The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK หนังสือ คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำหรั

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tonaorancharee, 2022-04-25 23:34:43

E-BOOK หนังสือ คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำหรั

E-BOOK หนังสือ คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำหรั

คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย

หัวใจสำ�คญั ของการพัฒนาวัฒนธรรมองคก์ าร
คอื “การสร้าง” และ “การจัดการ” วัฒนธรรมองคก์ าร
ในทิศทางทเ่ี หมาะสมและมีประสิทธภิ าพ ส�ำ หรับ
การสรา้ งวัฒนธรรมหมายรวมถงึ การพัฒนาปรับปรุง
เปลย่ี นแปลงวัฒนธรรมด้วย หากสามารถสร้าง
วฒั นธรรมท่ีดอี นั เป็นผลจากการศกึ ษา และออกแบบ
อยา่ งเปน็ ระบบแลว้ วฒั นธรรมท่ีสร้างขึ้นยอ่ มจะชว่ ย
ในการขับเคลอ่ื นและสนับสนุนการดำ�เนนิ ธุรกิจของ
องค์การได้เป็นอยา่ งดี ในขณะเดียวกัน “การจดั การ”
จะช่วยกำ�กบั ดแู ลให้วัฒนธรรมองค์การสรา้ งผลกระ
ทบตอ่ องคก์ ารในแงบ่ วกมากกว่าแง่ลบขยายผล และ
กระจายวัฒนธรรมทด่ี ีส่ทู กุ คนในองคก์ ารพร้อมกับ
คอยดแู ลและกำ�จัดวัฒนธรรมทไ่ี ม่พงึ ปรารถนาออกจาก
ระบบตา่ ง ๆ ภายในองค์การ เพ่อื ใหก้ ารขบั เคล่อื นงาน
ในภาพรวมเกดิ ประสทิ ธภิ าพและพนักงานมีความผกู พนั
ท่ีดีต่อองค์การ

วฒั นธรรมการท�ำ งานในเชิงรกุ “การทำ�งานในเชิงรกุ ” (Pro-Active) หมายถึง
การตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงทั้งปจั จบุ นั และ
อนาคตท่อี าจจะเกดิ ขึ้นจากภายในและภายนอก
อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล

เปน็ มอื อาชีพ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ได้ก�ำ หนดคณุ สมบตั หิ รือ
คณุ ลักษณะของการเปน็ ข้าราชการที่ดี สำ�หรบั
ขา้ ราชการยุคใหมใ่ นสว่ นของข้าราชการมอื อาชพี
(Professionalism) ดังน้ี
- สามารถจัดการกบั กลมุ่ คนท่ีหลากหลาย
- พรอ้ มท�ำ งานภายใตว้ กิ ฤต
- เช่ยี วชาญเฉพาะด้านในงานสงู
- ความรทู้ ่ัวไปดี และเรียนรูก้ ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา

150 คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย
ผูป้ ระกอบการภาครฐั
- เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ สง่ มอบผลงานได้
- คล่องตัวฉับไวในการท�ำ งาน
- ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงไดด้ ี
- แมน่ ตรงต่อขอ้ กฎหมาย และการบวนการทางกฎหมาย
- ทักษะในการเจรจาตอ่ รอง
- ทักษะและความสามารถในการติดตอ่ สือ่ สาร
- ส่อื สารภาษาต่างประเทศได้
- รับมือกบั ปญั หาเฉพาะหนา้ และจดั การกบั สถานการณ์
ทห่ี ลากหลายได้
- รู้เท่าทนั กับการเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยี
- รกู้ ารเปลี่ยนแปลงและแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจ
- ทนั ยคุ และทนั สมัย
- รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ ๆ

ผ้ปู ระกอบการภาครัฐ (สาธารณะ) เป็นเรือ่ ง
ของการผสมผสานระหวา่ ง “ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ”
ที่เน้นการใช้ประโยชน์จากโอกาสเพอ่ื สร้างคุณคา่
(Value Creation) และ “สาธารณะ” ท่ีเปน็ เรอื่ งเก่ียวกบั
ประโยชนข์ องส่วนรวม เขา้ มารว่ มกนั เพ่อื เปน็ ทางเลอื กใหม่
ในการน�ำ ความเปลย่ี นแปลง (Leading Change) หรอื
นวัตกรรมใหเ้ กิดข้นึ ในการบริหารกจิ การบา้ นเมือง
เพอ่ื ประโยชน์สุขของประชาชน

ความเปน็ ผปู้ ระกอบการภาครัฐ (Public
Entrepreneurship) ควรมีองค์ประกอบของบุคลากร
ภาครฐั ทีเ่ ปน็ ผมู้ ขี ีดความสามารถและศักยภาพสงู
เปน็ ผู้น�ำ การเปลยี่ นแปลงในการพัฒนาระบบราชการ
ทง้ั ในระดบั ผู้บรหิ ารระดบั ตน้ และผูบ้ ริหารระดบั อาวุโส

ค่มู ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 151
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย

เพือ่ ปรับเปล่ยี นการบริหารจัดการภาครฐั โดยเพ่ิม
ประสิทธภิ าพของระบบราชการและการปฏิบัตริ าชการ
ทม่ี ุ่งสคู่ วามเปน็ เลิศตามแนวทางการบริหารภาครฐั
แนวใหม่และสอดคลอ้ งกบั การบริหารกจิ การบ้านเมอื งท่ดี ี

ขีดสมรรถนะของบคุ ลากร “สมรรถนะของบคุ ลากร” หมายถงึ คณุ ลักษณะ
กรอบทกั ษะ (Skillsets) เชงิ พฤตกิ รรมท่ีเปน็ ผลมาจากความรู้ ความสามารถ
ทกั ษะ และคุณลกั ษณะอ่ืน ๆ ทที่ ำ�ใหบ้ คุ คลสร้างผลงาน
ไดโ้ ดดเด่นในองคก์ าร โดยสมรรถนะหลักอาจแบ่งเป็น
1) สมรรถนะหลัก 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ การมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ
บรกิ ารทด่ี ี การสัง่ สมความเชี่ยวชาญในงานอาชพี
การยึดม่นั ในความถกู ตอ้ งชอบธรรมจริยธรรม และ
การทำ�งานเป็นทีม 2) สมรรถนะทางการบริหาร
ประกอบด้วย 6 ด้าน ไดแ้ ก่ สภาวะผนู้ ำ� วสิ ยั ทศั น์
การวางกลยทุ ธภ์ าครฐั ศกั ยภาพ เพอ่ื น�ำ การปรบั เปลย่ี น
การควบคมุ ตนเอง การสอนงานและการมอบหมายงาน
และ 3) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานท่ีปฏิบตั ิ
ในต�ำ แหนง่ งาน

“กรอบทักษะ” (Skillsets) หมายถึง ทักษะ
ทสี่ นับสนนุ ใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพตามท่ีคาดหวังอยา่ งต่อเนื่อง สามารถ
สงั เกต วัดผล และพัฒนาไดด้ ว้ ยกระบวนการเรียนรู้
และพัฒนา (Learning and Development)
โดยนอกจากองค์ความรดู้ า้ นการบริหารจดั การภาครัฐ
ทีบ่ ุคลากรภาครัฐจะตอ้ งมีเป็นพื้นฐานแล้ว (อาทิ
ยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏิรูปประเทศ การบริการจดั การภาครัฐ
การบริหารทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั

152 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย
ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
การบรหิ ารงบประมาณ เป็นตน้ ) บุคลากรภาครฐั
จะต้องมีทักษะที่จำ�เปน็ ในการขบั เคลื่อนการปฏิรูป
ภาครฐั 3 กลมุ่ ทักษะ คอื 1) ทักษะเชงิ ยุทธศาสตร์
(Strategic Skillset) ซ่งึ เป็นทกั ษะที่สำ�คัญในการตอบสนอง
ตอ่ บริบทท่ีเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วทงั้ ในมติ ขิ อง
การทำ�งานและการใช้ชวี ิต รวมทัง้ น�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งการ
นวัตกรรมและการเปล่ียนในภาครัฐได้ 2) ทกั ษะด้าน
ภาวะผนู้ ำ� (Leadership Skillset)
ซ่งึ เปน็ ทักษะทชี่ ว่ ยให้บคุ ลากรสามารถบริหารจดั การ
งานของตนเองไดต้ ามบทบาทหน้าท่ี รวมทัง้ เตรยี ม
ความพร้อมตนเองในการเติบโตตามเสน้ ทางอาชีพ
และ 3) ทักษะตามสายงาน (Functional Skillset)
ซ่ึงเป็นทกั ษะท่ชี ว่ ยใหบ้ คุ ลากรภาครฐั สามารถท�ำ งาน
ของตนเองได้อยา่ งมืออาชีพตามบรบิ ทของงานท่มี ี
ความเฉพาะและมีความแตกตา่ งกนั ไปตามสายงาน

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 (The 21st Century
Skills) พบวา่ เปน็ ทกั ษะสำ�คัญทีจ่ ะชว่ ยใหม้ นุษย์มี
ความพร้อมกบั ความเปลีย่ นแปลงในอนาคตในมติ ิตา่ ง ๆ
ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะ
3 กลุ่ม คือ 1) ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม
(Learning & Innovation Skills) (1) Critical
Thinking & Problem Solving : ทกั ษะการคิดแบบ
ซบั ซ้อน และทกั ษะการแก้ปัญหา

คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 153
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

คำ�ศัพท์ คำ�อธิบาย

(2) Creativity & Innovation : ทักษะการคดิ รเิ รม่ิ
สรา้ งสรรค์ และการสรา้ งนวตั กรรม
(3) Communication & Collaboration :
ทักษะการส่ือสาร และการประสานงาน
2) ทักษะด้านสอื่ และเทคโนโลยี (Information,
Media, and Technology Skills)
(1) Information Literacy : มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
และสามารถใช้งานดา้ นการบริหารจดั การขอ้ มูลได้
(2) Media Literacy : มีความรคู้ วามเขา้ ใจ
ในเร่อื งการใช้สอื่ ต่าง ๆ
(3) Technology Literacy : มคี วามรูค้ วามเข้าใจ
ในเรื่องการใช้ Technology
3) ทกั ษะชวี ติ และการท�ำ งาน (Life and Career
Skills)
(1) Flexibility & Adaptability : ความยืดหยุน่
และการปรบั ตวั
(2) Initiative & Self Direction : ความกล้าริเร่ิม
และความสามารถในการกำ�หนดทศิ ทางหรอื เป้าหมาย
ด้วยตัวเอง
(3) Social & Cross-cultural Skills : ทกั ษะ
ในการเขา้ สงั คมและการเข้าใจวัฒนธรรมทแี่ ตกตา่ ง
(4) Producitivity & Accountability : การเพิม่ ผลผลติ
การทำ�งานให้มีประสิทธิภาพ และการมีความรับผิดชอบ
ต่อส่ิงท่ีทำ�หรอื ไดร้ บั มอบหมาย
(5) Leadership & Responsibility : ทกั ษะในการเปน็ ผนู้ �ำ
และความรับผดิ ชอบต่อผู้มีสว่ นไดเ้ สยี

154 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย

ระบบนเิ วศในการทำ�งาน “ระบบนเิ วศในการทำ�งาน” (Ecosystem)
หมายถงึ ปัจจัยแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ โครงสรา้ ง
กระบวนการทำ�งานที่ องคก์ าร โครงสรา้ งทางการบริหาร โครงสรา้ งทางกฎหมาย
เชอื่ มโยงตง้ั แตต่ น้ จนจบ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (เช่น ระบบการท�ำ งาน
(End-to-end process สถานทท่ี �ำ งานเครือ่ งมอื ในการปฏิบตั ิ เปน็ ตน้ )
design) และสภาพแวดลอ้ มทางจติ วทิ ยา (เช่น ความสมั พนั ธ์
กบั ผู้บงั คบั บัญชา ความสัมพันธก์ บั เพอื่ นรว่ มงาน)
ท่สี ่งผลต่อการความคิด ความเช่อื และพฤตกิ รรม
ทแี่ สดงออกมาของบคุ ลากร

“กระบวนการทำ�งานที่เช่อื มโยงกันต้ังแต่ตน้
จนจบ” หมายถึง กระบวนการท่ีเกย่ี วข้องท้งั ภายใน
และภายนอกองค์การต้ังแตต่ ้นจนจบเพ่อื นำ�ไปสู่
การตอบสนองคุณค่าแก่ผู้รับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

กระบวนการ “กระบวนการ” (Process) หมายถงึ กจิ กรรม

(กระบวนการสรา้ งคุณค่า/ ท่ีเช่ือมโยงกันเพือ่ จดุ ม่งุ หมายในการสง่ มอบผลผลติ

สนบั สนุน) หรือบริการให้แกผ่ รู้ บั บริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย

ทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการ โดยทว่ั ไป

กระบวนการ คือ การจดั การองคป์ ระกอบด้านคน

เครือ่ งจกั ร เคร่อื งมือ เทคนคิ และวสั ดมุ าท�ำ งานรว่ ม

กันตามข้ันตอนหรือการปฏบิ ัตกิ ารท่ีก�ำ หนดไว้ ซึง่ จะ

ตอ้ งพิจารณาความสัมพนั ธ์กับกระบวนการอ่ืน

ทีส่ ่งผลกระทบซงึ่ กันและกนั อยา่ งครอบคลุม

คู่มือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0 155
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย

กระบวนการอาจต้องปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนท่ี
กำ�หนดไว้อยา่ งเคร่งครดั โดยมรี ะเบยี บปฏบิ ัตแิ ละ
ข้อกำ�หนดทเ่ี ป็นลายลักษณ์อกั ษร รวมทงั้ มีการวัด
และขนั้ ตอนการควบคุมที่ก�ำ หนดไว้ชดั เจน ในกรณที ่ี
เป็นการให้บริการควรส่ือสารใหผ้ ูร้ ับบริการและ
ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี เข้าใจและปฏิบตั ิตามขั้นตอนดว้ ย
และตอ้ งมแี นวทางสำ�หรับผใู้ หบ้ รกิ ารในการแกป้ ัญหา
เฉพาะหน้าท่ีเก่ยี วกบั การกระท�ำ หรอื พฤตกิ รรมของ
ผู้รบั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียทอ่ี าจเกิดข้ึนดว้ ย

“กระบวนการทำ�งานที่สำ�คญั ของส่วนราชการ”
คือ กระบวนการสร้างคณุ คา่ ภายในสว่ นราชการ
ที่ส�ำ คัญทสี่ ดุ ซงึ่ อาจรวมถงึ การออกแบบและสง่ มอบ
ผลผลิตและการบรกิ าร การสนบั สนนุ ผรู้ บั บริการและ
ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี รวมถงึ กระบวนการอน่ื ๆ ท่ีส�ำ คญั
ทีป่ ฏบิ ตั ิตามพันธกิจหลักของสว่ นราชการ

“กระบวนการสนับสนุนทส่ี ำ�คัญ” หมายถงึ
กระบวนการทม่ี คี วามส�ำ คญั ในการสนบั สนุน
กระบวนการที่สรา้ งคุณคา่ ให้แก่ส่วนราชการและ
การปฏบิ ตั ิงานประจ�ำ วนั กระบวนการเหล่านีอ้ าจ
สนับสนุนผบู้ ริหารและบคุ ลากรอนื่ ๆ ท่ที ำ�หน้าท่ี
ในการออกแบบและสง่ มอบผลผลติ การบรกิ าร
การปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบรกิ ารและผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี
และการบรหิ ารสว่ นราชการกระบวนการสนับสนนุ
อาจไดแ้ กง่ านด้านการเงนิ บัญชีและงบประมาณ
การจดั การส่ิงอำ�นวยความสะดวก งานดา้ นกฎหมาย
งานด้านทรัพยากรบคุ คล งานดา้ นการบรหิ าร
โครงการและกระบวนการบรหิ ารท่วั ไป

156 คมู่ อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย

ขอ้ มลู เทียบเคียง ระดบั เทยี บเคยี ง หมายถึง กระบวนการ
(Benchmarks) และผลลพั ธซ์ งึ่ มผี ลการด�ำเนนิ การและวธิ ีปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลิศ
ของกิจกรรมท่คี ลา้ ยคลงึ กันภายในและภายนอกองค์การ
การเทียบเคยี งชว่ ยให้เข้าใจถึงผลการด�ำเนินการในปจั จุบัน
เปรยี บเทียบกบั แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี และน�ำไปสกู่ ารปรับปรุง
และพัฒนาองค์การอยา่ งก้าวกระโดด

ประสิทธภิ าพ/ประสิทธิผล “ประสทิ ธภิ าพ” หมายถึง ทรัพยากรทใ่ี ช้ (Input)

เปรียบเทยี บกบั ผลทีไ่ ด้รับ (Output) ดงั น้ัน

“การประเมินมิตปิ ระสิทธภิ าพ” หมายถงึ การประเมนิ

ความเหมาะสมสอดคล้องของการใช้ทรพั ยากรและ

กระบวนการท�ำงานเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ผลผลติ

ตามวตั ถุประสงค์ โดยพิจารณาจากผลผลิตเทียบกบั

ต้นทุนและทรัพยากรทีใ่ ชก้ บั ผลทไ่ี ด้รับ

ตัวช้วี ดั ดา้ นประสทิ ธิภาพมี 2 ด้าน ไดแ้ ก่

ประสิทธภิ าพการผลิตและการประหยดั

1) ประสทิ ธภิ าพการผลติ หมายถงึ ความสอดคล้อง

ของการใชท้ รพั ยากรท่เี ป็นปัจจัย (Input)

กระบวนการด�ำเนินการ (Process) และผลผลติ

(Output) เพื่อให้ไดม้ าซึ่งผลผลติ ตามวัตถุประสงค์

ของภารกจิ

2) การประหยัด หมายถึง การไดร้ ับทรพั ยากร

ในปริมาณและคณุ ภาพทเ่ี หมาะสมดว้ ยต้นทนุ ทีต่ ่�ำสดุ

ซ่ึงประเดน็ ในการประเมนิ อาทิ การลดค่าใชจ้ า่ ย

ในการปฏบิ ัติภารกิจ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดท�ำปัจจัยการผลติ

เปน็ ต้น

คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 157
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย

“ประสิทธิผล” หมายถงึ ระดบั ความสามารถ
ทก่ี ระบวนการหรอื ตวั ชี้วัดใด ๆ สามารถตอบสนอง
เจตจ�ำ นงท่ตี ้ังไว้ การประเมินประสทิ ธผิ ลจงึ เป็นการประเมิน
การบรรลุวัตถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมายของการปฏิบตั ภิ ารกิจ
โดยเปรียบเทียบผลท่ไี ด้รบั วา่ มคี วามสอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย และผลท่คี าดไวก้ ่อนดำ�เนนิ การ
หรือไม่
1) การบรรลุวตั ถุประสงค์ หมายถึง การเปรยี บเทยี บ
ผลผลติ ทไ่ี ด้จากการปฏบิ ัตภิ ารกิจเทียบกับเป้าหมาย
และวตั ถุประสงคใ์ นกรอบระยะเวลาที่ไดก้ ำ�หนดไว้
เพอื่ ประเมินระดบั ความส�ำ เร็จในการทำ�งานวา่ สามารถ
บรรลวุ ัตถปุ ระสงคไ์ ดเ้ พียงใด รวมท้ังประเมนิ ความ
ค้มุ ค่าทเ่ี ปรยี บเทยี บกบั Cost ไดแ้ ก่ Benefit–Cost
Ratio เพ่ือประเมนิ ว่าการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ใน
การปฏิบตั ภิ ารกจิ น้นั มีค่าใช้จา่ ยเทา่ ใด หรือประเมิน
ประสทิ ธผิ ลของคา่ ใช้จา่ ย (Cost-effectiveness)
เป็นต้น
2) ความพึงพอใจ หมายถึง ความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการ
และผใู้ ช้ประโยชนจ์ ากผลผลติ และบริการน้ัน ๆ
ทั้งในดา้ นคณุ ภาพผลผลติ และการใหบ้ ริการ ระยะเวลา
ที่ใช้ในการไดร้ ับบริการ โดยผ้ใู ช้ประโยชนอ์ าจ หมายถึง
ประชาชนหรือหน่วยงานอ่นื ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์โดยตรง

158 คูม่ ือการตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย

การแกป้ ญั หาเชงิ บรู ณาการ การแก้ปญั หาเชงิ บรู ณาการ เปน็ การแก้ไขปญั หา
ทอ่ี าศัยกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา การประสาน
กลมกลืนกันของแผน กระบวนการสารสนเทศ
การจัดการทรพั ยากร ขดี ความสามารถและอตั รากำ�ลัง
ของบคุ ลากร การปฏิบัติการและผลลัพธท์ ้ังภายใน
และภายนอกองค์การ โดยอาศัยความรว่ มมือของภาคส่วน
ที่เก่ยี วข้องอยา่ งสอดคลอ้ งประสานกลมกลืนกนั
เพ่ือดำ�เนินการจัดการกับสภาพเหตุการณห์ รือปัญหา
ที่ส�ำ คัญขององค์การ

ตน้ ทนุ “ตน้ ทุน” หมายถึง ทรพั ยากรท่ีใช้ในการด�ำ เนินการ
ก่อให้เกิดผลผลิตของหน่วยงาน โดยให้รวมทรัพยากร
ที่เกิดจากทุกแหล่งเงนิ ไมว่ ่าจะเป็นเงินงบประมาณ
เงนิ นอกงบประมาณ และงบกลาง หรอื เงินอน่ื ใดท่ี
หน่วยงานไดร้ ับมา ซ่งึ บนั ทึกเปน็ ค่าใชจ้ ่ายทีเ่ กิดขน้ึ จริง
ตามหลกั บญั ชเี กณฑค์ งคา้ ง
การควบคมุ ต้นทนุ เป็นส่วนส�ำ คญั ในการสรา้ ง
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน แมว้ า่ ส่วนราชการมกั จะมี
ต้นทุนในการผลิตและการบริการต่อหน่วยที่ถูกกวา่
ภาคเอกชนในหลายเร่ืองก็ตาม แต่ความดอ้ ยประสทิ ธิภาพ
ในระบบงาน เชน่ ความลา่ ช้าและระยะเวลาในการรอคอย
จะส่งผลให้ตน้ ทนุ โดยรวมเพ่ิมขน้ึ การควบคมุ ตน้ ทุน
โดยรวมจึงเปน็ มมุ มองในมิติประสทิ ธิผลของระบบ
การปฏบิ ตั ิการตัง้ แต่การออกแบบกระบวนการทำ�งาน
การเลือกใชเ้ ทคโนโลยที ดแทนทีค่ ุ้มค่า การลดต้นทนุ
ดา้ นแรงงานในระยะยาว การออกแบบกระบวนการ
ทำ�งานทลี่ ดรอบเวลาลง

ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 159
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธิบาย

ทรพั ยากร กลไกการป้องกนั ความเส่ยี งท่ปี อ้ งกนั ความเสยี หาย
ทีอ่ าจเกิดของการปฏบิ ตั ิการ ตลอดจนความเพยี ร
พยายามในการปรับปรงุ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
ในกระบวนการหลกั และกระบวนการสนับสนนุ

ทรพั ยากรกรทางการบรหิ ารจดั การองคก์ าร
ประกอบดว้ ยปจั จยั ท่สี �ำ คัญ ไดแ้ ก่ ทรัพยากรบคุ คล
(Man) เงินหรืองบประมาณ (Money) วสั ดุ อปุ กรณ์
และเทคโนโลยี (Material) และการจดั การ
(Management)

ตัววดั น�ำ (Leading) ตัวช้ีวดั น�ำ (ตวั ชวี้ ดั ทเ่ี ปน็ เหต)ุ (Leading

และตัววัดตาม (Lagging) Indicators) และตัวชี้วัดตาม (ตวั ชี้วัดที่เป็นผล)

(Lagging Indicators) ตวั ชวี้ ัดที่เปน็ เหตุจะช่วยให้

ทราบล่วงหน้าว่าจะมีโอกาสหรือปญั หาอะไรเกดิ ขนึ้ หรือไม่

เพอื่ ทีจ่ ะได้เตรยี มการปอ้ งกันและแก้ไขได้อยา่ งทนั ทว่ งที

ในขณะทีต่ วั ชี้วดั ทเี่ ป็นผลสะท้อนผลผลติ หรือผลลพั ธ์

ที่เกดิ ขน้ึ ตามหลักการประเมนิ ผลลพั ธห์ รือผลสมั ฤทธิ์

ของงาน ดงั นัน้ ในการก�ำ หนดตัวชวี้ ดั ทด่ี คี วรมี

ความครอบคลมุ ทงั้ ตัวชว้ี ดั ทีเ่ ป็นเหตุ (Leading Indicators)

และตวั ชี้วดั ที่เปน็ ผล (Lagging Indicators) เพื่อประสทิ ธิภาพ

และประสิทธิผลในการบริหารจดั การองค์การ

ทงั้ นใี้ นการก�ำ หนดตัวชีว้ ัดอาจไมม่ ีกฎตายตัว

ว่าตวั ชว้ี ดั ท่กี �ำ หนดไว้ เปน็ ตัวช้วี ัดที่เป็นเหตุ (Leading

Indicators) หรือตวั ชี้วัดทเ่ี ป็นผล (Lagging Indicators)

เนื่องจากหากพจิ ารณากระบวนการทมี่ ีความสัมพนั ธ์

ตอ่ เน่ืองกันภายในองคก์ าร ตวั ชวี้ ัดทีเ่ ปน็ ผลอาจ

จะกลายเปน็ เหตุของกระบวนการหรือผลลพั ธ์

อกี ประการได้

160 คู่มือการตรวจสอบความพร้อมสำ�หรบั การดำ�เนนิ การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

คำ�ศพั ท์ คำ�อธบิ าย
มาตรการ
ตวั อย่างของตวั ช้วี ดั ที่เปน็ เหตุ (Leading Indicators)
และตวั ช้ีวัดที่เป็นผล (Lagging Indicators) เชน่
การจดั จา้ งที่เปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีก�ำ หนดเป็นตัวชว้ี ัด
ทเี่ ป็นเหตุ (Leading) ท่นี ำ�ไปสูต่ วั ชี้วดั ท่เี ปน็ ผล
(Lagging) คือ การด�ำ เนนิ โครงการท่ีเปน็ ไปตามกรอบ
ระยะเวลาตามแผนงาน ในขณะท่ีการดำ�เนินโครงการ
ตามแผนเป็นตัวช้ีวดั ทเี่ ป็นเหตุ (Leading) ท่ีน�ำ ไปสู่
ผลลัพธค์ ือการเบิกจา่ ยงบประมาณและผลลัพธ์ตาม
วัตถุประสงคแ์ ละแผนงาน เป็นตน้

“มาตรการ” หมายถงึ กรอบแนวทางการจัดการ/
วธิ กี ารจัดการท่เี ป็นทางการซึ่งอาจมีการก�ำ หนดเป็นกฎ
ขอ้ กำ�หนด ระเบียบหรือกฎหมายต่อไป

ค่มู อื การตรวจสอบความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 161
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคมุ โรค

บรรณานุกรม

สำ�นักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2561)
คู่มอื การประเมนิ สมรรถนะของหน่วยงานภาครัฐในการเปน็ ระบบราชการ 4.0.
ส�ำ นักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2563).
เกณฑค์ ณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั พ.ศ. 2562.
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2563)
คูม่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มส�ำ หรบั การด�ำ เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0

162 คู่มอื การตรวจสอบความพรอ้ มสำ�หรบั การดำ�เนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0
(PMQA 4.0 Checklist) กรมควบคุมโรค

¡Å‹ÁØ ¾²Ñ ¹ÒÃкººÃËÔ ÒÃ
¡ÃÁ¤Çº¤ÁØ âä


Click to View FlipBook Version