อาการและอาการแสดง
• ดา้ นปฏสิ มั พนั ธก์ บั บุคคลอนื่
(Social Interaction)
– ไมใ่ ชภ้ าษาทา่ ทาง เชน่ ไมส่ บตา ไมแ่ สดงสหี นา้
– สรา้ งความสมั พนั ธก์ ับเพอ่ื นไมเ่ หมาะสมกับอายุ
– ไมอ่ ยากเขา้ รว่ มสนกุ รว่ มทาสง่ิ ทสี่ นใจ กับคนอน่ื ๆ
– ไมม่ อี ารมณ์ตอบสนองกบั สังคม
101
อาการและอาการแสดง (ตอ่ )
• ดา้ นภาษาและการสอ่ื สาร (Language and
Communication)
– พัฒนาการในการพดู ชา้ หรอื ไมพ่ ดู เลย
– ไมส่ ามารถเรมิ่ พดู หรอื สนทนาตอ่ เนอ่ื งได ้
– ใชค้ าพดู ซา้ ๆ หรอื ใชภ้ าษาทไ่ี มม่ ใี ครเขา้ ใจ
– ไมม่ กี ารเลน่ สมมติ หรอื เลน่ ตามจนิ ตนาการ
102
อาการและอาการแสดง (ตอ่ )
• ดา้ นกจิ กรรมทที่ าและความสนใจ
(Activities and Interest)
– หมกมนุ่ กับพฤตกิ รรมซา้ ๆ และมคี วามสนใจอยา่ ง
จากดั
– ตดิ กบั กจิ วัตร หรอื ย้าทาบางอย่างทไี่ มม่ ี
ประโยชน์ โดยไมย่ ดื หยนุ่
– ทากริ ยิ าซ้าๆ เชน่ เลน่ สะบดั มอื หมนุ โยกตวั
เขยง่ เทา้
– สนใจหมกมุ่นกบั เพยี งบางสว่ น
ของวตั ถุ
103
104
105
สาเหตุ การพัฒนาของสมองตัง้ แต่อย่ใู นครรภ์
พยาธสิ ภาพทีส่ มอง
โรคทางสมอง
เชน่ ลมชกั สารสือ่ ประสาท
สารเคมี การทางานของเซลลส์ มอง
พันธกุ รรม 106
ภาวะแทรกซอ้ นกอ่ น/หลงั คลอด
การดแู ลรกั ษา
ครอบครวั
เดก็ แพทย ์
(สาธารณสขุ )
ครู
(การศกึ ษา) 107
แนวทางการรกั ษาและฟ้ื นฟู
สมรรถภาพ
• สง่ เสรมิ พฒั นาการ ทกั ษะการเรยี นรดู ้ า้ นตา่ งๆ
ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม กจิ กรรมบาบัด แกไ้ ขการพดู
ฯลฯ
• เสรมิ สรา้ งทกั ษะสงั คม เสรมิ สรา้ งความภาคภมู ใิ จใน
ตนเอง และพัฒนาศกั ยภาพดา้ นอน่ื ๆ
• ใหค้ าปรกึ ษา จติ บาบดั ครอบครัวบาบัด ตามสภาพ
ปัญหาและความจาเป็ น
• เสรมิ สรา้ งศักยภาพการอบรมเลยี้ งดขู องผปู ้ กครอง
ชว่ ยเหลอื ครอบครวั
108
แนวทางการรกั ษาและฟ้ื นฟู
สมรรถภาพ (ตอ่ )
• การรักษาดว้ ยยา และรักษาโรคทพี่ บรว่ มดว้ ย ทพ่ี บ
บอ่ ย เชน่ สมาธสิ ัน้ ปัญหาทางจติ ใจ อารมณ์ และ
พฤตกิ รรม โรคลมชกั
• การบาบดั รกั ษาทางเลอื กอน่ื ๆ และการใชเ้ ทคโนโลยี
สงิ่ อานวยความสะดวกสาหรับคนพกิ าร
• ฟื้ นฟสู มรรถภาพทางการศกึ ษา จัดทาแผนการศกึ ษา
รายบคุ คล
• ฟื้ นฟสู มรรถภาพทางสงั คม อาชพี และการดแู ลใน
ชมุ ชน
109
แนวทางการรกั ษาและฟ้ื นฟู
สมรรถภาพ (ตอ่ )
• การตัดสนิ ใจเลอื กใชโ้ ปรแกรมใดก็ตาม ขนึ้ อยกู่ บั อาการ
ทางคลนิ กิ (Clinical Judgment) เป็ นสาคญั เชน่
แยกตัว ไมร่ ว่ มมอื ไมน่ ง่ิ ไมม่ สี มาธิ ไมร่ กู ้ าลเทศะ ขาด
ทกั ษะสงั คม เป็ นตน้ และปัจจัยดา้ นทรพั ยากรสนับสนุน
(Available Local Resources) ทม่ี อี ยู่
• ผลลัพธ์ ขน้ึ อยกู่ บั
– ดูแลรักษาเร็ว และต่อเน่ือง (Early Intervention,
Continuity)
– ศักยภาพ (Level of Function) ไดแ้ ก่ ระดับสตปิ ัญญา
ภาษาพูด ทักษะสงั คม
110
การรกั ษาดว้ ยยา
• ไมช่ ว่ ยในเรอ่ื งการเสรมิ สรา้ งทักษะสงั คม ซงึ่ เป็ น
ปัญหาหลกั ในกลมุ่ ออทสิ ตกิ
• มกั ไดผ้ ลในปัญหาดา้ นตา่ งๆ ดังนี้
– สมาธสิ นั้ (Short Attention Span)
– อยู่ไมน่ ิง่ (Hyperactivity)
– กา้ วรา้ วรุนแรง (Aggressive)
– หมกมนุ่ (Obsessive Preoccupation)
111
Risperidone
• องคก์ ารอาหารและยา ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ยอมรับ
สาหรับการรกั ษา ดงั ตอ่ ไปนี้
– ภาวะอารมณไ์ มค่ งที่ ในผปู ้ ่ วยออทสิ ตกิ ทัง้ เด็กและวัยรุ่น
– ภาวะกา้ วรา้ ว
– การทารา้ ยตนเอง
– การอาละวาดเมอื่ ไมไ่ ดด้ ่งั ใจ
• ผลขา้ งเคยี งทพ่ี บบอ่ ย ไดแ้ ก่ น้าหนักขนึ้ , เจรญิ อาหาร,
ออ่ นเพลยี , งว่ งซมึ , เวยี นศรี ษะ, น้าลายยดื , อาการสน่ั
และทอ้ งผกู แตค่ วามรนุ แรงนอ้ ย และมกั หายไปใน 2-3
สัปดาห์
112
Methylphenidate
• นามาใชใ้ นการรกั ษาอาการอยไู่ มน่ งิ่ ในเด็กออทสิ ตกิ
พบวา่ ไดผ้ ลดี โดยเฉพาะในกลมุ่ ออทสิ ตกิ ทม่ี ศี กั ยภาพ
สงู (higher-functioning ASD) มอี ัตราการตอบสนอง
49% ซง่ึ นอ้ ยกวา่ การนาไปใชใ้ นกลมุ่ สมาธสิ ัน้ ซง่ึ มี
อัตราการตอบสนอง 70-80%
• ผลขา้ งเคยี งจากยาทพ่ี บไดบ้ อ่ ยคือ อาการหงดุ หงดิ
งา่ ย (irritability) พบไดถ้ งึ 18% และเมอื่ ใชย้ าขนาด
สงู มักพบอาการ เบอื่ อาหาร นอนยาก และไมส่ บาย
ทอ้ ง บางรายพบอาการแยกตวั มากขนึ้ ดว้ ย
113
SSRIs
(selective serotonin reuptake inhibitors)
• มกี ารนามาใชใ้ นเด็กออทสิ ตกิ เพอ่ื ลดอาการพฤตกิ รรม
ซา้ ๆ หรอื พดู ซา้ ๆ ทมี่ คี วามสัมพนั ธก์ ับความวติ กกงั วล
(rituals associated with anxiety) และชว่ ยลด
พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (aggression)
• ยงั ไมม่ ผี ลการศกึ ษาวจิ ัยเปรยี บเทยี บยนื ยนั ประสทิ ธภิ าพ
การรกั ษาในกลมุ่ เด็กออทสิ ตกิ
114
115
116
ปัญหา
พฤติกรรม-อารมณ์
ในเด็กวยั เรยี นและ
แนวทางการช่วยเหลือ
117
เมอ่ื ไหรท่ ตี่ อ้ งใหก้ ารชว่ ยเหลอื ?
• ปญั หานนั้ เกดิ ขนึ้ บอ่ ยๆ เป็ นประจา
• ปญั หานน้ั ไมเ่ คยเกดิ ขน้ึ แตเ่ กดิ ขน้ึ บอ่ ยๆในช่วงน้ี
• ปญั หานน้ั สง่ ผลเสยี ตอ่ ตวั เด็ก และคนรอบขา้ ง
อยา่ งชดั เจน เชน่ เด็กหรอื เพอื่ นบาดเจ็บ ผลการ
เรยี นตกลงอยา่ งมาก
• ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ นนั้ ไมเ่ หมาะสมกบั วยั และ
พฒั นาการ
• ปญั หานนั้ มคี วามรนุ แรงมากขน้ึ
• มปี ญั หาหลายอยา่ งรว่ มกนั
118
เด็กทม่ี ปี ญั หาอารมณ์
• เด็กทมี่ ภี าวะวติ กกงั วล
• ภาวะกลวั ในเด็กวยั เรยี น
• เด็กกลวั การไปโรงเรยี นหรอื เด็ก
ปฏเิ สธการไปโรงเรยี น
• เด็กทมี่ ปี ญั หาพฤตกิ รรมทารา้ ยตวั เอง
หรอื พยายามฆา่ ตวั ตาย
119
เด็กทม่ี ภี าวะวติ กกงั วล
120
ภาวะวติ กกงั วลคอื อะไร ?
• ภาวะวติ กกังวล เป็ นภาวะอารมณ์ทเ่ี กดิ จากความคดิ
ทคี่ าดเดาเหตกุ ารณล์ ว่ งหนา้ วา่ อาจเกดิ เหตกุ ารณท์ ่ี
ไมพ่ งึ ประสงคข์ นึ้
• เกดิ ขน้ึ ไดต้ ามปกตใิ นเดก็ วัยเรยี น
121
ภาวะวติ กกงั วลคอื อะไร ?
• ความกงั วลทอี่ ยใู่ นเกณฑป์ กตเิ ป็ นสง่ิ ทด่ี ี ทาใหเ้ ด็ก
รจู ้ ักเตรยี มพรอ้ ม วางแผน ระวังอนั ตรายทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
• ถา้ ความกังวลมมี ากเกนิ ไปจะเป็ นผลกระทบใหเ้ กดิ
ความทกุ ขใ์ จ สง่ ผลตอ่ ความสามารถในการเรยี นรู ้
การเรยี นในหอ้ งเรยี น ไมม่ สี มาธใิ นการเรยี น
โดยเฉพาะถา้ ภาวะวติ กกังวลเป็ นอยนู่ านจะมปี ัญหา
กระทบตอ่ การเรยี นและการปรับตัวไดม้ าก
122
ลกั ษณะของเดก็ ทมี่ คี วามวติ กกงั วล
ผดิ ปกติ
• มคี วามวติ กกงั วล ครนุ่ คดิ เกย่ี วกับสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ อยา่ งมาก
อยา่ งไมม่ เี หตผุ ล
• ใชเ้ วลามากกบั การพจิ ารณาเรอื่ งทวี่ ติ กกงั วล และ
ควบคมุ ความกงั วลไดย้ าก
• พยายามหลกี เลย่ี งเหตกุ ารณท์ ว่ี ติ กกงั วล เชน่ กังวลวา่
ครจู ะดุ จะพยายามหลกี เลย่ี งการไปโรงเรยี น
• ถา้ หลกี เลยี่ งไมไ่ ดแ้ ละตอ้ งเผชญิ เหตกุ ารณ์น่าวติ กกงั วล
จะมอี าการแสดงทางกาย เชน่ ใจเตน้ แรง หายใจไม่
ออก กระสับกระสา่ ย เหงอ่ื ออก คลนื่ ไส ้ ปวดหัว นอนไม่
หลบั เป็ นตน้
• การแสดงออกทางอารมณเ์ ครยี ด กระสับกระสา่ ย 123
หงดุ หงดิ ไมม่ ั่นใจในความสามารถตนเอง
เกดิ จากอะไร ?
• พันธกุ รรม
• การเลยี้ งดู
– คาดหวังสงู
– ปกป้องจนเกนิ ไป
• พน้ื อารมณ์ของเด็ก: พน้ื อารมณแ์ บบปรบั ตวั ชา้
• มปี ระสบการณ์เลวรา้ ยในอดตี ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ จติ ใจ
และไมไ่ ดร้ บั การดแู ลแกไ้ ขอยา่ งถกู ตอ้ ง
124
การชว่ ยเหลอื
• ผเู ้ กย่ี วขอ้ งเขา้ ใจปัญหารว่ มกนั
• รวบรวมประวัติ
• ใหค้ าปรกึ ษาแกเ่ ด็กและครอบครัว
– ปรบั เปลยี่ นการเลย้ี งดู: ความคาดหวังทเี่ หมาะสม การให ้
กาลงั ใจ การเปิดโอกาสใหเ้ ด็กแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง
– ใหเ้ ด็กเหน็ ถงึ ความกงั วลของตนและผลกระทบ
– ปรบั เปลยี่ นมมุ มองและเผชญิ ความกงั วลอยา่ งคอ่ ยเป็ นค่อยไป
– วางแผนร่วมกนั
• การตดิ ตามผล
125
ภาวะกลวั ในเด็กวยั เรยี น
126
“กลวั ” อยา่ งไรจงึ ผดิ ปกติ
• ความกลัว เป็ นภาวะปกตทิ พี่ บไดใ้ นเดก็ วยั เรยี น ความ
กลัวทพ่ี บไดท้ ัว่ ไปในเด็กวัยเรยี นไดแ้ ก่ การกลัวความ
มดื กลัวผี กลวั สัตวต์ า่ งๆ และโดยปกตแิ ลว้ ความกลวั
จะลดลงตามอายุ และไมม่ ผี ลกระทบกับการดาเนนิ
ชวี ติ ประจาวนั
127
“กลวั ” อยา่ งไรจงึ ผดิ ปกติ
• เด็กทมี่ คี วามกลวั ผดิ ปกตทิ จ่ี าเป็ นตอ้ งไดร้ ับการ
ดแู ล จะมลี กั ษณะดงั นี้
1. มสี งิ่ ทก่ี ลัวหรอื มสี ถานการณท์ ก่ี ระตนุ ้ ความกลวั อยา่ ง
ชดั เจน เชน่ กลวั การพดู หนา้ ชนั้ กลวั แมว โดยความกลัว
นนั้ ดูไมส่ มเหตสุ มผล
2. มกี ารหลกี เลยี่ งสง่ิ ทก่ี ลวั หรอื เลยี่ งสถานการณท์ กี่ ลวั
จนมผี ลกระทบกับชวี ติ ประจาวนั หรอื การเรยี น
3. ถา้ หลกี เลย่ี งสงิ่ ทก่ี ลวั หรอื สถานการณ์ทก่ี ลวั ไม่ได ้เมอ่ื
ตอ้ งเผชญิ หนา้ เดก็ จะมอี าการแสดงทางกาย ไดแ้ ก่
ตกใจกลวั อยา่ งมาก กรดี รอ้ ง รอ้ งไห ้หายใจเร็ว
กระสบั กระสา่ ยหาและพยายามหาทางพาตนเองออก
จากสถานทนี่ นั้
128
อาการกลวั ทเี่ กดิ จากภาวะทางจติ เวชเด็ก
• ความกลวั ทเ่ี กดิ จากโรคยา้ คดิ ยา้ ทา (Obsessive
compulsive disorder, OCD): มกั มคี วามกลัว
เกยี่ วกับ ความสกปรก เชอ้ื โรค เรอื่ งเพศ เชน่ กลัวเพศ
ตรงขา้ ม กลัวทอ้ ง หรอื มคี วามกลวั เกยี่ วกบั สงิ่ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ
เดก็ มักมคี วามคดิ วา่ ถา้ มอื จับลกู บดิ ประตู มอื จะโดนเชอ้ื
โรค ทาใหเ้ ดก็ ป่ วยหรอื ตาย ทาใหเ้ ดก็ หลกี เลยี่ งการจับ
สง่ิ ของตา่ งๆ และตามมาดว้ ยอาการยา้ ทาคอื การลา้ งมอื
บอ่ ยๆ
• ความกลวั ทเ่ี กดิ จากโรคกลวั (Specific phobia):
มคี วามกลัวตอ่ สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ หรอื สถานการณ์ใดๆเป็ น
อยา่ งมาก อยา่ งไมม่ เี หตผุ ลทส่ี มควร รว่ มกบั การ
หลกี เลย่ี งการเผชญิ กบั สง่ิ ทก่ี ลัว จนมผี ลตอ่ การดาเนนิ
ชวี ติ ประจาวันและการเรยี น
129
การชว่ ยเหลอื
• แยกจากกลัวปกติ
• ถา้ สงสัย โรคย้าคดิ ยา้ ทา (OCD): สง่ พบแพทย์
• ถา้ เป็ นกลวั ผดิ ปกตติ อ่ สง่ ใดสง่ิ หนงึ่
– ใหเ้ ด็กเห็นถงึ ความกงั วลของตนและผลกระทบ
– ซกั ประวตั สิ งิ่ ทก่ี ลวั เรยี งลาดบั จากมากไปนอ้ ย
– ฝึกเผชญิ กบั สง่ิ ทก่ี ลัวทลี ะนอ้ ย ไมเ่ ร่งรดั ใหก้ าลงั ใจ
• การตดิ ตามผล
130
เด็กกลวั การไปโรงเรยี นหรอื เด็ก
ปฏเิ สธการไปโรงเรยี น
131
เดก็ กลมุ่ ใดทเี่ สยี่ ง? 132
• เจ็บป่ วยตอ้ งหยดุ เรยี นมากอ่ น และเป็ น
ชว่ งตอ้ งกลบั มาเรยี น หรอื มปี ระวัตหิ ยดุ
เรยี นบอ่ ยๆ
• มเี หตกุ ารณก์ ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ขน้ึ ใน
บา้ น เชน่ มบี คุ คลสาคัญเสยี ชวี ติ การหยา่
รา้ งของพอ่ แม่ หรอื มคี วามรนุ แรงทารา้ ย
กนั ในครอบครัว
• มภี าวะทางจติ เวชเดก็ เดมิ อยกู่ อ่ น เชน่
เป็ นเดก็ ปรบั ตวั ยาก ขกี้ งั วล ตดิ แม่ อยู่
เดมิ
• มปี ระวัตคิ รอบครัวเป็ นโรควติ กกังวลหรอื
โรคซมึ เศรา้
เกดิ จากสาเหตใุ ดไดบ้ า้ ง?
• เป็ นการปรับตัวตอ่ ความเครยี ดจากสถานการณบ์ างอยา่ ง
ทผี่ ดิ ปกติ
• เดก็ มภี าวะวติ กกงั วลทเี่ ป็ นภาวะทางจติ เวช เชน่ ภาวะ
วติ กกังวลตอ่ การพลัดพราก (Separation anxiety
disorder) ซงึ่ จะมอี าการดังน้ี มคี วามกังวลวา่ จะเกดิ
อันตรายตอ่ ผปู ้ กครองหรอื ตนเอง
• เด็กมภี าวะซมึ เศรา้
• กลมุ่ เดก็ หนเี รยี น มปี ัญหาพฤตกิ รรม
• ครอบครวั ไมใ่ หค้ วามสาคญั ตอ่ การเรยี น มปี ัญหา
เศรษฐกจิ เก็บเดก็ ไวท้ บี่ า้ น หรอื ขาดการฝึกวนิ ัย
133
การชว่ ยเหลอื
• ดแู ลและใหค้ าปรกึ ษาตามสาเหตุ โดยความรว่ มมอื
จากครอบครวั และโรงเรยี น
• ลดความสบายเมอ่ื อยบู่ า้ น เพมิ่ ทา่ ทจี รงิ จัง ลดการ
ใชอ้ ารมณ์
• แกไ้ ขปัญหาการเลยี้ งดหู รอื ปัญหาครอบครัวทเ่ี ป็ น
ตวั กระตนุ ้ ใหม้ อี าการหรอื ทาใหอ้ าการคงอยู่
134
การชว่ ยเหลอื
• การจัดหาเพอ่ื น การจัดเตรยี มสถานทใ่ี หเ้ ดก็ พกั ถา้ อยใู่ น
หอ้ งเรยี นไมไ่ หว
• ระวงั การมสี ทิ ธพิ เิ ศษมากเกนิ ไปทโี่ รงเรยี น
• หลกี เลยี่ งการลงโทษรนุ แรง หรอื พดู ใหเ้ ด็กอาย และไม่
แกป้ ัญหาพฤตกิ รรมทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งวนั โดยการ
สง่ กลบั บา้ น
• ประสานระหวา่ งทบี่ า้ นและทโี่ รงเรยี น
135
เด็กทมี่ ปี ญั หาพฤตกิ รรมทารา้ ย
ตวั เองหรอื พยายามฆา่ ตวั ตาย
136
ถอื เป็ นภาวะสาคญั และเรง่ ดว่ นในการ
ดแู ลใหค้ าปรกึ ษา แกไ้ ขปญั หา หรอื
พจิ ารณาสง่ ตอ่ อยา่ งรวดเร็ว
137
สาเหตุ
• ภาวะซมึ เศรา้ ในเด็ก
• มสี าเหตทุ าใหเ้ ด็กเกดิ ความเครยี ดอยา่ งรนุ แรง
• มโี รคทางกายทเี่ จ็บป่ วยเรอ้ื รงั สนิ้ หวงั ในการรักษา รสู ้ กึ
ตนเองเป็ นภาระ
• ตอ้ งการตอบโตห้ รอื แกแ้ คน้ บคุ คลสาคัญ ลงโทษผอู ้ น่ื
ใหเ้ สยี ใจ แตไ่ มส่ ามารถแสดงออกไดโ้ ดยตรง
• เกดิ อารมณ์เศรา้ หรอื ประสาทหลอนจากการใชส้ ารเสพ
ตดิ
138
การชว่ ยเหลอื
• ปรกึ ษาผเู ้ ชยี่ วชาญโดยเร็ว
• พยายามแกไ้ ขความคดิ ทเ่ี ด็กอาจเขา้ ใจผดิ ดว้ ยทา่ ทที ่ี
นุ่มนวล ชใ้ี หเ้ ด็กเห็นถงึ ผลกระทบ
• ชว่ ยเด็กหาทางเลอื กอน่ื ๆในการแกไ้ ขปัญหา และชว่ ย
เด็กวางแผนแกไ้ ขปัญหาอยา่ งเป็ นขนั้ ตอนและเป็ น
รปู ธรรม
• ชใี้ หเ้ ห็นขอ้ ดี คณุ คา่ ในตัวเดก็
139
การชว่ ยเหลอื
• แนะนาใหพ้ อ่ /แม/่ ผปู ้ กครอง ใหอ้ ยดู่ แู ลเด็ก พดู คยุ กับ
เดก็ สรา้ งบรรยากาศทอี่ บอนุ่ ผอ่ นคลาย ไมต่ าหนิ
พฤตกิ รรมทผี่ า่ นมา และไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ดก็ อยคู่ นเดยี วตาม
ลาพัง และเก็บอาวธุ ของมคี ม สง่ิ ของ ยา ทเ่ี ดก็ สามารถ
ใชท้ ารา้ ยตนเองได ้
• ถา้ เด็กมปี ัญหาพฤตกิ รรม เชน่ ดอื้ อาละวาด หรอื ขทู่ า
รา้ ยจะทารา้ ยตนเอง ใหพ้ อ่ แม/่ ผปู ้ กครอง จัดการ
พฤตกิ รรมดว้ ยอารมณ์ทส่ี งบ หนักแน่น ไมต่ นื่ ตระหนก
ใชก้ ารพดู คยุ จนกวา่ เด็กจะสงบ แตไ่ ม่ ตามใจ หรอื ให ้
สทิ ธพิ เิ ศษ
140
เด็กทม่ี ปี ญั หาพฤตกิ รรม
• เด็กลกั ขโมย
• เด็กพดู โกหก
• เด็กกา้ วรา้ ว
• เด็กหนโี รงเรยี น
• เด็กตดิ เกม
141
เด็กลกั ขโมย
142
คอื อะไร ?
• พฤตกิ รรม “ลักขโมย” ใชเ้ รยี กในเดก็ อายตุ ัง้ แต่ 6 ขวบ
ทหี่ ยบิ สงิ่ ของของผอู ้ น่ื โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต เนอ่ื งจาก
วัยนีเ้ ป็ นวยั ทเี่ ขา้ ใจเรอ่ื งสทิ ธแิ ละสมบัตสิ ว่ นตัวไดเ้ ต็มที่
แลว้ และรวู ้ า่ การลักขโมยเป็ นสงิ่ ผดิ
• พฤตกิ รรมลักขโมยอาจมลี ักษณะการกระทาและความ
มงุ่ หมายแตกตา่ งกนั ไปแตล่ ะอายแุ ละแตล่ ะราย
143
มลี กั ษณะใดไดบ้ า้ ง ?
• เด็กทว่ี างแผนขโมยอยา่ งแยบยล กับเดก็ ทก่ี ระทาอยา่ ง
ไมม่ กี ารวางแผน
• เด็กทน่ี านๆ ขโมยสักครัง้ ดว้ ยเหตผุ ลตา่ งๆ ตา่ งกบั เด็ก
ทกี่ ระทาเป็ นนสิ ยั
• เดก็ ทเี่ ลอื กขโมยเฉพาะสงิ่ ทต่ี อ้ งการ กับเด็กทขี่ โมย
แบบไมเ่ ลอื กชนดิ ของสง่ิ ของ
• เดก็ ทจี่ ะขโมยตามกลมุ่ เพอ่ื น กบั เด็กทก่ี ระทาคนเดยี ว
• เดก็ ทอ่ี าจขโมยเฉพาะของทข่ี โมยงา่ ยๆ ไมต่ อ้ ง
เผชญิ หนา้ กบั เจา้ ของ กบั เดก็ ทอี่ าจเขา้ ขม่ ขโู่ ดยตรง
แบบโจรปลน้
144
สาเหตุ
• เด็กทไี่ มต่ ระหนักถงึ สทิ ธกิ ารเป็ นเจา้ ของ ทัง้ ของตนเอง
และผอู ้ นื่ ซง่ึ อาจเกดิ จากการขาดการอบรมชน้ี า บาง
ครอบครวั ถอื วา่ ทกุ อยา่ งในบา้ นทกุ คนถอื สทิ ธไ์ิ ด ้ หรอื
เดก็ บางคนมาจากสภาพบา้ นทแ่ี ออัด สาเหตนุ พ้ี บตงั้ แต่
ในเดก็ ประถมตน้
• เดก็ มคี วามรสู ้ กึ อยากไดอ้ ยากมสี งู จากสภาพครอบครวั
ทมี่ คี วามขาดแคลนหรอื การเลย้ี งดทู ท่ี าใหเ้ ด็กรสู ้ กึ ขาด
ตอ้ งการสงิ่ ของมาทดแทน
145
สาเหตุ
• เด็กบางคนทาเพอื่ ใหต้ นคงสถานะไดใ้ นหมเู่ พอ่ื น ใหเ้ ป็ นที่
ยอมรบั วา่ มหี รอื ทาเป็ นเหมอื นกนั มกั พบในเดก็ ทอ่ี าจมี
ปมดอ้ ย มที ักษะในการเขา้ สังคมตา่
• มลี กั ษณะเป็ นอาชญากร ซงึ่ มักทาเป็ นกลมุ่ แกง๊ ขโมยของ
มคี า่ และไมค่ อ่ ยยอมรับหรอื รสู ้ กึ วา่ เป็ นพฤตกิ รรมที่ผดิ
146
การชว่ ยเหลอื
• หเสกบลื นิ คกี กเน้วลแา่ ย่ี ลเงหะกตหาจุารนหลเลงดโกั ็กทฐกษาลนวั ใหเพแ้ รนา่ชะดัจะวนา่ เาดไก็ ปขสโกู่ มายรจพรูดงิ ปไดมข่ซอกั งถเดาม็กหเพรออื่ื ตาหนิ
• บแลอะกสใหงั คเ้ ดมก็ ดรวบั ้ ยรทวู ้ า่ า่ กทาทีรขสี่ โงมบยเป็ นสงิ่ ผดิ ไม่เป็ นทย่ี อมรบั ของครอบครวั
• ทยนืรายบันอย่างหนักแน่นใหเ้ ดก็ ชดใชห้ รอื นาสงิ่ ของทข่ี โมยไปคนื ทนั ทที ี่
• ผวนเเหดา่าปู ้ ก็เ็นสกดนแง่ิค็กาบขรหไอบอปยงองบิคมหยขนืาา่รคอจองื รงนกคื งิไารชปรคูแวพ่ โวลยดรดู ะไไยอแมปไธลใ่เมบิะปห่ไแ็านเด้กยดเชปใพ้ก็้ หาัญเอ่ื รกเ้นะจหดิ เเาางค้ดขขนิว็กออหาใงมงนรรผออืกา้ ใูไบัน้าหมรอคคญไ่าา้ดนืยห่ ขสเ้รกองอิ่ื นิขอเจไอนปา้งญุ ขเแพอาลตงอื่ ะสแใใลหงิ่หขะแ้เ้ตอดนอง็ก้่ใเงจไขกวดา้าา่ ใ้ รจ
• ไโอมก่คาวสรปแรละะจเกานดิ เกดาก็ ลใงั นใทจใชี่ นมุ กนามุ รชปนรบัหปรอืรงหุ ตนวั า้ ใชหนั้ มเ่รยี น เพอื่ ใหเ้ ด็กไดม้ ี
• หหสาลรอมื กี หาเรลมถยี่ดปงกรกาบั าลปรงับรใงุ่นจตใววันจิเกอาารงณรไปด์ รห้เบั นรเอือ่ืปตงลรจย่ีาานหกพนทฤา้าวตใา่หกิ อรเ้นดรมาก็ คเกตดิเดค็กวจามะเโปก็ นรขธแโมคยน้ หมราอืกไขมนึ้ ่
147
เด็กพดู โกหก
148
สาเหตุ
• ลักษณะบคุ ลกิ ภาพแบบตอ่ ตา้ นสังคม เรยี กรอ้ งความ
สนใจ มคี วามสขุ ความพอใจ สนกุ สนานในการสรา้ ง
เรอ่ื งทไี่ มเ่ ป็ นจรงิ ใหผ้ อู ้ นื่ เชอ่ื สนใจ
• การอบรมเลยี้ งดทู ไี่ มถ่ กู ตอ้ ง รบั รู ้ เรยี นรู ้ เลยี นแบบจาก
บคุ คลในครอบครวั ผใู ้ กลช้ ดิ ทเี่ ป็ นแบบอยา่ ง พดู ไมจ่ รงิ
จนตดิ เป็ นเป็ นบคุ ลกิ นสิ ัย
• ประสบการณท์ ถี่ กู ลงโทษเมอ่ื พดู ความจรงิ จงึ ใชก้ ารพดู
โกหก เพอื่ ใหพ้ น้ ผดิ ไมถ่ กู ลงโทษ
• มปี มดอ้ ย ขาดความมน่ั คงทางจติ ใจ ไดร้ ับการตาหนดิ ู
ถกู จากผอู ้ นื่ ใชก้ ารพดู สรา้ งเรอื่ งไมจ่ รงิ ใหต้ นเองไมม่ ปี ม
ดอ้ ย มคี ณุ คา่ มคี วามสาคญั ไดร้ บั การยอมรบั จากผอู ้ น่ื
มากขนึ้
149
การชว่ ยเหลอื
• คยุ กบั เด็กอย่างจรงิ จงั ใหเ้ ขา้ ใจชดั เจนวา่ ไมต่ อ้ งการใหเ้ ด็กพดู โกหก
• จัดการอย่างจรงิ จงั เมอ่ื เด็กพดู โกหก เด็กตอ้ งไดร้ ับการจดั การอยา่ ง
จรงิ จัง โดยไมต่ าหนหิ รอื ลงโทษรนุ แรงเกนิ ไป แตใ่ นขณะเดยี วกนั
ตอ้ งไมป่ ล่อยผา่ นเรอ่ื งนไี้ ปโดยไมไ่ ดร้ บั การจัดการหรอื ทาคลา้ ยวา่
เป็ นเรอ่ื งธรรมดาและไมใ่ ชค่ วามผดิ เลย ทุกครงั้ ทเี่ กดิ เรอ่ื งขน้ึ ตอ้ งคยุ
กบั เด็กอยา่ งตรงไปตรงมา อย่าวพิ ากษ์วจิ ารณ์ หรอื ตาหนิตวั เด็ก แต่
บอกใหช้ ดั เจนวา่ สงิ่ ทเ่ี ด็กทานัน้ ไมถ่ ูกตอ้ ง ใหเ้ ด็กเล่าเรอ่ื งราวท่ี
เกดิ ขนึ้ ชว่ ยเด็กคดิ ว่าวธิ กี ารอน่ื ในการการแกไ้ ขปัญหาแทนการโกหก
บางครงั้ เด็กอาจโกหกเพราะเด็กไมร่ หู ้ รอื นึกวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาอน่ื
ไมไ่ ด ้
• ร่วมมอื กบั เด็กในการแกป้ ัญหาเด็กจาเป็ นตอ้ งรบั ผดิ ชอบในสง่ิ ทที่ า
และจดั การเรอ่ื งทเี่ กดิ ขนึ้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย แต่ไมค่ วรปล่อยใหเ้ ด็กทาคน
เดยี ว เพราะเด็กอาจทาคนเดยี วไมไ่ ด ้
• อยา่ ใหเ้ ด็กไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการโกหก
150