¤ÁÙ‹ ×Í¡ÒõÃǨÊͺ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÊÓËÃѺ
¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒõÒÁࡳ± PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁâä
àÅÁ‹ 2
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั
การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ISBN 978-616-11-4816-4
พิมพค์ รง้ั ที่ 1
จำ�นวนพิมพ์ 230 เลม่
จัดทำ�โดย นางเบญจมาภรณ์ ภิญโญพรพาณชิ ย์
ผู้อ�ำ นวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
นางสาวอจั ฉรา บุญชุม
นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ
นายธีรวทิ ย์ ตง้ั จิตไพศาล
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำ�นาญการ
นางกนกนารถ สงคว์ อน
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน
นางสาวณัฐวรรณ สมรรคนัฏ
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ออกแบบและจดั พมิ พ์โดย
สงวนลขิ สทิ ธโ์ิ ดย กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร กรมควบคมุ โรค
คำ�นำ�
ตามท่ีคณะรัฐมนตรีในคราวประชมุ เม่อื วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2561
มติเห็นชอบหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ีดี เพม่ิ เตมิ ตามมาตรา 50
แห่งพระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งที่ดี พ.ศ. 2546
และมอบหมายให้ ส�ำ นักงาน ก.พ.ร. ด�ำ เนินการสร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ และ
เตรียมความพรอ้ มใหแ้ กห่ นว่ ยงานภาครฐั เพอ่ื ยกระดบั และพฒั นาสรู่ ะบบราชการ 4.0 นน้ั
การด�ำ เนินการบริหารจัดการภาครฐั ของกรมควบคมุ โรค กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ไดข้ ับเคลอ่ื นการพฒั นาหน่วยงานในสงั กัดกรมเข้าส่รู ะบบราชการ 4.0 ตามแนวทาง
การบรหิ ารจดั การภาครฐั จาก ส�ำ นกั งาน ก.พ.ร. มาอยา่ งต่อเนือ่ งตาม Road Map
(พ.ศ. 2556 – 2563) จนเมอื่ ปี พ.ศ. 2563 ถือว่าบรรลุตามเป้าหมายท่ีวางไว้
เม่ือไดร้ ับรางวัลกรมควบคมุ โรค 4.0 ระดบั Significance (ได้รับคะแนน 470 จาก
500 คะแนน เป็นหนง่ึ ในสองหนว่ ยงานในระดับประเทศ) และตั้งแตป่ ีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 – 2566 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ไดว้ าง Road Map ระยะ 3 ปี
เพอ่ื ต่อเน่อื งตามแผนการยกระดบั สู่ระบบราชการ 4.0 ในอนาคตในแบบ “การขับเคล่ือน
องคก์ รแหง่ นวตั กรรมสู่การควบคมุ โรคในชีวิตปกติวถิ ใี หม่ทยี่ งั่ ยนื ” (Sustainably New
Normal of Disease Control) โดยเรมิ่ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เนน้ การพฒั นา
ลงสหู่ นว่ ยงานในสงั กดั กรมอย่างเขม้ ขน้ เพ่อื ใหท้ กุ หนว่ ยงานเขา้ สรู่ ะดบั Significance
อยา่ งน้อยร้อยละ 50
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค จงึ ไดพ้ ัฒนาคมู่ ือการตรวจสอบ
ความพร้อมสำ�หรับด�ำ เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 (คูม่ ือ PMQA 4.0 Checklist)
โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหห้ นว่ ยงานในสังกัดกรมควบคมุ โรคใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ
ความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 ทจ่ี ะช่วยใหห้ น่วยงาน
ไดม้ กี ารวเิ คราะหถ์ งึ ช่องว่างและโอกาสในการพัฒนา และสามารถเตรียมความพร้อม
ในการประเมินสถานะของการเป็นระบบราชการ 4.0 ได้ดว้ ยตนเอง รวมถึงสามารถน�ำ ผล
จากการประเมนิ ไปใชเ้ ปน็ ข้อมลู ประกอบการจดั ท�ำ แผนพฒั นาองค์การท่มี ีการเช่ือมโยง
ยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานกบั เปา้ หมายและทิศทางของการพัฒนาประเทศอนั จะนำ�ไปสู่
การยกระดับของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ต่อไป
คณะผู้จดั ทำ�
กนั ยายน 2564
สารบัญ หน้า
เร่ือง 4
5
บทที่ 1 บทนำ� 11
12
ความเป็นมาของระบบราชการ 4.0
เปา้ หมายหมายการพัฒนาสูร่ ะบบราชการ 4.0 16
คุณลกั ษณะ 10 ประการ ของระบบราชการ 4.0 19
การขบั เคล่อื นระบบราชการ โดยใชแ้ นวทางการพัฒนาคุณภาพ 20
การบริหารจัดการภาครฐั 21
เปา้ หมายการพฒั นาส่รู ะบบราชการ 4.0 22
ระดบั ในการประเมนิ สถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 24
เกณฑ์ในการประเมนิ สถานะการเป็นระบบราชการ PMQA 4.0 25
โครงสร้างของ PMQA 4.0 Checklist 42
56
บทที่ 2 การดำ�เนนิ งานของกรมควบคมุ โรค 67
78
บทที่ 3 ค่มู อื Checklist PMQA 4.0 91
103
หมวด 1 การนำ�องคก์ าร
หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ 117
หมวด 3 การใหค้ วามส�ำ คัญกับผ้รู ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 162
หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู ้
หมวด 5 การม่งุ เนน้ บุคลากร
หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏบิ ัตกิ าร
หมวด 7 ผลลพั ธก์ ารดำ�เนนิ การ
ภาคผนวก
ค�ำ ศัพท์ประจำ�หมวด 1-6
บรรณานกุ รม
บทที่ 1
บทนำ�
ความเปน็ มาของระบบราชการ 4.0
ด้วยวิสยั ทัศนข์ องประเทศไทย “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่งั คงั่ ยัง่ ยืน
เปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยมี
ฐานคิดหลกั คอื เปล่ียนจากการผลิตสนิ คา้ โภคภณั ฑไ์ ปสูส่ นิ คา้ เชงิ นวตั กรรม เปล่ียนจาก
การขบั เคลอ่ื นประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรมไปสูก่ ารขบั เคลอ่ื นด้วยเทคโนโลยี ความคดิ
สรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม และเปล่ียนจากการเน้นภาคการผลติ สินค้าไปสกู่ ารเน้น
ภาคบริการมากข้ึน
เพ่ือใหบ้ รรลุวสิ ัยทศั นด์ งั กล่าว รฐั บาลจงึ มีนโยบายทจี่ ะใชโ้ มเดลขบั เคลื่อน
เศรษฐกจิ ด้วยนวตั กรรม เพื่อพัฒนาประเทศไทยไปส่กู ารเปน็ ประเทศไทย 4.0 ดงั นั้น
ระบบราชการจงึ ต้องมกี ารเปลี่ยนแปลงเพ่อื สอดรบั กบั บรบิ ทท่ีจะเกดิ ขนึ้ จากการเปน็
ประเทศไทย 4.0 โดยภาครฐั หรอื ระบบราชการจะตอ้ งท�ำ งานโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
เพือ่ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนเปน็ หลัก (Better Governance, Happier Citizens)
หมายความวา่ ระบบราชการไทยจะต้องปฏิรปู ขนานใหญ่ เพื่อให้สามารถเป็นที่ไวว้ างใจ
และเป็นทพ่ี ึ่งของประชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง กลา่ วคือ ภาครฐั ต้องปรบั ตัวและต้องพลกิ โฉม
เข้าสยู่ ุคดจิ ิทัล ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพภาครฐั ส่สู ังคมดจิ ทิ ัล ทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน และอำ�นวยความสะดวกในการด�ำ เนนิ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในยคุ ดจิ ทิ ัลท่ามกลางความเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็
และไมส่ ามารถคาดเดาได้ ดงั น้นั ภาครฐั จงึ ตอ้ งมงุ่ เน้นความคลอ่ งตัวเพ่ือขับเคลอ่ื น
ภารกิจพเิ ศษ (Agenda-based) และน�ำ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเขา้ มาพลกิ โฉมหนว่ ยงาน
ภาครฐั สู่ระบบราชการ 4.0 (Government 4.0 หรือ Gov. 4.0) อนั เป็นฟนั เฟือง
และเสาหลักทส่ี ำ�คญั ในการขับเคลอื่ นนโยบายของรัฐบาลให้สามารถปฏิบตั งิ านได้
อย่างสอดคลอ้ งกับทศิ ทางในการบรหิ ารงานของประเทศให้ก้าวสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว
ซึง่ จะสง่ ผลใหก้ ลไกการพฒั นาระบบราชการมกี ารปรบั ตวั ต่อความท้าทายใหม่ ๆ
อีกทง้ั เป็นการเพมิ่ ศักยภาพในการแข่งขนั กับนานาประเทศ และยังเป็นการยกระดับสมรรถนะ
ของหน่วยงานภาครฐั ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้นึ
4 คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
เปา้ หมายการพัฒนาสรู่ ะบบราชการ 4.0
จากแนวคิดของการพฒั นาหน่วยงานภาครัฐสูร่ ะบบราชการ 4.0 เพอ่ื ให้รองรบั
ต่อการเปลีย่ นแปลงและการเปน็ ประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายของรฐั บาล ดังนั้น
การพัฒนาส่รู ะบบราชการ 4.0 จึงมีเป้าหมายหลกั เพ่ือให้ภาครัฐสามารถเปน็ ที่พ่งึ
ท่ีเช่ือถือ และไวว้ างไว้ไดข้ องประชาชน โดยได้ก�ำ หนดเปา้ หมายในการพฒั นา
ระบบราชการไว้ ดังน้ี
ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เพื่อประโยชนส์ ุขของประชาชน
(Better Governance, Happier Citizens)
1. ระบบราชการที่เปิดกว้างและเชอ่ื มโยงถึงกนั (Open & Connected
Govemment) ตอ้ งมความเปิดเผย โปรง่ ใสในการท�ำ งาน โดยบุคคลภายนอกสามารถ
เข้าถึงข้อมลู ข่าวสารของทางราชการหรอื มกี ารแบง่ ปนั ขอ้ มูลซ่ึงกนั และกัน และสามารถ
เข้ามาตรวจสอบการทำ�งานได้ ตลอดจนเปดิ กว้างให้กลไกหรอื ภาคส่วนอ่นื ๆ เช่น ภาคเอกชน
ภาคประชาสงั คม ไดเ้ ข้ามามีสว่ นร่วม และโอนถ่ายภารกิจท่ภี าครัฐไม่ควรด�ำ เนินการเอง
ออกไปให้แกภ่ าคส่วนอ่ืนๆ เป็นผู้รบั ผดิ ชอบด�ำ เนนิ การแทน โดยการจัดระเบยี บความสัมพันธ์
ในเชงิ โครงสร้างใหส้ อดรับกับการท�ำ งานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่ายมากกวา่
ตามสายการบังคบั บัญชาในแนวดงิ่ ขณะเดียวกันกย็ ังต้องเชือ่ มโยงการทำ�งานภายในภาครัฐ
ดว้ ยกันเองให้มเี อกภาพและสอดรับประสานกัน ไมว่ ่าจะเป็นการบริหารราชการส่วนกลาง
ส่วนภมู ภิ าคและสว่ นทอ้ งถิ่น
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 5
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
2. ระบบราชการทยี่ ดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Citizen - Centric
Govermment) ต้องทำ�งานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตง้ั คำ�ถามกับตนเองเสมอวา่
ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเนน้ แกไ้ ขปญั หาความต้องการและตอบสนองความตอ้ งการ
ของประชาชน โดยไมต่ ้องรอให้ประชาชนเขา้ มาติดตอ่ ขอรับบรกิ ารหรือร้องขอความชว่ ยเหลอื
จากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมท้ังใชป้ ระโยชน์จากข้อมูลทางราชการ
(Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมยั ใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับ
ความต้องการของประชาชน (Personalized หรอื Tailored Services) พร้อมทั้งอ�ำ นวย
ความสะดวกโดยมกี ารเชื่อมโยงกันเองของหนว่ ยงานราชการเพอ่ื ให้บรกิ ารต่าง ๆ สามารถ
เสร็จสิน้ ในจุดเดียว ประชาชนสามารถใชบ้ รกิ ารของทางราชการ ไดต้ ลอดเวลาตาม
ความต้องการ และสามารถตดิ ต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกัน ท้ังการตดิ ต่อดว้ ยตนเอง
ตดิ ต่อผ่านอินเตอร์เนต็ เวป็ ไซต์ โซเชยี ลมีเดยี หรือแอปพลิเคชัน่ ทางโทรศัพท์มอื ถอื
