The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peemapon Hempoom, 2019-11-23 00:41:55

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

คู่มือการจัดกิจการฝึกอบรมสภานักเรียน

4.2 กิจกรรม “เสียใจ – ดีใจ” ให้ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรื่องเล่า
ประสบการณ์เก่ียวกับเรื่องท่ีท�ำให้เสียใจ และเร่ืองที่ท�ำให้ดีใจ แล้วสรุปกิจกรรมโดยช้ีให้เห็นว่า
สอดคล้องกบั สทิ ธเิ ดก็ ท้งั 4 ด้าน ดา้ นใดบา้ ง
4.3 กิจกรรม อะไรคือ“ความจ�ำเป็น”และอะไรคือ “ความต้องการ” โดยให้ผู้เข้ารับ
การอบรมยกตัวอยา่ ง เรอ่ื งราวหรือสิง่ ของตา่ งๆ ในชวี ติ ประจ�ำวนั แลว้ บอกว่าเป็น “ความจ�ำเปน็ ” หรือ
“ความต้องการ” แล้วสรุปกิจกรรม อธิบายให้เห็นว่าสิทธิเด็กมีทั้งที่เป็นความจ�ำเป็นและที่เป็น
ความต้องการสำ� หรบั ชีวติ
4.4 กิจกรรม “เติมใจให้เต็ม มองให้เห็นสภานักเรียน” เติมเต็มในเร่ืององค์ความรู้
เหตกุ ารณ์ปจั จุบนั ทเ่ี กีย่ วข้องกับการมสี ภานักเรียนอยา่ งไร

วสั ดอุ ปุ กรณ/์ สื่อการเรียนรู้

1. สอ่ื วีดทิ ัศน์
2. สอื่ รปู ภาพ
2.1 ภาพเด็กที่อยู่ในภาวะตา่ งๆ ทง้ั ดแี ละไม่ดี
2.2 ภาพส่งิ ของท่ใี ช้ในชวี ิตประจ�ำวัน เดก็ ที่อย่ใู นภาวะต่างๆ ท้งั ดีและไมด่ ี
3. ใบความรูเ้ รอ่ื ง สิทธเิ ด็ก
4. กระดาษฟลปิ ชารท์ ปากกาเคมีหรอื สเี มจิ กระดาษกาว

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

ตัวช้วี ัดความสำ� เรจ็ วธิ ีวดั เคร่อื งมอื วดั
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
1. รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รับการ 1. สงั เกตพฤตกิ รรม 2. แบบสอบถาม
อบรม มคี วามรู้ความเขา้ ใจเรื่อง 2. สอบถาม 3. แบบส�ำรวจความพงึ พอใจ
สทิ ธิ หน้าท่ี และกฎหมายท่ี 3. ส�ำรวจความพึงพอใจ 4. อื่นๆ
เก่ยี วข้องกบั สิทธิเด็ก 4. อ่นื ๆ
2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารบั การ
อบรมมีความพึงพอใจในการเขา้
ร่วมกจิ กรรม

44 คู่มือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน

ใบความรู้

เรอ่ื ง สิทธิเด็ก

กฎหมายเก่ยี วกับสทิ ธิเด็กในปัจจบุ นั คือ พระราชบญั ญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ.2546 ซึง่ มสี าระ
ส�ำคัญเป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งประเทศไทยเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาดังกล่าวต้ังแต่
ปี พ.ศ.2535 ซง่ึ อนสุ ัญญาว่าด้วยสทิ ธิเดก็ ได้ก�ำหนดหลกั การพื้นฐานสำ� หรบั เดก็ ไว้ 4 ประการ คอื
1. สทิ ธิที่จะมชี วี ิตรอด
2. สทิ ธทิ ี่จะได้รบั การปกป้องคมุ้ ครอง
3. สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
4. สทิ ธทิ ่ใี นการมีสว่ นรว่ ม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 53 ได้ให้การรับรองสิทธิ
ของเด็ก เยาวชนและครอบครัวไว้ว่าเขาเหล่านั้นมีสิทธิได้รับความคุ้มครองโดยรัฐจากการใช้ความ
รุนแรงและการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม เด็กและเยาวชนที่ไม่มีผู้ดูแลมีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูและ
การศึกษาอบรมจากรัฐในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ได้สะท้อนให้เห็นหลักการและ
แนวคิดส�ำคญั ๆ เกย่ี วกับสิทธิเดก็ ไวห้ ลายประการ ดังนี้
1. หลักการและแนวคดิ สำ� คัญๆ เก่ียวกบั สทิ ธเิ ดก็
1.1 หลักการเพ่ือประโยชน์สูงสุดของเด็กและไม่เลือกปฏิบัติ ตามบทบัญญัติท่ีกล่าวว่า
ใหค้ ำ� นึงถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ของเด็กเป็นส�ำคัญ และไม่ใหม้ กี ารเลอื กปฏิบัตโิ ดยไม่เป็นธรรม ไมว่ ่าจะเป็น
ความแตกต่างเรอื่ งเชอ้ื ชาติ สญั ชาติ เผา่ พันธุ์ สผี ิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมอื ง ทรพั ยส์ นิ
ความทพุ พลภาพ การเกดิ หรอื สถานภาพอย่างอน่ื ของตวั เด็กเองหรอื ของพอ่ แม่ผ้ปู กครองของเด็กนนั้
1.2 หลักการยอมรับนับถืออ�ำนาจปกครองของบิดามารดา และหลักการท่ีว่าเด็กย่อม
เหมาะสมท่ีจะอยู่ร่วมกับบิดามารดาผู้ให้ก�ำเนิดเพ่ือคงไว้ซึ่งสถาบันครอบครัว โดยมีบทบัญญัติอ�ำนาจ
หน้าท่ีของผู้ปกครองไว้ว่าต้องให้การอุปการะเล้ียงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความ
ปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น นอกจากน้ัน
ยังต้องคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนไม่ให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิด
อันตรายแก่ร่างกายหรอื จติ ใจ
1.3 หลักการการแทรกแซงอ�ำนาจปกครองของบิดามารดาโดยอ�ำนาจรัฐ การท่ีรัฐ
เข้าไปแทรกแซงอ�ำนาจปกครองเด็กของบิดามารดาน้ัน ต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดของเด็ก
เนื่องจากเกิดการกระท�ำหรือผลบางประการที่กระทบต่อเด็ก เช่น เด็กถูกกระท�ำโดยมิชอบ เด็กถูก

คูม่ อื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 45

ทอดท้ิง กล่าวคือ เมื่อผปู้ กครองตกอยใู่ นสภาพไมอ่ าจให้การอุปการะเลย้ี งดู อบรมส่ังสอนและพฒั นา
เด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด หรือผู้ปกครองกระท�ำการใดอันน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพ หรือขัดขวาง
ต่อการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก หรือให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบ หรือมีเหตุจ�ำเป็นอ่ืนใด
เพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก หรือป้องกันมิให้เด็กได้รับอันตรายหรือ
ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม พนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องด�ำเนินการให้การสงเคราะห์หรือคุ้มครอง
สวสั ดภิ าพ ตามบทบญั ญัติของกฎหมาย
2. หนา้ ทแ่ี ละการปฏบิ ตั ิต่อเดก็ มดี ังนี้
2.1 หน้าทขี่ องผูป้ กครอง
1) ให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
ของตนตามสมควรแกข่ นบธรรมเนียมประเพณแี ละวฒั นธรรมแหง่ ทอ้ งถิ่น
2) การอุปการะเล้ียงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนา ต้องไม่ต่�ำกว่ามาตรฐานขั้นต�่ำ
ตามท่กี �ำหนดในกฎกระทรวง
3) คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนไม่ให้ตกอยู่ในภาวะ
อนั นา่ จะเกิดอันตรายแกร่ า่ งกายหรอื จิตใจ
4) ไม่ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเล้ียงเด็กหรือสถานพยาบาล หรือไว้กับบุคคล
ท่ีรบั จา้ งเล้ียงเดก็ หรอื ทสี่ าธารณะหรอื สถานท่ีใด โดยเจตนาที่จะไมร่ ับเดก็ กลบั คืน
5) ไม่ละท้ิงเด็กไว้ ณ สถานที่ใดๆ โดยไม่จัดให้มีการป้องกันดูแลสวัสดิภาพหรือ
ให้การเลีย้ งดทู ่เี หมาะสม
6) ไม่จงใจหรือละเลยไม่ให้ส่ิงท่ีจ�ำเป็นแก่การด�ำรงชีวิตหรือสุขภาพอนามัยจน
น่าจะเกดิ อนั ตรายแกร่ ่างกายหรอื จิตใจของเดก็
7) ไม่ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ
ของเด็ก
(8) ไมป่ ฏิบตั ติ ่อเดก็ ในลกั ษณะทีเ่ ป็นการเลยี้ งดโู ดยมิชอบ
2.2 หน้าท่ีของรัฐ กฎหมายกำ� หนดให้บุคคลฝ่ายปกครอง ได้แก่ ปลัดกระทรวงพัฒนา
สังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ผู้ว่าราชการจงั หวดั ผอู้ ำ� นวยการเขต นายอำ� เภอ ปลัดอำ� เภอ ผเู้ ปน็
หัวหน้าประจำ� กิ่งอำ� เภอหรือผู้บรหิ ารองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ มีหน้าท่ี ดงั น้ี
1) คุ้มครองสวัสดิภาพที่อยู่ในเขตพื้นที่ท่ีรับผิดชอบ ไม่ว่าเด็กจะมีผู้ปกครองหรือ
ไม่ก็ตาม
2) ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถาน
คุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื้นฟูและสถานพินิจที่ตั้งอยู่ในเขตอ�ำนาจกฎหมายก�ำหนด
อ�ำนาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ีให้ต้องด�ำเนินการ ให้การสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
ในกรณตี อ่ ไปนี้
46 คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

- ผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเล้ียงดู อบรมส่ังสอนและ
พัฒนาเดก็ ไดไ้ มว่ ่าดว้ ยเหตุใดๆ
- ผู้ปกครองกระท�ำการใดอันน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพหรือขัดขวาง
ตอ่ ความเจรญิ เตบิ โตหรอื พัฒนาการของเดก็
- ผปู้ กครองเลีย้ งดูเด็กโดยมิชอบ
- มีเหตุจ�ำเป็นอื่นใดเพ่ือประโยชน์ในการสงเคราะห์ หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
หรือป้องกนั เด็กมใิ หไ้ ด้รับอนั ตรายหรือถกู เลือกปฏบิ ัตโิ ดยไม่เปน็ ธรรม
3. ประเภทของเด็กท่พี ึงได้รบั การสงเคราะห์ มี 8 ประเภท ดงั นี้
1) เด็กเรร่ อ่ น หรือเด็กกำ� พร้า
2) เดก็ ที่ถูกทอดท้ิงหรอื พลดั หลง ณ ท่ีใดที่หนึ่ง
3) เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใดๆ เช่น ถูกจ�ำคุก กักขัง
พิการ ทุพพลภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง ยากจน เป็นผู้เยาว์ หย่า ถูกทิ้งร้าง เป็นโรคจิตหรือโรคประสาท
เป็นต้น
4) เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบต่อ
พฒั นาการทางรา่ งกายหรอื จิตใจของเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
5) เด็กท่ีได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็นเคร่ืองมือในการกระท�ำหรือแสวงหา
ประโยชน์โดยมชิ อบ ถกู ทารณุ กรรม หรือตกอย่ใู นภาวะอ่ืนใดอนั อาจเปน็ เหตใุ ห้เด็กมคี วามประพฤติ
เส่ือมเสยี ในทางศีลธรรมอนั ดีหรอื เปน็ เหตใุ ห้เกดิ อันตรายแกร่ า่ งกายหรอื จิตใจ
6) เด็กพิการ
7) เดก็ ท่ีอยใู่ นสภาพยากลำ� บาก
8) เดก็ ทอี่ ยู่ในสภาพท่ีจำ� ต้องได้รับการสงเคราะห์ตามท่กี �ำหนดในกฎกระทรวง
4. ประเภทของเด็กท่ีพึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ เช่น เด็กที่ถูกทารุณกรรม เด็กท่ี
เสยี่ งต่อการกระท�ำความผดิ และเด็กทอ่ี ยูใ่ นสภาพทจ่ี �ำตอ้ งได้รับการคมุ้ ครองสวัสดภิ าพตามทีก่ ำ� หนด
ในกฎกระทรวง เป็นต้น
5. มาตรการส่งเสริมความประพฤตินกั เรยี นและนักศกึ ษา
นักเรียน หมายถึง เด็กซึ่งก�ำลังรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานระดับประถมศึกษาและระดับ
มัธยมศึกษา ท้ังประเภทสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาหรือเทียบเท่า อยู่ในสถานศึกษาของรัฐหรือ
เอกชน
นักศึกษา หมายถึง เด็กซึ่งก�ำลังรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเท่าในสถาน
ศกึ ษาของรฐั หรือเอกชน

คูม่ อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 47

ตามพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ไดก้ ำ� หนดมาตรการส่งเสริมความประพฤติ
นักเรยี นและนกั ศึกษา ดงั นี้
1. เป็นหน้าที่ของโรงเรียนและสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรม
ในการแนะแนวให้ค�ำปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง เพ่ือส่งเสริมความ
ประพฤติที่เหมาะสม ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม และความปลอดภยั แกน่ ักเรยี น นักศึกษา
2. เป็นหน้าที่ของนักเรียน นักศึกษา ท่ีจะต้องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียน
หรือสถานศึกษา หากฝ่าฝืนพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอ�ำนาจน�ำตัวไปมอบให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถาน
ศึกษาเพื่อสอบถามและอบรมสั่งสอนหรือลงโทษตามระเบียบ แล้วแจ้งผู้ปกครองให้ว่ากล่าวตักเตือน
หรือสงั่ สอนเด็กอีกช้ันหน่งึ
48 คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

หนว่ ยที่ 5 รูปแบบและท่มี าของสภานกั เรยี น

วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้ผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ และวิธกี ารไดม้ าของสภานักเรียน
2. เพอ่ื ให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรมสามารถอธิบายและน�ำเสนอถงึ ท่มี าของสภานักเรยี นได้
3. เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมสามารถออกแบบโครงสร้างขององค์กรสภานกั เรยี นได้

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา

1. ความหมายและวัตถุประสงคข์ องสภานกั เรียน
2. รูปแบบและที่มาของสภานักเรียน

ข้ันตอนการดำ�เนนิ กจิ กรรม

1. เตรียมความพร้อมผู้เข้ารบั การอบรมโดยใชเ้ พลง เกม หรอื กจิ กรรมอน่ื ๆ ท่เี หมาะสม
2. น�ำเข้าสู่บทเรียน “รูปแบบและท่ีมาของสภานักเรียน” โดยการสนทนาและบรรยาย
เกยี่ วกบั โครงสรา้ งของสภานกั เรียน
3. สนทนาและบรรยายเก่ยี วกับการได้มาซ่งึ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ฯลฯ
4. ให้ความรู้ในเรื่องความหมายของสภานักเรียน วัตถุประสงค์ของสภานักเรียน รูปแบบ
ต่างๆ ของสภานกั เรียน และทมี่ าของสภานกั เรียน
5. แบง่ กลมุ่ ผ้เู ขา้ รบั การอบรม กลมุ่ ละ 6 - 10 คน แจกใบงาน เรอ่ื ง รปู แบบของสภานักเรียน
แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา วิเคราะห์ และระดมความคิดในการออกแบบโครงสร้างสภานักเรียน
ลงในกระดาษฟลิปชารท์
6. คดั เลอื กตัวแทนกลมุ่ น�ำเสนอผลการศึกษาต่อทป่ี ระชมุ ใหญต่ ามเวลาท่ีเหมาะสม

ค่มู ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 49

7. วิทยากรน�ำอภิปรายสรุปผลการเรียนรู้ ตลอดจนเสนอแนะเพ่ิมเติม โรงเรียนจะต้อง
แต่งตั้งครูที่ปรึกษา มีการเลือกตั้ง และแต่งตั้งประธานสภานักเรียน คณะกรรมการสภานักเรียน
โรงเรียนจะต้องมีธรรมนูญหรือข้อบังคับว่าด้วยสภานักเรียนหรือคณะกรรมการนักเรียน มีการจัดท�ำ
คู่มือหรือแนวทางการด�ำเนินงานสภานักเรียน จัดห้องท�ำงานของสภานักเรียน และส่งเสริมให้
สภานักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม บูรณาการกิจกรรม
สภานกั เรียนกบั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ฯลฯ

วสั ดุอุปกรณ์/สอ่ื การเรียนรู้

1. ใบความรู้ เรอื่ ง ความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของสภานกั เรียน
2. ใบความรู้ เรื่อง ทีม่ าของสภานกั เรียน
3. ใบความรู้ เรอ่ื ง รปู แบบของสภานักเรยี น
4. ใบงาน เรือ่ ง การออกแบบโครงสรา้ งสภานกั เรยี นตามความคิดเห็นของนักเรยี น
5. กระดาษฟลิปชาร์ท กาว ปากกา สีเมจกิ ไม้บรรทัด

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนร ู้

ตวั ช้วี ัดความสำ� เรจ็ วิธีวัด เคร่ืองมือวดั
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม 1. สงั เกตพฤติกรรม 2. แบบตรวจผลงาน
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถอธบิ าย 2. ตรวจผลงาน 3. อนื่ ๆ
และน�ำเสนอถึงที่มาและรูปแบบของ 3. อน่ื ๆ
สภานกั เรียนได้

50 คมู่ ือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

ใบความรู้

เร่ือง ความหมายและวตั ถุประสงค์ของสภานักเรยี น

1. ความหมายของสภานกั เรยี น
สภานกั เรยี นเป็นกิจกรรมหน่งึ ของนกั เรียน ซงึ่ เป็นกลไกส�ำคัญ ท่จี ะช่วยพัฒนาโรงเรยี น
ไปตามกระบวนการนติ ธิ รรม และเปน็ กิจกรรมที่จะปลูกฝังทศั นคติ ค่านิยม ความเป็นประชาธิปไตย
มจี ิตวิญญาณในการใชธ้ รรมาภิบาล เพ่ือใหน้ กั เรยี นเตบิ โตเป็นพลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติ
2. วัตถุประสงค์ของสภานักเรียน
1) เพือ่ เรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ
2) รู้จักการท�ำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างมีระบบ โดยรู้จักบทบาทและหน้าท่ีของตนเอง
มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
3) เพ่ือฝึกฝนให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีประสบการณ์ในด้านการบริหารและ
การปกครองของนักเรยี น โดยนักเรียนและเพือ่ นกั เรียน
4) เพ่ือฝึกฝนให้นักเรียนท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนของนักเรียน ในการกระท�ำใดๆ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 51

ใบความรู้

เรอื่ ง “ที่มาของสภานักเรียน”

โรงเรียนมีภารกิจในการปลูกฝังวิถีประชาธิปไตยให้กับนักเรียน โดยการส่งเสริมให้นักเรียน
ทุกคนได้เรียนรู้ ร่วมกิจกรรม น�ำหลักปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตยไปใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
มีการส่งเสริมกิจกรรมการเลือกตั้ง เช่น การเลือกหัวหน้าห้อง การเลือกประธานนักเรียน ประธาน
ชุมนุม ประธานชมรม คณะกรรมการนักเรียนและสภานักเรียน (ท้ังนี้รูปแบบอาจมีความแตกต่างกัน
ตามรปู แบบทโ่ี รงเรยี นกำ� หนดและพัฒนาข้นึ ) โดยมกี ารด�ำเนนิ งาน ดงั นี้
1. โรงเรียนแต่งต้ังคณะครูท่ีปรึกษากิจกรรมสภานักเรียนของโรงเรียน/ประชุมวางแผน/
ศึกษาแนวทางการดำ� เนินงานสภานักเรยี น
2. จัดท�ำระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญของโรงเรียนว่าด้วยสภานักเรียน/คู่มือแนวทาง
การด�ำเนินงานสภานักเรียน
3. ครูท่ีปรึกษาสนับสนุนให้มีการต้ังกลุ่ม/ทีม/พรรค/เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเลือกต้ัง
สภานกั เรียน
4. โรงเรยี นมีการด�ำเนินการรบั สมคั รผ้แู ทนสภานักเรียน
5. เปิดโอกาสให้มกี ารรณรงค์หาเสยี งเลอื กตั้งผแู้ ทนนกั เรียน
6. ด�ำเนินการเลือกตั้งผู้แทนนักเรียนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนเข้ามามี
ส่วนรว่ ม ซ่งึ มกี ารดำ� เนนิ การตามข้ันตอน ดงั น้ี
- ตรวจบญั ชรี ายชือ่
- แสดงตนขอรับบตั รเลือกต้งั
- รับบัตรเลอื กต้งั
- เขา้ คหู ากากบาท
- หยอ่ นบตั รเลือกตัง้
7. มกี ารนับคะแนนและประกาศผลการเลอื กตง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ
8. โรงเรียนออกคำ� สง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการสภานกั เรียน


52 ค่มู ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรียน

ตัวอยา่ งรปู แบบโครงสร้างคณะกรรมการสภานักเรยี น (1)

ประธานสภานักเรยี น

รองประธานสภานักเรยี น (คนที่ 1) รองประธานสภานกั เรียน (คนที่ 2)

ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกจิ กรรม เลขานกุ าร ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหารท่ัวไป

ตวั อยา่ งรูปแบบของสภานักเรยี น (2)

ประธานสภานักเรียน

รองประธานสภานกั เรยี น (คนที่ 1) รองประธานสภานักเรยี น (คนที่ 2) รองประธานสภานกั เรียน (คนท่ี 3)

วิชาการ กจิ กรรม ปฏคิ ม ปฏคิ ม ประชาสัมพันธ์ ปกครอง

ชุมนมุ /ชมรม เลขานกุ าร หัวหน้าสายชนั้ สมั พนั ธช์ ุมชน

หมายเหตุ
1. สามารถก�ำหนดรูปแบบและโครงสร้างของสภานักเรียนได้อย่างหลากหลายและ
ตามความเหมาะสม แต่ต้องอธิบายให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจถึงความเหมือนหรือความต่างกับ
รปู แบบและโครงสรา้ งของสภาผแู้ ทนราษฎร และวฒุ ิสภา
2. รูปแบบตามตัวอย่าง (1) (2) เป็นการฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการท�ำงานร่วมกัน
ตามหลกั วถิ ีประชาธิปไตย คิดเป็น ท�ำเปน็ แกป้ ัญหาได้ ฯลฯ

คู่มือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น 53

ใบงาน

เรื่อง การวิเคราะหก์ จิ กรรมทีส่ ภานักเรียนสามารถส่งเสริมและดำ�เนนิ งาน

คำ� ช้แี จง
1. ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมแลกเปลย่ี นเรียนร้ถู ึงทม่ี าของสภานักเรยี นของแตล่ ะโรงเรียน
มที ม่ี าอยา่ งไร เหมอื นหรือตา่ งกนั อยา่ งไร
2. ร่วมกันศึกษาตัวอย่างของรูปแบบโครงสร้างของสภานักเรียน และออกแบบโครงสร้าง
รูปแบบสภานักเรียนในอุดมคติ ตลอดจนก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่าย มีหน้าที่อะไรบ้าง
โดยจดั ท�ำลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ท
3. คดั เลือกตวั แทนกล่มุ น�ำเสนอผลงานตอ่ ทป่ี ระชุม

54 คู่มือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

หน่วยท่ี 6 บทบาทและหน้าท่ขี องสภานกั เรียน

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับบทบาทหน้าทข่ี องสภานกั เรยี น
2. เพ่อื ให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถอธิบายถึงบทบาทหน้าทข่ี องสภานักเรียนได้
3. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวิเคราะห์และอธิบายกิจกรรมท่ีจัดในโรงเรียน เพ่ือส่งเสริม
ความมีคารวธรรม สามัคคธี รรม และปญั ญาธรรม

ขอบข่ายเน้อื หา

1. บทบาทหน้าทขี่ องสภานกั เรยี น
2. วถิ ปี ระชาธปิ ไตย ตามหลกั การคารวธรรม สามัคคธี รรม และปัญญาธรรม

ขน้ั ตอนการดำ�เนนิ กจิ กรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผู้เขา้ รับการอบรมโดยใชเ้ พลง เกม หรือกจิ กรรมอน่ื ๆ ท่เี หมาะสม
2. น�ำเข้าสู่บทเรียน “โดยการสนทนาถึงเร่ืองกิจวัตรประจ�ำวันท่ีสภานักเรียนสามารถ
จัดกิจกรรมชว่ ยเหลือ ดแู ล พฒั นาโรงเรยี น” เชน่ กจิ กรรมทำ� ความสะอาด กจิ กรรมรับนักเรยี นตอนเช้า
กจิ กรรมหน้าเสาธง เปน็ ต้น
3. ให้ความรเู้ ร่อื งบทบาทและหนา้ ทขี่ องสภานกั เรียน
4. แบง่ ผู้เขา้ อบรมออกเป็นกลุม่ ละ 6 -10 คน แจกใบความรู้ เรอื่ ง บทบาทและหน้าท่ขี อง
สภานักเรยี น
5. ให้ผู้เข้าอบรมร่วมกันวิเคราะห์และเลือกบทบาทและหน้าที่ของสภานักเรียนท่ีนักเรียน
เห็นวา่ ส�ำคญั ทส่ี ุด 3 อันดับแรก พร้อมระบุเหตผุ ลบนั ทกึ ลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ท

ค่มู ือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 55

6. แตล่ ะกลมุ่ คัดเลือกตวั แทนกลุ่มไปนำ� เสนอผลการศกึ ษาตอ่ ทีป่ ระชมุ
7. อภิปรายสรุปผลการเรียนรู้ ตลอดจนเสนอแนะเพิ่มเติม ประเด็นความสอดคล้อง และ
ความสัมพันธ์ ของกิจกรรมที่สภานักเรียนด�ำเนินการสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้

วัสดุอุปกรณ/์ ส่อื การเรียนรู้

1. ใบความรู้ เรอื่ ง ตวั อย่างกิจวัตรประจ�ำวันสภานักเรยี น
2. ใบความรู้ เรอ่ื ง บทบาทหนา้ ที่ของสภานักเรยี น
3. ใบความรู้ เรอ่ื ง วถิ ปี ระชาธิปไตย (คารวธรรม สามคั คีธรรมและปญั ญาธรรม)
4. ใบงาน เร่อื ง การวเิ คราะห์บทบาทหนา้ ทขี่ องสภานักเรยี นทีส่ �ำคัญทส่ี ดุ
5. กระดาษฟลปิ ชารท์ ปากกาเมจิก

การวดั และประเมินผลการเรียนร ู้

ตวั ช้วี ัดความสำ� เร็จ วิธีวัด เครือ่ งมือวัด
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รบั การอบรม มี 1. สงั เกตพฤติกรรม 2. แบบตรวจผลงาน
ความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธบิ าย 2. ตรวจผลงาน 3. อ่ืนๆ
และน�ำเสนอบทบาทหน้าท่ีของ 3. อ่นื ๆ
สภานักเรยี นได้

56 ค่มู อื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

ใบความรู้

เรื่อง ตัวอยา่ งกิจวตั รประจำ�วันสภานกั เรยี น

วัน/เวลา กจิ กรรม ผูร้ บั ผิดชอบ หมายเหตุ

ภาคเช้า รบั นักเรียนหนา้ ประตโู รงเรยี น

ดูแลและประเมินเขตความรับผิดชอบ
ความสะอาด
จดั กจิ กรรมเสยี งตามสาย

จัดกจิ กรรมหน้าเสาธง

ดแู ลความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการเข้าแถว

เทย่ี ง จดั กจิ กรรมเสียงตามสาย

ดแู ลการรับประทานอาหารกลางวัน

ดูแลการแปรงฟนั

ดูแลการท�ำกิจกรรมนั่งสมาธิ

สญั ญาณเข้าเรยี น

เยน็ กิจกรรมหน้าเสาธง

ส่งแถวน้องกลบั บา้ น

กจิ กรรมชมรม/ชมุ นมุ


คู่มือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 57

ใบความรู้

เรอ่ื ง บทบาทหนา้ ทข่ี องสภานกั เรียน

บทบาทของสภานักเรยี น
1. เป็นผู้นำ� ในการปฏิบัติกิจกรรมเพ่อื สว่ นรวมตามหลกั ธรรมภิบาล
2. ปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของตนเองเพ่ือนักเรียน โดยใช้กระบวนการประชาธิปไตย
และแนวทางสันติ
3. ส่งเสรมิ สนับสนุนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อนกั เรียนและส่วนรวม
4. สบื สานความรู้ ภมู ิปัญญา อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติ
5. เป็นผู้นำ� เพ่อื การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมของชุมชนสังคม
6. ประสานและปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ทกุ หน่วยงาน องคก์ รชมุ ชนต่างๆ
7. รณรงคใ์ หน้ ักเรยี นท�ำความดเี พอื่ เป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน
หนา้ ทีข่ องสภานกั เรียน
1. ดแู ลทกุ ข์ สขุ ของนักเรียน และรว่ มแก้ไขปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนในโรงเรยี น
2. ประสานงานกับบุคลากร และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์และ
ความก้าวหน้าทน่ี กั เรียนควรได้รับ
3. รบั ผดิ ชอบงานและกจิ กรรมต่างๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมายจากโรงเรยี น
4. คดิ ริเรมิ่ โครงการทีเ่ ป็นประโยชน์ สามารถปฏิบตั ิไดจ้ รงิ และสง่ ผลตอ่ การพัฒนาโรงเรียน
5. ดแู ลสอดส่อง และบริหารจัดการทรพั ยากรท่มี ีอย่ใู นโรงเรียนใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า
6. ประชาสมั พนั ธ์ข้อมูลข่าวสารท่เี ป็นประโยชน์ ทันต่อเหตุการณแ์ ละตรงไปตรงมา
7. เสนอความคิดเห็นต่อผู้บริหารโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและเพ่ือ
พฒั นาโรงเรยี นในด้านตา่ งๆ
8. วางแผนด�ำเนนิ งานกจิ กรรมตา่ งๆ ร่วมกับครทู ปี่ รกึ ษา
9. ปฏิบัติงานโดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบ หรือข้อบังคับอื่นใดของทางราชการ พร้อมทั้ง
ต้องรกั ษาไวซ้ ึง่ ศลี ธรรม วฒั นธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดีงาม

58 คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

ใบความรู้

เรื่อง วถิ ปี ระชาธิปไตย (คารวธรรม สามคั คธี รรม และปัญญาธรรม)

วิถี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน
ประชาธิปไตย หมายถึง แบบการปกครองทถ่ี ือมตปิ วงชนเป็นใหญ่
ดังน้ันค�ำว่า “วิถีประชาธิปไตย” หมายถึง การด�ำรงชีวิตโดยยึดมั่นในหลักศีลธรรมและ
คุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการด�ำรงชีวิต ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ด�ำรงตน
เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและประเทศ
ชาตใิ หเ้ ป็นสังคมประชาธิปไตยอยา่ งแท้จรงิ
ประชาธิปไตยประกอบด้วยพฤตกิ รรมที่แสดงออก 3 ลกั ษณะ คือ คารวธรรม สามคั คีธรรม
และปัญญาธรรม
คารวธรรม
1. การเคารพในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ไดแ้ ก่ การรว่ มกจิ กรรมต่างๆ ทจ่ี ดั ขึน้
เพ่ือแสดงความจงรกั ภักดตี อ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ เช่น ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ เพลงสรรเสรญิ
พระบารมี เคารพในหลักการปฏิบัตขิ องศาสนาทต่ี นนับถอื และไม่ลบหลศู่ าสนาอื่น
2. เคารพซ่ึงกันและกันทางกาย เช่น การแสดงความเคารพแก่บุคคลซึ่งอาวุโสกว่า การให้
เกยี รตผิ ู้อ่ืน
3. เคารพทางวาจา เช่น การพดู จาใหเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ใช้คำ� พดู ใหเ้ หมาะสมกับฐานะ
ของบคุ คล พดู จาสุภาพ
4. เคารพในสิทธขิ องผูอ้ ืน่ ไมล่ ว่ งละเมดิ สทิ ธขิ องผู้อนื่ ท้งั ทางกายและวาจา
5. เคารพในความคิดเห็นของผูอ้ นื่ ยอมรับในความคดิ เห็นทีแ่ ตกต่าง
6. เคารพในกฎระเบยี บของสงั คม เช่น วัฒนธรรมประเพณี กฎหมายของบ้านเมอื ง
สามัคคธี รรม
1. การรู้จกั ประสานประโยชน์โดยถอื ประโยชน์ของสว่ นรวมเป็นทีต่ ง้ั
2. ร่วมมอื กนั ท�ำงาน ไม่เอาเปรียบผู้อื่น
3. รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี ทั้งส่วนตนและส่วนรวม
4. รกั หมูค่ ณะ และชว่ ยเหลือเกอื้ กูลซงึ่ กนั และกนั

ค่มู ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน 59

5. รกั ษาความเป็นน�ำ้ หนงึ่ ใจเดียวกันของกลมุ่ และสงั คม
6. เสยี สละความสขุ สว่ นตนหรอื หมู่คณะเพ่อื ประโยชน์ของส่วนรวมและประเทศชาติ
7. หลีกเลยี่ งความขดั แย้ง รจู้ กั อดทนอดกลั้น ร้รู กั สามคั คี
ปญั ญาธรรม
1. การไมย่ ึดถอื ความคดิ เหน็ ของตนเป็นใหญ่
2. การปฏบิ ตั ิตามมตขิ องเสียงส่วนมากและรับฟังเสียงส่วนนอ้ ย
3. ใชเ้ หตผุ ล ในการตัดสินปญั หาทงั้ ปวง
4. ใช้สติปัญญาในการไตรต่ รองวิเคราะหส์ ถานการณ์ตา่ งๆ
5. วเิ คราะหแ์ ละประมวลข่าวสารข้อมูลดว้ ยความรอบคอบ
6. พจิ ารณาเหตุผลด้วยใจเปน็ ธรรม ไม่ล�ำเอียง ไมห่ ลงผิด มใี จเป็นกลาง ปราศจากอคติ

60 คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

ใบงาน

เรื่อง วเิ คราะห์บทบาทหน้าที่ของสภานกั เรยี นท่ีสำ�คัญท่สี ุด

คำ� ชแี้ จง
1. ให้ผ้เู ข้ารับการอบรมรว่ มกันศึกษาบทบาทหน้าทีข่ องสภานกั เรียน
2. ให้ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกันวิเคราะห์ถึงบทบาทหน้าท่ีท่ีส�ำคัญท่ีสุดของสภานักเรียน
3 ล�ำดับแรก พร้อมระบุเหตุผลประกอบ โดยจัดท�ำลงในกระดาษฟลิปชาร์ท (รูปแบบตาราง หรือ
รปู แบบอื่นๆ ตามความเหมาะสม)
3. ตัวแทนกลุ่มน�ำเสนอผลงานต่อท่ปี ระชมุ

คมู่ ือการจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรียน 61



หน่วยท่ี 7 การสร้างภาวะผนู้ �ำ

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของสภานักเรียนและ
สามารถนำ� ไปปฏิบตั ิได้
2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะความเปน็ ผู้น�ำที่ดแี ละสามารถนำ� ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ขอบข่ายเนอ้ื หา

1. ความหมายของวสิ ยั ทัศน์
2. ผู้นำ� และบุคลกิ ภาพของผ้นู ำ� ทด่ี ี
3. ภาวะผู้นำ�

ข้ันตอนการด�ำ เนนิ กิจกรรม

1. เตรียมความพร้อมผเู้ ข้ารบั การอบรมโดยใช้เพลง เกมหรอื กจิ กรรมท่เี หมาะสม
2. น�ำเข้าสบู่ ทเรยี น โดยใหค้ วามรู้พื้นฐานในเร่ือง วสิ ยั ทัศน์ ทบทวนความรู้เก่ยี วกับ
สภานักเรยี นและบคุ ลิกภาพทเี่ หมาะสม
3. เปิดเวทีเสวนา “มุมมองในการสร้างภาวะผู้น�ำสภานักเรียน” โดยวิทยากรน�ำประเด็น
อภปิ รายให้ผเู้ ข้าอบรมรว่ มแสดงความคดิ เห็น
4. แบง่ กลมุ่ ผเู้ ข้ารับการอบรม กลมุ่ ละ 6 - 10 คน แจกใบงาน การสร้างภาวะผูน้ ำ�
5. ตวั แทนกลุ่มน�ำเสนอความรูจ้ ากใบงาน
6. อภปิ รายสรุปผลการเรียนรู้ น�ำไปเช่อื มโยงกบั สภานักเรียนในโรงเรียน

คู่มือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 63

วสั ดอุ ปุ กรณ/์ สือ่ การเรยี นรู้

1. ใบความรูเ้ รอื่ ง วิสยั ทศั นภ์ าวะผู้น�ำ ความรูเ้ ก่ียวกบั สภานกั เรยี นและบุคลกิ ภาพทเี่ หมาะสม
2. ใบงานเรื่อง การสรา้ งภาวะผนู้ �ำ
3. กระดาษฟลปิ ชารท์
4. กาว ปากกาเคมี/สีเมจกิ

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

เกณฑ์การประเมนิ วิธวี ัด เครอื่ งมือวัด
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม 1. สังเกตพฤติกรรม 2. แบบตรวจผลงาน
สามารถน�ำเสนอบทบาทหน้าที่ 2. ตรวจผลงาน 3. แบบสำ� รวจความพึงพอใจ
ของสภานักเรยี นไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3. สำ� รวจความพงึ พอใจ 4. อ่นื ๆ

2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม 4. อนื่ ๆ
สามารถน�ำเสนอทักษะความเป็น
ผูน้ ำ� ท่ีดีได้อย่างถูกต้อง

3. รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้ารบั การอบรม
มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม
กิจกรรม

64 คมู่ ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

ใบความรู้

ภาวะผู้น�ำ กับบุคลิกภาพ

ภาวะผู้น�ำกับบุคลกิ ภาพ
บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะโดยรวมของแต่ละบุคคล ท้ังลักษณะภายในและภายนอก
ซ่ึงแสดงออกโดยท่าทาง ความรู้สึกนึกคิด สติปัญญา ตลอดจนกิริยามารยาทและลักษณะนิสัย
ซึ่งเป็นการยากที่จะให้ความหมายของบุคลิกภาพท่ีแน่นอนตายตัว เพราะคนมักตัดสินบุคลิกภาพของ
ผู้อ่ืนโดยเอาความรู้สึกของตนเองเป็นเครื่องวัด จากปฏิกิริยาที่บุคคลอื่นแสดงต่อตนเองเป็นเกณฑ์
รู้สึกว่าดีหรือไม่ดีจากความชอบหรือไม่ชอบเป็นส�ำคัญ ซ่ึงอาจจะไม่ใช่ภาวะท่ีแท้จริงของบุคคลน้ัน
ก็ได้ เพราะคนสองคนอาจมีความรู้สึกต่อปฏิกิริยาของคนคนหนึ่งแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการรับรู้
ที่แตกต่างกัน
ความส�ำคญั ของการมบี คุ ลิกภาพดี
ผู้มีบุคลิกภาพดี ควรจะเป็นผู้มีสุขภาพจิตดีเป็นเบื้องต้น มองเห็นส่ิงต่างๆ ตามท่ีเป็นจริง
อย่างถูกต้องไม่ต่อต้านหรือยอมรับทุกสิ่งทุกอย่างโดยไม่มีหลักการและเหตุผล ไม่ว่าอยู่ในสถานการณ์ใด
สามารถปรับตัวได้ดี เป็นผลให้บุคคลน้ันมีบุคลิกภาพท่ีดีและเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิต
ดงั น้ี
1. สามารถรับรู้เข้าใจสภาพความจริงได้อยา่ งถกู ต้อง
2. การแสดงอารมณ์อยู่ในลักษณะและขอบเขตท่ีเหมาะสม
3. สามารถสร้างความสมั พันธ์กับบคุ คลอ่นื และสงั คมได้ดี
4. สามารถทำ� งานท่ีอำ� นวยประโยชน์ต่อผอู้ นื่ และสงั คมได้
5. มคี วามรักและความผกู พนั ตอ่ ผ้อู ่นื
6. สามารถพฒั นาตนเอง การแสดงออกของตนตอ่ ผ้อู ่นื ไดด้ ีขนึ้
สรปุ
การพัฒนาบุคลิกภาพเป็นการเร่ิมต้นพ้ืนฐานในการพัฒนามนุษย์ที่จะช่วยเพ่ิมคุณค่าและ
ความสำ� เร็จในชวี ติ ทั้งต่อตนเอง ครอบครวั และสังคม

คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 65

ใบความรู้

วิสัยทศั น์

ความหมายของวิสยั ทศั น์
วิสัยทัศน์ หมายถึง การมองภาพอนาคตของผู้น�ำและสมาชกิ ในองค์กรและกำ� หนดจดุ หมาย
ปลายทางทเ่ี ช่ือมโยงกับภารกิจ ค่านยิ มเขา้ ด้วยกัน เพอ่ื มุง่ สจู่ ดุ หมายปลายทางที่ต้องการโดยวสิ ยั ทศั น์
ดังกลา่ วต้องชัดเจน ทา้ ทาย มีพลังและมคี วามเป็นไปได้
ลกั ษณะวิสยั ทัศน์
1. วิสัยทัศน์ หรือ Vision คอื สิ่งทค่ี าดหวังและต้องการให้เกดิ ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึ่ง หรอื กค็ อื
จุดมุ่งหมายหรือความมุ่งม่ันท่ีองค์การต้องการให้เกิดขึ้น หรือต้องการให้บรรลุในอนาคตภายในกรอบ
เวลาที่ก�ำหนดไว้ เชน่ 2 ปี 3 ปี 5 ปี โดยท่ี วิสยั ทัศนต์ ้องได้รับการปลกู ฝงั ใหส้ มาชิกเกดิ ความสำ� นึก
และเขา้ ใจในข้อความที่เขยี นออกมาเปน็ วิสยั ทัศนน์ ัน้
2. วิสัยทัศน์ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นลายลักษณ์อักษรหรืออาจก�ำหนดไว้แล้วน�ำมาใช้ส้ันยาว
แคไ่ หนไมเ่ ป็นไร แตท่ ่สี ำ� คัญคอื วสิ ัยทศั น์นน้ั สามารถใช้กับทุกคนในองค์การ และตอ้ งเขา้ ใจคือการมอง
กว้าง มองไกล
ความสำ� คัญของวิสยั ทศั น์
1. ช่วยกำ� หนดทศิ ทางทจี่ ะดำ� เนนิ ชวี ิตหรอื กิจกรรมองค์กรโดยมีจดุ หมายปลายทางที่ชัดเจน
2. ช่วยให้สมาชิกทุกคนรู้ว่าแต่ละคนมีความส�ำคัญต่อการมุ่งไปสู่จุดหมายปลายทาง และ
รู้วา่ จะทำ� อะไร (What) ท�ำไมตอ้ งท�ำ (Why) ทำ� อย่างไร (How) และทำ� เมือ่ ใด (When)
3. ช่วยกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีความรู้สึกน่าสนใจ มีความผูกพันมุ่งมั่นปฏิบัติตามด้วย
ความเต็มใจ ทา้ ท้าย เกดิ ความหมายในชวี ิตการท�ำงาน มีการทำ� งานและมีชีวติ อยอู่ ยา่ งมเี ปา้ หมายด้วย
ความภมู ิใจและทุ่มเทเพ่ือคุณภาพของผลงานทปี่ ฏบิ ัติ
4. ชว่ ยก�ำหนดมาตรฐานของชีวิต องค์กรและสงั คมท่แี สดงถงึ การมีชวี ติ ทมี่ คี ณุ ภาพ องคก์ ร
ท่ีมคี ณุ ภาพและสงั คมทีเ่ จรญิ ก้าวหนา้ มีความเปน็ เลศิ ในทุกด้าน

66 คู่มือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

ภาวะผนู้ ำ�
ภาวะผู้น�ำ (LEADERSHIP) เปน็ ความสามารถดา้ นอทิ ธิพลต่อบุคคลในกลมุ่ เพ่อื นำ� ไปสคู่ วาม
ส�ำเร็จตามเป้าหมายใช้กระบวนการสั่งการ การมีอิทธิพลต่อผู้อ่ืน การมีปฏิสัมพันธ์โดยถ่ายทอด
แนวคิดไปสู่การปฏิบัติ ดังน้ัน อาจกล่าวได้ว่าภาวะผู้น�ำเป็นการมีปฏิสัมพันธ์ที่ไม่หยุดนิ่งของ
กระบวนการ 3 อยา่ ง ที่มคี วามเกย่ี วเนอ่ื งและมีอิทธิพลตอ่ กนั ได้แก่ ผนู้ �ำ (Leaders) ผตู้ าม (Follows)
และสถานการณ์ (Situations) อนั น�ำไปสกู่ ารบรรลุผลส�ำเร็จตามเปา้ หมาย

คณุ ลกั ษณะของภาวะผ้นู ำ�สามารถแยกตามตวั อักษร LEADERSHIP ได้ดังนี้

1. L = Love หมายถึง ผู้บังคับบัญชาหรือผู้น�ำต้องเริ่มด้วยการมีความรักเสียก่อน คือรัก
ในหนา้ ทก่ี ารงานรักผูร้ ่วมงานรักผใู้ ต้บังคับบัญชารกั ความกา้ วหน้ารกั ความยุตธิ รรม
2. E = Education and Experience หมายถึง คุณสมบัติทางด้านการศึกษาและ
ประสบการณ์ท่ดี ีเป็นแบบอยา่ งและสามารถส่ังสอนแนะน�ำผูใ้ ตบ้ ังคับบญั ชาได้ถกู ต้อง
3. A = Adaptability หมายถึง ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์
สง่ิ แวดล้อมรูจ้ กั การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้
4. D = Decisiveness หมายถึง มีความสามารถในการพจิ ารณาตดั สนิ ใจได้รวดเร็วถูกตอ้ ง
แนน่ อนกล้าได้กลา้ เสยี
5. E = Enthusiasm หมายถงึ ความกระตือรือร้น มคี วามต้ังอกต้ังใจในการปฏบิ ัติงานและ
สนับสนุนชกั น�ำ (Encourage) ใหผ้ ูใ้ ต้บังคบั บญั ชาปฏบิ ัตงิ านอย่างจริงจงั ดว้ ย
6. R = Responsibility หมายถึง เป็นผู้มีความรับผิดชอบท้ังในหน้าท่ีความรับผิดชอบ
ของตนเองและผู้ใต้บังคบั บญั ชาไมท่ อดทงิ้ หรือปดั ความรับผดิ ชอบใหผ้ ูอ้ ่นื
7. S = Sacrifice and sincere หมายถึง ต้องเปน็ ผเู้ สยี สละเพื่อสว่ นรวม จริงใจซงึ่ จะท�ำให้
ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาเกดิ ความเคารพนับถือ
8. H = Harmonize หมายถึง เปน็ ผูม้ ีความนุ่มนวล ผอ่ นปรนเพ่อื เสริมสรา้ งความสามัคคี
และความเข้าใจอนั ดตี อ่ กนั ในหมผู่ ู้รว่ มงานอาจรวมถึงการถ่อมตัว (Humble) ตามกาลเทศะอันควร
9. I = Intellectual capacity หมายถึง เป็นผู้มีความเฉลียวฉลาดมีไหวพริบทันคนทัน
ตอ่ เหตุการณ์เป็นผ้รู อบรแู้ ละมีความคดิ รเิ ริ่ม
10. P = Persuasiveness หมายถึง เปน็ ผูม้ ีศลิ ปะในการจงู ใจคนซ่งึ จำ� เปน็ จะตอ้ งใชห้ ลกั
จติ วิทยา (Psychology) และตอ้ งมีอ�ำนาจ (Power) ในตัวเองพอสมควร

ใบงาน

คูม่ ือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น 67

ใบงาน

การสรา้ งภาวะผู้นำ�

คำ� ชี้แจง
ใหแ้ ต่ละกลุ่มดำ� เนินการดงั น้ี
1. เลือกประธาน และเลขานกุ าร ของกลุม่
2. ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายตามหวั ข้อต่อไปนี้
2.1 ผนู้ �ำทเ่ี ราร้จู กั มใี ครบา้ ง
2.2 ผ้นู ำ� ทเ่ี ราต้องการมีบุคลกิ ลักษณะอยา่ งไร
2.3 เราไดเ้ รียนรอู้ ะไรบ้าง ทสี่ ามารถนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ได้
3. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ น�ำเสนอไม่เกนิ 5 นาที

68 คู่มอื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

หน่วยที่ 8 การประชมุ สภานักเรียน

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ขององค์ประชุม
สภานักเรียน
2. เพ่ือให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการประชมุ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
3. เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมสามารถดำ� เนนิ การประชุมได้

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา

1. บทบาทและหน้าทขี่ ององคป์ ระชมุ สภานักเรียน
2. การประชมุ ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
3. การสาธิตการประชุม

ขนั้ ตอนการดำ�เนนิ กจิ กรรม

1. นำ� เขา้ สูบ่ ทเรียน โดยการสนทนาตามวดี ิทัศน์หรือภาพเกีย่ วกบั การประชมุ เชน่
การประชุมโดยท่ัวไป การประชุมของสภาผู้แทนราษฎร เปน็ ต้น
2. แจกใบความรู้เรอ่ื ง ระเบียบวาระการประชมุ
3. แบง่ กลมุ่ ผูเ้ ข้ารบั การอบรม กลมุ่ ละ 6 - 10 คน แจกใบความร้เู ร่อื ง บทบาทและหนา้ ท่ี
ของประธาน เลขานกุ าร องคป์ ระชุมหรือสมาชกิ ในท่ีประชมุ และบทบาทหนา้ ท่ีของครทู ีป่ รกึ ษา
4. สาธิตการประชุมสภานักเรียน (ทั้งน้ีจะต้องมีการเตรียมความพร้อมของชุดสาธิต
ทงั้ ระเบียบวาระการประชุม และบทบาทขององคป์ ระชมุ )
5. ให้แตล่ ะกลุม่ ปฏิบัติตามใบงานในการฝึกเขยี นระเบียบวาระการประชมุ เช่น การเตรียม
จัดงานวันเด็กแหง่ ชาติ การเตรยี มการจดั การเลือกตัง้ สมาชกิ สภานกั เรียน เปน็ ตน้

คู่มือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 69

6. ฝกึ การเขยี นรายงานการประชุม
7. สรปุ และเสนอแนะเพ่มิ เติมจากการสาธิตการประชุม
8. สรุปผลการเรียนรู้

วัสดอุ ุปกรณ์/สอื่ การเรียนรู้

1. วีดทิ ศั นห์ รอื ภาพตวั อย่างการประชุม
2. ใบความรู้
2.1 รปู แบบจัดหอ้ งประชุมแบบต่างๆ
2.2 เรื่องบทบาทและหน้าที่ของประธาน เลขานุการ องค์ประชุมหรือสมาชิก
ในท่ีประชุมและบทบาทหนา้ ที่ของครูท่ปี รกึ ษา
2.3 เรือ่ งรปู แบบการเขยี นวาระการประชมุ
2.4 เร่อื งเทคนิคการเขียนรายงานการประชมุ
3. สาธิตการประชมุ
4. ใบงานเร่อื ง การเขยี นระเบียบวาระการประชุม
5. ใบงานเรอ่ื ง การเขียนรายงานการประชมุ

การวดั และประเมนิ ผล

เกณฑก์ ารประเมิน วธิ ีวดั เครือ่ งมือวัด
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
1. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับการอบรม 1. สังเกตพฤติกรรม 2. แบบตรวจผลงาน
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ 2. ตรวจผลงาน 3. แบบสำ� รวจความพึงพอใจ
บทบาทหน้าท่ีของสภานักเรียน 3. ส�ำรวจความพงึ พอใจ 4. อ่ืนๆ
และวถิ ีประชาธปิ ไตย 4. อน่ื ๆ
2. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้ารบั การอบรม
มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม
กจิ กรรม

70 ค่มู ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น

ใบความรู้

เรื่อง รปู แบบการจดั ห้องประชมุ แบบต่างๆ

การจัดห้องประชุมให้เหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรมถือเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการจัด
ฝึกอบรม สมั มนา ซึง่ การจดั รปู แบบตา่ งๆนั้นมขี อ้ ดี ขอ้ เสียต่าง กนั

1. จดั แบบ Theatre

คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 71

การจัดห้องประชุมแบบ Theatre นั้นเป็นการจัดห้องประชุมแบบพ้ืนฐานในการจัดอบรม
สัมมนา ข้อดีของการจัดห้องประชุมแบบน้ีคือ ผู้อบรมมีจุดโฟกัสเพียงจุดเดียว ท�ำให้ความสนใจ
ทง้ั หมดจะถูกส่งไปที่วิทยากรด้านหน้าเวทเี พยี งจดุ เดยี ว อกี ทงั้ ยังเปน็ การใชพ้ ้ืนท่ีห้องประชุมอยา่ งคมุ้ ค่า
และเต็มพ้ืนท่ีมากท่ีสุด การจัดห้องประชุมแบบนี้เหมาะมากส�ำหรับการฝึกอบรมแบบบรรยาย
ที่เน้นเน้ือหาและมีการฉายภาพบนจอ หากผู้เข้าร่วมอบรมมีจ�ำนวนมากและห้องสัมมนาขนาดไม่ใหญ่
มากนักการจัดห้องประชุมแบบ Theatre จะท�ำให้สามารถรองรับคนได้มากโดยไม่อึดอัด แต่ข้อเสีย
คือหากผู้อบรมมีสัมภาระสิ่งของจะไม่สะดวกเพราะไม่มีโต๊ะตรงท่ีนั่ง ซ่ึงหากจ�ำเป็นต้องให้ผู้เข้าร่วม
อบรมวางสิ่งของเพื่อไม่ให้เกะกะและกังวลในการอบรม สามารถวางโต๊ะไว้ด้านข้างของห้องประชุม
เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ อบรมน�ำสิ่งของมาวางไว้ได้

2. จดั แบบ Class room

ช่ือก็บอกอยู่แล้วว่า Class room การจัดแบบนี้ไม่ต่างจากแบบ Theatre เท่าไหร่นัก
แคเ่ พม่ิ โตะ๊ ตรงทน่ี ่งั ให้ผู้รว่ มอบรมไดว้ างสง่ิ ของ โดยมากจะมีกระดาษ A4 พรอ้ มทั้งดนิ สอวางไวอ้ ยบู่ น
โต๊ะให้ด้วยเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมจดตามสิ่งท่ีวิทยากรบรรยายได้ การจัดห้องแบบ Classroom
จ�ำเป็นต้องใช้พ้ืนที่พอสมควรเพื่อไม่ให้เม่ือเข้าไปนั่งแล้วรู้สึกอึดอัด ดังน้ันขนาดของห้องต้องสามารถ
รองรับผเู้ ข้าอบรมได้โดยไมแ่ นน่ จนเกินไป
72 คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

3. จัดแบบ U-Shape

การจดั ห้องประชมุ รปู แบบน้ีไม่ว่าจะ U –Shape, V-Shape เหมาะส�ำหรบั การบรรยาย
ที่วิทยากรต้องการความใกล้ชิดกับผู้เข้าร่วมการอบรม เพราะสามารถถือไมค์เดินเข้าหา พูดคุย
สอบถามจากผู้เข้าอบรมได้สะดวก Eye Contact ได้ง่าย วิทยากรสายกิจกรรมชอบใช้การจัดห้อง
ประชุมรปู แบบนี้ เพราะสามารถทำ� กจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์ เลน่ เกม ยา้ ยทไ่ี ปมาไดส้ ะดวก และรูปแบบ
สามารถปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม เช่นถ้าหอ้ งประชุมจดั U- shape วงเดยี วไมไ่ ดก้ ็สามารถจดั
เก้าอ้ีซ้อน 2 แถวเป็น 2 วง ได้อีก ข้อเสียของการจัดห้องประชุมรูปแบบน้ีคือ หากผู้เข้าอบรมมี
จำ� นวนมาก ก็ต้องใชห้ ้องประชุมทใี่ หญ่ตาม และไมค่ วรจัด U-Shape หากผอู้ บรมมมี ากกว่า 200 คน
ขึ้นไป (โดยคา่ เฉล่ยี ) เพราะจะท�ำให้วงกว้างเกนิ กว่าท่วี ิทยากรจะควบคมุ ได้ เพราะระยะการนั่งในบาง
ต�ำแหนง่ จะหา่ งจากวิทยากรเกินไป

4. จัดแบบ Conference


การจัดห้องประชุมแบบนี้เหมาะส�ำหรับการประชุมท่ีต้องการการระดมสมอง เพ่ือแก้
ปญั หา เพอื่ หาขอ้ สรปุ หรือเน้นให้ทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการประชมุ เหมาะส�ำหรบั การประชุมกลุ่มย่อยๆ
ต้ังแต่ 10 – 50 คน

คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 73

5. จัดแบบ Banquet

เป็นการจัดห้องในรูปแบบของการจัดเลี้ยง ที่ต้องการความสนิทสนมกันในระหว่าง
รับประทานอาหาร ในหนึ่งโต๊ะสามารถจัดได้ต้ังแต่ 8-25 ท่ีน่งั เรามักพบการจดั หอ้ งประชุมลักษณะนี้
ในทป่ี ระชมุ ทต่ี ้อง Workshop ระดมสมอง แต่ห้องประชุมมลี กั ษณะแคบและยาว

6. จดั แบบ Banquet Rounds

ก็เป็นการจัดโต๊ะจัดเลี้ยงอีกรูปแบบหนึ่ง หรือถ้าเป็นการจัดประชุมก็จะเป็นการประชุม
ที่มีการจัด workshop หรือมีการระดมความคิดเช่นเดียวกับการจัดแบบ Banquet ทั่วไป แต่การจัดโต๊ะ
เป็นวงกลม สมาชิกในแต่ละกลุ่มย่อยไม่ควรมีมากเกินไปไม่เช่นนั้นจะไม่เกิดการมีส่วนร่วม จ�ำนวนท่ี
เหมาะสมทสี่ ดุ อยทู่ ่ี 5 - 10 คน
อย่างท่ีได้กล่าวไปในตอนต้นว่าการจัดห้องประชุมให้เหมาะกับเน้ือหา และรูปแบบกิจกรรมนั้น
มีความสำ� คญั ตอ่ การจดั สมั มนาเป็นอยา่ งมาก โดยก่อนที่จะจัดรปู แบบห้องประชุมมสี ง่ิ ทีต่ อ้ งคำ� นึงคือ
1. จ�ำนวนคนและขนาดของหอ้ งประชมุ
2. รปู แบบการอบรมเปน็ แนวไหน บรรยาย Workshop กิจกรรม Team Building
74 คมู่ ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน

ใบความรู้

เรอื่ ง รปู แบบการเขยี นวาระการประชุม

ระเบียบวาระการประชมุ ...................
ครง้ั ท่.ี .........../............

วันท.่ี ...............................เวลา............... น.
ณ ...............................................................................................
……………...........................................................................................................................................
ระเบียบวาระที่ 1 เร่ือง ประธานแจ้งใหท้ ีป่ ระชุมทราบ
...............................................................................................................................................................
ระเบยี บวาระที่ 2 เร่อื ง รบั รองการประชุมครัง้ ท่ีแล้ว
...............................................................................................................................................................
ระเบียบวาระท่ี 3 เร่ือง เสนอเพ่ือทราบ
...............................................................................................................................................................
ระเบยี บวาระท่ี 4 เรื่อง เสนอเพ่อื พิจารณา
...............................................................................................................................................................
ระเบยี บวาระท่ี 5 เรอื่ ง อ่นื ๆ (ถา้ ม)ี
...............................................................................................................................................................
หมายเหตุ
ในการประชุมทุกครั้งควรให้ครูที่ปรึกษาเข้าร่วมสังเกตการณ์ในขณะด�ำเนินการประชุมด้วย
ในระหวา่ งการประชมุ ถา้ ไม่สามารถหาขอ้ ยุตใิ นท่ปี ระชมุ หรอื มีข้อซักถามจากทป่ี ระชมุ ครูทป่ี รึกษาให้
ค�ำแนะน�ำได้

ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น 75

ใบความรู้

เร่อื ง บทบาทและหน้าทีข่ องประธาน เลขานุการ องคป์ ระชุมหรือสมาชกิ ในทีป่ ระชมุ
และบทบาทหน้าทขี่ องครูท่ปี รกึ ษา

บทบาทของประธานหรือผ้นู ำ�การประชุมท่ีดี

เปิดประชุม สร้างบรรยากาศความเป็นกันเองด้วยการพูดทักทายพร้อมอากัปกริยา
ท่ีแสดงความเป็นมิตร เช่น ยิ้ม ท่าทีกระฉับกระเฉง ไม่ควรแสดงกริยาเบ่ือหน่าย ซึมเศร้า หรือ
เครง่ เครียดเม่อื กลา่ วเปดิ การประชุม
นำ� เรื่องเข้าสวู่ าระการประชมุ โดยแจ้งวัตถปุ ระสงคแ์ ละข้อมลู รายละเอียดของการประชมุ
ครั้งน้ันให้ทราบ เพื่อให้ทุกคนทราบถึงเหตุผลท่ีต้องเข้าประชุมในคร้ังน้ี และความมุ่งหวังของความ
ส�ำเร็จในการประชมุ ครัง้ น้ีตัง้ แต่ตน้
กระตุ้นให้ทุกคนอภิปรายแสดงความคิดเห็น เพราะจุดประสงค์หลักของการประชุม
คอื การแสวงหาเหตผุ ล ขอ้ เท็จจรงิ และความคดิ เห็นจากมวลสมาชกิ ใหม้ ากทสี่ ุด เพื่อจะนำ� ข้อมูลเหลา่
นั้นมาใช้ในการตัดสินใจในแนวทางท่ีถูกต้องท่ีสุด ผู้น�ำการประชุมจะต้องพยายามดึงความคิดของ
สมาชิกด้วยการใช้ค�ำถามที่ตรงประเด็น เช่น ค�ำพูดกระตุ้นให้สมาชิกเกิดความรู้สึกว่า สิ่งท่ีเขาจะพูด
ออกมานั้นเป็นส่ิงที่จะมีค่าต่อที่ประชุม เน้นให้สมาชิกเห็นความส�ำคัญของการให้ความร่วมมือในการ
แสดงความคิดเห็น
วางตัวเป็นกลาง ผู้น�ำในการประชุมที่หน้าท่ีในการดึงความคิดของสมาชิกออกมาให้ได้
มากท่สี ดุ ไม่ควรท่จี ะแสดงความคิดเหน็ ส่วนตัวออกมา นอกจากจะเป็นผู้คอยจบั ประเดน็ ชแ้ี จงข้อเทจ็ จริง
ช้ีแนวทางที่จะให้สมาชิกสามารถด�ำเนินการอภิปรายได้อย่างต่อเน่ือง และสรุปการอภิปรายในแต่ละ
ขั้นตอน ถ้าประธานขาดความเป็นกลางจะเป็นการสกัดก้ันความคิดเห็นของสมาชิก ซ่ึงอาจจะเกิดขึ้น
เพราะความเกรงใจ ความเกรงกลัวว่าผลประโยชน์หรือเสถียรภาพในต�ำแหน่งหน้าที่การงานของตน
จะส่นั คลอน
มีความยุติธรรม มองเห็นความส�ำคัญของการเสนอความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน
ไม่สนับสนุนพวกใดพวกหนึ่ง โดยเฉพาะยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผลของสมาชิกทุกคน
ท่ีแสดงออกมา และชักน�ำให้สมาชิกทุกคนให้ความสนใจต่อความคิดเห็นทุกข้อที่ได้ถูกเสนอขึ้น
ใหท้ กุ คนมโี อกาสพูด

76 คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรียน

ควบคมุ การประชมุ ให้อยู่ในประเดน็ เปน็ ไปตามวาระ ในขณะทด่ี �ำเนนิ การประชมุ อาจจะ
มสี มาชิกบางคนท่ีอภปิ รายออกนอกเรอ่ื ง หรอื พยายามทจ่ี ะหน่วงเหนีย่ วการประชุมใหล้ า่ ชา้ ประธาน
จะต้องมีไหวพริบท่ีจะน�ำเรื่องให้เข้าสู่ประเด็นได้ดังเดิม และพยายามให้มีการตัดสินใจในแต่ละเรื่อง
แต่ละวาระให้เสร็จสิ้นก่อนท่ีจะน�ำวาระต่อไปมาพิจารณา นอกจากนี้ตัวประธานเองอย่าผูกขาด
การพดู คนเดยี ว และอยา่ พดู นอกประเดน็ พึงระลกึ ว่าความคดิ ของกลมุ่ ได้มาจากสมาชกิ เทา่ นน้ั
สามารถควบคุมความประพฤติของสมาชิกในขณะประชุม ในการประชุมแต่ละครั้ง
อาจมีสมาชิกท่ีละเมิดมารยาทที่ดีในการประชุม ประธานจะต้องจัดการกับพฤติกรรมเหล่านั้นของ
สมาชิกให้ได้ เพื่อการรักษากฎเกณฑ์และระเบียบของการประชุมให้การประชุมด�ำเนินไปด้วยดี
เพราะในการประชุม ประธานมีอ�ำนาจดังน้ี
- อำ� นาจที่จะรักษาระเบยี บการประชุมไว้
- อ�ำนาจในการอนญุ าตให้มีการตัดสนิ ใจหรือลงมติ
- อำ� นาจทจ่ี ะโหวตเสียงในกรณีทีม่ เี สียงเท่ากัน จึงใชเ้ สียงของประธานเปน็ เสยี งที่ชข้ี าด
แต่โดยปกติถ้าเป็นการออกเสียงเปิดเผยประธานจะไม่ร่วมลงคะแนน เว้นแต่เป็นการลงคะแนนชี้ขาด
ในกรณีที่คะแนนเสียงเทา่ กัน
- อ�ำนาจที่จะสงั่ ใหผ้ ู้ทล่ี ะเมดิ ระเบยี บของท่ีประชุมออกจากหอ้ งประชุมได้
- อำ� นาจทจ่ี ะส่งั ปดิ ประชุมได้
โดยท่ัวๆ ไป ประธานควรจะหลีกเล่ียงการโต้เถียง ทะเลาะวิวาทกับสมาชิกในที่ประชุม
แต่จะต้องท�ำให้ที่ประชุมเคารพและศรัทธาประธานให้ได้ พยายามใช้วิธีประนีประนอม หากมีการ
โตแ้ ยง้ เกดิ ขึน้
ให้ความสนใจต่อการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก ไม่ควรที่จะละความสนใจไปท�ำงานอ่ืน
ในขณะประชุมถ้าไม่มีงานเร่งด่วนจริงๆ แล้วไม่ควรที่จะให้มีการน�ำงานอ่ืนมารบกวน การด�ำเนินงาน
ของประธาน เช่น การน�ำหนงั สือมาใหเ้ ซ็น การรับโทรศพั ท์ หรือเดินไปเดนิ มา เป็นตน้
พยายามสร้างบรรยากาศในท่ีประชุม ถ้าสมาชิกเคร่งเครียดตามหัวข้อท่ีก�ำลังอภิปราย
อาจจะให้มีการให้หยุดการอภิปรายบ้างเป็นบางช่วง หรือพยายามสร้างอารมณ์ขันให้ทุกคน
ระดมความคดิ อยา่ งจริงจงั แต่ก็สนกุ สนาน
สรปุ ประเดน็ การประชมุ เป็นระยะๆ เม่อื มีการอภปิ รายพอสมควรแล้ว ประธานควรจะสรุป
เร่ืองท่ีอภิปรายให้ชัดเจน เพ่ือให้สมาชิกติดตามการประชุมได้ทันและทราบความก้าวหน้า
ของการประชมุ เป็นระยะๆ และเมอื่ พจิ ารณาหมดทกุ วาระกค็ วรจะสรุปรวมทั้งหมดอีกครง้ั หนึง่
รู้จักแก้ปัญหาภาวะชะงักงันในที่ประชุม เมื่อที่ประชุมเกิดความเงียบเนื่องจากการ
ปอ้ นค�ำถามของประธาน ในตอนแรกประธานควรปลอ่ ยให้เงียบสัก 2-3 นาที เพราะทุกคนกำ� ลงั ใชค้ วามคิด
แต่ถ้าความเงียบยังด�ำเนินอยู่ต่อไปเป็นช่วงเวลานาน ประธานควรจัดการโดยทบทวนเร่ืองราวใหม่ส้ันๆ
แล้วตั้งค�ำถามซ้�ำใหม่ หรืออาจจะชี้ให้คนหนึ่งคนใดตอบก็ได้ มิฉะนั้นที่ประชุมจะเกิดความเครียด
เพราะความเงยี บทย่ี าวนานจะทำ� ใหเ้ กดิ ความสับสน กังวล

คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 77

พยายามรักษาระเบียบของที่ประชุมไว้ ให้มีการพูดทีละคน และขออนุญาตประธาน
ก่อนพูดทุกครั้ง อย่าปล่อยให้มีการพูดเป็นกลุ่มย่อย เพราะจะเป็นมูลเหตุแห่งความขัดแย้ง
ขาดระเบยี บวินัย
รักษาเวลาในการประชุม ประธานจะต้องวางแผนเก่ียวกับระยะเวลาของการพิจารณา
แต่ละวาระก่อนท่ีจะเปิดประชุม โดยพยายามจัดเวลาในการพิจารณาแต่ละวาระให้เหมาะสมกับเวลา
ทั้งหมด โดยท่ัวไปในวาระแรกๆ มักจะให้มีการอภิปรายกันอย่างยืดเยื้อพอถึงวาระหลังๆ ก็เร่งรีบ
เพื่อท่ีจะให้จบตามเวลา ซึ่งเป็นการเปล่าประโยชน์เป็นอย่างย่ิง ในฐานะผู้น�ำการประชุมจ�ำเป็น
ทีจ่ ะตอ้ งรกั ษาเวลาให้ได้
ปดิ ประชุมดว้ ยดี การปิดประชุมเปน็ ระยะทสี่ ำ� คญั ของการประชุมที่สดุ ประธานจะตอ้ งสรปุ
รวมสิ่งท่ีได้รับจากการประชุมครั้งน้ีทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นข้อตกลง การตัดสินใจ หรือมติของที่ประชุม
เพ่ือให้ทุกคนได้เห็นผลของการประชุมคร้ังนี้ และเป็นการเน้นความเข้าใจของทุกคน ในกรณีที่มี
ความขดั แยง้ ที่ตกลงกนั ไม่ได้ จะตอ้ งแยกแยะใหเ้ ห็นชดั วา่ มีขอ้ คดิ เห็นทแี่ ตกตา่ งกนั อย่างไร และจะต้อง
เล่ือนการพิจารณาไปยังการประชุมครั้งต่อไป ต่อจากน้ันก็ควรจะย้�ำให้ทุกคนได้เห็นประโยชน์
จากการประชุมครง้ั น้ี ขอบคณุ ในความร่วมมือของสมาชิกทีใ่ หค้ วามรว่ มมอื ด้วยดี แลว้ กล่าวปดิ ประชมุ
ติดตามผลการประชุม ส่ิงท่ีมักจะลืมกันก็ คือ เรื่องการติดตามผลโดยทั่วไปแล้ว
เมื่อการด�ำเนินการประชุมเสร็จ ประธานก็มักจะคิดว่าเสร็จสิ้นหน้าที่ในการประธานในท่ีประชุม
แต่การประชุมจะไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยถ้าประชุมแล้วส่ิงท่ีพูดกันไมได้น�ำไปปฏิบัติ หน้าท่ีของ
ประธานที่ส�ำคญั ประการสดุ ท้ายก็ คอื จะต้องส่งรายงานการประชมุ ไปใหผ้ ู้ทเี่ กย่ี วขอ้ งทกุ คน แลว้ คอย
ตดิ ตามผลการปฏิบัติ ถ้าการประชุมครง้ั นนั้ เป็นการประชุมท่มี ขี ้อตกลง ใหม้ ีผู้ปฏิบตั ติ อ่ ไป

คุณสมบัติของประธานในการประชุม

1. มีบุคลิกภาพดี บุคลิกภาพเป็นส่ิงท่ีผู้เข้าร่วมประชุมจะใช้เป็นตัวประเมินความสามารถ
ของการเป็นผู้น�ำการประชุมอันดับแรก เม่ือประธานย่างเท้าเข้ามาในท่ีประชุม บุคลิกทีดีจะท�ำให้
ทป่ี ระชุมเคารพ ศรัทธาตวั เขา บคุ ลกิ ท่ดี ีมลี ักษณะดงั นี้ คือ
1.1 มีทา่ ทางองอาจ น่าเล่ือมใส
1.2 แตง่ กายสะอาด สภุ าพ
1.3 มีความกระตือรือร้น สดชนื่ แจม่ ใส
1.4 มีก�ำลังใจ มน่ั คง และมีความเชอื่ มนั่ ในตัวเอง
2. เป็นผู้ท่ีควบคุมอารมณ์ได้ อดทน ในการประชุมย่อมมีพฤติกรรมนานาประการ
ของสมาชิกท่ีเป็นอุปสรรคต่อการด�ำเนินการประชุม ประธานจะต้องใช้ความอดทน ใจเย็น
รูจ้ กั ประนีประนอมชีแ้ จงเหตุผลขจดั ข้อขัดแยง้ ตา่ งๆ และสามารถดงึ ความคดิ ของผเู้ ขา้ ประชุมออกมาได้

78 คมู่ ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน

3. เป็นผู้มีความรู้ในเรื่องท่ีประชุมอย่างแจ่มแจ้ง สามารถตอบค�ำถามของสมาชิกได้ชัดเจน
รวดเร็วรจู้ ักใช้เทคนคิ ตา่ งๆ ทีจ่ ะท�ำให้การประชุมไปสู่ความส�ำเรจ็
4. รู้ระเบียบวินัย และมารยาทของการประชุมเป็นอย่างดีสามารถน�ำระเบียบต่างๆ มาใช้
ในการประชมุ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
5. มีค�ำพูดทชี่ ัดเจน เขา้ ใจงา่ ย ไม่วกวน สบั สน สามารถวเิ คราะหก์ ารอภิปรายของสมาชกิ ได้
ถูกตอ้ ง และสรปุ ไดก้ ระชับตรงประเดน็
6. มีความสามารถในการต้ังค�ำถามท่ีเหมาะสม และเป็นค�ำถามท่ีจะให้ท่ีประชุมแสดง
ความคดิ เห็นกนั อย่างกว้างขวาง
7. รู้จักฟังอย่างสนใจ การฟังอย่างตั้งใจท�ำให้สมาชิกมีก�ำลังใจที่จะเสนอความคิดเห็น
ประธานตอ้ งตงั้ ใจฟัง ฟงั ให้ตลอด และสรุปความจากท่ีไดฟ้ งั ไดถ้ ูกตอ้ ง
8. ต้องเป็นผู้ตรงต่อเวลา และรักษาเวลาได้ดี การไม่ตรงต่อเวลาของประธานจะท�ำให้
สมาชิกเส่ือมศรัทธาและเป็นตัวอย่างท่ีไม่ดีแก่สมาชิก ความสามารถในการรักษาเวลาในการประชุม
เช่น เปิด - ปิด การประชุมตรงเวลาโดยได้สาระของการประชุมทั้งหมด เป็นความสามารถ
ในการนำ� ประชมุ ที่ดขี องประธานการประชมุ

ส่งิ ทปี่ ระธานไม่ควรท�ำ ในการประชุม

บ่อยครั้งที่การประชุมให้ความรู้สึกที่ไม่พึงพอใจแก่สมาชิกผู้เข้าประชุม เพราะตัวของ
ประธานเองมพี ฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ปัญหาโดยทั่วๆ ไปผู้ทดี่ �ำรงต�ำแหน่งประธานการประชมุ มกั จะมตี ำ� แหน่ง
ที่สูงกว่าบุคคลอื่น การทักท้วงต่อพฤติกรรมนั้นจึงยากท่ีจะเกิดขึ้นได้ ดังน้ัน ผู้ท่ีเป็นประธาน
การประชุมควรจะเป็นผู้ท่ีตระหนักในบทบาทท่ีดีของตน และละเว้นจากสิ่งท่ีไม่ควรท�ำในการประชุม
ดังน้ี คอื
1. เผดจ็ การหรอื ครอบงำ� ความคดิ ของผอู้ ืน่
2. ตดั สนิ ใจตอ่ ความคิดเห็นของสมาชกิ ด้วยตนเองไมใ่ ช่ดว้ ยความคดิ ของกลมุ่
3. รวบรัดเร่ืองเร็วเกินไป โดยผู้เข้าร่วมประชุมยังไม่มีการสรุปความคิดเห็นของกลุ่ม
แสดงความคดิ เหน็ สว่ นตวั ต่อเรอ่ื งก�ำลังประชุมอยู่
4. ต�ำหนสิ มาชิกผูเ้ ขา้ ประชุมโดยไมม่ เี หตุผลสมควร
5. แสดงอาการดถู ูก เยาะเยย้ สมาชิกผเู้ ข้าร่วมประชมุ
6. อารมณเ์ สีย โตเ้ ถยี งกับทีป่ ระชมุ
7. ปิดโอกาสการซักถามของสมาชกิ และหลีกเลีย่ งท่จี ะให้ขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ งๆ
8. ผกู ขาดการพดู คนเดยี ว สมาชกิ ไม่มโี อกาสแสดงความคิดเห็น
9. ท�ำงานอื่นในขณะทกี่ ำ� ลงั ด�ำเนินการประชมุ

ค่มู ือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 79

10. ไม่รักษาเวลาในการประชมุ
11. ปล่อยใหส้ มาชิกอภปิ รายโดยไม่มีขอบเขต กนิ เวลานานเกินไป
12. ไม่ควรอ่านรายงานกล่าวเปิด – ปิด ที่เตรียมไว้ท้ังหมดควรอ่านเฉพาะข้อความส�ำคัญ
นอกนั้นจงกล่าวดว้ ยคำ� พูดของประธานเอง

สิง่ ทจ่ี ะทำ�ให้การประชุมประสบความสำ�เรจ็ ในฐานะประธานหรือผู้น�ำ การประชุม

1. เริ่มและเลิกให้ตรงเวลา ผู้น�ำประชุมต้องตรงต่อเวลาและท�ำตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดี
แกผ่ ู้เข้าประชมุ คนอ่ืนๆ
2. รู้ว่าจะต้องพูดถึงเรื่องอะไร ไม่พูดจาพร�่ำเพรื่อเร่ือยไป หรือไม่เกี่ยวข้องกับเร่ือง
ท่ีจะประชมุ
3. จดั เตรียมเน้อื หาสาระไวพ้ ร้อม โดยการจัดเตรียมขอ้ ความสั้นๆ เพอื่ มใิ ห้หลงลืมหรือข้ามไป
4. พดู ให้ผู้เขา้ ประชมุ เข้าใจดว้ ยถอยค�ำทท่ี ุกคนเขา้ ใจ ค�ำนึงถึงผเู้ ขา้ ประชมุ ตลอดเวลา และ
เลือกใชถ้ ้อยคำ� ให้เหมาะสม งา่ ยตอ่ ความเข้าใจ
5. เสนอเรื่องให้เข้าใจได้ง่าย ตรงประเด็น เพ่ือง่ายต่อผู้ฟังที่จะแสดงความคิดเห็น
และเพอ่ื ความชัดเจน
6. พูดอย่างชัดเจน มีความเช่ือม่ันและอย่างกระตือรือร้น ไม่พูดจาอ้อมแอ้มเหมือนจะ
ไม่แนใ่ จ ไมม่ ่ันใจ ว่าจะเป็นอยา่ งไร
7. ใช้อุปกรณ์ช่วยตามความเหมาะสมจ�ำเป็น เช่น เครื่องฉายแผ่นใส ในกรณีท่ีต้องการให้
ผเู้ ข้าประชมุ เข้าใจชดั อาจจะต้องวาดภาพประกอบ การเขียนแผนที่ หรือการสรปุ ประเด็น เป็นตน้
8. ฟังความเห็นของผู้ร่วมประชุม และส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมประชุม ได้ออกความคิดเห็น
อยา่ งกวา้ งขวาง เพอื่ ให้ได้รบั ความคดิ เหน็ หลากหลาย และจะได้แนวทางเลอื กในการตัดสินใจมากขึ้น
9. หากการประชุมใช้เวลานานกว่าช่ัวโมง ควรจัดให้มีเวลาพัก ถ้ามีเคร่ืองดื่มน�้ำชากาแฟ
ก็พกั ดม่ื น�ำ้ ชากาแฟ หรือพักรบั ประทานน�ำ้ เยน็ หรอื แม้แต่จะเปน็ การพักเพื่อผ่อนคลายความตึงเครยี ด
10. สรุปเรื่องให้มีผลคืบหน้าและเป็นท่ีแน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจเร่ืองที่มีการตกลงกันเป็นมติ
ในทีป่ ระชมุ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อการด�ำเนินการในขัน้ ตอนต่อไป
11. อย่าครอบง�ำความคิดของผู้เข้าร่วมประชุม ปล่อยให้มีความเห็นกันอย่างอิสระและ
หาขอ้ ตกลงกนั อยา่ งสร้างสรรค์
12. อย่าปล่อยให้มีการพูดออกความเห็นข้ามเร่ือง หรือระเบียบวาระการประชุม พยายาม
จะดึงความเหน็ ของผอู้ ภิปรายเข้าสู่ประเด็น หรือใหอ้ ยวู่ าระการประชมุ
13. อยา่ เสยี ใจเม่ือมผี ไู้ ม่เหน็ ดว้ ยกบั ตน ยอมรบั ความคิดทแ่ี ตกต่างจากตนดว้ ยความรูส้ กึ ทด่ี ี

80 คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น

14. อย่าแสร้งท�ำเป็นขบขัน เมื่อไม่ขันจริง เพราะจะท�ำให้ผู้เข้าประชุม เกิดความสับสน
อาจจะถูกมองว่าขาดความจริงใจ
15. อย่าแสดงอาการขันต่อผู้ใด ควรจะต้องเก็บความรู้สึกไว้ การแสดงอาการขันอาจจะ
ถกู มองว่าเปน็ การดูหมิน่ ดูแคลน
16. อย่าปล่อยให้มีการโต้เถียงทะเลาะกัน ควรให้ผู้เข้าประชุมอภิปรายกันในแง่เหตุและผล
การทะเลาะกนั ถงึ แม้จะเปน็ เรอ่ื งเล็กๆ น้อยๆ อาจติดพันเปน็ เร่อื งใหญ่ในภายหลงั ได้

ข้อบกพร่องของประธานหรือผนู้ �ำ การประชุมทีม่ กั เกิดข้ึนในการประชุม

1. ไม่รกั ษาเวลา มาสาย ท�ำใหท้ ่ปี ระชุมตอ้ งเสยี เวลารอประธานท่ปี ระชุม บางคนมีความคิดวา่
ประธาน ไม่ควรจะมาก่อนผู้เข้าประชุมคนอื่น กลัวจะเป็นการเสียเกียรติ จึงมักจะเข้าประชุมช้ากว่า
ผู้เข้าประชมุ โดยทว่ั ไปเปน็ ปกติ
2. ขาดคุณสมบัติในการเป็นผู้ด�ำเนินการประชุมท่ีสามารถและเตรียมการน�ำประชุม มาหา
ข้อเท็จจริงเป็นข้อมูลจากท่ีประชุม มีข้อบกพร่องในคุณสมบัติการเป็นประธานหลายประการ เช่น
ไม่ด�ำเนินการประชุมตามระเบียบวาระประชุม ด�ำเนินการประชุมวกไปวนมา สรุปประเด็นไม่เป็น
ควบคมุ ผู้เข้าประชมุ ไม่ได้ เปน็ ตน้
3. ไม่จัดท�ำเอกสารให้ผู้ร่วมประชุมศึกษาล่วงหน้า ท�ำให้ผู้เข้าประชุมไม่เตรียมตัวเพ่ือการ
เข้าประชุมได้ศึกษาเอกสารเม่ือมาถึงท่ีประชุมแล้ว ท�ำให้เสียเวลาส�ำหรับการท�ำความเข้าใจประเด็น
ปัญหาต่างๆ
4. เป็นเผด็จการ ถือตัวเองเป็นหลัก เกรี้ยวกราดเม่ือผู้เข้าประชุมแสดงความคิดเห็นไม่ตรง
กับตนเอง ไมถ่ ูกใจตนเอง ท�ำใหผ้ เู้ ขา้ ประชุมเกดิ ความอดิ หนาระอาใจ ไมอ่ ยากแสดงความคดิ เหน็ อะไร
5. มีอคติ ล�ำเอียงไม่วางตัวเป็นกลาง มีแนวโน้มที่จะตัดสินใจอย่างใดอย่างหน่ึงอยู่แล้ว
การอภิปรายหรือการพูดจาให้เหตุผล จึงไม่มีความเป็นกลางเท่าที่ควร ปล่อยให้มีการแสดงความเห็น
ผูกขาดอยู่เพียงกลุม่ เดียว
6. ถือทิฐิและใช้อารมณ์มากเกินไป แสดงอารมณ์โกรธเคือง คับแค้นใจหรือไม่พอใจ
ผเู้ ข้าร่วมประชมุ เน่ืองจากมเี บอื้ งหลังบางประการ
7. ไม่ศึกษาข้อมูลและเน้ือหาท่ีน�ำเข้าประชุม แม้ผู้จัดการประชุมจะแจกเอกสารล่วงหน้า
เพ่ือใหศ้ ึกษาก่อน ประธานกไ็ มอ่ า่ นและศึกษามาล่วงหนา้ ท�ำให้จับต้นชนปลายไม่ถูก ไม่เขา้ ใจเรื่องราว
ต่างๆ ทจี่ ะมกี ารประชุมกนั
8. ขาดสมรรถภาพในการฟัง หรือน่ังหลับ ท�ำให้ท่ีประชุมต้องเสียเวลาอภิปรายซ�้ำ เพื่อให้
ประธานเกดิ ความเข้าใจ

ค่มู อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 81

9. มคี วามรู้สึกวา่ ตนมีความรูน้ ้อยกว่าคนอนื่ ๆ จึงมกั จะแสดงอาการโอ้อวด หรือในทางตรง
กนั ข้ามก็อาจจะถ่อมตนจนดูไม่มีความสามารถอะไรเลย
10. ผูกขาดการพูดหรอื พดู มากเกินไป แทบจะไมย่ อมให้คนอนื่ ไดอ้ ภิปรายอะไรเลย หรอื
บางทีขณะผู้เข้าประชุมอภิปรายประธานก็อภิปรายเพ่ิมเติมมากมายจนกลายเป็นการผูกขาดการ
อภปิ รายไป
11. ไม่แจ้งวาระการประชุมให้ผู้ร่วมประชุมทราบล่วงหน้า ผู้เข้าประชุมเดินทางเข้ามาร่วม
ประชมุ ดว้ ยความมึนงงวา่ จะมีการประชุมในเรอ่ื งอะไรกันบา้ ง
12. จดั ระเบียบวาระการประชุมไมน่ ่าสนใจ เรือ่ งท่ีควรจะมกี ารกำ� หนดอยใู่ นวาระตน้ ๆ โดย
เฉพาะอย่างยิ่งท่ีเป็นเรื่องส�ำคัญกลับไปอยู่ในวาระท้าย ซึ่งท่ีประชุมอ่อนล้าไปแล้ว ไม่พร้อมที่จะ
อภปิ ราย
13. ไม่เตรียมข้อมูลเข้าประชุม ท�ำให้ต้องเสียเวลาในการท�ำความเข้าใจ หรือการวินิจฉัย
กรณีต่างๆ อาจจะมผี ลท�ำให้การสรุปประเดน็ ต่างๆ ผิดพลาด ท�ำใหเ้ กิดความเสียหายในภายหลงั
14. ขาดลักษณะความเป็นผู้น�ำ ขาดเหตุผลและการตัดสินใจที่ดี ไม่สามารถแยกแยะว่า
อะไรคือเหตุผลที่แท้จรงิ อะไรมใิ ช่เหตผุ ลที่แทจ้ รงิ และวนิ จิ ฉยั ตัดสินใจในขนั้ ตอนตอ่ ไปไดถ้ กู ต้อง
15. คมุ เกมไม่อยู่ ไม่เขา้ ใจวิธกี ารควบคุมการประชุมให้มีประสิทธิภาพ เมอ่ื มีการถกเถยี งกัน
ระหว่างผู้เข้าประชุม ไม่สามารถจะควบคุมคู่กรณีให้ยุติการถกเถียงกันได้ ไม่สามารถจะสรุปประเด็น
ของท้งั สองฝา่ ย เพ่อื หาข้อยตุ ิได้
16. เรียกประชุมมากหรือบ่อยเกินไป ทั้งท่ีในบางกรณีไม่ควรจะมีการประชุม หรือยังไม่
จำ� เป็นท่จี ะต้องรีบประชุม ควรจะรวมไวป้ ระชุมในคราวเดยี ว แต่ประธานกลบั เรยี กประชุมตลอดเวลา
17. ครอบง�ำความคิดของผู้ร่วมประชุม ใช้อ�ำนาจของความเป็นประธาน ช้ีน�ำความคิดเห็น
เพื่อใหม้ ติออกมาอย่างท่ีตนเองต้องการ
18. ขาดการเร่งเร้าให้ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นเมื่อที่ประชุมไม่มีผู้ใดอภิปราย
ไมก่ ระตนุ้ ใหผ้ ู้เข้าประชมุ ได้แสดงความคิดเหน็ รวบรดั สรุปความเหน็ อยา่ งรวดเร็ว
19. ไม่ก�ำหนดเวลาให้ผู้เข้าร่วมประชุมพูด ท�ำให้ผู้ที่ชอบอภิปราย แสดงความคิดเห็น
ของตนเองตลอดเวลาและใช้เวลาของท่ีประชุมมาก และผู้ที่ไม่อยากจะแสดงความคิดเห็นอยู่แล้ว
ยงิ่ ไม่ยอมแสดงความคดิ เหน็ อะไรออกมาเลย
20. ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นโดยอิสรเสรีหรืออภิปรายจนสุดสิ้น
กระแสความคิด
21. มักจะเกรงใจและตัดสินใจไม่เด็ดขาด พะวักพะวงกังวลใจกับบุคคลอื่น จนไม่กล้า
จะตัดสนิ ใจอะไรออกมา ท�ำใหผ้ ู้เข้ารว่ มประชมุ ขาดความเช่ือถอื
22. ขาดประสบการณ์ในการประชุม ไม่มีประสบการณ์ในการด�ำเนินการประชุม ตั้งแต่
การกลา่ วนำ� การประชมุ การเปิดอภิปราย การสรุปความคิดเห็น การขอมติ เป็นตน้
82 คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรยี น

23. เอาแต่ความคดิ เหน็ ของตนเป็นที่ตงั้ เสนอความคิดเห็นของตนเอง ไมใ่ ห้คนที่มคี วามคดิ
เห็นต่างจากตนไดแ้ สดงความคิดเหน็
24. ไม่สามารถจับประเด็นและสรุปความเห็นของที่ประชุม จับประเด็นของผู้อภิปรายผิด
พลาด และสรปุ ความคิดเห็นโดยรวมผดิ เพย้ี นจากขอ้ เทจ็ จริง ท�ำใหผ้ ้เู ข้าประชมุ เกดิ ความไม่พอใจ
25. สรุปเรื่องช้าไป ไม่สามารถสรุปผลเพื่อให้การประชุมคืบหน้าต่อไป แม้ว่าจะสมควรยุติ
การประชุม แตป่ ระธานยังด�ำเนินการต่อไป ทั้งทไี่ มม่ ปี ระเด็นอะไรเพ่มิ เตมิ หรือเปน็ การปรกึ ษาหารอื
ในรายละเอียดปลีกย่อยท�ำให้ผูเ้ ข้าประชมุ คนอนื่ ๆ ที่ไมเ่ กยี่ วข้องตอ้ งเสียเวลา
26. ใช้เวลาในการถกปัญหาบางเร่ืองมากเกินไป ปล่อยให้ผู้เข้าประชุมอภิปราย
ในบางประเด็นมากเกนิ วนเวียนอยใู่ นประเด็นเก่าๆ ซำ�้ ซาก
27. สรุปผลไม่ตรงตามที่ผู้ร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น เม่ือใกล้เสร็จสิ้นการประชุม
ประธานสรุปผลการประชุมไม่ตรงกับที่ได้มีการอภิปรายกันมา บางกรณีก็สรุปตามความต้องการของ
ตนเองที่ได้เตรียมมาลว่ งหน้าแล้ว
28. ปิดประชุมช้าเกินไป ท�ำให้ผู้ร่วมประชุมเบ่ือหน่ายใช้ระยะเวลาในการประชุมยาวนาน
เกนิ ไป ผู้เขา้ ประชมุ ต่างก็ล้าแล้วกย็ ังไมย่ อมเลิกประชุม

บทบาทหน้าทีข่ องเลขานกุ ารในการประชุม

เป็นต�ำแหน่งท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง เพราะมีบทบาทและหน้าท่ีท้ังระยะ ก่อน ขณะ และ
หลงั การประชมุ ดังน้ี
1. เตรียมการประชุม ก่อนการประชุมไม่ว่าจะมีจ�ำนวนสมาชิกมากหรือน้อยก็ตาม
เลขานกุ ารจะตอ้ งเตรียมการประชมุ เพ่อื ให้เกดิ ความพรอ้ มเก่ยี วกับเร่ืองต่างๆ ท่จี ะประชุม คือ
- การจัดระเบียบวาระการประชุม เลขานุการจะต้องปรึกษากับประธานว่าจะมีเร่ือง
อะไรบ้างในการประชุม ซึ่งต้องรู้รายละเอียด เม่ือกรรมการซักถามก็พร้อมที่จะอธิบายได้
การจัดวาระใดก่อนหลังจะต้องพิจารณาถึงความส�ำคัญเร่งด่วนอันดับแรก และต่อไปจึงเป็นเรื่องรอง
ลงมา ปกตคิ วรจัดระเบียบวาระการประชุมพรอ้ มจดหมายเชญิ ประชุมส่งให้กรรมการล่วงหน้า อยา่ งน้อย
7 วนั เพื่อให้กรรมการและสมาชกิ ได้มเี วลาเตรยี มตวั
- ก�ำหนดสถานท่ีและจัดเตรียมอุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็น จะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสม
กับจ�ำนวนสมาชิก และส่งเสริมบรรยากาศของการประชุมให้เป็นที่พึงพอใจ อุปกรณ์การประชุมควร
เอื้อตอ่ ประสทิ ธภิ าพของการประชุม เช่น ไวทบ์ อร์ดพรอ้ มปากกา ไมโครโฟน เป็นตน้
- การก�ำหนดวันและเวลา เลขานุการควรสอบถามวันเวลาว่างของทุกคน เพ่ือให้ได้
สมาชิกทจ่ี ะเข้าประชุมใหม้ ากที่สุดแลว้ จึงกำ� หนดวนั และเวลาการประชุมใหเ้ หมาะสม

คู่มอื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 83

- ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระและรายงานการประชุมครั้งก่อน เพื่อให้
สมาชิกได้อ่านและรับรองรายงานการประชุม นอกจากนี้ยังต้องเตรียมเคร่ืองดื่มส�ำหรับผู้เข้าประชุม
ตามความเหมาะสม
- สอบถามจ�ำนวนสมาชิกที่จะสามารถเข้าร่วมประชุมได้ เพื่อเตรียมความพร้อม
ใหก้ ารประชุมสามารถดำ� เนนิ การไปไดบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมาย
2. ขณะด�ำเนินการประชุม เลขานุการมีบทบาทหนา้ ทดี่ ังนี้
- ให้ผ้เู ขา้ ประชุมเซ็นต์ชอื่
- ชี้แจงประเดน็ หรือรายละเอียดตามทป่ี ระธานมอบหมาย
- เสนอขอ้ มลู เพ่มิ เติมตามที่ประชุมต้องการทราบ
- จดบันทึกรายงานการประชุมเป็นข้อความตามความเห็นของผู้เข้าประชุม เพ่ือเป็น
หลักฐานในการดำ� เนนิ งานของหน่วยงานนัน้ ๆ
3. ภายหลังการประชมุ เลขานกุ ารต้องจัดทำ� รายงานการประชุมแลว้ สง่ ใหแ้ ก่สมาชิกทุกคน
ได้รับทราบ

บทบาทหนา้ ท่ีขององค์ประชุม

บัญญัติ 25 ประการ การเปน็ ผเู้ ข้าร่วมประชมุ ที่ดี
ความส�ำเร็จการประชุมอยู่ท่ีผู้เข้าร่วมการประชุมด้วย ดังน้ันสมาชิกที่เข้าร่วมการประชุม
ก่อนการเข้าร่วมประชุมทุกครั้งจะต้องเตรียมตัวโดยการศึกษาถึงวัตถุประสงค์ และวาระการประชุม
ที่ไดแ้ นบไปกบั หนังสอื เชิญ และกำ� หนดการประชุม พร้อมทง้ั ต้องจดั เตรียมรายละเอียดขอ้ มลู เพมิ่ เติม
หรอื คิดวเิ คราะห์ตามวาระตา่ งๆ เปน็ การล่วงหน้า
บัญญัติ 25 ประการ ส�ำหรับผู้เข้าร่วมประชุม สิ่งท่ีผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนต้องตระหนักไว้
ตลอดเวลาก็คือ กติกา และมารยาทในการประชมุ ซง่ึ มปี ระเดน็ ทส่ี ำ� คญั ๆ ดงั นี้
1. ศกึ ษาระเบียบและข้อบังคบั ของการประชุมให้เขา้ ใจชัดเจนก่อนทีจ่ ะเขา้ ประชมุ
2. ศึกษาระเบยี บ วาระ วตั ถปุ ระสงค์การประชมุ ตลอดจนเอกสารต่างๆ ทีเ่ ลขานุการส่งมาให้
เพื่อเตรยี มข้อมลู ขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ ทีเ่ ปน็ ประโยชนน์ �ำเสนอตอ่ ท่ปี ระชมุ
3. เข้าประชุมใหต้ รงเวลา ถา้ ไม่สามารถเขา้ ประชุมได้ตอ้ งแจง้ ใหเ้ ลขานกุ ารทราบล่วงหนา้
4. อา่ นรายงานการประชุมอย่างรอบคอบ และทกั ท้วงแก้ไขเมอ่ื เหน็ ว่าไม่ถูกตอ้ ง
5. ยกมือขออนุญาตประธานก่อนทุกคร้ัง เม่ือได้รับอนุญาตจึงพูด อย่างพูดสอดข้ึนมาหรือ
พูดกับสมาชกิ ด้วยกันเอง ไมค่ วรแย่งกนั พูดในขณะท่สี มาชกิ คนหนึ่งก�ำลังพูดอยู่
6. ถ้าต้องการเข้าหรืออกจากห้องประชุมระหว่างด�ำเนินการประชุมต้องท�ำความเคารพ
ประธานกอ่ น จึงค่อยเดินออกไป

84 คูม่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน

7. ต้ังใจฟังเร่ืองที่ประชุมอย่างสนใจ อย่าท�ำสิ่งอ่ืนในขณะประชุม เช่น เขียนหรืออ่าน
หนงั สือเปน็ ต้น
8. ถา้ มีข้อสงสยั ควรซกั ถามประธานใหเ้ ขา้ ใจ
9. อย่าเอาจริงเอาจังกับข้อโต้เถียงและความขัดแย้งจนเกินไป เพราะการประชุมเพื่อหา
ข้อตกลงรว่ มกนั มิใช่การเอาชนะกัน
10. รจู้ ักใชค้ วามคดิ และเหตุผลในการให้ข้อเสนอแนะและช้แี จงข้อเทจ็ จรงิ ต่างๆ
11. ตอ้ งมีความอดทน รู้จักระงบั อารมณ์ ถา้ สมาชิกบางคนไม่เหน็ ดว้ ยกับแนวคิดของตน
12. ใช้ค�ำพูดที่ดีในการประชมุ ไม่พดู เสียดสี หยาบคายหรอื แสดงอากปั กิรยิ าในทางกา้ วรา้ ว
ในท่ีประชุม
13. ให้เกียรติแก่สมาชิกผู้เข้าประชุมด้วยกัน โดยรู้จักฟังเหตุผลของคนอ่ืนและยอมรับ
ในเหตผุ ลท่ถี กู ตอ้ ง
14. ไม่พูดออกนอกประเด็น เมื่อให้ข้อเสนอแนะเรื่อใดต้องพยายามพูดให้ตรงจุด พูดไม่
สบั สนวกวน และให้ข้อมลู ท่ดี แี กท่ ปี่ ระชมุ
15. กลา้ แสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ไมค่ วรน่ังเฉยตลอดระยะเวลาการประชมุ อย่าลืมวา่
เหตุผลที่ไดร้ บั เชิญประชุมเพราะคาดว่าทา่ นจะได้ให้สิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์แก่ทป่ี ระชมุ ได้
16. ค�ำนงึ ถึงผลประโยชน์ส่วนรวมในการแสดงความคดิ เห็นและให้ขอ้ เสนอแนะ
17. ไม่ผูกขาดการพูดอยา่ งเดียว ต้องร้จู ักใชเ้ วลาในการพูดอยา่ งเหมาะสม อย่าพดู เยิ่นเยอ้
ยืดยาวเกินความจำ� เป็น
18. รจู้ กั ใช้ความคดิ เหน็ ในลกั ษณะไกล่เกลี่ย ประนปี ระนอม ถ้าท่ีประชมุ มบี รรยากาศของ
ความขัดแยง้ หนกั ขนึ้
19. สนับสนุนให้ก�ำลังในสมาชิกด้วยกัน ถ้าเห็นว่าความคิดเห็นของเขาสอดคล้องกับของตน
หรอื มีเหตผุ ลทีด่ ี
20. มีความเช่ือมัน่ ในตัวเองและกล้าตัดสนิ ใจในกรณีท่ีทปี ระชุมต้องการให้มกี ารลงมติ
21. ไม่ควรคล้อยตามคนอ่ืนอยูต่ ลอดเวลา
22. เคารพและรักษาระเบียบของท่ีประชุม แตง่ กายใหส้ ภุ าพเหมาะสม
23. ไมน่ �ำมตทิ ่เี ปน็ เรื่องลับของท่ีประชมุ ออกไปเปิดเผยให้บคุ คลภายนอกรเู้ ป็นอันขาด
24. เมื่อออกนอกห้องประชุมไม่ควรกล่าววิพากษ์วิจารณ์ข้อคิดเห็นที่ได้มีการลงมติ
เรยี บร้อยแล้วในห้องประชุมพรอ้ มท่ีจะรับมอบหมายงานซงึ่ ที่ประชมุ จะมอบให้ และพร้อมที่จะปฏบิ ตั ิ
ตามมตทิ ่ีประชมุ

คู่มือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 85



หน่วยท่ี 9 การพฒั นาทีมงาน

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมเขา้ ใจความหมาย เห็นความส�ำคัญของการพัฒนาทีมงาน
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบพ้ืนฐานและลักษณะทีมงาน
ท่ีดี
3. เพ่ือสร้างเสริมทัศนคติเชิงบวกให้แก่ผู้เข้ารับการอบรมได้ตระหนักถึงบทบาทของตนเอง
น�ำไปสู่การร่วมแรงรว่ มใจในการพัฒนาทีมงาน

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา

1. ความหมาย ความสำ� คัญและกระบวนการพัฒนาทีมงาน
2. องค์ประกอบพน้ื ฐานของการท�ำงานเปน็ ทีม
3. ลักษณะทมี งานทดี่ ี
4. ทศั นคตเิ ชงิ บวกกับการทำ� งานเปน็ ทีม

ขัน้ ตอนการดำ�เนินกจิ กรรม

1. เตรียมความพรอ้ มผู้เข้ารบั การอบรมโดยใชเ้ พลง เกมหรือกจิ กรรมท่เี หมาะสม
2. น�ำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยใชเ้ กมท่เี กย่ี วกบั การท�ำงานเป็นทมี
3. ให้ความรู้เร่ืองการท�ำงานเป็นทีม โดยการบรรยาย สนทนา ดูวีดิทัศน์ เอกสาร
สือ่ สงิ่ พิมพ์ ฯลฯ
4. อภปิ รายและสรปุ ผลการเรียนรู้

คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมสภานกั เรียน 87

วสั ดุอปุ กรณ/์ สื่อการเรียนรู้

1. ใบความรู้
1.1 เร่ืองความหมาย ความส�ำคัญและกระบวนการพัฒนาทีมงาน
1.2 เร่อื งองคป์ ระกอบพน้ื ฐานและลักษณะทมี งานท่ดี ี
1.3 เรื่องการสร้างเสริมทัศนคติเชิงบวกในการด�ำเนินบทบาทในฐานะที่เป็นส่วนหน่ึง
ของทีม
2. ส่อื วีดิทศั น์/เอกสารสื่อส่ิงพมิ พ์
3. กระดาษฟลปิ ชารท์ กระดาษ A4 กระดาษกาว ปากกาเคมี/สีเมจิก ไมบ้ รรทดั

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

ตวั ชีว้ ัดความส�ำเร็จ วธิ ีวดั เครอ่ื งมือวดั
1. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้ารับการ 1. สงั เกตพฤตกิ รรม 1 . แบบสังเกตพฤตกิ รรม
2. ตรวจผลงาน 2. แบบประเมนิ ผลงาน
อบรมเขา้ ใจความหมาย 3. ประเมนิ บทบาททีมงาน 3. แบบประเมินบทบาททมี งาน
เห็นความสำ� คัญของการพฒั นา 4. ส�ำรวจความพึงพอใจ 4. แบบสำ� รวจความพึงพอใจ
ทมี งาน 5. อน่ื ๆ 5. อืน่ ๆ
2. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารับการ
อบรมมีความรูค้ วามเข้าใจ
องคป์ ระกอบพ้นื ฐานและ
ลักษณะทมี งานทด่ี ี
3. ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับการ
อบรมเขา้ ใจบทบาทในการมี
สว่ นร่วมพฒั นาทมี งาน
4. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการ
อบรมมีความพงึ พอใจในการ
เข้ารว่ มกจิ กรรม


88 คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น

ใบความรู้

เรือ่ ง ความหมาย ความสำ�คญั และกระบวนการพฒั นาทมี งาน

ความหมายของทีมงาน

ทีมงาน หมายถึง กลุ่มของบุคคลที่ท�ำงานร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
ช่วยกันท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และผู้ร่วมทีมต่างมีความพึงพอใจในการ
ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกัน

ความสำ�คัญในการสร้างทมี งาน

การสร้างทีมงาน หมายถึง การปรับความสัมพันธ์ต่างๆ ในการท�ำงานให้ดีข้ึน ซ่ึงความ
สัมพันธ์เหล่านี้จะมีผลโดยตรงต่อการท�ำงานให้ส�ำเร็จตามเป้าหมาย ความส�ำคัญในการสร้างทีมงาน
มดี ังน้ี
1. มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือสรา้ งความไว้วางใจในหมู่สมาชิกของทีมงาน
2. คนเราจะท�ำงานรว่ มกันได้ดขี ึน้ เม่ือมีการเปิดเผยและจรงิ ใจตอ่ การกนั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เม่อื มีปญั หาหรอื อปุ สรรคทจี่ ะตอ้ งแกไ้ ขร่วมกนั
3. การท�ำงานเป็นทีมมีประสิทธิภาพมากข้ึนเมื่อสมาชิกได้ช่วยกันสร้างเสริมทักษะ
ความเชยี่ วชาญให้เพม่ิ พนู มากขนึ้ ซง่ึ เป็นการใช้ทรัพยากรบุคคลทมี่ อี ยใู่ นทมี งานอยา่ งเต็มท่ี
4. ประสิทธิภาพของการท�ำงานจะลดลง และความตึงเครียดจะเพ่ิมสูงขึ้นหากหลีกเลี่ยง
การป้อนข้อมูลย้อนกลับ และวิพากษ์วิจารณ์ซ่ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์ ดังนั้นการแสดงความคิดเห็น
ในลกั ษณะข้อมลู ย้อนกลับจึงเปน็ สิ่งจ�ำเป็นและเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ในการพัฒนาทีมงาน
5. สนบั สนุนการเรยี นรู้ ที่จะรับฟงั ความคิดเหน็ และขอ้ มลู ขา่ วสารของผ้อู ่นื อยา่ งตง้ั ใจ และ
ใหเ้ กยี รติซ่งึ กนั และกัน
6. เป็นการพฒั นาทักษะในการแก้ปัญหารว่ มกนั
7. เป็นการลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล เนื่องจากสมาชิกในทีมงานได้เรียนรู้ถึงทักษะ
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลมากขน้ึ มีความพร้อมทจ่ี ะปฏิบัติงานร่วมกันมากขน้ึ
8. ส่งเสริมความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรคข์ องสมาชกิ ในทีมงาน

คู่มือการจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น 89

กระบวนการพฒั นาทีมงาน

ส�ำรวจและวิเคราะห์สภาพของทมี งาน
ก่อนท่ีทีมงานจะเร่ิมปฏิบัติงาน จะต้องมีการสํารวจและวิเคราะหสภาพของทีมงานซ่ึง
สมาชิกจะร่วมกันวิเคราะห์สภาพของทีมงาน โดยใชเวลาทําความรู้จักซ่ึงกันและกันท�ำความเข้าใจ
รว มกนั ถึงวัตถุประสงคหรอื เป้าหมายของทีมงานตลอดจนปญ หาหรืออุปสรรคทจ่ี ะต้องเผชิญ
การกําหนดเป้าหมายร่วมกัน
การกําหนดเปาหมายรวมของทีมงาน เป็นส่วนสําคัญของกระบวนการในการสรางทีมงาน
เน่ืองจากคุณลักษณะของทีมงานที่ประสบความสําเร็จ คือ การมีเปาหมายท่ีชัดเจน ดังนั้นสมาชิก
ทุกคนต้องมีความเข้าใจและยอมรับเปา หมายของทีมงาน สําหรับวิธีการก�ำหนดเป้าหมายของทีมงาน
ทน่ี ิยมทำ� กนั คอื การประชุมระดมสมองสมาชิกของทีมงานให้รว่ มกนั กาํ หนดเปาหมายซึง่ จะทําใหส มาชกิ
ทกุ คนมีสว นรว่ ม และยงั เป็นการตรวจสอบความเขาใจใหต้ รงกันของทีมงานทมี่ ตี อ่ เปา้ หมายของทมี
Team or Teamwork
การท่คี นจำ� นวนหน่งึ ที่มีทักษะ (skills) ต่างกัน มาทำ� งานร่วมกันและก�ำหนดเปา้ หมายหรือ
แนวทางรวมถึงรับผิดชอบร่วมกันเป็นทีม จะต้องสร้างความเข้าใจ (Understanding) และความมุ่งมั่น
(Commitment) ร่วมกันภายในทีมงานเพ่ือมุ่งสู่คววามส�ำเร็จร่วมกัน ดังนั้น การพัฒนาทีมงาน
(Teamwork) ควรประกอบดว้ ย
T = Trust ความไวว้ างใจกัน
E = Empathy ความเหน็ อกเหน็ ใจเกอ้ื กูลกนั
A = Agreement มคี วามเหน็ ทิศทางเดียวกัน
M = Mutual Benefit ผลประโยชนร์ ่วมกนั
W = Willingness ความเตม็ ใจในการท�ำงานรว่ มกัน
O = Opportunity ใหโ้ อกาสแสดงความสามารถ
R = Recognition ใหก้ ารยอมรับซ่ึงกนั และกนั
K = Knowledge แลกเปล่ียนใชค้ วามรู้ร่วมกนั

90 คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมสภานักเรยี น

ใบความรู้

เรอ่ื ง องคป์ ระกอบของการท�ำ งานเป็นทมี และลักษณะทมี งานทดี่ ี

องค์ประกอบของการทำ�งานเปน็ ทีม

การสร้างทีมงานเป็นเร่ืองของการท�ำงานร่วมกันของบุคคลต้ังแต่สองคนข้ึนไป เพ่ือให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำ� หนดไว้ ซง่ึ มอี งค์ประกอบส�ำคญั ดังนี้
1. ตอ้ งประกอบไปด้วยบุคคลตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป
2. บคุ คลในกลุม่ ตอ้ งมีปฏิสมั พนั ธต์ ่อกนั
3. บคุ คลในกลมุ่ ตอ้ งสมั พันธ์ต่อกนั อย่างมแี บบแผน
4. บุคคลในกลมุ่ ต้องต้องพ่ึงพากนั ในการปฏิบัตงิ าน
5. บุคคลในกลุ่มถือวา่ ตนเองเปน็ สมาชิกของทมี งาน
6. บคุ คลในกลมุ่ มวี ัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายเดียวกนั
7. บุคคลในกลุ่มคิดวา่ การทำ� งานร่วมกนั ชว่ ยให้งานสำ� เรจ็
8. บุคคลในกลมุ่ มคี วามสมคั รใจท่จี ะทำ� งานร่วมกนั
9. บุคคลในกล่มุ มีความเพลดิ เพลนิ ที่จะท�ำงานและผลติ ผลงานคณุ ภาพสูง
10. บุคคลในกลุม่ พรอ้ มท่ีจะเผชญิ ปัญหาร่วมกัน

การท�ำงานเป็นทีมจะประสบความส�ำเร็จจ�ำเป็นจะต้องหล่อหลอมทีมงานให้เป็นน�้ำหน่ึง
ใจเดยี วกันมีวธิ ีจูงใจให้สมาชิกร่วมท�ำงานด้วยความเต็มใจ เพราะการท�ำงานเป็นทมี คือ ความพยายาม
ท�ำให้กลมุ่ สามารถวนิ ิจฉัยปัญหา เพือ่ ปรับปรุงความสัมพันธ์ต่างๆ ในการทำ� งานใหด้ ีขึ้นทั้งเชงิ ปริมาณ
และเชงิ คุณภาพซ่ึงความสัมพันธ์เหลา่ นจี้ ะมีผลตอ่ การท�ำงานใหส้ ำ� เร็จตามเป้าหมาย

ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมสภานักเรยี น 91

ลกั ษณะทีมงานทดี่ ี

ทีมงานที่ดีจะมีความสมดุลท่ีเหมาะสมของทักษะและความสามารถรวมทั้งความพอใจ
ทุกคนสามารถแสดงออกด้วยความซื่อสัตย์และเปิดเผย การสนทนาเกี่ยวกับงานจะเหมือนกัน
ท้ังภายในและภายนอกองค์กร และเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่ลำ� บากก็พร้อมเผชิญหน้ากับความผิดพลาด
ร่วมกนั อยา่ งเปดิ เผย ดังนนั้ การสร้างทมี งานที่ดีควรมีลักษณะดงั น้ี
1. มีการก�ำหนดนโยบาย จุดมุ่งหมายและวตั ถุประสงค์ในการท�ำงานท่ีชัดเจน
2. สมาชิกทุกคนของทีมงานจะต้องรับรู้นโยบาย จุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ด้วยความ
เข้าใจทตี่ รงกัน
3. สมาชิกมีสว่ นร่วมในการแก้ปญั หา
4. การก�ำหนดบทบาทความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานของสมาชิก ต้องมีความชัดเจน
และเข้าใจท่ีตรงกนั ปฏบิ ตั ิงานไปในทิศทางเดยี วกนั
5. การส่ือสารเปน็ แบบเปดิ เพอื่ ให้สมาชิกทุกคนรับทราบขอ้ มูลข่าวสารตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ
ไม่วา่ จะเป็นการส่ือสารแบบบนลงล่าง หรือแบบลา่ งข้ึนบนกต็ าม
6. มีความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคใ์ นการปฏบิ ัติงาน
7. มีความสามารถในการแก้ปญั หาความขัดแยง้ ท่เี กดิ ข้นึ ไม่ว่าสาเหตจุ ะมาจากส่ิงใดกต็ าม
8. ตอ้ งเชอ่ื ใจและไว้วางใจซ่งึ กนั และกัน
9. สมาชิกแต่ละคนต้องมคี วามจริงใจ และความซือ่ สตั ยต์ อ่ ทีมงาน


92 คมู่ อื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมสภานกั เรยี น

ใบความรู้

เร่อื ง การสรา้ งเสริมทศั นคตเิ ชงิ บวก ในการด�ำ เนนิ บทบาทในฐานะที่เป็นสว่ นหน่ึงของทีม
ทัศนคตเิ ชิงบวก

ความหมายของทศั นคติ
ทัศนคติ (Attitude) โดยภาพรวมหมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกของบุคคลที่มี
ต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงเป็นผลมาจากประสบการณ์หรือสิ่งแวดล้อมอันมีแนวโน้มที่จะให้บุคคลแสดงปฏิกริยา
และกระท�ำตอ่ สง่ิ นั้นๆ ในทางสนับสนุนหรอื ปฏเิ สธ ทศั นคติเปน็ สง่ิ ที่ไมส่ ามารถมองเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน
การทจี่ ะร้ถู งึ ทศั นคตขิ องบคุ คลใดบคุ คลหนึ่งได้ตอ้ งใช้วธิ แี ปลความหมายของการแสดงออก
ปัจจัยที่ท�ำให้เกิดทศั นคติ
ปจั จัยท่ีท�ำให้เกิดทัศนคตมิ ที ่มี าจากประสบการณ์และค่านยิ มซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดังนี้
1. ประสบการณ์ (Experience) การที่บุคคลได้พบเห็นคุ้นเคยหรือทดลองสิ่งใดนับเป็น
ประสบการณ์โดยตรง (Direct Experience) และการที่บุคคลได้ยิน ได้ฟัง ได้อ่านเกี่ยวกับเรื่องใด
นบั เปน็ ประสบการณท์ างอ้อม (Indirect Experience)
2. ค่านิยม (Value) แต่ละบุคคลมีค่านิยมและการตัดสินค่านิยมไม่เหมือนกัน ทั้งน้ีขึ้นอยู่
กับสภาวการณ์ของส่งิ แวดลอ้ มของแต่ละบุคคล
“ท้ังประสบการณ์และค่านิยมท�ำให้แต่ละบุคคลมีทัศนคติต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงแตกต่าง
กันไป”

ทศั นคตเิ ชิงบวก

ทัศนคติเชิงบวกถือเป็นสิ่งยึดโยงคุณลักษณะเชิงบวกท้ังหมดเข้าไว้ด้วยกัน เป็นแหล่ง
พลงั งานซึ่งชว่ ยใหบ้ ุคคลประสบความสำ� เร็จโดยตอ้ งไมข่ ัดกบั หลักศาสนา และไมล่ ะเมิดสิทธิของ
บคุ คลอน่ื
“ทัศนคติเชิงบวกเป็นกรอบความคิดที่ถูกต้อง ซ่ึงช้ีน�ำไปสู่การกระท�ำและการตอบสนอง
ที่ถูกต้อง”

คู่มอื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมสภานักเรียน 93


Click to View FlipBook Version