100 ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระดบั ความหมาย
Basic
- การติดตามควบคุมประสิทธิผลของกระบวนการหลักและตวั ชีว้ ัด
เชิงยุทธศาสตร์ท้ังในดา้ นคณุ ภาพความปลอดภัย ตน้ ทุน เพอื่ การส่งมอบ
คณุ ค่าตอ่ ประชาชนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
- การติดตามควบคมุ กระบวนการสนบั สนนุ ต่าง ๆ ภายในของส่วนราชการ
เพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ลทัง้ ในดา้ นคุณภาพความปลอดภยั ตน้ ทุน
เพ่ือการส่งมอบคณุ คา่ ต่อประชาชนและผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย
Advance การเตรียมการเชงิ รกุ เพื่อลดผลกระทบท่อี าจเกิดตอ่ ประสทิ ธิผล
ขององค์การ โดย
- การจัดการความเส่ียง
- การติดตามควบคมุ กระบวนการหลกั และกระบวนการสนับสนุน
โดยใชต้ ัวช้ีวดั และขอ้ มูลทั้งในเชิงปอ้ งกนั และเชงิ รกุ
- การเตรยี มพร้อมเพื่อรับมือกับเหตกุ ารณภ์ ัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉนิ
ซง่ึ อาจส่งผลต่อประสิทธผิ ลของกระบวนการและน�ำ มาแก้ปัญหาได้
อยา่ งทันทว่ งที
Significance การประสานงานและบูรณาการของกระบวนการต่าง ๆ ทัง้ ภายใน
และภายนอก เพ่ือการสรา้ งมลู ค่าเพิม่ ตอบสนองยุทธศาสตรแ์ ละ
สง่ ผลต่อเศรษฐกจิ สังคม สาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม
คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 101
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Checklist 6.4 การมุ่งเน้นประสิทธผิ ลทง้ั องค์กร และผลกระทบตอ่
ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ
Basic Advance Significance
B1: ก�ำ หนดตวั วัดเพอื่ ติดตาม A1: วเิ คราะหเ์ ชอ่ื มโยง S1: วเิ คราะห์เชื่อมโยง
และควบคุมประสิทธิผล ผลกระทบของตวั วดั น�ำ ผลกระทบของตวั วัด
ของกระบวนการหลัก และ (Leading) และตวั วัดตาม ในระดบั ต่าง ๆ ขององค์การกับ
กระบวนการสนับสนุน (Lagging) ในระดบั ต่างๆ ยทุ ธศาสตร์ชาตกิ ารสร้างขีด
ในทกุ ระดบั ของหน่วยงาน ขององคก์ ารกับการบรรลุ ความสามารถทางการแขง่ ขนั
B2: ตดิ ตามควบคมุ ประสิทธผิ ล ตวั วดั เชิงยุทธศาสตร์ และการสร้างความยงั่ ยืน
ของกระบวนการหลกั และ อยา่ งครอบคลมุ ในระยะยาว
ตัวชว้ี ัดเชิงยุทธศาสตร์ทั้งใน A2: จัดการความเสี่ยงให้มี S2: บรู ณาการเชือ่ มโยง
ดา้ นคณุ ภาพความปลอดภยั ตน้ ทนุ ความครอบคลุมและรองรับ สร้างการมีสว่ นร่วมของเครอื ขา่ ย
เพอื่ การสง่ มอบคุณค่าตอ่ กับสถานการณ์ และความ และภาคประชาชนเพือ่
ประชาชนและผ้มู สี ่วนได้ ไม่แน่นอนทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้ สร้างนวตั กรรมทีส่ ร้างมูลค่าเพมิ่
สว่ นเสีย A3: เตรียมพร้อมในการรับมือ ตอบสนองยุทธศาสตร์
B3: ติดตามควบคุมกระบวนการ กบั เหตุการณภ์ ัยพิบตั ิและ และสง่ ผลต่อเศรษฐกจิ
สนับสนุนต่าง ๆ ภายในของ ภาวะฉกุ เฉิน ตลอดจน สงั คม สาธารณสุขและ
สว่ นราชการเพื่อใหเ้ กิดประสิทธิผล การเตรยี มตัวลว่ งหน้า สิ่งแวดลอ้ ม
ทง้ั ในดา้ นคณุ ภาพความปลอดภยั เพอ่ื ลดความเสียหาย
ต้นทุนเพอ่ื การส่งมอบคุณคา่
ต่อประชาชนและผูม้ สี ่วนได้
ส่วนเสยี
RB1: ขอ้ มูลสารสนเทศ RA1: ประสทิ ธิผลของ RS1: ประสิทธิผลจาก
จากการติดตามควบคมุ การปฏบิ ัติการที่บูรณาการ การด�ำ เนนิ งานขององคก์ าร
กระบวนการหลกั และ เชอ่ื มโยงกระบวนการ ตา่ ง ๆ ที่สรา้ งผลกระทบตอ่
กระบวนการสนับสนุน ภายในองค์กรเพอ่ื นำ�ไปสู่ ยทุ ธศาสตรช์ าติอยา่ งชัดเจน
มีความพร้อมส�ำ หรบั ผลลพั ธ์และผลสมั ฤทธ์ิ
การตัดสนิ ใจของผบู้ ริหาร ทางยทุ ธศาสตร์ท่ีสร้างคุณคา่
แก่ผู้รับบริการ และประชาชน
102 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
หมวด 7 ผลลพั ธก์ ารดำ�เนนิ การ
แนวทางการคดั เลือกตวั ชีว้ ดั ความสำ�เร็จของหมวด 7 ผลลพั ธก์ ารดำ�เนินการ (7.1-7.6)
7.1 การบรรลผุ ลลัพธข์ องตวั ชีว้ ัดตามพันธกิจ
ตัวช้ีวัด คำ�อธบิ าย เลือกใชต้ วั ช้ีวดั (ตวั อย่าง)
1. ตัวชว้ี ดั ตาม ตัวชวี้ ัดของการบรรลุ - จ�ำ นวนรายได้ภาษีสรรพสามิตท่ีจัดเกบ็ ได้
ภารกิจหลกั * ผลลพั ธต์ ามพนั ธก์ ิจ - รายได้จากการจำ�หนา่ ยผลิตภัณฑ์ชุมชน
หรอื ภารกิจของ - รายได้จากการบรหิ ารทรี่ าชพสั ดทุ จ่ี ดั เก็บได้
สว่ นราชการตาม - รอ้ ยละขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่
ทร่ี ะบุไว้ ทีผ่ า่ นการประเมนิ ประสิทธภิ าพ
(Function base - รอ้ ยละของผลิตภัณฑส์ ุขภาพท่ีได้รับ
Area base) การตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑท์ ีก่ �ำ หนด
- ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ คา้ เกษตรทส่ี �ำ คัญ
(ผลผลิตต่อหน่วยท่พี ร้อมขนึ้ )
- ความสำ�เร็จของการก�ำ หนดมาตรการสง่ เสริม
การส่งออก
2. ตวั ช้วี ัดตาม ตัวชี้วัดของการบรรลุ - รายจากการท่องเทีย่ ว
นโยบายและ ผลลพั ธต์ ามนโยบาย - GDP ภาคการเกษตรขยายตวั ไม่น้อยกว่า
แผนรฐั บาล และแผนรัฐบาล รอ้ ยละ 3
(Agenda base) - รอ้ ยละของเดก็ อายุ 0 – 5 ปี
มพี ัฒนาการสมวัย
- ความสำ�เรจ็ ของการขบั เคลอ่ื นการบรู ณาการ
ฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครฐั
- ความสำ�เร็จการแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของระบบ
ก�ำ กับดูแลดา้ นความปลอดภัยการบนิ พลเรอื น
(ICAO)
- ร้อยละของปรมิ าณขยะมลู ฝอยทไ่ี ดร้ ับ
การจัดการอย่างถกู ตอ้ ง
- มลู คา่ คำ�ขอรบั การส่งเสรมิ ลงทุนในกลมุ่ 10
อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย(S–Curve)
คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 103
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ตัวช้ีวัด คำ�อธบิ าย เลอื กใชต้ วั ชี้วดั (ตวั อย่าง)
3. การดำ�เนนิ ตัวช้วี ดั ของการ - รอ้ ยละของการช�ำ ระกฎหมายใหท้ ันกับ
การดา้ นกฎหมาย บรรลุผลการดำ�เนินการ การบังคับใช้
ด้านกฎหมาย
- ร้อยละของการจับกุมผดู้ �ำ เนนิ การผิดกฎหมาย
- ร้อยละการจบั กมุ ของคดีอาชญากรรม
- จำ�นวนพ้นื ทปี่ ่าไม้ทท่ี วงคนื ได้
- รอ้ ยละของคดพี เิ ศษที่ดำ�เนนิ การแลว้ เสร็จ
4. ตัวชว้ี ัดของ ตวั ชวี้ ัดของการบรรลุ - ร้อยละความส�ำเร็จของการปฏิบตั ิ
การบรรลุ ผลตามแผน ตามแผนยุทธศาสตร์
ตามแผน ยทุ ธศาสตร์ - ร้อยละของงานพฒั นาประเทศทสี่ ามารถ
ยทุ ธศาสตร์ ด�ำเนินการตามแผนงานพัฒนาประเทศ
ของกองบญั ชาการกองทัพไทย
- จ�ำนวนการจัดหาทีด่ นิ ให้ผู้ยากไร้
- จ�ำนวนแหลง่ น้ำ� ท่ีมีคุณภาพอยใู่ นเกณฑด์ ี
- รอ้ ยละความส�ำเร็จของการขับเคลอ่ื น
นโยบายและแผนการประชาสัมพนั ธ์แหง่ ชาติ
ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
5. การบรรลุ ตัวชี้วดั ของการบรรลุ - รอ้ ยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรท่เี ขา้ ร่วม
ตามยทุ ธศาสตร์ ตามยทุ ธศาสตร์อื่น ๆ โครงการสง่ เสรมิ
อื่น ๆ เช่น ตามนโยบายของ - ปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกลดลง
การบรรลุ สว่ นราชการหรอื - อันดบั ความสามารถในการแขง่ ขันทาง
ตัวชว้ี ัดร่วม ของรฐั บาล เชน่ เศรษฐกิจของประเทศไทยดา้ นผลติ ภาพแรงงาน
การจัดอันดบั ตวั วัดร่วม ตวั วัด (Labor Productivity) โดย IMD
เป็นต้น ทีแ่ สดงถงึ การปรบั ปรงุ - ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันด้านการศกึ ษา
ระดบั ในการจัดอนั ดบั ของประเทศไทยจากรายงาน IMD
โดยองคก์ าร
ภายนอกประเทศ
ในด้านตา่ ง ๆ เป็นตน้
104 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ตัวชี้วดั คำ�อธิบาย เลอื กใช้ตัวชีว้ ดั (ตวั อยา่ ง)
- อนั ดบั ขดี ความสามารถด้านโครงสร้าง
พลังงานของประเทศ (EAPI)
- อันดับความยากงา่ ยในการประกอบธรุ กิจ
(Doing Business)
- ผลการจดั อันดับดัชนีชว้ี ดั ภาพลกั ษณ์
ปญั หาคอรัปช่ัน
- อนั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
(EWF)
7.2 การบรรลุผลลพั ธ์ตามตัวช้ีวดั ด้านผู้รบั บริการ และประชาชน
ตัวชว้ี ัด คำ�อธิบาย เลือกใช้ตวั ชี้วัด (ตวั อยา่ ง)
1. ความพงึ พอใจ ตวั ชว้ี ดั ของการ - ร้อยละของความพงึ พอใจของเกษตรกร
ของผู้รับบริการ บรรลผุ ลลัพธ์ของ - ร้อยละของความพงึ พอใจของสมาชิก
และผูม้ ีสว่ นได้ ความพึงพอใจของ สหกรณ์การเกษตร
ส่วนเสยี * ผรู้ บั บริการและ - ร้อยละความพงึ พอใจตอ่ การบรหิ ารจดั การน้�ำ
ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย ของผใู้ ช้น้�ำในเขตพ้นื ที่ชลประทาน
จากการใชบ้ รกิ าร - ร้อยละความพงึ พอใจของประชาชน
ของสว่ นราชการ ตอ่ บทบาทหน้าทข่ี องกองบัญชาการกองทัพไทย
- รอ้ ยละความพงึ พอใจของนักทอ่ งเที่ยว
ทีก่ ลบั มาเทยี่ ว
- รอ้ ยละความพงึ พอใจของประชาชนเกีย่ วกบั
การเผยแพรอ่ งคค์ วามรูข้ องสำ�นักงาน
ราชบณั ฑิตยสภา
- ร้อยละความพงึ พอใจของประชาชน
ในพน้ื ที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อ
การปฏบิ ตั งิ านของ ศอ.บต.
- รอ้ ยละความเช่ือม่นั ของผบู้ ริโภคต่อ
การด�ำ เนินการของ สคบ.
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 105
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ตวั ช้ีวัด คำ�อธิบาย เลือกใชต้ ัวชี้วดั (ตัวอย่าง)
2. ผลของ ตัวชีว้ ัดทแ่ี สดงออก - รอ้ ยละของกลุม่ ผู้ใช้น�้ำพื้นฐานท่มี กี ารจดั ต้ัง
ความผกู พนั ถงึ ความผกู พันและ กลมุ่ ส�ำเรจ็ ตามแผน
และการให้ การใหค้ วามร่วมมอื - ร้อยละของครวั เรอื นท่ีใหค้ วามร่วมมือ
ความร่วมมือ* จากประชาชนและ ในการคดั แยกขยะครวั เรอื น
ผู้เขา้ มารับการบริการ - จ�ำนวนเครือขา่ ยจติ อาศัยที่ท�ำหน้าที่
จากสว่ นราชการ ในการเฝ้าระวงั เตอื นภยั
- จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการใหค้ วามรู้
ภาษีอากรแก่ประชาชนท่วั ไป
- รอ้ ยละของเกษตรกรทีเ่ ปน็ Smart Farmer
- ร้อยละสหกรณ์ที่ยกระดบั ช้ันดีขน้ึ ไป
- ปรมิ าณขยะมูลฝอยชมุ ชนท่ีน�ำกลบั มาใช้
ประโยชน์
- ร้อยละของผ้ปู ระกอบการท่ีได้รับการรบั รอง
มาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน (มผช.)
3. ผลการ ตวั ชี้วดั ทแี่ สดง - รอ้ ยละของผมู้ รี ายไดน้ ้อยทส่ี ามารถใช้
ดำ�เนินการ
ด้านโครงการ การบรรลุผลหรือ สิทธิส์ วสั ดกิ ารแหง่ รัฐ ภายในวันที่ 1 ต.ค. 60
ประชารฐั
ความสำ�เรจ็ ของ - อตั ราการจ�ำ หน่ายผลิตภัณฑท์ างการ
การดำ�เนินการ เกษตรท่เี พิม่ ข้นึ ของเกษตรกรภายใต้
ดา้ นโครงการ โครงการประชารฐั
ประชารัฐ เช่น
ยอดการจำ�หน่าย
สนิ ค้าภายใต้โครงการ
ประชารัฐ
106 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ตวั ชวี้ ดั คำ�อธิบาย เลือกใชต้ วั ชว้ี ดั (ตัวอย่าง)
4. ผลจากการ ตวั ชี้วัดทสี่ ะท้อนถึง - ร้อยละของผูร้ ับบริการท่ขี อตอ่ ทะเบียน
ปรับเปลยี่ น ผลจากการปรบั เปลยี่ น ผ่านช่องทางออนไลน์
ดา้ นการบริการ ด้านการบรกิ าร - ร้อยละของผูร้ บั บรกิ ารยนื่ แบบผ่าน RD
ท่ีเกิดประโยชน์ และนวตั กรรม Smart Tax
ตอ่ ผ้รู ับบรกิ ารท่ี การบริการทเ่ี กิด - ร้อยละของการใช้บริการคนื ภาษมี ลู ค่าเพ่มิ
สามารถวดั ผลได้ ประโยชน์ต่อผรู้ ับ ของนกั ท่องเท่ยี วผ่านบรกิ ารอิเลก็ โทรนิคส์
บริการท่สี ามารถ - ร้อยละของผผู้ ่านการทดสอบมาตรฐาน
วดั ผลได้ ฝมี อื แรงงานแห่งชาตไิ ด้รบั อัตราจา้ ง
ตามมาตรฐานฝีมือทีก่ �ำ หนดตามกฎหมาย
- จ�ำ นวนนกั ศกึ ษาทีเ่ ขา้ ร่วมจดั การศกึ ษา
เชิงบูรณาการกับการท�ำ งาน
(Work–Integrated Learning) (ระบบทวิภาค)ี
- สดั ส่วนผูใ้ ช้บริการทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ผ่านช่องทาง
การบริการแบบออนไลนแ์ ละการใช้
Smart phone application (ช่องทางใหม)่
5. การแก้ไข ตวั ชว้ี ดั ทสี่ ะทอ้ นถงึ - ร้อยละของจ�ำ นวนเร่ืองรอ้ งเรยี นทีเ่ ก่ยี วกบั
เร่ืองรอ้ งเรียน
การจัดการข้อร้อง การดำ�เนนิ งานของสหกรณ์สามารถด�ำ เนนิ การ
เรยี นที่ไดร้ ับการ ไดข้ อ้ ยุติ
แกไ้ ขอย่างรวดเร็ว - รอ้ ยละของจ�ำ นวนเรอื่ งร้องเรยี นทไี่ ด้รบั
และเกิดผล การแกไ้ ขตามเกณฑม์ าตรฐานท่ีก�ำ หนด
- รอ้ ยละของจ�ำ นวนเร่อื งร้องเรียนทไี่ ด้รับ
การแก้ไขและยุติเร่อื งของศนู ยด์ ำ�รงธรรม
- ร้อยละของจำ�นวนเรือ่ งร้องเรียนการทจุ รติ
ในภาครัฐท่ีจัดทำ�ส�ำ นวนการไต่สวน
- รอ้ ยละของจ�ำ นวนเรื่องรอ้ งเรียนท่ไี ดร้ บั
การด�ำ เนนิ การจนได้ข้อยตุ ิ
- ร้อยละของความพึงพอใจต่อการจดั การ
ข้อรอ้ งเรยี น
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 107
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
7.3 การบรรลุผลลพั ธต์ ามตวั ชว้ี ดั ด้านการพัฒนาบุคลากร
ตวั ช้ีวัด คำ�อธิบาย เลอื กใชต้ วั ช้วี ัด (ตัวอย่าง)
1. จำ�นวน ตวั ชว้ี ดั ของการพฒั นา - จำ�นวนระบบสารสนเทศทไ่ี ดม้ ีการพฒั นา
นวตั กรรมตอ่ นวตั กรรมท่ีเกิด เพ่มิ ขึน้ ภายในส่วนราชการ
บุคลากร* จากบคุ ลากรของ - จ�ำ นวนโครงการ R2R ที่สง่ เพ่ือการประกวด
สว่ นราชการ - จ�ำ นวนรางวัลดา้ นนวัตกรรมระดบั บุคคล
และกลุ่มงาน
- จ�ำ นวนโครงการวจิ ัยต่อบคุ ลากรที่มี
การด�ำ เนินการจนส�ำ เร็จตามแผน
2. การเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ของ - ร้อยละของบคุ ลากรท่ีมี่ผลประเมนิ ระดับ
และการพฒั นา* การเรียนรู้ ดีเดน่
และผลการพัฒนา - ร้อยละของบคุ ลากรทม่ี ีสมรรถนะเพมิ่ ขึ้น
บคุ ลากรของ - รอ้ ยละของผู้บรหิ ารท่ไี ด้รบั การพฒั นา
สว่ นราชการ
ภาวะผนู้ ำ�ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินความรู้
ตามทก่ี ำ�หนด
- จำ�นวนบคุ ลากรทไ่ี ดร้ ับการฝึกฝนให้มี
ความรู้และทักษะดา้ นตา่ ง ๆ ที่เพ่ิมข้ึน
- จำ�นวนงานวิจยั หรอื องค์ความรูท้ ี่แล้วเสร็จ
และน�ำ ไปใช้ประโยชน์
- จ�ำ นวนกำ�ลงั คนดา้ นวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยจี ากมหาวทิ ยาลัย
และหนว่ ยงานวจิ ยั ของรฐั ไปปฏบิ ตั ิงาน
เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถการแขง่ ขัน
ภาคเอกชน (Talent Mobillity)
108 คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ตัวช้ีวดั คำ�อธบิ าย เลอื กใชต้ วั ชว้ี ัด (ตัวอย่าง)
3. ความก้าวหนา้ ตัวช้ีวัดทีแ่ สดงถงึ - ร้อยละของตำ�แหนง่ ท่ีสามารถจดั ท�ำ เสน้ ทาง
และการกา้ วข้ึนสู่ ความก้าวหน้าของ ความก้าวหนา้
ต�ำ แหน่งตามแผน บุคลากรและความ - รอ้ ยละของบคุ ลากรทไี่ ดร้ บั เลื่อนขัน้
กา้ วขน้ึ สู่ต�ำ แหน่ง ให้ดำ�รงต�ำ แหนง่ ตามแผนในเวลาทกี่ ำ�หนด
ตามแผน - รอ้ ยละของบคุ ลากรทไ่ี ดร้ บั วุฒิบัตร
ด้านความร้จู ากภายนอก
4. จ�ำ นวน ตวั ชว้ี ดั ที่แสดงถึง - จำ�นวนกำ�ลงั พลทเี่ ขา้ ร่วมการบรรเทา
บุคลากรทีไ่ ด้ บคุ ลากรของ ภยั พบิ ัติภัยและการชว่ ยเหลือดา้ นมนุษยธรรม
รบั การแตง่ ตั้ง ส่วนราชการที่ไดร้ ับ (Humanitarian Assistance and Disaster
ให้ไปรว่ ม การแต่งตั้งใหไ้ ป Relief: HADR) ระดบั อาเซียน
ในภาคเี ครอื ขา่ ย ร่วมในภาคเี ครือข่าย - จำ�นวนบุคลากรทไ่ี ดร้ ับการอนุมัตใิ หไ้ ป
ภายนอก ภายนอก ทั้งระดบั ชาติ เปน็ กรรมการในหนว่ ยงานภายนอก
ทง้ั ระดับชาติ และนานาชาติ (โดยไมม่ ีผลประโยชน์ทบั ซ้อน)
และนานาชาติ
5. จ�ำ นวน ตวั ช้ีวัดทแ่ี สดง - จ�ำ นวนบุคลากรของกรมทเ่ี ปน็ อาสาสมคั ร
บุคลากรท่ี ถึงบุคลากร ในเครอื ขา่ ย “อาสาปศสุ ัตว์ (อสป.)”
อาสาสมคั ร ของสว่ นราชการ ในการตดิ ตามโรคระบาดของสัตวโ์ ดย
ในโครงการ ไปเป็นอาสาสมคั ร มคี วามรว่ มมือกบั ประชาชนและเครือข่าย
ที่ตอบสนอง ในโครงการท่ตี อบสนอง เกษตรกร
นโยบายหน่วยงาน นโยบายหนว่ ยงาน - จำ�นวนบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการจิตอาสา
ทั้งภายในและภายนอกทไี่ ม่ได้รับผลตอบแทน
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 109
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
7.4 การบรรลุผลลัพธต์ ามตัวช้วี ัดด้านการเปน็ ตน้ แบบ
ตัวชี้วดั คำ�อธบิ าย เลือกใชต้ ัวชีว้ ัด (ตวั อย่าง)
1. จ�ำ นวน ตวั ชวี้ ัดทแี่ สดง - จ�ำ นวนกระบวนงานทีไ่ ดร้ บั รางวัล
รางวลั ทไ่ี ด้รับ ถึงความสำ�เร็จของ - รางวลั การบริหาร 5ส จากสมาคมส่งเสริม
จากภายนอก* การเปน็ ต้นแบบ
ของสว่ นราชการ เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุน่ )
ทีไ่ ด้รับรางวลั - รางวัลการบรหิ ารงานบคุ คลจากสมาคม
จากหน่วยงาน
ภายนอกทแ่ี สดง การจดั การงานบุคคลแห่งประเทศไทย
ถึงความส�ำ เร็จ - รางวัลกลมุ่ คณุ ภาพจากสมาคมสง่ เสริม
ในการปรับปรุง
กระบวนการ คุณภาพ
- รางวลั เลิศรัฐ สาขาการบรกิ ารภาครัฐ
(ส�ำ นกั งาน ก.พ.ร.)
- รางวัลเลศิ รัฐ สาขาการบริหารราชการ
แบบมสี ่วนร่วม (สำ�นกั งาน ก.พ.ร.)
2. จำ�นวน ตัวช้ีวดั ท่ีแสดงถงึ - คะแนนการประเมินความโปร่งใส
Best practice
ความส�ำ เรจ็ จากหน่วยงานภายนอก (ในระดับดขี ้นึ ไป)
ของการเป็นต้นแบบ - ร้อยละของมาตรการที่สามารถดำ�เนนิ การ
ของส่วนราชการ ตามนโยบายการก�ำ กบั ดูแลองคก์ ารทดี่ ี
ทเ่ี ปน็ Best practice - จำ�นวนรางวัลความเป็นเลศิ ด้านการพัฒนา
ตามเกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั
- จำ�นวนรางวลั ด้านความเปน็ เลิศ
ในการบริหารจัดการด้านการเงนิ การคลงั
3. จ�ำ นวน ตวั ชว้ี ัดที่แสดงถึง - จ�ำ นวนรางวลั เพชรวายุภักดิ์
รางวลั ท่ีได้รับ ความสำ�เร็จของ (กระทรวงการคลงั )
จากหนว่ ยงาน การเป็นต้นแบบ
ระดับกรม/ ของสว่ นราชการ
ระดบั กระทรวง ไดแ้ ก่
110 ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ตวั ชว้ี ดั คำ�อธิบาย เลือกใชต้ ัวชีว้ ัด (ตัวอย่าง)
- รางวลั ระดับกรม
เป็นรางวัลท่ี
ส่วนราชการระดบั กรม
มอบให้หน่วยงานยอ่ ย
ในสังกัด
- รางวลั ระดับ
กระทรวงเป็นรางวัล
ทม่ี อบใหก้ ับ
ส่วนราชการระดบั
กรมในสังกดั
4. การจัด ตัวช้วี ดั ทีแ่ สดงถงึ - อันดับความยากงา่ ยในการประกอบธุรกจิ
อันดบั ในระดับ ความส�ำ เรจ็ ของ - ผลการจัดอนั ดับดชั นชี ้ีวัดภาพลักษณ์
นานาชาติ การแข่งขนั โดยไดร้ ับ ปัญหาคอร์รบั ปชนั
การจดั อันดับใน
ระดับนานาชาติ
5. จ�ำ นวน ตวั ช้ีวัดทแ่ี สดงถงึ - จำ�นวนรางวัลที่ บก.ทท. ไดร้ บั จากหน่วยงาน
บคุ ลากรท่ไี ดร้ บั ความส�ำ เร็จ ภายนอก
การยกย่อง ของการเปน็ ตน้ แบบ - รางวลั ผบู้ รหิ ารดเี ดน่
จากภายนอก ของสว่ นราชการ - รางวัลนกั วทิ ยาศาสตรด์ เี ด่น
โดยมบี คุ ลากร
ของตนเองได้รบั
การยกยอ่ งจาก
ภายนอก
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 111
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
7.5 การบรรลผุ ลลัพธ์ตามตัวชวี้ ัดด้านผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม
สาธารณสขุ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชีว้ ัด คำ�อธิบาย เลอื กใช้ตัวชี้วดั (ตวั อยา่ ง)
1. การบรรลผุ ล ตัวชีว้ ดั ของการบรรลุ - มลู ค่าการค้าชายแดนและมูลคา่ ผา่ นแดน
ของตวั ชวี้ ดั รว่ ม ผลลพั ธ์ การบรรลุ - อตั ราผเู้ สยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน
(กระบวนการ ผลของตัวช้วี ดั รว่ ม ตอ่ ประชากรแสนคน
ทด่ี ำ�เนินการ ในการมกี ระบวนการ - ระดบั ความสำ�เรจ็ ในการแกไ้ ขปัญหาประมง
รว่ มกบั หลาย ท่ีดำ�เนินการข้าม ที่ผิดกฎหมาย (IUU)
หน่วยงาน)* หลายหน่วยงาน - ปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง
ของสว่ นราชการ - สัดส่วนตน้ ทุนโลจสิ ตกิ สต์ อ่ GDP
(Area base)
2. ตวั ชวี้ ดั ตวั ชว้ี ดั ทีส่ ะทอ้ น - สดั สว่ นของรายได้ภาษีสรรพสามติ
ผลกระทบจาก ถึงผลกระทบ ตอ่ รายได้รัฐบาล
การดำ�เนินการ จากการด�ำ เนนิ
ทม่ี ตี ่อด้าน การทม่ี ีต่อดา้ น - ร้อยละของกลุม่ เกษตรกรที่ไดร้ บั การส่งเสริมอาชพี
เศรษฐกจิ เศรษฐกจิ ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งท่มี ีรายได้
เพิ่มขึ้น
- รอ้ ยละของปรมิ าณธุรกิจสหกรณ์
และกลมุ่ เกษตรกรเทียบกับ GDP
- ร้อยละของผลการจัดเก็บภาษีสรรพากร
ต่อ GDP
- GDP ภาคการเกษตรขยายตวั ไม่ตำ�่ กว่า
ร้อยละ 3
- หน้ีสาธารณะคงค้างต่อ GDP
- รายได้สุทธิของรฐั บาล (ล้านบาท)
- มลู ค่าผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภาคอุตสาหกรรม
112 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ตวั ชวี้ ดั คำ�อธิบาย เลือกใชต้ ัวชีว้ ัด (ตวั อยา่ ง)
3. ตัวชี้วดั ตวั ชีว้ ัดที่สะทอ้ น - จ�ำ นวนเรือ่ งความคบื หนา้ ของความรว่ มมือ
ผลกระทบจาก ถงึ ผลกระทบจาก ดา้ นความม่ันคงกบั ประเทศเพื่อนบ้าน
การด�ำ เนินการ การด�ำ เนินการทีม่ ี
ทมี่ ตี อ่ ดา้ นสงั คม ตอ่ สงั คม - รอ้ ยละของตำ�บลเป้าหมายทีไ่ ด้รับการพฒั นา
คณุ ภาพชวี ติ
- รอ้ ยละของตำ�บลน�ำ ร่องท่ีมีระบบสง่ เสรมิ
สุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term
Care) ในชุมชนผา่ นเกณฑ์
- รายไดเ้ งนิ สดทางการเกษตรของเกษตรกร
เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรือน (บาท/ครัวเรอื น/ปี)
- จ�ำ นวนแรงงานทอี่ ยใู่ นระบบประกันสงั คม
เพม่ิ ขึน้
- ร้อยละของคนพิการกลุ่มเปา้ หมายมงี านทำ�
- ร้อยละของคนไรท้ ี่พงึ่ ได้รับการพฒั นา
ศักยภาพมสี มรรถนะดขี ึ้น
- มลู ค่าความเสยี หายและจ�ำ นวนการกอ่ เหตุรา้ ย
ทมี่ มี ูลเหตจุ ากความสงบลดลง
- จ�ำ นวนเหตกุ ารณ์ความไมส่ งบในจังหวดั
ชายแดนภาคใต้
4. ตัวชี้วัดผล ตัวชี้วัดท่ีสะท้อน - สดั สว่ นการบริโภคน�ำ้ ตาลลดลง
กระทบจากการ ถึงผลกระทบ - อตั ราของผู้ปว่ ยจากโรคหลอดเลือดหวั ใจ
ด�ำ เนนิ การทม่ี ีตอ่ จากการด�ำ เนินการ (ต่อประชากร 100,000 คน)
ดา้ นสาธารณสขุ ทมี่ ตี อ่ ดา้ นสาธารณสขุ - ระดบั คุณภาพแหลง่ น�ำ้ ที่ได้รบั การพัฒนา
- อัตราของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
- รอ้ ยละของเด็กอายุ 0–5 ปี มพี ัฒนาการสมวัย
- อัตราการฆ่าตวั ตามส�ำเร็จ
- อัตราการคลอดมชี พี ในหญิงอายุ 15–19 ปี
ตอ่ พันคน
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 113
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
114 ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ตวั ชีว้ ดั คำ�อธบิ าย เลือกใชต้ วั ช้ีวดั (ตัวอยา่ ง)
5. ตวั ชีว้ ดั ผล ตัวชี้วดั ท่ีสะทอ้ น - รอ้ ยละของสัดส่วนรถยนต์ ECO Car/
กระทบจาก ถงึ ผลกระทบ E20/E85/EV/Hybrid ต่อรถยนต์ปกติ
การด�ำ เนินการ จากการดำ�เนินการ - รอ้ ยละของจงั หวดั ที่มีผลสัมฤทธข์ิ องการ
ทีม่ ตี ่อดา้ น ทม่ี ตี ่อดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม จัดการขยะมลู ฝอย
สิง่ แวดลอ้ ม - รอ้ ยละของปริมาณผักตบชวา
- จ�ำนวนพื้นทชี่ ลประทานและแหล่งน้ำ�
ที่เพมิ่ ขน้ึ
- ปริมาณกากอุตสาหกรรมท่เี ปน็ ของเสยี อันตราย
ไดร้ ับการจดั การ (ลา้ นตน้ /ป)ี
- จ�ำนวนแหลง่ น�ำ้ ท่มี ีคุณภาพอยู่ในเกณฑด์ ี
- ร้อยละของปริมาณขยะมลู ฝอยตกคา้ ง
ได้รับการจดั การอย่างถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ
7.6 การบรรลผุ ลลพั ธ์ตามตัวช้วี ดั ด้านการลดต้นทนุ การสร้างนวัตกรรม
และการจัดการกระบวนการ
ตวั ชวี้ ดั คำ�อธิบาย เลือกใช้ตัวช้ีวดั (ตวั อยา่ ง)
1. การลดต้นทนุ ตวั ชวี้ ัดของการลด - อัตราสญู เสยี ของการผลิตเหรยี ญกษาปณ์
(ทัง้ ในระดบั ตน้ ทุนทงั้ ในระดบั หมุนเวียน
กระบวนการ กระบวนการอันเกิด - รอ้ ยละของกระบวนการท�ำ งานท่ีไดร้ บั
ที่เกดิ จาก จากการปรับปรุงงาน การปรับปรงุ มาตรฐานการให้บริการ
การปรับปรงุ งาน และการน�ำ เทคโนโลยี
และการน�ำ ดจิ ิทัลมาใชเ้ พอ่ื และการลดขั้นตอน
เทคโนโลยี ลดตน้ ทนุ ในการท�ำ งาน - ร้อยละของการใช้กระดาษท่ีลดลง
ดจิ ิทัลมาใช)้ * - ร้อยละความส�ำ เรจ็ ของการดำ�เนินการ
ตามมาตรการประหยดั พลังงาน
- สดั สว่ นการลดตน้ ทุนการจัดเกบ็ ภาษี
100 บาท
- ต้นทนุ โลจสิ ติกส์ตอ่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 115
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ตวั ชวี้ ดั คำ�อธิบาย เลอื กใชต้ ัวช้วี ดั (ตัวอยา่ ง)
2. จ�ำ นวน ตัวช้วี ัดของนวตั กรรม - จำ�นวนกระบวนงานท่ีได้รับการปรับปรงุ
นวตั กรรม การปรับปรงุ - จ�ำ นวนกระบวนงานท่ีมีการปรับปรงุ พัฒนา
ของการปรบั ปรงุ กระบวนการ ตามเกณฑ์รางวลั บริการภาครัฐแหง่ ชาติ
กระบวนการ - ช่องทางการรับช�ำ ระภาษที ี่เพิม่ ขึ้นโดยทาง
อเิ ล็กทรอนิกส์
- จ�ำ นวนแอปพลิเคชนั ทพี่ ัฒนาขึน้ ในส่วนราชการ
3. ผลการ ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ - รางวลั ซอฟแวร์จากสมาคมซอฟแวร์
ปรบั ปรงุ ของการปรับปรุง - ร้อยละของต้นทุนทีล่ ดลงจากการใชน้ วตั กรรม
จากการใช้ กระบวนการ และ ดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัล
เทคโนโลย*ี การบริการจากการใช้
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล
ทง้ั ทางตรงและ
ทางอ้อม
4. ประสทิ ธิผล ตัวชีว้ ัดที่แสดงถงึ - ร้อยละของอปุ กรณด์ ้านความปลอดภัย
ของการบรรเทา ประสทิ ธิผลของ
ท่ไี ดร้ บั การตรวจสอบความพร้อมใชง้ าน
ผลกระทบ การบรรเทาผลกระทบ ประจ�ำ ปี
ดา้ นภยั พิบตั ติ ่าง ๆ ด้านภัยพิบัติต่าง ๆ - ระดับการประเมินความพรอ้ มในการเตรียมรับ
ภัยพิบัติ
- พื้นทแี่ ละมูลค่าความเสยี หายจากอทุ กภัย
และภยั แล้งทีม่ ีแนวโน้มลดลง
5. นวตั กรรม ตัวชีว้ ัดของนวัตกรรม - จ�ำ นวนมาตรการภาษี เพอื่ สง่ เสรมิ
การปรับปรงุ
ดา้ นนโยบาย การปรบั ปรุง การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และสังคม
กฎระเบียบ
และกฎหมาย ด้านนโยบาย - รอ้ ยละของผู้ประกอบการทีไ่ ด้รับทะเบียน
กฎระเบยี บ และ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ในระยะเวลาที่ก�ำ หนด
กฎหมาย (ภายใต้มาตรการส่งเสรมิ )
- ความสำ�เร็จของการแก้ไขกฎหมาย
เพอ่ื การปฏริ ูปด้านคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
116 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ ภาคผนวก
สร้างความยง่ั ยืน คำ�ศพั ท์ประจำ�หมวด 1-6
คำ�อธบิ าย
ความยง่ั ยืน หมายถงึ ความสามารถของสว่ นราชการ
ในการตอบสนองตอ่ ความจำ�เป็นต่อการดำ�เนินการในปจั จบุ นั
และมคี วามคลอ่ งตวั และการจดั การเชงิ ยุทธศาสตร์ทีท่ ำ�ให้
ส่วนราชการมีความพรอ้ มในการปฏิบัติงานและพร้อมต่อ
สภาพแวดลอ้ มการด�ำ เนินงานในอนาคต
องค์กรท่ีย่งั ยนื หมายถึง การพัฒนาท่ตี อบสนอง
ความต้องการขององค์กรในปัจจุบนั ควบคู่กับความพรอ้ ม
ในการสรา้ งการเติบโตในระยะยาวในอนาคต โดยค�ำ นงึ ถึง
เปา้ หมาย 3 ด้าน คือ
1) เศรษฐกิจ (Economy) มงุ่ สร้างคุณค่าให้แกผ่ รู้ ับบริการ
ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย และบุคลากรทุก ๆ ฝา่ ยอยา่ งสมดลุ
โดยมเี ป้าหมายสูงสุดเป็นการสรา้ งผลประโยชนร์ ่วมกนั
2) สงั คม (Society) สรา้ งสรรคส์ งั คมโดยบูรณาการ
การดำ�เนินงานของสว่ นราชการ เพื่อประโยชน์ของสงั คม
ทัง้ ในส่วนของการด�ำ เนินงานผลผลติ และบริการ รวมถงึ
การสนบั สนนุ สงั คมในดา้ นตา่ งๆ
3) สงิ่ แวดลอ้ ม (Environment) มุง่ มนั่ ดแู ล
รกั ษาสภาพแวดล้อม และการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ
เพ่อื ให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศอย่างย่งั ยนื
โดยครอบคลมุ ตลอด Supply Chain และให้ความส�ำ คญั
ต่อทรพั ยากรธรรมชาตใิ นสว่ นตา่ ง ๆ
ความยัง่ ยนื อาจพิจารณาจากระบบงานขดี ความสามารถ
และอตั ราก�ำ ลังบคุ ลากร ความร้คู วามสามารถพเิ ศษ
ความพร้อมของทรพั ยากรเทคโนโลยีและอปุ กรณต์ ่าง ๆ
นอกจากน้คี วามย่งั ยืนยังมีส่วนท่เี ก่ียวข้องกับการเตรยี มตัว
สำ�หรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ท่อี าจจะเกิดขึน้ ดว้ ย
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 117
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
นวัตกรรม
นวัตกรรม หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงทีส่ �ำ คญั
เพือ่ ปรับปรุงผลผลติ บรกิ าร กระบวนการ หรือประสทิ ธผิ ล
ของสว่ นราชการ รวมทั้งสรา้ งมลู ค่าใหมใ่ ห้แกผ่ ู้มีส่วนได้
สว่ นเสยี นวตั กรรมเปน็ การรบั เอาความคิด กระบวนการ
เทคโนโลยี หรือผลผลิต ซึง่ อาจเปน็ ของใหมห่ รอื น�ำ มาปรบั ใช้
เพือ่ การใช้งานในรปู แบบใหม่
นวัตกรรมท่ปี ระสบความสำ�เรจ็ ในระดบั ส่วนราชการ
เป็นกระบวนการทปี่ ระกอบดว้ ยหลายขัน้ ตอนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
กับการพฒั นาการแลกเปล่ียนความรู้ การตัดสินใจทจ่ี ะ
ดำ�เนนิ การ การดำ�เนินการ การประเมนิ ผล และการเรียนรู้
แม้วา่ นวตั กรรมมกั เก่ยี วข้องกับเทคโนโลยี แตน่ วัตกรรม
สามารถเกดิ ได้ในทกุ กระบวนการทสี่ ำ�คญั ของส่วนราชการ
ซึ่งอาจไดป้ ระโยชนจ์ ากการเปล่ียนแปลง ไมว่ ่าจะเป็นการปรบั ปรงุ
อยา่ งก้าวกระโดดหรอื การเปล่ียนแปลงแนวทางหรอื ผลผลิต
นวตั กรรมอาจรวมถึงการเปลยี่ นแปลงพืน้ ฐานของโครงสรา้ ง
สว่ นราชการให้บรรลงุ านของสว่ นราชการอยา่ งมีประสิทธผิ ล
ยิ่งข้ึน
นวตั กรรมภาครัฐ หมายถงึ แนวคิด วิธีการ และ
รูปแบบใหม่ ๆ ในการจดั การองคก์ าร (organization
development) การดำ�เนินงาน (work process)
และการใหบ้ รกิ าร (service delivery) อนั เป็นผลมาจาก
การสร้าง พฒั นา เพิ่มพนู ต่อยอด หรือประยกุ ตใ์ ช้
องค์ความรู้และแนวปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพฒั นา
ประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และคณุ ภาพของการปฏิบตั ิงาน
ของหน่วยงานภาครฐั
118 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
วฒั นธรรมทมี่ ุ่งเนน้
ประชาชน นวตั กรรมภาครฐั อาจจ�ำ แนกได้เป็น 3 ด้าน ไดแ้ ก่
1) นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation)
เปน็ การคิดรเิ ริม่ นโยบายใหม่ ๆ กฎระเบียบทที่ นั สมยั เหมาะสม
และทนั ต่อเหตกุ ารณ์ 2) นวัตกรรมด้านกระบวนการท�ำ งาน
(Process Innovation) เป็นการพฒั นาสรา้ งสรรคแ์ นวทาง
การใหบ้ รกิ ารในรปู แบบทแี่ ตกต่างโดยเพิ่มประสิทธภิ าพ
ประสทิ ธผิ ลอนั จะน�ำ ไปสผู่ ลลพั ธต์ ามภารกิจของภาครัฐ
และประโยชน์ของผู้รับบริการและประชาชน 3) นวัตกรรม
ผลผลติ /การบริการ (Service Innovation) เปน็ การปรับปรงุ
ผลผลิตและการบรกิ ารในรปู แบบใหมห่ รือพฒั นาปรบั ปรงุ
อย่างกา้ วกระโดด
วัฒนธรรมท่มี ุง่ เน้นประชาชนเป็นการสร้างหรือปลกู ฝัง
ใหบ้ ุคลากรในหนว่ ยงานมุ่งเน้นการด�ำ เนนิ งานทีใ่ ห้ความส�ำ คัญ
กบั ผรู้ บั บริการ มจี ิตใจให้บรกิ ารเพื่อผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสียและ
ประชาชนในมุมมองของความตอ้ งการและความคาดหวัง
ระบบราชการทีย่ ดึ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง (Citizen
-Centric Government) ต้องทำ�งานในเชงิ รุกและมองไปขา้ งหน้า
โดยต้งั คำ�ถามกบั ตนเองเสมอว่าประชาชนจะไดอ้ ะไร
มุง่ เนน้ แกไ้ ขปัญหาความตอ้ งการและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนโดยไมต่ อ้ งรอให้ประชาชนเขา้ มาตดิ ตอ่ ขอรับ
บรกิ ารหรือร้องขอความชว่ ยเหลอื จากทางราชการ (Proactive
Public Services) รวมทง้ั ใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มลู ทางราชการ
(Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่
ในการจดั บรกิ ารสาธารณะท่ีตรงกับความต้องการของประชาชน
(Personalized หรอื Tailored Services) พร้อมท้งั อ�ำ นวย
ความสะดวกโดยมกี ารเชอื่ มโยงกนั เองของหนว่ ยงานราชการ
เพื่อให้บรกิ ารตา่ ง ๆ สามารถเสรจ็ สนิ้ ในจุดเดยี วประชาชน
สามารถใช้บรกิ ารของทางราชการไดต้ ลอดเวลาตามความต้องการ
และสามารถติดตอ่ ไดห้ ลายช่องทางผสมผสานกนั ทงั้ การตดิ ตอ่
ดว้ ยตนเอง ตดิ ต่อผ่านอินเตอรเ์ นต็ เวบ็ ไซต์ โซเชียลมีเดีย
หรอื แอปพลิเคชนั ทางโทรศพั ท์มือถอื
คูม่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 119
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
เป้าหมายส�ำคัญของการบรกิ ารภาครฐั คอื ภาครฐั
ยึดประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง ตอบสนองความต้องการ
และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส โดยภาครัฐ
ต้องร่วมมอื และชว่ ยเหลอื กันในการปฏบิ ัติหน้าท่ี มรี ะบบ
การบริหารจดั การท่ที ันสมัยมปี ระสทิ ธภิ าพมคี วามโปร่งใส
ใหก้ ารบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ท้งั ราชการสว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค
สว่ นท้องถ่นิ และงานของรฐั อยา่ งอน่ื ใหเ้ ป็นไปตามหลักการ
บริหารกิจการบ้านเมอื งท่ีดี สร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชน
โดยต้องมคี วามพรอ้ มท่จี ะปรับตัวใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลง
ของโลกอยตู่ ลอดเวลาโดยเฉพาะอย่างยง่ิ การน�ำนวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ และ
ระบบการท�ำงานท่เี ป็นดิจิทลั เขา้ มาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มคา่
และปฏบิ ัติงานเทยี บไดก้ ับมาตรฐานสากล รวมท้งั มลี ักษณะ
เปิดกวา้ งเช่อื มโยงถึงกนั ด�ำเนนิ การพฒั นาระบบอ�ำนวย
ความสะดวกในการบริการภาครัฐเพื่อให้ประชาชนและผู้รบั
บริการทกุ กลุ่มสามารถเขา้ ถึงได้โดยงา่ ย สะดวก รวดเร็ว
โปรง่ ใส หลากหลายช่องทาง ตรวจสอบได้ เสียคา่ ใชจ้ ่ายน้อย
ไมม่ ีข้อจ�ำกดั ของเวลา พืน้ ที่และกลุ่มคน และผใู้ ช้งาน
ไม่ตอ้ งรอ้ งขอหรอื ยน่ื เร่อื งต่อหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง โดยออกแบบ
แนวทาง ข้ันตอน รปู แบบการใหบ้ ริการของภาครัฐให้เปน็
รปู แบบดจิ ทิ ลั และวางแผนใหม้ กี ารเชอื่ มโยงหลายหนว่ ยงาน
และสร้างความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื ใหม้ ี
ความพร้อมในการให้บรกิ ารประชาชน สามารถพฒั นา
นวัตกรรมมาใชส้ รา้ งสรรค์ พัฒนาบริการเดิม และ
สร้างบริการใหมท่ ่เี ปน็ พลวัตสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั สถานการณ์
และขับเคล่อื น โดยความต้องการของประชาชนภาคธรุ กิจ
และผใู้ ช้บริการ
120 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
มาตรการปอ้ งกันในเชงิ รกุ การปอ้ งกนั การทุจริตและสรา้ งความโปรง่ ใสในเชงิ รกุ
ในการป้องกนั การทุจรติ หมายถึง การวางระบบ กลไกและกระบวนงานด้านการป้องกนั
และสร้างความโปรง่ ใส ให้มีความเข้มแขง็ และมีประสทิ ธิภาพเพอ่ื ลดโอกาส
(เช่น การไม่รบั ของ) การทจุ รติ ก่อนท่จี ะเกิดเหตุการณแ์ ละสร้างความโปร่งใส
ใหเ้ กดิ ข้ึนในการปฏบิ ัตริ าชการ โดยอาศัยกลไกดา้ นกฎหมาย
แนวปฏิบัติทเี่ ปน็ เลิศ กลไกทางการบรหิ าร และกลไกอ่ืน ๆ และเสริมสรา้ ง
(Best Practice) การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐ และเอกชน
ให้มธี รรมาภิบาล
การป้องกนั ทจุ ริตและสรา้ งความโปรง่ ใสในเชงิ รุก
สามารถพจิ ารณาวิธีการทม่ี ีความหลากหลาย
ในการด�ำ เนนิ การ เชน่ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบ
งานป้องกันท่ีมอี ยู่ สร้างกลไกการป้องกันเพอ่ื ยบั ยง้ั
การทุจริต ปรบั ระบบงานพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม
สร้างรูปแบบการมีสว่ นรว่ มสาธารณะและให้เอกชน
เข้ามารว่ มดำ�เนนิ การพัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้
ของบุคลากร สรา้ งจติ สำ�นึกและค่านิยมท่ดี เี ป็นต้น
แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี (Best Practice) หมายถึง
วิธีปฏิบตั ิหรือข้ันตอนการปฏบิ ัตทิ ่ีทำ�ให้องค์การ
ประสบความสำ�เรจ็ หรือนำ�ไปสคู่ วามเปน็ เลิศตามเป้าหมาย
เป็นทย่ี อมรบั ในวงวชิ าการหรือวชิ าชพี นน้ั ๆ และมีหลกั ฐาน
ของความสำ�เร็จปรากฏชัดเจน โดยมกี ารสรุปวธิ ปี ฏิบตั ิ
หรอื ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิตลอดจนความรแู้ ละประสบการณ์
ท่ีไดบ้ นั ทกึ เอกสารและเผยแพรใ่ หห้ น่วยงานภายใน
หรือภายนอกสามารถนำ�ไปใชป้ ระโยชน์ไดค้ ุณลักษณะ
สำ�คัญของ Best Practices
- Systematic ความเป็นระบบ
- Integrate การบรู ณาการ
- Linkage ความเชือ่ มโยง
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 121
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
ต้นแบบ (Role Model) การเปน็ องคก์ รต้นแบบ (Role Model)
ดา้ นความโปร่งใส ด้านความโปร่งใส อาจพจิ ารณาจากเกณฑ์ “รางวัล
(ต้องเก่ียวกับความโปรง่ ใส) องค์กรโปรง่ ใส” ของส�ำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ส�ำนกั งาน ป.ป.ช.)
แบ่งเปน็ 4 ด้าน คอื 1) องค์กรปฏบิ ตั ภิ ารกิจ
อย่างมีความพร้อมรับผิดชอบต่อผลงานและขอ้ รอ้ งเรยี น
2) องคก์ รปฏบิ ัติภารกจิ ตามหลกั นิติธรรม 3) องค์กร
ให้ความส�ำคัญกบั สิทธิมนษุ ยชนและปฏบิ ัตติ ามแนวทาง
จรยิ ธรรมท่ีเปน็ สากล และ 4) องคก์ รด�ำเนินงานด้วย
ความโปร่งใส มรี ะบบการจดั ซือ้ จัดจ้างท่โี ปร่งใส
เทีย่ งธรรม ตอ่ ตา้ นการทุจรติ และการให้หรือรับสนิ บน
โดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนนโดยพิจารณาจากการมีปรัชญา
อนั ได้แก่ การประกาศนโยบายเจตนารมณ์ การมแี นว
ปฏิบัตทิ ่ีชัดเจน สามารถแสดงตวั อยา่ งในเชงิ ประจกั ษ์
มกี ารประเมินผลและมกี ารทบทวนปรับปรงุ แก้ไข
ท้งั น้กี ารด�ำเนินงานตามเกณฑข์ องส�ำนักงาน
ป.ป.ช. อาจะเป็นตัวอย่างหนงึ่ ของการสร้างต้นแบบ
ดา้ นความโปร่งใส ซึง่ ส่วนราชการสามารถมแี นวทางทีด่ ี
ในรูปแบบอน่ื ได้
เปา้ หมายการดำ�เนนิ งาน การตั้งคา่ เป้าหมายให้ทา้ ทาย หมายถึง ระดบั
ท่ที า้ ทาย ของเป้าหมายทีส่ งู แต่มีความเป็นไปไดท้ ่จี ะใชก้ ำ�ลัง
และความสามารถทม่ี อี ยใู่ นการบรรลุความสำ�เร็จ
ค่าเปา้ หมายท่ีจะสรา้ งแรงจงู ใจสงู สุดใหก้ ับบุคลากร
คอื คา่ เปา้ หมายท่ไี มง่ ่ายหรือไม่ยากมากจนเกนิ ไป
การต้งั เป้าหมายท่ีง่ายมากจนเกนิ ไปจะไม่ท�ำ ให้
บคุ ลากรใช้ความพยายามสงู สุดในการท�ำ ใหบ้ รรลุเปา้ หมาย
ไม่ช่วยใหม้ ีการพฒั นาปรบั ปรุง การทำ�งานและสิ่งท่ี
อาจจะเกิดขน้ึ ได้ คอื ความเข้าใจผิดว่า
122 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
ในขณะนีแ้ ต่ละคนสามารถท�ำ งานได้ดเี ลิศอยูแ่ ลว้
ความคิดเชน่ นีจ้ ะท�ำ ให้ทกุ แผนกหยดุ การพัฒนา
ในทางกลับกนั การต้งั คา่ เปา้ หมายท่ยี ากจนเกินไป
กจ็ ะทำ�ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านขาดแรงจงู ใจ เนื่องจากทราบดีว่า
ไมส่ ามารถทีจ่ ะท�ำ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายไดอ้ ย่างแนน่ อน
ดงั นนั้ จึงไม่อยากทีจ่ ะใชค้ วามพยายามใหเ้ พิ่มมากข้นึ
เพื่อจะทำ�ใหไ้ ด้ค่าเปา้ หมาย ดงั นัน้ การตง้ั ค่าเปา้ หมาย
ท่ดี ีจึงจำ�เป็นจะตอ้ งไมง่ ่ายหรือไมย่ ากจนเกินไป
ทง้ั นอ้ี าจจะใชข้ อ้ มูลในอดีตเปน็ ส่ิงทชี่ ว่ ยประกอบการตัดสนิ ใจ
โดยอาจจะเนน้ การพฒั นาให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง
รวมทง้ั การพจิ ารณาสภาวะแวดลอ้ มต่าง ๆ ประกอบไปด้วย
เพอ่ื ใหค้ า่ เป้าหมายนั้นตรงกับความเปน็ จริง
และมีความท้าทายมากทส่ี ุด
การตั้งเปา้ หมายท่ีดอี าจพจิ ารณาจากหลกั การ
SMART
S : Specific เฉพาะเจาะจง
M : Measurable วัดผลได้
A : Achievable สามารถบรรลุได้
R : Realistic/Results เน้นผลลพั ธ์
T : Timely มีกรอบระยะเวลาทช่ี ัดเจน
ข้อควรระวงั ของการต้งั เปา้ หมายทที่ า้ ทาย
คือ การเกิดความกลวั การต่อตา้ นการสูญเสยี ความเช่ือมนั่
ในกรณีท่ีไมส่ ามารถบรรลุเปา้ หมายท่ที า้ ทายได้
ความสมดุลระหวา่ งงานกบั ชวี ติ
ค่มู ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 123
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
ผลกระทบเชงิ บวกเชิงลบ
ผลกระทบ หมายถงึ ผลอนั สืบเนอ่ื งจากการปฏบิ ัติ
ภารกจิ ทง้ั ทีค่ าดหมายหรือตัง้ ใจและไมไ่ ด้คาดหมาย
ท้งั ทเ่ี กิดข้นึ ระหว่างและภายหลงั การปฏบิ ตั ิภารกจิ
ที่อาจกระทบต่อการพฒั นาในมิตอิ ืน่ หรือการปฏิบตั ิ
ภารกิจของหน่วยงานอื่น หรือประชาชน
ท้ังทเี่ ปน็ กลมุ่ เป้าหมายและกล่มุ อืน่ ทง้ั ในและนอกพ้ืนท่ี
ผลกระทบเชิงบวก หมายถงึ ผลกระทบจาก
กิจกรรมใด ๆ ท่กี อ่ ให้เกดิ คณุ ประโยชนก์ บั บคุ คลอื่น
ทไ่ี ม่เก่ียวขอ้ งกบั กจิ กรรมนนั้
ผลกระทบเชงิ ลบ หมายถึง ผลกระทบจาก
กิจกรรมใด ๆ ทีก่ ่อให้เกดิ โทษ หรือสรา้ งความเสีย
หายแก่บุคคลอน่ื ทีไ่ มเ่ กย่ี วข้องกบั กจิ การนน้ั
การวิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ จากการดำ�เนินงาน
ตามภารกจิ ภาครฐั ครอบคลมุ ถึงผลกระทบทัง้
ทางตรงและทางอ้อม รวมทัง้ ผลกระทบด้านบวกและ
ดา้ นลบในมิตทิ ีส่ ามารถประเมนิ ในรูปตัวเงนิ และไม่ใชต่ วั เงนิ
นอกจากนย้ี ังตอ้ งคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบในกรณที ี่ไมไ่ ด้
ดำ�เนนิ งานตามภารกจิ ภาครัฐดว้ ย ซึ่งมปี ระเด็นตา่ ง ๆ
ดงั น้ี
1) ผลกระทบตอ่ ประชาชน ได้แก่ ผลกระทบที่ประชาชน
ไดร้ บั จากการด�ำ เนนิ งานตามภารกจิ ภาครฐั ทเี่ ป็น
ประโยชน์และความพึงพอใจ เช่น การมีงานทำ�และ
การเพมิ่ รายได้ใหป้ ระชาชน การพัฒนาศักยภาพและ
คณุ ภาพชีวติ ประชาชนหรือผลกระทบทางลบ เช่น
การสญู เสียอาชีพ/ทรัพยส์ ิน การเจบ็ ป่วยจากมลภาวะ
ทเ่ี กดิ จากการดำ�เนนิ ภารกิจ
124 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
ปญั หาทม่ี คี วามซับซอ้ น
2) ผลกระทบทางสังคม ไดแ้ ก่ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ
แกส่ ังคมจากการดำ�เนินงานตามภารกิจภาครัฐ
ซง่ึ รวมถงึ การเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดข้นึ กับโครงสร้าง
ทางสงั คม วถิ ีชีวติ อาชพี วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญา
ชุมชน และการสร้างความเปน็ ธรรมใหส้ งั คม
3) ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อม ไดแ้ ก่ ผลกระทบต่อ
สิง่ แวดล้อมท่ีเกดิ จากการดำ�เนนิ งานตามภารกจิ ภาครฐั
เช่น ดา้ นมลภาวะดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
ดา้ นระบบนเิ วศ และด้านภูมสิ ถาปัตย์
4) ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ ผลกระทบตอ่ รายได้
ประชาชาต/ิ การขยายตัวทางเศรษฐกจิ
การสร้างความเปน็ ธรรมและการรกั ษาเสถียรภาพ
ทางเศรษฐกิจ (ระดบั ราคาสนิ คา้ ดลุ บญั ชเี ดินสะพัด
ดลุ การคลัง การกอ่ หน้ีสาธารณะ) และการกระจายรายได้
5) ผลกระทบด้านอืน่ ๆ เชน่ ดา้ นการเมืองและความมัน่ คง
ของประเทศ
เมือ่ โลกกำ�ลงั เข้าสหู่ ้วงเวลาของการปรบั เปลีย่ น
คร้งั ใหญ่ ความซับซ้อน ตลอดจนความไมช่ ดั เจนหรอื
แม้กระทัง่ ความไม่แน่นอนกลายเป็นส่วนหน่ึงของ
การดำ�เนนิ ธุรกิจและการปฏิบัตใิ นชีวติ ประจำ�วันของ
มนษุ ย์ ปัญหาตา่ ง ๆ ทเี่ กิดข้นึ ในปัจจบุ ันจึงกลายเป็น
ปัญหาที่มคี วามซบั ซอ้ นมากย่ิงข้ึนไม่ใช่เพยี งแคป่ ญั หา
ทม่ี ีสาเหตหุ รือปัจจัยเพยี งหนึ่งเดยี ว
ผลสำ�รวจ Future of Jobs Survey ของ
World Economic Forum ในประเด็นความตอ้ งการ
ของทักษะอนาคตในปี 2020 พบว่ามากกวา่ 1 ใน 3
หรอื 36% ของงานในทกุ ภาคอุตสาหกรรมจำ�เป็น
ต้องใช้ทกั ษะการแกไ้ ขปญั หาท่ซี ับซ้อนหรือ
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 125
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
ความเส่ียง
Complex Problem Solving เป็นทักษะหลกั
ในการท�ำงาน Complex Problem Solving จะคน้ หา
วธิ กี ารจดั การผลกระทบทจี่ ะไมท่ �ำใหเ้ กดิ ผลกระทบนนั้ ซำ�้
(Causal Loop) ผ่านการสังเคราะห์สาเหตุจากความสัมพนั ธ์
ระหว่างกลมุ่ ปจั จยั ต่างๆ และยังเปน็ การมองหารูปแบบ
การเปล่ยี นแปลงทที่ �ำให้เกดิ ความผิดปกติ พจิ ารณา
ความสัมพนั ธข์ องผลกระทบต่าง ๆ จะพิจารณา
แคเ่ พยี งตัวเดียว ไม่ไดถ้ ือวา่ เปน็ การคดิ เชิงระบบ หรอื
System Thinking ซึ่งเป็นทกั ษะการมองภาพรวม
หรอื องค์รวมในการวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของระบบ
ที่มีความเก่ยี วขอ้ งกันหรอื มอี ทิ ธพิ ลตอ่ กัน
ความเสี่ยง หมายถงึ เหตุการณค์ วามไมแ่ น่นอน
ทมี่ ีโอกาสเกดิ ข้นึ ได้ในอนาคต และอาจส่งผลกระทบ
หรือสรา้ งความเสียหาย หรอื ลดโอกาสทจี่ ะบรรลเุ ป้าหมาย
ตามภารกิจหลักที่ก�ำ หนด
การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management)
หมายถงึ กระบวนการท่ใี ช้ ในการระบคุ วามเสย่ี ง
การวิเคราะห์ความเสยี่ ง และการกำ�หนดแนวทาง
หรอื มาตรการควบคุมเพือ่ ป้องกันหรือลดความเสีย่ ง
เพ่อื มุ่งหวังใหส้ ่วนราชการบรรลุผลตามเป้าประสงค์
ขององคก์ ร
สารสนเทศเชิงลกึ ขอ้ มลู (data) หมายถึง ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีเป็นตัวเลข
(Level ขอ้ มลู สารสนเทศ ข้อความ หรือรายละเอยี ด ซงึ่ อาจอย่ใู นแบบต่าง ๆ
(Insight) เชน่ ภาพ เสียง วดี ีโอ ขอ้ มูลคอื ข้อเทจ็ จริงของสง่ิ ที่สนใจ
126 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอ้ มลู ท่ผี ่าน
การจัดการ ประมวลผลเช่ือมโยงความสมั พนั ธ์ และ
แปลความหมาย ด้วยวธิ กี ารท่ีเหมาะสมและถกู ตอ้ ง
เพ่ือใช้เป็นพ้นื ฐานสำ�หรับตดั สินใจปฏบิ ตั ิการต่าง ๆ
สารสนเทศ (Information) ท่ีมีอยู่เมือ่ นำ�มาวิเคราะห์
(Analytic) กลั่นกรอง และตีความด้วย
รปู แบบต่าง ๆ จะน�ำ ไปส่สู ารสนเทศหรอื องค์ความรู้
ในเชงิ ลกึ (Insights) เพอ่ื ใช้ในการตัดสนิ ใจ
รปู แบบการวเิ คราะห์ (Analytic) สามารถ
ทำ�ได้ในรปู แบบต่าง ๆ ดังน้ี การวิเคราะหข์ ้อมลู แบบพน้ื ฐาน
(Descriptive analytics) เป็นการวิเคราะห์เพื่อแสดงผล
ของรายการทางธุรกจิ เหตุการณ์หรือกจิ กรรมต่าง ๆ
ท่ีได้เกดิ ขึ้น หรืออาจก�ำ ลังเกดิ ขึน้ ในลกั ษณะทงี่ า่ ยตอ่
การเข้าใจหรือตอ่ การตดั สนิ ใจ ตวั อย่างเช่น รายงาน
การขาย รายงานผลการดำ�เนนิ งาน
การวเิ คราะห์แบบเชิงวินิจฉัย (Diagnostic analytics)
เปน็ การอธบิ ายถงึ สาเหตุของสงิ่ ทเี่ กดิ ข้ึน ปัจจยั ต่าง ๆ
และความสัมพนั ธข์ องปัจจัยหรอื ตวั แปรตา่ ง ๆ
ที่มีความสัมพันธ์ต่อกนั ของส่ิงที่เกิดขน้ึ ตวั อย่างเชน่
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งยอดขายต่อกจิ กรรมทางการตลาด
แตล่ ะประเภท ซ่ึงเป็นก้าวใหมท่ ชี่ ่วยเสริมใหต้ ดั สินใจ
ไปในทางที่ถกู ตอ้ ง
การวิเคราะห์แบบพยากรณ์ (Predictive analytics)
เปน็ การวิเคราะห์เพือ่ พยากรณ์ส่งิ ที่ก�ำ ลังจะเกดิ ขึ้นหรอื
น่าจะเกดิ ขน้ึ โดยใชข้ ้อมลู ทีไ่ ดเ้ กิดขึ้นแล้วกับแบบจ�ำ ลอง
ทางสถติ ิหรือเทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐ์ต่าง ๆ (Artificial
intelligence) ตวั อยา่ งเช่น การพยากรณย์ อดขาย
การพยากรณ์ผลประชามติ
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 127
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
ฐานขอ้ มลู รว่ มกนั
ฐานขอ้ มลู ร่วมกัน เปน็ การบรู ณาการขอ้ มูลภาครัฐ
โอกาสเชิงยทุ ธศาสตร์ ซ่งึ เปน็ รากฐานส�ำ คญั อันจะน�ำ ไปสู่การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
และพลกิ โฉมงานบรกิ ารภาครัฐในทุก ๆ ด้าน น�ำ ไปสู่
งานบรกิ ารทมี่ ปี ระสิทธิภาพอนั จะเป็นประโยชน์ท้ังต่อ
ภาครัฐ ภาคธรุ กิจ และประชาชน เนื่องจากภาครัฐ
สามารถท�ำ งานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวดเรว็ และ
มีข้อมูลเพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการบรหิ ารประเทศ ส่งผลทำ�ให้
ผ้รู ับบรกิ าร (ภาคธุรกจิ และประชาชน) ได้รบั บรกิ าร
ที่สะดวก รวดเรว็ และตรงกับความต้องการ ตวั อยา่ งเช่น
ด้านการลงทนุ การบรู ณาการขอ้ มูลภาครัฐ จะท�ำ ให้สามารถ
ลดการใชส้ ำ�เนาเอกสารท่ภี าครฐั มีอยู่แล้ว ขณะเดียวกัน
ภาครัฐก็ยังสามารถให้บรกิ ารนกั ลงทนุ ไดแ้ บบเบด็ เสรจ็
ครบวงจร ณ จุดเดียว เป็นต้น
“โอกาสเชิงยทุ ธศาสตร์” หมายถงึ ภาพอนาคต
สำ�หรับผลผลิตและการบรกิ ารกระบวนการรูปแบบ
การปฏบิ ัตริ าชการ รวมทัง้ พันธมติ รหรือเครอื ขา่ ย
ที่เปลีย่ นแปลงไป เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมาย
ตามพันธกจิ และยุทธศาสตรข์ องสว่ นราชการ
โอกาสเชงิ ยุทธศาสตร์ (Strategic Opportunities)
เกดิ ข้นึ จากการระดมสมอง การใชป้ ระโยชน์จาก
การวเิ คราะห์ กระบวนการวิจยั และสรา้ งนวัตกรรม
การคิดนอกกรอบจากสภาพปจั จุบนั และแนวทางอน่ื ๆ
เพื่อมองอนาคตทแ่ี ตกตา่ งออกไป การสร้างบรรยากาศ
ทเ่ี ปดิ ให้คิดอยา่ งเสรีโดยปราศจากการชนี้ �ำ จะช่วยท�ำ ให้
เกิดความคิดใหม่ ๆ ท่นี ำ�ไปสู่โอกาสเชิงยุทธศาสตร์
การจะเลือกใชโ้ อกาสเชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ ด้น้ันต้องค�ำ นึงถงึ
ความเสีย่ งที่เก่ยี วขอ้ งท้ังทางดา้ นการเงนิ และดา้ นอื่น ๆ
เพือ่ ตัดสนิ ใจเลือกไดอ้ ยา่ งรอบคอบ
128 คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
ความท้าทายเชงิ “ความทา้ ทายเชงิ ยทุ ธศาสตร์” หมายถึง
ยทุ ธศาสตร์ และความ ส่ิงที่องคก์ ารต้องเอาชนะเพ่ือให้บรรลคุ วามสำ�เร็จ
ไดเ้ ปรียบเชิงยุทธศาสตร์ ในอนาคตและการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์
ขององคก์ ร ความทา้ ทาย มักเกิดจากแรงผลักดนั
ด้านสภาพการแขง่ ขัน และคาดหวงั ในอนาคตของ
องค์การ เม่อื เปรียบเทยี บกับองคก์ ารอื่นทีม่ ีผลติ ภัณฑ์
ทคี่ ล้ายคลึงกนั ความคาดหวังของผู้รบั บรกิ ารและ
ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี รวมทงั้ การเปล่ยี นแปลงของ
เทคโนโลยี รวมถงึ ความเสยี่ งดา้ นการเงิน สงั คม
และความเส่ยี งหรือความจำ�เปน็ อืน่ ๆ โดยทวั่ ไป
ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ มกั เกดิ จากแรงผลกั ดัน
จากภายนอก อย่างไรกต็ าม ในการตอบสนองต่อ
ความท้าทายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ที่มาจากแรงผลกั ดัน
ภายนอกองค์การ อาจตอ้ งเผชญิ กบั ความทา้ ทายเชิง
ยุทธศาสตรภ์ ายในองคก์ ร เชน่ ขีดความสามารถของ
องค์การ หรือทรพั ยากรบุคคลและทรพั ยากรอื่น ๆ
ขององคก์ ารดว้ ย
“ความไดเ้ ปรียบเชงิ ยทุ ธศาสตร”์ หมายถงึ
สงิ่ ทจี่ ะสร้างความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันต่าง ๆ
ท่ีจะชว่ ยเสรมิ สร้างขดี ความสามารถและเป็นตวั ตดั สินว่า
สว่ นราชการจะประสบความสำ�เรจ็ ในอนาคตหรือไม่
ความได้เปรยี บเชิงยุทธศาสตรม์ กั มาจาก
1) สมรรถนะหลกั ที่เน้นท่กี ารสร้างและเพิม่ พูน
ความสามารถภายในสว่ นราชการ และ 2) ทรพั ยากร
ภายนอกทสี่ ำ�คัญในเชงิ กลยุทธ์ ซึง่ เกดิ จากการกำ�หนด
และใชป้ ระโยชน์อย่างเตม็ ที่ผา่ นความสมั พนั ธ์กับ
องค์การภายนอกและกล่มุ ความรว่ มมือ
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 129
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย
ขีดความสามารถ ขีดความสามารถและสมรรถนะขององค์การ
(ในการแข่งขนั ) ขององคก์ าร คือ สง่ิ ทีส่ ่วนราชการมีความเชยี่ วชาญมากที่สุด
ซง่ึ จะเป็นแกนหลักทีท่ �ำ ใหอ้ งค์กรบรรลุพนั ธกิจ
สร้างความได้เปรยี บใหแ้ ก่องค์การในการปฏิบตั งิ าน
เพื่อส่งมอบผลผลิตและบริการ มักเป็นส่งิ ที่ลอกเลยี นแบบ
ได้ยาก สร้างความได้เปรียบทีย่ ่ังยนื ในการแข่งขัน
Capacity (ขดี ความสามารถขององค์การ)
หมายถึง สมรรถนะขององค์การทีว่ ดั ไดใ้ นเชงิ ปริมาณ
การท่อี งค์การจะมี Capacity สูงไดต้ ้องอาศยั ทรัพยากร
อื่น ๆ ประกอบ ซึ่งนอกเหนอื จาก Competency
บุคลากร เชน่ เคร่ืองจักร เทคโนโลยี อปุ กรณ์เครื่องมอื
ที่จ�ำ เป็นตอ่ การใช้งาน Capacity ขององค์กร มผี ลต่อ
การกำ�หนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Goal)
ดงั นนั้ ในการก�ำ หนด Business Capability
จะต้องมีความเข้าใจในขดี ความสามารถ (Capacity)
ขององคก์ ารทจี่ ะส่งมอบบริการได้ โดยจะต้องค�ำ นึงถึง
“เรามีความสามารถเทา่ ไหร่ในการผลิตหรอื ให้บรกิ าร
แกผ่ ู้รบั บริการได้” และ “เราจ�ำ เปน็ ต้องมเี ท่าไหรถ่ งึ จะ
เพยี งพอหรือรองรบั กบั การให้บรกิ ารลูกคา้ ในปจั จุบัน
หรือรองรบั การให้บรกิ ารในอนาคตได้”
การคาดการณ์การ การคาดการณ์ความเปลยี่ นแปลงทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้
เปล่ยี นแปลง ในอนาคต (Foresight) คือ การวเิ คราะห์ปัจจยั ทสี่ �ำ คัญ
เพ่ือนำ�ไปสกู่ ารคาดการณแ์ ละอธิบายภาพของอนาคต
และการเปลยี่ นแปลงท่ีอาจจะเกิดข้ึน
130 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
แผนระยะส้นั ระยะยาว
การคาดการณ์การเปลยี่ นแปลงในอนาคต
มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ เตรียมความพร้อมขององคก์ ารให้
รองรับกบั การเปลยี่ นแปลงในอนาคตหรือเพือ่ นำ�พา
องค์กรไปสูร่ ูปแบบของอนาคตทีต่ อ้ งการให้เกดิ ขึน้
ซึ่งสามารถนำ�มาสกู่ ารกำ�หนดยทุ ธศาสตรห์ รือประเมิน
หรอื ทดสอบยุทธศาสตร์ที่มีอยใู่ นปัจจุบันว่าสามารถ
รองรับกบั รปู แบบของเหตุการณท์ ี่อาจจะเกิดขึน้ ได้
อย่างเพียงพอหรอื ไม่
การวเิ คราะหแ์ ละคาดการณ์การเปล่ียนแปลง
ทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ ในอนาคตสามารถท�ำ ได้หลายรปู แบบ
ซึ่งรปู แบบที่ไดร้ ับความนิยมอาจจ�ำ แนกได้เปน็
1) อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future)
และอนาคตทม่ี คี วามเปน็ ไปได้ (Probable Futures)
คือการคาดการณ์ความเปลีย่ นแปลงส�ำ หรับรปู แบบ
ของอนาคตผา่ นกระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มลู และ
สารสนเทศดว้ ยเครอ่ื งมือทางสถติ เิ พอื่ นำ�ไปส่กู ารคาดการณ์
ความเปลยี่ นแปลง (Forecasting) ทจี่ ะเกดิ ขึ้น
และ 2) อนาคตท่ีสามารถเกิดขึน้ ได้ (Plausible Futures)
และอนาคตทีอ่ าจเกดิ ขึน้ ได้ (Possible Futures) คอื
รปู แบบของการคาดการณอ์ นาคตทเี่ ปน็ ไปไดจ้ าก
ปจั จัยน�ำ ท่มี ีความไมแ่ น่นอน (Uncertainty)
โดยเครอ่ื งมอื ทีไ่ ดร้ บั ความนยิ มไดแ้ กก่ ารวิเคราะห์
Scenario Analysis เป็นตน้
แผนระยะยาว หมายถึง แผนท่มี ีกรอบระยะเวลา
ประมาณ 3-5 ปี เพอื่ เป็นการกำ�หนดเป้าหมายและ
กลยทุ ธ์ที่เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ ซ่งึ ต้องมกี ารปรับเปลี่ยน
และวางแผนในระยะยาวขององคก์ าร
คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 131
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
เป้าหมายระยะสน้ั / แผนระยะสั้น หมายถึง แผนทม่ี ีกรอบระยะเวลา
ระยะยาว 1 - 2 ปี เพ่อื เปน็ การจ�ำ แนกรายละเอยี ดเส้นทาง
การท�ำ น้อยได้มาก ทีอ่ งคก์ ารต้องดำ�เนินการเพื่อน�ำ ไปสู่การบรรลุเป้าหมาย
ในระยะยาวขององคก์ าร และทบทวนรายละเอียดวา่ ยังมี
ความเหมาะสมกบั สถานการณแ์ ละช่วงเวลาในระยะสน้ั
หรอื ไม่
การจัดทำ�แผนระยะส้นั ระยะยาว อาจพิจารณา
แนวทาง Future-back approach และ Today
forward approach ประกอบกัน คอื การมองภาพ
ในอนาคตท่ตี ้องการบรรลแุ ละเช่อื มโยงมาสู่การเตรียมการ
แบบเปน็ ขัน้ ตอนเพือ่ น�ำ ไปสู่การบรรลุเปา้ หมายการปรับปรุง
และพฒั นาจากการดำ�เนนิ งานในปัจจบุ นั ใหพ้ ฒั นาหรือ
ดขี นึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
การกำ�หนดเป้าหมายระยะส้ัน ระยะยาว คอื
การก�ำ หนดเปา้ หมายความส�ำ เร็จท่ีชัดเจน ท่อี งค์การ
ต้องการทจ่ี ะบรรลุในแต่ละช่วงเวลา ซึง่ ตอ้ งมีความสอดคลอ้ ง
กบั กรอบระยะเวลาของแผนระยะสัน้ /ระยะยาว
ทีไ่ ดก้ �ำ หนดไว้
“การทำ�น้อยไดม้ าก” หมายถงึ การใชท้ รพั ยากร
ของส่วนราชการที่มีอยู่ให้เกดิ ประสิทธิภาพและ
ประโยชน์สูงสุด เน่ืองด้วยทรัพยากรขององค์การ
ทม่ี ีอยู่อย่างจำ�กัด ส่วนราชการจงึ ต้องมีการพิจารณา
จดั ลำ�ดับความส�ำ คญั ของเร่อื งต่าง ๆ และท่มุ เททรพั ยากร
ที่มอี ยไู่ ปกบั เร่อื งท่มี คี วามส�ำ คัญท่ีมสี อดคลอ้ งกับพันธกิจ
ยุทธศาสตร์ ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการและ
ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียทส่ี ำ�คญั ขององค์การ
132 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
การคาดการณ์
ส่วนราชการสามารถน�ำ หลักการทม่ี ีความสัมพันธ์
กบั แนวคดิ ทำ�นอ้ ยได้มาก อาทเิ ช่น หลกั การพาเรโต
(กฎ 80:20) คอื การใหค้ วามสำ�คัญในการทมุ่ เทรัพยากร
ไปกบั งาน 20% ทส่ี ่งผลลพั ธ์กลบั มา 80% มากกว่า
การทุม่ เททรัพยากรไปกับงาน 80% ที่ให้ผลลพั ธ์
เพยี งแค่ 20% หรอื การน�ำ แนวความคิด OKRs
เข้ามาคดั เลือกและจัดล�ำ ดับความส�ำ คญั ของเรือ่ งที่
สำ�คัญที่สดุ 3 เร่ือง และตวั ช้วี ดั ไม่เกิน 3 ตวั
ภายใต้แต่ละเรอ่ื งในแต่ละชว่ งเวลา ซึ่งจะทำ�ให้องคก์ ร
และบุคลากรท่มี คี วามเกย่ี วขอ้ งในทกุ ระดับว่าเรอ่ื งใด
ท่เี ป็นเรอ่ื งสำ�คัญที่องคก์ รควรมงุ่ เน้นในช่วงเวลานนั้ ๆ
เปน็ ตน้
“การคาดการณ์ผลการดำ�เนนิ การ” หมายถึง
การคาดคะเนผลการดำ�เนินการทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต
ขององคก์ าร การคาดการณ์ควรอย่บู นพืน้ ฐาน
ความเข้าใจถึงผลการด�ำ เนินการทีผ่ า่ นมา อตั ราการปรับปรงุ
และสมมตฐิ านเกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลงภายในและ
การสร้างนวตั กรรมในอนาคต รวมทง้ั สมมติฐานเกี่ยวกับ
การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมภายนอก ซ่ึงส่งผลตอ่
การเปลี่ยนแปลงภายใน ดงั นั้นการคาดการณ์
ผลการด�ำ เนนิ การสามารถใช้เป็นเคร่ืองมอื ท่สี �ำ คญั
อยา่ งหนงึ่ ในการจดั การการปฏบิ ัตกิ ารการพฒั นาและ
การนำ�กลยทุ ธไ์ ปปฏบิ ตั ิ
การคาดการณ์และเปรยี บเทยี บผลการดำ�เนนิ การ
มุ่งหวังเพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถของสว่ นราชการ
ในการท�ำ ความเข้าใจและติดตามปัจจยั ท่เี กย่ี วกับ
ผลการด�ำ เนนิ การเชิงแขง่ ขนั ทีเ่ ปลยี่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา
คูม่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 133
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
แผนปฏิบัตกิ ารทมี่ คี วาม ผลการด�ำ เนินการทีค่ าดการณ์ไวอ้ าจรวมถงึ
ยืดหยุ่น การเปลี่ยนแปลงทีเ่ ปน็ ผลจากการริเริม่ ใช้เทคโนโลยใี หม่
หรือนวัตกรรมการบริการหรอื แผนขับเคล่ือนทางยทุ ธศาสตร์
อ่นื ๆ กระบวนการคาดการณ์และเปรยี บเทยี บ
ผลการด�ำ เนนิ การเป็นเครอ่ื งมือวเิ คราะห์ทส่ี �ำ คญั ทจี่ ะช่วยให้
สว่ นราชการสามารถตดั สนิ ใจทจ่ี ะลงมือทำ�เรง่ ด�ำ เนนิ การ
หรือยกเลกิ โครงการทร่ี เิ ริ่มไว้
“แผนปฏิบัติการท่ีมีความยืดหย่นุ ” หมายถึง
ความสามารถในการตดั สนิ ใจท่ีจะปรับองค์การให้ทัน
กับสภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกองคก์ ร
ทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปเพ่อื สรา้ งความอยรู่ อดขององค์การ
สรา้ งผลผลิตและบริการทตี่ อบสนองผรู้ บั บริการและ
ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี และการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถ
ทางการแข่งขนั ขององคก์ าร
การปรับองค์การให้มคี วามยดื หยนุ่ องค์การ
อาจใชร้ ูปแบบท่ีหลากหลาย เช่น เน้นการปรับปรุง
ประสิทธภิ าพของกระบวนการ ลดต้นทุน เพมิ่ ผลิตภาพ
สร้างนวตั กรรมใหม่ สรา้ งสรรคผ์ ลผลิตและบรกิ ารใหม่
พัฒนาเทคโนโลยี และการปรบั ตวั ของบคุ ลากร เป็นต้น
“Agile Organization” เปน็ เครือ่ งมอื ท่หี ลาย
องคก์ ารน�ำ มาใช้เพอ่ื ท�ำ ใหอ้ งค์การมีความยดื หยนุ่
และมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนตัวเอง
อยา่ งรวดเรว็ ตลอดเวลา เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย
ทีเ่ ปล่ียนแปลงไป (จากความเปลยี่ นแปลงของ
สภาพแวดล้อมทางธรุ กิจ) โดยลดข้ันตอนในการท�ำ งาน
การอนมุ ัติ และ empower พนกั งานให้มากขน้ึ และ
ขบั เคล่ือนงานอย่างรวดเรว็
134 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
การเตรียมการเชงิ รกุ “การเตรียมการเชิงรุก” เป็นส่วนหนึ่งของ
“การบรหิ ารงานเชงิ รุก (Proactivemanagement)”
ซึ่งเปน็ การบริหารงานที่มีเปา้ หมายสอู่ นาคต
โดยการวิเคราะหส์ ถานการณแ์ นวโนม้ ของปญั หา
เหตุการณท์ ่ีคาดว่าจะเกิดขน้ึ อย่างเป็นระบบ และ
ตัดสนิ ใจลงมือปฏิบัติก่อนท่ีปัญหาจะเกดิ ขนึ้
เปน็ การเลง็ เห็นถงึ ปัญหาหรอื โอกาสพรอ้ มทั้งลงมอื
จัดการกบั ปัญหานน้ั ๆ หรอื ใช้โอกาสทีเ่ กิดขึน้ ให้
เกิดประโยชนต์ อ่ งานดว้ ยวธิ ที ีส่ รา้ งสรรค์และแปลกใหม่
ลักษณะทส่ี ำ� คญั ของการบริหารงานเชงิ รกุ คอื
1) มีการวเิ คราะห์สถานการณท์ ีจ่ ะเกิดข้ึนล่วงหนา้
2) วางแผนล่วงหนา้ 3) บรหิ ารจดั การด้วยวิจารณญาณ
ด้วยความรอบคอบ
ความตอ้ งการ/ความคาดหวงั “ความต้องการ” คอื ส่งิ ที่ลูกคา้ จำ�เปน็ ตอ้ งได้รบั
จากการให้บรกิ ารของส่วนราชการถอื ว่าเป็นสง่ิ จำ�เป็น
พน้ื ฐานทล่ี กู ค้าจะได้รบั เมอ่ื มาใช้บรกิ าร
“ความคาดหวงั ” คอื สงิ่ ที่อยูใ่ นใจลกู คา้ ลูกค้า
ตอ้ งการไดร้ ับความประทับใจเม่ือมาใชบ้ รกิ ารความตอ้ งการ
ของกลุ่มผู้รบั บรกิ ารอาจรวมถงึ การบรกิ ารทรี่ วดเร็ว
การส่งมอบทต่ี รงเวลา ความปลอดภยั การใช้เทคโนโลยี
ทีเ่ หนือช้ัน ความสมบรู ณ์ถกู ต้องของเอกสาร การตอบสนอง
อยา่ งรวดเรว็ การแก้ไขขอ้ ร้องเรยี นและการบรกิ าร
ในหลายภาษา
ความตอ้ งการของกลุ่มผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี
อาจรวมถึงพฤตกิ รรมทีแ่ สดงถงึ ความรับผิดชอบตอ่
สงั คมและการบริการชมุ ชน การลดตน้ ทุนในการบรหิ ารจดั การ
และความรวดเรว็ ของการตอบสนองในภาวะฉกุ เฉนิ
ค่มู อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 135
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
ความตอ้ งการและความคาดหวัง อาจได้มาดว้ ย
วธิ ีการสอบถามโดยตรงจากผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้
สว่ นเสยี หรืออาศัยกระบวนการเชงิ ลึก เช่น การสมั ภาษณ์
เพื่อท�ำ ความเขา้ ใจ การสังเกตพฤตกิ รรมและเสน้ ทาง
(Journey) ของผู้รับบริการและผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย
เป็นต้น
สารสนเทศของผู้รับบริการ “สารสนเทศผ้รู ับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี ”
และผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย หมายถึง ขอ้ มูลทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ผรู้ บั บริการและ
ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียท่ผี ่านกระบวนการวิเคราะหเ์ พือ่
น�ำ ไปส่กู ารตัดสินใจ กระบวนการในการคน้ หา
สารสนเทศท่เี กยี่ วกับผ้รู บั บริการและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี
เปน็ การด�ำ เนนิ การเชงิ รกุ เพ่อื ใหส้ ามารถเข้าใจความตอ้ งการ
ความคาดหวัง และความปรารถนาของผ้รู บั บริการ
และผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ทงั้ ทีช่ ัดเจนและไม่ชัดเจน
รวมถึงทค่ี าดการณไ์ ว้ โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ใหผ้ ู้รับบริการ
และผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี เกดิ ความผูกพนั
การเลอื กวธิ ีในการรวบรวมสารสนเทศของผู้รบั บรกิ าร
และผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียขน้ึ อย่กู ับสถานการณ์ความเหมาะสม
โดยเฉพาะอย่างย่งิ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื สงั คม
ออนไลน์ (Social Media) ได้เข้ามามบี ทบาทมากขนึ้
กบั สังคมในปจั จบุ นั ท�ำ ให้การไดม้ าซ่ึงสารสนเทศ
ของผูร้ ับบริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียมวี ิธกี ารทีห่ ลากหลาย
รวดเรว็ และเข้าถงึ ไดง้ า่ ยมากยิ่งข้ึน หรือการวิเคราะห์
สารสนเทศของผรู้ บั บริการและผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย
ในประเด็นต่าง ๆ เปรียบเทยี บกบั คแู่ ขง่ หรือส่วนราชการ
อ่นื ทีใ่ หบ้ รกิ ารในลักษณะเดียวกัน เป็นตน้
136 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
การจำ�แนกกลมุ่ ผู้รับบรกิ าร การจำ�แนกกลุม่ ผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี
และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี เปน็ วธิ ีการเพือ่ ใหไ้ ดร้ บั สารสนเทศเกยี่ วกบั กลมุ่ และ
ประเภทของผ้รู ับบริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี แต่ละกลมุ่
ทัง้ ในอดีต ปัจจบุ ัน และอนาคต ซึ่งจะชว่ ยให้
สว่ นราชการสามารถจัดผลผลิตและบรกิ าร รวมท้งั
การสนบั สนุนและก�ำ หนดยทุ ธศาสตร์ใหเ้ หมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการแต่ละกล่มุ สร้างวัฒนธรรม
ในกล่มุ ผปู้ ฏิบตั งิ านทมี่ ุง่ เนน้ ผู้รับบริการและผู้มสี ว่ นได้
ส่วนเสยี มากขนึ้ สร้างผลผลติ การบรกิ ารและ
ชอ่ งทางใหม่ ๆ สร้างภาพลกั ษณ์ท่ีดีและความเช่อื มน่ั
ให้แกผ่ ู้รับบริการและผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย ท�ำ ให้ม่นั ใจ
ไดว้ า่ ส่วนราชการจะมีความยัง่ ยนื
การจ�ำ แนกกลุ่มผู้รบั บรกิ าร สว่ นราชการอาจ
พจิ ารณาการแบ่งกลมุ่ ผู้รบั บรกิ ารตามลกั ษณะของผลผลิต
หรอื การบริการ ชอ่ งทางการใหบ้ รกิ าร/จัดจ�ำ หน่าย
ปริมาณ ผู้รบั บรกิ าร มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ พืน้ ท่ี
ทางภมู ศิ าสตร์ ความต้องการและความคาดหวัง
พฤตกิ รรม ความนยิ ม หรือลักษณะทเี่ หมือนกัน
ในแตล่ ะกลมุ่ หรอื ปจั จยั อ่นื ๆ เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารออกแบบ
ผลผลติ บริการ และกระบวนการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้อง
กับความต้องการของแต่ละกลมุ่ หรือบคุ คล
ผู้รับบริการในปจั จุบัน/ ผู้รับบรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในอนาคต
อนาคต มคี วามหมายครอบคลมุ ดังนี้ 1) กลุ่มทีไ่ มเ่ คยใชบ้ ริการ
2) กลมุ่ ทใ่ี ช้บรกิ ารในผลผลติ และบริการในรปู แบบ
เดยี วกันแต่ใช้บริการจากหนว่ ยงานอนื่ และ
3) กลมุ่ ท่เี คยใช้บรกิ ารแตเ่ ลกิ ใช้บรกิ ารไปแล้ว
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 137
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี “ผู้รบั บริการและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียที่พึงมใี นอนาคต”
ความพงึ พอใจ/ หมายรวมถงึ ผ้รู บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ท่ีเลกิ
ความผกู พัน มาใชบ้ ริการ ผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียทีอ่ าจ
มขี นึ้ ในอนาคต ผู้รบั บริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี
ท่เี ลือกจะไม่มาใชบ้ ริการแตส่ มัครใจไปใช้บรกิ ารของ
หน่วยงานอ่นื ตวั อยา่ งเช่น การท่องเที่ยว มีนกั ท่องเท่ียว
ตา่ งชาตบิ างกลุ่มทเี่ คยนิยมมาแตล่ ดหายไป นักท่องเทยี่ ว
ในบางกลุ่มท่ยี ังไมเ่ คยมา และนักท่องเที่ยวทน่ี ยิ มไปยงั
ประเทศเพอื่ นบ้านแต่ไมน่ ยิ มมาประเทศไทย ดังนัน้
สว่ นราชการด้านการทอ่ งเท่ยี วต้องนำ�ขอ้ มูลนกั ทอ่ งเที่ยว
ทุกกลมุ่ ดังกลา่ วมาวิเคราะห์ประกอบการพิจารณา
เพอ่ื คน้ หารปู แบบการบริการใหม่ ๆ การแกไ้ ขปัญหา
และยุทธศาสตรเ์ พอื่ ใหไ้ ด้กลุม่ เป้าหมายใหม่ รวมท้งั
เพื่อสรา้ งความพึงพอใจย่ิงข้ึน
“ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ” หมายถงึ ผทู้ ่ีไดร้ ับผลกระทบ
จากการดำ�เนินงานของสว่ นราชการทงั้ ทางบวกและทางลบ
ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม จากการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงาน
เชน่ ประชาชน ชมุ ชนในท้องถนิ่ บุคลากรในสว่ นราชการ
ผูส้ ่งมอบงาน รวมท้ังผ้รู ับบรกิ ารดว้ ย
“ความผกู พนั ” หมายถงึ การสนบั สนุนของผรู้ บั
บรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี หรอื ความศรัทธาทม่ี ตี อ่
ส่วนราชการ โดยอาจแสดงออกดว้ ยการมาใชบ้ ริการ
อย่างตอ่ เนื่อง ความเตม็ ใจในการใหค้ วามร่วมมือ
ของผู้รับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ในกิจการของ
สว่ นราชการ การให้ขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ประโยชน์
กบั สว่ นราชการ รวมทงั้ การกลา่ วขวญั ถึงในทางท่ดี ี
138 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
การทำ�ให้ผู้รบั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เกดิ ความผกู พันเปน็ การดำ�เนินการในเชงิ กลยทุ ธ์
โดยมเี ป้าหมายเพ่อื สรา้ งความเช่ือม่นั จนถึงระดบั
ทีผ่ ูร้ ับบริการและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ใหก้ ารสนับสนุนปกปอ้ ง
และใหค้ วามรว่ มมอื กับส่วนราชการอย่างเต็มท่ี
การจะสรา้ งเชือ่ ม่นั ในระดบั ดงั กล่าวต้องอาศัย
ผปู้ ฏิบัติงานทมี่ วี ฒั นธรรมที่มุ่งเน้นผู้รบั บรกิ ารและ
ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียโดยอยู่บนพ้นื ฐานของความเข้าใจ
อย่างถอ่ งแท้เก่ียวกับพนั ธกจิ ของสว่ นราชการ เหตุผล
ในการดำ�รงอยูข่ องสว่ นราชการ คุณค่าที่สว่ นราชการ
สง่ มอบต่อผรู้ ับบรกิ าร ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียและสังคม
พฤตกิ รรมและความชอบของผรู้ บั บรกิ ารและผ้มู ีส่วนได้
ส่วนเสีย
กลยทุ ธ์ดา้ นความสัมพนั ธก์ บั ผู้รับบริการและ
ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี แต่ละกลยุทธ์ อาจใช้ได้ผลกบั
ผ้รู บั บริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียบางกลุ่มแตไ่ ม่ไดผ้ ล
กบั บางกลมุ่ ดังนนั้ กลยทุ ธ์ท่สี ว่ นราชการใช้อาจตอ้ ง
แตกตา่ งกนั สำ�หรับผู้รบั บริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
แต่ละกลุ่ม แต่ละเปา้ หมาย และในแต่ละช่วงท่มี ี
ความสมั พนั ธ์กบั ส่วนราชการ
ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ประสทิ ธิภาพของการจดั การข้อร้องเรียน
ของการแก้ไขขอ้ งร้องเรยี น พจิ ารณาได้จากประสิทธิภาพของกระบวนการ
อนั ได้แก่ ชอ่ งทางทผี่ ู้ร้องเรียนสามารถเข้าถึงได้
อยา่ งสะดวกการตอบสนองข้อรอ้ งเรยี นอย่างรวดเร็ว
การตดิ ตามความคบื หน้าของการด�ำ เนนิ การ เปน็ ต้น
คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 139
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
มาตรฐานในการจัดการ ประสทิ ธผิ ลของการจัดการขอ้ ร้องเรยี น พจิ ารณา
ข้อรอ้ งเรียน ไดจ้ ากการแกไ้ ขปัญหาให้กับผรู้ ้องเรยี น ลดขอ้ ร้องเรียนซ้ำ�
ลดขอ้ ร้องเรียนโดยรวม และสร้างความเชอ่ื ม่ัน
แก่ผูร้ ับบริการ เปน็ ต้น
วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั การขอ้ ร้องเรยี นตาม
มาตรฐาน ISO 10012:2004 มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื
- การเพมิ่ ความพงึ พอใจของลูกคา้ โดยม่งุ เนน้ ให้
ความส�ำคญั ตอ่ ลูกค้า
- การมสี ่วนรว่ มของผบู้ ริหารระดับสูงในการแสดง
ความมงุ่ มั่นและสนบั สนนุ ทรพั ยากรตอ่ การจดั การ
ขอ้ รอ้ งเรียนลูกคา้
- เพือ่ สามารถเขา้ ถงึ ความตอ้ งการและความคาดหวงั
ของลูกคา้ เพ่อื ให้กระบวนการจดั การข้อร้องเรยี นลกู ค้า
มีประสทิ ธิผลสูงสดุ
- เพอื่ วิเคราะห์และประเมินการจดั การขอ้ ร้องเรียนลกู ค้า
เพ่อื การปรับปรงุ คณุ ภาพผลิตภณั ฑ์และการบริการ
- การตรวจประเมินระบบการจัดการข้อร้องเรียนลูกค้า
- การทบทวนความมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
ของการจดั การข้อรอ้ งเรยี น
“มาตรฐานในการจัดการข้อรอ้ งเรียน” หมายถึง
ชอ่ งทาง ขน้ั ตอนการดำ�เนนิ การ กรอบระยะเวลา
ผู้ทร่ี บั ผิดชอบท่ีเกี่ยวข้องกบั การจัดการขอ้ รอ้ งเรยี น
ท่ปี ระกาศให้ผรู้ ับบริการและบุคลากรทราบอยา่ งชดั เจน
140 ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
ตัววัด “ตวั วดั และตวั ชวี้ ดั ” หมายถึง สารสนเทศ
เชงิ ตัวเลขที่บอกจ�ำ นวนปัจจัยนำ�เข้าผลผลติ
และผลการด�ำ เนินการของกระบวนการ ผลผลิตและบริการ
แผนงานโครงการ และผลการดำ�เนินการขององคก์ ร
โดยรวม ตัววัดและตวั ช้ีวัดอาจเปน็ แบบไม่ซบั ซอ้ น
(ไดจ้ ากการวัดแต่ละครั้ง) หรือแบบหลายตวั ประกอบกัน
ตัววดั และตวั ช้วี ัดของหนว่ ยงานอาจจ�ำ แนกได้
ตามระดับและโครงสรา้ ง การบรหิ ารงานขององค์กร
ดงั นี้ 1) ตวั ช้ีวัดหลกั ระดบั องค์การ (organization
indicators) 2) ตัวช้ีวัดหลักในระดบั หน่วยงาน
(Department indicators) และ 3) ตัวช้ีวัดในระดับ
รายบุคคล (Department indicators) นอกจากการจ�ำ แนก
ในมติ ดิ งั กลา่ วขา้ งต้นแล้ว อาจมกี ารจำ�แนกตัวชี้วดั
ตามรูปแบบอ่ืน ๆ เช่น ตวั ชว้ี ัดแผนงาน/โครงการ
ตัวชวี้ ัดความส�ำ เรจ็ ของทมี ข้ามสายงาน เปน็ ต้น
สะดวก เขา้ ถึงง่าย “ความสะดวก เขา้ ถงึ งา่ ย และพรอ้ มใชง้ านของ
พรอ้ มใชง้ านของสารสนเทศ สารสนเทศ” หมายถงึ การจดั การสารสนเทศให้ผใู้ ชข้ ้อมลู
สามารถเขา้ ถึงไดง้ ่ายท้ังในด้านการค้นหา เข้าถงึ และ
ใช้งานได้หลากหลายชอ่ งทาง และสามารถน�ำ สารสนเทศ
ไปใช้ประโยชนไ์ ดโ้ ดยต้องจัดการสารสนเทศให้มีรปู แบบ
ท่ีผ้ใู ชง้ านสามารถน�ำ ไปใชง้ านต่อไดต้ รงตามความตอ้ งการ
บทเรียน “บทเรียน” (Lesson learned) หมายถึง
บทสรุปหรือข้อค้นพบทีไ่ ดร้ ับจากกระบวนการทำ�งาน
เปน็ การอธบิ ายถึงผลการท�ำ งานท่ีเกดิ ขน้ึ และปจั จัย
เงื่อนไขทสี่ ำ�คัญท่ที �ำ ให้เกดิ ผลดงั กล่าว บทเรยี น
เป็นไดท้ ั้งดา้ นความสำ�เร็จและความลม้ เหลว ซ่ึงจะน�ำ ไปสู่
การจดั การความรู้และนวัตกรรมขององค์การ รวมถงึ
การปอ้ งกนั การกระท�ำ ท่ีผดิ พลาด
คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 141
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
คู่เทียบ คู่แขง่ ขัน
เทคโนโลยี/เทคโนโลยี คเู่ ทยี บ/คู่แข่งขนั คอื องคก์ ารที่เปน็ เลศิ
ดิจิทัล หรอื มผี ลการด�ำ เนินการทีด่ ีในกจิ กรรมที่คล้ายคลึงกันท้งั ใน
และนอกอตุ สาหกรรมเดียวกนั ในกรณีของส่วนราชการ
อยา่ งเป็นระบบ อาจพิจารณาหนว่ ยงานท่มี ีลักษณะหรือรูปแบบ
การด�ำ เนนิ งานที่ใกล้เคยี งกนั หรือพจิ ารณาจากระบวนงาน
ทค่ี ลา้ ยคลึงกัน ซ่งึ อาจจะเป็นหนว่ ยงานภายในประเทศ
หรือตา่ งประเทศ
เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เป็นองค์ประกอบทีส่ �ำ คัญ
ในการปรับเปลี่ยนภาครฐั สกู่ ารเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั
โดยมุ่งเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ในกระบวนการท�ำ งาน
และการให้บรกิ ารภาครฐั เพ่ือให้เกิดการปฏิรปู
กระบวนการท�ำ งานและขั้นตอนการให้บริการใหม้ ี
ประสิทธภิ าพถกู ต้อง รวดเร็ว อ�ำ นวยความสะดวกให้
ผใู้ ชบ้ รกิ าร สรา้ งบริการของภาครฐั ท่มี ีธรรมาภิบาล
และสามารถใหบ้ รกิ ารประชาชนแบบเบด็ เสร็จ ณ จดุ เดียว
ผา่ นระบบเชื่อมโยงขอ้ มลู อัตโนมตั ิ การเปดิ เผยขอ้ มลู
ของภาครัฐทีไ่ มก่ ระทบต่อสิทธิส่วนบุคคลและความมั่นคง
ของชาติ ผ่านการจดั เก็บ รวบรวม และแลกเปลีย่ น
อย่างมมี าตรฐานให้ความสำ�คัญกบั การรักษาความมนั่ คง
ปลอดภัยไซเบอรแ์ ละข้อมลู รวมไปถงึ การสรา้ งแพลตฟอรม์
การใหบ้ รกิ ารภาครัฐ เพื่อใหภ้ าคเอกชนหรือนกั พัฒนา
สามารถนำ�ข้อมูลและบริการของภาครฐั ไปพฒั นาต่อยอด
ใหเ้ กดิ นวตั กรรมบริการและสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ระบบ
เศรษฐกิจต่อไป
อย่างเปน็ ระบบ อาจมองในความหมายของค�ำ วา่
“มุมมองในเชิงระบบ” ซ่งึ หมายถึง การจัดการ
กับองคป์ ระกอบทุกสว่ นขององคก์ ารให้เป็นหนงึ่ เดียว
142 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
เพื่อบรรลุพันธกิจ ความส�ำ เรจ็ อย่างตอ่ เนือ่ ง
และผลการดำ�เนินการท่ีเป็นเลิศ การจัดการผลการดำ�เนนิ การ
โดยรวมขององค์การจะประสบความส�ำ เรจ็ ได้
ต้องอาศัยการตระหนกั รูว้ า่ องค์การเป็นระบบท่มี ี
การปฏิบัตกิ ารที่เชอ่ื มโยงกัน การสังเคราะห์
ในประเดน็ เฉพาะของแต่ละองค์การ ความสอดคลอ้ งไป
ในแนวทางเดยี วกนั และการบรู ณาการเปน็ ส่ิงท่ที �ำ ให้
ระบบประสบความส�ำ เร็จ
“การสงั เคราะห”์ (synthesis) หมายถงึ
การมองภาพรวมขององค์การโดยใช้ความต้องการ
ทส่ี �ำ คัญของธรุ กจิ รวมถึงสมรรถนะหลกั ขององค์การ
วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์ แผนปฏบิ ัติการ ระบบงาน
และความต้องการของบุคลากรมารว่ มกัน
“ความสอดคลอ้ งไปในแนวทางเดียวกัน”
(Alignment) หมายถงึ การปฏิบัตทิ ่เี กี่ยวเนื่องกนั
ระดับองค์การเพอื่ ทำ�ให้มน่ั ใจวา่ แผนงาน กระบวนการ
ตัววดั และการปฏิบัติการต่าง ๆ มีความสอดคล้อง
ไปในแนวทางเดยี วกนั
“การบรู ณาการ” (Integration) เปน็ การตอ่ ยอด
จากความสอดคลอ้ งไปในแนวทางเดียวกนั
เพ่อื ให้องค์ประกอบแต่ละสว่ นของระบบการจดั การ
ผลการดำ�เนินการขององค์การมีการปฏิบัตกิ าร
อย่างเช่ือมโยงกนั เตม็ ที่แบบครบวงจรและเป็นประโยชน์
ร่วมกันเพื่อใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ทีต่ ้องการ
ความต้องการ (Requirement) ความตอ้ งการสารสนเทศ เปน็ กระบวนการ
ของกลุม่ เป้าหมาย
หรอื ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติเพือ่ ใหไ้ ดม้ าซึง่ สารสนเทศที่
(ด้านข้อมูล)
ตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 143
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย
ประเมนิ สภาพก�ำ ลังคน
ความตอ้ งการสารสนเทศ อาจมีท่มี าไดจ้ าก
1) ตอบสนองความอยากรู้ดา้ นข้อมลู 2) สนับสนนุ
การตัดสินใจ 3) นำ�ไปใช้แก้ไขปัญหา 4) การศกึ ษา
และพฒั นา 5) การค้นควา้ และวิจยั 6) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
การปฏบิ ตั งิ าน
ลกั ษณะของสารสนเทศท่ีตอบสนองความตอ้ งการ
ประกอบด้วยคณุ สมบัติหลัก ไดแ้ ก่ เป็นประโยชน์
สอดคลอ้ งกับความต้องการ สะดวก ถูกตอ้ ง ครบถว้ น
และอยู่ในรูปแบบทน่ี �ำ ไปใช้ประโยชน์ต่อได้
การประเมนิ สภาพกำ�ลังคน เป็นขน้ั ตอน
เพือ่ น�ำ ไปส่กู ารพฒั นากลยทุ ธก์ ารบริหารก�ำ ลังคน
ข้ันตอนการวิเคราะหแ์ ละกำ�หนดกลยทุ ธ์ก�ำ ลงั คน
ประกอบไปด้วยขน้ั ตอนทีส่ �ำ คัญ 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่
1) การวเิ คราะหอ์ ปุ สงคก์ �ำ ลังคน (Demand Analysis)
คอื การวเิ คราะหค์ วามต้องการอตั ราก�ำ ลังในอนาคต
โดยวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกองคก์ าร
ในดา้ นต่าง ๆรวมถึงวเิ คราะหค์ วามต้องการกำ�ลังคน
และงานในอนาคตขององค์กรในดา้ นภารกิจ/งานท่ตี ้อง
ด�ำ เนินการ จำ�นวนคน ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ
ทต่ี อ้ งใช้ 2) การวิเคราะห์อุปทานกำ�ลงั คน (Supply
Analysis) คอื การวิเคราะหส์ ภาพก�ำ ลังคนทม่ี ีอยู่
ในปัจจบุ นั ในด้านกำ�ลงั คนท่ีมีอยู่ การเคลอ่ื นไหวของ
กำ�ลังคน การสูญเสียก�ำ ลงั คน และกำ�ลังคนสำ�รอง
ที่องค์การมีอยใู่ นปจั จุบนั 3) การวิเคราะห์ส่วนตา่ ง
กำ�ลงั คน (Gap Analysis) คือ การเปรียบเทยี บกำ�ลังคน
ทต่ี ้องการในอนาคตกบั สภาพกำ�ลังคนทมี่ ีอยูใ่ นปจั จุบัน
เพอื่ วิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บ
144 คูม่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย
และหาส่วนต่างทง้ั ในมติ ิของส่วนที่ขาดและสว่ นท่ีเกิน
รวมถงึ ในมิตขิ องจ�ำ นวนและความรู้ ความสามารถ
4) การพัฒนากลยุทธ์การบรหิ ารก�ำ ลังคน (Strategic
Development) คือ ข้นั ตอนของการพฒั นากลยทุ ธ์
เพ่ือแก้ไขปัญหาดา้ นก�ำ ลังคนทงั้ ในสว่ นท่ขี าดและ
ส่วนทเี่ กินผ่านกลยุทธ์ ในด้านตา่ ง ๆ เช่น การสรรหา
พัฒนา วางแผนการทดแทน การสับเปล่ียนหมนุ เวยี น
หรอื โยกย้าย เปน็ ต้น
บรหิ ารจดั การดา้ นบคุ ลากร การบรหิ ารจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Rsource
Management : HRM) คือ กลยทุ ธต์ ลอดจนกระบวนการ
ในการจดั การบุคลากรในองคก์ รตามมติ ิต่าง ๆ เพือ่ ให้
บุคลากรสามารถดำ�เนินการทำ�งานตามหนา้ ท่ขี องตน
ให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ และเกิดปัญหาใหน้ ้อยทีส่ ดุ
รวมถึงการพัฒนาให้บุคลากรมีศกั ยภาพเพ่ิมข้ึน
เพ่ือการปฎบิ ัตงิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพย่งิ ขึ้นและ
เพ่อื ความสำ�เรจ็ ขององคก์ รทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ดว้ ย
ในมิติของบริการทรัพยากรบุคลากรภาครฐั
สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น
(ส�ำ นกั งาน ก.พ.) ได้เลง็ เหน็ ถึงประเดน็ ท่เี ร่งด่วน
ท่ตี ้องมกี ารปฏิรูประบบการบริหารทรพั ยากรบุคคล
ภาครัฐใหเ้ ปน็ กลไกขับเคล่ือนการปฏิรปู ภาครัฐ
โดยเฉพาะประเดน็ ที่สำ�คญั อาทิ ขนาดอัตราก�ำ ลงั
และต้นทนุ คา่ ใชจ้ า่ ยของบคุ ลากรที่สงู รปู แบบการ
ท�ำ งานที่ไมส่ อดรับกับรูปแบบวิถีชวี ติ ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป
ขดี ความสามารถของบคุ ลากรภาครัฐทไี่ ม่ทัน
ต่อรปู แบบใหม่ของการทำ�งาน และระบบการบรหิ ารงาน
ทรัพยากร บุคคลท่แี ข็งตัว ไมย่ ืดหย่นุ ไม่สอดรับกบั ทศิ ทาง
ค่มู ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 145
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย
อัตรากำ�ลงั
การขับเคลอ่ื นระบบราชการในอนาคต เป็นตน้ สำ�นักงาน
ก.พ. จึงไดก้ ำ�หนดเป้าหมายภารกจิ ทส่ี �ำ คัญ
ในการปฏิรปู ทิศทางและระบบการบริหารทรัพยากร
บคุ คลภาครฐั ประกอบดว้ ย 1) การท�ำ ให้ขนาด
และต้นทนุ ดา้ นบุคลากรภาครัฐอยู่ในระดับที่เหมาะสม
(Size and Cost) เพ่อื ประสิทธภิ าพในการบริหาร
และพัฒนาประเทศ 2) การสรา้ งนวตั กรรมด้านการบรหิ าร
ทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั ปรบั ปรงุ ระบบ กลไก และ
สรา้ งมาตรฐานกลางใหม้ ีความยืดหยนุ่ คล่องตัว
เหมาะสมกบั บรบิ ทการบริหารราชการ 3) มีการพัฒนา
คณุ ภาพงานและคณุ ภาพชีวติ ของบุคลากรภาครฐั
ที่เน้นการสร้างประสบการณท์ ีด่ ใี นการท�ำ งาน
(Employee Experience) สอดรับกับวิถชี ีวติ
และความตอ้ งการของบุคลากรภาครฐั แตล่ ะคน และ
4) การปรับปรงุ โครงสร้างหนว่ ยงานด้านการบริหาร
ทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั
“อตั รากำ�ลงั บคุ ลากร” หมายถึง ความสามารถ
ของสว่ นราชการท่ีทำ�ใหม้ ่ันใจว่ามีจำ�นวนบคุ ลากรใน
แต่ละระดบั ขององค์การมีจำ�นวนทเ่ี พียงพอ
ในการปฏิบตั งิ านเพอ่ื สง่ มอบผลผลติ และการบรกิ าร
ทด่ี ีให้ผ้รู บั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ได้สำ�เรจ็
รวมท้ังความสามารถในการจัดการระดบั บุคลากรท่ี
เปล่ียนแปลงตามภาระงานในแต่ละชว่ งเวลาหรือระดับ
ความต้องการท่ีหลากหลาย
146 คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
ขดี ความสามารถ
“ขดี ความสามารถของบุคลากร” หมายถงึ
บรรยากาศและสภาพ ความสามารถของบคุ ลากรในสว่ นราชการในการบรรลุ
แวดลอ้ มในการทำ�งาน ผลส�ำ เร็จของกระบวนการท�ำ งานดว้ ยความรู้ ทักษะ
ความสามารถ และสมรรถนะของบุคลากร
ขีดความสามารถ อาจรวมถงึ ความสามารถในการสรา้ ง
และรกั ษาความสัมพันธก์ บั ผู้รบั บริการและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี
การสร้างนวตั กรรมและการปรับเปลี่ยนสู่เทคโนโลยีใหม่
การพัฒนาผลผลิต การบรกิ าร และกระบวนการท�ำ งานใหม่
การตอบสนองตอ่ ความต้องการของผ้รู บั บรกิ ารและ
ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี และกฎระเบยี บ ขอ้ บังคับที่
เปลยี่ นแปลงไป
การคาดการณค์ วามต้องการด้านขีดความสามารถ
และอตั รากำ�ลังในอนาคตจะช่วยให้องค์การมีเวลา
ในการเตรียมการเพ่ือการฝกึ อบรม สรรหา จ้าง หรอื
โยกย้าย เพ่อื ใหอ้ งค์การมีอตั ราก�ำ ลังและทกั ษะท่เี หมาะสม
ของบคุ ลากร เป็นสิ่งทีส่ �ำ คัญอย่างยิง่ ตอ่ ความสำ�เรจ็
ขององค์การ
บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งานทีด่ ี
เปน็ สงิ่ สำ�คญั ท่มี ีผลต่อประสิทธิภาพของบคุ ลากร
และการสรา้ งความผกู พนั ของบุคลากร ท�ำ ให้บุคลากร
ท�ำ งานอย่างดที ่ีสดุ เพอื่ ผลประโยชนข์ องผู้รับบริการ
และผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสียและความสำ�เร็จของส่วนราชการ
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 147
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
ทีมสหสาขา
บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ ม อาทิ เช่น
โครงสรา้ งองคก์ าร โครงสรา้ งทางการบริหาร
โครงสร้างทางกฎหมาย สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ
และสภาพแวดลอ้ มทางจติ วทิ ยา รวมถึงระบบการบรหิ าร
และพัฒนาทรพั ยากรบุคคลภาครฐั ตอ้ งได้รับการพฒั นา
และปรับปรงุ เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้เกิดการเรียนรู้
และพฒั นาทไ่ี ม่แยกตวั ออกจากระบบการบริหารองค์การ
การปฏบิ ตั ิงานและการบริหารทรพั ยากรบคุ คลในภาพรวม
ส่วนราชการท่มี ผี ลการดำ�เนินการที่ดี สว่ นใหญ่
ใช้สิ่งจงู ใจทงั้ ท่ีเป็นตวั เงนิ และไม่เป็นตัวเงิน โดยพจิ ารณา
จากปัจจัยบรรยากาศและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
เชน่ ผลการด�ำ เนนิ การของส่วนราชการ สิ่งทีบ่ คุ คล
และกลุม่ ท�ำ ใหอ้ งค์การ และการเพ่ิมทักษะ นอกจากนี้
กระบวนการท�ำ งานทใ่ี หผ้ ลการดำ�เนินการทีด่ ี
ต้องพยายามทำ�ให้โครงสรา้ งส่วนราชการ สมรรถนะหลกั
ขององค์การ (Core Competencies) ลกั ษณะงาน
การพฒั นาบคุ ลากร และการให้ส่ิงจูงใจ มีความสอดคลอ้ ง
ไปในแนวทางเดยี วกัน
“ทีมสหสาขา” หมายถึง การรวมกันของกลุม่ บคุ คล
ทมี่ ีความรู้ ทักษะ และความสามารถเฉพาะด้าน
ทีแ่ ตกต่างกนั มาท�ำ งานรว่ มกนั เพ่อื มงุ่ แกไ้ ขปญั หารว่ มกนั
อย่างมรี ะบบและเปน็ กระบวนการโดยอยูบ่ นพ้ืนฐาน
ของเป้าหมาย และวัตถปุ ระสงคเ์ ดียวกนั ในการปฏิบัติงาน
โดยจะมีการตดิ ตอ่ สือ่ สารระหวา่ งกันอยา่ งต่อเน่อื ง
เพื่อการประเมนิ สภาพการณ์ของปัญหาและ
มคี วามรับผดิ ชอบร่วมกนั ทง้ั กระบวนการ
148 ค่มู ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
คำ�ศัพท์ คำ�อธบิ าย
รปู แบบการท�ำ งานร่วมกัน การทำ�งานเป็นทมี เปน็ การทำ�งานรว่ มกนั ของ
สมาชกิ มากกวา่ 1 คน เพื่อวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมาย
รว่ มกันและอาศัยทกั ษะและประสบการณท์ ่ีหลากหลาย
เพอ่ื ส่งเสรมิ กนั ในทางบวกและเพอื่ ให้เกิดประสทิ ธิภาพ
และประสิทธิผลมากขนึ้ นอกจากนน้ั การทำ�งานเปน็ ทีม
จะมคี วามยดื หยนุ่ รองรบั กบั สถานการณท์ เ่ี ปลยี่ นแปลง
ไปได้อยา่ งรวดเรว็ และทนั การณ์
การท�ำ งานเป็นทีมจะท�ำ ให้สมาชกิ เกดิ ความรูส้ ึก
มีสว่ นรว่ มและเป็นส่วนหน่ึงของงาน เกดิ การแลกเปล่ียน
เรยี นรูร้ ว่ มกันในทีมงานและสร้างความสมั พันธร์ ะหวา่ งกัน
แนวคดิ การท�ำ งานรปู แบบใหม่ท่ีได้รับการกลา่ วถึง
อยา่ งมาก คือ แนวคิดการทำ�งานแบบ Agile
ซงึ่ การทำ�งานรว่ มกนั เป็นทีมเปน็ องคป์ ระกอบท่สี ำ�คญั
ประการหนง่ึ ของการท�ำ งานแบบ Agile ทีเ่ นน้ ความรวดเรว็
ในการขบั เคลอื่ นงานลดขน้ั ตอนท่ีไมจ่ �ำ เป็นเน้นการปรับตวั
พร้อมรบั ความเปล่ยี นแปลงและยอมรบั ความผิดพลาด
วฒั นธรรมองคก์ าร “วัฒนธรรมองค์การ” (Organization Culture)
หมายถงึ การกระท�ำ ค่านิยม ความเช่ือ เจตคติ
อดุ มการณข์ องสมาชกิ ในองค์การ รวมถงึ พฤตกิ รรม
ทม่ี ีการปฏบิ ตั ิกนั อยา่ งสมำ่� เสมอเป็นบรรทดั ฐาน
ของกลมุ่ ทค่ี าดหวังหรือสนับสนนุ ให้สมาชิกปฏบิ ตั ิตาม
และเปน็ เสมือน “บุคลกิ ภาพ” หรอื “จิตวญิ ญาณ”
ขององคก์ าร ซ่ึงท�ำให้องค์การหนง่ึ แตกต่างจากองค์การ
อน่ื ๆ
คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 149
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค