The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bow_sukanda, 2021-05-06 04:39:38

sukanda

Public Policy and Planning ๑๘๙




ขั้นที่ ๑ การก าหนดโครงการและศึกษาโครงการก่อนการลงทุน ทั้งนี้ เป็นการหา

ช่องทางการลงทุน เริ่มด้วยความคิดเห็นว่า จะท าอะไร โดยทั่วไปที่มาของโครงการต่างๆ
มาจากหลายทาง อาทิเช่น หน่วยงานวางแผนพฒนา หน่วยปฏิบัติ (กระทรวง กรม)

หน่วยงานอิสระ (รัฐวิสาหกิจ นโยบายทางการเมือง) และองค์การหรือสถาบันต่างประเทศ

ขั้นที่ ๒ การเตรียมโครงการและพัฒนาโครงการ เมื่อแสวงหาโครงการได้แล้ว ขั้น
ต่อมาก็คือ เตรียมและร่างโครงการ ซึ่งจะต้องวิเคราะห์โครงการโดยละเอียด โดยโครงการที่

รับหลักการดังกล่าวจะต้องมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการเงิน
ด้านเทคนิคหรือวิศวกรรม ด้านการบริหาร ด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น โดยจัดท าในรูปรายงาน

การศึกษา หรือแผนโครงการ

ขั้นที่ ๓ การประเมนและอนุมติโครงการ ทั้งนี้ เป็นการน ารายงานการศึกษาหรือ

แผนโครงการ เสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่ในการประเมินและอนุมัติโครงการ อาทิเช่น เสนอ

ื่
ต่อส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี เพอ

ประเมินว่าโครงการนั้น เป็นโครงการที่ดีที่สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายของการพฒนาตามที่

ก าหนดไว้หรือไม่ เมื่อประเมินแล้ว หากเกิดข้อสงสัยประการใด ก็อาจพจารณาให้มีการ
ปรับปรุงแก้ไขตามความจ าเป็น แต่ถ้าไม่มีข้อสงสัย โครงการนั้นก็จะผ่านความเห็นชอบ
หลังจากนั้นผู้มีอ านาจหน้าที่ก็จะอนุมัติ

ขั้นที่ ๔ การบริหารโครงการ ขั้นนี้จะเป็นการจัดกิจกรรมของโครงการและจัดสรร
ทรัพยากร เพื่อให้โครงการสามารถด าเนินงานได้ นั่นคือการก าหนดอานาจหน้าที่และความ

รับผิดชอบให้กับหน่วยงานของโครงการ ต่อมาก็จะเป็นการด าเนินงานตามแผนโครงการที่
วางไว้ นอกจากนี้ การบริหารโครงการ ยังมีความเกี่ยวข้องกับการให้ค าแนะน าและติดตาม

ื่
ความก้าวหน้าของงานได้ทุกระยะ เพอให้งานเสร็จตามก าหนดเวลา เทคนิคที่ใช้ในการ
บริหารและติดตามงานอาจใช้แผนภูมิ Gantt chart หรือ Bar chart การวิเคราะห์
โครงข่าย (Networking analysis)

ขั้นที่ ๕ การปิดโครงการ การปิดโครงการเมื่อวันสิ้นสุดโครงการ วันสิ้นสุด
โครงการ อาจเป็นวันที่โครงการได้ด าเนินงานมาเสร็จสิ้นสมบูรณ์ ตามวัตถุประสงค์ที่

ก าหนดไว้ หรือเป็นวันที่โครงการนั้นได้ถูกโอนภาระหน้าที่ความรับผิดชอบในการ


ด าเนินงานจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอกหน่วยงานหนึ่ง หรือเมื่อโครงการนั้นๆ ได้กลับกลาย
จากโครงการพัฒนาเป็นงานประจ าตามปกติ

๑๙๐ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



๘.๗ ผลกระทบจากการบริหารนโยบายภายใต้การพัฒนาในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ


จากการบริหารนโยบายในการพฒนาประเทศนั้น ก็ต้องด าเนินการผ่านโครงการ
ต่างๆ โดยเฉพาะเกี่ยวข้องกับการลงทุนขนาดใหญ่ในประเทศไทยเพอสร้างความเจริญ
ื่
ให้กับประเทศ ซึ่งในการพฒนานั้นก็มาพร้อมทั้งผลดีและผลเสีย หรือเรียกว่า ได้อย่างเสีย

อย่าง ซึ่งผลเสียของการพัฒนาดังกล่าวนี้ เรียกว่า ผลกระทบจากนโยบายภายใต้การพฒนา


ในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ นั้น โดยหลักๆ แล้วแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ดังนี้
๘.๗.๑ ด้านทรัพยากรกายภาพ (Phsical Resouurces) คือ ผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวในสังคมเช่น ดิน น้ า อากาศ เสียง ตึก อาคาร ฯลฯ เป็นต้น

๘.๗.๒ ด้านทรัพยากรชีวภาพ (Biological Resouurces) คือ ผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมทางด้านระบบนิเวศ เช่น คน ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้ า ความหลากหลายทาง

ชีวภาพ เป็นต้น

๘.๗.๓ ด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ (Human Use Value orQuality

of Human Utilization) คือ ผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทั้งกายภาพและ

ื่
ชีวภาพของมนุษย์รวมทั้งทุนทางสังคมอนๆ เช่น การใช้ประโยชน์จากที่ดิน การเกษตร
กรรม ระบบสาธารณูปโภค การท ามาหากินของครอบครัวและชุมชน เป็นต้น


๘.๗.๔ ด้านคุณค่าต่อคุณภาพชีวต (Quality of life Values) คือ ผลกระทบต่อ
คุณภาพชีวิตของประชาชน การตั้งถิ่นฐาน การเติบโตของชุมชน ความปลอดภัย คุณภาพ

ชีวิตของมนุษย์ ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม


รวมถึงทัศนียภาพ คุณค่าต่อความสวยงาม เป็นต้น

ผลกระทบจากนโยบายใต้การพฒนาในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ หลายๆ


โครงการ ซึ่งในที่นี้ จะยกตัวอย่างโครงการพฒนาของรัฐที่ส่งผลกระทบสิ่งต่างๆ ด้งกล่าว

แล้วข้างต้นต่อไปนี้








เรื่องเดียวกัน, หน้า ๖๔-๖๕.

Public Policy and Planning ๑๙๑




(๑) ตัวอย่างโครงการสร้างสนามบินสุวรรณภูม ิ

ท่าอากาศสุวรรณภูมิตั้งอยู่ที่อาเภอบางพลี (หนองงูเห่า) จังหวัดสมุทรปราการ

โครงการได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อช่วง พ.ศ.๒๕๓๒ โครงการห่างจาก

ศูนย์กลางกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๒๕ กิโลเมตร พนที่มีขนาดกว้าง
ื้
ประมาณ ๔ กิโลเมตร (จากตะวันออก-ไปตะวันตก) ความยาว ๘ กิโลเมตร (จากเหนือ-ไป
ใต้) มีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ ๓๒ ตารางกิโลเมตร

ท่าอากาศสุวรรณภูมิเป็นสนามบินพาณิชย์ที่ออกแบบให้สามารถรองรับผู้โดยสาร
ถึง ๔๕ ล้านคนต่อปี ได้จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกอบด้วยอาคารขนาดใหญ่หลายอาคาร

อาคารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอาคารผู้โดยสาร และอาคารคลังสินค้าพสดุภัณฑ์ มีทางวิ่งเป็นระบบ

คู่ขนาน ๔ ทางวิ่ง

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสร้างอยู่บนพื้นที่ปิดล้อมที่ประกอบด้วย คันกั้นน้ ารอบท่า

อากาศยานเพอป้องกันน้ าท่วมจากภายนอก ระบบระบายน้ าและระบบสูบน้ าเพอควบคุม/
ื่
ื่
ปรับระดับน้ าภายในพื้นที่ท่าอากาศยาน ขั้นตอนการก่อสร้างได้เริ่มสร้างคันป้องกันน้ าท่วม
ก่อนเป็นล าดับแรก ในปี พ.ศ.๒๕๓๔ และก่อสร้างเสร็จสามารถเปิดด าเนินการในปี พ.ศ.

๒๕๔๙
การจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการท่าอากาศยาน

สุวรรณภูมิมีการด าเนินการ ๒ ครั้ง คือ ฉบับแรกได้รับความเห็นชอบ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕
จากนั้นมีการทบทวนรายละเอียดพบว่าในปีที่เปิดด าเนินการจะมีผู้โดยสารมาใช้บริการมาก

ขึ้น ซึ่งจะส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงระดับผลกระทบต่างๆ เช่น ผลกระทบด้านเสียง
ิ่
คุณภาพอากาศ กากของเสีย น้ าเสีย การคมนาคม เป็นต้น โดยรายงานฯ ฉบับเพมเติม

ได้รับความเห็นชอบในปี ๒๕๔๘


ผลกระทบที่ส าคัญจากโครงการสร้างสนามบินสวรรณภูม ซึ่งดังต่อไปนี้
๑) การระบายน้ าและการป้องกันน้ าท่วม
ื้
พนที่ท่าอากาศยานตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มและถูกน้ าท่วมเป็นประจ า การก่อสร้างท่า
ื่
อากาศยานจะต้องถมคลองภายในท่าอากาศยาน ซึ่งเชื่อมเป็นโครงข่ายกับคลองอนที่อยู่ใน
พื้นที่ข้างเคียง และสร้างคันกั้นน้ าปิดล้อมพื้นที่ท่าอากาศยาน กิจกรรมดังกล่าวจะท าให้เกิด

๑๙๒ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



ื้
น้ าท่วมรุนแรงบริเวณรอบท่าอากาศยาน เนื่องจากท าให้มีพนที่กักเก็บน้ าลดลงและระบาย
น้ าสู่ทะเลได้ช้า


๒) คุณภาพน้ าผิวดิน
คุณภาพน้ าผิวดินในล าคลองต่างๆ ในพื้นที่โครงการมีผลมาจากน้ าเสียที่เกิดขึ้นและ

ปล่อยออกจากกิจกรรมต่างๆ ในพนที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งในระยะก่อสร้างและ
ื้
ด าเนินการ
ระยะก่อสร้าง – เกิดจากน้ าเสียในครัวเรือนที่พกคนงาน ห้องสุขา ห้องน้ า และน้ า

เสียที่เกิดจากกิจกรรมการปรับพื้นที่
ระยะด าเนินการ – เกิดจากกิจกรรมการด าเนินการของท่าอากาศยาน ได้แก่ โรง

อาหาร อาคารส านักงาน และโรงซ่อมบ ารุงเครื่องบิน และน้ าเสียที่มีผลกระทบมาจากการ
เติบโตของประชากรในพื้นที่โดยรอบโครงการ



๓) คุณภาพอากาศ
ระยะก่อสร้าง – ผลกระทบในด้านคุณภาพอากาศที่สืบเนื่องจากกิจกรรมการ

ก่อสร้างโครงการ ได้แก่ การแพร่กระจายของฝุ่นละออง เช่น การเปิดหน้าดินในบริเวณ
ต่างๆ การขนส่งวัสดุ เครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้าง และการแพร่กระจายของมล

ื่
สารอนๆ จากการใช้อปกรณ์และเครื่องจักร ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์

ไฮโดรคาร์บอน และออกไซด์ของไนโตรเจน
ระยะด าเนินการ – ผลกระทบเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การขึ้น-ลงของ

เครื่องบิน ยานพาหนะที่รับส่งผู้โดยสาร และการขนส่งสินค้า รวมทั้งแหล่งก าเนิดอนๆ อาทิ
ื่
หน่วยผลิตไฟฟ้าระบบ Cogeneration ถนนบริเวณใกล้เคียง และระบบรถไฟฟาฯ ซึ่งมีการ

แพร่กระจายของมลสาร ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซไฮโดรคาร์บอน และ

ไนโตรเจนไดออกไซด์


๔) ผลกระทบด้านเสียง
ระยะก่อสร้าง – เกิดขึ้นบริเวณโดยรอบสนามบิน เป็นกิจกรรมการด าเนินการ

ื้
ก่อสร้างประกอบด้วย การขุดเจาะฐานรากและการปรับพนที่ การก่อสร้างอาคารและสิ่ง
ื้
อานวยความสะดวก การก่อสร้างที่ราบ ทางวิ่ง ถนน และพนที่ส าหรับจอดเครื่องบิน

Public Policy and Planning ๑๙๓




ผลกระทบที่ส าคัญทางเสียงจากกิจกรรมก่อสร้างจะเกิดขึ้นในช่วงกลางวันและชั่วโมงการ

ท างาน
ระยะด าเนินการ – เกิดผลกระทบในการปฏิบัติการทางการบิน ในช่วงที่เครื่องบิน

ื้
ทะยานขึ้นและช่วงที่เครื่องบินร่อนลงสู่พนดิน ซึ่งผลกระทบนี้เกิดขึ้นในบริเวณรอบๆ ทาง
วิ่ง และภายใต้เส้นทางการบินที่อยู่ในระดับต่ า นอกจากนี้ยังมีผลกระทบของเสียงที่มาจาก
การจราจรที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของท่าอากาศยาน


๕) นิเวศวิทยาบนบก

ื้
การปรับและเตรียมพนที่ของการก่อสร้างสนามบินจะเปลี่ยนแปลงนิเวศวิทยาบน
บกและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าในพนที่ที่มีบ่อปลาจ านวนมากซึ่งกระจายอยู่ฝั่งตรงข้าม
ื้
พื้นที่โครงการ นอกจากนี้ถิ่นที่อยู่อาศัยในน้ าก็ถูกท าลายด้วย ป่าและสวนผลไม้จ านวนมาก
ื้

ถูกตัดออก ผลกระทบต่อการขยายพนธุ์นกจากการถางพนที่ และอนตรายจากนกชน

เครื่องบิน

๖) นิเวศวิทยาทางน้ า


ิ่

ระยะก่อสร้าง – การก าจัดวัชพชน้ าอาจส่งผลให้จ านวนของแมลงศัตรูพชเพมมาก

ขึ้นและท าให้ปลาบางชนิดลดลงด้วย เนื่องจากวัชพช ได้แก่ ผักตบชวา ผักบุ้ง ช่วยในการ
ื้
รักษาสมดุลยภาพของระบบ นอกจากนี้บ่อเลี้ยงปลาและคลองบริเวณพนที่โครงการจะถูก
ื่
ื้
ถมเพอปรับระดับพนที่โครงการ ซึ่งต้องใช้รถบรรทุกดินเหนียว ทราย ลูกรัง หิน มาถมดิน
ซึ่งน าไปสู่การเพิ่มของตะกอนในคลองรอบๆ
ระยะด าเนินการ – เสียงเครื่องบินที่มาจากกิจกรรมการบินและแสงของเครื่องอาจ
ส่งผลต่อปลาและสัตว์น้ าอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูวางไข่ นอกจากนี้ การระบายน้ า

เสียที่เกิดจากกิจกรรมในครัวเรือนและจากอตสาหกรรมโดยไม่ได้รับการบ าบัด อาจส่งผล

กระทบต่อสิ่งมีชีวิตในคลองและบ่อเลี้ยงปลา


๗) การใช้ที่ดิน

ระยะก่อสร้าง – ช่วงการก่อสร้างคนงานจะย้ายเข้ามาในพนที่หนองงูเห่า และ
ื้
ื้
อาศัยอยู่ทั้งภายในภายนอกพนที่โครงการ รูปแบบการใช้ที่ดินโดยรอบพนที่โครงการจะ
ื้

๑๙๔ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



ื้

ค่อยเปลี่ยนไปเป็นชุมชนคนงาน พนที่พาณิชยกรรมจะถูกพฒนาขึ้นเพอรองรับชุมชน
ื่
คนงาน
ื้

ระยะด าเนินการ – รูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนจากเกษตรกรรมไปเป็นพนที่อานวย
ความสะดวกด้านการขนส่ง และภาคอตสาหกรรม ส่วนประชาชนที่อาศัยอยู่ในปัจจุบันทั้ง

ด้านทิศเหนือและทิศใต้ของพื้นที่โครงการอาจต้องย้ายไปหาที่อยู่ใหม่เพราะการรบกวนจาก
ื้
เสียงเครื่องบิน ในขณะเดียวกันประชาชนอนๆ จะย้ายเข้ามาในพนที่นี้เพราะใกล้แหล่งงาน
ื่
หรือพัฒนาธุรกิจ


๘) การคมนาคม
ิ่
ระยะก่อสร้าง – มีปริมาณการจราจรเพมมากขึ้นบนทางหลวงและถนนที่เกี่ยวข้อง

โดยรอบโครงการ เนื่องจากกิจกรรมการก่อสร้าง เช่น การขนส่งวัสดุอปกรณ์ เครื่องมือ
ื้
เครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้าง การขนส่งวัสดุก่อสร้างเข้าสู่พนที่ก่อสร้าง และการเดิน
ทางเข้า-ออกของคนงาน

ระยะด าเนินการ – การจราจรจ านวนมากที่เกิดจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ควบคู่ไปกับถนนที่ไม่เพยงพอกับรถ จะน าไปสู่ปัญหามลภาวะ ความปลอดภัยและและ

เหตุการณ์ฉุกเฉินหรืออบัติเหตุ การที่จอดรถอยู่เฉยๆ ขณะรถติดจะเป็นเพมการ
ิ่

ิ่
แพร่กระจายของสารมลพษออกสู่สิ่งแวดล้อม ในชั่วโมงเร่งด่วน ระดับมลภาวะจะเพมมาก
ขึ้น การแพร่กระจายของไนโตรเจนออกไซด์ และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

๙) ระบบสาธารณูปโภค

เกิดสภาวะไม่ถูกสุขอนามัยและไม่ปลอดภัย เนื่องจากการจัดการขยะไม่

เหมาะสม


สรุปความท้ายบท


การพฒนาประเทศนั้นให้มีความเจริญก้าวหน้าและสร้างสิ่งอานวยความสะดวก

กล่าวคือโครงการที่มีการลงทุนขนาดใหญ่ในประเทศไทยนั้น ซึ่งเปรียบเสมือนเหรียญสอง



วไลลักษณ์ เสมมี, “รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ”, รายงานการ
วิจัย, ส านักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม, [ออนไลน์] . แหล่งที่มา: www.onep.go.th/eia/page
๒/km.../suwanapum.doc [๒๘ มี.ค. ๒๕๖ ].

Public Policy and Planning ๑๙๕





ด้าน คือ มีทั้งผลดีและผลเสีย ซึ่งโดยส่วนใหญ่ของโครงการพฒนาขนาดใหญ่ของรัฐจะ
ส่งผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ มากมาย เป็นสิ่งจ าเป็นที่ผู้ก าหนดนโยบาย รวมไปถึงผู้จัดการ
โครงการจะต้องค านึงถึงโดยการจัดท าการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) และ

การประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) ว่า ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างไร

บ้าง รวมไปถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนด้วย และที่ส าคัญในบริหารนโยบาย

ื่
สาธารณะภายใต้โครงการพฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ หลายๆ โครงการ เพอลดปัญหาการ
ต่อต้านและน าไปสู่ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชน จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้

ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพฒนาต่างๆ ตั้งแต่การก าหนดโครงการพฒนา

ต่างๆ ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการโครงการ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การมี
ส่วนร่วมของประชาชนมีความส าคัญเป็นอย่างมากในกระบวนการพัฒนาต่างๆ

๑๙๖ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



ค าถามท้ายบท


. ค าว่า การบริหารนโยบายสาธารณะ มีความหมายว่าอย่างไร และโครงการของ
รัฐ มีความส าคัญอย่างไร


๒. โครงการพฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ ที่มีการลงทุนขนาดใหญ่ในประเทศไทย มี
อะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างมา ๒ โครงการ
๓. ความหมายของโครงการพฒนา เป็นอย่างไร ท่านจงอธิบายมาให้ดูอย่าง

ละเอียด


๔. ท่านจงอธิบายประเภทของโครงการพฒนาว่า สามารถแบ่งออกตามมิติต่างๆ
ได้อย่างไรบ้าง
๕. ผลกระทบที่เป็นข้อเสียจากการบริหารนโยบายภายใต้การพัฒนาในโครงการ

ขนาดใหญ่ของรัฐนั้น ตามความเข้าใจของท่าน โดยหลักๆ แล้ว สามารถแบ่งออกได้กี่ด้าน
อะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างมาประกอบดูด้วย

Public Policy and Planning ๑๙๗




เอกสารอ้างอิง



ศุภชัย ยาวะประภาษ และไตรรัตน์ โภคพลากรณ์. แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหาร
แผนงานโครงการการบริหารพัฒนาชนบท หน่วยที่ ๑. สาขารัฐศาสตร์:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๖.

สุภาสินี ตันติศรีสุข. เอกสารการสอนชุดวชาการวเคราะห์โครงการและแผนงาน.

นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ๒๕๔๗.

อนงทิพย์ เอกแสงศรี. การบริหารโครงการของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามค าแหง, ๒๕๓๕.



. การบริหารโครงการภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพมพมหาวิทยาลัย
รามค าแหง, ๒๕๕๒.


ประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. การวิเคราะห์และการประเมนโครงการ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพมพ ์
โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๗.

. การวเคราะห์และการประเมนโครงการ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์,

๒๕๓๔.


พายัพ พะยอมยนต์. เอกสารการสอนชุดวชาการศึกษาความเป็นไปได้และการวเคราะห์
โครงการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ๒๕๔๗.

วไลลักษณ์ เสมมี. “รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณ
ภูมิ”. รายงานการวจัย. ส านักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์].

แหล่งที่มา: www.onep.go.th/eia/page๒/km.../suwanapum.doc [๒๘ มี.ค.
๒๕๖ ].

Taylor, W.J. and Watling, T.E. Successful Project Management. London: T.J.
Press, Ltd., 1979.

๑๙๘ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



บรรณานุกรม


Thomas R. Dye. ๑๙๗๘. Understanding Public Policy. Englewood Cliffs :

Prentice – Hall, Inc.
Ira Sharkansky. ๑๙๗๐. Policy Analysis in Political Science. Chicago :

Markham.

Anderson, J.E. ๑๙๘๔. Public Policy-Making. New York : Holt, Rinehart and
Winston.

Easton, D. ๑๙๕๓. The Political System : An inquiry into the State of
Political Science. New York : Alfred A. Knoft.

Carl J. Friedrich. ๑๙๖๓. Man and his Government. New York : Graw-Hill.

Ripley, Randall B. and Franklin,Grace A. (1991) Congress, the bureaucracy,
th
and public policy. 5 ed. Pacific Grove, Calif : Brooks/Cole
Publishing.
Lowi, Theodore, J. (1972) The end of liberalism : ideology, policy, and the

crisis of public authority. NewYork : Norton.

Terry, George R (1997) Principles of management. Homewood, Illinois
:Richard D. Irwin, Inc

Mitchell, Douglas E., and Encarnation, Dennis J. (1984) “Alternative Policy
Mechanism fot Influencing School Performance,” Educational

Researcher. 13 (May 1984)

Sergiovanni, Thomas J.; Burlingame, Martin; and Coombs, Fred S. (1992)
Educational governance and administration. 3rd ed Englewood

Cliffs, N.J. : Prentice Hall.
Mitchell, Douglas E.,“Educational Policy Analysis: the State of Art.”

Educational Administration Quarterly (Summer 1984): 129-160.

Public Policy and Planning ๑๙๙



Alexander, Ernest R. (1985) “From idea to action : Notes for a contingency

theory of the policy implementation process,” Administration
&Society. Vol.16 No.4 (February) 410-413.
th
Koontz, Harold ; O’Donnell, Cyril and Weihich,Hrinz.(1984) Management. 8

ed New York : McGraw-Hill.
Ackoff, Russell Lincoln. (1970) A concept of corporate planning. New York :

Wiley- Interscience.
Holt, David H.(1990) Management : principles and practices 2nd ed.

Englewood Cliffs : Prentice Hall, Inc.
th
Robbins, Stephen P.and Coulter, Mary. (2009) Management. 10 ed Upper
Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc.

Allen, Louis A. (1982) Making managerial planning more effective . New York
: McGraw- Hill.

David Easton, A framework for Political Analysis, (N.J.: Prentice- Hall, 1959),

p.112.
Anderson, J.E. (ed.) 1984. Public Policy-Making, New York : Holt, Rinehart

and Winston.
Peters, B.G. 1986. American Public Policy : Promise and Performance,

London : MacMillan Education Ltd.
Edwards, G.C. III. 1980. Implementing Public Policy. Washington, D.C. :

Congressional Quarterly Press.

Walter Williams, “Implementation Analysis and Assessment Policy Analysis”,
Vol.1 No.3 (Summer, 1975): 531-566.

Donald S. Van Meter & Carl E. Van Horn, “The Policy Implementation
Process : A Conceptual Framework”, Administration and

Society, Vol. 6 No.4 (February 1975): 447.

Jones, C.E. 1977. An Introduction to the Study of Public Policy. North
Scituate : Duxbury Press.

๒๐๐ นโยบายสาธารณะและการวางแผน



Taylor, W.J. and Watling, T.E. Successful Project Management. London: T.J.

Press, Ltd., 1979.
James E. Anderson, Politics and Economic Policy-Making. Reading, MA.:

Addison-Wesly, 1970.

Samuel P. Hayes, Jr. Evaluating Development Project. Paris: Imprimerie
Boudin, 1969.



ประชุม รอดประเสริฐ. การบริหารโครงการ. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ, ๒๕๔๒.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธวิธีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพมพ ์

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. “ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายสาธารณะกับแผน”. ใน เอกสารการ


สอนชุดวชานโยบายสาธารณะและการวางแผน.นนทบุรี: ส านักพมพ ์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๙.

เสน่ห์ จุ้ยโต. “แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ”. ใน ประมวลสาระชุดวชานโยบาย
สา ธ า ร ณ ะแ ละ กา ร บ ริ ห า ร โ ค ร ง กา ร . น น ท บุ รี : ส า นั ก พม พ ์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๘.

มาลัย แก้วมโนรมย์. กระบวนการวางแผน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.m-
ed.net/doc01/policy006 [๒๔ มี.ค. ๒๕๕๘].

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. “ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายสาธารณะกับแผน”. ใน เอกสารการ


สอนชุดวชานโยบายสาธารณะและการวางแผน. นนทบุรี : ส านักพมพ ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๙.


กรมการปกครอง. คู่มอปฏิบัติงานการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบล.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อาสารักษาดินแดน, ๒๕๔๓.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. การวางแผน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http://www.human.nrru.ac.th/Program/public/thai [๒๔ มี.ค. ๒๕๖๑].

เอกชัย กี่สุขพนธ์. การบริหาร : ทักษะและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : ส านักพมพ ์


สุขภาพใจ, ๒๕๓๘.

Public Policy and Planning ๒๐๑



รังสรรค์ ประเสริฐศรี. “ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายสาธารณะกับแผน”. ใน เอกสารการ


สอนชุดวชานโยบายสาธารณะและการวางแผน. นนทบุรี : ส านักพมพ ์


มหาวิทยาลัยสุโขทยธรรมาธิราช, ๒๕๔๙.
ส านักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. ระบบการวเคราะห์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย.

กรุงเทพมหานคร: ส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,
๒๕๔๘.

ชาคริต ชาญชิตปรีชา (๑๑ ม.ค. ๕๑). “องค์การและการจัดการ”, [ออนไลน์]. หน้า ๔๒.
แหล่งที่มา: teacher.snru.ac.th/chakrit/admin [๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐].



ดาริน คงสัจวิวัฒน์. หลักการและเทคนิควธีการเพื่อการประเมนผลนโยบาย.
มหาวิทยาลัยนเรศวร : ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์, ๒๕๔๗.
สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์. นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวเคราะห์ และกระบวนการ.

กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๔๘.
สุวัฒน์ วัฒนวงศ์. “ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลโครงการ”, การศึกษาตลอดชีวต. ๑๙

(๖) (๒๕๔๐): ๔๕-๕๑.


สมคิด พรมจุ้ย. เทคนิคการประเมนโครงการ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
๒๕๔๖.


สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์. นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวเคราะห์ และกระบวนการ.
กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๔๘.

จุมพล หนิมพานิช, การวเคราะห์นโยบาย : ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎีและกรณีตัวอย่าง,

(นนทบุรี : ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หน้า ๒๓๕.

ชินรัตน์ สมสืบ, “การประเมินผลนโยบายสาธารณะ”, ใน ประมวลสาระชุดวชานโยบาย

สาธารณะและการบริหารโครงการ, (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
๒๕๔๘), หน้า ๒๗๘.

สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์. นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวเคราะห์ และกระบวนการ.

กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๔๘.

สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์, นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวเคราะห์และกระบวนการ,

(กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๔๙), หน้า ๓๙๘-๔๑๓.

๒๐๒ นโยบายสาธารณะและการวางแผน




ถวัลย์รัฐ วรเทพพุฒิพงษ์, “การน านโยบายไปปฏิบัติ”, ใน เอกสารประกอบการสอนวชา
รศ.๗๔๐ การน า นโยบายไปปฏิบัติ ฉบับที่ ๑, (กรุงเทพมหานคร: สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๙), หน้า ๒๘๒.


จุมพล หนิมพานิช. ๒๕๔๗. การวเคราะห์นโยบาย ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎีและกรณี
ตัวอย่าง, นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปกรณ์ ปรียากร. ๒๕๓๙. การก าหนดนโยบายของรัฐ : บทวเคราะห์ปัญหาและทางออก
ของประเทศก าลังพัฒนา, “ใน เอกสารประกอบการสอนนโยบายและการน าไป
ปฏิบัติ ฉบับที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

กุลธน ธนาพงศธร. ๒๕๓๕. “แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ” ในเอกสารการ

สอนชุดวิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน. นนทบุรี : ส านักพมพ ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อมร รักษาสัตย์. ๒๕๑๘. “สถาบันและกระบวนการเพื่อการพัฒนานโยบายในประเทศ
ไทย” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์.

บุญทัน ดอกไธสง. ๒๕๕๓. ขอบข่าย รัฐประศาสนศาสตร์ ยุคโลกาภิวัฒน์,

กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ ์ ปัญญาชน,

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551) กรอบทิศทางการพฒนาการศึกษาในช่วง
แผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ที่
สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545- 2559) กรุงเทพมหานคร :โรง

พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธงชัย สันติวงศ์ (2539) องค์การและการบริหาร กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช

สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์ (2552) นโยบายสาธารณะ:แนวความคิด การวิเคราะห์และ

กระบวนการ พิมพ์ครั้งที่ 20 กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์เสมาธรรม
ื่
สมพร เฟองจันทร์, นโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการปฏิบัติ, (กรุงเทพมหานคร :
ส านักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , ๒๕๓๙), หน้า ๔๓.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช, การเมองกับการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : ส านักพมพบรรณกิจ,


๒๕๒๓), หน้า ๒๓.
ทศพร ศิริสัมพนธ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ, (กรุงเทพมหานคร :

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หน้า ๑๒๔.

Public Policy and Planning ๒๐๓





ถวัลย์รัฐ วรเทพพฒิพงษ์, การก าหนดและการวเคราะห์นโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและ
การประยุกต์ใช้, (กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๑),
หน้า ๑๑๒.

เดโช สวนานนท์, ค าอธิบายศัพท์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

:
๒๕๔๑,(กรุงเทพมหานคร หจก. วีทซีคอมมิวนิเคชั่น จ ากัด, ๒๕๔๔), หน้า ๕๑-
๕๓.

ศุภชัย ยาวะประภาษ และไตรรัตน์ โภคพลากรณ์. แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหาร
แผนงานโครงการการบริหารพัฒนาชนบท หน่วยที่ ๑. สาขารัฐศาสตร์:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๖.

สุภาสินี ตันติศรีสุข. เอกสารการสอนชุดวชาการวเคราะห์โครงการและแผนงาน.

นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ๒๕๔๗.


อนงทิพย์ เอกแสงศรี. การบริหารโครงการของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพมพ ์
มหาวิทยาลัยรามค าแหง, ๒๕๓๕.


. การบริหารโครงการภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพมพมหาวิทยาลัย

รามค าแหง, ๒๕๕๒.
ประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. การวิเคราะห์และการประเมนโครงการ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพมพ ์


โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๗.


. การวเคราะห์และการประเมนโครงการ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์,
๒๕๓๔.

พายัพ พะยอมยนต์. เอกสารการสอนชุดวชาการศึกษาความเป็นไปได้และการวเคราะห์

โครงการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ๒๕๔๗.

วไลลักษณ์ เสมมี. “รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณ

ภูมิ”. รายงานการวจัย. ส านักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: www.onep.go.th/eia/page๒/km.../suwanapum.doc [๒๘ มี.ค.
๒๕๖๑].



ถวัลย์รัฐ วรเทพพฒิพงษ์. การก าหนดและวเคราะห์นโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการ
ประยุกต์ใช้. พิมพ ์ ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : เสมาธรรม. ๒๕๔๑.

๒๐๔ นโยบายสาธารณะและการวางแผน




วิกิพเดีย, ทฤษฎีเกม, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/[๑๘ มี.ค.
๒๕๕๘].
สารานุกรมเสรี. วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. [ออนไลน์]. จากเวปไซด์ :

https://th.wikipedia.org/wiki/. (สืบค้น ข้อมูล: ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๑).


Click to View FlipBook Version