Basic Advance Significance
B2: สอื่ สารถา่ ยทอด A2: น�ำเทคโนโลยีดิจทิ ลั S3: คาดการณ์
แผนปฏิบตั กิ ารไปสบู่ คุ ลากร หรือนวตั กรรม เขา้ มา ความเปลี่ยนแปลง
ภายในและหนว่ ยงานภายนอก ใช้กบั แผนปฏิบัติการ ทจี่ ะเกิดขน้ึ และส่งผลต่อ
ทมี่ คี วามเก่ยี วขอ้ งอยา่ ง ในการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ แผนปฏิบตั ิการของ
ครอบคลมุ และปรบั ปรุงการให้บริการ สว่ นราชการ
การด�ำเนนิ งาน การลด S4: สร้างความสัมพันธแ์ ละ
ต้นทุน ลดข้อผิดพลาด ปรบั กลไก แผน/งบประมาณ
และการท�ำงานซ้ำ� ให้เกดิ การบรู ณาการ
โดยยึดพ้ืนทเี่ ปน็ หลกั
[ระดบั จงั หวดั ]
RB1 : แผนปฏิบตั ิการ RA1: แผนปฏบิ ัตกิ าร RS1: เครือข่ายภายใน
ท่รี องรับยทุ ธศาสตรแ์ ละ ท่ีเนน้ การเกิดประสทิ ธิภาพ และภายนอกมสี ่วน
ครอบคลมุ ทุกสว่ นงาน (การท�ำน้อยไดม้ าก) และ ในกลไกการขับเคลื่อน
อยา่ งชดั เจนและครอบคลมุ ค�ำนงึ ถงึ การสรา้ งคุณคา่ การดำ�เนนิ งานตามแผน
RB2: บคุ ลากรภายใน แกป่ ระชาชน (Public ให้เกดิ ความส�ำ เร็จ
และหนว่ ยงานภายนอก value) RS2: ประสิทธผิ ลของ
ที่เก่ียวข้องกับแผนปฏบิ ตั กิ าร แผนปฏิบตั ิการที่มีการใช้
มีความเข้าใจในแผน ทรัพยากรด้านต่าง ๆ
ปฏิบัตกิ ารและสามารถ ร่วมกบั เครือข่าย
ปฏบิ ตั ติ ามแผนงาน ท้ังภายในและภายนอก
ที่ก�ำ หนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
50 คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
2.4 การติดตามผลการแกไ้ ขปัญหา และการรายงานผล
ระบบและกลไกการตดิ ตามและรายงานผล
การวิเคราะห์และคาดการณผ์ ลการด�ำ เนนิ งาน
การคาดการณผ์ ลการดำ�เนนิ งาน
การคาดการณ์เป้าหมายผลการดำ�เนนิ การควรแสดงใหเ้ ห็นภาพ
อย่างชัดเจน โดยอาจจัดท�ำ ในรปู กราฟฟกิ ทีแ่ สดงแนวโนม้ ผลการ
ด�ำ เนินการทผ่ี า่ นมา 3 ปี หรอื อาจเทยี บผลการด�ำ เนินการของ
คู่เปรยี บเทียบและนำ�ผลการคาดการณ์มาวิเคราะหแ์ นวโน้ม เพื่อมา
ก�ำ หนดเป้าหมายการดำ�เนนิ การในอนาคต สามารถด�ำ เนนิ การดังนี้
1) การก�ำ หนดตวั ชี้วดั ทสี่ ำ�คญั ทใี่ ชใ้ นการตดิ ตาม
ความกา้ วหนา้ ของแผนปฏบิ ตั กิ าร โดยตัวชี้วดั ทกี่ ำ�หนดแตล่ ะ
แผนปฏบิ ตั ิการควรเปน็ ตวั ช้ีวัดทแี่ สดงให้เห็นถึงความสอดคลอ้ ง
ตอ่ ความสำ�เรจ็ ขององค์การและเชือ่ มโยงถึงระดับผ้ปู ฏิบัติ
โดยครอบคลุมกระบวนงานหลัก ซึ่งส่งผลถึงผู้รบั บริการและผมู้ สี ่วนได้
ส่วนเสียท้ังหมด
2) เม่อื ได้เปา้ ประสงค์และตวั ชวี้ ัดในระดับองค์การแล้ว
จะตอ้ งมกี ารแปลงเป้าประสงคแ์ ละตวั ชี้วดั เหลา่ นัน้ ไปสเู่ ปา้ ประสงค์
และตวั ชีว้ ัดของแต่ละหน่วยงานและถงึ ระดบั บคุ คลในทีส่ ุด เพอื่ ใหเ้ กิด
การถา่ ยทอดยุทธศาสตรแ์ ละเป้าประสงคล์ งสูท่ ุกระดับในองค์การ
และเกดิ ระบบในการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านท่ีสอดคล้องเช่อื มโยง
กับยุทธศาสตร์และสอดคล้องไปในทศิ ทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร
คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 51
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
3) การถา่ ยทอดตวั ชีว้ ัดและเป้าหมายระดบั องคก์ ร
ส่รู ะดบั บุคคล (Individual Scorecard)
4) การกำ�หนดค่าเปา้ หมายของตัวช้วี ดั ที่ใชใ้ นการติดตาม
แผนปฏบิ ัตกิ าร ควรมีการคาดการณ์ผลการดำ�เนนิ การในอนาคต
ควรเปรยี บเทียบคแู่ ข่งขนั คู่เทียบเคียง และผลการดำ�เนนิ การท่ีผ่านมา
การคาดการณ์ผลการดำ�เนินการในอนาคต โดยพิจารณาสภาพแวดล้อม
ในการแขง่ ขนั ท�ำ ให้พบและสามารถลดอุปสรรคในทางการแข่งขัน
ไดท้ ราบถึงผลกระทบทจี่ ะมีในระยะสั้น และสามารถระบถุ ึงโอกาส
ท่มี ใี นสภาพการแขง่ ขัน ไดว้ ิธกี ารทใี่ ชใ้ นการคาดการณผ์ ลการ
ด�ำ เนินการในอนาคตมหี ลากหลายรูปแบบ เช่น การจ�ำ ลองเหตุการณ์
(Scenario) เปน็ ตน้
การคาดการณ์ผลการดำ�เนนิ การจะเปน็ ขอ้ มูลพ้นื ฐานท่ีผู้บรหิ าร
ใชต้ ัดสนิ ใจ จะท�ำใหเ้ ห็นวา่ เปา้ หมายที่องคก์ ารตั้งไว้ต�ำ่ เกินไปหรือไม่
หรอื ควรทจี่ ะก�ำ หนดใหม่ ซึง่ จะสง่ ผลต่อการตัดสนิ ใจในการจดั สรร
ทรพั ยากรต่อไป ควรท�ำ การคาดการณ์ผลการดำ�เนินการ ใน 2-5 ปี
เพอื่ ท�ำ การพฒั นาผลการดำ�เนนิ การและติดตามความกา้ วหน้า
ตามตวั ชี้วัดท่ีได้กำ�หนดไว้
การคาดการณ์และจัดท�ำ ฐานข้อมลู สารสนเทศจงั หวัด เป็นการ
พัฒนาระบบขอ้ มูลมาตรฐานกลาง (Benchmarking) (133 ตวั ช้ีวัด)
ของกระทรวงมหาดไทยตามโครงการพฒั นาศักยภาพในการเช่ือมโยง
และจดั ท�ำแผนยุทธศาสตรเ์ พื่อสนับสนนุ การพัฒนาในระดบั พนื้ ที่
ให้น�ำไปใช้ปฏิบัตไิ ดจ้ ริง
การทบทวนและปรบั ปรุงแผน
การรายงานและเผยแพรผ่ ลการดำ�เนินงาน
การเปดิ เผยข้อมลู ต่อสาธารณะ เป็นการด�ำ เนนิ การตามแนวทาง
การปอ้ งกันทจุ ริตและเสริมสร้างความโปร่งใสในการปฏิบตั ิราชการ
เพ่ือใหป้ ระชาชนสามารถตรวจสอบและสืบคน้ ขอ้ มูลท่คี รบถ้วน ถูกตอ้ ง
ทนั สมยั ได้อย่างสะดวกและรวดเรว็ ตามแนวทาง Open Data
Integrity and Transparency Assessment (OIT) โดยสว่ นราชการ
ต้องมีการเผยแพรข่ อ้ มลู สรุปผลการดำ�เนินงานตามแผนด�ำ เนินงาน
ประจำ�ปีอยา่ งเปิดเผย
52 คูม่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระดบั ความหมาย
Basic การติดตามรายงานผลการด�ำ เนนิ การตามแผนการแก้ปัญหา และ
Advance การรายงานผลส่สู าธารณะ (Open by Default)
การคาดการณ์ของผลการดำ�เนินการตามแผนการแก้ปญั หา และ
การปรบั แผนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (Projection)
Significance การเตรียมการเชงิ รุกเพือ่ ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงทอ่ี าจเกิดขน้ึ
จากภายในและภายนอก และการปรับแผนท่ีตอบสนองทันเวลา
เชิงรุก อยา่ งมีประสิทธผิ ล (Proactive and effective)
Checklist 2.4 การตดิ ตามผล การแก้ไขปญั หา และการรายงานผล
Basic Advance Significance
B1: จัดท�ำ ระบบและกลไก A1: คาดการณ์ความเปลย่ี นแปลง S1: ติดตามสถานการณท์ ่ี
การตดิ ตาม และรายงาน ท่อี าจจะมผี ลกระทบตอ่ อาจะส่งผลตอ่ การด�ำ เนินการ
ผลการดำ�เนินการของตัวชวี้ ดั แผนยุทธศาสตรแ์ ละ ตามแผนและสามารถ
แผนปฏิบัตกิ ารและยุทธศาสตร์ ผลการด�ำ เนินการตาม วเิ คราะหไ์ ดว้ า่ ปัญหาเกดิ ทีใ่ ด
ท้งั ระยะสัน้ และระยะยาว แผนยทุ ธศาสตร์และ และจะส่งผลตอ่ การปฏบิ ตั ิการ
B2: ตดิ ตามผลการด�ำ เนินการ แผนปฏิบตั ิการทอ่ี าจจะเกิดขึ้น อยา่ งไร
ตามแผนยุทธศาสตรแ์ ละ A2: ทบทวนและปรับ S2: เตรยี มการเชงิ รุก
แผนปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ระยะสน้ั แผนยทุ ธศาสตร์ และ เพ่อื ตอบสนองตอ่ การ
และระยะยาว แผนปฏิบัติการให้สอดคลอ้ ง เปลีย่ นแปลงที่อาจเกดิ ขนึ้
B3: เตรียมการแก้ไขปญั หา กบั ความเปลย่ี นแปลง จากภายในและภายนอก
ในกรณีทไ่ี ม่เปน็ ไป อย่างทนั การณ์ และการปรบั แผนทตี่ อบสนอง
ตามเปา้ หมายและแผนงาน A3: น�ำ เทคโนโลยดี จิ ิทัล ทนั เวลา เชงิ รุก อย่างมี
ท่ีกำ�หนดไว้ และขอ้ มลู สารสนเทศมาใช้ ประสทิ ธิผล (Proactive
ในการคาดการณ์ และ and effective)
จัดท�ำ ฐานข้อมูลเพือ่ ใช้
ในการตัดสนิ ใจ
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 53
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
B4: รายงานผลการด�ำเนนิ การ 4: นำ�เทคโนโลยี
ตามแผนยุทธศาสตรแ์ ละ สารสนเทศมาใชใ้ นการ
แผนปฏิบตั กิ ารแก่ คาดการณแ์ ละจัดท�ำ ฐานขอ้ มลู
ผู้บรหิ ารอย่างสม�่ำเสมอ สารสนเทศจงั หวัดเพ่อื
B5: เผยแพรแ่ ละรายงาน การวิเคราะห์
ผลการด�ำเนินการตาม แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา
แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละ จงั หวดั /งบประมาณ และ
แผนปฏิบัตกิ ารท้ังระยะส้ัน การตดิ ตามประเมนิ ผล
และระยะยาวแก่สาธารณะ [ระดับจังหวดั ]
RB1: ผลการดำ�เนนิ การ RA1: แผนปฏิบัตกิ ารมี RS1: ประสิทธผิ ลของ
แผนยุทธศาสตร์ในเชงิ รกุ
ของตวั ชว้ี ัดแผนปฏิบัตกิ าร ความยืดหยนุ่ ในการปรับ ท่ีสามารถตอบสนองต่อ
ความเปลยี่ นแปลง
และยุทธศาสตร์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ
ทงั้ ระยะสั้นและระยะยาว เปล่ยี นแปลงและทันตอ่
สถานการณ์
54 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 55
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
หมวด 3 การใหค้ วามสำ�คญั กบั ผู้รับบริการและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย
3.1 ระบบขอ้ มลู และสารสนเทศทท่ี ันสมัยเพื่อการบริการและการเข้าถึง
การกำ�หนดและจำ�แนกกล่มุ ผู้รบั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย
การรวบรวมและวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการและความค�ำ ดหวังของผู้รับบริการ
และผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี
การจดั ท�ำ ขอ้ มูลและสารสนเทศของผูร้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การเชื่อมโยงขอ้ มลู และสารสนเทศไปสกู่ ารก�ำ หนดนโยบายและการพฒั นา
กระบวนการปฏิบัติงาน
56 คูม่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดบั ความหมาย
Basic การใชข้ ้อมูลและสารสนเทศของกลมุ่ ผ้รู บั บริการและผมู้ สี ว่ นได้
