างไวเมื่อไดดาํ เนินการไประยะหน่งึ อาจจะทาํ ให
สถานการณเปลี่ยนไป ผูประกอบการจึงควรมกี ารปรบั แผนบางเพ่ือใหสอดคลองกบั ความเปนจรงิ มากขน้ึ และ
การดาํ เนินงานตามแผนจะมีประสทิ ธภิ าพขนึ้

แบบฟอรมการเขียนแผนปฏิบัติการ มีหลายแบบผูดําเนินการสามารถเลือกใชแบบใดก็ไดขึ้นอยูกับ
วัตถปุ ระสงคของการใชและความเหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน

การวางแผนกลยทุ ธจะชวยสรางความเปนผูนาํ หรือภาพลกั ษณท่ีดใี หแกองคกรหรือธุรกจิ ได โดยแสดง

ใหเห็นจดุ เดนของธรุ กจิ วาจะใหเกิดอะไรขน้ึ ในอนาคต ดงั น้นั แผนกลยทุ ธจงึ มคี วามสาํ คัญ ดังน้ี
1. ชวยใหธรุ กิจหรอื สถานประกอบการสามารถพัฒนาตนเองไดทันกับการเปล่ียนแปลงของสภาวะ

เศรษฐกิจและสังคม เพราะไดวิเคราะหใหเห็นถึงสภาพตาง ๆ ของธุรกิจหรือสถานประกอบการและสภาพ

แวดลอมมาแลว
2. ชวยใหธุรกิจหรือสถานประกอบการนั้น สามารถดําเนินการไดอิสระมากขึ้น มีความ

รับผิดชอบ ตอความสาํ เรจ็ หรือลมเหลวดวยตนเอง เพราะการดําเนินงานสามารถทาํ ไดตามแผนท่ีกําหนด

ไว ไมใชตามความตองการของผูมอี ํานาจ
3. การวางแผนตองสอดรบั กับการกระจายอํานาจ จะชวยใหการกาํ หนดระเบียบวธิ ีปฏิบัตติ าง ๆ ใหผู

ปฏบิ ัติใชเปนบรรทดั ฐานในการทาํ งานไดเปนอยางดี ซ่ึงถอื วาเปนเครื่องมอื ของการปฏิบัตติ ามแผน

4. แผนกลยุทธเปนเงื่อนไข ของการกาํ หนดงบประมาณในการทํางาน โดยมุงเนนผลงานไดเปนอยางดี
5. แผนกลยุทธเปนแผนที่ทาทายความสามารถของผูปฏิบัติและชวยใหผูปฏิบัติมีความคิด
รเิ ริ่ม สรางสรรคและสามารถเลือกทางใหมในการทําธุรกิจหรือการประกอบการไดดวยตนเอง ดังนั้น

แผนกลยุทธจงึ เปนแผนพฒั นาไดอีกทางหน่งึ ดวย
ความเสีย่ ง หมายถึง เหตุการณหรอื การกระทําใด ๆ ทอี่ าจเกิดขึ้นภายในสถานการณทไ่ี มแนนอน

และสงผลกระทบหรือสรางความเสยี หายหรือความลมเหลว หรือการลดโอกาสท่ีจะบรรลเุ ปาหมายและวัตถุ

ประสงค เชน การลงทนุ ใดท่ีมีความไมแนนอนในอัตราผลตอบแทนสงู ความเสีย่ งกจ็ ะสูงตาม ดังนน้ั จงึ
อาจ กลาวไดวา ความเสี่ยง คอื อตั ราของความไมแนนอน

การจัดการความเสย่ี ง หมายถงึ กระบวนการในการวเิ คราะห ประเมิน ดแู ล ตรวจสอบ และควบคมุ

ความเส่ยี งทส่ี มั พนั ธกบั กจิ กรรมหนาท่ีและกระบวนการทาํ งาน เพ่ือใหงานลดความเสียหายจากความเส่ยี งมาก
ท่สี ดุ อันเน่อื งมาจากภยั ทีต่ องเผชญิ ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือเรยี กวา อบุ ตั ิภัยทยี่ ากจะหย่ังรวู าจะเกิดข้ึน
เมอื่ ใด

ความสาํ คญั ของความเสยี่ ง
ในการบริหารจดั การทว่ั ไป จะตองดาํ เนินงานตามวตั ถปุ ระสงคและเปาหมายโดยเฉพาะท่จี ะเก่ียวของ

กบั การควบคมุ เพอ่ื ใหไดผลสมั ฤทธ์ิตามเปาหมายนั้น ส่งิ ทต่ี องเนนคอื การตรวจสอบภายใน
การควบคมุ ภายใน การบริหารจัดการความเสีย่ ง
ผลกระทบจากความเสีย่ ง

ผลของความเสีย่ งอาจสงผลกระทบถงึ องคการได ดังนี้
1. ความเส่ยี งตอการดาํ เนนิ การทข่ี าดทนุ ผลการดาํ เนนิ งานที่ขาดทุนขององคการแสวงหากําไรท่เี กิด
จากการตดั สินใจผิดพลาดของผบู รหิ าร หรอื เกิดจากภยั ธรรมชาตทิ ไี่ มคาดฝน อาจนาํ ไปสคู วามลมสลายของ

องคการได สวนองคการทางการศึกษาถึงแมไมไดเปนองคการแสวงหาผลกําไร หากผบู รหิ ารตดั สินใจ
ผดิ พลาดยอมสงผลถึงความชะงกั งันหรือลมเหลวไดเชนกัน

2. ความเสย่ี งตอความลมเหลวของนโยบายหรือโครงการ หากผดิ พลาดในนโยบาย ยอมสงผลต

อทศิ ทางการพฒั นา หากเปนระดบั โครงการก็จะสงผลถงึ ความสญู เปลาของโครงการ จากการไมไดศึกษาความ
เปนไปได ไมไดคํานึงจุดคุมทนุ หรือมกี ารทุจริตคอรปั ช่ัน โดยเฉพาะโครงการของภาครัฐทป่ี ระสบ
ความ ลมเหลว

3. ความเสย่ี งตอความเชอ่ื ถอื ไววางใจ ความสาํ เรจ็ หรอื ความลมเหลวของผบู รหิ าร จะสัง่ สมถึงกระแส
นยิ มและความไววางใจของสาธารณชน
ทาํ ไมจงึ ตองปองกนั ความเสีย่ ง

ทุกคนเห็นความสาํ คัญของการปองกันความเสีย่ งโดยการลดความเสี่ยงอยแู ลว เชน ในชวี ิตจรงิ การทํา
ประกันภัยรถยนต การทําประกนั ชีวิต หรือประกันสขุ ภาพ เหลานี้เปนการปองกนั ความเส่ียงสวนบคุ คล สวน
การปองกันความเสี่ยงจากองคการ เพ่ือลดความเสีย่ งในองคการนน่ั เอง จึงพอสรุปได ดังนี้

1. เพ่ือใหผลดาํ เนนิ งานของหนวยงานเปนไปตามเปาหมายและวัตถุประสงคที่วางไว
2. เพ่อื สงเสรมิ ความมั่นคง และลดความผนั ผวนของรายไดอนั จะทาํ ใหองคการเตบิ โตอยางมี
เสถยี รภาพ53

3. ลดโอกาสทจี่ ะทาํ ใหเกิดการสญู เสยี จากการดาํ เนนิ งาน
4. เพิม่ คณุ คาใหกบั บุคลากร และผเู กีย่ วของ
5. เพอื่ ใหเกิดการบูรณาการกับระบบงานอื่นไดดกี วาเดมิ

ใบงานที่ 3

เรื่อง การทำแผนธรุ กจิ เพอื่ การพฒั นาอาชพี

จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. แผนธุรกจิ เปน็ เอกสารทมี่ คี วามสำคัญอย่างยิ่งตอ่ กิจการ เพราะอะไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. จงอธบิ ายการวิเคราะหส์ ถานการณ์หรอื เทคนิค SWOT ANALYSIS ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. ลักษณะของวสิ ัยทัศนท์ ด่ี ีมีอะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4. ทำไมจงึ ตอ้ งมีการกำหนดพนั ธกจิ ให้ชัดเจน เพอ่ื อะไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
5. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร ของ R.Waterman มอี ะไรบา้ ง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 4
เร่ือง การทำแผนธุรกจิ เพอื่ การพฒั นาอาชีพ

จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. ความเสี่ยง หมายถงึ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. องค์ประกอบของความเสี่ยงมีอะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. จงอธิบายประเภทของความเสี่ยงมาพอเขา้ ใจ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4. เรามีวิธีการบริหารความเสีย่ งได้อยา่ งไรบา้ ง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
5. เรามีวธิ กี ารจดั การความเสีย่ งไดอ้ ย่างไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
รายวชิ าทักษะการพฒั นาอาชีพ รหัสวิชา อช ๒๑๐๐๒
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ ครั้งที่ ๖ ( จำนวน ๖ ช่วั โมง )
เรื่อง ๑. การจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร

๒. การจัดการการตลาด
วนั ท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตวั ชี้วัด
๑. จดั การเกีย่ วกับการควบคุมคุณภาพ
๒. อธิบายขนั้ ตอนการลดต้นทนุ การผลติ /บริการ
๓. จัดทำแผนการจดั การการผลิต/บริการ
๔. จดั การการตลาดเพ่อื นำผลผลิตเขา้ สตู่ ลาด
๕. จัดทำแผนการจดั การการตลาด

เนือ้ หา
การจัดการการผลติ หรือการบรกิ าร
๑. การจดั การเก่ียวกบั การควบคมุ คณุ ภาพ
๒. การลดต้นทนุ การผลติ /บรกิ าร
๓. การจดั ทำแผนการจดั การการผลิต/บรกิ าร
การจัดการการตลาด
๑. การจัดการการตลาด
๒. การจัดทำแผนการจดั การการตลาด

กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ ๑ กำหนดสภาพปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (Orientation :O)
๑.ผู้เรยี นรว่ มกบั ครทู บทวนเนอื้ หาและอธบิ ายเพม่ิ เติมถงึ การพัฒนาอาชพี ในปัจจุบนั
๒.ผ้เู รยี นร่วมกบั ครูศึกษา วิเคราะห์ การจัดการการผลติ หรอื การบริการ การจัดการ

การตลาดในการพฒั นาอาชพี ทีเ่ หมาะสมกับตนเอง
ขน้ั ที่ ๒ แสวงหาข้อมลู และการจัดการเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ผูเ้ รยี นศกึ ษาการจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร การจดั การการตลาดจากหนงั สอื เรียน

และใบความรู้
๒. ผูเ้ รียนแบง่ กลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาดังเรื่องต่อไปนี้

การจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร
๑) การจัดการเกย่ี วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ

๒) การลดตน้ ทุนการผลติ /บรกิ าร
๓) การจัดทำแผนการจัดการการผลิต/บรกิ าร
การจดั การการตลาด
๔) การจัดการการตลาด
๕) การจดั ทำแผนการจัดการการตลาด
๓. ผ้เู รียนและครแู ลกเปล่ยี นเรียนรู้ โดยใชค้ ำถามปลายเปิดในการชวนคดิ ชวนคยุ
๔. ผ้เู รียนศกึ ษาเรยี นร้เู พ่ิมเตมิ จาก Internet

ขัน้ ที่ ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (Implementation : I)
๑.ผู้เรียนนำข้อมลู การจัดการการผลติ หรอื การบรกิ ารและการจัดการการตลาดมานำเสนอ

โดยเปดิ ประเดน็ อภิปรายแลกเปลย่ี นระหวา่ งกัน
๒.ผเู้ รยี นทำใบงานและสรุปองคค์ วามรแู้ ละบันทกึ ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเรยี นรู้
๓.ผูเ้ รยี นนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรยี นรมู้ าปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
๔.มอบหมายงาน กรต.ครง้ั ต่อไป

ขน้ั ท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evalyation : E)
๑.ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ ม/นำเสนอ/แบบฝกึ หัด/ใบงาน
๒.ผูเ้ รยี นสรปุ องค์ความรู้ เพอ่ื ตอ่ ยอดในการพบกลุม่ ครง้ั ต่อไป

สอ่ื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหสั วิชา อช ๒๑๐๐๒

๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน

๔. แบบทดสอบ
๕. ส่ือ Internet

การวดั และประเมิน
๑. สังเกต

๒. ใบงาน

๓. แบบทดสอบ

๔. การรายงานและการนำเสนอ

แหลง่ เรยี นรู้

1 กศน.ตำบล

2 หอ้ งสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
4 แหลง่ เรียนในตำบล

ตวั ชี้วัดการเรยี นรู้
1 ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอ่ื ความเขม้ แขง็
2 ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคุณคา่ ของการวเิ คราะห์ศกั ยภาพของ

ธุรกิจ
3 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวิเคราะหต์ ำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชอ่ื ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหน่ง …………………………………..

ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่อื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรูเ้ รอื่ ง การจดั การการผลติ หรือการบริการ
การจดั การเกีย่ วกับการควบคมุ คุณภาพ

1. ความหมายการจดั การเก่ยี วกับการควบคมุ คณุ ภาพการผลติ หรอื การบรกิ ารการประกอบการอาชพี
ใหมีความเจริญกาวหนานั้น จําเปนท่ีผูประกอบการอาชีพ ตองมีความรูความเขาใจ ในเรื่องการจัดการ การ
ผลติ และการบริการเปนอยางดี การจดั การการผลิตหรือการบริการมคี วามหมายสรุปไดดังนี้

การจัดการ หมายถึง กระบวนการที่ดําเนินงานตามขั้นตอนต าง ๆ อยางตอเนื่องและมีการ
ประสานงานกัน เพอ่ื ใหบรรลเุ ปาหมายขององคกรหรือกิจการ

การผลิต หมายถึง การจดั ทํา การประกอบ หรือสรางสนิ คาหรอื ผลิตภัณฑโดยผานกระบวนการแปร

สภาพจากวตั ถดุ บิ
การบรกิ าร หมายถงึ การบรกิ ารทดี่ แี กลูกคา หรอื การทําใหลูกคาไดรับความพงึ พอใจ มคี วามสขุ และ

ไดรับผลประโยชนอยางเต็มท่ี

การควบคุมคณุ ภาพ หมายถึง การจดั กจิ กรรมตาง ๆ เพอื่ ใหผลติ ภัณฑตอบสนองความตองการและ
สามารถสรางความพงึ พอใจใหกับลกู คาบนแนวคดิ พ้ืนฐานวา เม่อื กระบวนการดี ผลลัพธทีอ่ อกมากจ็ ะดีตาม

2. วตั ถปุ ระสงคการจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรือการบริการการควบคุมคุณภาพ

นั้น มีวัตถปุ ระสงคเพือ่ ใหสนิ คาหรอื ผลติ ภัณฑหรือการบรกิ ารบรรลุจดุ มุงหมายดงั ตอไปนี้
1) สนิ คาทีส่ ัง่ ซือ้ หรือส่ังผลติ มคี ุณภาพตรงตามขอตกลงหรอื เงื่อนไขในสญั ญา
2) กระบวนการผลิตดําเนินไปอยางถูกตองเหมาะสม

3) การวางแผนการผลิตเปนไปตามทก่ี ําหนดไว
4) การบรรจุหบี หอดีและเหมาะสม หมายถึง สามารถนําสงวัสดยุ งั จุดหมายปลายทางใน
สภาพดนี อกจากน้กี ารควบคุมคุณภาพยังกอใหเกดิ ประโยชนตอการผลติ คอื

1) เพ่ือใหเสียคาใชจายหรือตนทุนต่ำที่สุด โดยการใชปจจัยการผลิตและวิธีการผลิตที่
เหมาะสม

2) เพือ่ ใหไดปริมาณสินคาตรงตามความตองการของตลาดไมมาก และไมนอยเกนิ ไป จนไม

สามารถตอบสนองความตองการของตลาดได
3) เพ่อื ใหไดสินคาตรงตามเวลาที่ลกู คาตองการ
4) เพอ่ื ใหไดคณุ ภาพสนิ คาตรงตามทลี่ ูกคาตองการ ไมมีจุดบกพรองหรือเนาเสีย

3. ขั้นตอนการควบคุมคณุ ภาพการผลิต แบงออกเปน 4 ขัน้ ตอน คือ
1) ขนั้ การกําหนดนโยบายในข้ันน้ีจะเปนการกําหนดวัตถุประสงคกวาง ๆ เชน ระดับสนิ คา

ขนาดของตลาด วธิ ีการจําหนาย ตลอดถงึ การรับประกัน ขอกําหนดเหลานี้จะเปนเคร่ืองชี้นําวากิจการจะตอง

ทาํ อะไรบางเพอ่ื ใหบรรลุวตั ถุประสงคทีไ่ ดวางเอาไว
2) ข้ันการออกแบบผลิตภัณฑการออกแบบผลิตภัณฑในท่ีนี้ หมายถึง การกําหนด

คุณลกั ษณะของผลติ ภัณฑ เชน วิทยุที่จะทาํ การผลติ ขึน้ น้ีมีขนาดกี่วัตตสามารถรับไดก่ีชวงความถี่ และมรี ะบบ

ตัดคลนื่ รบกวนหรือไม เปนตน ขอควรคํานงึ ถึงสําหรับการออกแบบผลิตภัณฑน้ีคือ จะตองรูวาฝายผลติ มีขีด
ความสามารถมากนอยเพียงใด การออกแบบผลิตภัณฑ จึงตองมีความสมั พนั ธกบั ระบบการผลติ

3) ข้นั ตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลิต แบงออกเปนข้ัน

ตอนยอย 3 ข้ัน คือ การตรวจสอบคุณภาพของช้ินสวน การควบคุมกระบวนการผลิตและการตรวจสอบ
คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ข้ันน้ี สวนใหญจะใชเทคนคิ การสุมตัวอยาง เพราะผลิตภณั ฑ
ที่ผลติ ไดน้ันมจี ํานวนมากไมอาจจะทําการตรวจสอบไดอยางทั่วถึงภายในเวลาจํากัด

4) ข้ันการจําหนาย การควบคุมคุณภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซ่งึ ใน
ระบบการตลาดสมัยใหมถือวาเปนเร่ืองสําคัญมาก เพราะสินคาบางชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาประเภท
เครื่องมือ เครื่องจกั รหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสซึง่ มีวิธีการใชและการดูแลรักษาทคี่ อนขางยงุ ยาก ผูผลิต
หรือผูขายจะตองคอยดูแลเพื่อใหบริการหลังการขายแกผูซ้ืออยูเสมอ เพื่อสรางความพึงพอใจ ซ่ึงจะมี
ผล ตอความเชือ่ ม่นั และความกาวหนาทางธุรกจิ ในอนาคต

การลดตน้ ทุนการผลิต/บรกิ าร
1. แนวคิดในการลดและควบคมุ ตนทุนการผลติ
การดําเนินงานธุรกิจทุกประเภท ใหสามารถดาํ รงอยูไดอยางมั่นคง จําเปนท่ีผูประกอบการหรือเจา

ของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิตและการบริการโดยแนวคิดในการลดและควบคุมตนทุนการผลิตนั้น
มหี ลกั การ ดงั นี้

1. ศึกษาวิเคราะหและสํารวจสถานภาพปจจุบันของการผลิต คือ แรงงาน วัตถุดิบ ตนทนุ การผลิต
เมื่อรูปจจัยการผลิตแลวทําใหสามารถหาขอบกพรองและหาวิธีลดตนทุนได

2. วเิ คราะหหาสาเหตุของตนทนุ สูญเปลาท่ีเกิดขนึ้ จากการผลิตสินคา และการบรกิ าร หมายถงึ การ
เสยี คาใชจายแตไมไดกอใหเกดิ ประโยชนตอธุรกจิ

3. ปฏิบตั ิการลดและควบคุมตนทุนการผลิตในสวนของคาใชจายท่ีไรประสิทธิภาพ มีความสูญเปลา
โดยดาํ เนินการตอเนอ่ื งใหบรรลุผลสําเรจ็

การดาํ เนนิ ธุรกิจตองเผชญิ กบั ขอจาํ กดั หลายอยางทเี่ ปนอุปสรรคและเปนเหตใุ หตนทุนการผลิตสงู ข้นึ
จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงข้ึน ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะการนําวัตถุดิบจาก
ภายนอกเขามา ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น เชน คาน้ำมัน คาน้ำ คาไฟฟา คูแขงขันมีมากขึ้นและทวีความ
รุนแรงมากขึ้น จําเปนทีผ่ ูประกอบการหรือเจาของธุรกิจตองลดตนทนุ การผลิตตอหนวยสินคาที่ผลิตจะมีผลให
ได กําไรมากข้ึน ดังนั้นผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพ่ือลดตนทุนการผลิตใหต่ำลง โดย
กําหนด เปาหมายการผลิตใหเหมาะสมเพอ่ื ความอยูรอด มีการปรับปรุงโครงสรางในการประกอบธรุ กิจ
พัฒนาระบบ การสงเสรมิ การขาย ซึง่ เปนกุญแจสาํ คญั สูความสาํ เรจ็

2. ปจจัยในการลด ควบคุมตนทนุ การผลติ
ในการผลิตสินคาตนทุนการผลิตจะสูงหรือต่ำน้ัน ข้นึ อยูกับปจจยั ตาง ๆ หลายประการดงั นี้
1. ผูบริหารตองมีนโยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมว
าจะ เปนนโยบายดานคุณภาพมาตรฐานระดับสากล เชน ไอเอสโอ. การสนับสนุนศักยภาพของ
บุคลากร ฯลฯ หรอื ระบบและวิธกี ารลดตนทุน ซ่งึ ตองดาํ เนนิ การอยางจริงจงั และตอเน่ือง
2. สรางจิตสํานึกพนักงาน ใหมีจิตสํานกึ ที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลติ จึงจะไดรับความรวมมือ
และประสบความสาํ เร็จได
3. มีมาตรการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของการบรหิ ารจดั การธรุ กิจอยางจรงิ จัง
ทุกปจจัยที่กลาวมามีความสําคัญเทากันหมด แตการจะดําเนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี
คุณภาพ ผบู ริหารธุรกจิ ตองกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจรงิ จงั และตองมีการจดั ทําขอมูลและ
วัดประสิทธภิ าพของการลดตนทุนอยางตอเนอ่ื ง
ในการบริหารจดั การการผลติ ควรกาํ หนดเปาหมายในเรื่องตาง ๆ ดงั น้ี
1. ประสิทธภิ าพการผลิต คือ ดัชนีช้ีวัด การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและผลการดําเนินงานของ
ธุรกิจเราเองกับธุรกจิ อ่ืนท่มี ลี ักษณะการดาํ เนนิ งานเดียวกันวามผี ลการดาํ เนนิ งานธุรกิจแตกตางกันอยางไร

2. คณุ ภาพสินคาและบรกิ าร ผูประกอบการหรือเจาของธุรกจิ ตองปลูกฝงใหพนักงานมี ความเขาใจ
ในการควบคุมคณุ ภาพจะทาํ ใหเกิดความเสยี หาย เพือ่ รกั ษาคุณภาพของผลผลิตตามมาตรฐานท่กี าํ หนดไว

3. การสงมอบ ตองสงมอบตรงเวลาตามทล่ี ูกคาตองการโดยไมมปี ญหา การวางแผนการผลติ และสงม
อบใหลูกคาตองใหความสาํ คัญเปนพิเศษมิเชนนัน้ จะทาํ ใหเสียระบบการทําธุรกิจ

4. ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุนมิใชสิ่งท่ีจะทําให
คุณภาพของสินคาลดลงแตเปนการบรหิ ารจัดการในการผลติ ใหมกี ารใชตนทุนตำ่ ลง

5. ความปลอดภัย เปนเรื่องทเ่ี ก่ยี วกับพนกั งานโดยตรง ซึ่งควรกระทาํ อยางยงิ่ เพราะย่ิงเครงครดั มาก
เพียงใด พนักงานกป็ ลอดภยั มากเทานั้น และมสี วนทําใหตนทุนการผลติ ลดนอยลง รวมทงั้ สรางคณุ ภาพชวี ติ ให
พนกั งานได

6. ขวญั และกาํ ลังใจ ยิง่ มีความปลอดภัยสูง ขวัญและกาํ ลังใจของพนักงานก็ยง่ิ สูง โดยวธิ ที ี่ดที ่สี ุดคือ
การเพิ่มคาจางและเพิ่มสวัสดิการใหกบั พนักงาน

7. ส่ิงแวดลอมทดี่ ใี นโรงงาน ถือเปนการสรางคุณภาพชีวติ ท่ีดีใหกับพนกั งาน ปจจบุ ันธรุ กิจท่เี ก่ียวกับ
มาตรฐานและจัดการกบั ส่ิงแวดลอมไดดี ถือเปนความรับผดิ ชอบตอสังคมดวย

8. จรรยาบรรณ ผูประกอบการหรอื เจาของธรุ กิจตองยอมรบั และปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตผลิต
ภัณฑหรอื การบรกิ าร เมอื่ เกิดความผดิ พลาด เพ่ือสรางความปลอดภัยและความมน่ั ใจใหแกลกู คา

ห าก เจ าข อ งธุร กิจ ส าม าร ถป ลู ก ฝ งทุ ก ข อท่ี ก ล าว ม าให กั บ บุ ค ลา กร ขอ งอ งค ก รได รับ รู แล ะ ร ว ม
ปฏิบัติ ปญหาในกระบวนการผลิตจะไมเกิดขึ้นโดยเด็ดขาด และส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดคือการผลิตจะมี
ประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ

3. การควบคมุ การจดั การการผลติ หรือการบริการ
การดําเนินงานธุรกจิ ใหมีการพฒั นาอยางตอเนอื่ ง เพ่ือใหธุรกจิ มีความมัน่ คงนนั้ ผูประกอบการหรอื เจา

ของธรุ กิจตองมีระบบควบคมุ การจัดการการผลิตและการบริการ ระบบการควบคุมทีน่ ิยมใชมาก ไดแกวงจร
ควบคุม PDCA (Deming Cycle) มีรายละเอียด ดงั น้ี

1) P (Planing) การวางแผน หมายถึง การวางแผนวามีโครงการกิจกรรมหรือวิธีการอะไร ในการ
บริหารจดั การการผลติ หรอื การบริการ

2) D (Do)การปฏิบตั ิ หมายถงึ การดําเนินงานตามแผนท่กี าํ หนดไว
3) C (Check) การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบผลที่เกิดจากการปฏิบัติวามีผลเปนไป
ตาม เปาหมายหรือวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ในการวางแผนหรือไมอยางไร
4) A (Action) การปรบั ปรุงแกไขและตั้งมาตรฐานในการทํางาน หมายถึง การกําหนดแนวทาง วิธี
การใหมเพือ่ แกไขปญหาขอบกพรองทพ่ี บจากการตรวจสอบ
วงจรการควบคุม PDCA (Deming Cycle) ตองมกี ารดําเนินการอยางตอเนอ่ื ง เมื่อเสรจ็ สิ้นแลวตอง
เริม่ ทําใหมเพ่อื ใหเกดิ การปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่องโดยไมหยุดน่ิง

ใบงานท่ี 5
เร่ือง การจัดการการผลติ หรือการบริการ

จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. การควบคุมคุณภาพ หมายถงึ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. การจัดการเกีย่ วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ คอื อะไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. การใชน้ วัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิตในปจั จุบนั มอี ะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4. เรามีวิธกี ารลดตน้ ทนุ การผลิตไดอ้ ย่างไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
5. กระบวนการผลติ มกี ขี่ ้นั ตอน อะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
6. จงบอกข้ันตอนการควบคุมคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์มอี ะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
7. ถ้าเราจะตัดสนิ ใจดำเนนิ ธุรกิจการทำผลิตภัณฑต์ อ้ งคำนงึ ถงึ ใดบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................



แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
รายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหัสวชิ า อช ๒๑๐๐๒
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลมุ่ ครั้งที่ ๗ ( จำนวน ๖ ชั่วโมง )
เร่ือง ๑. การขับเคลอื่ นสรา้ งธุรกจิ เพ่ือพฒั นาธุรกิจ

๒. โครงการพฒั นาอาชพี
วันที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตัวชวี้ ัด
๑. วเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปไดข้ องแผนปฏิบตั ิการ
๒. พฒั นาแผนปฏิบตั ิ
๓. ข้ันตอนการขับเคล่อื นแผนพฒั นาอาชีพ
๔. อธบิ ายความสำคญั ของการทำโครงการประกอบอาชีพ
๕. เขยี นโครงการ
๖. เขยี นแผนปฏิบัตกิ าร

เนือ้ หา
การขับเคล่ือนสรา้ งธรุ กิจเพื่อพฒั นาธุรกจิ
๑. การวิเคราะห์ความเปน็ ไปไดข้ องแผนพฒั นาอาชพี
๒. การพัฒนาแผนพฒั นาอาชพี
๓. ขนั้ ตอนการขับเคลื่อนแผนพฒั นาอาชีพ

โครงการพัฒนาอาชีพ
๑. ความสำคญั ของโครงการพัฒนาอาชพี
๒. ขน้ั ตอนการเขียนโรงการ
๓. การเขยี นแผนปฏิบตั กิ าร

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี ๑ กำหนดสภาพปัญหา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (Orientation : O)
๑. ผู้เรียนรว่ มกบั ครูทบทวนข้อมลู ทีใ่ ชป้ ระกอบในการพัฒนาอาชพี
๒. ผู้เรียนรว่ มกบั ครศู ึกษา วเิ คราะหก์ ารขบั เคลอื่ นสรา้ งธรุ กจิ เพื่อการพฒั นาอาชีพ
๓. ผูเ้ รียนและครรู ่วมกนั อภิปรายความจำเป็น สภาพปญั หา ขน้ั ตอนของการจดั ทำโครงการ

พฒั นาอาชพี
๔. ผู้เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ประเดน็ ปญั หาจากการอภปิ รายและวิเคราะหน์ ำมากำหนด

กิจกรรมในการศกึ ษาหาความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการกลมุ่ หรอื วิธีอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสม

ขนั้ ท่ี ๒ แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรยี นรู้ (New ways of learning : N)
๑. ผเู้ รยี นศึกษาข้อมลู วเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดข้ องแผนปฏบิ ัติการ พฒั นาแผนปฏิบตั ิ รวมทงั้

การอธบิ ายขัน้ ตอนการขบั เคลือ่ นการสร้างธรุ กิจจากหนังสือเรยี นจากใบความรแู้ ละสรปุ เนือ้ หารว่ มกัน
๒. ผู้เรยี นแบง่ กลมุ่ ศึกษาร่วมกันวิเคราะห์ข้อมลู ทจี่ ะใชป้ ระกอบในการพฒั นาอาชพี การ

ขับเคลือ่ นสรา้ งธรุ กจิ เพื่อการพฒั นาอาชพี ทั้งจากสื่อรอบตัว บุคคล สถานที่ และอนื่ ๆ ที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั
บรบิ ทของการเลอื กพฒั นาอาชีพ

๓. ผเู้ รยี นและครูแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยใชค้ ำถามปลายเปิดในการชวนคดิ ชวนคุย
๔. ผู้เรยี นศกึ ษา เพม่ิ เตมิ จาก Internet
ขัน้ ที่ ๓ การปฏิบตั ิและการนำไปประยุกต์ใช้ (Implementation : I)
๑. ผู้เรยี นนำเสนอ เรอ่ื ง อาชพี ท่ีตนเองทำ และแนวทางในการพฒั นาตามรปู แบบโครงการ
พัฒนาอาชีพ คนละไม่เกิน ๓ นาที ส่วนผู้เรยี นคนอนื่ ฟงั และร่วมกนั วิเคราะห์ ประเมนิ และเสนอแนะ
๒. ผู้เรียนนำความรูท้ ี่ได้รบั ไปปฏบิ ัตใิ ชใ้ นการทำงาน การวางแผนพฒั นาอาชีพในการ
ดำรงชีวติ ประจำวนั
๓. ผเู้ รียนนำความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการเรียนรมู้ าปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน
๔. มอบหมายงาน กรต.ครง้ั ต่อไป
ขั้นท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Evalyation : E)
๑. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบย่อย/ใบงาน
๒. ประเมินผลจากการนำเสนอการขับเคล่ือนสร้างธรุ กจิ เพอ่ื การพัฒนาอาชีพพร้อมพจิ ารณา
ความสมเหตสุ มผลทจี่ ะสามารถดำเนนิ การพฒั นาอาชพี
๓. ผู้เรยี นสรปุ องคค์ วามรู้ เพ่ือตอ่ ยอดในการพบกลุ่มครงั้ ต่อไป

สอ่ื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าทักษะการพฒั นาอาชพี รหสั วิชา อช ๒๑๐๐๒
๒. ใบความรู้
๓. ใบงาน
๔. แบบทดสอบ
๕. สอื่ Internet

การวัดและประเมิน
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. แบบทดสอบ
๔. การรายงานและการนำเสนอ

แหลง่ เรยี นรู้

1 กศน.ตำบล
2 ห้องสมดุ ประชาชน
3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
4 แหลง่ เรยี นในตำบล

ตวั ชีว้ ดั การเรียนรู้
1 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเปน็ ของการ

พฒั นาอาชพี เพอ่ื ความเขม้ แข็ง
2 รอ้ ยละ 80 นักศกึ ษาสามารถบอกความจำเป็น และคุณคา่ ของการวเิ คราะห์ศกั ยภาพของ

ธรุ กจิ
3 รอ้ ยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวเิ คราะหต์ ำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ความคิดเห็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ลงชือ่ ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบงานเรอ่ื ง
การขบั เคลอ่ื นสรา้ งธรุ กจิ เพือ่ พฒั นาธรุ กจิ

การขับเคลื่อนสรา้ งธรุ กิจเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ
1. องคประกอบการวเิ คราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชพี
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชีพ เปนการสรางความเช่ือมั่นและความมั่นใจวา

แผนพัฒนาอาชีพมที ิศทางการพฒั นาถูกตอง สัมพันธกับศกั ยภาพของชมุ ชน มีความเปนไปไดสูงในการพัฒนา
อาชพี โดยการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชพี มอี งคประกอบ ดังน้ี

1. ทุนท่ีมอี ยูของชุมชน
1) ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดินเหนียว ทราย แหลงน้ำ ธรรมชาติส่ิงแวดล

อม เปนตน
2) ทนุ ทางศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ไดแก
- ทุนทางศาสนา เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา พระพุทธรูปสําคัญและประวัติ

ความ เปนมา พระนักปฏบิ ตั ิ พระนักเทศน เปนตน
- ทุนทางศิลปะ เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา ศิลปะ ผาและเครื่องแตงกาย ช้ินงาน

ศิลปหตั ถกรรม การละเลนพ้นื บาน เปนตน
- ทุนทางวัฒนธรรมประเพณี เชน การทาํ บญุ ตักบาตรตามประเพณีทองถ่นิ เทศนมหาชาติ

แหเทียนเขาพรรษา เปนตน
3) ทุนทางปญญาของชุมชน เปนองคความรูท่ีมีอยูในชุมชน เชน สูตรขนมหมอแกงของ

จงั หวดั เพชรบุรี สตู รการทาํ ปลาสมของบานกลวย อําเภอบานหม่ี จงั หวดั ลพบรุ ี รวมถงึ ผูรูหรอื ผูทรงภมู ปิ ญญา
เชน พอคาํ เด่ือง จังหวดั บุรรี ัมย ครูสมหมาย จังหวดั ลพบุรี เปนผูทรงภมู ปิ ญญาดานเกษตรกรรมธรรมชาติ ครู
ยาสุทธินันท จังหวัดบุรีรัมย ทานสมนะเสียงศีล จังหวัดสิงห บุรี เป นผูทรงภูมิป ญ ญา ดานการ
จดั การ สิ่งแวดลอม เปนตน

2. ความสามารถหลักของชุมชน
การพัฒนาอาชพี ของชุมชน สงิ่ สําคญั ที่ตองวิเคราะหคือ ความสามารถของชุมชนใหถองแท จงึ จะทํา
การกําหนดกลยุทธ การสรางคุณคา และการเจริญเติบโต รวมถึงการสรางความสามารถในการแขงขันอยาง
ย่ังยืนตอไปไดถูกตองและเหมาะสม เชน บานทับพริกเปนชุมชนท่ีมีความสามารถในการปลูกหนอไมฝรั่ง
มะละกอ ถั่วพู และพรกิ ทําใหเห็นวาบานทบั พรกิ เปนแหลงรวบรวมความสามารถหลกั ทางการเกษตร เก่ียวกบั
ความรู วิธกี ารผสมผสานความชํานาญและเทคโนโลยีการผลติ ผลผลิตที่หลากหลายเขาดวยกนั การวิเคราะห
ความสามารถหลกั ของชมุ ชน สามารถพจิ ารณา ไดดังน้ี
1) ความสามารถหลกั เปนการเพ่ิมศักยภาพ ทาํ ใหชุมชนนําผลิตภณั ฑเจาะตลาดไดอยางหลากหลาย
2) ความสามารถหลักจะเปนประโยชนตอลกู คาอยางมากในการซ้อื สินคาของชมุ ชน
3) ความสามารถหลักเปนส่ิงท่คี แู ขงเลียนแบบไดยาก

3. ความตองการพัฒนา
เกิดจากการมองเห็นอยางลึกซ้ึงของคนในชุมชน บนฐานขอมูลภายในตนเอง ครอบครัว และชุมชน
สามารถระบุออกมาไดทนั ทแี ละ ตรงกบั ความเปนจริง ความสําคัญ การวิเคราะหความตองการพฒั นา ถึงแมจะ
มีการสาํ รวจ สอบถาม จากคนภายในชุมชนแตจากสภาพการเปลีย่ นแปลงของสงั คม เศรษฐกิจ อาจจะมีผลให

การสํารวจทั่วไปท่ีพยายามจะดึงขอมูล สภาพเศรษฐกิจ สังคมครัวเรือน ออกมาประมวลผล วิเคราะหแล
วแปลความหมาย นํามาใชทาํ แผนเพ่ือการพฒั นาจงึ มีโอกาสเกิดความคลาดเคลอื่ นตอการพฒั นา

ดงั นั้น เพื่อใหเกิดความเทยี่ งตรง สอดคลองกับสภาพความเปนจรงิ มากที่สุด การวิเคราะหความตอง
การพฒั นา สามารถดาํ เนนิ การไดดังน้ี

1) เปดเวทปี ระชาคม ทําความเขาใจ ระบคุ วามตองการความจาํ เปน เพือ่ ใชเปนขอมลู ในการ
จดั ทาํ แผนพัฒนาอาชพี ซึ่งขอมูลประกอบไปดวย

(1) ดานเศรษฐกิจ
เปาหมายทางเศรษฐกิจของครอบครวั
การสรางความพออยูพอกิน
การสรางรายไดสะสมทนุ
การขยายพัฒนาอาชีพ

(2)รายไดคาดหวังและพอเพยี งตามสภาพท่ีทาํ ไดจรงิ ดวยตนเอง
(3) ทนุ ทีม่ ีอยู
มีท่ดี ิน จํานวนเทาไร
มแี รงงานทที่ ําไดจรงิ จํานวนกีค่ น
มีเงินทุนเพยี งใด
2) นาํ ขอมลู แตละดานมาสรปุ วเิ คราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชพี

ขัน้ ตอนการขับเคลอื่ นแผนพฒั นาอาชพี
ข้ันตอนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาอาชีพ ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน ผูนําชุมชน ภาคีพัฒนา

คณะทํางานและประชาชน ตองรวมกนั ดําเนนิ การใน 3 ประเดน็ คอื
ประเดน็ ที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัตกิ าร
ประเดน็ ท่ี 2 การพฒั นาแผนปฏบิ ตั ิการ
ประเดน็ ที่ 3 จดั การความรูการขับเคลอื่ นแผนปฏิบัติการสูความสําเรจ็

โดยการดําเนนิ งานในแตละประเด็นมีรายละเอียด ดงั นี้
1. การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการเปนการพิจารณารวมกันของผูเรียน ผูนําชุมชน

คณะทํางาน ประชาชน และภาคีเครือขาย ความเหมาะสมของแผนปฏิบัติการกับสภาพความเปนจริงของ
ชุมชนโดยพจิ ารณาจาก

การรับไดของประชาชนในชุมชน
การเหน็ ดวยของประชาชนในชมุ ชน
ความพรอมของทรพั ยากรทมี่ อี ยูในชมุ ชน
ความจําเปนที่จะตองนําเขาทรัพยากรจากภายนอกชมุ ชน
2. การพฒั นาแผนปฏบิ ัติการ เปนการนําขอมลู จากการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบตั ิการ
มาปรับปรุงหรอื พัฒนาเพือ่ ใหแผนปฏบิ ตั กิ ารมคี วามเหมาะสมทจ่ี ะดาํ เนินการไดตามศักยภาพของชุมชน
3. จัดการความรูการขับเคลื่อนแผน การจัดการความรูขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการสูความสําเร็จ ครู
การศึกษานอกโรงเรียน ผูเรียน ผูนําชุมชน ประชาชน และภาคีพัฒนา จะตองรวมกันดําเนินการโดยมี
กระบวนการขนั้ ตอน ดังนี้

1) การวิเคราะหโครงการ/กิจกรรม นําโครงการ/กิจกรรมที่กําหนดไวมาวิเคราะหวาโครงการ/
กิจกรรมใดบางท่ีมีองคความรู พรอมดําเนินการไดทันที โครงการ/กิจกรรมใดบางท่ีมีองคความรูไมเพียง
พอท่ีจะดําเนินการ จําเปนท่ีจะตองใชกระบวนการการจัดการความรูมาสนับสนุนการเรียนรูกอนการ
ดาํ เนินงาน เพ่ือใหสามารถขับเคล่อื นได

2) กระบวนการจัดการความรู การขับเคล่ือน โครงการ/กิจกรรมดวยการนําส่ิงท่ีจําเปนมา
ดําเนนิ การดวยกระบวนการจัดการความรูประกอบดวยกิจกรรม ดงั น้ี

2.1 กําหนดความรูทีต่ องใชทํางาน ดวยการนาํ สิ่งท่ีจะตองทํามาวิเคราะหวาจะตองใชความ
รูหรอื เรยี นรูอะไรบาง จึงจะสามารถดําเนนิ การได ดังตัวอยาง

โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค ความรูท่ตี องใชงาน

2.2 การแสวงหาความรูในชุมชน ทองถ่ิน ดวยการแบงกลุมงานรับผิดชอบนาํ หัวขอความรู
ท่ีตองใชไปแสวงหาความรูจากแหลงความรู สถานประกอบการ ผูรู ฯลฯ โดยวิธีการตาง ๆ เชน การถอด
บทเรยี น การฝกทกั ษะประสบการณ จนมคี วามกระจางในความรู

2.3 ในกรณีท่ไี มสามารถแสวงหาความรูในชมุ ชน ทองถ่ินได อาจจะดาํ เนินการไดโดย
1) ประชาพิจารณ ดวยการรวมกันคิด หาเหตุผล รวมกันกําหนดวิธีทํา รวมกัน ทดลอง
พัฒนาวธิ ีการ สรุปเปนองคความรูของชุมชน นําไปประยกุ ตใช
2) นําเขาองคความรู ความรูบางเรื่องจาํ เปนตองใชผเู ชีย่ วชาญเฉพาะ และจาํ เปนตองรูจริง ๆ
ก็ควรเชญิ ผูเชยี่ วชาญมาใหความรูหรอื ไปศกึ ษาหาความรูจากผูเช่ยี วชาญเฉพาะจากภายนอกชุมชน
2.4 การแลกเปล่ียนความรู ดําเนินการตอเนอ่ื งจากการแสวงหาความรูของกลุมตาง ๆ ดวย
การใหกลุมมาแสดงขอมูลความรูท่ีไดรับมาแลว รวมกันวิเคราะหหาจุดรวม จุดเดน ดังแปลงวิธีการ จัดเป
น ความรูใหมเพอ่ื ใชทาํ งาน
2.5 ประยุกตใชความรูขับเคล่ือนโครงการ/กิจกรรม เปนขั้นตอนการทํางานตามแผนงาน
โครงการ/ กจิ กรรม ดวยการนาํ ความรูท่จี ดั ไวเขาไปใชดําเนินงานในแตละข้ันตอน

3) การตรวจติดตามคณุ ภาพการทํางาน มีขนั้ ตอนทํางาน ดังน้ี
(1) จดั ต้ังใหมคี ณะผูตรวจ ติดตาม จํานวน 3-5 คน ศกึ ษา ทบทวนโครงการ/กิจกรรมทั้งหมดใหเข

าใจวา ตองทาํ อะไร
(2)จัดทาํ แผนการตรวจตดิ ตาม พจิ ารณาวาควรจะตรวจตดิ ตามโครงการ/กจิ กรรมใด เมือ่ ไร และมีจุด

เนนท่ใี หความสําคัญกบั เรือ่ งใดบาง

(3) ทาํ ความเขาใจรวมกันใหชดั เจนวา การตรวจติดตามไมใชการจบั ผิด แตเปนการรวมกันระหวางผู
ตรวจติดตามกับคณะทํางานในการหาขอบกพรองที่จะทําใหงานเสียหายหรือคุณภาพต่ำลง แลวชวยกันแก
ไข ขอบกพรอง

(4) การประเมินคณุ ภาพการทาํ งาน ดวยการเปดเวทีประชาคมใหคณะผูตรวจติดตามและคณะทาํ งาน
แตละโครงการ/กิจกรรมรวมกันเสนอสภาพและผลการดาํ เนินงานตอเวทีประชาคม เพ่ือใหประชาชนไดรับรู
และมสี วนรวมในการสงเสริมในเรอ่ื งอะไรบาง และจะกาวไปขางหนาอยางไร

ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางแกไขทเี่ กิดจากการขบั เคลือ่ นแผนธุรกจิ
ในการดําเนินการขับเคล่ือนแผนธุรกิจ เปนขั้นตอนการดําเนินงานตอเนื่องซ่ึงในระหวางการ

ดาํ เนินงานอาจมีปญหาและอุปสรรคได ดงั นัน้ เพ่ือเปนการควบคุม ปญหาอุปสรรค และหาแนวทางแกไขได

ทนั ตอเวลา ไมปลอยใหเกดิ ความเสยี หาย จงึ ควรดาํ เนินการ ดงั นี้
1. ตรวจสอบปญหา อปุ สรรจากสภาพภายในของกจิ กรรม
1) ทําความเขาใจ ในโครงการ/กจิ กรรม ของตนเองวาจะตองตรวจสอบปญหาอุปสรรคภายใน

ของตนเอง เพ่ือนําขอบกพรองมาพัฒนาการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนท่ีกําหนดโดยมีข้ันตอนการ
ดําเนนิ การ ดงั น้ี

(1) ทาํ ความเขาใจข้ันตอนของการทาํ งาน

(2) ตรวจสอบเปรียบเทียบการทํางานวาเปนไปตามข้ันตอนหรือไม มีปญหาอุปสรรค
และ ขอบกพรองอยางไร

(3) ปฏบิ ตั กิ ารแกไขขอบกพรองและพัฒนา

2) ดาํ เนนิ การตรวจสอบ ขน้ั ตอนดําเนินงานวาเปนไปตามเกณฑเปรียบเทียบกบั สภาพที่เปนอยู
แลวสรปุ ขอบกพรอง

3) ปรบั ปรุงแกไขและพัฒนา โดยนําขอบกพรองมากําหนดแนวทางแกไขและพิจารณาวาจะมี

การจัดการหรือใชเทคโนโลยีมาพัฒนาใหดียิง่ ขึน้ อยางไร
4) สรปุ ผลการตรวจสอบเปนองคความรู บันทึกผลการตรวจสอบ ผลการแกไขขอบกพรอง ผล

การพัฒนาสรปุ เปนองคความรู เพอ่ื พฒั นาเปนทุนทางปญญา

2. การตรวจสอบ ติดตาม แกไขขอบกพรองการดําเนนิ งานตามแผน
1) การดําเนินงาน ตรวจสอบ ติดตามและแกไขขอบกพรองใหสามารถดําเนินงานตามแผน

เพอื่ สรางประสทิ ธิผลการทาํ งาน ใหเกิดผลตอการลงทุนของตนเองดวยการ

(1) วางแผนการตรวจ
(2) ปฏิบัตกิ ารตรวจและแกไขขอบกพรอง
(3) ปฏิบัตติ ามผลการแกไขขอบกพรอง

2) ปฏิบัตกิ ารจดั ทาํ แผนการตรวจกจิ กรรมวาอยูในขั้นตอนใด
3) ปฏิบัตกิ ารตรวจและแกไขขอบกพรอง คณะผูนาํ ชุมชนดาํ เนนิ การตรวจ ดังนี้

(1) แจงใหผูรับผิดชอบทราบลวงหนาวาจะตรวจการดําเนินงาน เรื่องอะไรบาง เพ่ือให
คณะทาํ งานไดมสี วนรวมในการตรวจสอบตนเองกบั ผูนําชุมชน

(2) ดําเนนิ การตรวจตดิ ตาม โดยปฏิบัตกิ ารรวมกับคณะทํางานพรอมสรุปขอบกพรอง
(3) นําผลสรุปขอบกพรองมารวมกันกําหนดแนวทางแกไขและจดบันทึกใหคณะทํางานผู
รบั ผดิ ชอบ ใชดาํ เนนิ การแกไข

(4) กําหนดระยะเวลากลับมาติดตามผลการแกไขขอบกพรองใหคณะทํางานผูรับผิดชอบ
รับทราบ

4) ปฏิบัติการติดตามผลและแกไขขอบกพรอง โดยคณะทํางาน ดําเนินการติดตามผลการแก

ไข ขอบกพรอง ดังน้ี
(1) ใหคณะทํางานแสดงผลการแกไขขอบกพรอง
(2) คณะทํางานวินิจฉัยผลการแกไขขอบกพรองวาประสบผลสาํ เรจ็ เพียงใด และจะพฒั นาต

อเนือ่ ง อยางไร
(3) สรปุ ผลการแกไขขอบกพรองเปนองคความรู้

ใบงานท่ี 6
การขบั เคลื่อนสรา้ งธุรกจิ เพื่อพัฒนาธรุ กิจ

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. ข้ันตอนของการขบั เคลอื่ นการสร้างธุรกิจมี 3 ประเด็น คอื
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. ในกรณีท่ีไม่สามารถแสวงหาความรู้ในชุมชน ท้องถ่ิน ครูการศึกษานอกโรงเรียน ผู้นำชุมชน ภาคี
พฒั นา
อาจทำได้โดยวิธีใด
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. จงสรุปปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ขทเ่ี กิดจากการขบั เคลื่อนแผนธรุ กิจมาพอเขา้ ใจ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 7
การขบั เคล่อื นสรา้ งธุรกจิ เพ่ือพัฒนาธุรกิจ

จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. โครงการ หมายถงึ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. โครงการมีความสำคญั อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. องคป์ ระกอบของการเขียนโครงการมอี ะไรบา้ ง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4. การตรวจสอบโครงการ หมายถงึ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศึกษา รหสั วชิ า ทช 23002
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบกลุ่ม คร้ังที่ ๘ (จำนวน ๖ ช่ัวโมง)
เรือ่ ง อุบัตเิ หตุ อบุ ัติภัย (ครัง้ ที่ 1)
วนั ที่ .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.

ตวั ช้วี ดั

1. อธบิ ายปัญหา สาเหตุของการเกิดอบุ ัตเิ หตุ อบุ ตั ิภัยและภยั ธรรมชาติ
2. วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมเสย่ี งทจ่ี ะนำไปสู่ความไมป่ ลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน
3. อธิบายอนั ตราย วธิ กี ารปอ้ งกนั และหลกี เล่ยี งพฤติกรรมเส่ยี งตอ่ สารเสพตดิ
เน้อื หา

1. ความหมายของการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ อบุ ัตภิ ัยและภัยธรรมชาติ
๒. ปัญหา สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ัติเหตุ อุบตั ิภัยและภยั ธรรมชาติ
๓. การป้องกนั อนั ตรายและหลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมเสย่ี งทจี่ ะนำไปสคู่ วามไม่ปลอดภัยจากอบุ ัติเหตุ
อบุ ตั ภิ ัย และภยั ธรรมชาติ

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้

1. ครูนำภาพข่าวอบุ ตั เิ หตเุ กี่ยวกับการขับรถตกทางด่วนและภาพเหตุการณ์นำ้ ทว่ ม จงั หวดั ภเู กต็ เมือ่
วนั ที่ 22 สงิ หาคม 2555

2. ครแู ละผูเ้ รยี นร่วมกันสนทนาถึงสาเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตุในเรอ่ื งการขบั รถตกทางดว่ นอบุ ัตเิ หตุ
และภยั ธรรมชาตเิ รื่องน้ำท่วม จงั หวดั ภเู กต็ เปน็ การแลกเปล่ยี นเรียนร้ถู งึ ปัญหา สาเหตุ วิธกี ารแก้ไข มา
แลกเปลย่ี นเรยี นรูร้ ่วมกนั

ขั้นที่ 2 การแสวงหาขอ้ มูล และจดั การเรยี นรู้

1. ครแู บง่ กลมุ่ ผเู้ รียนออกเป็น กลุ่ม ๆ ละ 6 – 8 คน

2. ใหผ้ ูเ้ รียนแลกเปลยี่ นเรียนรูเ้ กยี่ วกบั ปญั หา/สาเหต/ุ วิธีปอ้ งกัน ของการเกิดอบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ิภยั และ
ภัยธรรมชาติ

3. ใหผ้ ูเ้ รียนส่งตวั แทนกล่มุ ออกนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน

ขน้ั ท่ี 3 การปฏบิ ัติและนำไปประยกุ ต์ใช้

๑. ผ้เู รยี นนำเสนอตามหัวขอ้ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
๒. ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้ ทำใบงานและบนั ทึกผลการเรยี นรทู้ ี่ไดจ้ ากการเรยี นรู้
๓. ผู้เรียนนำความรทู้ ่ไี ด้จากการเรียนรู้มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

ขน้ั ที่ 4 การประเมนิ ผล

1. ประเมินผลงาน

สื่อ

1. อนิ เตอรเ์ นต็
2. แหลง่ เรียนรู้

3. ใบงาน

การวัดและประเมิน
๑. สังเกต
๒. ใบงาน
๓. การรายงานและการนำเสนอ

แหลง่ เรียนรู้

1 กศน.ตำบล
2 ห้องสมุดประชาชน
3 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

4 แหล่งเรียนในตำบล

ตวั ชีว้ ดั การเรียนรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคัญ และความจำเป็นของการ

พฒั นาอาชพี เพอ่ื ความเขม้ แข็ง

2 รอ้ ยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคุณคา่ ของการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ
ธุรกิจ

3 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ตำแหนง่ ธุรกจิ ในระยะต่าง ๆ

ลงชื่อ........................................................ครูผสู้ อน
(....................................................)

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ตำแหน่ง …………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่อื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรูท้ ี่ ๑

เรือ่ ง อบุ ัติเหตุ อบุ ตั ิภยั (ครงั้ ท่ี 1)

๑. ความหมายของการเกิดอุบตั เิ หตุ อบุ ตั ภิ ัยและภยั ธรรมชาติ

อบุ ัติเหตุ (Accident)
คำว่า “อุบตั ิเหตุ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ไดใ้ ห้คำนิยามไวว้ ่า อุบัติเหตุ หมายถงึ เหตทุ ่ี
เกดิ ขนึ้ โดยไม่ทนั คดิ ความบงั เอญิ เปน็
อุบตั เิ หตุ หมายถึง เหตกุ ารณใ์ ด กต็ ามทเ่ี กดิ ขึ้นมิได้ตั้งใจ หรอื มไิ ด้คาดคดิ มาก่อน และเปน็ ผลใหเ้ กดิ ความ
เสียหายแก่ร่างกายหรือทรพั ยส์ นิ ของคนเรา
อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยไม่ได้ต้ังใจ และเหตุการณ์น้ันต้องทำให้คนอ่ืนถึงแกค่ วามตาย
บาดเจ็บ หรอื ทรัพย์สนิ เสยี หาย
อุบัติเหตุ (Incidence) คือ เหตุการณ์ซึ่งเกิด (อุบัติ) ขึ้น อาจจะเป็นเหตุการณ์ดี หรือเหตุการณ์ร้ายก็
ได้ ส่วนอุบัติภัย (Accident) คือเหตุการณ์ซ่ึงเกิดข้ึน โดยไม่คาดฝันมาก่อน โดยไม่เจตนา เป็นผลให้เกิด
ความเสียหายแก่ทรัพย์สิน เป็นอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ และอาจทำให้สูญเสียชีวิตได้ด้วย การใช้คำ
“อุบัติเหตุ” ตรงกับภาษาองั กฤษว่า Accidents ที่แล้ว ๆ มาจึงไม่ตรงกับศัพท์ท่ีถูกต้อง แต่ก็ได้ใช้กันมานาน
จนเป็นทย่ี อมรบั กันทว่ั ไปแลว้
อุบัตเิ หตุ (Incidence) หมายถงึ เหตุการณ์ที่เกิดขน้ึ อาจเป็นเหตุการณ์ท่ีรา้ ยหรือเหตกุ ารณ์ดีก็ได้ แตถ่ ้า
เป็นอุบัตเิ หตแุ ล้วมักจะนึกถึงแต่เหตุร้ายไมค่ ิดว่าจะเปน็ เรอ่ื งดี จึงตรงกับคำว่า Accidents ซ่งึ นิยมใช้กันมาจน
เปน็ ท่ียอมรบั แล้ว ส่วน อุบัติภยั (Accident) คือ เหตุการณ์ที่เกดิ ขึ้นโดยไม่ตัง้ ใจ ไมค่ าดฝนั มาก่อน เปน็ ผลให้
เกดิ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน รา่ งกาย และจิตใจ รวมทั้งอาจเปน็ อันตราย ถึงแก่เสยี ชวี ิตได้ท้ังกับตนเองและ
ผู้อนื่
อุบัติเหตุ หมายถึง เหตกุ ารณ์หรืออันตรายที่เกิดขึ้น โดยไม่ได้คาดคิดหรอื ต้ังใจมาก่อน ซ่ึงมีผลให้บุคคล
ไดร้ บั บาดเจ็บ อันตราย ตาย หรือสูญเสียทรัพยส์ นิ สว่ นคำวา่ “อบุ ตั ภิ ยั ” ซงึ่ ปัจจุบันนยิ มใชก้ ันอยา่ งกวา้ งขวา้ ง
น้ัน มีความหมายว่า “อันตรายหรือภัยที่อาจเกิดข้ึนแก่ร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สินของบุคคล ” คำว่า
“อุ บั ติ เ ห ตุ ” ห รื อ “อุ บั ติ ภั ย ” จึ ง มี ค ว า ม ห ม า ย ค ล้ า ย กั น

สรุปได้ว่า อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์อันตรายที่เกิดข้ึนโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือคาดคิดมา
ก่อน ทำให้เกดิ ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ นิ บุคคลได้รับอนั ตรายท้ังร่างกายและจิตใจ อาจบาดเจ็บ พกิ าร หรือ
รนุ แรงถึงขั้นเสยี ชวี ิต

อุบตั ิภัย

เปน็ ภยั ที่เกดิ ขน้ึ โดยไม่ไดค้ าดหมาย ทำให้เกิดความเสยี หายแก่ทรัพย์สิน เปน็ อันตรายแก่รา่ งกายและ
จติ ใจ อาจทำให้เสียชวี ิตหรอื ทพุ พลภาพได้ อุบัตภิ ยั เกิดข้ึนได้กับบคุ คลทุกเพศ ทุกวยั ทกุ เวลา และทกุ สถานที่
ถา้ ไม่มีการปอ้ งกัน

ภัยธรรมชาติ

ผลกระทบท่ีเกดิ จากอันตรายจากภยั ธรรมชาติ (เช่น ภูเขาไฟระเบิด, แผ่นดินไหว, หรือแผน่ ดินถล่ม)
ซงึ่ ทำใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อการดำรงชวี ิตของมนุษย์ ภยั ธรรมชาติมหี ลายรปู แบบแตกตา่ งกนั ไปบางอยา่ งรา้ ยแรง
น้อย บางอย่างร้ายแรงมากซ่ึงอาจสรา้ งผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น อุทกภัย หรือน้ำทว่ ม การเกิดพายุ
(วาตภัย) การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ถามว่าพวกสึนามิหรือเกลียวคล่ืนน้ันจัดเป็นประเภทอะไร
คำตอบน้นั ก็คอื ประเภท ธรณีพบิ ตั ิภยั (พวกเดยี วกับแผ่นดินไหว)

๒. ปญั หา สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตั ิเหตุ อุบตั ิภัยและภัยธรรมชาติ

ปัญหา สาเหตขุ องการเกิดอุบัตเิ หตุ อบุ ตั ิภยั

1. สาเหตุที่เกิดจากคน (Human Cause) มีจำนวนสูงท่ีสุด คือ 88% ของการเกิดอุบัติเหตุทุกครั้ง
ตัวอยา่ งเช่น การทำงานที่ไมถ่ ูกตอ้ ง ความพลง้ั เผลอ ความประมาท การมนี สิ ัยชอบเสี่ยงในการทำงาน เปน็ ต้น
นอกจากนี้ วิจิตร บุณยโหตระ ได้เพ่มิ ดงั น้ี

1.1 เกิดจากคนมีสภาพร่างกายและจิตใจไม่อยู่ในภาวะปกติ ผู้ท่ีร่างกายทรุด โทรม เช่น
อ่อนเพลีย เหนด็ เหน่อื ย เจบ็ ป่วย หรือผู้ทีม่ ึนเมาจากการด่มื สุราหรือยากระตุน้ ประสาท เป็นต้น จะมี
ผลทําใหค้ วบคมุ สติของตนเองไดไ้ ม่ดี จะมีโอกาสเกดิ อบุ ตั ิเหต/ุ อุบตั ิภัยได้งา่ ย

1.2 เกดิ จากคนขาดความรแู้ ละความชํานาญหรือประสบการณ์ ผู้ท่ใี ช้เครอื่ ง จักรเครื่องยนต์ในขณะ
ทํางานนัน้ ถา้ หากขาดความรู้ความชาํ นาญ หรือมีประสบการณไ์ ม่เพียงพอจะเป็นเหตุให้เกดิ อุบัติเหต/ุ อบุ ัตภิ ัย
ได้งา่ ย

1.3 เกิดจากคนมคี วามประมาท คนส่วนใหญ่มนี ิสัยรักความสะดวกสบาย หาก อันตราย ยัง
ไม่เกิดขึ้นมักจะคดิ ว่า "ไม่เป็นไร” และบางคนมนี ิสัยชอบความเสีย่ ง เช่น ชอบเผอเรอ สะเพรา่ ขาด
ความรอบคอบ เหล่าน้เี ปน็ เหตใุ ห้เกดิ อุบัตเิ หต/ุ อบุ ัตภิ ัยได้

1.4 เกดิ จากคนไมป่ ฏิบัติตามคาํ เตอื น กฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั คนบางคน ไม่เห็นความสําคัญ
ของกฎระเบยี บ ข้อบงั คับ หรอื คาํ เตือนตา่ งๆ มกั จะเปน็ เหตุให้เกดิ อุบัตเิ หตุ/ อบุ ัติภยั ได้

1.5 เกิดจากคนมีความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ มักเนื่องมาจากการคาดคะเนผิดโดยไม่รู้ว่าอะไร
เกดิ ข้ึน จะเปน็ เหตใุ หเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุ/อุบตั ิภยั ได้

1.6 เกิดจากความเช่ือในทางทผี่ ิด บางคนเชื่อว่าอุบัตเิ หตุ/อุบัติภัย เกิดขึ้นเพราะโชคชะตา
หรือเคราะห์กรรมไม่สามารถจะหลีกเล่ียงได้ทําให้ขาดความระมัดระวงั จนเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุ/
อบุ ตั ิภยั ได้

2. สาเหตุท่ีเกิดจากความผดิ พลาดของเคร่อื งจกั ร (Mechanical Failure) มจี ำนวนเพียง 10% ของ
การเกิดอุบัติเหตุทุกครั้ง ตัวอย่างเช่น ส่วนที่เป็นอันตรายของเคร่ืองจักรท่ีไม่มีเครื่องป้องกัน เครื่องจักร
เครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณ์ต่างๆชำรุดบกพร่อง รวมถึงการวางผังโรงงานไมเ่ หมาะสม สภาพแวดล้อมในการทำงาน
ไมป่ ลอดภัย เป็นตน้

3. สาเหตุทเี่ กดิ จากธรรมชาติ (Acts of God) มีจำนวนเพียง 2 % เป็นสาเหตุท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ
นอกเหนือการควบคมุ ได้ เช่น พายุ นำ้ ทว่ ม ฟา้ ผ่า เปน็ ต้น

ใน ปี ค .ศ . 1931 Herbert W. Heinrich ได้ ตี พิ ม พ์ ห นั ง สื อ เร่ื อ ง Industrial Accident
Prevention ซง่ึ เปน็ การปฏวิ ัตแิ นวคดิ เดมิ เก่ียวกับการป้องกนั อบุ ัติเหตหุ รอื เสรมิ สร้างความปลอดภัยในโรงงาน
อย่างสนิ้ เชงิ เขาไดส้ รปุ สาเหตุสำคญั ของการเกิดอบุ ัติเหตุ เปน็ 2 ประการ ไดแ้ ก่

3.1 การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Acts) เป็นสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุคิดเป็น
จำนวน85% ของการเกิดอบุ ตั เิ หตทุ ั้งหมด เชน่

3.1.1 การทำงานไมถ่ ูกวิธี หรือ ไม่ถูกขนั้ ตอน
3.1.2 การมีทัศนคติท่ีไม่ถูกต้องเช่นอุบัติเหตุเป็นเรื่องของเคราะห์กรรม แก้ไข
ปอ้ งกันไม่ได้
3.1.3 ความไม่เอาใจใส่ในการทำงาน
3.1.4 ความประมาท พลง้ั เผลอ เหม่อลอย
3.1.5 การมนี ิสัยชอบเส่ียง
3.1.6 การไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของความปลอดภัยในการทำงาน
3.1.7 การทำงานโดยไม่ใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบุคคล
3.1.8 การแต่งการไม่เหมาะสม
3.1.9 การถอดเครื่องกำบังส่วนอันตรายของเครอ่ื งจักรออกด้วยความรู้สึกรำคาญ
ทำงานไม่สะดวก หรือถอดออกเพือ่ ซอ่ มแซมแลว้ ไม่ใสค่ ืน
3.1.10 การใช้เคร่อื งมือหรอื อุปกรณไ์ มเ่ หมาะกบั งาน เชน่ การใช้ขวดแก้วตอกตะปู
แทนการใช้คอ้ น
3.1.11 การหยอกลอ้ กันระหวา่ งทำงาน
3.1.12 การทำงานโดยท่ีร่างกายและจิตใจไม่พรอ้ มหรอื ผดิ ปกติ เชน่ ไม่สบาย เมา
คา้ ง มีปญั หาครอบครัว ทะเลาะกับแฟน เปน็ ต้น

3.2. สภาพการณ์ท่ีไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) เป็นสาเหตรุ อง คดิ เป็นจำนวน15% เท่านนั้
เชน่

3.2.1 สว่ นทเ่ี ป็นอันตราย(ส่วนทเ่ี คลื่อนไหว) ของเครอ่ื งจกั ร ไม่มีเครอ่ื งกำบังหรอื
อุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย

3.2.2 การวางผังโรงงานที่ไมถ่ ูกต้อง
3.2.3 ความไมเ่ ป็นระเบยี บเรยี บร้อยและสกปรกในการจดั เกบ็ วัสดสุ ง่ิ ของ
3.2.4 พ้ืนโรงงานขรุขระ เปน็ หลุมเป็นบอ่
3.2.5 สภาพแวดลอ้ มในการทำงานทีไ่ ม่ปลอดภยั หรอื ไมถ่ กู สุขอนามยั เชน่ แสง
สว่างไมเ่ พียงพอเสียงดังเกนิ ควร ความร้อนสงู ฝนุ่ ละออง ไอระเหยของสารเคมที เี่ ปน็ พษิ เปน็
ตน้

3.2.6 เครอื่ งจกั รกล เครอ่ื งมือ หรืออุปกรณช์ ำรุดบกพรอ่ ง ขาดการซอ่ มแซมหรอื
บำรงุ รกั ษาอยา่ งเหมาะสม

3.2.7 ระบบไฟฟา้ หรืออปุ กรณไ์ ฟฟา้ ชำรุดบกพร่อง เป็นตน้

ปญั หา สาเหตุของการเกิดภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ

สาเหตุของภัยธรรมชาติท่เี กิดขน้ึ ไมว่ า่ จะเปน็ ความแหง้ แล้งอยา่ งรุนแรงเกิดอทุ กภยั นำท่วม พายฝุ น
ฟา้ คะนองเป็นประจำ แผ่นดินถลม่ แผ่นดนิ ไหวในหลายประเทศ หรือเกดิ จากพายอุ ย่างรนุ แรงและฉบั พลนั ภยั
ธรรมชาติเหลา่ นไ้ี ดท้ ำลายทงั้ ชีวติ และทรัพยส์ นิ ซงึ่ มาจากสาเหตุหลายประการ

1. เกดิ จากการเปล่ียนแปลงของโลกตามกาลเวลา โลกของเราถกู สร้างมานานหากเปรยี บเปน็
คนคงชรามากและใกลจ้ ะจบสนิ้ แลว้ ทุกสง่ิ จงึ ย่อมเปลี่ยนแปลงจะใหค้ งท่หี รอื คงอยเู่ ดิมย่อมไมไ่ ด้ ซ่ึงเราจะ
สงั เกตไุ ด้จากสัญญาณตา่ ง ๆ ทีป่ รากฏมากขึ้นเรอื่ ย ๆ

2. เกดิ จากการกระทำของฝมี อื มนุษย์ เช่น การเจาะช้ันนำแขง็ และการปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรมได้
ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ทำให้อุณหภูมโิ ลกเพ่ิมขนึ้ เรียกอกี อยา่ งวา่ ภาวะโลกรอ้ นจนทำใหส้ ภาพภมู ิอากาศ
เปลย่ี นแปลง เช่น เวลาหนาวกห็ นาวจดั เวลาแลง้ ก็แลง้ มาก บางครง้ั อาจทำให้เกดิ พายุ ฝนฟ้าคะนองแผ่นดนิ
ถลม่ หรอื แผน่ ดินไหวอย่างฉับพลนั และแถบทไ่ี ดร้ ับผลกระทบมากทีส่ ดุ คือ แถบข้วั โลกทำให้นำแขง็ บนยอด
เขาสงู ละลายอยา่ งรวดเรว็ ทำให้ปรมิ าณนำทะเลเพม่ิ สงู ขนึ้ ทกุ ๆทวปี ส่วนทวีปเอเชียอุณหภูมจิ ะสูงขน้ึ จนทำให้
เกดิ ฤดกู าลท่แี ห้งแลง้ มนี ำทว่ มทำใหผ้ ลผลิตทางอาหารลดลงและสภาวะทางอากาศก็แปรปรวนจนอาจ
ก่อให้เกิดพายแุ ละภัยพบิ ัติต่างๆมากมายเปน็ ต้น

๑.๓ การป้องกนั อนั ตรายและหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมเสยี่ งท่จี ะไปสคู่ วามไมป่ ลอดภัยจากอบุ ตั เิ หตุ อุบัติภยั และ
ภยั ธรรมชาติ

1. การวางระเบยี บข้อบงั คบั ระเบยี บขอ้ บงั คับคือมาตรการเบื้องต้นของการป้องกันอุบัตเิ หตุ แต่การมี
ระเบียบทดี่ จี ะไรค้ วามหมายหากมิได้มีการปฏบิ ัตอิ ยา่ งเครง่ ครัด ควรจะสร้างความเข้าใจกับกฎระเบยี บ

2. การฝกึ ฝนให้เกดิ เปน็ นสิ ยั ในบรรดาสาเหตุของอบุ ัตเิ หตุ ความบกพรอ่ งของคนเปน็ สาเหตุสำคญั
ประการหนึ่ง หากจะแก้ต้องแกท้ ต่ี ัวคน เพราะ หากผปู้ ฏิบัตยิ งั ไมม่ ีนสิ ยั และเทคนคิ การทำงานด้วยความ
ปลอดภยั แลว้ ก็ยากทจี่ ะควบคุมดแู ล

3. การรกั ษาความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยและการดแู ลรักษา ความเปน็ ระเบยี บยอ่ มเป็นการป้องกัน
อบุ ตั เิ หตเุ บ้อื งตน้ ไดท้ ั่วไปทกุ แหง่

4. การใหก้ ารศึกษาเรอ่ื งอนั ตรายจากอบุ ัตเิ หตุ การป้องกันและวธิ แี ก้ไข อุบัติเหตเุ กิดขึ้นได้ง่ายถา้ หาก
มคี วามประมาท ดงั นน้ั จงึ จำเปน็ อย่างย่งิ ท่ผี เู้ รียนต้องมคี วามรเู้ รอ่ื งอันตรายของอบุ ตั ิเหตุ

5. การจดั เตรยี มอปุ กรณ์ทจี่ ำเปน็ การปอ้ งกนั บางครง้ั จำเป็นตอ้ งจดั เตรียมอุปกรณท์ เ่ี หมาะสมไวใ้ ห้
เช่น อปุ กรณด์ ับเพลงิ ชุดปฐมพยาบาล และอยใู่ นสภาพใชง้ านได้อยา่ งปลอดภยั

6. การวิเคราะหส์ าเหตุของอบุ ัตเิ หตุ บันทึกเหตกุ ารณแ์ ละขอ้ เสนอแนะเหตุการณ์ทไ่ี ด้เกดิ ขนึ้ แล้ว จะ
เปน็ บทเรยี นทดี่ ีถา้ หากไดม้ ีการวิเคราะหห์ าสาเหตุ และจากสาเหตุจะมีขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปอ้ งกันมใิ ห้
เกิดอบุ ตั เิ หตขุ ้ึนอกี

7. การส่งเสริมเพ่ือใหเ้ หน็ ความสำคัญของการปอ้ งกนั การส่งเสริมเพอ่ื ใหท้ กุ คนเห็นความสำคญั ของการ
ป้องกนั อนั ตราย การทำงานด้วยความปลอดภยั เปน็ เรื่องทค่ี วรทำ เพราะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ทกุ ฝ่ายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
ไมค่ วรเปน็ เรอื่ งของการบงั คับ เป็นต้น การสง่ เสรมิ จะเปน็ การช่วยปลกู ฝงั เจตคติท่ีดีต่อการทำงานดว้ ยความ
ปลอดภัย

ใบงานที่ ๑

คำชแี้ จง ใหผ้ เู้ รียนบอกปญั หา สาเหตแุ ละวิธีการป้องกันของการเกิดอบุ ัติเหตุต่าง ๆ ตามท่กี ำหนด

1.1 อบุ ัตเิ หตกุ ารจราจร

ปญั หา.........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สาเหตุ
............................................................................................................................. ..................................
......................................................................................................................................... .....................................

วธิ กี ารปอ้ งกัน
............................................................................................................................. .....
..............................................................................................................................................................................

1.2 อุบตั เิ หตใุ นสถานประกอบการ
ปัญหา

............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. .................................................

สาเหตุ
..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

วิธีการป้องกัน
............................................................................................................................. .....
....................................................................................................................... .......................................................
......

1.3 อบุ ตั เิ หตใุ นบา้ น
ปัญหา
............................................................................................................................. .................

............................................................................................................................. .................................................
......

สาเหตุ
..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
......

วิธีการปอ้ งกัน
............................................................................................................................. .....
............................................................................................................ ..................................................................
......

1.4 อุบัติเหตใุ นโรงเรยี น
ปญั หา

............................................................................................................................. .................
..................................................................................................................................... .........................................
......

สาเหตุ
..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
......

วิธีการป้องกัน
............................................................................................................................. .....
..............................................................................................................................................................................
......

คำชแี้ จง ใหผ้ เู้ รยี นบอกสาเหตแุ ละวธิ ปี ้องกนั ของการเกิดอบุ ตั ิภัยและภยั ธรรมชาติ
2.1 ภยั แล้ง
ปญั หา
...............................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
...... สาเหตุ
..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....... วธิ กี ารป้องกัน
..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
......

2.2 ดนิ ถล่ม
ปญั หา

............................................................................................................................. ..................

..............................................................................................................................................................................
...... สาเหตุ
............................................................................................................................. .................
..............................................................................................................................................................................
...... วธิ ีการป้องกนั
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

2.3 ไฟปา่
ปัญหา
............................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
สาเหตุ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. ................................................
วธิ กี ารปอ้ งกนั
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

2.4 ภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กดิ จากแผ่นดนิ ไหว
ปญั หา
....................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................
สาเหตุ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
วธิ ีการป้องกนั
................................................................................................................... .........................................................
..................................................................................................................................................... .........................

แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศึกษา รหสั วิชา ทช ๒๓๐๐๒
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบพบกลุ่ม คร้งั ที่ ๙ (จำนวน ๖ ช่วั โมง)
เรื่อง อบุ ัติเหตุ อุบัตภิ ยั (ครัง้ ที่ ๒)
วันท่ี .....เดอื น ...........................พ.ศ. ............เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
ตวั ชี้วดั

1. บอกเทคนิค วิธีการขอความช่วยเหลอื และการเอาชวี ติ รอดเมือ่ เผชิญอันตรายและสถานการณค์ บั
ขันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

2. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเมอื่ ได้รบั อนั ตรายจากอบุ ตั ิเหตุ อุบตั ิภยั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
เนื้อหา

1. เทคนคิ วธิ ีการขอความช่วยเหลือและการเอาชวี ิตรอดเมอื่ เผชญิ อันตรายและสถานการณค์ บั ขนั
2. การปฐมพยาบาลเมอ่ื ได้รับอันตรายจากอุบัตเิ หตุ อบุ ัตภิ ัยและภยั ธรรมชาติ
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้

ขน้ั ท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้

1. ครแู สดงบทบาทสมมุติโดยนำภาพผา้ ผกู คอสามเหลยี่ มเพ่ือพยุงแขนทเี่ กิดสาเหตจุ ากไหลห่ ลุดและ
ใหผ้ ู้เรยี นร่วมกันวิเคราะห์ถึงสิง่ ทเ่ี หน็ ว่าเกิดสาเหตุ และวิธกี ารปฐมพยาบาลดว้ ยตนเองไดห้ รือไม่ โดยใช้
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และครเู ป็นผสู้ รปุ ว่าสง่ิ ท่ีเกดิ ขน้ึ มาจากอบุ ัติเหตุ ลม้ และเกดิ ปวดหัวไหล่ จงึ นำ
ผ้าสามเหลยี่ มทอ่ี ยมู่ าผกู และชว่ ยผยุงไหล่และแขนเป็นการปฐมพยาบาลเบื้องต้นกอ่ นไปพบแพทย์ ซง่ึ เป็นการ
ชว่ ยเหลือตัวเองเบอ้ื งต้นได้

ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรยี นรู้

1. ครูแบง่ กลมุ่ ผู้เรียนออกเป็น กลุ่ม ๆ ละ 6 – 8 คน

2. ใหผ้ เู้ รียนสาธติ วิธีการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้นของผปู้ ่วย

- กลุม่ ที่ 1 การปฐมพยาบาลเมอ่ื ถูกไฟฟ้าชอ็ ต
- กลุ่มที่ 2 การปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการชอ็ คเน่อื งจากเลือดไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ไม่
เพยี งพอ
- กลมุ่ ท่ี 3 การปฐมพยาบาลท่มี อี าการหายใจลำบากหรอื หยดุ หายใจ
- กลมุ่ ที่ 4 การปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยเปน็ ลมแดด
- กลุ่มท่ี 5 การปฐมพยาบาลผปู้ ่วยเปน็ ลมจากความรอ้ น
ขั้นท่ี 3 การปฏบิ ตั ิและนำไปประยกุ ต์ใช้

๑. ผเู้ รียนนำเสนอตามหวั ข้อท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
๒. ผูเ้ รียนสรปุ องค์ความรู้ ทำใบงานและบันทกึ ผลการเรยี นรทู้ ี่ได้จากการเรยี นรู้
๓. ผ้เู รยี นนำความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นร้มู าปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั

ขนั้ ที่ 4 การประเมินผล

1. ประเมินผลงาน

สอ่ื

1. อนิ เตอรเ์ นต็
2. แหล่งเรยี นรู้
3. ใบงาน

การวัดและประเมิน
๑. สงั เกต
๒. ใบงาน
๓. การรายงานและการนำเสนอ

ตวั ชีว้ ัดการเรียนรู้
1 ร้อยละ 80 นกั ศกึ ษาสามารถบอก ความหมาย ความสำคญั และความจำเปน็ ของการ

พัฒนาอาชพี เพอื่ ความเขม้ แขง็
2 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถบอกความจำเปน็ และคณุ คา่ ของการวเิ คราะหศ์ ักยภาพของ

ธุรกิจ
3 ร้อยละ 80 นกั ศึกษาสามารถวเิ คราะหต์ ำแหนง่ ธรุ กจิ ในระยะตา่ ง ๆ

ลงชอ่ื ........................................................ครผู สู้ อน
(....................................................)

ตำแหนง่ …………………………………..

ความคดิ เห็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….……

ลงช่อื ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(นายคมกฤช สาหลัง)

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง

ใบความรู้ท่ี ๒
เร่อื ง อบุ ตั ิเหตุ อบุ ัติภยั (คร้ังที่ ๒)

๑. เทคนคิ วธิ กี ารขอความชว่ ยเหลือและการเอาชีวิตรอดเมอื่ เผชญิ อนั ตรายและสถานการณ์คับขันได้อยา่ ง
เหมาะสม

1. ไฟไหม้
‘ไฟไหม’้ ถอื เป็นสถานการณฉ์ ุกเฉินที่มีความอนั ตรายเป็นอนั ดบั ตน้ ๆ ซ่ึงโดยส่วนใหญแ่ ลว้ สาเหตยุ อด
นิยมที่ทำใหเ้ กิดไฟไหม้ลว้ นมาจากความประมาทของมนษุ ยแ์ ทบทง้ั ส้ิน ท้ังนผ้ี ู้ทเ่ี สยี ชวี ิตสว่ นใหญล่ ว้ นขาด
อากาศหายใจเพราะ ‘ควันไฟ’ กอ่ นทจ่ี ะถูกไฟคลอกตามมา
วธิ เี อาตวั รอดเม่ือตกอยู่ในสถานการณไ์ ฟไหม้
1. รบี มองหาทางหนไี ฟเพื่อออกมาให้เร็วท่ีสุด หา้ มใชล้ ฟิ ทห์ รือบันไดเลอื่ นเพ่อื หนไี ฟเป็นอันขาด
2. เม่อื เกดิ เหตกุ ารณไ์ ฟไหม้สว่ นใหญ่ควนั ไฟจะลอยขนึ้ ทสี่ งู จงึ ควรทจ่ี ะกม้ ตวั ลงต่ำพรอ้ มท้งั หาผา้ ชบุ
นำ้ มาปดิ จมูกเพอ่ื ป้องกันการสำลักควันก่อนทจี่ ะไปถงึ ทางหนไี ฟ
3. มสี ตอิ ยเู่ สมอ อย่ามัวแตห่ ่วงทรัพยส์ ินหรอื อะไรทไ่ี มจ่ ำเปน็ ให้ตงั้ สตแิ ล้วมองหาทางหนีไฟกอ่ นเปน็
อนั ดบั แรก

2. แผน่ ดินไหว
‘แผน่ ดินไหว’ ถอื เป็นสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ท่เี กดิ มาจากภยั ธรรมชาติ ซึง่ ในบา้ นเรามโี อกาสทจี่ ะเกดิ
เหตุการณ์แผน่ ดนิ ไหวได้น้อยเมอื่ เทยี บกบั ประเทศในเอเชยี ประเทศอ่นื อย่าง ญ่ีปุ่น
วิธเี อาตัวรอดเมอื่ ตกอยใู่ นสถานการณเ์ กดิ แผ่นดินไหว
1. หากอยใู่ นทีโ่ ล่งให้วงิ่ หนีออกจากตวั อาคารหรือต้นไมเ้ พื่อป้องกนั เศษซากต่างๆ จะร่วงหล่นใส่
2. กรณที อ่ี ยใู่ นอาคารใหม้ องหาทห่ี ลบ เช่น โตะ๊ ตู้ หรอื สงิ่ ของทสี่ ามารถกำบังเราจากขา้ วของบน
เพดานท่อี าจร่วงหล่นใสไ่ ด้

3. มสี ติอยูเ่ สมอ ห้ามวิ่งไปเร่อื ย ลงบันไดเลื่อน และลงลฟิ ท์ เพราะอาจเกดิ อันตรายมาจากเหตขุ ัดข้อง
ระหว่างแผน่ ดนิ ไหวได้

3. น้ำทว่ ม
‘นำ้ ทว่ ม’ ถือเป็นสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ที่เกดิ มาจากภยั ธรรมชาติทีเ่ กิดได้บอ่ ยในประเทศไทย เน่อื งจาก
พ้ืนท่สี ว่ นใหญล่ ้วนเป็นดนิ แดนราบลมุ่ และมีฤดฝู นทย่ี าวนาน
วธิ เี อาตัวรอดเมื่อตกอยใู่ นสถานการณน์ ้ำทว่ ม
1. หากยงั พอรู้ทนั วา่ น้ำกำลงั จะมาใหร้ ีบเกบ็ ข้าวของต่างๆ ทเี่ สียงตอ่ ความเสียหายไวข้ ึน้ ท่ีสูง
2. ศกึ ษาเสน้ ทางการเดนิ ทางของนำ้ ระยะเวลาทม่ี ีแนวโนม้ วา่ จะท่วม จากหนว่ ยงานหรือสือ่ โซเชียล
ต่างๆ เพ่ือที่จะไดว้ างแผนใชช้ ีวิตในระหว่างน้ำท่วมไดถ้ กู
3. เตรยี มเสบียง ยารกั ษาโรค เส้ือผ้า อปุ กรณส์ ำหรับใช้ดำเนนิ ชวี ติ ไวใ้ ห้พรอ้ มในกรณที อ่ี าจจะตอ้ งมี
การอพยพเพื่อหนีน้ำฉกุ เฉนิ
4. ถอดปลั๊กไฟและยกเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าทุกชน้ิ ภายในบา้ นไปไว้ที่สูง พร้อมกบั ตัดกระแสไฟของตัวบ้าน
เพ่ือปอ้ งกนั ไฟฟา้ ลดั วงจรตามมา

4. คลื่นยักษ์ถล่ม
ถอื เปน็ หนงึ่ ในเหตกุ ารณท์ ่ียงั คงตราตรงึ อยใู่ นใจของคนไทยทกุ คนสำหรบั เหตุการณ์ ‘คลืน่ ยักษ์’ (สึนา
ม)ิ เข้าถลม่ ทางภาคใต้ของประเทศไทยเมือ่ หลายสบิ ปกี อ่ น ซงึ่ ในครง้ั นน้ั ไดค้ ร่าชวี ติ ผู้คนทง้ั นักทอ่ งเทย่ี ว
ต่างชาติและชาวไทยไปเป็นจำนวนมาก
วธิ ีเอาตัวรอดเมือ่ โดนคล่ืนยักษ์ถล่ม
1. ก่อนทจ่ี ะเกิดสึนามนิ ั้นบรเิ วณชายหาดจะเรม่ิ มีความเปลี่ยนแปลงจากการลดระดับลงของน้ำทะเล
โดยฉับพลนั ซง่ึ ถ้าหากเรามสี ติและสงั เกตไดถ้ งึ ความเปลยี่ นแปลงนี้ จะทำใหเ้ รามเี วลาท่จี ะหนีเอาตัวรอดเพ่ิม
มากข้ึน
2. เหนือสงิ่ อืน่ ใดการวง่ิ ข้นึ ทสี่ งู คือหนทางทจี่ ะทำใหเ้ รารอดจากคลน่ื ยกั ษ์สนึ ามิ โดยเม่ือเราไปเทีย่ ว
ทะเลใหห้ มนั่ สงั เกตป้ายหรือเส้นทางอพยพทีต่ ดิ เอาไว้ และเม่ือเกิดเหตุการณ์สึนามิก็ใหร้ บี วงิ่ ขึ้นท่สี งู หรือ
อาคารขนาดใหญท่ ม่ี ีแนวโน้มทจ่ี ะมัน่ คงจากแรงดนั ของมวลน้ำทม่ี ากมายมหาศาล

3. ในกรณีทมี่ เี ดก็ เล็กอาจใช้เสื้อผ้าหรือผา้ ขนหนมู ัดแขนของเดก็ ตดิ กบั ตวั เราเอาไวเ้ พอื่ ปอ้ งกนั การ
พลดั หลงในช่วงชลุ มนุ ระหว่างอพยพ

5. ติดถำ้
จากเหตกุ ารณท์ ่ีโดง่ ดงั ไปท่ัวประเทศในช่วงนี้ กรณี เดก็ และโค้ช 13 คนตดิ ถ้ำ จงึ ทำใหเ้ ราควรท่ีจะ
ตน่ื ตวั และเรียนรู้วธิ ีการทจี่ ะปอ้ งกันเม่ือเกิดเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ เหลา่ น้ีขึน้ มา
วิธเี อาตวั รอดเม่อื ตดิ อยู่ในถ้ำ
1. ตงั้ สตไิ ม่ตน่ื ตระหนก คอ่ ยๆ นึกคดิ ถงึ เส้นทางท่ีเคยเดนิ ผา่ นมา การวติ กกังวลจะทำให้เราเดิน
หาทางออกไปเร่อื ย ๆ จนทา้ ยทสี่ ดุ อาจหลงไปลึกกว่าเดมิ
2. อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ไม่ควรแยกกนั ออกไปหาทางออกซง่ึ อาจจะทำให้พลดั หลงกนั ตามมา
3. ในการเดินสำรวจทางออกให้ทำเส้นทางไวร้ ะหวา่ งทางเพอื่ ใหเ้ ราจำไดห้ รอื อยา่ งน้อยถ้าหากมี
เจ้าหน้าทเี่ ข้ามาตามหาจะได้รับรวู้ ่าคณุ เคยผา่ นเสน้ ทางน้ี
4. ประหยดั เสบยี งและพลงั งาน ถ้าหากยงั ไมแ่ น่ใจวา่ จะตอ้ งติดอยใู่ นถ้ำนานแคไ่ หนก็ไมค่ วรใชไ้ ฟฉาย
หรือเสบียงอย่างฟุม่ เฟือยจะดที สี่ ุด
๒. การปฐมพยาบาลเมือ่ ไดร้ บั อันตรายจากอบุ ตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั และภยั ธรรมชาติ
การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ในบาดแผลแบบต่าง ๆ
1. การปฐมพยาบาลบาดแผลถลอก (Abrasion wounds)
บาดแผลถลอกหมายถึงการเป็นบาดแผลที่เกิดจากการถกู ขดี ข่วน ถูกถหู รือถกู ครูด บาดแผลชนิดน้ีจะ
ตื้นเพยี งแคผ่ วิ หนงั ชัน้ นอกเทา่ น้นั และมเี ลอื ดออกเลก็ นอ้ ย อนั ตรายของบาดแผลอย่ทู ก่ี ารติดเช้ือ บาดแผล
ถลอกท่พี บไดเ้ สมอ คือ การหกลม้ เขา่ ถลอก ดงั นนั้ เมอื่ เกดิ บาดแผลขน้ึ ต้องรีบปฐมพยาบาล เพ่ือลดอาการ
เจบ็ ปวดและปอ้ งกนั ไม่ใหแ้ ผลตดิ เชอ้ื
อุปกรณ์

1. ชุดทำแผล ได้แก่ ปากคบี ถว้ ยใสส่ ารละลาย สำลี ผ้าก๊อส และพาสเตอรป์ ดิ แผล
2. สารละลาย ได้แก่ น้ำยาฆา่ เชื้อ และ น้ำเกลือล้างแผล
3. แอลกอฮอล์ 70%
4. เบตาดีน หรอื โปรวดิ ี ไอโอดนี

* ท่านสามารถซอ้ื ชดุ ทำแผลดงั กล่าว ได้ตามร้านขายอปุ กรณท์ างการแพทย์ทัว่ ไป
วธิ กี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น

1. ให้ชำระล้างบาดแผลดว้ ยนำ้ สบู่และนำ้ สะอาด ถ้ามีเศษหนิ ขผ้ี ง ทราย อยู่ในบาดแผลให้ใชน้ ้ำสะอาดล้างออก
ให้หมด

2. ใชป้ ากคีบสำลชี ุบแอลกอฮอล์ 70% พอหมาดๆ เชด็ รอบๆ บาดแผลเพ่อื ฆา่ เช้ือโรครอบๆ (ไม่ควรเชด็ ลง
บาดแผลโดยตรง เพราะจะทำให้ เจบ็ แสบมาก เนอ่ื งจากยงั เป็นแผลสด)

3. ใช้สำลชี บุ เบตาดนี หรอื โปรวิดี ไอโอดีน ใส่แผลสด ทาลงบาดแผล แล้วปล่อยทิ้งไว้โดยไมต่ ้องปิด
บาดแผล ยกเว้นบาดแผลทเี่ ท้าซง่ึ ควรปิด ด้วยผ้ากอ๊ ซสะอาด เพื่อปอ้ งกนั ฝุ่นละออง

4. ระวงั อยา่ ใหบ้ าดแผลถกู นำ้
5. ไมค่ วรแกะหรือเกาบาดแผลท่ีแหง้ ตกสะเก็ดแล้ว เพราะทำให้เลอื ดไหลอีก สะเก็ดแผลเหลา่ นัน้ จะแห้งและ

หลุดออกเอง

2. การปฐมพยาบาลบาดแผลฟกชำ้ (Contusion)

บาดแผลฟกช้ำหรือบาดแผลเปิด เปน็ บาดแผลที่ไมม่ ีรอ่ งรอยของผิวหนงั แตม่ กี ารฉีกขาดของเน้อื เยอื่
และหลอดเลอื ดบรเิ วณท่ีอย่ใู ต้ผิวหนงั สว่ นนน้ั มกั เกดิ จากแรงกระแทกของแขง็ ท่ไี ม่มคี ม เช่น ถูกชน หก
ลม้ เป็นต้น ทำใหเ้ ห็นเป็นรอยฟกชำ้ บวมแดงหรอื เขียว

อุปกรณ์

1. นำ้ เยน็
2. ผ้าขนหนผู ืนเลก็
3. ผา้ พันแผลชนดิ เป็นม้วน

วิธกี ารปฐมพยาบาลเบื้องต้น

1. ใหป้ ระคบบริเวณน้ันด้วยความเยน็ เพราะความเยน็ จะช่วยให้เลอื ดใตผ้ ิวหนงั บริเวณนั้นออกนอ้ ยลง โดยใชผ้ ้า
ชบุ น้ำเยน็ ประคบหรอื ใช้ผ้า หอ่ น้ำแข็งประคบเบาๆ ก็ได้

2. ถา้ บาดแผลฟกชำ้ เกิดขนึ้ กบั อวยั วะท่ตี อ้ งมกี ารเคล่ือนไหวอยูเ่ สมอ เชน่ ขอ้ มือ ข้อเทา้ ข้อศอก เปน็ ตน้ ให้ใช้
ผา้ พันแผลชนิดเปน็ มว้ นท่ยี ืดหยนุ่ ไดพ้ ันรอบข้อเหล่าน้ันให้แน่นพอสมควร เพื่อชว่ ยให้อวยั วะที่มบี าดแผลอยู่
นง่ิ ๆ และพยายามอย่างเคล่อื นไหวผ่านบริเวณนน้ั รอยชำ้ ค่อยๆ จางหายไปเอง

3. การปฐมพยาบาลบาดแผลถกู ของมคี มบาด (Incision wounds)
บาดแผลแยกหรอื บาดแผลเปดิ เปน็ บาดแผลทเี่ กิดจากการฉกี ขาดของผิวหนงั หรอื เน้ือเยอ่ื จากการถูก

ของมคี มบาด แทง กรีด หรอื ถกู วตั ถุกระแทกแรงจนเกิดบาดแผล มองเห็นมเี ลือดไหลออกมา
อปุ กรณ์ เชน่ เดียวกบั การปฐมพยาบาลแผลถลอก
วธิ ีการปฐมพยาบาลเบื้องตน้
1. ใชส้ ำลเี ช็ดเลือด และกดห้ามเลือด

2. ใชแ้ อลกอฮอล์เช็ดทำความสะอาดรอบๆ แผล
3. ใชส้ ำลชี บุ เบตาดีน หรือ โปรวดิ ี ไอโอดีนใส่แผลสดทารอบๆ แผล
4. ใชผ้ า้ พนั แผล หรอื พลาสเตอรป์ ิดแผล
5. รบี นำ้ ผปู้ ว่ ยสง่ โรงพยาบาลให้กรณบี าดแผลรนุ แรง
4. การปฐมพยาบาลบาดแผลกระดูกหกั (Fracture)
กระดกู หัก คือ การท่กี ระดูกแยกออกจากกัน ก่อใหเ้ กิดความเจ็บปวด บวม เคลือ่ นไหวไม่ไดห้ รือ
เคลอ่ื นไหวผิดปกติ เนือ่ งจากอุบตั ิเหตุ เช่น ถูกรถชน หกล้ม ตกจากทส่ี งู หรือกระดูกเปน็ โรคไมแ่ ข็งแรงอยแู่ ลว้
กระดกู เปราะเมอื่ ถกู แรงกระทบกระเทอื นเพียงเลก็ นอ้ ยก็อาจหักได้
อปุ กรณ์
1. แผน่ ไมห้ รอื หนังสือหนาๆ
2. ผ้าพันยึด
วิธกี ารปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1. วางอวยั วะสว่ นน้ันบนแผ่นไมห้ รือหนังสอื หนา ๆ
2. ใช้ผา้ พันยดึ ไม้ใหเ้ คล่อื นไหว
3. ถ้าเป็นปลายแขนหรือมอื ใชผ้ า้ คลอ้ งคอ

5. การปฐมพยาบาลเมอ่ื ถูกแมลงกัดตอ่ ย (Insect bite)

แมลงหลายชนิดมเี หล็กใน เช่น ผง้ึ ต่อ แตน เปน็ ต้น เมอ่ื ต่อยแลว้ มกั จะทง้ิ เหล็กในไว้ ภายใน
เหล็กในจะมพี ิษของแมลงพวกนี้มักมฤี ทธท์ิ เี่ ปน็ กรด บริเวณท่ถี ูกต่อยจะบวมแดง คันและปวด อาการปวดจะ
มากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั บริเวณทีต่ อ่ ยและสภาพรา่ งกายของแต่ละบคุ คล

อุปกรณ์
1. อุปกรณ์ทม่ี รี สู ามารถกดลงเพอื่ เอาเหล็กในออกเชน่ ลกู กญุ แจ
2. อปุ กรณส์ ะอาดสำหรบั คบี เอาเหลก็ ในออก
3. สำลีชุบแอมโมเนีย

วิธกี ารปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้
1. ใชล้ กู กุญแจที่มรี กู ดตรงจดุ ที่ถูกต่อย แลว้ ใชท้ หี่ นบี คบี เอาเหล็กในออก
2. กดหรอื บบี บาดแผลไล่น้ำพิษออก
3. ใชส้ ำลชี ุมแอมโมเนียทาบรเิ วณแผล
4. ใช้น้ำแข็งประคบบริเวณแผล เพ่อื ระงบั อาการปวดและชว่ ยลดการซมึ ซาบของพษิ
5. สงั เกตดอู าการ ถา้ ไม่ดีขึ้นรีบพาไปพบแพทย์
6. การปฐมพยาบาลเมอื่ ถูกไฟไหม้ หรือน้ำรอ้ นลวก (Burning)
อปุ กรณ์ เช่นเดียวกบั การทำแผล
วธิ ีการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น


Click to View FlipBook Version