3. หน่วยงานของรฐั มีขีดสมรรถนะสงู และทนั สมัย (Smart & High
Performance Govermment) ตอ้ งท�ำ งานอย่างเตรียมการณ์ไวล้ ่วงหน้า มีการวเิ คราะห์
ความเสีย่ ง สร้างนวัตกรรมหรอื ความคิดรเิ รม่ิ และประยกุ ตอ์ งค์ความรใู้ นแบบสหสาขาวิชา
เขา้ มาใชใ้ นการตอบโต้กับโลกแหง่ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งฉับพลนั เพือ่ สรา้ งคณุ ค่า
มคี วามยืดหยนุ่ และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งทันเวลา
ตลอดจนเป็นองคก์ ารท่ีมีขดี สมรรถนะสงู และปรับตวั เขา้ สู่สภาพความเป็นส�ำ นักงานสมัยใหม่
รวมท้ังท�ำ ให้ข้าราชการมคี วามผกู พันตอ่ การปฏบิ ตั ริ าชการและปฏิบตั หิ น้าที่ได้อยา่ งเหมาะสม
กับทบบาทของตน กล่าวคือ
1) ในฐานะเป็นผสู้ นับสนุนการทำ�งานของรฐั บาล จะตอ้ งใหข้ อ้ เสนอแนะ
เชงิ นโยบาย ที่ต้งั อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลสารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง เชิงลกึ และสามารถนำ�ไป
ปฏบิ ัตใิ หบ้ ังเกิดผลได้จรงิ และเกิดความค้มุ ค่า
2 ) ในฐานะเป็นผูก้ ำ�กับดแู ล จะต้องมคี วามเป็นกลางและตรงไปตรงมา
รวมทง้ั วางกฎระเบยี บให้เหมาะสม (Smart Regulation) และยกเลิกการควบคุมที่
ไมเ่ กิดประโยชนล์ ง เพือ่ ไมใ่ ห้เป็นภาระหรืออุปสรรคต่อประชาชนหรอื การประกอบธุรกจิ
3) ในฐานะเปน็ ผปู้ ฏบิ ัติ ก็จะต้องมีความซื่อสตั ย์ สจุ รติ รับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี
ท�ำ งานร่วมมอื กันระหว่างหน่วยงานตา่ ง ๆ ในทุกระดับได้ และสามารถบูรณาการเชอ่ื มโยง
การทำ�งานตามห่วงโซย่ ทุ ธศาสตร์ต้ังแต่ตน้ จนจบ รวมทั้งใชท้ รพั ยากรและบริการตา่ ง ๆ
รว่ มกัน
6 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ฉะนนั้ ความสำ�เรจ็ ของการพฒั นาไปสู่ระบบราชการ 4.0 ดังกลา่ ว ต้องอาศัย
ปัจจัยส�ำ คัญๆ อย่างนอ้ ย 3 ประการ ได้แก่
1. การผสานพลงั ทกุ ภาคส่วน ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอนื่ ๆ ในสงั คม
(Collaboration) เปน็ การยกระดบั การท�ำ งานใหส้ ูงขน้ึ ไปกวา่ การประสานงานกัน
(Coordination) หรอื ทำ�งานดว้ ยกนั (Cooperation) ไปสกู่ ารร่วมมือกัน (Collaboration)
อยา่ งแท้จรงิ โดยจัดระบบใหม้ กี ารวางแผนเพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย
ท่ตี ้องการรว่ มกัน มีการระดมและนำ�เอาทรัพยากรทกุ ชนิดเข้ามาแบง่ ปันและใชป้ ระโยชน์
ร่วมกนั เพอ่ื พัฒนาประเทศหรือแกป้ ญั หาความต้องการของประชาชนที่มคี วามสลับซบั ซอ้ น
มากข้ึน จนไมม่ ีภาคส่วนใดในสงั คมจะสามารถดำ�เนนิ การได้ลุลวงด้วยตนเองโดยล�ำ พัง
อกี ต่อไป หรือเปน็ การบริหารกจิ การบา้ นเมอื งในรูปแบบ “ประชารฐั ”
2. การสร้างนวตั กรรม (Innovation) เปน็ การคดิ ค้นและแสวงหาวธิ ีการ
หรือแนวทาง (Solutions) ใหม่ ๆ อันจะเกดิ ผลกระทบมหาศาล (Big Impact)
เพ่ือปรับปรุงและออกแบบการให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะใหส้ ามารถ
ตอบโจทยค์ วามท้าทายของประเทศหรอื ตอบสนองปญั หาความตอ้ งการของประชาชน
ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ อนั แปรผันไปตามสภาพพลวัตของการเปลย่ี นแปลง โดยอาศัยรูปแบบ
ห้องปฏบิ ตั ิการนวตั กรรมภาครฐั (Government Innovation Lab) และใชก้ ระบวนการ
ความคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) ในลักษณะที่ให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วม
เพ่ือสร้างความเข้าใจและเขา้ ถงึ ความรูส้ กึ ของประชาชน (Empathize) นำ�ข้อมลู มาวิเคราะห์
ถึงปัญหา (Define) และใชค้ วามคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือสร้างไอเดยี (Ideate) ส�ำ หรบั พัฒนา
ต้นแบบ (Prototype) และทำ�การทดสอบปฏบิ ัติจรงิ (Test) ก่อนนำ�ไปขยายผลตอ่ ไป
หรอื เป็นการนำ�เอาศาสตรพ์ ระราชาวา่ ด้วย “เขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา” มาประยุกตใ์ ช้
3. การปรับเขา้ สกู่ ารเป็นดิจทิ ัล (Digitization/Digitalization) เปน็ การ
ผสมผสานกนั ของการจดั เกบ็ และประมวลขอ้ มลู ผ่านคลาวดค์ อมพวิ ต้ิง (Cloud Computing)
อปุ กรณ์ประเภทสมารท์ โฟน (Smart Phone) และการท�ำ งานรว่ มกันผ่านเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ
(Collaboration Tools) ท�ำ ใหส้ ามารถตดิ ตอ่ กันได้อยา่ งเรียลไทม์ (Real Time) ไม่ว่า
จะอยู่ท่ีใด สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลทส่ี ลับซับซอ้ นต่าง ๆ วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของประชาชน เกิดผลกระทบอย่างสูง และสามารถตอบสนองตอ่ ความคาดหวัง
ในการใหบ้ รกิ ารของทางราชการทจี่ ะต้องดำ�เนนิ การไดท้ กุ เวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์
และทกุ ชอ่ งทางไดอ้ ยา่ งมนั่ คง ปลอดภัย และประหยดั ในสว่ นของข้าราชการและเจา้ หน้าที่
ของรัฐต้องได้รับการปรับเปล่ียนกระบวนการทางความคดิ (Mindset) ใหต้ นเอง
คูม่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 7
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
มีความเป็นผูป้ ระกอบการสาธารณะ (Public Entrepreneurship) เพิม่ ทักษะให้มี
สมรรถะทจ่ี �ำ เป็นและเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมของตน อนั จะชว่ ยทำ�ใหส้ ามารถแสดงบทบาท
ของการเปน็ ผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลง (Change Leader) เพ่อื สร้างคณุ คา่ (Public Value)
และประโยชนส์ ขุ ให้แก่ประชาชน
การท�ำ งานของระบบราชการต้องปรบั เปลี่ยนจากการทำ�งานรปู แบบเดมิ ๆ
มาสู่ระบบราชการรูปแบบใหม่ ดงั ตารางที่ 1-1 เพื่อปรบั ตัวรองรับการเปล่ียนแปลง
ที่กำ�ลงั เกดิ ขึ้น
ตารางที่ 1-1 สรุปการเปรียบเทียบระหวา่ งระบบราชการเดิมและระบบราชการใหม่
ระบบราชการเดมิ ระบบราชการใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
การทำ�งานแยกตามภารกจิ ของแต่ละ การท�ำ งานรว่ มกนั แบบบรู ณาการ
หน่วยงาน แมม้ กี ารท�ำ งานประสานงานกัน อยา่ งแทจ้ รงิ ในเชิงยทุ ธศาสตร์ ตัง้ แต่ระดบั
ระหว่างหนว่ ยงาน แตย่ งั ไม่ใช่ การวางนโยบายไปจนถึงการน�ำ ไปปฏิบัติ
การบูรณาการอย่างแทจ้ รงิ (Collaboration)
(Autonomy, Separation)
การท�ำ งานยังไม่อย่ใู นรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ การทำ�งานมีการเชอื่ มโยงผา่ นระบดจิ ิทัล
อย่างเตม็ รปู แบบและยังเปน็ อย่างเต็มรูปแบบตงั้ แตต่ ้นจนจบ
การทำ�งานตามสายการบังคบั บัญชา กระบวนการเชอ่ื มโยงทุกสว่ นราชการ
ในแนวดง่ิ (Fragmentation, ในการบริการประชาชนและมีการบังคบั บัญชา
Hierarchy, Silo, Vertical ในแนวนอน (End-to-end process
Approach) flow, Cross-boundary management,
Program/Project Management Office,
Horizontal approach)
ใหบ้ รกิ ารเปน็ มาตรฐานเดียวกัน ให้บริการตามความต้องการเฉพาะบุคคล
อยา่ งตายตัวตามสทิ ธิพ้นื ฐานของบคุ คลท่ี ซึง่ สามารถออกแบบ/เลอื กรปู แบบ/วธิ ีการ
รฐั กำ�หนด (Standardization) ในการขอรับบริการได้ (Customization,
Personalization)
8 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระบบราชการเดิม ระบบราชการใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
ระบบทำ�งานในแบบอนาล็อก ระบบการท�ำ งานที่ปรับเปน็ ดิจิทัลเตม็ รูปแบบ
(Analog) (Digitization)
การดำ�เนนิ งานเชงิ รบั ตามสถานการณ์ การดำ�เนนิ งานท่ีตอบสนองทันท/ี
ทเ่ี กิดข้นึ (Passive) ทนั เวลา/เชงิ รุก ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง
มีการคาดการณ์ไวล้ ่วงหนา้ (Pro-Active)
ยึดกฎเกณฑ์ และมงุ่ เนน้ แต่การปฏบิ ัตงิ าน สร้างนวตั กรรม มีการควบคุมอยา่ งชาญฉลาด
ตามเป้าหมาย (Rule-based, มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการปฏบิ ัติงาน
Performance-oriented) (Innovation, Smart regulation,
Results-oriented)
ปฏบิ ัตงิ านตามนโยบาย ขบั เคล่ือน ปฏิบตั งิ านโดยเน้นใหป้ ระชาชน
โดยภาครัฐเป็นศูนยก์ ลาง เป็นศนู ยก์ ลาง (Citizen-centric)
(Government-driven)
ระบบการท�ำ งานทลี่ ่าช้า มีตน้ ทุนสงู สร้างคณุ ค่าในการใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน
(Red tape, Costly) ท�ำ นอ้ ยไดม้ าก (Creating value for the
public, Doing more and better
with less)
เปดิ เผยขอ้ มลู ตามทีร่ ้องขอเฉพาะ เปิดเผยขอ้ มลู เป็นปกติ (default) ในรูปแบบ
ราย/เปดิ เผยข้อมูลจำ�กดั (C lose ทส่ี ามารถน�ำ ไปใช้ได้ทันที โดยไม่ตอ้ งรอ้ งขอ
system, Upon Request only) (Open system, Open access)
การปฏิบัตงิ านตามขัน้ ตอนแบบเดิม ๆ สามารถแกไ้ ขปญั หาโดยไมจ่ ำ�เปน็ ต้องใช้
(Routine Work) วิธกี ารท�ำ งานรูปแบบเดมิ และสามารถ
ตอบสนองไดท้ ันที (Non-routine problem
solving, Real-time capability)
ตา่ งหน่วยงานตา่ งทำ�งานกนั ลำ�พัง แบง่ ปันทรัพยากรในการทำ�งานร่วมกัน
โดยไม่มกี ารแบ่งปนั ทรัพยากรเพื่อใช้งาน เพอ่ื ลดตน้ ทุน เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการ
ร่วมกัน (Stand-alone) ปฏบิ ัติงาน (Shared Services)
คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 9
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระบบราชการเดมิ ระบบราชการใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
วางนโยบาย และปฏบิ ัตงิ านโดยใช้ ปฏบิ ัติงานบนพน้ื ฐานของข้อมลู
ความรู้สกึ และคาดเดาเอาเอง ความตอ้ งการของประชาชน และวางนโยบาย
(Intuition) ท่สี ามารถนำ�ไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลไดจ้ ริง
(Data-driven, Demand-driven,
บริการประชาชนเฉพาะในเวลา Actionable policy solutions)
ราชการ (Office-hours only)
มีความเช่ียวชาญ/ชำ�นาญเฉพาะทาง บรกิ ารประชาชนตลอดเวลา
(Expert/Specialist) (On-demand services)
ข้าราชการแบบดง้ั เดิม (Public มคี วามสามารถในการใชค้ วามรู้ สติปัญญา
administrator) และข้อมูลสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาและ
สรา้ งคุณค่า (Knowledge worker)
มีความสามารถในการเรยี นรู้ (Educability)
มีเหตผุ ลในเชิงจริยธรรม (Ethic ability)
มคี วามเป็นผปู้ ระกอบการสาธารณะ
(Public Entrepreneurship)
10 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คุณลักษณะสำ�คัญ 10 ประการของระบบราชการ
4.0จากแนวคดิ ใหม่ดังกลา่ ว อาจสรุปเป็นคณุ ลกั ษณะ
ที่สำ�คญั ของการปฏิบตั ิงาน ในระบบราชการ 4.0 ดงั น้ี
1. ท�ำ งานอย่างเปิดเผย โปรง่ ใส 2. ท�ำ งานเชิงรกุ แกไ้ ขปญั หา ตอบสนอง
เอือ้ ใหบ้ ุคคลภายนอกและ ความต้องการของประชาชน
ประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบง่ ปนั ขอ้ มูลระหวา่ งหน่วยงาน 4. ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการบริหารจดั การ
เชอื่ มโยงการทำ�งานซง่ึ กันอย่างเป็น มฐี านขอ้ มูลทท่ี ันสมยั เพ่อื สนับสนุน
การวางแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละการตัดสนิ ใจ
เอกภาพเบ็ดเสร็จในจดุ เดยี ว ในการท�ำ งาน
5. ปรับรปู แบบการทำ�งานให้คลอ่ งตวั 6. ทำ�งานอย่างเตรียมการไวล้ ว่ งหน้าตอบสนอง
รองรับการประสานงานแนวระนาบ ต่อสถานการณท์ ันเวลา มีการวเิ คราะห์
และในลกั ษณะเครอื ข่าย ความเสยี่ งท้ังในระดับองคก์ ารและ
ในระดบั ปฏิบัติการ
7. เปดิ กว้างให้ภาคสว่ นอน่ื เขา้ มา 8. ส่งเสริมให้เกดิ นวตั กรรม ความคิดรเิ รมิ่
มสี ว่ นร่วม ถา่ ยโอนภารกจิ และการประยุกต์ใชอ้ งค์ความรใู้ นการทำ�งาน
ไปด�ำ เนินการแทนได้ ที่ทันตอ่ การเปล่ียนแปลง
9. บคุ ลากรทุกระดับพรอ้ มปรบั เปล่ยี น 10. ให้ความส�ำ คัญกับบุคลากร ดงึ ดูดบคุ ลากร
ตวั เองส่อู งคก์ ารท่มี คี วามทนั สมัย ทมี่ ีศักยภาพสงู พฒั นาอย่างเหมาะสมตาม
และมงุ่ เน้นผลงานที่ดี บทบาทหนา้ ที่ สร้างความผกู พัน
สรา้ งแรงจูงใจ มีแผนเชงิ รกุ รองรบั
การเปลีย่ นแปลงดา้ นบคุ ลากร
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 11
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
การขบั เคล่อื นหน่วยงานภาครฐั
4.0สรู่ ะบบราชการ
การขับเคลอ่ื นระบบราชการ โดยใชแ้ นวทางการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครฐั
จากแนวคดิ ของระบบราชการ 4.0 ดงั กล่าว สำ�นกั งาน ก.พ.ร. ได้น�ำ มาพฒั นา
เครอ่ื งมอื เพ่ือสง่ เสริมให้สว่ นราชการนำ�ไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาองค์การ เพอ่ื ตอบโจทย์
การพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 โดยเชอื่ มโยงกับเกณฑ์คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
(PMQA) ซึ่งไดส้ ง่ เสริมใหส้ ่วนราชการน�ำ มาใช้ในการวเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรุงองคก์ าร
ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2549 เกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั (PMQA) มีขอ้ ก�ำ หนดทพี่ ฒั นา
บนแนวคดิ ของการบรหิ ารจดั การเชงิ บรู ณาการท่มี งุ่ สคู่ วามเป็นเลศิ สามารถน�ำ มา
วิเคราะห์เช่ือมโยงกบั คณุ ลักษณะ ทั้ง 3 มิติ ของระบบราชการ 4.0 ไดด้ ังนี้
12 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
มติ ทิ ่ี 1 ภาครัฐท่ีเปิดกว้างและเช่อื มโยงกัน (Open and Connectedness
Government) มีความสัมพันธก์ ับ PMQA ในหมวดทีส่ ำ� คัญ ได้แก่
- หมวด 1 การน�ำองค์การผูบ้ ริหารของสว่ นราชการจะตอ้ งมีวิสัยทศั น์ในเชิงยุทธศาสตร์
มีนโยบายในการเปดิ เผยข้อมูลมีความโปร่งใสมุ่งเนน้ ประโยชน์สุขของประชาชน
- หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ส่วนราชการตอ้ งมแี นวคิดเชงิ ยทุ ธศาสตร์
(Strategic Thinking) โดยกำ�หนดเป้าประสงคท์ ไ่ี มเ่ พียงตอบโจทย์ภาระหนา้ ท่ีและ
บริบทของสว่ นราชการเทา่ นั้น แต่ยงั ตอ้ งบูรณาการกับยุทธศาสตร์ของประเทศมกี ารแกป้ ญั หา
ในเชงิ รุกทน่ี �ำไปสูผ่ ลลพั ธท์ ี่มผี ลกระทบต่อเศรษฐกิจ สงั คม สาธารณสขุ และสิง่ แวดล้อม
- หมวด 4 การวัดการวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ เปน็ เร่ืองของการรวบรวม
ข้อมลู สารสนเทศการแบง่ ปันข้อมูลระหว่างสว่ นราชการ เออ้ื ให้สาธารณะเขา้ ถึงข้อมูล
ทเี่ ป็นประโยชนโ์ ดยอยู่บนพน้ื ฐานของการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลทตี่ อบสนองในเชิงรกุ และ
สอดรับกับความตอ้ งการของประชาชน (Proactive and Customize)
- หมวด 6 การมงุ่ เนน้ ระบบปฏิบตั ิการคอื การท�ำใหท้ กุ กระบวนงานมีความเชอื่ มโยง
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยมีการออกแบบการท�ำงานจากตน้ น�ำ้ ถึงปลายนำ้� เพื่อให้เกดิ ความมี
ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ลดต้นทนุ มีการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาทดแทนการท�ำงานในรูปแบบเกา่
โดยค�ำนึงถงึ ประสทิ ธิผลของกระบวนการท�ำงานทัง้ ภายในและภายนอกที่เก่ียวข้องกัน
มติ ทิ ี่ 2 การยึดประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง(Citizen Centric) มีความสมั พันธ์
กับ PMQA ในหมวดทีส่ ำ� คญั ไดแ้ ก่
- หมวด 3 การใหค้ วามส�ำคญั กับผู้รับบริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ส่วนราชการ
ตอ้ งเขา้ ใจการเปล่ียนแปลงความตอ้ งการของประชาชน (Demand Driven) ท่ปี รบั เปลย่ี น
อย่างรวดเร็ว มีความหลากหลายตามพื้นที่ ตามยคุ สมัย และสภาพแวดลอ้ มเฉพาะถ่นิ
การใหบ้ ริการบางเรอื่ งตอ้ งคดิ ก่อนล่วงหนา้ (Proactive) อาจเป็นการคิดร่วมกัน
ระหวา่ งประชาชนและภาครัฐในการแก้ไขปญั หา ตลอดจนสร้างนวตั กรรมการให้บริการ
(Service Innovation) โดยใชร้ ูปแบบหอ้ งปฏิบัติการนวัตกรรมภาครฐั (Government
Innovation Lab) และใชก้ ระบวนการความคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking)
ในลกั ษณะทใี่ หป้ ระชาชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม
- หมวด 5 การมุ่งเนน้ บคุ ลากร สว่ นราชการจะต้องปรบั เปลย่ี นวฒั นธรรม
การท�ำงานของบคุ ลากรเปน็ เชงิ รกุ ทต่ี อบสนองความต้องการและเข้าใจความคาดหวังของ
ประชาชน (Proactive to Customer Needs) เพม่ิ ขีดความสามารถของบคุ ลากร
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 13
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ในการแก้ไขปญั หาที่ก�ำลงั เกิดขน้ึ เฉพาะหน้าได้อย่างถกู ตอ้ งทันท่วงทีและเกดิ ประสิทธผิ ล
ด้วยจิตส�ำนกึ ท่มี ใี นการปรบั ปรงุ ใสใ่ จคณุ ภาพและการใหบ้ ริการในแง่มมุ ของการเปน็
ผปู้ ระกอบการภาครฐั (Public Entrepreneur ship) ท�ำงานรว่ มกบั ประชาชนเพื่อน�ำสู่
สมั ฤทธผิ ลของความยั่งยนื และความสุขทง้ั ผูป้ ฏิบตั ิงานและประชาชน (Happy Worker
and Happy Citizen)
- หมวด 6 การมงุ่ เนน้ ระบบปฏิบตั ิการ ส่วนราชการต้องออกแบบระบบ
การใหบ้ ริการท่ีทำ�ให้ประชาชนเขา้ ถึงได้อยา่ งสะดวก (Citizen-centric Design Concept)
กระบวนการทำ�งานตอ้ งค�ำ นึงถึงการใหบ้ ริการทบ่ี รู ณาการและมคี วามเช่ือมโยงกันของหลาย ๆ
หน่วยงาน (Integrated Service, Horizental Approach) หรอื มุ่งเนน้ ความตอ้ งการ
ของผูร้ ับบริการเปน็ ท่ตี ้ัง การนำ�ระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ
(Digitalized Service Process) โดยมุง่ เน้นผลลพั ธท์ ี่เกิดแกป่ ระชาชนและภาคสงั คม
ดว้ ยต้นทุนท่ีลดลงและค้มุ คา่
มติ ทิ ่ี 3 มีขดี สมรรถนะสูงและทันสมยั (Smart and High Performance)
เก่ียวขอ้ งกบั PMQA ในหมวดทสี่ ำ�คญั ไดแ้ ก่
- หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการจะตอ้ งมีมุมมอง
ในการปรับรปู แบบการทำ�งานและการน�ำ เทคโนโลยมี าใชเ้ ชื่อมโยงใหเ้ กิดนวัตกรรม
โดยเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการกำ�หนดเปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ ตลอดจนการสรา้ งเครอื ข่าย
ความร่วมมือ (Strategic Collaboration) และการเปดิ โอกาสให้ภาคเอกชนและ
ภาคทอ้ งถน่ิ เข้ามามีสว่ นรว่ มผา่ นการขับเคลือ่ นเชิงนโยบาย (Actionable Policy Solution)
- หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจดั การความรู้ ระบบสนับสนนุ
ด้านเทคโนโลยดี ิจิทัลตอ้ งมีความเหมาะสม ทนั สมัย ใช้งานไดท้ ัง้ ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟแวร์
(Digitalization & Administration) ในรปู แบบทีเ่ หมาะสม สามารถรองรับการวิเคราะห์
ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) เพอื่ น�ำ ไปส่กู ารเรียนรแู้ ละการแก้ไขปัญหา
ขององค์การไดอ้ ย่างมีประสิทธิผล (Organizational Learning)
- หมวด 5 การมงุ่ เน้นบคุ ลากร การวางแผนพฒั นาบคุ ลากรต้องสอดรับ
กับทิศทางการปรบั เปลีย่ นเป็นองคก์ ารที่มขี ดี สมรรถนะสูงและทันสมยั มีการรวมกลมุ่
บคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ท่หี ลากหลายสาขาเขา้ มารว่ มทำ�งานเพอ่ื แกป้ ัญหาและโจทยท์ ่ีมี
ความซบั ซอ้ นรว่ มกนั (Trans-disciplinary) มแี ผนพัฒนาบคุ ลากรให้มคี วามรอบรใู้ ช้ข้อมูล
เปิดสูก่ ารเรียนรู้ (Knowledge worker) ท้งั นี้อยู่บนพน้ื ฐานของความพรอ้ มเรยี นรู้
และคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทพ่ี ัฒนาไปควบคกู่ นั (Educability &Ethic Ability)
14 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
- หมวด 6 การมุ่งเนน้ ระบบปฏบิ ัตกิ าร กระบวนการทำ�งานต้องค�ำ นึงถึง
การแบง่ ปนั ทรพั ยากรเพ่อื ให้ลดตน้ ทุนลง ขณะเดียวกันตอ้ งค�ำ นงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อ
ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียทุกภาคสว่ น มีการใช้เทคโนโลยมี าชว่ ยใหท้ ุกกระบวนการเกดิ ประสิทธภิ าพ
สงู สุด (Virtualization and Shared service) มกี ารพัฒนาและสรา้ งนวตั กรรม
ในทกุ กระบวนงาน เพื่อใหอ้ งคก์ ารมงุ่ สูร่ ะบบการทำ�งานทมี่ ีขีดสมรรถนะสงู และมคี วามเป็นเลศิ
ในระบบปฏบิ ตั งิ าน (Operational Excellence)
- การทจ่ี ะท�ำ ใหก้ ารท�ำ งานบรรลผุ ลดังกลา่ วตอ้ งอาศยั หมวด 1 การนำ�องคก์ าร
คอื ผูน้ ำ�ต้องเช่ือมโยงและสร้างบรรยากาศทเ่ี อือ้ ให้เกดิ นวัตกรรมการปรบั ปรงุ (Align
and Empower) และบูรณาการไปสผู่ ลลัพธข์ ององค์การในทุกดา้ นในหมวด 7 และ
เกิดผลกระทบท่ีนำ�ไปสู่การบรรลุยุทธศาสตร์ชาติ และการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม
และสาธารณสุข
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 15
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
4.0เปา้ หมายการพฒั นาสรู่ ะบบราชการ
ถึงแมว้ า่ สว่ นราชการจะมคี วามคุ้นเคยกบั เกณฑ์คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
(PMQA) ทัง้ 7 หมวด รวมถึงขอ้ ก�ำ หนดของเกณฑ์ PMQA โดยใช้เปน็ ระบบการรบั รอง
ในระดับการพฒั นาที่ 250-275 คะแนน และใชเ้ พือ่ พฒั นาความเป็นเลศิ รายหมวด
ตามแนวทางการขอรับรางวัลเลศิ รฐั (ระดบั 300 คะแนน) แตท่ ั้งสองแนวทางยังมีแนวคิด
ในเชิงต้ังรับ (Reactive) คือ เป็นการด�ำ เนินการแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปหรอื พฒั นาปรับปรงุ
โดยยดึ บริบทของสว่ นราชการเปน็ ทตี่ ้งั ดังนน้ั เพื่อให้เกิดการพฒั นาอย่างก้าวกระโดด
และสอดคล้องกับแนวทางการพฒั นาสรู่ ะบบราชการ 4.0 จึงจำ�เปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ีต้องเชือ่ มโยง
แนวคดิ การพัฒนาองคก์ ารไปสูก่ ารบรู ณาการกับทศิ ทางการพฒั นาและยุทธศาสตร์ของประเทศ
รวมท้ังการเร่งใหเ้ กดิ การปรับปรุงผา่ นกลไกของการสร้างนวตั กรรมทั่วทัง้ องค์การและ
การปรบั ตวั ให้เข้าสู่ยุคเทคโนโลยดี จิ ิทัลใหเ้ กดิ ผล กลา่ วคือ ใชก้ ลไกของเกณฑ์คณุ ภาพ
การบริหารจัดการภาครฐั มาปรบั การดำ�เนนิ การจากแนวคดิ แบบต้ังรบั ไปสู่การท�ำ งานเชงิ รกุ
(Proactive) และการสรา้ งนวตั กรรมสปู่ ระสทิ ธิผลและตอบสนองการพัฒนาประเทศ
(Effective & Innovative) โดยแนวคดิ การพัฒนามี 3 ระดบั สามารถอธิบายเชื่อมโยง
กบั มิติต่าง ๆ ของระบบราชการ 4.0 ดงั แสดงในตารางท่ี 1-2
ตารางท่ี 1-2 มติ ิของการพัฒนาในแตล่ ะระดับสรู่ ะบบราชการ 4.0
16 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดับพ้นื ฐาน (Basic) เปน็ การดำ�เนินงานในเชงิ ต้งั รบั คอื ปฏิบตั ิงานตาม
หนา้ ที่และระเบียบปฏิบัติระดับกา้ วหน้า (Advance) เปน็ การด�ำ เนนิ งานในเชิงรุก คือ
คิดและวิเคราะห์ก่อนที่จะปฏิบัติงานและมีการคาดเดาเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนล่วงหน้า
ระดับพฒั นาจนเกิดผล (Significance) เปน็ การพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ งมคี วามเชอ่ื มโยง
และบรู ณาการจนเกิดประสทิ ธิผลและมีนวัตกรรม (Effective& Innovative) โดยมี
ค�ำ อธิบายมิตยิ อ่ ยดังต่อไปนี้
1) การให้ความรว่ มมอื (Collaboration) มกี ารพฒั นาจากพืน้ ฐานการท�ำ งาน
ในเชิงให้ความร่วมมอื (Cooperation) ไปสู่การบูรณาการวางแผนการท�ำ งานรว่ มกัน
(Integration) และต่อยอดไปสู่การทำ�งานในเชงิ ร่วมกนั คิดร่วมกนั ทำ�งานให้ได้คำ�ตอบทดี่ ี
(Collective Solution)
2) นวัตกรรม (Innovation) จากนวตั กรรมของกระบวนการภายในหน่วยงาน
(Internal Process Innovation) คอื การลดข้ันตอนการบริการใหร้ วดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ ไปสู่
นวตั กรรมของผลผลติ และการบรกิ าร (Service Innovation) คือนวัตกรรมทีน่ �ำ มาใช้
พัฒนาและสร้างคุณคา่ ในงานบริการภาครฐั การปรบั ปรงุ บรกิ ารหรอื สรา้ งบรกิ ารใหม่
เพอื่ ยกระดบั ประสิทธภิ าพการให้บริการประชาชนไปสูน่ วตั กรรมเชงิ นโยบาย (Policy/
Outcome) เป็นการคิดริเรม่ิ นโยบายกฎหมายและกฎระเบียบใหม่ ๆ ใหท้ นั สมยั เหมาะสม
และทนั ต่อสถานการณ์
3) ความเปน็ ดจิ ทิ ลั (Digitalization) จากการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพื่อการ
จดั เก็บข้อมูลและสามารถสือ่ สารได้ฉบั ไวรวดเรว็ ขน้ึ (Usage/data base Collection
of Data & Communication) ไปสู่ระบบดจิ ทิ ลั ที่ใช้ในการใหบ้ รกิ ารแกผ่ ู้รับบรกิ ารหรือ
ประชาชนเกิดประสบการณ์ของผู้รับบริการท่ีเหนือความคาดหมายทำ�ให้ประชาชน
ประทบั ใจหรอื สามารถตดิ ตามกระบวนการตัง้ แต่ต้นจนถึงปลายไดร้ วดเร็ว (Citizen
Experience, End to End Process) เชน่ ระบบเตือนไปยังผู้รับบริการลว่ งหน้า
โดยไมต่ อ้ งใชร้ ะบบบตั รคิวหรือการนงั่ รอไปสรู่ ะบบดจิ ทิ ลั ที่บูรณาการทุกภาคส่วน และ
สามารถแบ่งปันข้อมลู กันได้ (Integrated and Connectedness) เชน่ การมีข้อมลู ท่ี
เช่อื มโยงถงึ กันและสามารถดไู ดท้ ุกที่ทกุ เวลา มีความสะดวก ประชาชนและผู้ใช้งาน
สามารถใชง้ านไดโ้ ดยไม่ตอ้ งร้องขอ
4) ผูร้ ับบริการ (Customer) ระดับตง้ั รับ คือ การใหบ้ ริการที่มคี ณุ ภาพ
เป็นทพ่ี ึงพอใจของผูร้ ับบรกิ าร (Service Quality and Customer Satisfaction)
ไปส่กู ารใหบ้ รกิ ารในเชงิ รุกและการแก้ไขข้อรอ้ งเรยี นอย่างมีประสทิ ธิผล (Proactive
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 17
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Services, Compliant Resolution Management (CRM)) คอื มีการวางแผนรองรับ
การบรกิ ารทอ่ี าจมกี ารเปลยี่ นแปลงมองเห็นปญั หา และมกี ระบวนการในการแก้ไข
ข้อรอ้ งเรยี นอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ ไม่ให้เกิดข้ึนซำ�้ อกี และพฒั นาไปสูก่ ารให้บรกิ ารท่ีสามารถ
ออกแบบตรงกบั ความตอ้ งการของประชาชน (Personalized Services) หรือคิดรว่ มกนั
เพอื่ สร้างกลไกข้ึนมาใหม่ (Government Innovation Lab)
5) กระบวนการ (Process) ระดบั ตงั้ รับในการจดั การกระบวนการ คือ
การทำ�งานอยา่ งเปน็ ระบบได้มาตรฐาน มกี ารจดั ทำ�คมู่ ือมาตรฐานในการท�ำ งานและ
การบริการ (Standardization) มกี ารปรับปรงุ งานตามวงจร P-D-C-A ไปส่เู ชิงรุก
ในการปรบั ปรุงกระบวนการ โดยวเิ คราะหจ์ ากข้อมลู ทงั้ ภายในและภายนอก (Data-driven
Improvement) เพอื่ ให้ทราบถึงสาเหตุท่แี ทจ้ ริงว่าปัญหาอยู่ตรงไหนและปรับปรงุ
อย่างเป็นระบบ การกระตนุ้ ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมจนสามารถเทียบเคยี ง (Benchmark)
กบั กระบวนการทำ�งานขององค์การอืน่ เพือ่ ใช้ปรบั ปรุงกระบวนการท�ำ งานใหเ้ ป็นเลิศ
(Integrated Process Improvement Operational Excellence)
6) บคุ ลากร (People) ระดบั ต้ังรบั คือ บุคลากรท่ีปฏิบัติตามระเบยี บตอบสนอง
และทำ�งานตามการส่งั การทีม่ าจากระดบั บนสูร่ ะดับลา่ ง (Rule-base, Responsive,
Top-down) การพัฒนาไปส่เู ชิงรกุ คือเปน็ บคุ ลากรที่มีจติ ส�ำ นึก มีความเชีย่ วชาญ ความคลอ่ งตวั
มีความสามารถหลากหลาย (Integrity, Professional, Tran-disciplinary) และเม่อื
พฒั นาไปสู่ระดับเกดิ ผล คือเป็นบคุ ลากรทีแ่ ก้ปญั หาเป็น มคี วามคิดรเิ รม่ิ และ
มคี วามเปน็ ผู้ประกอบการภาครัฐ (Public Entrepreneurship)
7) ผนู้ ำ� (Leadership) ระดับต้ังรบั หรอื พ้ืนฐาน เป็นผู้นำ�ที่มวี ิสยั ทัศน์ นำ�เป็น
คดิ เป็น (Effective Leadership) พฒั นากา้ วหนา้ เปน็ ผนู้ ำ�ทที่ �ำ งานแข็งขนั จรงิ จังใส่ใจ
ในรายละเอียด (Actively Engaged, Pay Attention to Details) และพฒั นาไปส่ผู ู้น�ำ
สำ�หรับศตวรรษท่ี 21 (21st Century Leadership)
8) ผลลัพธ์ (Results) จากการบรรลผุ ลตามยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ าร (Organization)
ไปส่กู ารบรรลผุ ลตามยทุ ธศาสตร์พ้ืนที่ (Sector) จนไปสู่การบรรลุผลตามยุทธศาสตรช์ าติ
(National Strategy)
18 คูม่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
กรอบการประเมินสถานะการเปน็
4.0ระบบราชการ
ระดับในการประเมินสถานะการเปน็ ระบบราชการ 4.0
เคร่อื งมือการประเมินสถานะองค์การในการเป็นระบบราชการ 4.0 หรือ PMQA 4.0
เป็นเคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ประเมินเพอ่ื ตอบสนองพันธกิจตามหน้าทส่ี ่วนราชการและการเช่อื มโยง
สยู่ ทุ ธศาสตร์และผลลพั ธด์ า้ นการพฒั นาของประเทศ โดยเขา้ ใจความท้าทายทัง้ ของสว่ นราชการ
และทิศทางการพัฒนาประเทศเพ่ือตง้ั เป้ายทุ ธศาสตร์ทีท่ ้าทาย โดยมรี ะดบั การพัฒนา
3 ระดบั คือ
(1) ระดบั พื้นฐาน (Basic) มผี ลประเมินเทยี บเท่า 300 คะแนน ส่วนราชการ
ทม่ี ีคะแนนประเมนิ โดยรวมในระดบั 300 คะแนน หมายถงึ มีแนวทางและการด�ำ เนินการ
ในเรื่องส�ำ คัญในทกุ หมวดอยา่ งเป็นระบบ และมกี ารถา่ ยทอดแนวทางต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ
จนเกดิ ประสทิ ธิผลตอบสนองพนั ธกิจและหนา้ ทข่ี องสว่ นราชการ มีแนวคดิ รเิ ร่ิม
ไปสู่การเป็นระบบราชการ 4.0
(2) ระดบั ก้าวหนา้ (Advance) มผี ลประเมนิ เทียบเท่า 400 คะแนน ส่วนราชการ
ท่ีมีคะแนนประเมนิ โดยรวมในระดับ 400 คะแนน หมายถงึ มแี นวทางและการดำ�เนนิ การ
ในเร่ืองสำ�คัญในทุกหมวดอย่างเปน็ ระบบ และมกี ารถา่ ยทอดแนวทางต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ
จนเกดิ ประสทิ ธผิ ลตอบสนองพันธกิจและหน้าท่ขี องส่วนราชการ และเช่ือมโยง
กบั ความตอ้ งการ และการบรรลเุ ปา้ หมายของประเทศ มกี ารพัฒนาตามแนวทางการเป็น
ระบบราชการ 4.0
(3) ระดบั พฒั นาจนเกิดผล (Significance) มีผลประเมินเทยี บเท่า 500 คะแนน
ส่วนราชการที่มคี ะแนนประเมนิ โดยรวมในระดับ 500 คะแนน หมายถงึ มีแนวทางและ
การด�ำ เนินการในเรือ่ งสำ�คญั ในทกุ หมวดอย่างครบถ้วนเปน็ ระบบ และมกี ารถ่ายทอด
แนวทางตา่ ง ๆ จนเกดิ ประสทิ ธิผลตอบสนองพนั ธกิจและหน้าท่ีของสว่ นราชการและ
เชอื่ มโยงกบั ความตอ้ งการและการบรรลุเป้าหมายของประเทศ มีการบรู ณาการ
ไปยงั ทกุ ภาคส่วนจนเกิดการพัฒนาตามแนวทางการเปน็ ระบบราชการ 4.0 จนเกดิ ผล
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 19
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ในการประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ PMQA 4.0 มีแนวทางในการประเมนิ กระบวนการ
(หมวด 1–6) และหมวดผลลพั ธ์ (หมวด 7) ดังนี้
เกณฑ์ในการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ PMQA 4.0
PMQA 4.0 คือ เครื่องมอื การประเมนิ ระบบการบริหารของสว่ นราชการ
ในเชิงบรู ณาการ เพอ่ื เชอ่ื มโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกบั เปา้ หมายและทิศทางการพัฒนา
ของประเทศ โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่อื เป็นแนวทางใหห้ นว่ ยงานภาครฐั พัฒนาไปสู่
ระบบราชการ 4.0
กรอบการประเมนิ PMQA 4.0 มที ง้ั หมด 7 หมวด (องิ ตามเกณฑ์ PMQA
ฉบับ พ.ศ. 2558) โดยหมวด 1–6 ซ่ึงเป็นหมวดกระบวนการ จะมปี ระเด็นในการ
พิจารณาหมวดละ 4 ประเด็น สว่ นหมวด 7 ซ่งึ เปน็ หมวดผลลัพธ์การดำ�เนินการ
จะมีประเด็นในการพจิ ารณา 6 ประเดน็ รวมทั้งหมด 30 ประเดน็ ในการประเมนิ
แต่ละประเด็น จะมรี ะดบั การประเมิน 3 ระดับ ไดแ้ ก่ พื้นฐาน ก้าวหน้า และพัฒนา
จนเกดิ ผล
20 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
PMQA 4.0 Checklist
โครงสรา้ งของ PMQA 4.0 Checklist
Checklist ส�ำหรับการประเมินตนเองของหนว่ ยงาน
สะทอ้ นสิ่งท่ตี อ้ งท�ำ “ม”ี หรอื ส่งิ ที่ควรท�ำ “ควร”
สะทอ้ น Key Process และ Output ท่คี วรเกิดขึน้
ยำ้� ความเป็น Guideline ในการด�ำเนินการ โดยหนว่ ยงานทีน่ �ำไปใช้สามารถ
สรา้ งนวัตกรรมในการพัฒนาที่นอกเหนือไปจากทรี่ ะบไุ วไ้ ด้
คูม่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 21
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
บทที่ 2
การดำ�เนนิ งานของกรมควบคุมโรค
ต้ังแต่ พ.ศ. 2561 เป็นตน้ มา
การพฒั นา 2561 กรมควบคุมโรคเขา้ สู่
ระบบราชการ 4.0 มุ่งเนน้ การทำ�งานที่
สานพลังทกุ ภาคสว่ น (Collaboration)
สรา้ งนวัตกรรม (Innovation) และปรบั เข้าสู่
ความเปน็ ดิจิทลั (Digitalization) ได้ทบทวน
และประกาศนโยบายในการขบั เคลื่อนงาน
เขา้ ส่รู ะบบราชการ 4.0 ทุกปี มีหนว่ ยงาน
เจา้ ภาพเพอ่ื เป็นกลไกทีส่ ำ�คญั ในการกำ�หนด ภาพ 2-1 ประกาศนโยบายพฒั นากรมคร.