Advance ส่วนเสียทมี่ อี ย่ใู นปจั จุบัน เพ่ือตอบสนองความต้องการที่แตกตา่ ง
(Customer centric)
การใช้ขอ้ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (รวมท้ังเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล)
เพอ่ื คน้ หาความตอ้ งการและความคาดหวงั ของกลุม่ ผ้รู บั บรกิ าร
และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย เพอ่ื ตอบสนองความต้องการท่ีแตกต่าง
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธผิ ล (Digital technology, Customer centric)
Significance การใชข้ อ้ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศทัง้ ภายในและภายนอก
(รวมทงั้ การเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดล้อม) เพื่อวางนโยบายเชงิ รุก
ในการตอบสนองความตอ้ งการและความคาดหวงั ของกลุ่มผู้รับบริการ
และผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียท้ังในปัจจุบันและอนาคต (Actionable
policy solution)
Checklist 3.1 ระบบขอ้ มูลและสารสนเทศที่ทันสมยั เพอื่ การบรกิ ารและการเข้าถึง
Basic Advance Significance
B1: ระบกุ ลมุ่ ผรู้ ับบรกิ าร A1 : วเิ คราะห์และ S1: วิเคราะหแ์ ละค้นหา
และผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี จ�ำ แนกกลมุ่ ผรู้ ับบริการ สารสนเทศของผู้รับบรกิ าร
ที่ส�ำ คญั ขององคก์ าร และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย และผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย
B2: รบั ฟังเสยี งของ เฉพาะกลมุ่ (Segment) ในเชงิ ลกึ (Insight)
ผรู้ บั บรกิ ารและผูม้ สี ว่ นได้ A2: วเิ คราะห์และค้นหา เพอื่ ค้นหาความต้องการ
ส่วนเสยี แตล่ ะกลมุ่ สารสนเทศของผรู้ บั บรกิ าร ท่ีแตกต่างกันของแตล่ ะบคุ คล
ผา่ นช่องทางทีเ่ หมาะสม และผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี S2: ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั
เพอ่ื แสวงหาความตอ้ งการ ในเชิงลกึ (Insight) เพอ่ื คน้ หา และข้อมูลสารสนเทศ
และความคาดหวงั ความตอ้ งการที่แตกต่างกนั ทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ ร
ของผู้รับบริการและผู้มี ในการคน้ หา วิเคราะห์
ส่วนได้สว่ นเสียเฉพาะกลุ่ม
คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 57
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
B3: วิเคราะห์และจดั ท�ำ A3: ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรอื ตอบสนองความต้องการ
สารสนเทศท่แี ตกตา่ งกัน ในการคน้ หา วิเคราะห์ ท่แี ตกตา่ งกันของผู้รบั บรกิ าร
ของแตล่ ะกลุ่มผู้รับบริการ หรือตอบสนองความต้องการ และผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย
และผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ แต่ละบุคคล
และนำ�ไปสรา้ งบรกิ ารและ และผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย S3: ก�ำ หนดนโยบาย
กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน เฉพาะกลมุ่ เชิงรุก สร้างบริการและ
ท่ีตอบสนองความตอ้ งการ กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน
ทแ่ี ตกตา่ งกนั ทีต่ อบสนองความต้องการ
และความคาดหวงั ของ
ผู้รบั บริการและผู้มสี ว่ นได้
สว่ นเสียท่แี ตกต่างกนั ของ
แตล่ ะบคุ คลท้ังปจั จบุ ัน
และอนาคต
RB1: สารสนเทศของ RA1: สารสนเทศของ RS1: สารสนเทศของ
ผ้รู บั บริการและผูม้ ีส่วนได้ ผ้รู บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้ ผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้
สว่ นเสยี ท่สี ามารถสะท้อน ส่วนเสียทีส่ ามารถสะท้อน ส่วนเสยี ท่ีสามารถสะทอ้ น
ความต้องการและความคาดหวัง ความต้องการและความคาดหวงั ความตอ้ งการและความคาดหวัง
ที่แตกตา่ งกนั ของแตล่ ะ ท่ีแตกต่างกนั ของผรู้ ับบรกิ าร ท่ีแตกตา่ งกนั ของ
กลุ่มผู้รับบรกิ ารและ และผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ผู้รบั บรกิ ารและผู้มีสว่ นได้
ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย เฉพาะกลุ่ม ส่วนเสียแตล่ ะบคุ คล
RB2: การบรกิ ารและ RA2: การบรกิ ารและ RS2 : บรกิ ารและ
กระบวนการปฏิบัตงิ าน กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน กระบวนการปฏิบตั งิ าน
ทสี่ ามารถตอบสนอง ท่สี ามารถตอบสนอง ทต่ี อบสนองความตอ้ งการ
ความต้องการทีแ่ ตกต่างกัน ความต้องการท่ีแตกตา่ งกนั ท่ีแตกตา่ งกนั ของ
ของกลุ่มผรู้ ับบริการ ของกลมุ่ ผู้รบั บรกิ ารและ กลมุ่ ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้
และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี เฉพาะกลุ่ม ส่วนเสียท่สี ำ�คัญของ
ทส่ี ำ�คญั ขององคก์ ร อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล องค์การแตล่ ะบุคคล
อย่างมีประสิทธภิ าพ อย่างมีประสทิ ธิผล
58 คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
3.2 การประเมนิ ความพงึ พอใจและความผูกพนั
การประเมนิ ความพึงพอใจ
การประเมนิ ความพึงพอใจและไม่พงึ พอใจของผู้รับบรกิ ารและ
ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย อาจใช้วิธีท่หี ลากหลาย เชน่ การสำ�รวจ
อย่างเป็นทางการ การรับข้อมูลปอ้ นกลับทัง้ ทเี่ ป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ ข้อรอ้ งเรยี น รายงานจากบุคลากรระดับปฏิบตั ิการ
อัตราความสำ�เร็จของการท�ำ ธรุ กรรม การรวบรวมสารสนเทศจากเวบ็ ไซต์
การประเมนิ ความไม่พึงพอใจ ไมค่ วรพิจารณาเพยี งแคข่ อ้ ทีไ่ ด้
คะแนนความพงึ พอใจน้อย แต่ควรแยกการประเมนิ ความไม่พึงพอใจ
ออกมาต่างหาก เพื่อวเิ คราะหถ์ ึงตน้ เหตขุ องปัญหาและทำ�ใหส้ ามารถ
แก้ไขปญั หาอย่างเป็นระบบเพื่อหลีกเลี่ยงความไม่พึงพอใจในอนาคต
การประเมินความผกู พนั
ความผกู พัน หมายถงึ ความเชอื่ ม่นั ตอ่ องคก์ าร ความภักดี ความเต็มใจ
ในการใหค้ วามร่วมมอื ความเตม็ ใจในการสนบั สนนุ อยา่ งแข็งขัน
และใหค้ �ำ แนะน�ำ เพ่อื การพัฒนาปรับปรงุ การใหบ้ รกิ าร
ออกแบบวธิ กี ารประเมนิ ความพึงพอใจและความผูกพนั ของผู้รับบริการ
และผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี
วเิ คราะห์ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจและความผูกพนั ของผูร้ ับบรกิ าร
และผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย
เชือ่ มโยงผลการประเมินความพงึ พอใจและความผกู พันของผู้รบั บริการ
และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไปสูก่ ารพัฒนา
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 59
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดบั ความหมาย
Basic การประเมินความพึงพอใจและความผูกพนั ของกลุ่มผู้รับบริการ
และผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี หลกั เพื่อนำ�มาวิเคราะห์และปรับปรงุ
กระบวนการท�ำ งาน
Advance การใชผ้ ลการประเมนิ ความพึงพอใจและความผกู พนั ของ
กลมุ่ ผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี หลกั เพอื่ นำ�มาวิเคราะห์
ความตอ้ งการและแก้ปญั หาในเชิงรุก
Significance การบูรณาการข้อมูลการประเมินความพึงพอใจและความผกู พนั
กบั ฐานขอ้ มูลของกลุ่มผู้รับบริการและผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี จากแหลง่ อ่ืน ๆ
เพ่ือการวางแผนยุทธศาสตร์และการสรา้ งนวัตกรรมในการใหบ้ รกิ าร
Checklist 3.2 การประเมินความพงึ พอใจและความผกู พัน
Basic Advance Significance
B1: ประเมินความพงึ พอใจ A1: ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล S1: บูรณาการเช่อื มโยง
และความผูกพัน ในการประเมนิ และ การประเมนิ และการวิเคราะห์
ของกลุ่มผูร้ บั บริการและ วเิ คราะห์ความพงึ พอใจ ผลความพึงพอใจและ
ผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย และความผกู พนั ของ ความผกู พันกับแหล่งข้อมลู
B2: น�ำ ผลการประเมิน ผูร้ ับบริการและผมู้ สี ่วนได้ จากแหล่งอ่นื ภายนอก
ความพงึ พอใจและ ส่วนเสยี หรอื หน่วยงานเครือขา่ ย
ความผกู พนั มาใชป้ ระโยชน์ A2: เช่อื มโยงผลการ S2: สรา้ งนวตั กรรม
ในการวิเคราะหแ์ ละ วเิ คราะห์ความพึงพอใจ การให้บรกิ ารหรอื
ปรับปรุงการบรกิ ารและ และความผูกพันไปสู่ การปฏบิ ัติงานร่วมกับ
กระบวนการปฏิบัตงิ าน การตอบสนองความ หน่วยงานภายนอกหรือ
พึงพอใจและความผกู พนั เครือข่ายเพ่ือสรา้ ง
ท่ดี ขี ึน้ และแกไ้ ขปัญหา ความพึงพอใจและ
ในเชงิ รุก ความผกู พันรว่ มกนั
60 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
RB1: ผลการประเมิน RA1: ระดบั ความพงึ พอใจ RS1: ฐานข้อมลู ความพึงพอใจ
ความพงึ พอใจและความ ความผูกพันของกลุม่ ผู้รับ และความผกู พนั ที่ได้รับ
ผกู พนั ของกลมุ่ ผรู้ บั บรกิ าร บรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้ การบูรณาการรว่ มกับ
และผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย ส่วนเสยี ดขี นึ้ หนว่ ยงานภายนอกหรอื
แตล่ ะกลุ่ม เครือขา่ ยไปสกู่ ารวางแผน
RB2: การบริการและ ยทุ ธศาสตร์
กระบวนการปฏิบตั ิงาน RS2: ผลงานนวัตกรรม
ได้รับการปรบั ปรุง ในการบรกิ ารและ
โดยใชส้ ารสนเทศจาก การปฏิบตั งิ านทผ่ี า่ น
ผลการประเมินความพงึ พอใจ การบูรณาการขอ้ มลู
และความผกู พนั ของผู้รับ ร่วมกบั หนว่ ยงาน
บริการและผมู้ ีสว่ นได้ ภายนอกหรือเครอื ขา่ ย
สว่ นเสยี
3.3 การสรา้ งนวัตกรรมการบริการและตอบสนองความตอ้ งการ
เฉพาะกลมุ่
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 61
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
วเิ คราะห์ความต้องการและความคาดหวังของผ้รู บั บริการและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี
วิเคราะหจ์ ำ�แนกความตอ้ งการเฉพาะกล่มุ /เฉพาะบุคคล
ก�ำ หนดแผนการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ/การบรกิ าร
ดำ�เนินการปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการ/การบริการ
ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ และปรับปรุงอยา่ งตอ่ เน่อื ง
การสร้างนวตั กรรมการบรกิ าร
การสร้างรูปแบบการท�ำ งานใหม่ ๆ ทชี่ ่วยเสรมิ สร้างความพึงพอใจของ
ผูร้ ับบริการให้เพม่ิ ขึ้น ท�ำ ให้ผ้รู บั บริการได้รบั มุมมองใหม่ทท่ี ำ�ใหเ้ กิดความรสู้ ึกที่ดี
พงึ พอใจกบั รูปแบบการให้บริการ สง่ ผลใหอ้ งคก์ ารเตบิ โต
ระดบั ความหมาย
Basic
การบริการท่ตี อบสนองความตอ้ งการและความคาดหวงั ของ
กลมุ่ ผู้รับบริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี หลกั และการถ่ายทอด
สู่การปฏิบัตใิ นทุกหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
Advance การสร้างนวตั กรรมการบรกิ ารทีต่ อบสนองความตอ้ งการทั้งภาพรวม
และเฉพาะกลุ่มได้อย่างมีประสิทธผิ ล (Customer groups and
segments)
Significance การสร้างนวตั กรรมการบรกิ ารทส่ี ามารถใหบ้ รกิ ารเฉพาะบคุ คล
ทส่ี ามารถออกแบบได้ (Personalized/Customized service)
62 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 3.3 การสรา้ งนวตั กรรมการบริการและตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะกลมุ่
Basic Advance Significance
B1: วิเคราะหค์ วามตอ้ งการ A1: วเิ คราะห์และจ�ำ แนก S1: วิเคราะหแ์ ละจ�ำ แนก
และความคาดหวังของ ความตอ้ งการของ ความตอ้ งการของกล่มุ
ผูร้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ กลมุ่ ผูร้ บั บริการเฉพาะกลมุ่ ผ้รู บั บริการเฉพาะบุคคล
ส่วนเสยี เพอื่ กำ�หนด อยา่ งชดั เจน S2: กำ�หนดแผนงานและ
โอกาสในการพฒั นาหรอื A2: กำ�หนดแผนงานและ แนวทางในการพัฒนาและ
ปรับปรงุ การบริการหรือ แนวทางในการพฒั นาและ ปรบั ปรงุ การบรกิ ารหรอื
กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน ปรบั ปรงุ การบรกิ ารหรือ กระบวนการปฏิบตั ิงาน
B2: ก�ำ หนดแผนงานและ กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ
แนวทางในการพฒั นาและ เพอื่ ตอบสนองความ และของกลมุ่ ผู้รบั บริการ
ปรบั ปรุงการบรกิ ารหรือ ตอ้ งการและของกล่มุ ผ้รู ับ เฉพาะบคุ คล
กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน บรกิ ารเฉพาะกลุ่ม S3: น�ำ นวตั กรรมหรือ
รวมถงึ ส่อื สารใหผ้ ู้ทีเ่ กย่ี วข้อง A3: น�ำ นวตั กรรมหรือ น�ำ เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้
ได้รบั ทราบแนวทาง นำ�เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใช้ ในการตอบสนองความ
อย่างท่วั ถงึ ในการตอบสนองความ ตอ้ งการของผรู้ ับบรกิ าร
B3: พฒั นาและปรับปรุง ตอ้ งการของผูร้ ับบริการ และผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย
การบรกิ าร หรือกระบวนการ และผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย เฉพาะบคุ คล
ปฏิบัตงิ านอยา่ งต่อเนอ่ื ง เฉพาะกลุ่ม S4: สรา้ งความร่วมมอื
กบั เครอื ขา่ ยหรอื หนว่ ยงาน
ภายนอกในการตอบสนอง
ความต้องการของ
ผู้รบั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้
สว่ นเสยี เฉพาะบคุ คล
RB1: การบรกิ ารหรือ RA1: การบรกิ ารหรอื RS1: การบรกิ ารหรือ
กระบวนการปฏิบัติงาน กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน กระบวนการปฏิบัติงาน
สามารถตอบสนอง สามารถตอบสนอง สามารถตอบสนอง
กลมุ่ ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้ กลุ่มผรู้ บั บริการและผู้มสี ว่ นได้ กลมุ่ ผู้รับบริการและผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสยี หลักขององคก์ าร ส่วนเสยี เฉพาะกลมุ่ ส่วนเสยี เฉพาะบุคคล
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 63
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
3.4 กระบวนการแกไ้ ขขอ้ รอ้ งเรียนทร่ี วดเรว็ และสร้างสรรค์
ออกแบบกระบวนการจดั การข้อร้องเรยี น
ด�ำ เนนิ การจดั การข้อร้องเรยี น
ติดตามผลการจดั การข้อรอ้ งเรยี น
วิเคราะหแ์ ละเช่อื มโยงข้อร้องเรยี นไปสูก่ ารพัฒนาองคก์ าร
กระบวนการแกไ้ ขขอ้ ร้องเรยี น
จดั ให้มชี อ่ งทางการรบั ขอ้ รอ้ งเรยี นอยา่ งเปน็ ทางการ มรี ะบบสารบรรณ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ควบคุมการดำ�เนินการเกีย่ วกับหนังสือรอ้ งเรียน โดยแยกลำ�ดับ
ความส�ำ คัญตามแหลง่ ทม่ี า กำ�หนดระยะเวลา การตอบกลับและแก้ไขตาม
ความสำ�คญั ของเรือ่ งทีร่ ้องเรยี น และกำ�หนดผู้รบั ผิดชอบตามเรื่องทรี่ ้องเรยี น
มีการรายงานสถิตกิ ารรอ้ งเรียนและการบริการทไี่ ม่เปน็ ไปตามเปา้ หมาย
เพอื่ ให้ประชาชนได้รบั ทราบถึงประเดน็ ปัญหา รวมทั้งสถิตใิ นการตอบขอ้ สงสัย
และจ�ำ นวนขอ้ ร้องเรียนที่ได้รับการแกไ้ ข หรอื สถานะการแกไ้ ขปญั หา
ผ่านการแจ้งกลบั โดยเครอ่ื งมอื สอื่ สารท่มี ีประสิทธภิ าพ
แก้ไขปญั หาให้ทันการณ์และสรา้ งความเชอ่ื มนั่ ใหก้ ลับคืนมา ตอ้ งอยูบ่ นพ้นื ฐาน
ของการสอื่ สารและสรา้ งความเข้าใจในปญั หาและข้อรอ้ งเรยี นของผูร้ ับบรกิ าร
กระบวนการการแกไ้ ขข้อรอ้ งเรยี นอาศยั ความร่วมมอื และการคน้ หาหนทาง
แก้ไขร่วมกนั และการสอ่ื สารที่ทนั การณ์
64 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ระดับ ความหมาย
Basic กระบวนการรบั ข้อรอ้ งเรยี นอย่างเปน็ ระบบ และมีมาตรฐานในการ
จดั การข้อร้องเรยี นได้อย่างมปี ระสิทธิผล
Advance กระบวนการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี นอย่างเป็นระบบ รวดเรว็ ทันการณ์
และตอบสนองอย่างมีประสิทธผิ ล
Significance กระบวนการจดั การข้อร้องเรียนอย่างเป็นระบบ และการใชเ้ ทคโนโลยี
การสอื่ สารมาเพือ่ การตอบสนองอย่างมีประสทิ ธิผล
และสรา้ งความพึงพอใจในการจดั การขอ้ รอ้ งเรียน
Checklist 3.4 กระบวนการแก้ไขข้อรอ้ งเรยี นทร่ี วดเรว็ และสรา้ งสรรค์
Basic Advance Significance
B1: จัดการช่องทาง A1: นำ�เทคโนโลยดี ิจทิ ลั S1: น�ำ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
การร้องเรียนที่เป็นระบบ มาใช้ในการตอบสนอง มาใชใ้ นการติดตามสถานะ
สามารถเข้าถึงได้ ข้อร้องเรียน การจดั การข้อร้องเรยี น
อย่างสะดวก A2: ติดตามผลสัมฤทธ์ิ S2: สรา้ งความรว่ มมอื
B2: จัดการข้อร้องเรียน ของการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี น ของเครือขา่ ย และหน่วยงาน
ตอบสนองขอ้ รอ้ งเรยี น และสรปุ เป็นสารสนเทศ ภายนอก เพอ่ื น�ำ ไปสู่
อย่างรวดเร็วและ เพือ่ ใชใ้ นการตดั สินใจ การแก้ไขข้อรอ้ งเรยี น
มปี ระสิทธภิ าพ A3: เช่ือมโยงสารสนเทศ อยา่ งยง่ั ยืนและสร้างสรรค์
ทเี่ กี่ยวข้องกบั ข้อร้องเรียน
ของผรู้ ับบรกิ ารและ
ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไปสู่
การปรับปรงุ การบรกิ าร
และการปฏิบตั ิงาน
RB1: กระบวนการจัดการ RA1: ประสิทธผิ ลของ RS1: อตั ราขอ้ ร้องเรียนซ้�ำ
ขอ้ รอ้ งเรียนและการตอบสนอง การจดั การและตอบสนอง ลดลง
ข้อร้องเรียนเปน็ ระบบ ข้อร้องเรยี น RS2: ความเชอ่ื มั่นและ
และมมี าตรฐาน RA2: เกิดการเรียนรู้ ความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร
RB2: ความพึงพอใจของ และนำ�ไปสูก่ ารปรับปรงุ และผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี
ผู้ร้องเรียนต่อการจดั การ กระบวนการบรกิ ารและ ขององคก์ าร
และตอบสนองขอ้ รอ้ งเรียน การปฏิบัติงาน
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 65
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
66 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การกำ�หนดตวั วดั เพอ่ื การตดิ ตามงานอย่างมปี ระสทิ ธิผล
วิเคราะห์และคดั เลอื กตวั วัดท่ีส�ำ คัญ
วางแผน รวบรวมตวั วัดท่ีสำ�คญั
วิเคราะห์ผลการด�ำ เนนิ งาน
นำ�ผลการวเิ คราะห์ไปใช้ในการพัฒนาองคก์ าร
ตวั วดั เพื่อการติดตามงาน
ก�ำ หนดตวั วัดผลการด�ำ เนนิ งานท่ีส�ำ คัญ เพ่อื ใช้ตดิ ตามการปฏบิ ัตงิ านประจำ�วัน
ผลการดำ�เนนิ งานโดยรวม และเพอ่ื ติดตามความกา้ วหนา้ ในการบรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธแ์ ละแผนปฏิบตั ิการ
เลอื ก รวบรวมและปรับตัววดั ให้สอดคลอ้ งไปในแนวทางเดยี วกันและบูรณาการกนั
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 67
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดบั ความหมาย
Basic การวางแผนและการรวบรวมขอ้ มลู และตวั วดั ท้งั ในระดบั ปฏิบัตกิ าร
และยุทธศาสตร์ โดยผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธภิ าพ (Efficient Use of Performance Measures)
Advance ระบบการจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศมีประสิทธภิ าพ ปลอดภยั
น่าเชอ่ื ถอื พร้อมใชแ้ ละเอ้อื ให้บคุ ลากรและผู้ใชง้ านทเี่ ก่ียวขอ้ ง
สามารถเข้าถงึ ได้อย่างมปี ระสิทธผิ ล
Significance (Quality and availability of data and information)
การจัดใหข้ อ้ มูลและสารสนเทศท่ีมีประโยชน์ตอ่ ผู้ใช้งานภายนอก
รวมทง้ั ภาคประชาชนสามารถนำ�ไปใช้ได้อยา่ งทันทโี ดยไมต่ ้องรอ้ งขอ
(Public data portal)
Checklist 4.1 การกำ�หนดตวั วัดเพือ่ การติดตามงานอย่างมีประสทิ ธิผล
Basic Advance Significance
B1: วิเคราะหแ์ ละคดั เลือก B1: วิเคราะห์และคดั เลอื ก S1: จดั การขอ้ มลู
ตวั วดั ทส่ี ำ�คัญที่ใชใ้ นการ ตัววดั ท่สี ำ�คัญที่ใชใ้ นการ สารสนเทศทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ติดตามผลการด�ำ เนินงาน ติดตามผลการด�ำ เนินงาน ต่อสาธารณะ และเผยแพร่
ระดับยุทธศาสตร์ และ ระดบั ยทุ ธศาสตร์ และ เชอ่ื มโยงไปสกู่ ารใชป้ ระโยชน์
ระดับปฏิบตั กิ าร ระดบั ปฏิบัตกิ าร ของภาคส่วนท่เี กย่ี วขอ้ ง
B2: วางแผนการรวบรวม B2: วางแผนการรวบรวม โดยไม่ต้องร้องขอ
ขอ้ มูลและตวั วัดระดบั ข้อมลู และตัววัดระดบั S2: วิเคราะหเ์ ช่อื มโยง
ยุทธศาสตร์ และระดบั ยทุ ธศาสตร์ และระดบั สารสนเทศของตัววัด
ปฏิบตั ิการ ปฏิบัติการ ในการติดตามงานกับ
B3: ทบทวนผลการด�ำ เนินการ ขอ้ มลู และสารสนเทศของ
ตามตวั วดั ผลการดำ�เนินงาน หน่วยงานภายนอก
ระดบั ยุทธศาสตร์ และ เพอื่ นำ�ไปสู่การจัดท�ำ
ระดบั ปฏบิ ตั ิการ สารสนเทศในเชงิ ลึก
68 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
BB4: น�ำ เทคโนโลยี S3: เผยแพรส่ ารสนเทศ
สารสนเทศมาใช้ในการ ของตัววัดแกส่ าธารณะ
รวบรวมและวิเคราะห์ ในรปู แบบทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย
ขอ้ มูลตวั วดั ท่ีสำ�คญั
RS1: สารสนเทศของตัววดั
RB1: การตดั สนิ ใจ RA1: ระบบการจัดการ ทวี่ เิ คราะห์เชอื่ มโยงกบั
หน่วยงานภายนอก
ในระดับยทุ ธศาสตร์ และ ขอ้ มลู และสารสนเทศ RS2: สารสนเทศของ
ส่วนราชการที่พรอ้ มตอ่
ระดับปฏิบัตกิ ารใช้ขอ้ มูล มปี ระสิทธภิ าพและ การใช้งาน และประชาชน
สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์
สารสนเทศของตัววดั ทีส่ �ำ คัญ ประสิทธผิ ล ได้ทันทีโดยไม่ตอ้ งร้องขอ
ประกอบการพิจารณา
RB2: ประสิทธภิ าพของ
การใชร้ ะบบเทคโนโลยี
สารสนเทศในการรวบรวม
ข้อมลู และตัววดั ท้ังในระดบั
ปฏิบัติการและยทุ ธศาสตร์
4.2 การวเิ คราะห์ผลจากข้อมลู และตวั วัดในทุกระดบั เพ่ือการแกป้ ัญหา
วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บข้อมูลตวั ช้วี ัดกับเปา้ หมายและคู่เทียบ
คน้ หาสาเหตขุ องปญั หาและคาดการณผ์ ลการดำ�เนนิ งานในอนาคต
เชอ่ื มโยงไปสูก่ ารแก้ไขปัญหา
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 69
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
การวเิ คราะหผ์ ลการด�ำ เนนิ การ ควรประกอบดว้ ย การประเมินแนวโน้ม
ของผลการดำ�เนนิ การ การคาดการณ์ในระดบั องค์การ ธรุ กจิ และเทคโนโลยี
การเปรียบเทียบความสมั พันธ์เชิงเหตุและผล และการหาคา่ ปฏิสมั พนั ธ์
ระหว่างกัน การวเิ คราะห์ดงั กล่าวควรสนบั สนนุ การทบทวนผลการดำ�เนินการ
เพือ่ ช่วยใหท้ ราบต้นเหตขุ องปัญหาและชว่ ยจดั ลำ�ดบั ความส�ำ คัญของการใช้
ทรัพยากร
ผลลพั ธข์ องการวิเคราะหแ์ ละการทบทวนผลการด�ำ เนินการระดบั องค์การ
ควรสนบั สนนุ การจัดท�ำ กลยุทธแ์ ละการน�ำ กลยุทธไ์ ปปฏบิ ัติ
ระดับ ความหมาย
Basic การวเิ คราะหผ์ ลจากขอ้ มูลและตวั วดั ท่รี วบรวมจากทุกระดับในส่วนราชการ
เพอื่ การแก้ปญั หาในกระบวนการต่าง ๆ ของส่วนราชการ
Advance การวเิ คราะหผ์ ลจากขอ้ มลู และตวั วัดในทุกระดับในส่วนราชการ เพือ่ ค้นหา
สาเหตุของปญั หา และแก้ไขปัญหาในเชิงนโยบายและการปรับยทุ ธศาสตร์
Significance การวเิ คราะหผ์ ลจากขอ้ มูลและตัววดั ท่รี วบรวมเชือ่ มโยงในทุกระดับ
ในส่วนราชการ เพื่อคน้ หาสาเหตขุ องปญั หา แก้ปญั หาได้อยา่ งทันการณ์
และสามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ตามท่วี างแผนไว้
Checklist 4.2 การวเิ คราะห์ผลจากขอ้ มลู และตวั วดั ในทุกระดับเพอ่ื การแกป้ ญั หา
Basic Advance Significance
Basic Advance Significance
B1: วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบ A1: วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบ S1: นำ�เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
ผลจากข้อมลู และตวั วัด ผลจากข้อมูลและตวั วดั และข้อมูลสารสนเทศ
ทีร่ วบรวมจากทกุ ระดบั ทรี่ วบรวมจากทุกระดบั มาใชใ้ นการวเิ คราะห์
ในส่วนราชการกับเป้าหมาย ในส่วนราชการกบั คเู่ ทยี บ คน้ หาสาเหตุของปัญหา และ
เพ่อื ประเมนิ และแสวงหา หรอื คู่แข่งขันภายนอกและ คาดการณ์ผลการด�ำ เนนิ งาน
บทเรียนท่ีไดร้ บั น�ำ ผลการวเิ คราะหม์ าหา ในอนาคต
สาเหตแุ ละคาดการณ์ผล
ท่จี ะเกิดข้ึน
70 ค่มู ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
B2: วิเคราะหข์ ้อมูล A2: เชื่อมโยงผล S2: เชอ่ื มโยงผล
คน้ หาสาเหตุของผล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และ การวเิ คราะห์ข้อมูล และ
ท่เี กดิ ข้นึ เพอ่ื นำ�ไปสู่ ตวั วัดไปสกู่ ารพัฒนาและ ตัววดั ไปสู่การพัฒนาและ
การหาแนวทางในการ แกไ้ ขปญั หาในเชิงนโยบาย แกไ้ ขปญั หาอย่างทนั การณ์
ปรบั ปรงุ และพฒั นา และการปรับปรุง
การด�ำ เนนิ งานขององคก์ าร ยทุ ธศาสตร์
B3: เชอ่ื มโยงไปสู่
การแก้ไขปัญหาและ
การพัฒนาปรบั ปรงุ
กระบวนการท�ำ งานของ
ส่วนราชการ
RB1: ประสิทธผิ ลของ RA1: ประสทิ ธิผลของ RS1: ประสทิ ธผิ ลของ
การวิเคราะห์ข้อมูลทนี่ �ำ ไปใช้ การวเิ คราะห์ข้อมลู ทนี่ ำ�ไปใช้ การพัฒนาและแก้ไข
ในการตดิ ตามและแกไ้ ข ในการพัฒนาและแก้ไข ปญั หาอยา่ งทนั การณแ์ ละ
ปัญหาของสว่ นราชการ ปญั หาในเชงิ นโยบายหรือ อย่างยัง่ ยนื ในเชงิ นโยบาย
ระดับยุทธศาสตร์ หรือระดับยุทธศาสตร์
4.3 การใชค้ วามรู้และองคค์ วามรขู้ องสว่ นราชการในการแกป้ ัญหาเรียนรู้
และมีเหตุผล
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 71
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
รวบรวมและจัดเก็บองคค์ วามรทู้ ี่จำ�เป็นในการขับเคลอ่ื นองค์กร
ถา่ ยทอด ส่งตอ่ แลกเปล่ียนองค์ความรู้
ปลูกฝังใหก้ ารเรียนรู้เป็นวัฒนธรรมองคก์ ร
เชอื่ มโยงตอ่ ยอดองค์ความรู้ไปสู่การพัฒนาองคก์ รและสร้างนวตั กรรม
การเรยี นรู้ตอ้ งได้รับการปลูกฝงั ลงไปในวถิ ีการปฏบิ ัติงานขององคก์ าร
โดยควรเป็นสว่ นหน่ึงของการปฏบิ ัติงานประจำ�วนั ทท่ี �ำ จนเปน็ กิจวัตร ส่ิงที่ส่งผล
ต่อการแก้ปญั หาท่ตี ้นเหตุโดยตรง เนน้ การสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละแบ่งปนั
ความรู้ท่วั ทั้งองค์การ สิ่งท่เี กดิ จากการมองเหน็ โอกาสในการเปล่ยี นแปลง
ทีส่ ำ�คญั และมคี วามหมาย รวมทง้ั การสร้างนวตั กรรม
การจดั การความรู้ (Knowledge Management) การจดั การความรู้ของ
องคก์ ารตอ้ งมงุ่ เนน้ ทคี่ วามรูท้ ่ีบุคลากรต้องใช้ในการปฏิบตั ิงานเพ่อื การปรับปรงุ
กระบวนการ ผลติ ภัณฑ์ และบริการ และใชน้ วัตกรรมเพอื่ เพ่ิมคณุ ค่าเพม่ิ
ใหแ้ ก่ลกู คา้ และองค์การ
ระบบการจัดการความรขู้ ององคก์ าร ควรมีกลไกการแบ่งปันความรู้ของ
บคุ ลากรและองค์การ เพือ่ ท�ำ ใหม้ น่ั ใจวา่ จะรกั ษาการท�ำ งานทใี่ หผ้ ลการดำ�เนินการทดี่ ี
อยา่ งต่อเน่ืองแม้ในช่วงท่มี ีการปรับเปลย่ี น
องคก์ ารควรก�ำ หนดวา่ ความร้ใู ดส�ำ คัญอยา่ งย่งิ ต่อการปฏิบตั ิงานและท�ำ ใหม้ ี
กระบวนการแบ่งปันสารสนเทศน้อี ย่างเปน็ ระบบ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสารสนเทศ
ที่เปน็ ความรสู้ ่วนบุคคลท่ีฝังลึกอยใู่ นตัวบุคลากร (Implicit Knowledge
ระดับ ความหมาย
Basic กระบวนการรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศและองค์ความรทู้ ี่เกยี่ วข้อง
กบั ส่วนราชการอย่างเป็นระบบ เพ่ือใชใ้ นการเรียนร้พู ัฒนาและ
ตอ่ ยอดการพฒั นาของส่วนราชการ
Advance มกี ารวิเคราะหแ์ ละเชือ่ มโยงกับข้อมลู สารสนเทศและองค์ความรู้
นอกส่วนราชการ เพอ่ื การแก้ไขปญั หาและสรา้ งนวัตกรรม
Significance มีการวิเคราะห์และนำ�ไปสู่การแก้ไขปรับปรงุ จนเกิดเปน็ กระบวนการ
ท่ีเป็นเลศิ และผลลพั ธท์ ด่ี ีสกู่ ารบรรลยุ ุทธศาสตร์และการบริการ
ประชาชนทด่ี ียิง่ ขนึ้
72 คูม่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Checklist 4.3 การใชค้ วามรูแ้ ละองคค์ วามรู้ของส่วนราชการในการแกป้ ญั หา
เรียนรู้ และมีเหตผุ ล
Basic Advance Significance
B1 : รวบรวมและจัดเกบ็ A1: วเิ คราะหข์ ้อมลู S1: สง่ เสริมให้ทุกหน่วยงาน
ขอ้ มลู สารสนเทศและ สารสนเทศและองค์ความรู้ ปรบั ปรงุ และสร้างนวตั กรรม
องคค์ วามรู้ทส่ี �ำ คญั ของ ภายในองคก์ ารเช่ือมโยง การทำ�งานจากการใช้ขอ้ มูล
สว่ นราชการอยา่ งเปน็ ระบบ กบั ข้อมูลสารสนเทศและ และความรภู้ ายในองคก์ าร
B2: ถา่ ยทอด สง่ ตอ่ และ องค์ความรจู้ ากภายนอก S2: สร้างเครอื ขา่ ยจนน�ำ ไปสู่
แลกเปลยี่ นองคค์ วามรู้ องค์การ เพอื่ น�ำ มาใช้ กระบวนการทเ่ี ป็นเลศิ
ทสี่ ำ�คัญภายในองคก์ าร ในการสรา้ งนวตั กรรม สนับสนุนใหเ้ กดิ
B3: วิเคราะห์ เช่อื มโยง A2: แลกเปลยี่ นเรียนรู้ Best Practices
และต่อยอดองค์ความรู้ บทเรยี นทไี่ ดร้ ับกบั ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ทส่ี ำ�คัญไปสู่การพัฒนา หน่วยงานและเครือข่าย ภายในองคก์ าร และ
สรา้ งมาตรฐานใหม่
ภายนอก ในการบริการ
RB1: องค์ความร้ทู ส่ี �ำ คญั RA1: เกดิ นวัตกรรมและ RS1: แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี
ของส่วนราชการมคี วามพร้อม การพัฒนาจากการเชอ่ื มโยง (Best Practices)
ในการขับเคลอื่ นการปฏิบัตงิ าน กบั ขอ้ มูลสารสนเทศและ จากการจดั การความรู้
ขององคก์ ร และต่อยอด องคค์ วามรูจ้ ากภายนอก ไปใชใ้ นการพัฒนาและ
ไปส่กู ารพัฒนา องค์การ แกไ้ ขปญั หา
RS2: มาตรฐาน รูปแบบ
บริการท่ีสรา้ งผลกระทบ
และมูลคา่ เพ่มิ แก่ประชาชน
คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 73
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
4.4 การบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ และการปรบั ระบบการทำ�งาน
เป็นดจิ ทิ ัลเต็มรปู แบบ
ส�ำ รวจและวิเคราะห์ความตอ้ งการดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลท่ตี ้องการ
ออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
ปอ้ งกันความเส่ยี งและการโจมตีดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
ระดับ ความหมาย
Basic การวางแผนการปรบั เปล่ียนรปู แบบการท�ำ งานและการรวบรวม
ขอ้ มลู มาเปน็ ดิจิทัลอย่างเปน็ ระบบและมีตัววดั การบรรลตุ ามแผนงาน
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (Planning of digitalization)
Advance มกี ารวิเคราะห์ความเสยี่ งการปอ้ งกันการโจมตที างไซเบอรแ์ ละ
การเตรียมพร้อมตอ่ ภยั พบิ ตั ิและภาวะฉกุ เฉินทีม่ ีประสิทธผิ ล
(Cybersecurity and BCM)
Significance การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาเพ่มิ ประสิทธภิ าพของกระบวนการท�ำ งาน
ลดตน้ ทุน และการรายงานผลได้ทนั การณ์ และมีประสทิ ธผิ ล
(Efficiency and effectiveness)
74 คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 4.4 การบริหารจัดการขอ้ มูล สารสนเทศ และการปรับระบบการทำ�งาน
เปน็ ดิจิทัลเตม็ รูปแบบ
Basic Advance Significance
B1 : วิเคราะห์พนั ธกจิ A1: จัดท�ำ แผนงานในการ S1: น�ำ เทคโนโลยี
ยุทธศาสตร์ และ ป้องกันความเสยี่ งและ ดิจิทัลมาใช้ เพอ่ื เพิ่ม
การดำ�เนินงานภายใน การโจมตที างไซเบอร์ของ ประสิทธภิ าพของ
องค์การทสี่ ามารถ ระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล กระบวนการทำ�งาน
น�ำ เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้ และขอ้ มลู สารสนเทศ ลดตน้ ทุน และการรายงานผล
ในการเพิม่ ประสิทธิภาพ ทสี่ ำ�คญั ขององคก์ าร ไดท้ ันการณ์อย่างมี
การปฏิบัตงิ านและ A2: จัดท�ำ แผนงานและ ประสทิ ธิผล
สรา้ งผลกระทบตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร แนวปฏบิ ัตทิ ีช่ ดั เจนในการ
B2 : ส�ำ รวจความต้องการ เตรยี มพร้อมและรองรับ
(Requirement) ของกลุ่ม ต่อการโจมตที างไซเบอร์
เป้าหมายทัง้ ภายในและ ภยั พิบัติและภาวะฉุกเฉิน
ภายนอกองค์การ ท่ีโจมตตี อ่ ระบบดิจทิ ลั
B3 : ออกแบบและพฒั นา และขอ้ มลู สารสนเทศ
รปู แบบการท�ำ งานไปสู่ ขององค์การ
ระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล
เพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพและ
อ�ำ นวยความสะดวกแก่
ผใู้ ชง้ าน
B4 : กำ�หนดตวั วดั เพ่อื ใช้
ติดตามการบรรลุตามแผน
การปรับเปลี่ยนส่รู ะบบดิจทิ ัล
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 75
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
RB1: ระบบเทคโนโลยี RA1: เทคโนโลยีดจิ ิทลั RS1: เทคโนโลยดี ิจทิ ลั
ดิจิทลั และระบบ น�ำ ไปสูผ่ ลลพั ธท์ ส่ี ามารถ หรือนวตั กรรมทส่ี รา้ ง
ข้อมลู สารสนเทศท่มี ี เพม่ิ ประสิทธิภาพการท�ำ งาน ผลกระทบสงู แก่ประชาชน
ประสทิ ธภิ าพและอ�ำ นวย หรือลดตน้ ทุนขององค์การได้ และผลลัพธ์ในระดับประเทศ
ความสะดวกแกผ่ ู้ใช้งาน RA2: เทคโนโลยดี ิจิทลั RS2: เทคโนโลยดี จิ ิทัล
มคี วามมนั่ คง และปลอดภัย หรอื นวตั กรรมทเ่ี ปน็ ตน้ แบบ
การปฏบิ ตั ิท่ีดจี นหนว่ ยงาน
อน่ื สามารถเรียนรแู้ ละ
น�ำ ไปใช้พฒั นาได้
76 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 77
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
5.1 ระบบการจัดการบคุ ลากรตอบสนองยุทธศาสตรแ์ ละสร้างแรงจงู ใจ
วิเคราะหค์ วามตอ้ งการด้านขีดความสามารถและอัตราก�ำ ลังของบุคลากร
ประเมินช่องวา่ งด้านขดี ความสามารถและอัตราก�ำ ลัง
บริหารจดั การด้านบคุ ลากรใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการขององคก์ าร
ระบบการจัดการบุคลากร
ระบบการบรหิ ารจัดการบุคลากรครบวงจรและบูรณาการต้ังแต่การสรรหา
วา่ จ้าง บรรจุ รกั ษาบคุ ลากร สร้างสภาพแวดลอ้ มทเี่ กอื้ หนุนการท�ำ งานของ
บุคลากรให้มีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
ระบบการบริหารจดั การดา้ นบุคลากรทม่ี ีประสิทธิภาพตอบสนองยุทธศาสตร์
และสร้างแรงจงู ใจ มคี วามคล่องตัวและม่งุ เน้นผลสัมฤทธิ์ มีการสร้างวัฒนธรรม
การท�ำ งานที่ดี กอ่ เกิดความรว่ มมือ
78 ค่มู ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระบบการพัฒนาบคุ ลากรมคี วามทันสมัย พัฒนาบุคลากรในสว่ นราชการ
ใหก้ ้าวทนั เทคโนโลยี มที กั ษะในการแก้ไขปัญหา สรา้ งความรอบรู้ และ
ความมจี รยิ ธรรมมคี วามคิดรเิ ริม่ ทีน่ ำ�ไปสู่นวตั กรรม มคี วามเปน็ ผปู้ ระกอบการ
สาธารณะ ปฏบิ ตั ิงานโดยเน้นให้ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง
ระดบั ความหมาย
Basic ระบบการสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ และการจัดวางคนไปยังตำ�แหน่งงาน
Advance ท่ตี รงกับความถนดั และความตอ้ งการเพอ่ื ประโยชนส์ งู สุดของ
ระบบงานของราชการ โดยคำ�นงึ ถึงความต้องการทห่ี ลากหลายของ
ประชาชน
การประเมินประสิทธผิ ลการทำ�งานและเส้นทางความกา้ วหน้า
ของบุคลากรทุกกลุ่ม สามารถสรา้ งแรงจงู ใจให้บคุ ลากรทุม่ เท และ
ทำ�งานให้มปี ระสิทธภิ าพสงู ตอบสนองยุทธศาสตร์และมงุ่ เนน้
ประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชน (High Performance)
Significance นโยบายการจัดการด้านบุคลากรสนับสนนุ การทำ�งานที่มีความคล่องตวั
และปรับเปลย่ี นใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
การทำ�งาน
Checklist 5.1 ระบบการจัดการบุคลากรตอบสนองยทุ ธศาสตร์และสรา้ งแรงจูงใจ
Basic Advance Significance
B1: วเิ คราะหป์ ระเมนิ A1: ออกแบบระบบ S1: บรหิ ารจดั การ
สภาพก�ำ ลงั คน การประเมนิ ประสทิ ธผิ ล ดา้ นบคุ ลากรใหม้ ี
ขีดความสามารถ และ การปฏิบตั ริ าชการของ ความคลอ่ งตวั ในการ
อตั ราก�ำ ลังท่ีหน่วยงาน บุคลากรในทกุ ระดับ ประสานงานในแนวราบ
จ�ำ เปน็ เพ่ือตอบสนอง อย่างชัดเจนและโปร่งใส และปรบั เปลีย่ นใหท้ ัน
พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ ต่อการเปล่ียนแปลงของ
การเปลีย่ นแปลง สภาพแวดล้อมการท�ำ งาน
ในปจั จบุ นั และอนาคต
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 79
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
B2: กำ�หนดคุณลกั ษณะ A2: สรา้ งการมสี ่วนร่วม S2: สร้างความร่วมมอื
ของก�ำ ลังคนทตี่ ้องการ ระหวา่ งผู้บังคับบญั ชากับ ด้านบคุ ลากรกับหนว่ ยงาน
ในอนาคต ผู้ปฏิบตั ิงานในการผลักดนั ภายนอกและเครอื ขา่ ย
B3: จดั ท�ำ แผนด้านบุคลากร ประสิทธผิ ลการปฏิบตั ิ ในการสง่ เสริมการทำ�งาน
ใหต้ อบสนองตอ่ พนั ธกิจ ราชการที่ดี รว่ มกัน
ยุทธศาสตร์ การเปลี่ยนแปลง A3: ออกแบบระบบเส้นทาง S3: น�ำ เทคโนโลยดี ิจิทัล
ในปัจจุบัน และอนาคต ความก้าวหนา้ ของบคุ ลากร และข้อมูลสารสนเทศ
B4: ออกแบบโครงสรา้ ง A4: สร้างการมีสว่ นร่วม เขา้ มาใชใ้ นการจัดการ
การทำ�งานให้ตอบสนอง ของบุคลากรทุกระดับ ด้านก�ำ ลังคนภาครัฐ
ตอ่ พนั ธกจิ และยทุ ธศาสตร์ ในการพัฒนาศักยภาพ
ขององค์การ และการก�ำ หนดเสน้ ทาง
B5: จดั ท�ำ ระบบการสรรหา การพัฒนาความกา้ วหน้า
วา่ จา้ งและบรรจบุ คุ ลากร ของตนเอง
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
B6: จัดอัตรากำ�ลงั ใหต้ รง
กับความรู้ ความสามารถ
เพอื่ ประโยชนส์ งู สดุ
RB1: ความสอดคล้อง RA1: บคุ ลากรมีผล RS1: การบรหิ ารบคุ ลากร
เชงิ ยุทธศาสตร์ระหว่าง การปฏิบตั ริ าชการดี มคี วามคล่องตวั และ
ทศิ ทางการบริหารงานของ ส่งผลสมั ฤทธต์ิ ่อภารกิจ ปรับเปล่ียนให้ทนั ตอ่
หน่วยงานกบั กลยทุ ธ์ องค์การ การเปลยี่ นแปลงของ
ด้านทรพั ยากรบคุ คล RA2: บคุ ลากรมีความ สภาพแวดลอ้ มการทำ�งาน
กา้ วหนา้ และมขี ดี ความ
สามารถในระดบั ท่พี ร้อม
ในการขบั เคลอื่ นงานของ
องคก์ รใหบ้ รรลุผลสัมฤทธ์ิ
80 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
RB2: ทรัพยากรบุคคล RS2: พัฒนาและการธำ�รง
มคี วามรู้ ทักษะและสมรรถนะ รักษาบุคลากรทเ่ี ปน็ ก�ำ ลัง
ทีจ่ �ำ เปน็ ส�ำ หรับการปฏิบัตงิ าน สำ�คญั ทจ่ี ะน�ำ ไปสคู่ วาม
RB3: โครงสร้างองคก์ ร ได้เปรียบในการแข่งขัน
ระบบการสรรหาวา่ จา้ ง ขององค์การอยา่ งยงั่ ยนื
และการจดั อัตรากำ�ลงั
มีประสทิ ธิภาพโปร่งใส
และเหมาะสม
5.2 ระบบการทำ�งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คล่องตวั และมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ออกแบบการทำ�งานและบรหิ ารบุคลากรเพ่ือให้งานขององค์กรบรรลผุ ลส�ำ เร็จ
ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ทีจ่ ากสมรรถนะหลกั ขององคก์ าร ส่งเสริมสนบั สนุน
การมงุ่ เน้นลกู ค้าและธุรกจิ มผี ลการด�ำ เนินการทเี่ หนอื กว่าความคาดหมาย
และนวตั กรรมในการทำ�งานรปู แบบใหม่
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 81
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
ระดบั ความหมาย
Basic สภาพแวดล้อมในการท�ำ งานที่
Advance - ปลอดภัย
- สนับสนุนการท�ำ งานที่มปี ระสทิ ธิภาพ
- คล่องตัว
- รว่ มกันท�ำ งานให้เกิดประสทิ ธผิ ล
สภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ใหบ้ ุคลากรมคี วามรับผิดชอบ (Empower)
กลา้ ตัดสินใจ เขา้ ถึงขอ้ มลู เพ่ือใช้สนับสนุนการท�ำ งานและการแกป้ ัญหา
เพื่อบรรลแุ ผนงานหลักขององค์การ
Significance การท�ำ งานท่เี ปน็ ทมี ทมี่ สี มรรถนะสูง มีความคล่องตัวและสามารถ
ท�ำ งานร่วมกบั เครอื ขา่ ยภายนอกเพ่อื น�ำ ไปสูก่ ารแกไ้ ขปัญหาท่ซี ับซ้อน
อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล
Checklist 5.2 ระบบการจดั การบุคลากรตอบสนองยทุ ธศาสตรแ์ ละสรา้ งแรงจูงใจ
Basic Advance Significance
B1: ออกแบบระบบงาน A1: สรา้ งสภาพแวดลอ้ ม S1: สรา้ งนวัตกรรม
ท่สี ง่ เสรมิ การบรรลพุ ันธกิจ ภายในองคก์ ารทใี่ ห้ความ ในการทำ�งานทม่ี ีศกั ยภาพ
และยุทธศาสตรข์ ององคก์ าร ส�ำ คญั กับการทำ�งานเปน็ ทีม โปรง่ ใส และตอบสนอง
B2: สร้างบรรยากาศ ขา้ มสายงานและ ตอ่ กระแสความเปลยี่ นแปลง
และสภาพแวดลอ้ ม การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากร จากปัจจยั ภายนอกได้
ในการท�ำ งานแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ ภายในองค์การ อย่างรวดเรว็
กระตุ้นให้เกดิ การท�ำ งานที่ A2: สง่ เสริมรูปแบบ
มีประสทิ ธภิ าพและ การท�ำ งานทตี่ อบสนอง
มีความคล่องตวั ตอ่ การขับเคลือ่ นหรอื
แก้ไขปญั หาแบบรวดเร็ว
82 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Basic Advance Significance
B3: กำ�หนดแนวปฏบิ ัติ A3: ส่งเสรมิ รูปแบบ S2: สร้างรูปแบบการทำ�งาน
เก่ียวกบั ความปลอดภยั การทำ�งานทีใ่ ห้บคุ ลากร ทม่ี ีความรว่ มมอื กบั
ในการปฏบิ ัติงานใช้เป็น ทกุ ระดับได้มีส่วนรว่ ม เครือขา่ ยภาคประชาชน
แนวปฏิบัติส�ำ หรบั บคุ ลากร และกลา้ ตดั สินใจ และหน่วยงานภายนอก
ท่เี ก่ยี วข้องไดถ้ อื ปฏบิ ตั ิ A4: นำ�เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในลกั ษณะของทีม สหสาขา
เขา้ มาใช้ในการส่งเสริม (Trans-disciplinary)
การท�ำ งานและสรา้ ง เพอื่ น�ำ ไปสคู่ วามสำ�เรจ็
ความคลอ่ งตัวในการปฏิบตั งิ าน รว่ มกนั
RB1: บุคลากรมคี วามปลอดภัย RA1: สภาพแวดล้อม RS1: รูปแบบการทำ�งาน
ในการปฏบิ ตั ิงาน ในการท�ำ งานที่สนับสนนุ ข้ามหน่วยงานทีม่ ีการบรู ณาการ
RB2: การท�ำ งานมีความ ให้เกดิ ความสำ�เร็จตามพันธกจิ การทำ�งานร่วมกนั เพ่อื
คลอ่ งตวั เกดิ ความรว่ ม และยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ ร นำ�ไปสผู่ ลสัมฤทธิ์ในระดบั
มอื ในการปฏบิ ตั ิงาน ประเทศ และประโยชนส์ ขุ
เพอ่ื สนบั สนุนใหเ้ กดิ ของประชาชน
ประสทิ ธภิ าพในการ
ปฏิบัตงิ านของบุคลากร
5.3 การสร้างวัฒนธรรมการทำ�งานทดี่ แี ละความร่วมมือ
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 83
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ส�ำ รวจและวเิ คราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันและแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงาน
สรา้ งวัฒนธรรมการท�ำ งานและแรงจูงใจกบั บคุ ลากร
ลักษณะของวฒั นธรรมทท่ี ำ�ใหอ้ งคก์ ารเกดิ ประสิทธิผล
จากการศึกษาของเดเนยี ล อาร์ เดนิสนั (Daniel R. Denison, 1990)
ในเรอ่ื งปจั จยั ด้านวัฒนธรรมองคก์ ารและประสทิ ธภิ าพ (Effectiveness) ขององคก์ าร
เป็นอยา่ งมากเมอ่ื วัฒนธรรมนั้นกอ่ ให้เกิดสิ่งต่อไปนี้
1) การผกู พัน (Involvement) การผกู พนั และการมสี ว่ นรว่ มในองค์การ
2) การปรับตัว (Adaptability) การปรับตัวทเี่ หมาะสมกบั การเปลย่ี นแปลง
ของสภาพแวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกองคก์ าร
3) การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิไดส้ ม�่ำเสมอ (Consistency) การประพฤติปฏิบตั ิได้
สม�่ำเสมอ ซ่ึงจะท�ำใหก้ ารท�ำงานทปี่ ระสานกนั และสามารถคาดหมายพฤติกรรมตา่ ง ๆ
ท่ีเกิดข้ึนได้
4) มวี สิ ยั ทศั น์และภารกจิ ขององค์การท่เี หมาะสมมีวิสยั ทศั นแ์ ละภารกจิ
ขององค์การที่เหมาะสม ท�ำให้องค์การมีกรอบทศิ ทางการด�ำเนนิ ทชี่ ดั เจน ปัจจัยทั้ง 4 สว่ น
ข้างตน้ จะท�ำให้องค์การสามารถบรรลุสู่ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ตามทต่ี อ้ งการ
ปัจจยั ด้านวฒั นธรรมองค์การ จงึ มีความส�ำคัญทีจ่ ะสนับสนนุ ให้องค์การบรรลุสู่วิสยั ทัศน์
และภารกิจทกี่ �ำหนดอย่างเหมาะสมได้
ระดบั ความหมาย
Basic การสร้างวฒั นธรรมในการทำ�งานที่เปน็ มืออาชีพ เปดิ โอกาสในการนำ�เสนอ
ความคิดรเิ รม่ิ และสนบั สนุนความคดิ สรา้ งสรรค์
Advance การค้นหาปัจจัยท่ีท�ำ ให้บคุ ลากรมีความผูกพัน ทุม่ เท มผี ล
การปฏิบัตงิ านท่ีดี และสร้างวัฒนธรรมการทำ�งานที่น�ำ ไปสผู่ ลลัพธ์
ขององคก์ าร
Significance การสรา้ งวฒั นธรรมการท�ำ งานทมี่ ีประสทิ ธภิ าพสงู สร้างความภูมใิ จ
และความเป็นเจา้ ของใหแ้ กบ่ คุ ลากร (Public Entrepreneurship)
และร่วมมือเพ่อื น�ำ พาองค์การไปสคู่ วามสำ�เร็จและประโยชน์ทเี่ กดิ กับ
สงั คมและประชาชน
84 คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Checklist 5.3 การสร้างวัฒนธรรมการทำ�งานทีด่ ีและความรว่ มมอื
Basic Advance Significance
B1: สร้างวัฒนธรรม A1: คน้ หาปัจจัยท่ีส่งผล S1 : สรา้ งวัฒนธรรมการ
ในการท�ำ งานที่เป็นมอื อาชพี ต่อความผกู พัน การทมุ่ เท ทำ�งานในเชงิ รุก มุ่งเน้น
B2: สรา้ งกลไกและช่องทาง และผลการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี การสร้างคุณคา่ ยดึ ม่นั
ทเี่ ปิดโอกาสให้บุคลากร ของบคุ ลากร ประโยชนส์ ่วนรวมและ
ไดค้ ิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์และ A2: สร้างใหเ้ กิดแรงจงู ใจ ประโยชนส์ ุขของประชาชน
มีสว่ นร่วมในการพัฒนา เพ่ือให้เกดิ ผลการปฏิบัติ S2: สร้างแนวคิดของ
องค์การ งานทดี่ ี บุคลากรในการเป็น
A3: วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ ผ้ปู ระกอบการภาครัฐ
ระหว่างปจั จยั ทสี่ รา้ งความ โดยม่งุ เน้นประโยชน์
ผกู พันกับผลลัพธ์ขององคก์ าร ของส่วนรวมผู้รับบรกิ าร
หรือ ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี
เปน็ หลัก
RB1: วฒั นธรรมการท�ำ งาน RA1: บุคลากรมคี วามผกู พนั RS1: บคุ ลากรปฏิบตั งิ าน
แบบมอื อาชีพ มีแรงจงู ใจในการปฎบิ ตั งิ าน โดยมงุ่ เนน้ การสรา้ งคณุ ค่า
ยดึ ม่ันประโยชน์สว่ นรวม
และประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
RS2: รกั ษาและดึงดดู
บคุ ลากรท่มี ีศกั ยภาพ
ใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงขององค์การ
คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 85
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
5.4 ระบบการพฒั นาบคุ ลากร
แนวทางและกระบวนการพฒั นาและสง่ เสริมให้บุคลากรมคี วามรู้ ความสามารถ
มที กั ษะในการปฎบิ ัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เกดิ การพฒั นาศกั ยภาพโดยรปู แบบ
ท่ีหลากหลายเหมาะสมกบั บริบทขององคก์ าร เช่น การฝกึ อบรม การศกึ ษาดูงาน การถ่ายทอด
ประสบการณ์ระหว่างกนั
1) แสวงหาความจ�ำ เป็นและความตอ้ งการในการพฒั นาบุคลากร
ค�ำ นงึ ถงึ ความตอ้ งการระยะสั้น ระยะยาวเพื่อน�ำ ไปสกู่ ารบรรล ุ
เป้าหมายขององคก์ าร
คำ�นึงถึงความตอ้ งการในการพฒั นาและความกา้ วหนา้
ของบุคลากร
บทบาทภารกิจและยุทธศาสตร์ขององค์การ
สภาพแวดลอ้ มและความเปลี่ยนแปลงทางดา้ นบุคลากร
ทง้ั ภายในและภายนอกองค์การ
ความตอ้ งการในการพัฒนาของบคุ ลากร
2) วางแผนในการพฒั นาบคุ คล
3) ดำ�เนนิ การในการพัฒนาบุคคล
Training
On the job training
การประชมุ อภปิ ราย (Conference)
การศึกษากรณีตวั อย่าง (Case study)
การศึกษาดงู าน (Study visit)
การโยกยา้ ยสับเปล่ียนหนา้ ทก่ี ารงาน (Job rotation)
86 คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
การสอนงาน (Coaching)
พีเ่ ลีย้ ง (Mentoring)
การศึกษาดูงานนอกสถานท่ี
4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการพัฒนาบคุ คล
สมรรถนะ ขดี ความสามารถ
ระดบั ความหมาย
Basic ระบบการพฒั นาบคุ ลากรที่สร้างคนใหม้ ี
- คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
- มคี วามร้แู ละทกั ษะในการแกป้ ัญหา
- ทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ัลและความรอบรใู้ หท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง
Advance ระบบการพัฒนาบุคลากรเพอื่ เพิม่ พูนสั่งสมทกั ษะความรู้
ความเช่ยี วชาญในดา้ นต่าง ๆ ทม่ี คี วามส�ำ คัญตอ่ สมรรถนะหลกั
และการบรรลเุ ปา้ หมายยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการ
Significance ระบบการพัฒนาบุคลากรและผูน้ ำ�ให้มีทักษะทสี่ ามารถปฏิบัตงิ าน
ได้หลากหลาย มีความรอบรู้ สามารถตดั สินใจและมคี วามคิดในเชงิ วิกฤติ
พรอ้ มรับปญั หาทีม่ ีความซบั ซอ้ นมากยง่ิ ขน้ึ
(Fluid Intelligence/ Complex Problem Solving)
Checklist 5.4 ระบบการพฒั นาบุคลากร
Basic Advance Significance
B1: กำ�หนดเป้าหมาย A1: สร้างรูปแบบการเรียนรู้ S1: เตรียมพรอ้ มบุคลากร
และทิศทางการพฒั นา และพัฒนาทตี่ อบสนองต่อ ให้มีทกั ษะทส่ี ามารถปฏบิ ัติงาน
บุคลากรให้ชัดเจน ความต้องการในการเรียนรู้ ไดห้ ลากหลาย มคี วามสามารถ
B2: จัดทำ�แผนการพัฒนา ทแ่ี ตกตา่ งกันของบุคลากร ในการตดั สนิ ใจ พรอ้ มรบั
บุคลากรท่สี อดคลอ้ ง ภาครฐั และการบรหิ าร กับปญั หาทม่ี ีความซับซ้อน
กับพนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ จัดการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
และความรทู้ กั ษะที่จ�ำ เป็น ของบคุ ลากร
คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 87
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
B3: ก�ำ หนดแนวทาง A2: พฒั นากรอบทักษะ S2: สรา้ งเครือข่ายระหว่าง
การพัฒนาท่สี ร้างการ (Skillsets) การท�ำ งาน สว่ นราชการ หนว่ ยงาน
มสี ่วนรว่ มของบคุ ลากร ในยคุ ดิจทิ ัล และศตวรรษ ภาครฐั และภาคเอกชน
ในการก�ำ หนดมาตรฐาน ที่ 21 ให้กับบคุ ลากร ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ
ความสำ�เร็จของการพฒั นา A3: น�ำ เทคโนโลยีดิจทิ ัล เพอ่ื พัฒนาบคุ ลากร
เข้ามาใช้ในการส่งเสรมิ ภาครฐั ให้มีกรอบความคิด
การเรยี นร้แู ละพฒั นา และทักษะทจ่ี ำ�เปน็ ในการ
สร้างสรรคเ์ พ่อื ประชาชน
และประโยชนส์ ว่ นรวม
RB1: บุคลากรได้รบั การพัฒนา RA1: บุคลากรมที กั ษะ RS1: บุคลากรภาครัฐ
ให้มีสมรรถนะท่ตี อบสนอง ที่จำ�เป็นในการขับเคลือ่ น สามารถสรา้ งผลลัพธ์
ความตอ้ งการขององค์การ การปฏริ ูปภาครฐั เชิงนวตั กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์
และบคุ ลากร RA2: ระบบนิเวศในการทำ�งาน ต่อภาครัฐและประชาชน
RB2: บุคลากรมีขดี สมรรถนะ ทีเ่ หมาะสมและสอดรบั กบั RS2: นวตั กรรมที่ริเริ่ม
และขีดความสามารถ บรบิ ท สามารถสง่ เสริม จากบุคลากรและสามารถ
ท่ีตรงกับความต้องการ ให้บคุ ลากรภาครัฐเกดิ ตอบสนองต่อการขับเคล่ือน
ขององคก์ าร การเรยี นรแู้ ละพัฒนา ภารกจิ ตามแผนการปฏิรูป
อย่างต่อเนือ่ งและสามารถ ประเทศแผนยุทธศาสตรช์ าติ
แสดงพฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ตลอดจนการพฒั นาระบบ
ออกมาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล ราชการในอนาคต
RS3: สามารถดึงดดู
และรกั ษาไวซ้ งึ่ บคุ ลากร
ทมี่ ศี ักยภาพในการขบั เคลื่อน
การเปลยี่ นแปลง
88 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 89
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
90 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
หมวด 6 การมงุ่ เนน้ ระบบปฏบิ ัตกิ าร
6.1 กระบวนการทำ�งานเช่อื มโยงตง้ั แต่ตน้ จนจบนำ�ไปสูผ่ ลลพั ธ์ที่ต้องการ
วเิ คราะห์ทบทวนปจั จัยท่ีเกยี่ วข้อง
ทบทวนวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และแผนยุทธศาสตรร์ ะยะยาว ปจั จยั ท่ีสรา้ งการเปลยี่ นแปลง
ทกี่ �ำ ลังเกดิ ข้ึน การปรับตวั เพอ่ื รองรบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั โครงสร้างของระบบการปฏิบตั ิ
การเชอ่ื มโยงสผู่ ลลพั ธ์ และการบริการภายใตก้ ารวางแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว
ออกแบบระบบปฏบิ ตั ิการ
เชอ่ื มโยงกระบวนการระดับบนสกู่ ระบวนการระดบั ยอ่ ย และการทำ�งาน
ในสว่ นงานตา่ ง ๆ กระบวนการสรา้ งคณุ คา่ และกระบวนการสนับสนุนเพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพ
ประสทิ ธิผล และสนับสนุนขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
คู่มอื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 91
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
กำ�กบั ติดตาม ประเมินผลการดำ�เนนิ การของกระบวนการ
วิเคราะหต์ ัววัดผลลัพธ์ของกระบวนการ และตัววัดในการติดตามกระบวนการ
นวตั กรรมในการตดิ ตามผา่ นเทคโนโลยี เช่น Real-Time
กระบวนการทำ�งานที่สำ�คัญขององค์การ คือ กระบวนการสรา้ งคณุ ค่าภายใน
องคก์ ารที่สำ�คัญทส่ี ุด ซง่ึ อาจรวมถึงการออกแบบและสง่ มอบการบรกิ าร การสนับสนุนผู้รับบรกิ าร
กระบวนการทำ�งานในองคก์ ารเกี่ยวข้องกบั บุคลากรที่ต้องรว่ มมือกันสง่ มอบผลผลิตจากขัน้ ตอน
การทำ�งานของตนเองไปจนจบกระบวนการ เพือ่ ส่งมอบบริการหรอื ผลลัพธท์ ส่ี ร้างคุณคา่
แกผ่ ู้รบั บริการ ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี
ระดับ ความหมาย
Basic การออกแบบกระบวนการท�ำ งานให้มีการเชอ่ื มโยง ตงั้ แต่ต้นจนจบ
( End-to-endprocess design) เพอ่ื สง่ มอบผลลัพธท์ มี่ ีคณุ คา่
แก่ประชาชน รวมถงึ ประสานการท�ำ งานที่ขา้ มสว่ นราชการ
(Cross-boundary process) เพ่อื ใหเ้ กดิ ประสิทธิผลสูงสดุ
Advance มีการติดตามควบคุมกระบวนการโดยใช้ตัวช้ีวัดและใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยดี ิจิทลั ท่ีทนั สมัยและข้อมูลร่วมกับเครือข่ายภายนอก
เพอื่ การท�ำ งานทเี่ กิดประสิทธผิ ล
Significance การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการจดั การกระบวนการและการติดตาม
รายงานผลอย่างรวดเร็ว ฉับไว และตอบสนองการบรู ณาการที่มงุ่ สู่
ความเป็นเลิศ (Operational excellence)
Checklist 6.1 กระบวนการทำ�งานเชอ่ื มโยงต้ังแต่ต้นจนจบนำ�ไปสู่
ผลลพั ธท์ ี่ตอ้ งการ
Basic Advance Significance
B1: วเิ คราะห์พนั ธกจิ A1: ออกแบบระบบตดิ ตาม S1: วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบ
ยทุ ธศาสตร์ และ
ความเปลีย่ นแปลง และควบคมุ กระบวนการ โดยใชข้ ้อมูลเทียบเคียง
ในดา้ นขีดความสามารถ
ทางการแขง่ ขนั ขององค์กร ท�ำ งานตงั้ แต่ต้นจนจบ (Benchmarks) เพอ่ื น�ำ ไปสู่
กระบวนการ การก�ำ หนดแนวทางใน
การพฒั นาส่คู วามเป็นเลิศ
92 ค่มู ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Basic Advance Significance
B2: วเิ คราะหผ์ ลกระทบเชงิ ลบ A2: ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั S2: สร้างนวตั กรรม
จากผลผลติ การบริการ และ และขอ้ มลู สารสนเทศ ในการพฒั นาผลผลติ
กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน ในการตดิ ตามและควบคุม การบริการ และกระบวนงาน
B3: ออกแบบกระบวนการ กระบวนการ และติดตาม รว่ มกันระหว่างหนว่ ยงานเครือข่าย
ทำ�งานทเ่ี ช่ือมโยงตัง้ แต่ต้นจนจบ
(End-to-end process design) ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ จากกระบวนการ ท่เี กยี่ วขอ้ งในกระบวนการ
เพอ่ื นำ�ไปสู่ผลลัพธต์ ามพนั ธ A3: เชอ่ื มโยงแลกเปล่ียน หรือการบริการเพือ่ สร้าง
กจิ และยทุ ธศาสตร์ รวมถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศในการติดตาม ผลลัพธ์ทีด่ แี ละสร้างคุณคา่
สร้างคุณค่าแกผู้รบั บรกิ าร และควบคุมกระบวนการ แกป่ ระชาชนและสรา้ ง
B4: วางแนวทางการท�ำ งาน ร่วมกบั เครอื ข่ายหนว่ ยงาน ความยั่งยนื ในระยะยาว
ทเ่ี ชอื่ มโยงระหว่างหนว่ ยงาน ทเี่ ก่ียวข้องเพอ่ื น�ำ ไปส่กู ารสรา้ ง S3: ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล
ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ทงั้ ภายในและ ประสทิ ธผิ ลของงาน ในการจัดการกระบวนการ
ภายนอกองคก์ ร และรายงานผลอยา่ งรวดเร็ว
B5: กำ�หนดตวั วัดในการควบคมุ ฉบบั ไว และทนั ท่วงที
กระบวนการทำ�งานตัง้ แต่ตน้ S4: ออกแบบกระบวนการ
จนจบ ท่ีมกี ารเตรยี มพร้อมและ
ค�ำ นึงถึงผรู้ บั บริการ
ในอนาคตของส่วนราชการ
RB1: ระบบการทำ�งานท่ี RA1: หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง RS1: ผลลัพธจ์ ากระบวนการ
เชอื่ มโยงตั้งแต่ตน้ จนจบ
(End-to-end process ทำ�งานสอดคลอ้ ง ประสาน เชอ่ื มโยงตั้งแตต่ ้นจนจบ
design) ทม่ี ีประสทิ ธิผล
เช่ือมโยงกระบวนการทำ�งาน กระบวนการสร้างคุณคา่
ตั้งแตต่ ้นจนจบ ทตี่ อบสนองตอ่ ประชาชน
และประเทศอยา่ งยั่งยืน
RS2: เป็นต้นแบบใน
การท�ำ งานถา่ ยทอด
แลกเปลีย่ นบทเรียนใน
การจดั การกระบวนการ
ท่ีเช่ือมโยงตัง้ แตต่ น้ จน
จบกระบวนการ
คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 93
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
6.2 การ การสร้างนวัตกรรมในการปรบั ปรุงผลผลติ กระบวนการการใหบ้ ริการ
วิเคราะห์และทบทวนกระบวนการเพอ่ื แสวงหาโอกาสในการปรับปรุงและพฒั นา
พัฒนา ปรับปรงุ และสรา้ งนวัตกรรมของกระบวนงาน
ตดิ ตามประเมนิ ผลการพัฒนาเพ่อื ปรบั ปรุงอย่างต่อเน่ือง
ระดับ ความหมาย
Basic การบริหารจัดการกระบวนการอยา่ งเป็นระบบทง้ั กระบวนการหลักและ
กระบวนการสนับสนุน มกี ารติดตามและปรบั ปรงุ เพื่อให้เกิดประสิทธผิ ล
โดยมงุ่ เนน้ คุณค่าแกป่ ระชาชน
Advance การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนการ
- กระบวนการหลกั
- กระบวนการสนับสนุน
- การบรกิ ารประชาชน
- ความสะดวกและการส่อื สาร
Significance การสร้างนวัตกรรมในการปรบั ปรงุ ผลผลิตและการแกไ้ ขปญั หา
ในเชิงกระบวนการระดับองคก์ ารจนเกดิ ความเปน็ เลศิ น�ำ ไปสผู่ ลลัพธ์
ทีเ่ ป็นประโยชน์กับประชาชนและภาคธุรกจิ (Public value)
94 คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
Checklist 6.2 การสรา้ งนวตั กรรมในการปรับปรุงผลผลิต กระบวนการ การใหบ้ รกิ าร
Basic Advance Significance
B1: วิเคราะหท์ บทวน A1: สรา้ งการมสี ่วนรว่ ม S1: นำ�เทคโนโลยแี ละ
กระบวนการหลัก และ ของบุคลากร ในการพฒั นา นวตั กรรม มาใชใ้ น
กระบวนการสนบั สนุน และปรับปรงุ กระบวนการ การพัฒนาและปรบั ปรุง
อยา่ งเป็นระบบ เพือ่ หา โดยการบูรณาการ กระบวนการทำ�งานท่ี
แนวทางพฒั นาปรบั ปรงุ การท�ำ งานข้ามสายงาน เชือ่ มโยงตง้ั แตต่ น้ จนจบ
เพิ่มประสทิ ธิภาพของ แบบรวดเรว็ กระบวนการ
กระบวนการและการบริการ A2: นำ�เทคโนโลยีดิจิทัล S2: สรา้ งความร่วมมอื กับ
ใหด้ ีขึ้น และนวัตกรรม มาใช้ ทุกภาคสว่ นในการแกป้ ัญหา
B2: สร้างกระบวนการ ในการพฒั นาและปรับปรุง เชงิ บูรณาการ
มีส่วนรว่ มของบคุ ลากร กระบวนการ S3: สรา้ งนวัตกรรมเพอ่ื
ภายในองคก์ รในระดับตา่ ง ๆ การปรับปรุงท่ีมีผลกระทบ
ในการพฒั นาและปรบั ปรุง สงู จากการมีส่วนร่วมของ
กระบวนการ ผเู้ ก่ียวข้อง
B3: กำ�หนดตวั ชีว้ ดั เพื่อใช้
ติดตาม ควบคมุ การด�ำ เนนิ การ
และนำ�ผลมาปรับปรุงผลผลติ
กระบวนการ และการบริการ
ใหด้ ขี ึ้นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
RB1: กระบวนการหลักและ SA1: ผลผลติ และผลลัพธ์ RS1: นวตั กรรมในการ
กระบวนการสนับสนุนมกี าร ของกระบวนการที่สร้างคณุ ค่า พฒั นาผลผลิต บรกิ าร และ
พฒั นาและปรบั ปรงุ แกป่ ระชาชนและ กระบวนการทเี่ กดิ จากการ
อยา่ งต่อเนื่อง ผรู้ บั บริการ แกไ้ ขปญั หาร่วมกันของ
หลายภาคสว่ น
RS2: ผลผลติ และผลลพั ธ์
ของกระบวนการทนี่ ำ�ไปสู่
การสรา้ งผลกระทบสูงตอ่
ยุทธศาสตรช์ าติ
ในด้านเศรษฐกจิ สังคม
สิ่งแวดลอ้ ม และ
สร้างความเปน็ เลศิ
คมู่ ือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 95
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค
6.3 การลดต้นทนุ การใช้ทรัพยากรเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพและความสามารถ
ในการแขง่ ขนั
วเิ คราะห์ต้นทุนและการใชท้ รพั ยากร
วเิ คราะห์ต้นทุนของระบบการปฏบิ ัติการทั้งหมดขององคก์ าร ทง้ั ทางตรง
และทางออ้ ม
วิเคราะหก์ ารลงทุนและความคุม้ ทุนในโครงการและกจิ กรรมต่าง ๆ
วิเคราะหก์ ารใชท้ รพั ยากรทีส่ ำ�คญั ในการปฏิบตั กิ าร
วเิ คราะห์เปรียบเทยี บกับหนว่ ยงานเทียบเคียง (Benchmarking)
สร้างแนวคิดการลดตน้ ทุน
ลดการสญู เปล่า การรักษาส่ิงแวดลอ้ ม
การใชท้ รัพยากรอยา่ งคมุ้ ค่าและการแบ่งปันการใชท้ รัพยากร
เพ่อื เป้าหมายการเพ่มิ ขดี ความสามารถทางการแขง่ ขันขององคก์ าร
เชื่อมโยงเป็นส่วนหน่งึ ของยทุ ธศาสตร์
สรา้ งความร่วมมือของบคุ ลากรและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องในการด�ำ เนินการ
น�ำ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาใช้
คำ�นึงถงึ ตน้ ทุนและทรพั ยากรในระยะสัน้ และระยะยาวขององค์การ วางระบบ
กลไกการติดตามและควบคุมต้นทุน
ตัววดั ในการตดิ ตามและควบคุมต้นทุนและทรพั ยากรทส่ี ำ�คญั
การตดิ ตามอย่างทันทว่ งที
96 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
การลดต้นทนุ โดยรวมของการปฏิบัตกิ าร และการใชท้ รพั ยากรเพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพ
และความสามารถในการแข่งขัน องคก์ ารอาจพิจารณาด�ำเนินการในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี
น�ำเรือ่ งของรอบเวลา ผลิตภาพ รวมทง้ั ปัจจัยด้านประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลอืน่ ๆ มาพิจารณาในกระบวนการท�ำงาน
ป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ของเสีย ความผิดพลาดของการให้บริการและการท�ำงานซ�้ำ
ลดต้นทนุ โดยรวมที่เกย่ี วขอ้ งกบั การตรวจสอบ (inspections) การทดสอบ
(tests) และการตรวจสอบกระบวนการหรือผลการด�ำเนินการ (PROCESS
or PERFORMANCE audits)
สร้างความสมดุลระหวา่ งความต้องการควบคมุ ตน้ ทนุ กับความต้องการ
ของผรู้ บั บริการ
ระดบั ความหมาย
Basic มีการวิเคราะห์ต้นทนุ และการลงทุนในทรัพยากรต่าง ๆ ท่ีใช้ในกระบวนการ
หลักและกระบวนการสนับสนุนเพือ่ การควบคมุ ต้นทุนโดยรวม
Advance น�ำ ผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการลดต้นทนุ และเพิม่ ประสิทธภิ าพ
ในการท�ำ งานจาก
- นโยบายการลดต้นทุน
- การใช้เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย
- แบง่ ปนั ทรัพยากรในการท�ำ งานร่วมกัน
Significance การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ นวตั กรรมในการลดต้นทุน เพือ่ เพ่ิม
ขดี ความสามารถในการแข่งขนั โดยใช้ขอ้ มูลเทียบเคยี งในระดับประเทศ
และระดับนานาชาติ
คมู่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 97
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
Checklist 6.3 การลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพและ
ความสามารถในการแขง่ ขัน
Basic Advance Significance
B1: วเิ คราะหต์ ้นทนุ และ A1: วิเคราะหค์ วามคุ้มคา่ S1: วเิ คราะห์เปรยี บเทียบ
ทรัพยากรทใี่ ชใ้ นกระบวนการ ในดา้ นตน้ ทุนและทรพั ยากร ต้นทุนและทรพั ยากรกับ
หลักและกระบวนการสนับสนนุ A2: น�ำ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั หน่วยงานเทียบเคียง
B2: วางแผนงานและมาตรการ มาใชใ้ นการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ในระดบั ประเทศและระดบั
เพ่มิ ประสิทธภิ าพการใช้ตน้ ทุน ในการท�ำ งานหรอื ลดต้นทุน
นานาชาติ
และทรพั ยากรท้งั ระยะสนั้ และแบง่ ปันทรพั ยากร S2: น�ำ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
มาใช้ในการสรา้ งนวัตกรรม
และระยะยาว ในการปฏบิ ัติงาน เพื่อการลดตน้ ทนุ และ
เพิม่ ประสทิ ธภิ าพท่ีมี
B3: ดำ�เนนิ การตามแผนการ A3: เช่อื มโยงหน่วยงาน
ลดตน้ ทนุ และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ เครอื ขา่ ยภายนอกในการ
ในการทำ�งาน เพิ่มประสทิ ธิภาพการใช้ ผลกระทบสูง
B4: วางระบบและกลไก ตน้ ทุนและทรัพยากร
การติดตาม และควบคุม ในการปฏบิ ัติงาน
ตน้ ทนุ และทรัพยากรที่สำ�คญั
ขององค์การ
RB1: บคุ ลากรทุกระดับ RA1: เพิ่มประสิทธภิ าพ RS1: เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ
ในองคก์ ารใหค้ วามร่วมมือ หรือลดตน้ ทนุ และทรัพยากร หรือการลดตน้ ทนุ ท่ีเช่ือมโยง
ในการดำ�เนนิ การตามแผนงาน ในการปฏิบัติงานขององคก์ าร กบั การเพิ่ม ขดี ความสามารถ
และมาตรการในการเพ่มิ ทางการแข่งขันของประเทศ
ประสิทธภิ าพการใช้ต้นทนุ และการสร้างความยัง่ ยนื
และทรัพยากร ของการดำ�เนินงานในระยะยาว
98 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค
6.4 การมงุ่ เน้นประสิทธิผลทง้ั องคก์ ร และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ประเทศ
ก�ำ หนดตัววัดของกระบวนการทกุ ระดบั ท้ังตัววดั นำ� (Leading) และ
ตัววัดตาม (Lagging)
กลไกในการติดตามรายงานตวั วดั ท้ังในระดับองคก์ าร และการรายงาน
สถานการณ์
วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการบรรลตุ วั วัดในระดบั ตา่ ง ๆ
วเิ คราะห์เชือ่ มโยงตัววัดกระบวนการกับการบรรลุตวั วัดเชิงยทุ ธศาสตร์
ขององค์การ
การตอบสนองการเปลีย่ นแปลงเพือ่ ให้ทนั กบั เหตกุ ารณอ์ ย่างทนั การณ์
วิเคราะห์เช่อื มโยงผลกระทบที่อาจเกิดขน้ึ กบั ผลลพั ธ์ทเี่ กดิ ขึน้ กบั ประชาชน
และประเทศชาติ
การจดั การภยั พบิ ัติและภาวะฉุกเฉิน
ระบบการเตรียมพร้อมตอ่ ภยั พิบัติและภาวะฉกุ เฉิน ควรคำ�นงึ ถงึ การปอ้ งกนั
ความตอ่ เน่ืองของการดำ�เนนิ การและการท�ำ ใหค้ นื สู่สภาพเดิม
ระบบการเตรยี มพร้อมต่อภยั พิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน ควรค�ำ นึงถึงการพ่งึ พา
บุคลากรขององค์การ ผสู้ ่งมอบและหนว่ ยงานเครือขา่ ย
ท�ำ ให้ม่ันใจว่าระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามปลอดภยั และพรอ้ มใช้งาน
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื ใหส้ ามารถให้บรกิ ารและตอบสนองความตอ้ งการได้
คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 99
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค