The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narumol Ang-ngern, 2022-05-04 00:40:45

Learning Problems

Learning Problems

เอกสารประกอบการบรรยายท่ี 2

ปญั หา
ในเด็กวยั เรยี น

สาหรบั บคุ ลากรทางการศกึ ษา

1

Outline

• โรคทสี่ ง่ ผลตอ่ ปญั หาการเรยี นและแนวทางการช่วยเหลอื

– โรคสมาธสิ นั้ (Attention-Deficit Hyperactive Disorder : ADHD)
– ภาวะบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ (Learning Disorders: LD)
– ภาวะบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา (Intellectual Disabilities)
– โรคออทสิ ตกิ (Autism Spectrum Disorder)

• ปญั หาพฤตกิ รรม-อารมณใ์ นเด็กวยั เรยี นและแนวทางการ
ชว่ ยเหลอื

2

ปญั หาในเด็กวยั เรยี น

ปัญหา
การเรยี น

ปัญหาทาง ปัญหาทาง
พฤติกรรม อารมณ์

อาการ
ทางกาย

3

โรคท่ีสง่ ผลต่อ
ปัญหาการเรยี นและ
แนวทางการช่วยเหลอื

4

โรคทส่ี ง่ ผลตอ่ ปญั หาการเรยี นและ
แนวทางการชว่ ยเหลอื

• โรคสมาธสิ นั้ (Attention Deficit
Hyperactive Disorder: ADHD)

• ภาวะบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
(Learning Disorders: LD)

• ภาวะบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
(Intellectual Disabilities: ID)

• โรคออทสิ ตกิ (Autism Spectrum
Disorders)

5

โรคสมาธสิ น้ั
Attention Deficit Hyperactive

Disorder: ADHD

6

อาการทคี่ รสู งั เกตได้

• ไมค่ อ่ ยตงั้ ใจเรยี น
• ขาดความรบั ผดิ ชอบ ขาดระเบยี บวนิ ยั
• ชอบคยุ ในหอ้ งเรยี น
• ขาดความรอบคอบ ทางานไมเ่ รยี บรอ้ ย
• วอกแวกง่าย ตอ้ งคอยกระตนุ ้ บอ่ ยๆ
• อยู่ไม่นงิ่ ชอบลุกเดนิ ในหอ้ งเรยี น

7

โรคสมาธสิ นั้ คอื อะไร?

เป็ นความผดิ ปกตขิ อง
สมอง (neuropsychiatric
disorder) ทที่ าใหเ้ ดก็ มี
ความบกพรอ่ งของสมาธิ
และความสามารถในการ
ควบคมุ ตวั เอง

8

พบโรคนบี้ อ่ ยแคไ่ หน?

- 3-5% ของเดก็ วยั เรยี น : 20 คน พบ 1 คน

-เด็กชาย> เดก็ หญงิ

9

รไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่
เป็ นสมาธสิ น้ั ?

10

แพทยส์ ามารถวนิ จิ ฉยั โรคสมาธสิ น้ั
ไดโ้ ดย

• รวบรวมประวตั อิ ย่างละเอยี ด
(จากครู และผปู ้ กครอง)

• ตรวจรา่ งกาย การมองเห็น การไดย้ นิ
(กรณีจาเป็ น)

• ตรวจความจา สมาธิ ความสามารถในการ
วเิ คราะห์

• ไมม่ กี ารทดสอบทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื
เอ็กซเรยท์ ใี่ ชใ้ นการวนิ จิ ฉัย

11

อาการของโรคสมาธสิ นั้

1.ขาดสมาธิ ( Attention Deficit)
2. ซน อยไู่ มน่ ง่ิ ( Hyperactivity)
3. หนุ หนั พลนั แลน่ ววู่ าม (Impulsivity)

12

กลมุ่ อาการขาดสมาธิ

1. ไมม่ สี มาธิ
2. ไมร่ อบคอบ ทางานผดิ พลาด
สะเพรา่
3. ขาดความตงั้ ใจเวลาทางาน
4. ดเู หมอื นไมฟ่ ังเวลาพดู
5. ทางานไมเ่ สร็จ ไมม่ รี ะเบยี บ
6. วอกแวกงา่ ย
7. หลงลมื
8. ทาของใชส้ ว่ นตัวหายเป็ นประจา
9. หลกี เลยี่ งงานทต่ี อ้ งใชค้ วามคดิ

13

กลมุ่ อาการซนอยไู่ มน่ งิ่

1. ยกุ ยกิ อยไู่ มส่ ขุ
2. ชอบลกุ จากทนี่ ั่ง
3. วง่ิ , ปี นป่ าย, เลน่ โลดโผน
4. ไมส่ ามารถเลน่ หรอื อยเู่ งยี บๆได ้ เลน่ เสยี งดัง
5. พลงั งานเหลอื เฟื อ ซนมากตงั้ แตต่ น่ื นอนจนเขา้ นอน
6. พดู มาก พดู ไมห่ ยดุ

14

กลมุ่ อาการหนุ หนั พลนั แลน่

1. โพลง่ คาตอบออกมากอ่ นคาถามจบ
2. ใจรอ้ น รอคอยอะไรไมค่ อ่ ยได ้
3. ชอบพดู แทรกขณะผอู ้ นื่ กาลังพดู อยู่

15

การวนิ จิ ฉยั โรค

• มอี าการใน 2 กลมุ่ อาการ คอื

– ไมม่ สี มาธิ [6ขอ้ ขน้ึ ไป (5 ขอ้ ขนึ้ ไป สาหรบั วยั รุ่นและผใู ้ หญ่
อายุ ≥ 17 ปี)]
และ/หรอื

– ซน อยู่ไมน่ งิ่ หนุ หนั พลันแลน่ [6ขอ้ ขน้ึ ไป (5 ขอ้ ขน้ึ ไป
สาหรบั วัยรนุ่ และผใู ้ หญอ่ ายุ ≥ 17 ปี) ]
ตดิ ตอ่ กนั มากกว่า 6 เดอื น

• เกดิ อาการกอ่ นอายุ 12 ปี
• มอี าการทแี่ สดงออกใหเ้ หน็ ชดั เจน อยา่ งนอ้ ย 2

สถานท่ี ขนึ้ ไป เชน่ โรงเรยี นและบา้ น

16

การวนิ จิ ฉยั โรค

• รบกวนชวี ติ ประจาวนั

– เมอื่ เสยี หายต่อการเรยี น
– รบกวนการใชช้ วี ติ รว่ มกบั ผอู ้ น่ื
– ทาใหค้ นอน่ื ราคาญ

• อาการไมไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ ในชว่ งทม่ี อี าการของโรคทาง
จติ เวชอน่ื และไมส่ ามารถอธบิ ายไดด้ กี วา่ ดว้ ยโรคทาง
จติ เวชอนื่ ๆ

17

การวนิ จิ ฉยั แยกโรค

• พฤตกิ รรมซนปกตติ ามวยั • โรคทางกายทมี่ ผี ลตอ่

• ปัญหาการเลยี้ งดู เชน่ สมาธิ

ถกู ตามใจ ขาดการฝึก • ผลขา้ งเคยี งจากยา
ระเบยี บวนิ ัย
• ภาวะบกพรอ่ งทางการ

• ภาวะสตปิ ัญญาบกพรอ่ ง เรยี นรู ้ (LD)
มพี ฒั นาการชา้ ทกุ ดา้ นแต่ • ปัญหาทางอารมณ์
อาจมอี าการสมาธสิ นั้ รว่ ม

ดว้ ยได ้

• โรคออทซิ มึ จะพบ
พัฒนาการชา้ ทางดา้ น
ภาษาและสงั คม
18

โรคทพี่ บรว่ ม

• กลมุ่ อาการดอ้ื ตอ่ ตา้ น (ODD) 60%
40%
• กลมุ่ อาการพฤตกิ รรมเกเร กา้ วรา้ ว
(Conduct disorders) 30-70%
15-75%
• ภาวะบกพรอ่ งทางการเรยี นรู ้ (LD)
• กลมุ่ ความผดิ ปกตทิ างอารมณ์ 10-30%
2%
(Affective disorders)
• กลมุ่ โรควติ กกังวล (Anxiety disorders)
• Tourette’s disorder

19

สาเหตุ

• สมองสว่ นหนา้ ทมี่ หี นา้ ทคี่ วบคมุ
เรอื่ งการสมาธจิ ดจ่อ การยับยัง้ ชงั่
ใจและการเคลอ่ื นไหวของ
รา่ งกาย ทางานนอ้ ยกวา่ เดก็ ปกติ

• ความไมส่ มดลุ ของสารเคมใี น
สมอง (Dopamine and
Norepinephrine turnover ตา่
กวา่ ปกติ )

เพราะอะไรถงึ เป็ นเช่นน้ี ? ยงั ไมท่ ราบสาเหตทุ ี่
แนน่ อน

20

ปจั จยั ทอ่ี าจเกย่ี วขอ้ ง

ปจั จยั ทางพนั ธุกรรม
• ถา้ มพี อ่ หรอื แม่ 1 คนเป็ นโรคสมาธสิ นั้ พบวา่ ลกู จะ

เป็ นโรคนีร้ อ้ ยละ 57
ปจั จยั ทางสง่ิ แวดลอ้ ม
• มารดาสบู บหุ รห่ี รอื ใชส้ ารเสพตดิ ชว่ งตัง้ ครรภ์
• น้าหนักแรกเกดิ นอ้ ยกวา่ เกณฑ์
• ไดร้ ับพษิ สารตะกั่ว
• ฯลฯ

21

ผลกระทบ

เด็ก • กาย
• จติ สงั คม

สมาธสิ นั้ ครอบครว••ั ความสมั พนั ธ์
จติ สงั คม

โรงเรยี น•• ระบบการเรยี น
ครผู สู้ อน

22

ไมร่ กั ษา...จะเป็ นอยา่ งไร

60
50
40
30
20 กลมุ่ วัยเด็กสมาธสิ ัน้
10 กลมุ่ วัยเด็กปกติ

0

23
ติดยาเสพติด
ไม่จบมัธยม

ได ้ตจาบแปหริ ่นญงงญาานตดีรี
มีธุรกิจเ ็ลกๆ

โตขน้ึ จะเป็ นอยา่ งไร หายหรอื ไม?่

หายเอง คงท่ี
แยล่ ง

24

การดแู ลรกั ษา

ครอบครวั พอ่ แม่ โรงเรยี น ครู

ตวั เด็ก

25

การดแู ลรกั ษา

• การปรับพฤตกิ รรม + ปรับวธิ กี ารเลย้ี งดู
• การปรบั สงิ่ แวดลอ้ มของเดก็
• การปรบั การเรยี นการสอน
• การใชย้ า
• การรักษาทางเลอื กอนื่ ๆ เชน่ น่ังสมาธิ กฬี า

การรกั ษาทไ่ี ดผ้ ลดที ส่ี ุด คอื
การผสมผสานหลายๆวธิ เี ขา้ ดว้ ยกนั

26

การอยกู่ บั เด็กสมาธสิ นั้

1. เขา้ ใจเดก็

– ธรรมชาตเิ ด็ก
– ไมไ่ ดแ้ กลง้
– ไมใ่ ชน่ ิสยั เสยี
– ไมใ่ ชด่ อ้ื หรอื ไมอ่ ดทน
– ไมใ่ ชส่ อนไมจ่ า
– ไมใ่ ชไ่ มร่ ับผดิ ชอบ

27

การอยกู่ บั เด็กสมาธสิ น้ั

2. หลกี เลยี่ งการตาหนิ เพม่ิ การชนื่ ชม
3. ชว่ ยเด็กคดิ วธิ แี กจ้ ุดออ่ น เชน่ ขล้ี มื
4. ชว่ ยใหใ้ ชพ้ ลังงาน

• กฬี า
• ดนตรี
• ชว่ ยงานผใู ้ หญ่

5. จัดสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ หมาะสม
6.แบง่ ชว่ งเวลาทางานใหส้ นั้

28

การรกั ษาดว้ ยยา

• Psychostimulant : Methylphenidate

– Ritalin ออกฤทธิ์ 4 ชว่ั โมง

– Concerta ออกฤทธิ์ 12 ชว่ั โมง

ผลขา้ งเคยี ง

– เบอื่ อาหาร

– ปวดมนึ ศรี ษะ

– นอนไมห่ ลับ

– หงดุ หงดิ วติ กกังวล นอ้ ยใจงา่ ย 29

การรกั ษาดว้ ยยา

• Non-stimulant : Atomoxetine

– Strattera

ผลขา้ งเคยี ง

– เบอ่ื อาหาร คลน่ื ไส ้ อาเจียน
– ปัญหาการนอนหลับ

30

วธิ กี ารชว่ ยเหลอื ในปญั หาเฉพาะ

• เหมอ่ ใจลอย ไมส่ นใจเรยี น วอกแวกงา่ ย
• อู ้ ยดื ยาด เฉื่อย ทางานชา้ ทางานไมเ่ สร็จ
• หลงลมื งา่ ย
• ขาดการวางแผนลว่ งหนา้
• แบง่ เวลาไมเ่ ป็ น
• ขาดระเบยี บ

31

วธิ แี กป้ ญั หาเหมอ่ ใจลอย วอกแวกงา่ ย

• จัดทน่ี ่ังใหเ้ หมาะสม ลดสง่ิ ทจี่ ะทาใหว้ อกแวก
• ตกลงวธิ เี ตอื นกบั เด็ก หลกี เลยี่ งการเรยี กชอ่ื บอ่ ยๆ
• สอนใหเ้ รา้ ใจ สนุก ทาเน้ือหาใหน้ ่าสนใจ นา่ ตดิ ตาม
• สลับใหเ้ ด็กไดม้ กี ารเคลอ่ื นไหวบา้ ง

32

วธิ แี กป้ ัญหาอู้ ยดื ยาด เฉอ่ื ย ทางานชา้
ทางานไมเ่ สร็จ

• กาหนดเวลา
• สรา้ งแรงจูงใจ
• เรม่ิ ตน้ งานกบั เดก็
• ใชก้ ารสมั ผัสทน่ี ่มุ นวล
• แบง่ งานเป็ นสว่ นเลก็ ๆ พักสนั้ ๆบอ่ ยๆ
• ใหเ้ วลาทางานนานกวา่ เด็กปกติ

33

วธิ แี กป้ ญั หาหลงลมื บอ่ ย

• เขยี นคาสง่ั ใหช้ ดั เจน ทาเป็ นเอกสารใหเ้ ด็กทบทวน
• ใหเ้ ด็กทบทวนคาส่งั หรอื เนื้อหาบอ่ ยๆ
• มวี ธิ เี ตอื นความจาทเ่ี หมาะสม เชน่ ป้าย, post-it, นาฬกิ า

ปลกุ
• มตี ารางกากบั ฝึกบอ่ ยๆใหเ้ คยชนิ
• ฝึกใหเ้ ด็กรจู ้ ักการทา check-list
• อนุญาตใหเ้ ดก็ ใชอ้ ปุ กรณ์บนั ทกึ เสยี ง

34

35

36

วธิ แี กป้ ญั หาการขาดการวางแผน
ลว่ งหนา้

• สอนใหเ้ ดก็ รจู ้ ักใช ้ planner
• ฝึกใหเ้ ด็กหยดุ ตัวเอง...คดิ กอ่ นทา

37

วธิ แี กป้ ญั หาการแบง่ เวลาไมเ่ ป็ น

• สอนใหเ้ ดก็ รจู ้ ักการ “กะ” เวลา ฝึกบอ่ ยๆ เลน่ เป็ นเกม
• บันทกึ เวลาการทางานของตัวเอง
• ทาตารางเวลาเพอื่ กากับแตล่ ะกจิ กรรม
• สอนใหย้ อ่ ยงาน แลว้ กาหนดเวลาการทางานแตล่ ะสว่ น
• สอนใหร้ จู ้ ักใชน้ าฬกิ าปลกุ , timer
• เตอื นเดก็ ลว่ งหนา้ ถงึ เวลาทเ่ี หลอื
• สอนใหท้ า “to do list”
• Weekly, Monthly Planner

38

วธิ แี กป้ ญั หาขาดระเบยี บ

• สอนใหเ้ ด็กใชแ้ ฟ้มเจาะรสู าหรบั เกบ็ เอกสาร
• สอนใหเ้ ด็กทาป้ายตดิ บนแฟ้ม, หนังสอื , สง่ิ ของ
• ป้ายควรเป็ นรหสั สี หรอื ตัวเลขทเ่ี ดก็ ดรู แู ้ ละเขา้ ใจงา่ ย
• มแี ฟ้มสาหรบั ใสก่ ารบา้ นทตี่ อ้ งทา, การบา้ นทท่ี าเสร็จ

แลว้ , การบา้ นทต่ี อ้ งสง่

39

วธิ แี กป้ ัญหาขาดระเบยี บ

• สอนใหเ้ ดก็ จัดโตะ๊ เรยี นทกุ วนั กอ่ น
กลับบา้ น จัดกระเป๋ านักเรยี นทกุ วัน
กอ่ นนอน

• เลอื กใชก้ ลอ่ งดนิ สอ, กระเป๋ า
นักเรยี นทแี่ บง่ เป็ นชอ่ งๆไวแ้ ลว้ อยา่ ง
เป็ นระเบยี บ

• จัดหอ้ งเรยี นใหเ้ ป็ นระเบยี บ เป็ น
ตัวอยา่ งหรอื หาตัวอยา่ งของเด็กที่
เป็ นระเบยี บใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลยี นแบบ

40

การรกั ษาทางเลอื ก
(Alternative Treatments)

• กฬี า การละเลน่ ดนตรี ศลิ ปะ
• การฝึกสติ น่ังสมาธิ
• Neurofeedback (EEG, HEG Biofeedback)
• Horse therapy

41

ชว่ ยพอ่ แม่ และครู

• เขา้ ใจเดก็
• เขา้ ใจตนเอง
• จดั การกบั ความทุกข์
• เห็นใจกันและกนั
• เตมิ พลงั ใหต้ นเอง
• อดทนกบั เดก็
• พฒั นาเด็ก

42

ภาวะบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
(Learning Disabilities: LD)

43

ลกั ษณะทพ่ี บ

• ดฉู ลาดหรอื ปกตใิ นทกุ เรอ่ื ง ยกเวน้ เรอ่ื งการเรยี น

• หลกี เลย่ี งวชิ าทตี่ อ้ งใชก้ ารอา่ น เขยี น หรอื คานวณ
• สะกดคาไมไ่ ดห้ รอื ไมถ่ กู
• อา่ นชา้ อา่ นขา้ ม หรอื อา่ นเพม่ิ คา
• สบั สนกบั ตัวอกั ษร เชน่ ค - ด, ถ – ภ, ม – น, พ – ผ,

b – d, p – q, 6 - 9 ฯลฯ
• ไมเ่ ขา้ ใจคา่ ของจานวน เชน่ หนว่ ย สบิ รอ้ ย พนั ....
• มคี วามบกพรอ่ งในการรับรู ้ การจับใจความ
• ผลการเรยี นไมค่ งเสน้ คงวา

44

ภาวะบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
คอื อะไร ?

• เป็ นความผดิ ปกตใิ นการเรยี นรใู้ นทกั ษะ
บางอยา่ งต่ากวา่ เด็กวยั เดยี วกนั อยา่ ง
ชดั เจน โดยทกั ษะทบี่ กพรอ่ งนน้ั ตา่ กวา่
ระดบั เชาวนป์ ญั ญาทเ่ี ด็กมแี ละเรยี นรไู้ ด้

45

พบบอ่ ยแคไ่ หน ?

• อตั ราการเกดิ โรค ประมาณ 5-10 %

46

แพทยว์ นิ จิ ฉยั ไดโ้ ดย

• ประวตั ิ
• การประเมนิ เพมิ่ เตมิ โดยแบบทดสอบทาง

จติ วทิ ยา

– IQ test
– WRAT test (the wide range achievement test)

47

พบไดก้ แี่ บบ ?

• ความผดิ ปกตจิ าเพาะของการอา่ น (Reading
Disorder/ Dyslexia)

• ความผดิ ปกตจิ าเพาะของการสะกดคา
(Specific Spelling Disorder)

• ความผดิ ปกตจิ าเพาะของทกั ษะทาง
คณติ ศาสตร์ (Mathematics Disorder/
Specific disorder of arithmetical skills)

อาจพบมคี วามบกพรอ่ งทกั ษะดา้ นใดดา้ นหนงึ่
หรอื พบรว่ มกนั

48

อาการ
ความบกพรอ่ งของการอา่ น

• มปี ัญหาในการจดจาและสะกดคาตามเสยี งพยญั ชนะ สระ ตวั สะกด
และวรรณยกุ ต์

• อา่ นหนังสอื ไมอ่ อก อา่ นชา้ มคี วามยากลาบากในการอา่ นหนังสอื
อา่ นคาศพั ทย์ ากๆ ไมไ่ ด ้

• เด็กสามารถเขา้ ใจภาษาไดด้ ี หากเด็กฟังหรอื มคี นอา่ นหนังสอื ให ้
ฟัง หรอื ฟังจากเทป แต่ถา้ ใหอ้ า่ นเองเด็กจะอา่ นไมไ่ ด ้อา่ นไม่
เขา้ ใจหรอื จบั ใจความไมไ่ ด ้

• อา่ นคาโดยสลับตัวอกั ษร เชน่ กบ เป็ น บก
• อา่ นคาศัพทผ์ ดิ เพยี้ นจากคาเดมิ เดาคาจากตัวอกั ษรแรก เชน่

เพอื่ นอา่ นเป็ นพ่ี เทยี่ วอา่ นเป็ นท่ี เขาอา่ นเป็ นขา

49

อาการ
ความบกพรอ่ งของการอา่ น

• ไมเ่ ขา้ ใจวา่ ตวั อกั ษรใดมากอ่ น มาหลัง ตวั อกั ษรใดอย่ซู า้ ยหรอื ขวา
• ไมส่ ามารถแยกเสยี งสระในคาไดห้ รอื แยกคาศัพทใ์ นการอา่ นไมไ่ ด ้

เชน่ แมลง อา่ นวา่ แม – ลง หรอื มะ – แลง – ลง
• สรปุ ใจความของการอา่ นไมไ่ ด ้
• ขาดความสนใจและหลกี เลยี่ งการอา่ นหนังสอื เพราะการอา่ นเป็ น

เรอื่ งยากสาหรบั เด็ก
• เมอื่ อา่ นวชิ าภาษาไทยไมไ่ ด ้วชิ าอน่ื ๆทต่ี อ้ งใชท้ ักษะการอา่ นก็จะมี

ปัญหาเชน่ เดยี วกนั

50


Click to View FlipBook Version