แนวทางปฏบิ ัตใิ ห้ทกุ หน่วยงานดำ�เนนิ การ สรู่ ะบบราชการ
ตลอดจนปรับปรงุ วิธกี ารทำ�งานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จบุ ัน เพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน
การปฏบิ ัติงานของกรมฯ ใหก้ ้าวทันตามกระแสการเปลยี่ นแปลงสู่การเปน็ องค์การ
แหง่ การเรยี นรู้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการคิดค้นนวัตกรรม ดงั ภาพ 2-1
การดำ�เนนิ งานพัฒนากรมคร.สู่
DDC 4.0 มีกรอบแนวคิดยึดประชาชนเปน็
ศนู ย์กลาง พัฒนาระบบเฝ้าระวังปอ้ งกัน
ควบคุมโรคด้วยกลไกใหม่ ๆ ซ่ึงมคี วามคล่องตวั
สอดประสานกบั กลไกของระบบการทำ�งาน
แบบเดมิ ไดอ้ ย่างพอดี ดงั นน้ั ตอ้ งจัดการให้เกิด
ภา พ 2-2 ระ บบกลไกก ารพฒั นาก รม คร. ความสมดุลของท้ังสองระบบ ดังภาพ 2-2
สรู่ ะบบราชการ 4.0
นอกจากน้ี กรมคร. ยังใช้ 3 แนวทางการขับเคล่อื นงานทีม่ ุ่งเนน้ การลดเวลา
ลดทรัพยากร เพ่ิมประสิทธิภาพ การใช้โอกาสในการขบั เคลือ่ นงาน พฒั นากำ�ลังคนวิจยั
นวตั กรรมและ Digital Transformation ดังภาพ 2-3 และในส่วนกลไกหลักของ
22 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
กรมควบคมุ โรค ทสี่ ง่ ผลต่อความสำ�เรจ็ ของการเป็นทย่ี อมรบั คอื ความเช่ยี วชาญ
ด้านบริการ และด้านมาตรฐาน ทส่ี ามารถเปรียบเทยี บกบั องคช์ นั้ นำ�ตา่ ง ๆ ได้ สามารถ
ยนื ยนั ความสามารถและสมรรถนะของกรมควบคุมโรค สู่ระบบราชการ 4.0 ดังภาพ 2-4
ภาพ 2-3 แนวทางการขบั เคล่ือนงาน ภาพ 2-4 DC MECHANISM
ผลลัพธก์ ารดำ�เนนิ งานพัฒนาคุณภาพระบบบรหิ ารจดั การองค์การ
กรมควบคุมโรค
ปีที่ได้รับ ช่ือผลงาน คะแนน
รางวัล
2557 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ รและความรบั ชอบต่อสงั คม 327.50
2557 หมวด 2 ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์และการสอื่ สารเพื่อ 308.50
นำ�ไปสู่การปฏิบตั ิ
2558 หมวด 6 ด้านกระบวนการคุณภาพและนวตั กรรม 309
2559 หมวด 3 ด้านการมุ่งเนน้ ผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย 319
2560 หมวด 4 ดา้ นการวเิ คราะหผ์ ลการด�ำ เนินงานขององคก์ าร 333
และการจดั การความรู้
2561 หมวด 5 ดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล 304
2562 PMQA 4.0 ระดบั Advance 440
2563 PMQA 4.0 ระดบั Significance 470
2564 การดำ�เนินงาน PMQA 4.0 ตามตัวช้ีวัดการประเมนิ ส่วนราชการ 458.99
ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ
ผลการประเมินในภาพรวม
คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 23
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
บทท่ี 3
ค่มู ือ Cheklist PMQA 4.0
หมวด 1 หมวด 2
• Leadership role model • Strategic Thinking & objectives
• Public Accountability • Strategic Alignment
• Integrity &Transparency • Collaboration network
• Aligning & Empower • Strategic Line of Sight
หมวด 3 • Strategic Collaboration
• Demand Driven • Actionable policy solution
• Personalized service
• Innovative service (Gov. Lab) หมวด 4
• Data Sharing
หมวด 5 • Public data Accessibility
• Proactive to customer needs • Information Disclosure
• Problem-solver to improve • Proactive & customized
• Service quality • Digitalization & Administration
• Public Entrepreneurship • Digital technology application
• Happy worker & Happy citizen • Big data analysis
• Knowledge Worker • Organization Learning
• Educability & Ethic ability
• Trans disciplinary
24 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
หมวด 6 หมวด 7
• End-to-end process flow • Results-oriented
• Cross-boundary management • Creating value
• Open system & Open Access • Doing more & better with less
• Citizen centric designed concept • Better Business
• Digitalized service process • Efficiency & effectiveness
• Integrated service • Strategic achievement
• Horizontal approach • Outcome Impact (Economic, social,
• Operational Excellence
• Virtualization & shared service health, environment)
• Digitalization
หมวด 1 การนำ�องค์การ
1.1 ระบบการนำ�องค์การท่สี รา้ งความย่ังยืน
ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 25
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
การกำ�หนดทิศทางของส่วนราชการ
การก�ำ หนดทศิ ทางองค์การ ควรให้ความส�ำ คญั คำ�นงึ ถึงการตอบสนอง
ความต้องการและความคาดหวังของผูร้ บั บริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียท้งั หมด
รวมถึงต้องน�ำ ส่วนราชการไปสกู่ ารบรรลวุ สิ ยั ทศั นแ์ ละภารกจิ ของหนว่ ยงานได้
การกำ�หนดทิศทางองคก์ าร ควรมกี ารประเมินสภาพแวดล้อมท้งั ภายในและ
ภายนอก รวมถึงสถานะขององค์กร วิเคราะห์ข้อมลู ท่ีสำ�คัญ เช่น จดุ แขง็
จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค ผลกระทบต่าง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ กับองคก์ าร ขอ้ มลู
ด้านปจั จยั ทางนโยบายและการเมือง ปจั จัยทางเศรษฐกจิ ปัจจยั ทางสงั คม
ปัจจัยทางเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ ๆ ปจั จัยทางสภาพแวดล้อม และ
ปัจจัยทางด้านขอ้ กฎหมายตา่ ง ๆ
การกำ�หนดทิศทางองค์การควรมีรายละเอียดทจ่ี ะสามารถสร้างความเขา้ ใจ
แก่ผทู้ เี่ ก่ียวข้องเพอ่ื นำ�ไปสู่การปฏิบตั ิไปไนทศิ ทางเดียวกันได้อย่างชดั เจน
ซง่ึ อาจพิจารณาจากหลกั การ SMART ประกอบด้วย 1) ควาชดั เจน (Specific)
มรี ายละเอยี ดที่มีความชดั เจนอยา่ งเฉพาะเจาะจงและไมค่ ลุมเครอื 2) วดั ผลได้
(Measurable) มกี ลไกในการประเมนิ ความส�ำ เร็จของทศิ ทางท่กี ำ�หนดไว้
3) บรรลผุ ลได้ (Achievable) สามารถผลักดันและขบั เคลอ่ื นไปสกู่ ารบรรลตุ าม
เปา้ หมายของทศิ ทางท่ีกำ�หนดไว้ได้ 4) สอดคล้องกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ (Realistic)
มีความสอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์ท้ังภายในและภายนอก
องคก์ ร ความท้าทายทางยทุ ธศาสตรแ์ ละความได้เปรยี บทางยทุ ธศาสตร์
และ 5) กรอบระยะเวลาทชี่ ดั เจน (Timely) กำ�หนดกรอบระยะเวลา
ในการบรรลุทิศทางดงั กลา่ วไว้อย่างชัดเจน
การสื่อสารทิศทางและการตดั สินใจทสี่ ำ�คัญ
ผบู้ รหิ ารของส่วนราชการต้องสอื่ สารท�ำ ความเข้าใจกับบคุ ลากร ภาคประชาชน
ภาคเอกชน และท้องถิน่ จากองค์กรภายนอกใหม้ ีความเขา้ ใจแนวทางการทำ�งาน
ของสว่ นราชการใหค้ วามรว่ มมือในการดำ�เนนิ การ และสรา้ งกลไกในการประสาน
ความร่วมมือในการทำ�งานระหว่างกนั ในลกั ษณะของเครือขา่ ย ผลกั ดนั
ให้เกดิ การปรับปรงุ งานที่มากข้ึนโดยการตง้ั เป้าหมายท่ที ้าทาย เพื่อผลักดนั
ผลการด�ำ เนนิ งานให้ดียิง่ ข้ึน
การสือ่ สารถ่ายทอดทศิ ทาง ผ้บู ริหารขององคก์ ารควรมีบทบาทในการสื่อสารทิศทาง
ที่ก�ำ หนดไวด้ ว้ ยตนเองผ่านวธิ กี ารต่าง ๆ ทม่ี ีประสิทธิผล เพอื่ สื่อสารทิศทาง
26 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
องคก์ ารทไ่ี ด้ก�ำ หนดไวไ้ ปสู่ผู้ท่ีเกย่ี วข้อง ท้งั ภายในและภายนอกองค์การ
โดยการสือ่ สารควรเป็นไปในรปู แบบการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง Two-way
communication เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิผลของการสือ่ สาร รวมถงึ อาจมีรปู แบบ
ทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการเพ่อื ใหม้ ีความเหมาะสมกบั ผ้ทู ี่จะส่ือสาร
ซง่ึ มพี ฤติกรรมและบรบิ ททแี่ ตกต่างกนั
การส่อื สารถา่ ยทอดการตดั สนิ ใจท่สี ำ�คญั เม่อื องค์การตอ้ งเผชิญกบั เหตกุ ารณ์
หรือการตัดสินใจท่ีมคี วามสำ�คัญ ผูบ้ ริหารควรมีบทบาทดว้ ยตนเองในการสือ่ สาร
ประเด็นการตัดสนิ ใจทส่ี �ำ คัญขององคก์ ารให้กบั ผทู้ ีเ่ กย่ี วข้องได้รบั ทราบ
การสร้างสภาพแวดลอ้ มและวฒั นธรรมองค์การ
ผบู้ รหิ ารของสว่ นราชการควรมีบทบาทในการกระตนุ้ สง่ เสรมิ ผลักดัน
สร้างบรรยากาศในองค์การใหบ้ ุคลากรมพี ฤติกรรมทม่ี ่งุ เนน้ ผลการดำ�เนนิ การ
สรา้ งวัฒนธรรมองคก์ าร เพ่อื สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรปฏิบตั ิงานเพ่อื ประโยชน์สขุ
ของประชาชน
ผบู้ รหิ ารของสว่ นราชการควรสร้างสภาพแวดลอ้ มและจัดสรรทรพั ยากร
รวมถงึ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ หรอื ระบบงานท่จี ำ�เปน็ อย่างเพียงพอและเหมาะสม
ในการท�ำ งาน เพอ่ื ให้เกดิ ความสำ�เร็จ บรรลุตามพันธกจิ อาทิเช่น การจดั โครงสรา้ ง
องค์การให้รองรบั กับทิศทางการดำ�เนินงานและวัฒนธรรมขององคก์ ารใหม้ ี
ความคล่องตัว ตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงได้อย่างรวดเร็ว การพัฒนา
ระบบงานและกระบวนการที่มปี ระสทิ ธิภาพทส่ี ามารถรองรับการด�ำ เนินงาน
ของสว่ นราชการได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เป็นต้น
ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ตอ้ งเป็นแบบอยา่ งทีด่ ใี นการปฏบิ ัติให้คำ�แนะน�ำ ช่วยเหลอื
ในการดำ�เนินการ
การทบทวนผลการดำ�เนินงานและพฒั นาปรับปรุงโดยคำ�นึงถึงความยั่งยืน
ขององคก์ าร
การตดิ ตามทบทวนและประเมินผลการด�ำ เนนิ การ ควรมีการด�ำ เนินการ
อย่างตอ่ เน่ืองจากตัวชีว้ ดั ผลการด�ำ เนินงานทีส่ �ำ คัญทง้ั ในระดบั องคก์ ารและ
ระดบั ปฏบิ ัติการ รวมถงึ แผนงานท่สี ำ�คญั ซง่ึ จะท�ำ ใหผ้ ู้บริหารทราบสถานะ
ผลการด�ำ เนินงานและขีดความสามารถของสว่ นราชการและประเดน็ สำ�คญั
ทตี่ อ้ งด�ำ เนนิ การหรอื ปรบั ปรงุ อย่างเร่งดว่ น
การทบทวนวิสัยทัศน์ ภารกจิ คา่ นยิ ม ทศิ ทางการดำ�เนินงานของสว่ นราชการ
ค่มู ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 27
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ควรน�ำ ข้อมลู และสารสนเทศทสี่ ำ�คญั ตา่ ง ๆ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ ผลการวเิ คราะห์
ข้อมูลทร่ี วบรวมจากหลายแหลง่ ในหลายมมุ มอง และสามารถปรบั เปล่ยี นได้
ตามความตอ้ งการของผ้ใู ช้ทนั ทีขณะใชง้ านเพอื่ สนบั สนุนการตดั สินใจในเชิงนโยบาย
ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
การทบทวนผลการดำ�เนนิ งานและปรับปรุง ควรมกี ารประเมินและคาดการณ์
ความเปล่ยี นแปลงในอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้น
ระดับ ความหมาย
Basic ผบู้ ริหารของส่วนราชการได้สร้างความยั่งยืน โดยการกำ�หนดวสิ ัยทศั น์
และยุทธศาสตรท์ ี่ตอบสนองต่อพนั ธกิจและภาระหน้าที่ของสว่ นราชการ
(Mission based) มกี ารถ่ายทอดผา่ นระบบการน�ำ องค์การเพือ่ ให้
เกดิ การดำ�เนินการทัว่ ท้ังส่วนราชการ
Advance ผบู้ รหิ ารของสว่ นราชการได้สรา้ งความย่งั ยืน โดยการกำ�หนดวสิ ยั ทศั น์
และยทุ ธศาสตร์ทีต่ อบสนองตอ่ พันธกิจและภาระหนา้ ทขี่ องสว่ นราชการ
และสอดรบั กบั ยุทธศาสตรช์ าติ (Alignment with National Strategies)
Significance ผู้บริหารของส่วนราชการได้สร้างความย่ังยืน โดยการกำ�หนดวิสัยทัศน์
และยทุ ธศาสตรท์ ตี่ อบสนองตอ่ พันธกิจและภาระหน้าทข่ี องสว่ นราชการ
สอดรับทศิ ทางการพัฒนาและยุทธศาสตร์ชาติและยทุ ธศาสตรพ์ ้ืนท่ี
สร้างนวัตกรรมและวฒั นธรรมในการมุ่งประโยชนส์ ขุ ประชาชน
(Innovation, Citizen-centric)
28 ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 1.1 ระบบการนำ�องค์การทสี่ ร้างความยัง่ ยืน
Basic Advance Significance
B1: ผบู้ ริหารก�ำหนด A1: ผบู้ ริหารกำ�หนด S1: ผบู้ รหิ ารก�ำ หนด
ทิศทางขององค์การท่ี ทิศทางขององคก์ ารท่ีสอดรบั ทิศทางเพื่อใหเ้ กดิ
ตอบสนองพนั ธกิจและ กบั ยุทธศาสตรช์ าติ การสรา้ งนวัตกรรมที่มุ่งเนน้
ภาระหนา้ ท่ขี องส่วนราชการ A2: ผูบ้ ริหารสื่อสาร ผู้รบบรกิ ารและผ้มู ีส่วนได้
B2: ผู้บรหิ ารส่อื สาร ถา่ ยทอดทิศทางไปสู่ สว่ นเสยี และมุ่งเน้น
ถ่ายทอดทศิ ทางและ ผู้รับบรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้ ประโยชนส์ ุขของประชาชน
การตัดสนิ ใจทสี่ �ำคญั แบบ สว่ นเสียและหน่วยงานที่ S2: ผ้บู ริหารคาดการณ์
สองทศิ ทางไปส่ทู กุ ระดับ เกี่ยวข้อง ผลการดำ�เนินงานในอนาคต
ภายในองคก์ าร A3: ผู้บรหิ ารไดน้ ำ�ผล และกำ�หนดทศิ ทาง
B3: ผู้บริหารสรา้ ง การทบทวนมาปรับปรุง ในการเตรยี มการเชิงรกุ
สภาพแวดล้อมและ และพัฒนาทิศทาง เพือ่ รองรับกบั เหตุการณ์ท่ี
วฒั นธรรมที่สนบั สนุน การด�ำ เนินงานขององค์การ อาจจะเกิดขนึ้
การบรรลเุ ป้าหมาย ให้สอดคล้องกับ S3: ผ้บู รหิ ารสื่อสาร
ขององคก์ าร ส่งเสริม สภาพแวดล้อมอยา่ งทนั ท่วงที ผลสัมฤทธิ์จากการด�ำ เนินงาน
นวตั กรรมและการเรียนรู้ A4: ผบู้ ริหารนำ� ขององค์การไปสู่ประชาชน
ของบคุ ลากร เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ และสงั คม
B4: ผบู้ รหิ ารติดตาม ในการสอ่ื สาร สนับสนุน
ทบทวนผลการด�ำเนินงาน การสรา้ งสภาพแวดล้อมและ
อยา่ งตอ่ เนอื่ งและสมำ่� เสมอ วฒั นธรรม และทบทวน
ทศิ ทางการดำ�เนนิ งาน
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 29
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
RB1: ทศิ ทางองคก์ ารที่ RA1: ทิศทางองคก์ าร RS1 : ทิศทางองค์การ
ชดั เจน สอดคล้องกบั พนั ธกจิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั
สภาพแวดลอ้ มทาง ทคี่ ำ�นึงถึงผลสมั ฤทธิ์
ยุทธศาสตรช์ าติและ เพื่อประโยชนส์ ุขของ
ยทุ ธศาสตร์ขององค์การ ความเปล่ียนแปลง
RB2: บคุ ลากรมี ประชาชน เตรียมการ
ความเขา้ ใจทศิ ทาง และ
ให้ความร่วมมอื ผลกั ดนั ด้านยทุ ธศาสตร์ เชิงรุกเพอื่ รองรับ
และขับเคลื่อน RA2: ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ความเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ภาคประชาชนและหน่วยงาน RS2: ทิศทางการด�ำ เนินงาน
RB3: มีสภาพแวดลอ้ ม ทเี่ กีย่ วขอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื แสดงให้เหน็ ผลลัพธท์ น่ี �ำ
และวฒั นธรรมท่ีสนับสนนุ ในการดำ�เนนิ งาน ไปสู่การสร้างประโยชนส์ ุข
การบรรลเุ ปา้ หมาย เพ่ือขบั เคล่อื น แกป่ ระชาชนและสังคม
ขององค์การ สง่ เสริม RA3: เกิดนวตั กรรม อยา่ งยั่งยืน
นวตั กรรมและการเรยี นรู้ ในการพฒั นากระบวนการ
ของบุคลากร หรอื การใหบ้ ริการของ
ส่วนราชการ
1.2 ปอ้ งกันทจุ รติ และสร้างความโปร่งใส
30 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
การกำ�หนดนโยบายการกำ�กบั ดูแลองค์การทดี่ ี
นโยบายการก�ำ กับดแู ลองคก์ ารท่ีดี หมายถงึ การประกาศเจตนารมณข์ อง
องค์การทจ่ี ะด�ำ เนนิ การ และกำ�หนดนโยบายตามหลักการบรหิ ารกิจการ
บา้ นเมอื งทีด่ ีเพือ่ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน โดยผูบ้ ริหารตอ้ งวางนโยบาย
เก่ียวกบั รัฐ สงั คมและสง่ิ แวดล้อม ผู้รับบริการและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี และ
ผปู้ ฏบิ ัติงาน รวมท้ังก�ำ หนดแนวทางปฏิบตั แิ ละมาตรการหรือโครงการ
เพือ่ ให้บรรลุผลตามนโยบายขององคก์ าร
การสื่อสารนโยบายและถ่ายทอดส่กู ารปฏิบตั ิ
สอ่ื สารนโยบายและถ่ายทอดผ่านชอ่ งทางการสื่อสารและระบบการนำ�องค์การ
ระบุสง่ิ ทต่ี ้องการใหเ้ กิดการปฏบิ ัติอย่างจรงิ จงั
การก�ำ หนดแผนงานและมาตรการในการปอ้ งกนั ทุจริตและสร้างความโปร่งใส
กำ�หนดวตั ถุประสงค์ของแผนงาน เปา้ หมายการด�ำ เนินงาน ความคาดหวงั ตอ่
ผลการดำ�เนินงานดา้ นการป้องกนั ทจุ รติ และสร้างความโปรง่ ใส
การน�ำ แผนงานและมาตรการการป้องกนั ทุจรติ และสรา้ งความโปรง่ ใสไปสู่
การปฏิบัติ
กำ�หนดภาระความรับผดิ ชอบของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งตอ่ การดำ�เนนิ งาน
ตามแผนงานเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชดั เจนในการนำ�ไปปฏิบัติ
การตรวจสอบตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลสูส่ าธารณะ
ก�ำหนดวิธกี ารและความถใ่ี นการตรวจสอบ ติดตามประเมินผล รวมทัง้ รปู แบบ
การรายงานผลและชอ่ งทางการเผยแพรส่ ู่สาธารณะระบบราชการ ซงึ่ เปน็
กลไกส�ำคัญของภาครัฐทจ่ี ะใชใ้ นการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาในด้านต่าง ๆ
มคี วามจ�ำเปน็ อย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องพัฒนาไปสรู่ ะบบราชการ 4.0 โดยจะต้องมีความโปรง่ ใส
ในการท�ำงานตรวจสอบได้ ผู้น�ำระดับสูงจะตอ้ งให้ความส�ำคญั ในการสร้างระบบ
ในการก�ำกับดแู ลองคก์ าร ทบทวนและตดิ ตามผลการด�ำเนินการอย่างสม่ำ� เสมอ
การด�ำเนินการตา่ ง ๆ สามารถตรวจสอบไดท้ ้งั จากภายในและภายนอกองคก์ าร
สามารถเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของส่วนราชการให้กบั สาธารณะได้ ไมเ่ อาเปรยี บ
และต้องปกป้องผลประโยชน์ของผู้รับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียอย่างเหมาะสม
รวมทงั้ การส่งเสรมิ ในเรอ่ื งจรยิ ธรรมในการท�ำงานทัว่ ทง้ั สว่ นราชการ
คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 31
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระดบั ความหมาย
Basic
นโยบายและระบบการก�ำ กับดแู ลท่ีเสรมิ สร้างความโปรง่ ใสและ
การปอ้ งกนั ทจุ รติ รวมท้งั ระบบการตรวจสอบที่มปี ระสิทธภิ าพ
มีมาตรการทถี่ า่ ยทอดสกู่ ารปฏบิ ัติและการตดิ ตามรายงานผลอยา่ งชดั เจน
Advance การประเมินประสิทธิผลและตัววัดการปอ้ งกนั ทจุ รติ และการสรา้ ง
ความโปรง่ ใสภายในส่วนราชการและมกี ารปรบั ปรงุ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ
การรายงานผลการด�ำเนินการของสว่ นราชการตอ่ สาธารณะและ
หน่วยงานบังคบั บัญชา
Significance ผลการประเมินความโปรง่ ใสในระดบั องคก์ ารโดยองค์การอสิ ระ
ระดบั ชาติหรือนานาชาติ เปน็ แบบอย่างท่ดี แี ละการสร้างตน้ แบบ
ดา้ นความโปร่งใส
Checklist 1.2 ป้องกนั ทุจริตและสร้างความโปรง่
Basic Advance Significance
B1: กำ�หนดนโยบายและ A1: น�ำ เทคโนโลยดี จิ ิทัล S1: ประเมนิ ผล
ระบบการกำ�กับดแู ลทด่ี แี ละ มาใช้ในการสือ่ สารประชาสัมพนั ธ์ การด�ำ เนนิ งานด้าน
ท่ีเสริมสรา้ งความโปรง่ ใส และเผยแพรน่ โยบายและระบบ การป้องกนั ทจุ ริตและ
และการป้องกนั ทุจรติ รวมทง้ั การก�ำ กบั ดูท่ดี ี และที่เสริมสรา้ ง การสร้างความโปร่งใส
ระบบการตรวจสอบท่มี ี ความโปร่งใสและการปอ้ งกันทจุ รติ โดยองคก์ ารอิสระ
ประสทิ ธิภาพ A2: ค้นหาแนวปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ ระดับชาติ หรือ
B2: ส่อื สารประชาสัมพันธ์ (Best Practice: BP) นานาชาติ
และเผยแพรน่ โยบายและ ด้านความโปร่งใส สรา้ งต้นแบบ
ระบบการก�ำ กบั ดแู ลทด่ี ีและ (Role Model)
ท่เี สริมสร้างความโปรง่ ใส ด้านความโปร่งใส
และการปอ้ งกนั ทจุ ริตใหก้ บั
บคุ ลากรทั่วทั้งส่วนราชการ
32 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
B3: กำ�หนดมาตรการและ A3: ก�ำ หนดตวั วดั เพื่อประเมนิ
แผนงานเก่ียวกบั การปอ้ งกัน ประสิทธผิ ลการป้องกนั ทจุ ริต
ทุจรติ และสร้างความโปร่งใส และการสร้างความโปร่งใส
ในสว่ นราชการในเชงิ รุก ภายในสว่ นราชการ
(Proactive) และเชงิ รบั A4: รายงานผลและเผยแพร่
(Passive) ผลการดำ�เนนิ งานด้านการ
B4: ก�ำ หนดตวั ชว้ี ัดในการ ป้องกันทจุ ริตและการสรา้ ง
ตรวจตดิ ตาม ปอ้ งกันการทจุ ริต ความโปรง่ ใสส่สู าธารณะ
และตดิ ตามรายงานผล อย่างเปิดเผย
อย่างชดั เจน A5: ทบทวนและปรบั ปรุง
B5: ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ นโยบายและมาตรการ
และแผนงานเกี่ยวกบั ดา้ นการปอ้ งกันทุจริตและ
การปอ้ งกนั ทุจริตและ การสรา้ งความโปรง่ ใส
สรา้ งความโปร่งใส
RB1: ประสิทธภิ าพของนโยบาย RA1: ข้อมลู ขา่ วสารและ RS1: ผลการประเมนิ ทดี่ ี
จากหนว่ ยงานภายนอก
และระบบการก�ำ กับดูแลทด่ี ี ผลการด�ำ เนินการของ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื ในประเทศ
หรือต่างประเทศ
และท่เี สรมิ สรา้ งความโปร่งใส สว่ นราชการทเี่ ปิดเผย ไดร้ บั รางวัลหรอื เป็น
แบบอย่าง/ต้นแบบ
และการป้องกนั ทจุ ริต สสู่ าธารณะให้ประชาชนและ ด้านการปอ้ งกนั ทจุ ริต
และการสร้างความโปรง่ ใส
รวมท้งั ระบบการตรวจสอบ สังคมสามารถตรวจสอบได้ RS2: มีแนวปฏิบตั ิ
ทเ่ี ป็นเลศิ หรือมตี ้นแบบ
RB2: ประสทิ ธภิ าพของ ในดา้ นความโปรง่ ใส
ในการปฏบิ ัติงาน
การสือ่ สารประชาสมั พันธ์
และเผยแพร่นโยบาย และ
ระบบการกำ�กับดแู ลท่ดี ี และ
ท่ีเสรมิ สร้างความโปร่งใส
และการป้องกนั ทุจรติ
RB3: ผลการด�ำ เนนิ งาน
การป้องกนั การทุจรติ
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 33
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
1.3 การมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธิ์ผา่ นการสรา้ งการมีสว่ นร่วมจากเครอื ข่าย
ท้งั ภายในและภายนอก
การบริหารราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม
การบรหิ ารราชการท่นี �ำผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ที่เกย่ี วข้องทกุ ภาคส่วนเข้ามามี
สว่ นร่วมในกระบวนการวางแผน การตัดสนิ ใจ การด�ำเนินงานและการประเมินผล
การส�ำรวจ วิเคราะหก์ ระบวนงานที่สามารถสรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม
ส�ำรวจ วิเคราะห์ ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี (Stakeholder) ท้ังภายในและภายนอกองค์กร
ในการสรา้ งการมีสว่ นร่วมในการท�ำงาน
- ก�ำหนดกล่มุ เปา้ หมายในการมีส่วนร่วม
- ก�ำหนดระดับการมีส่วนร่วม
การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มและกลไกทีส่ ่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ ม
จัดระบบงานหรอื วธิ กี ารท�ำงานการจัดโครงสรา้ ง และการสร้างวฒั นธรรม
การท�ำงานของเจ้าหน้าท่รี ฐั ท่เี อือ้ ตอ่ การเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนหรือผู้มสี ว่ นได้
สว่ นเสียที่เกีย่ วข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
การสรา้ งการมสี ่วนรว่ มของประชาชนและเครอื ข่าย
ระดับการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนตามตวั แบบของสมาคมการมสี ว่ นร่วมสากล
(International Association for Public Participation - IAP2) ท่ีเรียกว่า
Public Participation Spectrum ประกอบด้วย การมีส่วนรว่ มของประชาชน
มี 5 ระดับ คอื 1) ระดับการใหข้ ้อมูลขา่ วสาร (To Inform) 2) ระดบั
การปรึกษาหารอื (To Consult) 3) ระดบั การเขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง (To Involve)
4) ระดับความรว่ มมอื (To Collaborate) และ 5) ระดบั เสริมอ�ำนาจ
ประชาชน (Empower)
34 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
เปดิ กว้างใหภ้ าคส่วนอน่ื ๆ เข้ามามสี ว่ นร่วม มีโครงสร้างในแนวราบลักษณะ
ของเครอื ขา่ ยมากขึน้ มกี ารเชอ่ื มโยงการทำ�งานภายในภาครัฐด้วยกนั
อย่างมเี อกภาพและสอดประสานกนั
สนับสนุนการทำ�งานเปน็ ทมี เสริมสรา้ งวฒั นธรรมองค์กร รวมถึงการใช้
ในการสร้างความมีสว่ นร่วมของเครือข่ายให้ช่วยในการด�ำ เนนิ การเพ่ือบรรลุ
ภารกจิ ของส่วนราชการ
กระตุน้ สง่ เสริม ผลกั ดันใหเ้ กดิ การปรับปรงุ กระบวนการและการบรกิ าร
ผา่ นเครอื ขา่ ยภาคเอกชน ใหม้ ีการเปล่ยี นแปลงอย่างกา้ วกระโดดและเกดิ นวตั กรรม
ท่สี ำ�คัญมีผลกระทบสูง สอดคล้องกับนโยบาย และนำ�ไปสู่การแกป้ ัญหา
ทสี่ �ำ คญั ที่มีความซับซอ้ น ซงึ่ อาจไม่สามารถแกไ้ ขไดส้ �ำ เร็จโดยส่วนราชการ
เพยี งหน่วยงานเดยี ว อาจมีความจำ�เปน็ ที่จะต้องรว่ มกนั คดิ ร่วมกนั วิเคราะห์
เพอื่ หาแนวทางในการแก้ปัญหากับภาคประชาชนและหนว่ ยงานอ่นื ๆ ซึ่งจะ
สง่ ผลใหไ้ ดม้ มุ มองทีห่ ลากหลายในการแกไ้ ขปญั หาที่สำ�คญั และซับซอ้ น
ใหส้ �ำ เร็จตามวตั ถปุ ระสงค์
ระดับ ความหมาย
Basic
การสื่อสารและการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มภายในเพ่อื ให้มุ่งเน้น
ผลสมั ฤทธ์ิ การสร้างกลไกที่เออื้ ให้ประชาชนและเครือข่าย
ภายนอกเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการท�ำ งาน
Advance การต้ังเป้าหมายทา้ ทายและการส่งเสรมิ ใหเ้ กิดนวตั กรรมของ
กระบวนการและการบริการผา่ นเครอื ขา่ ยภาคประชาชน
ภาคเอกชนและท้องถน่ิ
Significance การสร้างนวตั กรรมที่มีผลกระทบสูงและเชิงนโยบายท่ีน�ำ ไปสู่
การแก้ปญั หาท่ีมคี วามซับซ้อน
คูม่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 35
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 1.3 การมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธผ์ิ า่ นการสร้างการมสี ่วนร่วมจากเครอื ขา่ ย
ทั้งภายในและภายนอก
Basic Advance Significance
B1: สำ�รวจวิเคราะห์พนั ธกจิ A1: ก�ำ หนดเปา้ หมาย S1: สร้างนวัตกรรม
ยทุ ธศาสตร์ กระบวนงาน การดำ�เนินงานทีท่ ้าทาย เชิงนโยบายท่ีส่งผลกระทบ
หรอื โครงการท่สี ามารถ A2: ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม สงู ในระดับประเทศ โดยมี
สรา้ งการมสี ่วนรว่ ม ของกระบวนการและ เครอื ข่ายภายนอกเข้ารว่ ม
B2: ก�ำ หนดเปา้ หมาย การบรกิ ารผา่ นเครือขา่ ย ด�ำ เนนิ การ
ของการมีส่วนร่วมทชี่ ัดเจน ภาคประชาชน ภาคเอกชน
และสื่อสารเป้าหมายดงั กล่าว และท้องถน่ิ
ให้กบั ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย A3: น�ำ นวัตกรรมและ
ท่เี กี่ยวข้อง เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เข้ามาใช้
B3: สร้างสภาพแวดล้อม ในการสร้างสภาพแวดลอ้ ม
และกลไกเพือ่ ขบั เคลื่อน กลไกและด�ำ เนินการ
การมีสว่ นรว่ ม และกลไก มสี ว่ นรว่ ม
ในการเปิดเผยข้อมูล
ให้ประชาชนสามารถเข้ามา
มสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบ
การปฏิบัตริ าชการ
RB1: มีเครอื ขา่ ยในรปู แบบ RA1: ได้รบั การยอมรบั RS1: ผลกระทบเชงิ บวก
ในระดบั ประเทศจากนวตั กรรม
ของภาคีเครอื ขา่ ย หรือ ซ่ึงกันและกนั ในผลของ เชงิ นโยบาย และนำ�ไปสู่
การแกไ้ ขปัญหาท่ีมี
หนุ้ ส่วนทีเ่ ป็นรปู ธรรม การพฒั นาทเ่ี กิดข้ึน ความซบั ซอ้ นจากการท�ำ งาน
ร่วมกนั กบั เครือข่าย
ในการทำ�งานร่วมกบั กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์กบั
สว่ นราชการ ทกุ ภาคสว่ นท่ีเกยี่ วข้อง
RB2: เกดิ ความร่วมมอื ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน
การมสี ว่ นรว่ มของเครอื ข่าย ภาคประชาสงั คม/
ในการร่วมกันคิดวเิ คราะห์ ภาคประชาชนท่ีเข้ามา
เพ่อื หาแนวทาง มสี ่วนร่วม
ในการแก้ปัญหาร่วมกับ
สว่ นราชการ
36 คูม่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
RS2: ตอบสนองความตอ้ งการ
ของประชาชนไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ
รวมทัง้ ผลของการพัฒนา
ทเ่ี กิดประโยชน์ต่อคุณภาพชวี ติ
ของคนในชุมชน สงั คม
และประเทศชาตอิ ยา่ งย่ังยนื
1.4 การคำ�นงึ ถึงผลกระทบตอ่ สังคมและการมงุ่ เน้นให้เกิดผลลัพธ์
การประเมนิ ผลกระทบจากโครงการ กระบวนการ และยทุ ธศาสตรท์ ่ีอาจจะ
มผี ลกระทบเชงิ ลบ
รบั ฟงั ขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ หรอื ประเด็นส�ำ คญั ทเ่ี ครือขา่ ยไดร้ ับทเี่ ก่ยี วกบั
ความกังวลของสาธารณะที่มตี อ่ ส่วนราชการ
การกำ�หนดมาตรการในการปอ้ งกนั และจัดการผลกระทบทม่ี คี วามชดั เจน
แสดงรายละเอยี ดของมาตรการอย่างชดั เจน เช่น กจิ กรรมท่ีต้องดำ�เนินการ
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ การบริหารความเสย่ี งท่อี าจเกิดข้นึ
การดำ�เนินการตามมาตรการในการปอ้ งกัน และจดั การผลกระทบ
กำ�หนดระยะเวลาด�ำ เนนิ การและผลลัพธท์ ค่ี าดหวัง
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 37
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
การตดิ ตาม รายงานผล ประเมินผลมาตรการและผลกระทบ
กำ�หนดวิธกี ารและความถใี่ นการตรวจสอบ ตดิ ตามประเมนิ ผล รวมทัง้ รูปแบบ
การรายงานผล
การดำ�เนนิ งานของสว่ นราชการจะต้องไม่ท�ำ ใหส้ ังคมไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น
หรือผลกระทบเชงิ ลบจากการดำ�เนินการ ซึ่งอาจจะเกดิ ไดโ้ ดยทสี่ ่วนราชการ
ไมไ่ ดต้ ้งั ใจ ทัง้ ที่มาจากผลผลิต บริการ หรอื การปฏิบัตงิ านของสว่ นราชการ
และเมื่อเกิดเหตกุ ารณผ์ ลกระทบเชงิ ลบต่อสังคมแล้ว ส่วนราชการจะต้องแกไ้ ข
เยียวยาโดยเรง่ ด่วนทสี่ ดุ เท่าท่ีท�ำ ได้ เพือ่ ใหผ้ ลกระทบนน้ั บรรเทาและหายไป
ในท่สี ุด
ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ อาจส่งผลต่อภาพลกั ษณ์และความน่าเช่อื ถือขององคก์ าร
อาจท�ำ ใหใ้ นอนาคตประชาชนหรือเครือขา่ ยต่าง ๆ ไมศ่ รัทธาและไมใ่ หค้ วามร่วมมือ
ในการด�ำ เนินการของส่วนราชการ สง่ ผลเสียในระยะยาว
การสร้างความร่วมมือของบคุ ลากรและเครือข่ายในการเฝ้าระวังผลกระทบ
เชิงลบต่อสังคม จะช่วยให้การปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หาเกิดขึน้ อย่างมีประสิทธภิ าพ
ซ่งึ การเฝา้ ระวงั น้นั ทำ�ไดโ้ ดยบคุ ลากรของส่วนราชการ ซง่ึ อาจมีหนว่ ยงาน
ทีร่ บั ผิดชอบในการเฝ้าติดตาม เฝา้ ระวัง วิเคราะห์แนวโน้มของผลกระทบ
ทีอ่ าจจะเกดิ ขนึ้ และวางแผนการแก้ไข ตดิ ตาม เพอ่ื ใหเ้ หตกุ ารณ์นน้ั ไมเ่ กิดขนึ้
แตใ่ นปจั จบุ นั การเฝา้ ระวังโดยบุคลากรภายในเพียงอยา่ งเดยี วอาจไมเ่ พียงพอต่อ
สถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขึ้นอยา่ งรวดเรว็ ส่วนราชการจำ�เปน็ ต้อง
ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากเครือขา่ ยภายนอก ซึง่ เปน็ ผทู้ ่ีมีความใกลช้ ดิ กับ
สงั คมหรือประชาชน ทำ�ใหส้ ามารถรับรูข้ ้อมูลขา่ วสารทีอ่ าจจะเกิดผลกระทบ
ในเชงิ ลบของสงั คมได้อย่างครบถว้ น ครอบคลุมมากยิ่งข้ึน
การประเมินความเสย่ี งของโครงการหรือแผนปฏิบัตกิ ารของสว่ นราชการ
เพอื่ ให้ทราบถงึ ประเดน็ ทอ่ี าจเปน็ อุปสรรคต่อความส�ำ เรจ็ ตามโครงการหรอื
แผนปฏบิ ตั ิการ และจัดให้มีการปรบั ปรงุ โครงการ/แผนปฏิบตั ิการ หรือจดั ทำ�
แผนงานรองรบั เพือ่ ปอ้ งกนั ปญั หาทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้ ในอนาคต และทำ�ให ้
โครงการ/แผนงาน ประสบความส�ำ เร็จ
38 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระดบั ความหมาย
Basic
การประเมนิ และติดตามโครงการ กระบวนการ และยุทธศาสตร์
Advance ทีอ่ าจจะมผี ลกระทบเชงิ ลบตอ่ สังคม การตดิ ตามตัวชี้วดั และ
Significance การดำ�เนินการขององค์การอยา่ งต่อเน่อื ง
การติดตามรายงานผลกระทบ โดยผ่านกลไกการส่ือสารและ
เทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารแกไ้ ขปญั หาอยา่ งทันการณ์
การติดตามผลการด�ำ เนินการและผลกระทบที่เกิดขึ้นทง้ั ในระยะสน้ั
และระยะยาว และผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสขุ
และส่งิ แวดล้อม
Checklist 1.4 การคำ�นงึ ถึงผลกระทบต่อสังคมและการมุง่ เน้นใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์
Basic Advance Significance
B1: ประเมินความเสย่ี ง A1: รับฟงั ขอ้ สังเกต S1 : ตดิ ตามการดำ�เนนิ การ
และผลกระทบของโครงการ ขอ้ เสนอแนะ หรอื ประเด็นส�ำ คญั และประเมนิ ผลกระทบ
กระบวนการ และยุทธศาสตร์ ทเี่ ครอื ขา่ ยได้รับท่ีเกี่ยวกับ ทัง้ ในระยะสั้นและ
ทอี่ าจมีผลกระทบเชิงลบ ความกงั วลของสาธารณะ ระยะยาว และน�ำ ไปสู่
ตอ่ สังคม ทมี่ ีต่อส่วนราชการ การสร้างสารสนเทศเชิงลึก
B2: ก�ำ หนดมาตรการ A2: สร้างกลไกการมี ท่เี ชื่อมโยงกับผลกระทบ
และดำ�เนนิ การตาม สว่ นร่วมในการด�ำ เนนิ การ ทม่ี ีตอ่ เศรษฐกจิ สังคม
มาตรการป้องกันและ ด้านผลกระทบเชิงลบ สาธารณสขุ หรือสง่ิ แวดล้อม
แก้ไขผลกระทบเชิงลบ ตอ่ สงั คม S2: น�ำ เทคโนโลยดี จิ ิทลั
ต่อสังคมทีอ่ าจจะเกดิ ขนึ้ เขา้ มาใช้ในการดำ�เนนิ การ
จากการดำ�เนินงานของ และติดตามผลกระทบเชงิ ลบ
หน่วยงาน ตอ่ สงั คมท่ีเชื่อมโยงกบั
B3: กำ�หนดตวั ช้วี ดั และ หนว่ ยงานภายนอก หรอื
ตดิ ตามการดำ�เนนิ การ ใชฐ้ านข้อมูลรว่ มกนั
และผลลัพธ์ท่ีมีตอ่
การจัดการผลกระทบเชิงลบ
ตอ่ สงั คม
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 39
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
RB1: ผลการดำ�เนนิ การ RA1: ตอบสนองและ RS1: ภาพลักษณ์และ
ตามมาตรการ และ แกไ้ ขปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ ความนา่ เชือ่ ถือขององคก์ ร
ผลการตดิ ตามตวั ช้ีวดั เชิงลบ ไดอ้ ย่างครอบคลุม ครบถว้ น ในดา้ นการบรหิ ารจัดการ
ทมี่ ตี อ่ สงั คม รวดเร็ว ทันท่วงทีและ ผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คม
มปี ระสทิ ธิภาพ RS2 : ลดความรุนแรง
RA2: ลดความรนุ แรงหรอื หรือกำ�จดั ผลกระทบ
กำ�จัดความเดอื ดรอ้ นหรอื ที่มีต่อเศรษฐกิจ สงั คม
ผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คม สาธารณสขุ หรือสิ่งแวดลอ้ ม
40 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 41
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 แผนยุทธศาสตรท์ ่ตี อบสนองความท้าทาย และสรา้ งนวัตกรรม เพื่อการเปลี่ยนแปลง
การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์
เพือ่ ให้องค์การสามารถกำ�หนดยทุ ธศาสตรไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม กลไกท่ีสำ�คญั
ในการบริหารยุทธศาสตร์ คือการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทางยุทธศาสตร์
(Environmental Analysis) ปจั จัยต่าง ๆ เพือ่ ให้ทราบถงึ บริบทต่าง ๆ
ท้งั ภายในและภายนอกองค์การทีอ่ งค์การตอ้ งเผชิญ อนั จะนำ�ไปสู่การวเิ คราะห์
และกำ�หนดยุทธศาสตรเ์ พอ่ื รองรับได้อยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์ไดอ้ ยา่ งชัดเจน องค์การสามารถ
น�ำ เครอ่ื งมือตา่ ง ๆ เขา้ มาใช้ในการวเิ คราะห์ โดยตอ้ งพจิ ารณาเลอื กเครอื่ งมือ
ทางการจัดการทม่ี ีความเหมาะสมกับบริบทขององค์การ และน�ำ มาใช้
ในการตัดสนิ ใจตอ่ ไป
42 ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
นอกจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ ประเมินสภาพแวดล้อม
ท้งั ภายในและภายนอกองคก์ ารแล้ว องคก์ ารควรมกี ารพจิ ารณาความเปลี่ยนแปลง
ท่อี าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต ซึ่งการวเิ คราะห์ความเปล่ียนแปลงส�ำ หรบั รปู แบบ
ของอนาคตที่มคี วามแนน่ อนควรมกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลและสารสนเทศเพือ่
น�ำ ไปสูก่ ารคาดการณ์ความเปล่ยี นแปลง (Forecasting) และรปู แบบของ
อนาคตท่ไี ม่แนน่ อนคอื การวเิ คราะห์ Scenario เป็นตน้
การวิเคราะห์ความทา้ ทายทางยุทธศาสตร์และโอกาสทางยทุ ธศาสตร์
ในกระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตรไ์ มค่ วรค�ำ นงึ ถึงเพยี งมมุ มองของความท้าทาย
ทางยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื รองรับเพยี งเทา่ นน้ั แตอ่ งคก์ ารควรใหค้ วามสำ�คัญ
กบั การใช้จุดแขง็ ที่มีในการสรา้ งความไดเ้ ปรียบทางการแขง่ ขนั ผ่าน “โอกาส
ทางยุทธศาสตร”์ ใหไ้ ด้มากทส่ี ุด
การกำ�หนดยุทธศาสตร์
กำ�หนดยุทธศาสตร์ทตี่ อบสนองความท้าทายและเพ่ิมความไดเ้ ปรยี บให้องค์การ
ระดบั ความหมาย
Basic
กระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบทั้งระยะสน้ั และ
ระยะยาวตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและบรรลุพนั ธกจิ
ของสว่ นราชการแนวทางการถ่ายทอดยุทธศาสตร์สกู่ ารปฏิบัติ
Advance แผนยทุ ธศาสตรต์ อบสนองความทา้ ทายของสว่ นราชการ
มกี ารคาดการณก์ ารเปล่ียนแปลงทก่ี �ำ ลงั จะเกดิ ข้นึ ในอนาคต
และแผนรองรบั เพื่อตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลง (รวมทั้ง
การเปล่ียนแปลงทเี่ กดิ ขึ้นจากการน�ำ ระบบดิจทิ ลั มาใช)้
Significance สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั และสรา้ งโอกาสเชิงกลยุทธใ์ หม่ ๆ
ทน่ี ำ�ไปสปู่ ระโยชน์สขุ ของประชาชนและการพัฒนาเศรษฐกจิ
ของประเทศทงั้ ในระยะสัน้ และระยะยาว
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 43
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 2.1 แผนยทุ ธศาสตร์ที่ตอบสนองความท้าทาย และสรา้ งนวัตกรรม
เพ่ือการเปล่ียนแปลง
Basic Advance Significance
B1: จัดทำ�แผนยทุ ธศาสตร์ A1: วเิ คราะหแ์ ละคาดการณ์ S1: บรู ณาการแผนยุทธศาสตร์
ทต่ี อบสนองต่อพนั ธกจิ ความเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจ ของหนว่ ยงานกบั
ของส่วนราชการ ความตอ้ งการ จะเกิดข้ึนในอนาคต ยุทธศาสตรห์ รือแผนงาน
ของประชาชนและ A2: จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ ของหนว่ ยงานภายนอก
สภาพแวดลอ้ มทางยทุ ธศาสตร์ เพอื่ เตรียมการรองรบั โอกาส เพ่อื สรา้ งขีดความสามารถ
B2: สร้างการมีสว่ นรว่ ม และความท้าทายทาง ในการแข่งขัน และสรา้ งโอกาส
ของบุคลากรภายใน ยทุ ธศาสตรท์ ่ีอาจจะเกดิ ขึ้น เชิงกลยุทธใ์ หม่ ๆ
องคก์ าร ผู้รบั บริการ จากการเปลย่ี นแปลง S2: วเิ คราะหแ์ ละเชื่อมโยง
ผลสมั ฤทธิต์ ามยทุ ธศาสตร์
และผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย ดงั กล่าว
กับยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมาย
ทีส่ �ำ คญั ในกระบวนการ A3: นำ�เทคโนโลยีดิจิทัล ในระดับประเทศ
วางแผนยุทธศาสตร์ และนวตั กรรมเขา้ มาใช้
B3: ส่ือสารถ่ายทอด ในการจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ส่กู ารปฏบิ ัติไปสู่ และขบั เคลอื่ นการด�ำ เนนิ การ
ตามยุทธศาสตรข์ ององค์การ
หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
อย่างครอบคลุม
RB1: แผนยุทธศาสตรท์ ่ี RA1: แผนยทุ ธศาสตร์ RS1: แผนยทุ ธศาสตร์
ตอบสนองต่อเปา้ หมายของ ท่ตี อบสนองตอ่ โอกาส ท่ีน�ำ เทคโนโลยีดิจทิ ัลหรอื
องค์กรในระยะสน้ั และระยะยาว ความท้าทายทางยุทธศาสตร์ นวตั กรรมเข้ามาสร้าง
ทช่ี ดั เจน ตอบสนองต่อ และความเปล่ยี นแปลง ขดี ความสามารถในการแข่งขัน
ปัจจัยตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
RB2: แผนยทุ ธศาสตร์ที่ ทอี่ าจจะเกิดข้ึนในอนาคต และสรา้ งโอกาสเชงิ กลยทุ ธ์
ใหม่ ๆ
เกิดจากกระบวนการมสี ว่ นร่วม
ของบุคลากรภายในองคกร
ผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสียที่สำ�คญั
44 ค่มู ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
RB3: บุคลากรภายในองค์การ RS2: แผนยุทธศาสตร์
ผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนได้ ทีเ่ ชื่อมโยงไปสกู่ ารสร้าง
ส่วนเสยี ท่สี ำ�คัญรับรแู้ ละ ขดี ความสามารถใน
เขา้ ใจในแผนยุทธศาสตร์ การแขง่ ขันและสรา้ งโอกาส
และบทบาทในการมสี ่วน เชงิ กลยทุ ธใ์ หม่ ๆ ทน่ี ำ�ไปสู่
ขบั เคลอ่ื นผลกั ดนั ยทุ ธศาสตร์ ประโยชนส์ ุขขอประชาชน
ใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย และการพัฒนาเศรษฐกจิ
ทกี่ �ำ หนดไว้ ของประเทศ ท้งั ในระยะ
สน้ั และระยะยาว
2.2 เป้าหมายยทุ ธศาสตรท์ ้ังระยะสั้นและระยะยาวสอดคลอ้ งกับพนั ธกิจ
และยทุ ธศาสตรช์ าติ
เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดผลการปฏิบตั ิงาน
การสื่อสารถ่ายทอดเป้าประสงคแ์ ละตัวช้วี ดั
การวเิ คราะหแ์ ละจัดทำ�แผนบริหารความเสย่ี งทางยทุ ธศาสตร์
การวเิ คราะห์ผลกระทบทางยทุ ธศาสตรต์ อ่ เปา้ หมายยุทธศาสตรช์ าติ
เป้าหมายยุทธศาสตรร์ ะยะส้ัน
เป้าหมายยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว
ยทุ ธศาสตรท์ ีส่ รา้ งการเปลยี่ นแปลง
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 45
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดับ ความหมาย
Basic
การก�ำ หนดเป้าประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั เชงิ ยุทธศาสตรท์ ต่ี อบสนองต่อ
Advance พนั ธกจิ ของสว่ นราชการทัง้ ระยะสน้ั และระยะยาว รวมท้ัง
การสร้างการเปลย่ี นแปลง
มีการวิเคราะห์ผลกระทบของเปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ัดเชงิ ยุทธศาสตร์
ทีเ่ กิดขนึ้ กับยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว
Significance มกี ารวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งระดบั องค์การและผลกระทบทง้ั ทางตรง
ทางออ้ ม ทสี่ ่งผลตอ่ ระบบเศรษฐกจิ สังคม สาธารณสขุ และ
สิ่งแวดลอ้ มของประเทศ
Checklist 2.2 เปา้ หมายยุทธศาสตรท์ ้ังระยะสน้ั และระยะยาวสอดคล้องกบั
พนั ธกิจและยทุ ธศาสตร์ชาติ
Basic Advance Significance
B1: กำ�หนดเปา้ ประสงค์ A1: วเิ คราะห์ผลกระทบ S1: วเิ คราะห์ความเสีย่ ง
และตวั ชว้ี ัดเชิงยทุ ธศาสตร์ ของเป้าประสงค์และตวั ช้วี ัด ระดบั องค์การ และผลกระทบ
ท่มี คี วามชัดเจน ทีม่ ีผลต่อการบรรลุ ทางตรง ทางอ้อม
สร้างการเปล่ยี นแปลง ยุทธศาสตรช์ าติท้งั ระยะส้นั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ระบบเศรษฐกิจ
ทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาว และระยะยาวในมิติต่าง ๆ สังคม สาธารณสุขและ
เพอ่ื นำ�ไปสู่การบรรลวสิ ัยทัศน์ สิง่ แวดล้อมของประเทศ
และทิศทางท่กี ำ�หนดไว้
B2: ถ่ายทอดเป้าประสงค์
และตัวช้วี ัดสู่ระดบั หนว่ ยงาน
และระดับบคุ คล
46 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
RB1: เปา้ ประสงคแ์ ละ
ตวั ชวี้ ัดเชิงยุทธศาสตร์
ทีม่ ีความชดั เจนท้ังระยะสัน้
และระยะยาว
RB2: หน่วยงานและ
บุคลากรทกุ ระดับ และ
ทกุ คนรับทราบภาระหน้าท่ี
ท่ีเกยี่ วข้อง เพ่ือช่วยผลักดนั
ใหบ้ รรลวุ สิ ัยทศั นแ์ ละ
ทิศทางทีก่ ำ�หนดไว้
2.3 แผนงานขบั เคลื่อนลงไปทกุ ภาคส่วน
ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 47
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
การบริหารโครงการ
1. ริเร่มิ โครงการ (Initiating):
แผนปฏิบัตกิ าร (Action Plan) คอื กลไกในการเช่อื มโยงแผนยุทธศาสตร์
ทก่ี �ำ หนดไว้ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิทชี่ ดั เจน ดงั นน้ั การจดั ท�ำ แผนปฏิบัติการท่ดี จี ะตอ้ งเป็นกลไก
ในการขับเคลอ่ื นใหเ้ ปา้ ประสงคแ์ ละตวั ช้ีวดั บรรลผุ ลสมั ฤทธิต์ ามเป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้
2. วางแผนโครงการ (Planning):
การทำ�นอ้ ยได้มาก: เน่อื งดว้ ยทรพั ยากรที่มีอยูอ่ ยา่ งจ�ำ กดั ดังนัน้ การมงุ่ เนน้
ในเร่อื งทสี่ ำ�คัญจงึ เขา้ มามีบทบาทอยา่ งมากในการท�ำ ใหก้ ารท�ำ งานมีประสทิ ธิภาพ
ซง่ึ ส่วนราชการควรมกี ารพิจารณาให้ความส�ำ คญั กบั เรอ่ื งท่มี คี วามส�ำ คญั และทุ่มเท
ทรัพยากรทีม่ อี ย่ไู ปกบั เรอ่ื งทมี่ ีความส�ำ คัญทสี่ อดคล้องกับพันธกิจ ยุทธศาสตร์ ความต้องการ
ของผู้รบั บริการและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียท่ีส�ำ คญั ขององค์การ ซง่ึ ส่วนราชการสามารถ
น�ำ หลักการที่มีความสัมพนั ธ์กับแนวคดิ ทำ�น้อยไดม้ าก อาทเิ ช่น หลกั การพาเรโต
(กฎ 80:20) คือการใหค้ วามสำ�คัญในการทุม่ เททรพั ยากรไปกับงาน 20% ทส่ี ่งผลลพั ธ์
กลบั มา 80% มากกว่าการท่มุ เททรพั ยากรไปกับงาน 80% ท่ใี หผ้ ลลพั ธ์เพียงแค่ 20%
หรอื การนำ�แนวความคิด OKRs เขา้ มาคัดเลือกและจดั ลำ�ดับความสำ�คัญของเรอื่ งท่ี
ส�ำ คญั ท่ีสดุ 3 เรื่อง และตวั ช้วี ัดไม่เกนิ 3 ตวั ภายใตแ้ ต่ละเร่ืองในแตล่ ะชว่ งเวลา ซึ่งจะ
ท�ำ ให้องค์การและบุคลากรที่มีความเกี่ยวข้องในทกุ ระดับทราบว่าเรือ่ งใดทีเ่ ปน็ เรอ่ื งสำ�คญั
ที่องคก์ ารควรมุ่งเนน้ ในช่วงเวลานนั้ ๆ เป็นต้น
การสร้างคณุ คา่ : คอื สง่ิ ที่องคก์ ารควรมงุ่ เน้นให้ความสำ�คัญเพอื่ สรา้ งคุณค่า
ท่ีตอบสนองและสัมพนั ธก์ ับความต้องการของผู้รบั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย
เพราะหากคณุ คา่ ที่นำ�เสนอไม่สอดคล้องและสัมพนั ธก์ บั ส่งิ ท่ผี ู้รบั บริการและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ต้องการ น่ันหมายความวา่ ผลผลติ ท่ีนำ�เสนอไม่ตอบโจทยส์ ิ่งท่ผี ูร้ ับบรกิ ารตอ้ งการ
ซง่ึ การสร้างคุณค่าสามารถน�ำ หลักการ Value Proposition Canvas มาใช้ในการวิเคราะห์
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสนิ คา้ และบริการทน่ี ำ�เสนอกับส่ิงทผ่ี ูร้ ับบรกิ ารต้องการ ซ่ึงคุณคา่
ทน่ี �ำ เสนอสามารถสรา้ งคุณค่าใหก้ ับผูร้ บั บรกิ ารไดใ้ น 2 มติ ิ คือการแก้ไขปัญหาให้กับลูกคา้
(Pain Point) หรือการทำ�ให้ลกู ค้าพบกับสง่ิ ท่ีดีข้นึ (Gain) เป็นต้น
3. นำ�แผนไปปฏบิ ตั ิ (Execution):
4. ติดตามและควบคุม (Monitoring and Controlling):
5. ปดิ โครงการ (Closing)
48 ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดบั ความหมาย
Basic แผนปฏิบัตกิ ารทีค่ รอบคลุมทกุ สว่ นงานชดั เจน และสอื่ สาร
การปฏิบัตไิ ปยงั ทุกกลุ่มทงั้ ภายในและภายนอก
Advance แผนปฏิบตั ิการท่ีสนบั สนนุ ความสำ�เร็จของยุทธศาสตรข์ อง
สว่ นราชการครอบคลมุ ทกุ สว่ นงานชดั เจน และเนน้ การเกดิ
ประสิทธิภาพ (การทำ�นอ้ ยได้มาก) และการสร้างคุณค่าแก่
ประชาชน (Public value)
Significance แผนปฏิบตั กิ ารท่สี นับสนนุ ความสำ�เร็จของยทุ ธศาสตรข์ องส่วนราชการ
บรู ณาการกับแผนงานดา้ นบุคลากรและการใชท้ รัพยากรทรี่ องรับ
การเปล่ยี นแปลงท่จี ะเกิดข้นึ และส่ือสารสู่การปฏิบัติผ่านเครือขา่ ย
ทง้ั ภายในและภายนอก และการใชข้ ้อมลู ร่วมกนั เพอื่ การประสานงาน
ใหเ้ กดิ ความส�ำ เร็จ
Checklist 2.3 แผนงานขบั เคลื่อนลงไปทุกภาคส่วน
Basic Advance Significance
B1: ถ่ายทอดเชือ่ มโยง A1: วิเคราะหแ์ ละพิจารณา S1: จัดทำ�แผนด้านบุคลากร
แผนยทุ ธศาสตรไ์ ปสู่
การจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ าร แผนปฏิบตั กิ าร ท้งั การพฒั นาขีดความสามารถ
ทีช่ ัดเจน
ที่เน้นการเกิดประสทิ ธภิ าพ และอตั รากำ�ลังทเ่ี ชอ่ื มโยง
(การท�ำ น้อยได้มาก) และ กับแผนยุทธศาสตร์และ
การสรา้ งคณุ ค่าแก่ประชาชน รองรับการเปลีย่ นแปลง
(Public value) S2: บูรณาการแผน
ปฏิบตั ิการร่วมกับเครือขา่ ย
เพอื่ นำ�ไปสคู่ วามส�ำ เรจ็
ตามยุทธศาสตรข์ อง
ส่วนราชการ
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 49
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค