The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peemapon Hempoom, 2019-11-23 00:41:55

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

การด�ำ เนนิ บทบาทในฐานะสมาชขิ องทีม

องค์ประกอบของทีมงานประกอบด้วยสมาชิกในทีมงานท่ีด�ำเนินบทบาทตามสถานการณ์
โดยบางสถานการณอ์ าจมีบทบาทในฐานะผนู้ �ำ บางบทบาทอาจเปน็ ผู้ตาม หรือผู้รว่ มทีม
ลักษณะของผนู้ ำ� และภาวะผู้น�ำ มคี วามหมาย ดงั นี้
1. เป็นพฤตกิ รรมส่วนตวั ของบุคคลท่จี ะชักน�ำกจิ กรรมของกลุ่มให้บรรลุเป้าหมายร่วมกนั
2. เป็นความสัมพนั ธท์ ่ีมีอิทธพิ ลระหว่างผ้นู �ำและผ้ตู าม ซ่ึงทำ� ให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงเพ่อื ให้
บรรลจุ ดุ ม่งุ หมายรว่ มกัน
3. เป็นความสามารถที่จะสร้างความเชื่อม่ันและให้การสนับสนุนบุคคลเพ่ือให้บรรลุ
เป้าหมายองคก์ าร
ปัจจัยท่ีผู้น�ำจะต้องเก่ียวข้องในฐานะผู้น�ำประกอบด้วย ความต้ังใจ ความรับผิดชอบ
การจงู ใจให้ปฏิบตั ิตามโดยมีจดุ มุ่งหมาย

94 คมู่ ือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น

บทบาทและภาวะผู้น�ำทด่ี ีควรมลี ักษณะ ดังน้ี
1. เปน็ ตวั แทนในทกุ สถานการณ์
2. เปน็ นกั พดู ที่ดี
3. เป็นนักเจรจาตอ่ รอง
4. สามารถสอนงานเป็น
5. เป็นผู้สามารถสรา้ งทีมงานได้
6. แสดงบทบาทการทำ� งานเปน็ ทีม
7. สามารถแกป้ ญั หาได้
ภาวะผู้น�ำเป็นลักษณะในตัวบุคคลท่ีท�ำให้ผู้อื่นยอมรับนับถือคุณสมบัติของผู้น�ำ
ตามอกั ษรแตล่ ะตวั ในคำ� ว่า LEADERSHIP มีความหมายบง่ ชถี้ งึ ลักษณะต่างๆ ของผนู้ ำ� ที่ดี ดงั น้ี
L คือ Listen เป็นผ้ฟู งั ท่ีดี
E คือ Explain สามารถอธิบายส่งิ ตา่ งๆ ให้เขา้ ใจได้
A คือ Assist ช่วยเหลือเมือ่ ควรช่วย
D คือ Discuss รูจ้ ักแลกเปลี่ยนความคิดเหน็
E คือ Evaluation ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
R คือ Response แจง้ ข้อมูลตอบกลบั
S คอื Salute ทักทายปราศรยั
H คอื Health มสี ุขภาพดีทัง้ กายและใจ
I คือ Inspire รูจ้ ักกระตุ้นและให้ก�ำลงั ใจลูกน้อง
P คอื Patient มคี วามอดทนเป็นเลศิ

สมาชิกของทมี

การท�ำงานเป็นทีมนน้ั บทบาทของสมาชิกในทมี มีความสำ� คญั ตอ่ ความส�ำเร็จของทีม เพ่ือให้
ทีมงานดำ� เนนิ ไปได้ดว้ ยดี สมาชิกทกุ คนต้องมบี ทบาทดงั น้ี
1. แสดงความสภุ าพต่อผู้อน่ื
2. รบั ผิดชอบในสิ่งทไี่ ด้รับมอบหมาย
3. เข้าประชมุ ตามการนดั หมาย
4. เข้าประชุมตรงเวลา
5. ให้ความชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน
6. รอ้ งขอความช่วยเหลอื เมอ่ื จ�ำเปน็
7. ท�ำในสิ่งทต่ี อบรับว่าจะทำ�
8. ทำ� งานใหเ้ สร็จตามก�ำหนด

คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 95

ทมี งานทม่ี ีประสทิ ธภิ าพควรมีลกั ษณะ

1. ทีมงานทที่ ำ� งานเพ่ือเปา้ หมายรว่ มกนั
2. มคี วามขัดแย้งระหว่างสมาชิกน้อยมาก
3. สมาชกิ แตล่ ะคนมีพฤติกรรมสนบั สนุนกันและกนั
4. การติดต่อส่ือสารเป็นไปโดยเปดิ เผย
5. สามารถบรหิ ารและจัดการเองได้ภายในทีม

บทสรุป

การทำ� งานเปน็ ทีมท่ีดี จะต้องดึงศกั ยภาพของคนในทีมงานออกมาเป็นพลงั ความคดิ
พลังกาย พลังความมุ่งม่ัน เพ่ือให้งานส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร เราท�ำงานคนเดียวไม่ได้
เพราะความยากง่ายของงานประการหนึ่ง ความซับซ้อนของงานประการหนึ่ง ความเกี่ยวเน่ือง
หรืองานมีส่วนเกี่ยวข้องกันประการหน่ึง และท่ีส�ำคัญเราต้องท�ำงานกับคนที่ที่มีความแตกต่างกัน
ทั้งความรู้ความคดิ ภมู ิหลัง ไม่ว่าจะเป็นหวั หน้า ลกู นอ้ ง เพื่อนรว่ มงาน ทง้ั ในหน่วยงานเดียวกนั และ
ต่างหน่วยงาน การสร้างทีมงานทด่ี จี งึ จำ� เปน็ อย่างยิ่งการสรา้ งทีมงานที่ดีได้นนั้ ทีมตอ้ งมีองคป์ ระกอบ
ของการท�ำงานท่ีส�ำคัญ คือ ความพอใจในงาน ความรักในงาน การอุตสาหะในงาน การมีเป้าหมาย
รว่ มกัน

96 คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

หนว่ ยท่ี 10 การสร้างเครือขา่ ยสภานักเรียน

วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ ให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั เครอื ข่ายสภานกั เรียน
2. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจเรื่ององคป์ ระกอบของเครอื ข่าย
หลกั การท�ำงานของเครอื ขา่ ย ลักษณะของเครือขา่ ยท่ดี ี
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถสร้างและพัฒนาเครือข่ายสภานักเรียนระหว่าง
โรงเรยี นกบั โรงเรยี น/ชุมชน/องคก์ รภาครฐั และเอกชนในรปู แบบตา่ งๆ

ขอบขา่ ยเนอื้ หา

1. เครอื ข่าย/การสรา้ งเครอื ขา่ ย
2. องค์ประกอบของเครือข่าย
3. หลักในการทำ� งานของเครอื ขา่ ย
4. ลกั ษณะของเครอื ข่ายที่ดี
5. แนวทางการสร้างเครือข่ายสภานักเรียนระหว่างโรงเรียน/ชุมชน/องค์กรภาครัฐ และ
เอกชน

ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ กิจกรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผเู้ ขา้ รับการอบรมโดยใชเ้ พลง เกมหรอื กิจกรรมท่เี หมาะสม
2. น�ำเข้าสูบ่ ทเรยี น โดยการสนทนาถงึ ความส�ำคญั ของการสร้างเครือข่ายและเครือข่าย
ที่ผู้เข้ารบั การอบรมรูจ้ กั ในรูปแบบตา่ งๆ
3. แบ่งกลุ่มผเู้ ขา้ รับการอบรม กลมุ่ ละ 6 -10 คน แจกใบงาน โดยมหี วั ขอ้ ศกึ ษาดังนี้
3.1 การสร้างเครอื ข่ายระหวา่ งโรงเรยี นกบั โรงเรียน

คูม่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 97

3.2 การสรา้ งเครอื ขา่ ยระหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชน
3.3 การสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรยี นกับองคก์ รภาครฐั และเอกชน
4. ผูเ้ ข้ารบั การอบรมร่วมกันวเิ คราะหน์ �ำเสนอเปน็ รายกลุ่ม
5. อภปิ รายสรุปผลการเรยี นรู้ น�ำไปเชอ่ื มโยงกับสภาของนกั เรยี นในโรงเรียน เช่น กิจกรรม
ชมุ นุม ชมรม เปน็ ต้น

วัสดอุ ปุ กรณ์/สอ่ื การเรยี นรู้

1. ใบความรูเ้ ร่อื ง การสรา้ งเครือข่าย
2. ใบงานเร่ือง การสรา้ งเครอื ขา่ ยสภานักเรยี น
3. กระดาษฟลิปชารท์ ปากกาเคม/ี สีเมจิก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

ตวั ชีว้ ัดความส�ำเร็จ วิธีวัด เครื่องมือวดั
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม 1. สังเกตพฤติกรรม 2. แบบสอบถาม
มีความรู้และความเข้าใจเร่ืองการ 2. การสอบถาม 3. แบบส�ำรวจความพงึ พอใจ
สรา้ งเครือข่าย 3. สำ� รวจความพึงพอใจ 4. อน่ื ๆ
2. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับการอบรม 4. อน่ื ๆ
มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม
กจิ กรรม


98 คู่มือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

ใบความรู้

เร่ือง การสร้างเครอื ข่าย
เครือขา่ ย

เครือข่าย คือ การเชื่อมโยงการด�ำเนินงานของฝ่ายต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบและ
อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือปฏิบัติภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกันโดยท่ีแต่ละฝ่ายยังคงปฏิบัติภารกิจหลัก
ของตนตอ่ ไปอย่างไม่สูญเสยี เอกลกั ษณแ์ ละปรชั ญาของตนเอง การเชื่อมโยงน้ีอาจเปน็ รปู ของการรวมตวั กนั
แบบหลวมๆ เฉพาะกิจตามความจำ� เปน็ หรืออาจอยใู่ นรปู ของการจดั องคก์ รทเ่ี ป็นโครงสรา้ งของความ
สมั พันธ์กันอยา่ งชดั เจน

การสร้างเครอื ข่าย

การสรา้ งเครือข่าย หมายถึง การขยายตัวขององคก์ รในการท�ำงานรว่ มกนั อยา่ งมีระบบ และ
เป็นการช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างเป็นกระบวนการต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อให้
องค์กรได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มท่ี โดยท่ัวไปเครือข่ายการด�ำเนินงานมีหลายระดับตั้งแต่ระดับ
ประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค ระดับท้องถน่ิ และระดับองคก์ ร

องค์ประกอบของเครอื ข่าย

1. ตอ้ งมีสมาชกิ องค์กรต่างๆ มารวมกัน
2. ต้องมวี ตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั
3. ตอ้ งมีการตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างสมาชิกทง้ั ภายในและภายนอกเครือข่าย
4. ต้องมกี จิ กรรมร่วมกนั
5. ตอ้ งมีการระดมทรพั ยากรร่วมกนั
6. ตอ้ งมีการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และความคดิ เห็น
7. ตอ้ งมีแกนหลักในการประสานงาน

คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 99

หลักในการทำ�งานของเครือข่าย

1. ค�ำนึงถงึ ประโยชนส์ ูงสุดขององคก์ รเปน็ หลกั
2. มีการประสานงานทงั้ แนวตัง้ และแนวนอน
3. มคี วามเขา้ ใจในข้อจ�ำกัดของแต่ละฝ่าย
4. มีความไวว้ างใจในการทำ� งานร่วมกนั
5. ยดึ หลกั ความเสมอภาคในการทำ� งาน
6. มีทศั นคติทีว่ ่าผ้ปู ระสานงานคือผ้ใู ห้บรกิ ารและใหก้ ารสนบั สนนุ
7. ไมใ่ ช่ผ้นู �ำหรือสัง่ การแต่เป็นผคู้ ิดรเิ ร่ิมและมีแกนกลางท่ีมีประสิทธิภาพ
8. ต้องเปน็ การทำ� งานแบบกระจายอำ� นาจ
9. องค์กรสมาชกิ มคี วามเท่าเทยี มกนั
10. มกี ารส่อื สารกนั หลายทาง
11. มีกิจกรรมร่วมกนั อย่างตอ่ เน่ือง และเปน็ ประโยชน์โดยเกดิ จากความร่วมมอื ของสมาชิก

ลักษณะของเครือขา่ ยท่ดี ี

1. ต้องเกดิ ขึ้นตามธรรมชาตแิ ละเป็นไปตามความสมคั รใจของทุกคน
2. ต้องมกี ารแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็
3. ต้องร่วมมือกนั เปน็ ทมี ในการท�ำกจิ กรรม
4. ต้องมใี จเปดิ กว้างรับฟังความคดิ เห็นจากทกุ ฝ่าย
5. ตอ้ งมกี ารบริหารและจัดการทด่ี ีและมีประสิทธภิ าพ
6. ต้องมที รพั ยากรสนบั สนนุ
7. ต้องมเี ครอื่ งมอื และกลไกในการทำ� งาน

แนวทางการสรา้ งเครอื ขา่ ยสภานักเรยี นระหวา่ งโรงเรยี น/ชมุ ชน/องคก์ รภาครฐั และ
เอกชน

1. การก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานในการสร้างเครอื ข่าย
2. การก�ำหนดการทำ� งานระหว่างโรงเรยี น/ชุมชน/องค์กรภาครฐั และเอกชน
3. การมีส่วนรว่ มในการสนับสนนุ กิจกรรมประชาธิปไตย
4. การไดร้ บั การสนบั สนุนปจั จัยต่างๆจากชมุ ชน/องคก์ รภาครฐั และเอกชน

100 คู่มือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

รปู แบบเครอื ขา่ ยในสังคมไทย

1. เครอื ข่ายภาคประชาชน
เครือข่ายภาคประชาชน เป็นการรวมตัวของภาคประชาชนในพ้ืนที่ต่างๆ โดยเฉพาะ
ในชุมชนชนบท เป็นการรวมของปัจเจกบุคคล กลุ่มคนและเครือข่าย โดยอาศัยวัฒนธรรมชุมชน
กระบวนการท�ำงานร่วมกับภาคีอ่ืนๆ และระบบเทคโนโลยี เป็นเคร่ืองหนุนเสริมให้เกิดการรวมตัว
โดยเครอื ขา่ ยภาคประชาชนเกิดขึน้ ทัง้ จากการเห็นความจำ� เปน็ ในการรวมพลงั เพ่อื แก้ไขปญั หา เกดิ จาก
การเรียนรู้และการถ่ายทอดประสบการณ์ร่วมกัน โดยเป็นกระบวนการท่ีเป็นไปตามธรรมชาติ และ
เกิดขนึ้ จากการส่งเสรมิ โดยหนว่ ยงานภาครฐั หรือหน่วยงานอืน่ ๆ ทตี่ อ้ งการให้องคก์ ร ชุมชนและสังคม
มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการท่ีจะพัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของภาครัฐหรือ
หน่วยงานท่กี �ำหนดไว้
2. เครอื ข่ายภาครฐั
ภาครัฐเป็นพลังขับเคลื่อนสังคมให้ด�ำเนินไปอย่างเป็นระบบด้วยนโยบายของภาครัฐ
แต่ด้วยระบบท่ีมีมาอย่างยาวนาน ได้สร้างความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจและการรวมศูนย์ที่ยากแก่การ
น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ิได้อยา่ งเหมาะสม เพราะเป็นการวางรากฐาน/การวางแผนท่มี าจากสว่ นบนหรือผทู้ ม่ี ี
อำ� นาจ การสรา้ งอ�ำนาจนิยมของภาครัฐดงั กล่าว ไดก้ ลายเป็นการสะสมปญั หาเชิงโครงสร้างใหเ้ กดิ ขนึ้
อีกต่อกระบวนการพัฒนาในสังคมไทยในช่วงที่ผ่านมา แต่อย่างไรก็ตาม ในระยะต่อมาภาครัฐเองก็ได้
มีการปรับตัว/ปฏิรูปกระบวนการท�ำงาน โดยการสนับสนุนกระบวนการท�ำงานแบบมีส่วนร่วมมากข้ึน
เช่น การส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีการรวมกลุ่ม เป็นเครือข่ายและมีการปรึกษาหารือกันมากข้ึน
ผ่านช่องทางด้านกฎหมายและกระบวนการท�ำงาน โดยกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ภาคประชาชนในการพัฒนาภาครัฐ จะมีการด�ำเนินการในลักษณะของงานด้านการพัฒนาชุมชน
ที่ภาครัฐเป็นผู้ให้แนวคิด กระบวนการท�ำงานมากกว่ากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ภาคประชาชน และการส่งเสริมความเป็นเครือข่ายของภาครัฐมักจะเป็นการจัดต้ังมากกว่าเน้น
กระบวนการเรยี นรูร้ ว่ มกนั ของภาคประชาชน เครือข่ายภาครัฐจะมหี ลากหลายประเภทตามโครงสรา้ ง
และภารกิจของหน่วยงาน เช่น เครือข่ายสถาบันการศึกษาเครือข่ายกระทรวงมหาดไทย เครือข่าย
เกษตรกรเพื่อการผลิตของกรมการพัฒนาชุมชน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน และเครือข่ายหนึ่งต�ำบล
หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ หรือ OTOP เปน็ ต้น

คูม่ ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 101

3. เครอื ขา่ ยภาคธุรกิจเอกชน
ในภาคธรุ กิจเอกชน เป็นทยี่ อมรับกันว่า การประสานผลประโยชนเ์ พ่ือลดตน้ ทนุ การผลิต
และเพิ่มผลตอบแทน เป็นส่ิงท่ีภาคธุรกิจเอกชนได้ด�ำเนินการอยู่เสมอ ภายใต้ความร่วมมือในฐานะ
ความเป็นหุ้นส่วนต่อกัน โดยความเป็นหุ้นส่วนน้ันเป็นทั้งในรูปแบบของความร่วมมือในการผลิต
การค้าขายการประสานผลประโยชน์ และการรวมพลังเพื่อพัฒนาสังคม โดยเครือข่ายในภาคธุรกิจ
ส่วนใหญ่จะเป็นการรวมตัวของผู้ท�ำงานในธุรกิจประเภทเดียวกัน ซ่ึงจะเห็นได้จากการท่ีกลุ่มองค์กร
ในภาคธุรกิจต่างๆ มารวมตัวกันเป็นเครือข่ายภาคธุรกิจ เช่น สภาหอการค้า สภาอุตสาหกรรมและ
เครอื ข่ายองค์กรธุรกจิ เอกชนอืน่ ๆ ท่ภี าครัฐสง่ เสริม เช่น สมาคมผู้สง่ ออก สมาคมผปู้ ระกอบการคา้ เป็นตน้
โดยเครือข่ายภาคธุรกิจเหล่าน้ีต้ังอยู่บนพื้นฐานของการประสานผลประโยชน์ และสนับสนุนเพื่อให้
เกดิ การพฒั นาศักยภาพของการด�ำเนนิ การทางธุรกิจและการคืนกำ� ไรให้กบั สงั คม
4. เครอื ข่ายองค์กรพฒั นาเอกชน (NGO)
องค์กรพัฒนาเอกชนเป็นอีกภาคส่วนหนึ่งท่ีมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาสังคม
โดยมีพัฒนาการมาจากการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมขององค์กรระหว่างประเทศ ท่ีเข้ามาสนับสนุน
การท�ำงานและการเรียนรู้ของภาคประชาชน หลังจากนัน้ จึงมกี ารสนับสนนุ ให้องค์กรและภาคประชาชน
ให้ด�ำเนินการจัดการในประเด็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม โดยมีเป้าหมาย เพ่ือร่วมคลี่คลายปัญหา
ในสังคม เป็นภาคส่วนท่ีมีแนวทางในการท�ำงานท่ีหลากหลายและมีความพยายามท่ีจะแสวงหาและ
เสนอทางเลือกในการพัฒนาประเทศ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพในการพัฒนาและมีความสามารถ
ในการพ่ึงตนเองโดยมีบทบาทท่ีส�ำคัญ คือ การน�ำเสนอและผลักดันการแก้ไขปัญหาของผู้ด้อยโอกาส
ในสังคมให้ปรากฏขึ้น เช่น ในด้านสิทธิมนุษยชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
สวัสดิการและแรงงาน เป็นต้น ซ่ึงลักษณะงานขององค์กรพัฒนาเอกชน คือ การเน้นการเสริมสร้าง
กระบวนการพัฒนา การสร้างจิตส�ำนึก การรวมกลุ่ม และการเผยแพร่ให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม
ของภาคประชาชน โดยมีขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอย่างต่อเน่ืองตามภารกิจท่ีเกิดขึ้นในแต่ละ
ช่วงเวลา

102 คู่มือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น

ใบงาน

เรอ่ื ง การสร้างเครือข่ายสภานักเรยี น

ค�ำช้ีแจง ให้แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม กลุ่มละ 6 -10 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้เร่ือง
การสร้างเครือข่าย แล้ววิเคราะห์ว่าการสร้างเครือข่ายของสภานักเรียนมีวิธีการในการสร้าง
เครอื ขา่ ยได้อยา่ งไรบา้ งในประเด็นตอ่ ไปนี้
1. การสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรยี นกับโรงเรียน
2. การสรา้ งเครือขา่ ยระหว่างโรงเรียนกบั ชมุ ชน
3. การสรา้ งเครือขา่ ยระหว่างโรงเรยี นกบั องคก์ รภาครัฐและเอกชน

ค่มู ือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน 103



หนว่ ยท่ี 11 การบรู ณาการกิจกรรมสภานกั เรยี น
กับกลุ่มสาระการเรยี นรู้

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
2. เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารับการอบรมสามารถจดั กิจกรรมสภานักเรียนบูรณาการกับกลุม่ สาระ
การเรียนรู้ นำ� มาประยุกต์ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ขอบข่ายเน้ือหา

1. โครงสร้างหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2. การบรู ณาการจดั กจิ กรรมสภานกั เรยี นกับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ข้ันตอนการด�ำ เนนิ กจิ กรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผู้เข้ารับการอบรมโดยใชเ้ พลง เกมหรอื กจิ กรรมทเ่ี หมาะสม
2. น�ำเข้าสู่บทเรียน โดยน�ำเสนอภาพรวมของ “หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551” พอสังเขป
3. แบ่งกลุ่มผ้เู ข้ารับการอบรม ออกเปน็ 8 กลุม่ แจกใบความร้แู ละใบงาน
4. ตวั แทนกลมุ่ น�ำเสนอผลงานจากใบงาน
5. อภิปรายสรปุ ผลการเรยี นรู้ นำ� ไปเชอ่ื มโยงกบั สภานกั เรยี น

คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 105

วสั ดอุ ปุ กรณ์/ส่ือการเรียนรู้

1. ใบความรู้ เรื่อง หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
2. ใบงาน เร่ือง สภานักเรียนออกแบบผังความคิดการจัดกิจกรรมสนับสนุนกลุ่มสาระ
ตามหลักสตู รตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
3. สอ่ื วดี ทิ ัศน์ สอ่ื มลั ตมิ ีเดีย เนอื้ หาหลักสตู รตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
4. กระดาษฟลิปชาร์ท
5. ปากกาเคมี/สีเมจกิ กาว ฯลฯ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ตัวชี้วัดความสำ� เร็จ วิธวี ดั เครอื่ งมอื วดั
1. แบบการบนั ทกึ ผลงาน
1. รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้ารับการ 1. ตรวจผลงาน 2. แบบส�ำรวจความพงึ พอใจ
อบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ 2. สำ� รวจความพึงพอใจ 3. อื่นๆ
โครงสรา้ งหลักสูตรแกนกลาง 3. อน่ื ๆ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช
2551

2. ร้อยละ 80 ของผูเ้ ขา้ รับการ
อบรมสามารถจัดกจิ กรรม
สภานักเรยี นบรู ณาการกบั
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ นำ� มา
ประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้อย่างเหมาะสม

3. ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการ
อบรมมคี วามพึงพอใจในการ
เขา้ รว่ มกจิ กรรม



106 คู่มือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

ใบความรู้

เรอ่ื ง หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ให้เป็นหลักสูตรแกนกลาง จัดท�ำขึ้นส�ำหรับท้องถิ่นและสถานศึกษาได้น�ำไปใช้เป็นกรอบและ
ทศิ ทางในการจดั การเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยให้มีคณุ ภาพด้านความรู้ และทกั ษะ
จ�ำเป็นส�ำหรับการด�ำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ

จุดหมายของหลักสตู ร

ผ้เู รยี นเมอื่ จบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและ
มที กั ษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี มีสุขนิสยั และรกั การออกก�ำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท�ำประโยชน์และสร้างส่ิงดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่างมีความสุข

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ ดังนี้

ภาษาไทย
สาระท่ี 1 การอา่ น
สาระที่ 2 การเขยี น
สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพดู
สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย
สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

คมู่ อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 107

คณติ ศาสตร์
สาระที่ 1 จ�ำนวนและการด�ำเนินการ
สาระที่ 2 การวดั
สาระท่ี 3 เรขาคณิต
สาระท่ี 4 พีชคณติ
สาระท่ี 5 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความนา่ จะเปน็
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์
สาระที่ 1 สง่ิ มีชวี ติ กับกระบวนการด�ำรงชวี ติ
สาระที่ 2 ชีวิตกับส่งิ แวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัตขิ องสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนท่ี
สาระท่ี 5 พลังงาน
สาระท่ี 6 กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ
สาระที่ 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระที่ 2 หน้าทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรมและการดำ� รงชวี ติ ในสงั คม
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
สาระท่ี 1 การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์
สาระท่ี 2 ชวี ิตและครอบครัว
สาระท่ี 3 การเคล่อื นไหว การออกกำ� ลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชวี ติ

108 ค่มู อื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

ศิลปะ
สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป์
สาระที่ 2 ดนตรี
สาระท่ี 3 นาฏศิลป์
การงานอาชพี และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การด�ำรงชีวติ และครอบครวั
สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
สาระท่ี 4 การอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร
สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม
สาระท่ี 3 ภาษากบั ความสมั พนั ธก์ ับกลมุ่ สาระการเรยี นอื่นๆ
สาระที่ 4 ภาษาความสมั พันธ์กับชุมชนและโลก
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
สาระที่ 1 กจิ กรรมแนะแนว
สาระที่ 2 กจิ กรรมนกั เรียน
- ลกู เสือ เนตรนารี
- กิจกรรมชุมนมุ ชมรม
สาระท่ี 3 กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์

ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 109

ใบงาน

เรื่อง สภานกั เรยี นออกแบบผังความคิดการจดั กจิ กรรมสนับสนนุ กลมุ่ สาระ
ตามหลกั สูตรตามวิถปี ระชาธปิ ไตย

คำ� ชี้แจง ให้ศึกษาความรเู้ รอ่ื งสภานักเรยี นออกแบบผงั ความคิดการจดั กจิ กรรมสนับสนนุ กล่มุ สาระ
ตามวถิ ีประชาธิปไตย ดังนี้
1. เลอื กประธาน เลขานุการ และผูน้ �ำเสนอของกล่มุ
2. ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดการจัดกิจกรรมบูรณาการกิจกรรมสภานักเรียนกับ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตามกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย โดยเขยี นเป็นแผนผงั ความคิด
3. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอกลมุ่ ละไม่เกนิ 5 นาที

ศิลปะ

การงานอาชพี สขุ ศกึ ษาและ
และเทคโนโลยี พลศกึ ษา

ภาษาต่างประเทศ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาชน้ั พน้ื ฐาน คณิตศาสตร์
พทุ ธศักราช 2553

สงั คมศกึ ษา ศาสนา ภาษาไทย
และวฒั นธรรม

วิทยาศาสตร์

110 คูม่ ือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น

หนว่ ยท่ี 12 การเขียนโครงการ

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรมมีความร้เู กี่ยวกับการเขียนโครงการและสามารถเขยี นโครงการได้
2. เพื่อใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ วธิ กี ารเสนอโครงการเพ่อื ขอรับ
การสนับสนุนจากโรงเรยี นหรือหนว่ ยงานอ่ืนๆ

ขอบข่ายเนื้อหา

1. ความส�ำคัญของโครงการ
2. การเขยี นโครงการ
3. การเสนอและการอนมุ ัตโิ ครงการ

ข้ันตอนการดำ�เนนิ กจิ กรรม

1. เตรียมความพร้อมผูเ้ ข้ารับการอบรมโดยใช้เพลง เกมหรอื กจิ กรรมทเ่ี หมาะสม
2. นำ� เข้าสบู่ ทเรียน เกริ่นนำ� และบรรยายให้ผเู้ ข้ารบั การอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ
และความส�ำคญั ของโครงการ
3. แจกใบความรู้ เรอ่ื งการเขียนโครงการ และอธิบายรายละเอียด องค์ประกอบ
ของโครงการ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในแตล่ ะองคป์ ระกอบ
4. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม กลุ่มละ 6 - 10 คน และแจกใบงาน เรื่อง “การเขียน
โครงการ”
5. คัดเลือกตัวแทนกลมุ่ น�ำเสนอความร้จู ากใบงาน
6. อภิปรายสรปุ ผลการเรยี นรู้ น�ำไปเชื่อมโยงกบั สภานกั เรยี นในโรงเรียน

คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 111

วัสดุอุปกรณ/์ ส่ือการเรยี นรู้

1. ใบความรู้ เรอ่ื งการเสนอโครงการของสภานักเรยี น (Flow chat การเสนอโครงการ)
2. ใบความรู้ เรือ่ งการเขียนโครงการ
3. ใบงาน(การเขียนโครงการ)
4. กระดาษฟลิปชารท์ กระดาษกาว ปากกาเคมี/สเี มจิก

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

เกณฑ์การประเมนิ วธิ วี ดั เครื่องมือวัด
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
1. รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รับ 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. แบบตรวจผลงาน
การอบรม สามารถนำ� เสนอ 2. ตรวจผลงาน 3. แบบสำ� รวจความพึงพอใจ
โครงการได้อย่างถกู ต้อง 3. ส�ำรวจความพงึ พอใจ 4. อน่ื ๆ
2. ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับ 4. อนื่ ๆ
การอบรมมคี วามพึงพอใจในการ
เขา้ รว่ มกิจกรรม

112 คมู่ อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น

Flow Chart การเสนอโครงการ

วเิ คราะห์ปญั หา/
ล�ำดับความสำ� คญั ของปัญหา


จัดทำ� รายละเอยี ดโครงการ


เ สนอโคร งสกภาารนตกั่อ เครณียนะกรรมการ

ไมเ่ ห็นชอบ
สภาในหกัค้ เวราียมนเพหจิน็ รชาอณบาให ้

เห็นชอบ

ครทู ี่ปรกึ ษา ประธานสภานกั เรียนเสนอโครงการต่อ
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (โดยผา่ นครูทป่ี รึกษา)



ไมเ่ หน็ ชอบ
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา/หน่วยงาน/
เครือข่ายอืน่ ๆ พจิ ารณาอนุมัติ

เหน็ ชอบ
สภานักเรยี นด�ำเนนิ โครงการ

สรปุ รายงานผล
การดำ� เนนิ งาน/โครงการ

คู่มือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 113

การเขียนโครงการ

การเขียนโครงการ มีองคป ระกอบและแนวทาง ดังนี้
1) ชื่อโครงการ การกําหนดชือ่ ควรส่อื ใหท ราบวา ตองการทาํ อะไร มีแนวทางปฏิบตั ิอยางไร
และเขียนสั้นๆ ใชภาษากระทัดรัดชัดเจน เชน โครงการแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน โครงการ
จัดงานไหว้ครู ฯลฯ
2) ผ้รู ับผดิ ชอบ (ระบุผรู้ บั ผิดชอบให้ชัดเจน)
3) ครทู ่ีปรกึ ษา (ใหร้ ะบคุ รทู ป่ี รกึ ษา)
4) หลักการและเหตุผล/ความเปนมาและความสําคัญของปญหา โดยทั่วไปสวนน้ี
เปนการช้ีแจงใหเห็นความเปนมาและความสําคัญของปญหาหรือหลักการและเหตุผลในการจัดทํา
โครงการ ซ่ึงอาจจะเปนผลมาจากเกิดสภาพปญหาบางประการ จากสภาพแวดลอมภายในและ
ภายนอกชั้นเรียน สถานศกึ ษา หรอื หนวยงาน หรือเปนความตองการพัฒนาผเู รียน สถานศึกษา ทอ งถิ่น
ประเทศ ซึ่งอาจมาจากนโยบายตางๆ เชน แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาตินโยบายรัฐบาล กระทรวง
ศึกษาธกิ าร สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตลอดจนสถานศึกษา
โครงการที่จัดทําข้ึนเพ่ือแก้ปัญหาบางประการในการปฏิบัติงานของหนวยงาน นิยม
ระบุความเปน มาและความสาํ คัญของปญหาท่ที าํ ให้ตอ งมีการจัดทำ� โครงการ การระบหุ ลกั การและเหตุผล
มักใช้กับโครงการที่จัดทาํ ขึ้นตามหลกั การหรอื ทฤษฏเี พ่ือพฒั นาการปฏิบัตงิ านท่รี บั ผดิ ชอบ
การเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา เปนการบรรยายสภาพปญหาที่เกิดขึ้น
รนุ แรงเพยี งใด สาเหตขุ องปญหาจาํ เปน ตอ งแกไ้ ขเพยี งใด และแนวทางหรอื วธิ ีแกไขทผี่ ู้จดั ทําโครงการ
ศึกษาความเปนไปไดสภาพท่ีตองการใหเกิดขึ้น สําหรับหลักการและเหตุผลจะบรรยายใหเห็น
ความจ�ำเป็นในการจัดท�ำโครงการวามีนโยบายหรือหลักการใด ท่ีผูจัดทําโครงการเห็น
ความจําเปนวาตองนํามาใชในการพัฒนาการปฏิบัติงาน ให้บรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคของ
โครงการ หรอื บรรยายใหเ ห็นวา เหตผุ ลใดจึงตอ งจดั ทําโครงการนี้ข้นึ มา
สําหรบั การจัดทําโครงการของผูเรยี นในสถานศึกษา มจี ุดมุง หมายใหผ เู รียนไดน าํ ความรู้
และทักษะจากการเรียนในชั้นเรียนมาประยุกต์ใชในการปฏิบัติงานจริง ในปจจุบันความเปนมาและ
ความสําคัญของปญ หา หรอื หลักการและเหตุผลกค็ วรปรบั ใหเปนไปตามทผ่ี ูเรยี นปฏบิ ตั จิ รงิ
5) วัตถุประสงค เปนการระบุใหทราบวา การจัดทําโครงการแตละโครงการเพ่ืออะไร
ซ่งึ โดยทัว่ ไปการจัดทาํ โครงการจะมีสาเหตุ 2 ประการ
5.1 แกป ญ หาการปฏบิ ัตงิ าน เชน งานที่ผูเ้ รียนไดรบั มอบหมายในชัน้ เรียน
การปฏิบตั งิ านของอาจารยบคุ ลากรในสถานศึกษา หรือหน่วยงาน
5.2 พฒั นางานในหนา ท่ีรับผดิ ชอบ

114 คู่มือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

6) เปาหมาย ควรระบุใหชัดเจนวาผลงานที่ไดคืออะไร กําหนดปริมาณและคุณภาพ
ใหช ดั เจนพรอ้ มระยะเวลาและงบประมาณทก่ี ำ� หนด เพือ่ ประสทิ ธภิ าพของโครงการรายละเอยี ด ดังนี้
6.1 ปริมาณ ระบุประเภท/ชนิดของผลผลิต หรือผลงาน (Output/Outcome)
พรอ มจาํ นวนหรือปริมาณท่วี ดั ได
6.2 คุณภาพ ระบุคุณภาพของผลผลิต/ผลงานท่ีคาดหวังอาจระบุเปนมาตรฐาน/
เกณฑ ทชี่ ัดเจน
7) ขั้นตอนการด�ำเนินการ ระบุรายละเอียดกิจกรรมท้ังหมดพรอมทั้งข้ันตอนในการปฏิบัติงาน
ต้ังแตเริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ โดยเขียนแผนปฏิบัติงานประกอบ โดยท่ัวไปนิยมเขียนในรูป
Gantt chart ซึง่ แผนปฏิบัติงานจะมอี งคประกอบ คอื
7.1 กิจกรรมระบุหัวขอ เกี่ยวกับการเตรียมงานกอนเร่ิมโครงการ การดําเนินงาน
ตามโครงการ การกาํ กับ ติดตาม ตลอดจนการประเมนิ ผลโครงการ
7.2 ระยะเวลา ระบุระยะเวลาดําเนนิ การในแตละหวั ข้อ/ข้ันตอนของกิจกรรม
8) กิจกรรม ใหร้ ะบกุ จิ กรรมที่ด�ำเนินการว่ามีอะไรบ้าง ก�ำหนดห้วงเวลาให้ชัดเจน
9) งบประมาณ ระบุใหชัดเจนวา่ ใชงบประมาณหรือไม จํานวนเท่าใด ถาไมใชง บประมาณ
ของหน่วยงานใชงบประมาณของหนวยงานอื่นหรือไม หรือไดรับความเอื้อเฟอหรือชวยเหลือจากใคร
หนวยงานใดประมาณการค่าใช้จายในการดําเนินงานแต่ละส่วนโดยประหยัด ทั้งนี้ ตองคํานึงถึง
ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลของงานเปน หลกั
10) ระยะเวลา ระยะเวลากาํ หนดวันที่ดาํ เนนิ การใหช้ ดั เจน ตงั้ แตวนั ที่เริ่มตน โครงการจนถึง
วนั ทสี่ ้นิ สดุ โครงการ
11) สถานทด่ี �ำเนนิ การให้ระบุสถานทจ่ี ดั โครงการ เพ่ือดำ� เนินการหรือปฏบิ ตั ิงาน
12) การติดตามและประเมินผลกําหนดวิธีการดูแล ติดตามการดําเนินงานตามโครงการ
แตละขัน้ ตอน เพ่อื ควบคมุ ใหก ารปฏบิ ตั ิงานเปน ไปตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ อาจทําการประเมนิ
ต่อเน่ือง เพ่ือเปนขอมูลในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน กรณีมีปญหาอุปสรรค กอนส้ินสุดโครงการ
ตลอดจนประเมนิ ผลโครงการเม่ือสิน้ สดุ ระยะเวลาดําเนนิ การตามโครงการ เพอ่ื ใหท ราบวา ผลผลติ /ผลงาน
เปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนดหรือไม นอกจากนี้ยังอาจติดตามประเมินดูผลกระทบท่ีเกิดจาก
โครงการหรอื ผลพลอยไดท ี่เป็นประโยชนเมือ่ มกี ารนาํ ผลผลติ /ผลงานจากโครงการไปปฏบิ ัติ
13) ผลท่ีคาดว่าจะได้รับให้ระบุผลที่จะเกิดข้ึนเม่ือการด�ำเนินงานตามโครงการส้ินสุดลง
ตามวัตถุประสงคหรือประโยชนที่ไดรับจากโครงการโดยตรง รวมถึงผลกระทบจากโครงการ เชน
ความพงึ พอใจของผใู ชผ ลผลติ ทผี่ ลติ ข้ึน

คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรียน 115

ใบงาน

การเขยี นโครงการ

1. ชอื่ โครงการ………………………………………………………………………………………………………....
2. ผรู้ บั ผดิ ชอบ.....................(สภานกั เรยี น)………….....……………………………………………………
3. ครทู ป่ี รกึ ษา………………………………………………………………………………………………………...
4. หลกั การและเหตุผล
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. วตั ถุประสงค์
5.1 ……………………………………………………………………………………………………………………
5.2 ……………………………………………………………………………………………………………………
5.3 ……………………………………………………………………………………………………………………
6. เปา้ หมาย
6.1 เชิงคุณภาพ
6.1.1…………………………………………………………........................................……………
6.1.2…………………………………………………………........................................……………
6.2 เชิงปรมิ าณ
6.2.1…………………………………………………………........................................……………
6.2.2…………………………………………………………........................................……………
7. ขั้นตอนการด�ำเนินการ
7.1……………………………………………………………………………………………………………………
7.2……………………………………………………………………………………………………………………
7.3……………………………………………………………………………………………………………………
8. กจิ กรรม
8.1……………………………………………………………………………………………………………………
8.2……………………………………………………………………………………………………………………
9. งบประมาณ………………………..…..บาท

116 คู่มอื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

10. ระยะเวลาด�ำเนินการ

ล�ำดบั กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ระยะเวลาด�ำเนนิ การ ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผูร้ บั ผิดชอบ
ที่
ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.


11. สถานท่ดี ำ� เนนิ การ
11.1 …………………………………………………………………………………………………………………
11.2 …………………………………………………………………………………………………………………
11.3 …………………………………………………………………………………………………………………
12. การประเมนิ ผล
12.1 …………………………………………………………………………………………………………………
12.2 …………………………………………………………………………………………………………………
12.3 …………………………………………………………………………………………………………………
13. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
13.1 …………………………………………………………………………………………………………………
13.2…………………………………………………………………………………………………………………
13.3…………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...........................................................ผ้เู สนอโครงการ
(..........................................................)
ประธานสภานักเรียน

ลงช่ือ.....................................................ผ้เู ห็นชอบโครงการ
(......................................................)
ครูท่ปี รึกษาสภานักเรยี น

ลงช่อื ........................................................ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ
(.....................................................)
ผูอ้ �ำนวยการโรงเรียน

คู่มอื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 117



หนว่ ยที่ 13 การแลกเปล่ียนเรียนรู้
“เรือ่ งเล่าชาวสภา”

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถออกแบบแนวทางส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรม
แลกเปล่ียนเรยี นรูก้ ารด�ำเนนิ งานสภานกั เรียนได้
2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถถ่ายทอด แลกเปล่ียนประสบการณ์การด�ำเนินงาน
และการจัดกิจกรรมสภานักเรียนในการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้กับสภานักเรียนขอบข่าย
เนอ้ื หาการนำ� ประสบการณท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกับสภานกั เรยี นมาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

ข้นั ตอนการดำ�เนินกิจกรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผเู้ ขา้ รบั การอบรมโดยใช้เพลง เกมหรือกิจกรรมทเี่ หมาะสม
2. ประชุมชีแ้ จงขัน้ ตอน/กระบวนการ/วัตถปุ ระสงค์ ของกิจกรรม
3. แบง่ กลุ่มผ้เู ขา้ รับการอบรม กลมุ่ ละ 6 - 10 คน แจกใบงาน
4. ให้ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่มแลกเปล่ียนความคิดเห็นโดยการสนทนาหรือเล่าเรื่อง
เก่ยี วกบั “สภานกั เรยี น” และบนั ทึกผลการประชมุ กล่มุ ตามใบงาน ตวั แทนของแต่ละกล่มุ มาน�ำเสนอ
ตอ่ ทีป่ ระชมุ
5. สังเกตการท�ำงานและส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของผู้เขา้ รับการอบรม
6. อภิปรายสรุปผลการเรยี นรู้ นำ� ไปเช่อื มโยงกับสภานักเรยี นในโรงเรียน

วสั ดอุ ปุ กรณ/์ สือ่ การเรียนรู้

1. สื่อวดี ิทศั น์
2. ใบงาน
3. กระดาษฟลปิ ชาร์ท
4. กระดาษกาว ปากกาเคมี/สเี มจิก ไมบ้ รรทัดฯลฯ

ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 119

การวัดและประเมนิ ผล

เกณฑก์ ารประเมนิ วธิ วี ดั เครอ่ื งมอื วัด
1. แบบสงั เกตพฤติกรรม
1. ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้ารับ 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. แบบตรวจผลงาน
การอบรม สามารถรว่ มกจิ กรรม 2. ตรวจผลงาน 3. แบบสำ� รวจความพงึ พอใจ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ส�ำรวจความพึงพอใจ 4. อืน่ ๆ
2. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ขา้ รับ 4. อืน่ ๆ
การอบรม มีความพึงพอใจ
ในการเข้าร่วมกิจกรรม

120 คมู่ อื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรียน

ใบงาน

เรอื่ ง กจิ กรรมการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ “เรื่องเลา่ ชาวสภา”

คำ� ช้แี จง ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมแบ่งกล่มุ ๆ ละ 6 - 10 คน และใหแ้ ต่ละกลุม่ แสดงความคิดเหน็
โดยการสนทนาหรอื เลา่ เรอ่ื งในประเดน็ ทีก่ �ำหนดพรอ้ มบันทกึ ผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
และส่งตัวแทนน�ำเสนอผลงานตอ่ ทปี่ ระชมุ
ตัวอย่าง
เรอ่ื งเลา่ แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ในหัวข้อสภานักเรยี นในโรงเรยี น เชน่
1. ทม่ี าของสภานักเรียน
2. การดำ� เนินงานสภานักเรยี น
3. โครงสรา้ งสภานกั เรยี น
4. กจิ กรรมท่ปี ระสบความสำ� เร็จ
5. ปัญหา / อปุ สรรค และแนวทางการด�ำเนินงานของสภานักเรยี น ฯลฯ

คู่มอื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน 121



หนว่ ยท่ี 14 กิจกรรมลานวฒั นธรรม
ตามวิถปี ระชาธิปไตย

วตั ถุประสงค์

เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้กระบวนการท�ำงานเป็นทีม ให้เกิดทักษะการเป็นผู้น�ำ
ผูต้ ามท่ดี ี เกิดความรกั ความสามคั คแี ละท�ำงานร่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ

ขอบข่ายเนอื้ หา

1. หลกั วัฒนธรรมตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
2. ทักษะการเป็นผ้นู ำ� ผูต้ าม และหลกั การมสี ่วนร่วม
3. แนวทางการจัดนทิ รรศการ

ข้นั ตอนการด�ำ เนินกจิ กรรม

1. เตรยี มความพร้อมผู้เขา้ รบั การอบรมโดยใชเ้ พลง เกมหรือกจิ กรรมท่ีเหมาะสม
2. ให้ความรู้เกีย่ วกบั หลักการจัดกิจกรรมลานวฒั นธรรมตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
3. แบง่ กล่มุ ผเู้ ขา้ รบั การอบรม กลุม่ ละ 6 - 10 คน แจกใบความรแู้ ละใบงาน
4. ผู้เข้ารับการอบรมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับผลงานของกลุ่มและการแสดงเก่ียวกับ
ศิลปวฒั นธรรม 1 รายการ
5. มอบหมายให้คณะกรรมการสภานกั เรียนร่วมกนั ดำ� เนินกิจกรรมตามทกี่ ำ� หนด
6. สรุปผลการเรยี นรหู้ ลงั จากการด�ำเนินกจิ กรรม

คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 123

วสั ดอุ ปุ กรณ/์ สื่อการเรียนรู้

1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. วัสดุ อปุ กรณ์ ตามความเหมาะสม

การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ตวั ช้ีวดั ความส�ำเรจ็ วธิ วี ัด เครือ่ งมือวดั
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
1. รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รับการ 1. สงั เกตพฤตกิ รรม 2. แบบประเมนิ ผลงาน
อบรมมีความรู้ความเข้าใจหลกั 2. ประเมนิ ผลการจัด 3. แบบประเมินผลการแสดง
วัฒนธรรมตามวถิ ีประชาธิปไตย นทิ รรศการ 4. แบบสำ� รวจความพงึ พอใจ
และสามารถน�ำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ 3. ประเมินผลการแสดง 5. อ่ืนๆ
อย่างเหมาะสม 4. สำ� รวจความพึงพอใจ
2. ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ รับการอบรม 5. อืน่ ๆ
เกิดความรักความสามคั คีและ
ทำ� งานร่วมกันอยา่ งมีความสขุ
3. ร้อยละ 80 ของผูเ้ ขา้ รับการ
อบรมมีความพงึ พอใจในการเข้า
รว่ มกิจกรรม


124 คู่มือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

ใบความรู้

การจดั นิทรรศการและลานวฒั นธรรมตามวธิ ีประชาธปิ ไตย์
ขั้นปฏิบตั กิ ารผลิตสื่อและติดตงั้

การปฏิบัติการ เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ จ�ำเป็นต้องเก่ียวข้องกับการติดตาม
และการประเมินผลเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ ในขั้นน้ีเป็นการน�ำเอาแผนไปปฏิบัติใช้จริง
ประกอบด้วยการออกแบบในงานนิทรรศการ การจดั หาวสั ดุอปุ กรณ์ การลงมือติดตั้งสื่อตา่ งๆ และการ
ควบคมุ ดูแลความปลอดภยั
1. การออกแบบในงานนิทรรศการ การออกแบบเป็นหัวใจส�ำคัญในการจัดนิทรรศการ
ช่วยให้งานดูโดดเด่นกระตุ้นความสนใจ ให้ผู้ชมเข้าไปชมด้วยความเพลิดเพลินและมีความหมาย
อย่างไรก็ตามการออกแบบส่ือหรือองค์ประกอบทุกชนิดให้ได้ผลดีจ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก
บคุ คลหลายฝา่ ย จำ� แนกไดด้ ังนี้
1) การออกแบบโครงสร้าง ได้แก่โครงสร้างทางกายภาพของงานนิทรรศการท้ังหมด
ซ่ึงได้แก่โครงสร้างของพ้ืนที่ท่ีใช้ในการจัดแสดงและส่ิงก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคาร ห้องจัดแสดง เวที
ซมุ้ ประตูทางเขา้ งาน บู๊ธ (booth) เต็นท์หรอื ปะร�ำพธิ ี เปน็ ต้น
2) การออกแบบตกแต่ง เป็นการออกแบบเพื่อท�ำให้งานนิทรรศการมีความโดดเด่น
สวยงาม ดึงดูดความสนใจ และส่ือความหมายกับผู้ชม การออกแบบตกแต่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่
การตกแต่งภายนอกซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์สีและพ้ืนผิวภายนอกของสิ่งก่อสร้างและบริเวณ
สถานท่ีจัดแสดงให้ดูเด่นแตกต่างไปจากสภาพแวดล้อมใกล้เคียง การตกแต่งภายนอกรวมถึงการจัด
สวนหย่อมและสรา้ งทางเดนิ เปน็ ตน้
3) การออกแบบส่ือ 2 มิติ เป็นส่ือประเภทงานกราฟิกที่ใช้ในการเสนอเน้ือหา
เพ่ือถ่ายทอดให้ผู้ชมเกิดการเรียนรู้โดยตรง เช่น แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ รูปภาพ ภาพเขียน
ภาพถ่าย ภาพโปสเตอร์ ใบปลิว แผ่นพับ แผนผัง ให้สะดุดตาติดใจสวยงามสามารถสื่อความหมาย
ได้เป็นอย่างดี
4) การออกแบบสื่อ 3 มิติเป็นการสร้างสรรค์ส่ือที่มีท้ังความกว้างความยาวและ
ความหนา เช่น หุ่นจ�ำลอง ของจริง ของตัวอย่าง ตลอดจนแท่นวางส่ือซ่ึงอาจมีรูปทรงสี่เหล่ียม
ห้าเหล่ียม หกเหลี่ยม แปดเหล่ียม หรือวงกลม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพ
โดยรวมของสง่ิ แวดลอ้ ม

คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 125

5) การออกแบบส่ือประสมหรือสื่อมัลติมีเดีย ปัจจุบันการออกแบบและการน�ำเสนอ
ผลงานท�ำได้สะดวกรวดเร็วโดยใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการด�ำเนินงาน ท�ำให้รูปแบบของสื่อและ
วิธกี ารนำ� เสนอมีความแปลกใหมน่ ่าสนใจมากยง่ิ ข้นึ โดยเฉพาะการน�ำเสนอแบบสอ่ื ประสม
(multi-media) ผชู้ มสามารถรับรู้ไดท้ ้ังภาพและเสยี งไปพรอ้ มๆ กนั
6) การออกแบบส่อื กิจกรรม เป็นสือ่ การแสดงทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้ชมหรอื บคุ คลในชุมชน
มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์และการน�ำเสนอ เช่น การเล่นเกม การตอบปัญหา การโต้วาที
การอภิปราย การบรรยาย การประกวดความสามารถดา้ นตา่ งๆ
2. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ การจัดนิทรรศการแต่ละคร้ังต้องใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นจ�ำนวนมาก
เช่น อุปกรณ์หลักในการจัดสถานท่ี อุปกรณ์ส�ำหรับการติดต้ัง อุปกรณ์เกี่ยวกับแสงเสียงและไฟฟ้า
วสั ดุอุปกรณ์เพ่อื การแสดงและตกแต่ง โสตทศั นวสั ดุ ซึ่งอาจไดม้ าดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ เช่น การยมื การจดั ซ้อื
การเช่า การจัดหา การจัดท�ำ ดังน้ันเพื่อเป็นการป้องกันความสับสนและการสูญหาย จึงควรจัดเรียง
รายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องการ แหล่งท่ีมาและท�ำตารางวัสดุอุปกรณ์บันทึกเป็นหลักฐาน โดยแยก
เปน็ ชดุ
3. การลงมอื ตดิ ต้งั ส่ือต่างๆ เปน็ ขน้ั จัดวางสิ่งของวัสดอุ ปุ กรณใ์ หเ้ ปน็ ไปตามผังทอี่ อกแบบ
ไวแ้ ลว้ การดำ� เนนิ งานในขัน้ นตี้ ้องอาศัยความรว่ มมอื จากฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่ายวชิ าการ ช่างศิลป์ ชา่ งไม้
ช่างไฟฟ้า ช่างเทคนิคด้านโสตทัศนูปกรณ์ เป็นต้น การตกแต่งและติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ต้องกระท�ำให้
เสร็จเรยี บรอ้ ยและทดลองใช้ก่อนวนั เปดิ งาน
4. การควบคุมดูแลความปลอดภัย เป็นการป้องกนั ไมใ่ ห้ผู้ชมไดร้ ับอันตรายใดๆ จากการ
เขา้ ชมนทิ รรศการ

ขนั้ ตอนการน�ำ เสนอ

ในขนั้ นเ้ี ปน็ การแสดงเน้อื หาข้อมลู หรอื ส่อื ต่างๆ ใหผ้ ูช้ มไดร้ บั รู้ ทดลอง จบั ต้องหรือเข้ารว่ ม
กจิ กรรมต่างๆ ตามท่ีวางแผนออกแบบและติดตง้ั ไว้ โดยทั่วไปประกอบดว้ ย พิธเี ปิดนทิ รรศการ การน�ำ
ชม ด�ำเนนิ กจิ กรรมและการประชาสัมพนั ธ์ ดงั นี้
1. พิธีเปิดนิทรรศการ เป็นกิจกรรมเร่ิมแรกท่ีแสดงถึงความพร้อมเพรียงในการเตรียมงาน
พร้อมท่ีจะเปิดให้ผู้ชมหรือกลุ่มเป้าหมายเข้าชมนิทรรศการอย่างเป็นทางการ สิ่งส�ำคัญที่ต้องเตรียม
ในพิธเี ปดิ คอื เคร่อื งขยายเสียงคณุ ภาพดี แทน่ ยนื สำ� หรับประธาน ค�ำกล่าวรายงานของผ้รู ายงาน และ
ค�ำกล่าวเปิดงานส�ำหรับประธานในพิธี หากเป็นไปได้ค�ำกล่าวเปิดงานควรเสนอต่อประธานเพื่ออ่าน
ก่อนถึงพิธีเปิดจะเป็นผลดีย่ิง ของที่ระลึกส�ำหรับประธานและแขกผู้มีเกียรติท่ีมาร่วมงาน ส่วนวัสดุ
อปุ กรณท์ ี่จำ� เป็นในพิธีเปิดขึ้นอยกู่ ับรปู แบบของงาน

126 คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

2. การน�ำชมและด�ำเนินกิจกรรม หลังจากพิธีเปิดเสร็จส้ินลง คณะผู้จัดนิทรรศการ
น�ำประธานและผู้เข้าชมเดินชมนทิ รรศการตามจดุ สำ� คญั ๆ ของงาน แตล่ ะจุดมพี ธิ กี รบรรยายถา่ ยทอด
ความรู้ที่จัดแสดง ตลอดจนให้ค�ำแนะน�ำหรือตอบค�ำถามจากผู้ชม พิธีกรประจ�ำแต่ละจุดจะท�ำหน้าที่
ต้ังแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายของการจัดนิทรรศการ กิจกรรมประกอบนิทรรศการควรสอดคล้องกับ
เนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจจ�ำแนกเป็นกิจกรรมทางวิชาการ เช่น การประชุมสัมมนา
การอภิปราย การบรรยาย การสาธิต การแสดงผลงานการวิจัย การฉายสไลด์ และกิจกรรมเพ่ือ
การบันเทิง
3. การประชาสัมพันธ์ เป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ชมในการเข้าชมนิทรรศการ
ด้วยส่อื หลายชนดิ เช่น ป้ายผังรวมของงานหรอื แผ่นปลวิ บอกต�ำแหน่งทีต่ ้งั ของแต่ละหน่วยงาน การใช้
เครื่องขยายเสยี งส่อื สารกบั ผูช้ มด้วยการแนะนำ� รายการตา่ งๆ ภายในงาน การให้บรกิ ารประกาศเสยี ง
ตามสาย การใช้ป้ายบอกทิศทาง แผ่นพับหรือสูจิบัตรเพ่ือบอกก�ำหนดการกิจกรรมต่างๆ โปสเตอร์
เพ่อื โฆษณาเชญิ ชวนให้เข้าร่วมกจิ กรรม

คู่มอื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 127

ใบงาน

การจัดนิทรรศการ

คำ� ชี้แจง ให้แต่ละกลุ่ม
ร่วมกันจัดนิทรรศการโดยใช้ผลงานของกลุ่มและส่ิงที่ได้เรียนรู้ตลอดการอบรมมาตกแต่งให้
สวยงาม พรอ้ มน�ำเสนอ


128 คู่มอื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

ใบงาน

การจดั กจิ กรรมลานวัฒนธรรมตามวถิ ีประชาธปิ ไตย

ค�ำชีแ้ จง ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและแสดงละคร/บทบาทสมมุติหรืออ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
1 รายการ ใชเ้ วลาน�ำเสนอ 10 นาที
ตัวอย่าง
ลำ� ดบั การจัดกิจกรรมลานวฒั นธรรม ดังน้ี
1. ประธานนักเรยี นเตรยี มพธิ ีการ
2. น�ำขบวนแหเ่ ชญิ ประธาน
3. ประธานนกั เรยี นกล่าวรายงาน
4. ประธานในพธิ กี ล่าวเปิด
5. เชญิ ประธานในพิธเี ย่ยี มชมนิทรรศการลานวฒั นธรรม (นำ� เสนอผลงานของกลมุ่ )
6. เชิญประธานในพธิ ชี มการแสดง
7. ประธานในพิธกี ล่าวปิดงาน
8. ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทุกคนรว่ มกนั ร้องเพลง เยาวชนของไทย และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี

ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 129



หนว่ ยที่ 15 เสน้ ทางแหง่ ความสำ�เรจ็ ของสภานกั เรยี น

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาศักยภาพในการด�ำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
ได้อย่างเหมาะสม
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวางแผนการด�ำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนได้อย่าง
มคี ณุ ภาพ

ขอบขา่ ยเนือ้ หา

1. ปัจจยั สำ� คญั สเู่ ส้นทางแหง่ ความส�ำเรจ็ การทำ� งานกจิ กรรมสภานักเรยี น
2. กระบวนการขัน้ ตอนในการท�ำงานใหก้ ิจกรรมสภานักเรียนไปสู่ความส�ำเร็จ

ข้นั ตอนการด�ำ เนินกจิ กรรม

1. เตรียมความพร้อมผเู้ ขา้ รับการอบรมโดยใชเ้ พลง เกมหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสม
2. ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์เนื้อหาวชิ า
3. แบ่งกลมุ่ ผู้เขา้ รบั การอบรม กลมุ่ ละ 6 - 10 คน แจกใบงาน เรอ่ื ง ปัจจัยและกระบวนการ
ท่ที ำ� ใหก้ ารท�ำงานกจิ กรรมสภานักเรียนประสบความสำ� เร็จ โดยใหร้ ะดมความคดิ เห็นและน�ำเสนอ
4. อภิปรายสรุปผลการเรียนรู้ เร่ือง ปัจจัยและกระบวนการท่ีท�ำให้การท�ำงานกิจกรรม
สภานกั เรียนประสบความสำ� เรจ็ (ศึกษาจากใบความรู้)


คู่มอื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน 131

วัสดุอปุ กรณ์/สอ่ื การเรียนรู้

1. ใบความรู้
2. ใบงาน เรื่อง ปัจจัยและกระบวนการที่ท�ำให้การท�ำงานกิจกรรมสภานักเรียนประสบ
ความส�ำเร็จ
3. กระดาษฟลปิ ชารท์
4. กระดาษกาว
5. ปากกาเคมี

การวดั ละประเมนิ ผล

ตวั ชีว้ ัดความสำ� เรจ็ วิธวี ดั เคร่อื งมือวัด
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
1. ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ รับ 1. สังเกตพฤติกรรม 2. แบบสอบถาม
การอบรม สามารถบอกไดว้ ่า 2. การสอบถาม 3. แบบตรวจผลงาน
การสรา้ งความเข้มแข็งในองคก์ ร 3. ตรวจผลงาน 4. แบบสำ� รวจความพงึ พอใจ
ของผเู้ ขา้ รบั การอบรมเป็นองคก์ ร 4. สำ� รวจความพงึ พอใจ 5. อ่ืนๆ
แห่งการเรียนรู้ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 5. อน่ื ๆ
2. รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รับ
การอบรมมีความพงึ พอใจในการ
เขา้ ร่วมกจิ กรรม

132 คู่มือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

ใบความรู้

เร่ือง ปัจจัยและกระบวนการท่ที �ำ ใหก้ ารทำ�งานกิจกรรมสภานกั เรยี นประสบความส�ำ เร็จ

การด�ำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดจ�ำเป็นต้องสร้างความเข้มแข็ง
ให้แก่สภานักเรียนด้วยการน�ำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติ การใช้หลักความสมานฉันท์ การใช้แนวทาง
สันติวิธีในการด�ำเนินงาน อีกทั้งยังต้องมีการพัฒนาทักษะการเป็นผู้น�ำ การสร้างและพัฒนาเครือข่าย
การสร้างลักษณะนิสัยให้นักเรียนเป็นผู้มีจิตอาสาและมีจิตสาธารณะ ซ่ึงองค์ความรู้แต่ละเรื่อง
มสี าระสำ� คญั
การจัดกิจกรรมที่มุ่งให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด การพูด การวางแผน เป็นการเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดงออกในบทบาทตา่ งๆ เช่น เปน็ ประธาน เปน็ สมาชกิ เปน็ ผนู้ ำ� หรอื ผู้ตามท่ีดี
ย่อมส่งผลให้นักเรียน มีความรู้ ความคิด มีความเข้าใจ และการได้เผชิญประสบการณ์ตรงจาก
การปฏิบัติจริง จะช่วยให้นักเรียนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดกจิ กรรมที่จะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาสภานักเรียนให้มคี วามเข้มแขง็ อาจดำ� เนินการไดห้ ลายแนวทาง
แตใ่ นท่ีนีข้ อน�ำเสนอ เสน้ ทางแห่งความส�ำเร็จในการด�ำเนินกจิ กรรมสภานักเรียนให้สำ� เรจ็ ซึ่งประกอบด้วย
1. การก�ำหนดบทบาทหน้าทต่ี ามโครงสรา้ งของสภานกั เรยี นแตล่ ะโรงเรียน
2. การเปน็ ผู้นำ� ผู้ตามทด่ี ี
3. การทำ� งานเป็นทมี
4. การส่งเสรมิ และสนับสนุนจากครูท่ปี รึกษา/ผ้บู รหิ าร
5. กระบวนการข้ันตอนในการท�ำงาน
ลกั ษณะเฉพาะทีส่ ำ� คัญประการหนึ่งของการออกแบบอย่างเปน็ ระบบ คอื การแบง่ กระจาย
การท�ำงานออกจากกันเป็นข้ันตอนย่อยๆ เพื่อช่วยให้ผู้ร่วมงานสามารถมุ่งความสนใจกับงานแต่ละ
ข้ันตอนได้อย่างเต็มท่ี ช่วยลดความสับสนในการคิดค้นแก้ปัญหาในการแบ่งกระจายขั้นตอนการออกแบบ
โดยผ่านประสบการณ์ในการท�ำงาน ได้สะสมความรู้ความช�ำนาญตลอดจนมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
ปัญหาหรอื อปุ สรรคข์ ณะลงมือทำ� งาน
ดังน้ัน การวางแบบแผนการท�ำงานไว้เป็นเสมือนคู่มือปฏิบัติงานเพ่ือให้สภานักเรียน
ได้ปฏิบัติเป็นขั้นตอนมีการก�ำหนดอย่างชัดเจน มีส่วนช่วยให้การออกแบบประสบผลส�ำเร็จได้เป็นอย่างดี
แต่ละวิธีการมีการกระจายการท�ำงานเป็นขั้นตอนลักษณะต่างๆ ซ่ึงขึ้นอยู่กับวิธีการท�ำงานตาม
ความถนัด จงึ ขอเสนอกระบวนการขนั้ ตอนการทำ� งานกิจกรรมสภานักเรียนใหส้ �ำเร็จ ดังนี้

คมู่ ือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน 133

กระบวนการขน้ั ตอนในการทำ�งาน

1. การวางแผน
- การจัดทำ� โครงการ
- การจัดท�ำปฏิทนิ ปฏบิ ัตงิ านประจำ� ปี
- การจัดทำ� ปฏทิ นิ การปฏิบัติงานประจ�ำวัน
2. กระบวนการขน้ั ตอนในการท�ำงาน (ใช้กระบวนการท�ำงานวงจรเดมมิง่ PDCA)
- การประชุมคณะกรรมการสภานกั เรยี น
- การรายงานการประชุมและขออนมุ ัติการด�ำเนนิ งาน
- การดำ� เนินการตามแผนท่ีวางไว้
- กาตรวจสอบผลการด�ำเนนิ งาน
- การประเมินผลการทำ� งาน/กจิ กรรม/โครงการ
- การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน/กิจกรรม/โครงการ
3. การประชาสัมพันธ์การทำ� งาน
- เสียงตามสาย
- หน้าเสาธง
- เว็บไซต์ของโรงเรยี น
- ฯลฯ
4. การสร้างเครอื ข่ายในการท�ำงาน
- ครูท่ีปรกึ ษา
- ครปู ระจำ� วิชา/กจิ กรรม
- นกั เรยี นในโรงเรยี น
- บุคลากรภายนอก/องคก์ รต่างๆ
- ฯลฯ
5. การถา่ ยทอดประสบการทำ� งานสภานักเรียนจากพี่สนู่ ้อง
- กระบวนการหาเสียง
- การเลอื กต้งั ประธานสภานกั เรียน
- กระบวนการทำ� งานของสภานักเรียน
- ฯลฯ

134 คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น

วงจรเดมม่งิ PDCA

PDCA เป็นกระบวนการในการบริหารองค์กรให้มีคุณภาพรูปแบบหน่ึง ไม่ว่า
ทฤษฎีบริหารชนิดใดกต็ าม แต่จะเอาระบบ PDCA เขา้ ไปควบคมุ คุณภาพทกุ ขั้นตอน ซ่ึงรายละเอียด
ของ PDCA มีดังน้ี
P = Plan คือ ขน้ั ตอนการวางแผน เพือ่ เลอื กปัญหา ตั้งเป้าหมาย
การแกป้ ญั หา และวางแผนแกป้ ญั หา
D = DO คอื ข้นั ตอนการด�ำเนินการแกไ้ ขปญั หาตามแนวทางทีว่ างไว้
C = Check คอื ขัน้ ตอนการตรวจสอบและเปรียบเทียบผล
A = Action คอื การก�ำหนดเปน็ มาตรฐานและปรบั ปรุงใหด้ ีย่ิงขนึ้

คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 135

ใบงาน

เรื่อง “ปัจจยั และกระบวนการท่ีทำ�ใหก้ ารท�ำ งานกจิ กรรมสภานักเรียนประสบความสำ�เรจ็ ”


ค�ำชี้แจง ให้แตล่ ะกลุ่มด�ำเนินการดังต่อไปน้ี ใหเ้ สร็จภายใน 40 นาที
1. ใหเ้ ลอื กประธาน และเลขานุการของกลุ่ม
2. ใหร้ ะดมสมองในหัวข้อ “ในฐานะที่ท่านเป็นคณะกรรมการสภานักเรยี น ท่านคิดวา่ อะไร
เป็นปัจจัยและกระบวนการที่ท�ำให้การท�ำงานกิจกรรมสภานักเรียนประสบความส�ำเร็จ” และ
จดบนั ทึกผลงานของกลมุ่
3. ตัวแทนกล่มุ น�ำเสนอผลงานต่อที่ประชมุ

136 คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

หนว่ ยที่ 16 กจิ กรรมอำ�ลา

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความรัก ความผูกพัน ระหว่างเพ่ือนและเกิดความกตัญญู
กตเวทตี อ่ ผมู้ ีพระคณุ

ขนั้ ตอนการดำ�เนินกจิ กรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผเู้ ข้ารับการอบรมโดยใช้เพลง เกมหรอื กิจกรรมที่เหมาะสม
2. ตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมกล่าวแสดงความรู้สึกและกล่าวขอบคุณ เพ่ือแสดงถึงความ
กตัญญกู ตเวทีตอ่ ผู้มพี ระคณุ
3. ประธานกลา่ วให้โอวาทและกลา่ วปิดการอบรม
4. ผู้เข้ารับการอบรมจับมือเป็นวงกลมร่วมร้องเพลงสภานักเรียน เพลงใจประสานใจ
เพลงกำ� ลังใจ หรอื เพลงที่เหมาะสม

วสั ดุอปุ กรณ์/สอ่ื การเรียนรู้

เพลงสภานกั เรียน เพลงใจประสานใจ เพลงกำ� ลังใจ ฯลฯ

คู่มือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 137

การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้

ตวั ชวี้ ดั ความสำ� เร็จ วธิ วี ัด เครือ่ งมือวัด
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
1. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รบั 1. สังเกตพฤตกิ รรม 2. แบบสำ� รวจความพงึ พอใจ
การอบรมเกดิ ความรกั 2. ส�ำรวจความพงึ พอใจ 3. อ่นื ๆ
ความผูกพัน ระหวา่ งเพ่ือนและ 3. อืน่ ๆ
เกิดความกตัญญูกตเวทตี ่อผู้
มีพระคุณ
2. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารบั
การอบรมมีความพึงพอใจในการ
เขา้ รว่ มกจิ กรรม

138 ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

เพลงใจประสานใจ

(ศิลปิน ดิอมิ พอสซิเบิ้ล)

……..มองแววตาทุกคนเป่ยี มสขุ ล้นระคนสขุ สนั ต์
ย้ิมแยม้ เข้าใจกันตาสบประสานไมตรีฉายมา
ดวงฤทยั ทุกดวงถ่วงดว้ ยรกั และแรงศรัทธา
ปรารถนาในสง่ิ เดียวกัน
……..ความคลางแคลงหายไปโลกสดใสคืนมาอกี ครา
ฟา้ หลงั ฝนงามตาความมดื โรยรา มลายหายพลัน
มีแต่ความเขา้ ใจอุน่ ไอรักไมตรีตอ่ กนั
ผา่ น มา น้นั ลืมมันลบไป
……..ร้องเถดิ ร้องเพลงกันประสานรอยรกั ในใจลบรอยร้าวภายใน อุรา
รอ้ งเถดิ รอ้ งเพลงกนั จบั มือกนั ไว้ดีกวา่ หนั หนา้ มา เขา้ ใจกนั
……..อันคนเราทุกคนต่างเกดิ มาควรพาพ่งึ กัน
มีไมตรีสำ� พนั ธโ์ ลกนัน้ สดใส
จงมารวมพลงั รว่ มสรา้ งสรรค์จรรโลงฤทัย
จับมอื กนั เดินกา้ วไปมุ่งส่จู ดุ หมาย อนาคตเรา
……..รอ้ งเถดิ รอ้ งเพลงกนั ประสานรอยรกั ในใจลบรอยร้าวภายใน อรุ า
รอ้ งเถิดร้องเพลงกันจับมือกันไว้ดีกวา่ หันหน้ามา เขา้ ใจกนั
……..อันคนเราทกุ คนต่างเกิดมาควรพาพงึ่ กนั
มไี มตรสี ำ� พันธโ์ ลกน้นั สดใส
จงมารวมพลงั รว่ มสร้างสรรคจ์ รรโลงฤทัย
จับมือกนั เดนิ ก้าวไปมงุ่ ส่จู ดุ หมาย อนาคตเรา
……..มองแววตาทกุ คนเปี่ยมสุขลน้ ระคนสขุ สนั ต์
ยมิ้ แย้มเข้าใจกันตาสบประสานไมตรีฉายมา
ดวงฤทัยทุกดวงถว่ งด้วยรกั และแรงศรัทธา
ปรารถนาในส่งิ เดยี วกัน
……..ความคลางแคลงหายไปโลกสดใสคนื มาอกี ครา
ฟ้าหลังฝนงามตาความมืดโรยรา มลายหายพลนั
มีแตค่ วามเข้าใจอุน่ ไอรักไมตรตี อ่ กนั
ผา่ น มา น้นั ลืมมัน ลบไป....

คูม่ อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 139

เพลงกำ�ลงั ใจ (โบกมอื ลา) (ศิลปิน โฮป)

โบกมือลา…เสียงเพลงครวญมาต้องลาแลว้ เพอ่ื น
ก่ปี ีจะลับเลอื นฝากเพลงคอยยำ้� เตอื น…หวนไห้
จากกนั ไกล…แม้เพยี งรา่ งกายแตใ่ จชดิ ใกล้
เมื่อใจเราซ้ึงใจร่วมทางไมร่ ้างไกล…หมายม่นั
ขนุ เขาไม่อาจขวางสายธารเท่ยี งธรรมได้
ความหวงั ยงั พร้งิ พรายเกา่ ตายมีใหมเ่ สรมิ
ชวี ิตที่ผ่านพบมีลบย่อมมเี พ่มิ
ขอเพียงให้เหมอื นเดิม…ก�ำลงั ใจ
อยา่ อาวรณ์…รักเราไม่คลอนคลางแคลงแหนงหน่าย
ให้รกั เราละลายกระจายในผองคนผูท้ ุกขท์ นตลอดกาล

เพลงสภานักเรียน

ที่ตรงนีม้ เี ราเสมอ มฉี ันและเธอมีแตค่ นรใู้ จ
ท่ตี รงนมี้ ีความหว่ งใย ปญั หาใดๆ เราจะคอยชว่ ยกัน
รวมพลังจากใจ รวมเปน็ ใจเดียวกัน รวมเป็นหนึ่งเยาวชนของไทย
อยากเหน็ โลกนี้ มแี ต่ความสุขสนั ต์ อยากใหท้ ุกวนั เปน็ วันแห่งความเขา้ ใจ
อยากเห็นรอยย้มิ ความรกั ความจริงใจ ให้โลกทง้ั ใบมีแต่คนรกั กนั
กอดคอกนั ไว้เดนิ ด้วยกัน จะไม่มีวันท้งิ ใหเ้ ธอหลงทาง
รวมพลงั จากใจ รวมเป็นใจเดยี วกนั รวมเปน็ หน่งึ เยาวชนของไทย
อยากเห็นโลกน้ี มแี ตค่ วามสุขสนั ต์ อยากใหท้ ุกวนั เป็นวนั แห่งความเขา้ ใจ (ซ้ำ� )
อยากเห็นรอยยมิ้ ความรกั ความจริงใจ ให้โลกท้ังใบมีแต่คนรกั กนั .

140 คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

สว่ นท่ี 3

เครื่องมือวัดและประเมิน
ผลการเรยี นรู้



สว่ นท่ี 3

เครอื่ งมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ค่มู อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน เพื่อใชส้ ง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนาการจัดกจิ กรรม
สภานักเรียนในส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ให้สามารถจัดกิจกรรมสภานักเรียน
ตามหลักสูตรท่ีก�ำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนสามารถน�ำความรู้ ทักษะและประสบการณ์
ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ มีเครื่องมือวัดและประเมินผลการ
เรยี นรู้ตามกิจกรรมการฝึกอบรม ดังตอ่ ไปนี้
1. แบบส�ำรวจความพึงพอใจ
2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
3. แบบประเมนิ ผลงาน
4. แบบสัมภาษณ์

คมู่ ือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 143


Click to View FlipBook Version