แผนปฏบิ ัติการ ปกี ารศึกษา 2565 ๑๙๖
ท่ี กิจกรรม / ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ค่าวัสดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย - งบประมาณ ดำเนินงาน
๔. ข้นั สรุปผลและประเมนิ ผล (A) ๑,๐๐๐ - มี.ค. ๖๖
- ประมวลผลการดำเนนิ งาน
หลงั จากได้ผลการทดสอบระดบั ชาติ
สรุปและสะท้อนผลการดำเนินงาน
กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการ ๒,๐๐๐
เรียน RT ,NT และ O-NET
กจิ กรรมท่ี ๑๑ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นดา้ น 1,000 9,000 ๑๐,๐๐๐ ตลอดปี
ทัศนศลิ ป์ การศึกษา
ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวปรีญารัชน์ แสนพิมพ์ 256๕
กระบวนการดำเนนิ งาน มิถุนายน
๑. ขั้นวางแผน (P) ๒๕๖๕
- เสนอโครงการ ตลอดปี
- วางแผน/ประชุม/คณะครู ๑,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐ การศึกษา
ผู้ดำเนนิ งาน
๒. ขั้นดำเนนิ กจิ กรรม (D) ตลอดปี
ดำเนนิ กจิ กรรม การศกึ ษา
-ฝึกทกั ษะสรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์
๓. ข้นั นิเทศตดิ ตามผล (C) - ตลอดปี
-ครผู ู้รบั ผดิ ชอบติดตามผลการ การศึกษา
ดำเนินงาน
-รับการนเิ ทศติดตามผลจากฝ่าย ๒1,๕๐๐ 503,592 525,092
บรหิ ารงานโรงเรยี นวดั แม่แกด้ น้อย
๔. ขัน้ สรุปผลและประเมนิ ผล (A)
- ปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ ีการดำเนิน
กจิ กรรม
- สรปุ ผลการดำเนินกิจกรรม
รวมงบประมาณทั้งส้นิ
หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยทกุ รายการ
๕. ใชง้ บประมาณ จำนวน 525,092 บาท (หา้ แสนสองหมื่นหา้ พนั เกา้ สบิ สองบาทถว้ น)
แผนปฏบิ ตั ิการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๑๙๗
๖. การวัดและประเมินผลโครงการ
ตวั บ่งช้สี ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วธิ ีวดั และประเมินผล เครอื่ งมอื ท่ีใช้
ด้านปริมาณ - แบบประเมินโครงการ
๑. นักเรียนร้อยละ ๓๐ ได้รับการ - สังเกต การจัดกจิ กรรม - แบบสำรวจความพงึ พอใจ
- แบบบันทึกรกั การอ่าน
พัฒนาขีดความสามารถของนักเรียนใน - การรายงานผล - แบบประเมนิ
การเข้าแข่งขันทักษะวิชาการในด้านต่าง การจัดกิจกรรม การทำงาน
ๆ เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรม กล้า - แบบสงั เกต - แบบทดสอบการวัดระดบั ทาง
ภาษา
แสดงออกทางความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ -แบบสำรวจความพงึ พอใจ - แบบสัมภาษณ์
และพฒั นาทักษะในการแข่งขันวชิ าการ - แบบบันทึกรกั - เกียรติบตั ร
- ภาพถา่ ย
๒. นักเรียนทุกระดับชั้นได้รับการ การอา่ น
ส่งเสริมการอ่านหนังสือในเวลาว่างจาก - ประเมินการทำงาน
การเรียน ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ของนกั เรียน
และฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์จากเร่ืองท่ี - ผลการทดสอบการวัดระดบั
อ่านและตอบคำถามได้ ทางภาษา
๓. นักเรียนรอ้ ยละ ๘๐ ได้รับส่งเสริมให้ - การสัมภาษณ์
มีการจัดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ
จริงเพื่อให้เกิดทักษะพื้นฐานในงานอาชีพ
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
และส่งเสริมพัฒนาทักษะการสื่อสารและ
กระบวนการทำงานรว่ มกัน
๔. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้ทราบงาน
ประชาสัมพันธข์ องโรงเรียนให้เผยแพร่ตอ่
นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร
ชุมชน และส่งเสริมทักษะกา รพูด
ประชาสัมพนั ธ์สำหรบั นักเรยี น
๕. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุก
คนได้รับการส่งเสริมมิตรภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและญี่ปุ่น
ส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาที่สองให้กับ
ครู และนักเรียนของโรงเรียนวัดแม่แก้ด
น้อย สรา้ งองค์ความรูอ้ ย่างย่ังยนื สามารถ
ถ ่ า ย ท อ ด ใ ห ้ แ ก ่ ผ ู ้ อ ื ่ น ไ ด ้ อ ย ่ า ง มี
ประสิทธิภาพ และสร้างปฏิสัมพันธ์และ
มนุษย์สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนนักเรียน
ต่างภาษา ต่างวฒั นธรรม
๖. นักเรียนร้อยละ ๒๐ ได้รับการ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพการใช้ภาษาจีน
แผนปฏบิ ัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๑๙๘
ตัวบ่งชี้สภาพความสำเร็จของโครงการ วิธวี ดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมือท่ใี ช้
ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน
ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ทางด้าน
ภาษาจีนให้กับนักเรียนให้มีความเป็นเลิศ
ส่งสริมการเรียนการสอนและ
ประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียน
และสร้างความมั่นใจและความภูมิใจ
ทางดา้ นทกั ษะภาษาจีนให้กบั นักเรียน
๗. นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีความรู้ และ
ทักษะเกี่ยวกับหลักการและวิธีการ
สหกรณ์ สามารถนำความรู้ประสบการณ์
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปลูกฝังให้นักเรียน
มีการวางแผนในการใช้จ่าย และการ
ลงทนุ และปลกู ฝงั นิสยั รักการประหยัดอด
ออม ตลอดจนจัดหาสินค้าราคาถูกและ
คุณภาพดีมาบริการสมาชกิ สหกรณ์
๘. นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีส่วนร่วมใน
การรู้จักประหยัด อดออม และสามารถ
ดํารงชวี ติ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีความรู้
ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการ
ทํางาน ฝึกให้นักเรียนเป็นผู้มีวินัย มีความ
รับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความ
เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียด
รอบคอบในการทํางาน และเสียสละเพื่อ
ส่วนรวม และเปิดโอกาสให้นักเรียนฝึก
ทักษะการบริหาร การบริการ และการ
ทํางานอย่างมีขนั้ ตอน
๙. เพ่อื จดั ซ้ือวัสดอุ ุปกรณ์ในการตดั ผม
สำหรับนกั เรียนชายโรงเรียนวดั แมแ่ ก้ด
น้อย ปรับปรุงซ่อมแซมวัสดอุ ุปกรณใ์ น
การตดั ผม และสง่ เสริมทักษะในการ
ประกอบอาชีพ
๑๐. นักเรยี นร้อยละ ๗๐ ของนกั เรยี นชนั้
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่
๓ ใหม้ ีความสามารถในการอ่านออกเขยี น
ได้ และนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี
แผนปฏบิ ตั ิการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๑๙๙
ตัวบง่ ชสี้ ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วธิ วี ัดและประเมินผล เครอื่ งมอื ท่ีใช้
๑ - ๓ มีลายมือสวย และนกั เรยี นรอ้ ยละ - แบบประเมินโครงการ
๕๐ มผี ลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน - แบบสำรวจความพงึ พอใจ
(RT,NT, O-NET) ใหส้ ูงขึน้ ร้อยละ ๓ - แบบบันทึกรกั การอ่าน
- แบบประเมนิ
๑๑. นกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ การทำงาน
๑ - ๓ จำนวน ๒๗๐ คน เหน็ คณุ คา่ ของ - แบบทดสอบการวัดระดบั ทาง
ผลงานศลิ ปะและ มีทักษะปฏิบตั งิ าน ภาษา
- แบบสัมภาษณ์
ศิลปะตามความถนัด ความสามารถของ - เกียรติบตั ร
ตนเองตลอดจนนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน - ภาพถา่ ย
ดา้ นคณุ ภาพ
๑. นักเรียนมีการพัฒนาขีดความ - สงั เกต การจดั กจิ กรรม
สามารถของนักเรียนในการเข้าแข่งขัน - การรายงานผล
ทักษะวิชาการในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ การจัดกิจกรรม
นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรม กล้า - แบบสังเกต
แสดงออกทางความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ -แบบสำรวจความพงึ พอใจ
และพฒั นาทกั ษะในการแข่งขนั วชิ าการ - แบบบนั ทึกรัก
๒. นักเรียนมีการส่งเสริมการอ่าน การอา่ น
หนังสือในเวลาว่างจากการเรียน ให้ - ประเมินการทำงาน
นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน และฝึกให้ ของนกั เรยี น
นักเรียนคิดวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่านและ - ผลการทดสอบการวัดระดบั
ตอบคำถามได้ ทางภาษา
๓. นักเรยี นได้รบั สง่ เสริมให้มีการจัดการ - การสมั ภาษณ์
เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิด
ทักษะพื้นฐานในงานอาชีพ และสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ และส่งเสริม
พัฒนาทักษะการสื่อสารและกระบวนการ
ทำงานร่วมกัน
๔. นักเรียนพัฒนางานประชาสัมพันธ์
ของโรงเรียนให้เผยแพร่ต่อนักเรียน
ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร ชุมชน และ
ส่งเสริมทักษะการพูดประชาสัมพันธ์
สำหรบั นักเรยี น
๕. นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ได้รบั
ก า ร ส ่ ง เ ส ร ิ ม ม ิ ต ร ภ า พ ค ว า ม ส ั ม พ ั น ธ์
ระหว่างไทยและญี่ปุ่น ส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านภาษาที่สองให้กับครู และนักเรียน
ของโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย สร้างองค์
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๐๐
ตัวบ่งชส้ี ภาพความสำเร็จของโครงการ วธิ วี ัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื ที่ใช้
ความรู้อย่างยั่งยืนสามารถถ่ายทอดให้แก่
ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้าง
ป ฏ ิ ส ั ม พ ั น ธ ์ แ ล ะ ม น ุ ษ ย ์ ส ั ม พ ั น ธ ์ อ ั น ดี
ระหว่างเพื่อนนักเรียนต่างภาษา ต่าง
วัฒนธรรม
๖. นักเรียนมีการส่งเสริมพัฒนา
ศักยภาพการใช้ภาษาจีนของนักเรียนให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งเสริมและพัฒนา
ความรู้ทางด้านภาษาจีนให้กับนักเรียนให้
มีความเป็นเลิศ ส่งสริมการเรียนการสอน
และประสบการณ์การเรี ยนรู้น อก
ห้องเรียน และสร้างความมั่นใจและความ
ภูมิใจทางด้านทักษะภาษาจีนให้กับ
นักเรียน
๗. นักเรียนมีความรู้ และทักษะ
เกี่ยวกับหลักการและวิธีการ
สหกรณ์ สามารถนำความรู้ประสบการณ์
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปลูกฝังให้นักเรียน
มีการวางแผนในการใช้จ่าย และการ
ลงทนุ และปลูกฝังนสิ ัยรักการประหยัดอด
ออม ตลอดจนจัดหาสินค้าราคาถูกและ
คณุ ภาพดีมาบรกิ ารสมาชิกสหกรณ์
๘. นักเรียนมีส่วนร่วมในการรู้จัก
ประหยัด อดออม และสามารถดํารงชีวิต
แบบเศรษฐ กิจพอเพียง มีคว ามรู้
ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการ
ทํางาน ฝึกให้นักเรียนเป็นผู้มวี ินัย มีความ
รับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความ
เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียด
รอบคอบในการทํางาน และเสียสละเพ่ือ
ส่วนรวม และเปิดโอกาสให้นักเรียนฝึก
ทักษะการบริหาร การบริการ และการ
ทาํ งานอย่างมีขั้นตอน
๙. เพอื่ จัดซอ้ื วสั ดอุ ุปกรณ์ในการตดั ผม
สำหรบั นกั เรียน ปรับปรุงซ่อมแซมวสั ดุ
อปุ กรณ์ในการตัดผม และสง่ เสริมทักษะ
ในการประกอบอาชีพ
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๐๑
ตัวบง่ ชีส้ ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วธิ ีวัดและประเมินผล เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้
๑๐. นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ - ชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ใหม้ ีความสามารถใน
การอา่ นออกเขียนได้ และนักเรยี นช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ - ๓ มีลายมือสวย
และนกั เรยี นมีผลการทดสอบระดับชาติ
ข้ันพ้นื ฐาน (RT,NT, O-NET) ให้สงู ขน้ึ
รอ้ ยละ ๓
๑๑ นักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี
๑ - ๓ เห็นคณุ ค่าของผลงานศลิ ปะและ มี
ทักษะปฏิบตั งิ านศลิ ปะตามความถนัด
ความสามารถของตนเองตลอดจนนำไปใช้
ในชีวติ ประจำวัน
๗. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ
๑. นักเรียนได้แสดงออกถึงความสามารถตามศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี ในการแสดงออก
ของนักเรียนอย่างสรา้ งสรรค์เป็นการน าชอื่ เสียงมาสู่โรงเรยี น
๒. นกั เรยี นมีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น สนใจแสวงหา คน้ คว้า ความรู้จากสื่อรู้ตา่ ง ๆ รอบตัวด้วยตนเอง
อย่างสม่ำเสมอ มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง สนุกสนานกับการเรียนรู้ สามารถใช้ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งใน
และนอกโรงเรียน และอทุ ยานการเรยี นรโู้ รงเรียนบา้ นเชิงดอย(ดอยสะเก็ดศกึ ษา) มรี ะบบสารสนเทศทม่ี ีประสิทธภิ าพ
๓. นักรียนเกิดทักษะพื้นฐานในงานอาชีพจากกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งมีทักษะการสื่อสารและ
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นตามศักยภาพของตนเอง ครูมีการจัดการเรียนรู้ด้วยการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
รวมท้ังประเมินผลผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบเพื่อนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ
๔. นักเรียนได้ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และนักเรียนพัฒนางาน
ประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนให้เผยแพร่ต่อนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร ชุมชน และส่งเสริมทักษะการพูด
ประชาสัมพนั ธส์ ำหรับนกั เรียน
๕. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับการส่งเสริมมิตรภาพความสัมพันธ์ระหว่างไทยและญี่ปุ่น ส่งเสริม
พัฒนาการด้านภาษาที่สองให้กับครู และนักเรียนของโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย สร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืนสามารถ
ถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างปฏิสัมพันธ์และมนุษย์สัมพันธ์อันดีระหว่ างเพื่อนนักเรียนต่าง
ภาษา ต่างวัฒนธรรม
๖. นกั เรียนที่มีความสนใจและมีความถนดั ดา้ นภาษาจีนได้พฒั นาความรคู้ วามสามารถทางด้านภาษาจีนให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น และส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความสามารถเพิ่มความมั่นใจและสร้างแรงจูงใจในการเรียน
ภาษาจีนให้กับนักเรียนทำใหน้ ักเรียนสามารถนำความรูท้ ไี่ ด้รับไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้
๗. นกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจในหลกั การของสหกรณ์ ใชส้ หกรณเ์ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้โดยการปฏิบัติจริง รู้จัก
พงึ่ ตนเอง มีความรบั ผิดชอบ ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ได้ซ้อื สนิ คา้ ทถี่ ูกและคณุ ภาพดี
๘. นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการประหยัดอดออม รู้จักวางแผนด้านการใช้จ่ายเงิน สามารถนำไปประยุกต์ใช้
ใน ชีวิตประจําวันไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวัย และมีทักษะการบริหาร การบริการ และการทํางานอย่าง มีขั้นตอน ได้รับ
ประสบการณ์จากกระบวนการทาํ งานของธนาคารโรงเรียน
๙. นักเรียนสามารถได้ใช้วัสดุอุปกรณ์ตัดผมที่ครบครั้นและห้องตัดผมมีวัสดุอุปกรณ์ในการตัดผมที่มี
ประสทิ ธิภาพพร้อมใชก้ ารไดต้ ามปกติ และนักเรยี นมที กั ษะในการประกอบอาชพี มากขนึ้ กวา่ เดมิ
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๐๒
๑๐. นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ให้มคี วามสามารถในการอา่ นออกเขยี นได้ และ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ มีลายมือสวย และนักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (RT,NT, O-
NET) ให้สงู ข้ึนร้อยละ ๓
๑๑. นกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ - ๓ เหน็ คุณคา่ ของผลงานศิลปะและ มที ักษะปฏบิ ตั ิงานศิลปะตาม
ความถนดั ความสามารถของตนเองตลอดจนนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
ลงชือ่ ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวศริ ิขวญั ถาชื่น)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
ผ้เู หน็ ชอบโครงการ ผเู้ ห็นชอบโครงการ
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
ลงช่อื ลงชื่อ
(นางสาวศิรขิ วญั ถาช่ืน) (นางสาวปรยี าภทั ร์ บุรมยช์ ัยสิน)
หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ
ความเหน็ ผ้อู นุมตั ิโครงการ
อนุมตั ใิ หด้ ำเนนิ การได้
ไมอ่ นมุ ัติ เพราะ..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
(ลงช่อื ).........................................................................
( นายณรงค์ ลมุ มา )
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั แม่แก้ดนอ้ ย
แผนปฏิบัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๐๓
โครงการ โรงเรียนนำร่องพืน้ ท่นี วตั กรรมการศึกษา
กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑ พัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ
กิจกรรมท่ี ๒ พฒั นากจิ กรรมการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะ
กิจกรรมท่ี ๓ สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน
กจิ กรรมที่ ๔ โรงเรยี นคณุ ภาพ SMT
กจิ กรรมท่ี ๕ หนึ่งครู หน่งึ นวัตกรรม
กิจกรรมท่ี ๖ NARONG MODEL
แผนงาน วชิ าการ
สอดคลอ้ งกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา
ขอ้ ท่ี 1 เพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นเต็มศักยภาพ
ข้อที่ 4 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 5 สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมและ
เหมาะสม
สอดคล้องมาตรฐานการศกึ ษา
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารจัดการ
ตัวช้ีวัด 2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน
ตัวชว้ี ดั 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ตัวชี้วดั 2.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
ตัวชี้วัด ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ได้
ตัวชี้วดั ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน
ตวั ชี้วดั ๓.๕ มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรุง
การจดั การเรยี นรู้
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นางสาวปรยี าภทั ร์ บรุ มยช์ ัยสนิ
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ โครงการต่อเนอ่ื ง
ระยะเวลาดำเนนิ การ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - ๓๑ มีนาคม 256๖
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หลักการและเหตุผล
โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อยเป็นโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด
เชียงใหม่ รุ่นที่ ๑ มีการดำเนินงานตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ขับเคลื่อนสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติพื้นที่
นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 ได้กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน รวมทั้งเพื่อดำเนินการให้มีการขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
อื่น 2) ลดความเหลอ่ื มล้ำในการศึกษา ๓) กระจายอำนาจและให้อิสระแก่หนว่ ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษานำ
ร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและ
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๐๔
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ ๔) สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วน
ท้องถ่นิ
ในการนี้เพื่อให้การขับเคลื่อนโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมเป็นไปตามวัต ถุประสงค์พระราชบัญญัติพื้นท่ี
นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 ในปีงบประมาณ 256๕ โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อยจึงจัดทำโครงการโรงเรียนนำร่อง
พื้นที่นวัตกรรม เพื่อส่งเสริม พัฒนาให้ผู้เรียน ครู และโรงเรียนมีคุณภาพตามมาฐานการที่กำหนด รวมทั้งมีการ
ขบั เคลื่อนสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปอย่างประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผลตอ่ ไป
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ
ผู้เรยี น รวมท้งั เพอื่ ดำเนนิ การใหม้ กี ารขยายผลไปใชใ้ นสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานอืน่
2.2 เพื่อนำหลักสูตรฐานสมรรถนะสู่การจดั การเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกับบริบทโรงเรยี นวัดแมแ่ ก้ดน้อย
๒.๓ เพ่ือสง่ ครูและบุคลากรใหส้ ามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรู้สู่ฐานสมรรถนะได้
3. เปา้ หมาย
3.1 เชงิ ปรมิ าณ
(1) ครูและบุคลากรรอ้ ยละ ๑๐๐ มีสว่ นรว่ มในการใช้และพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
(2) โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อยมีหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริหาร
หลักสตู ร
(๓) ผูเ้ รยี นร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยตี ามมาตรฐาน สสวท. ในทุกระดับชน้ั
(๔) ครูร้อยละ 90 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาและพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ทุกระดับชั้น ทั้งด้านเนื้อหา เทคนิคการสอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง
สะเต็มศึกษา การจัดการชั้นเรียน และอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้และเจตคติต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องนักเรียน
(5) โรงเรียนร้อยละ 80 ได้รับความร่วมมอื กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเสริมสร้างเครือข่ายความ
ร่วมมือทางวิชาการกับบุคลากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาและเครือข่ายภาคเอกชนในท้องถิ่น รวมถึง
มหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ
(6) ครูร้อยละ 100 สามารถสรา้ งนวัตกรรมท่นี ำไปใช้ในกระบวนการจดั การเรยี นการสอน
(7) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีแหล่งเรียนรู้ในการตระหนักรู้และเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์
พันธกุ รรมพืชในโรงเรียน
3.2 เชิงคุณภาพ
(1) ครรู อ้ ยละ ๗๐ สามารถออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้สู ฐู่ านสมรรถนะได้
(2) นกั เรียนรอ้ ยละ ๑๐๐ ได้รับการพฒั นาผา่ นหลักสตู รฐานสมรรถนะ
(๓) ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยตี ามมาตรฐาน สสวท. ในทุกระดับช้ัน
แผนปฏิบตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๐๕
(๔) ครไู ดร้ บั การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ทุก
ระดับชัน้ ทงั้ ด้านเนอื้ หา เทคนคิ การสอน การจดั การเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา การจดั การช้ันเรียน และอืน่ ๆ ที่
ส่งผลตอ่ การพัฒนาความรู้และเจตคตติ ่อการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของนักเรียน
(5) โรงเรียนได้รับความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทาง
วิชาการกบั บุคลากร และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องด้านการศกึ ษาและเครือข่ายภาคเอกชนในท้องถ่นิ รวมถงึ มหาวิทยาลัย
ตา่ ง ๆ
(6) ครูมีนวัตกรรมทนี่ ำไปใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น
(7) ผู้เรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการตระหนักรู้และเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชใน
โรงเรียน
4. กิจกรรมขั้นตอนการดำเนินงาน และรายละเอยี ดการใช้งบประมาณ
ที่ กจิ กรรม / ขั้นตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ค่าวัสดุ รวม ระยะเวลา
ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย ๑๑,๒๓๒ งบประมาณ ดำเนินงาน
๒๐,๒๓๒ ตลอดปี
กจิ กรรมที่ 1 พฒั นาหลักสตู รฐาน ๔,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๖,๒๓๒ การศึกษา
สมรรถนะ ๕,๐๐๐ (ใชง้ บจัดสรร
จาก สพฐ.) พ.ค. ๒๕๖๕
ผรู้ บั ผิดชอบ
นางสาวปรยี าภัทร์ บุรมยช์ ัยสิน และคณะ ๑๕,๒๓๒ ตลอดปี
การศึกษา
กระบวนการดำเนนิ งาน ๕,๐๐๐
๑. ขน้ั วางแผน (P) ก.ค. ๖๕
และ ธ.ค.๖๕
1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ าร กมุ ภาพนั ธ์
หลักสตู รฐานสมรรถนะ
2. ประชุมวางแผนการดำเนนิ งาน ๒๕๖๖
กจิ กรรม ๔,๐๐๐ ๕,๐๐๐ มีนาคม
3. ขออนุมตั ิการใช้เงินตามกจิ กรรม ๒๕๖๖
๒. ข้นั ดำเนินกิจกรรม (D)
จัดกจิ กรรมสร้างและพฒั นา
หลกั สูตรฐานสมรรถนะ
๓. ขั้นนิเทศตดิ ตามผล (C)
-ตรวจสอบ สรุป และรายงานผล - -
กจิ กรรม
- จัดนิทรรศการทางวิชาการเพ่ือ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอก
สถานศกึ ษา
๔. ขัน้ สรปุ ผลและประเมนิ ผล (A)
-สรุปและประเมินผลเพื่อปรับปรุง
กิจกรรม
แผนปฏิบตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๐๖
ท่ี กจิ กรรม / ขั้นตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ค่าวัสดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย งบประมาณ ดำเนนิ งาน
๑๓๐,๔๖๐ ตลอดปี
กิจกรรมท่ี ๒ การพัฒนากิจกรรมการ - - ๑๓๐,๔๖๐ การศกึ ษา
(ใช้งบจัดสรร
เรียนร้สู ่ฐู านสมรรถนะ จาก สพฐ.) พ.ค. ๖๕
ผู้รับผิดชอบ ๑๐๐,๐๐๐ ตลอดปี
การศึกษา
นางสาวปรยี าภทั ร์ บุรมย์ชัยสิน และคณะ ๓๐,๔๖๐
ก.ค. ๖๕
กระบวนการดำเนนิ งาน - - ๑๐๐,๐๐ ถงึ
๑. ขน้ั วางแผน (P) - - ๓๐,๔๖๐
ก.พ. ๖๖
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการ ๓๑ ม.ี ค. ๖๕
ดำเนนิ งาน
2. ประชมุ วางแผนการดำเนนิ งาน
กจิ กรรม
3. ขออนุมตั ิการใชเ้ งนิ ตามกิจกรรม
๒. ขั้นดำเนินกจิ กรรม (D)
-ครูผูส้ อนระดบั ช้ันประถมจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ส่ฐู านสมรรถนะ
ทีส่ อดคล้องกบั ธรรมชาตวิ ชิ า
-ประชุมสะท้อนผลอยา่ งน้อยเดอื น
ละ ๑ ครั้ง
๓. ขนั้ นเิ ทศตดิ ตามผล (C)
-นิเทศตดิ ตาม ผลการจดั การเรียนรู้
พรอ้ มใหค้ ำแนะนำ
- จัดนิทรรศการทางวิชาการเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอก
สถานศึกษา
๔. ขน้ั สรุปผลและประเมินผล (A)
-สรุปและประเมินผลเพื่อปรับปรุง
กจิ กรรม
กิจกรรมที่ ๓ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น - - ๔0,000 ๔0,000 1 พ.ค.6๕
ผรู้ บั ผิดชอบ นางสาวรสริน พันธุ - ถึง
กระบวนการดำเนินงาน 31 มี.ค.6๖
๑. ข้นั วางแผน (P)
-- - พ.ค.6๕
- แต่งตง้ั คณะทำงาน
- ขออนุมัติใช้เงิน
- จัดทำร่างแผนการจัดการเรียนรู้
- ประสานความร่วมมือกบั
หน่วยงานภายนอก
แผนปฏิบัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๐๗
ท่ี กจิ กรรม / ขั้นตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ค่าวสั ดุ รวม ระยะเวลา
ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ๔0,000 งบประมาณ ดำเนินงาน
- จัดเตรยี มสถานทแ่ี ละจดั ทำสวน - ๔0,000 1 ม.ิ ย. 6๕
- ถึง
พฤกษศาสตร์ในโรงเรยี น - - ๕0,000
๒. ขั้นดำเนินกจิ กรรม (D) 28 ก.พ. 6๖
15,000
- คณะครจู ดั ทำแผนการจดั การ
เรียนรู้โดยบูรณาการกจิ กรรมสวน
พฤกษศาสตร์ในโรงเรยี นอย่างนอ้ ย
คนละ 1 หน่วยการเรยี นรู้
- ดำเนนิ การตามหลกั องค์ประกอบ
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 5
๓. องค์ประกอบ - - - 31 ม.ี ค.6๖
ขัน้ นิเทศตดิ ตามผล (C) - 31 ม.ี ค.6๖
-ตรวจสอบ สรปุ และรายงานผล
๔. กิจกรรม - -
ขัน้ สรุปผลและประเมินผล (A)
-สรุปและประเมนิ ผลเพือ่ ปรับปรุง
กจิ กรรม
กจิ กรรมท่ี ๔ กจิ กรรมโรงเรียนคุณภาพ - - ๕0,000 1๗ พ.ค.6๕
SMT ถงึ
ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวรสริน พันธแุ ละ
31 ม.ี ค.6๖
คณะครผู สู้ อนวชิ าวทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
กระบวนการดำเนินงาน ๒๓ พ.ค.6๕
๑. ขนั้ วางแผน (P) ถึง
1. แตง่ ตงั้ คณะทำงานโรงเรียน 31 พ.ค.6๖
คุณภาพ SMT
2. ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน
กจิ กรรม
3. ขออนมุ ัติการใช้เงนิ ตามกิจกรรม
๒. ขัน้ ดำเนินกิจกรรม (D)
ดำเนนิ การขบั เคลื่อนกิจกรรม ดงั นี้
1. กจิ กรรมการเรียนรู้ตามแนว - - ๑5,000 1 ม.ิ ย. 6๕
STEM EDUCATION ถึง
(ครธู มลวรรณ แซงยะ)
28 ก.พ. 6๖
-ออกแบบและจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา
ตามบริบทของตน พร้อมทั้งจัด
การเรียนรู้แนวทางสะเต็มศึกษาใน
ทกุ ระดบั ชน้ั ทุกห้องเรยี น
แผนปฏิบตั ิการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๐๘
ท่ี กิจกรรม / ขั้นตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ค่าวสั ดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย งบประมาณ ดำเนนิ งาน
2. กจิ กรรมดาราศาสตร์ใน - - 15,000 15,000 1 ม.ิ ย. 6๕
โรงเรยี น ถึง
(ครูรสรนิ พนั ธุ) 28 ก.พ. 6๖
-นกั เรียนแกนนำดาราศาสตร์จดั
กิจกรรมทางดาราศาสตรใ์ หก้ ับ
นกั เรยี นระดบั ชนั้ ป.1-ม.3
-ครแู ละนักเรียนแกนนำจัดกิจรรม
ตามปรากฏการณท์ างดาราศาสตร์
ในโรงเรยี น
-นักเรยี นเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั
กจิ กรรมทางดาราศาสตร์ - - ๑0,000 ๑0,000 1 มิ.ย. 6๕
3. กิจกรรม Coding เสรมิ สรา้ ง ถึง
อัจฉริยะนักคดิ
(ครอู ารรี ตั น์ เดชาวฒุ ิ) 28 ก.พ. 6๖
-ออกแบบและจัดกิจกรรม Coding
เสริมสร้างอัจฉริยะนักคิด พร้อมทัง้
จดั การเรยี นรู้ในทุกระดับชัน้ ทุก 1 มิ.ย. 6๕
หอ้ งเรียน
4. กิจกรรมพัฒนาการจดั การ
เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ - - ๕,000 ๕,000 ถงึ
และเทคโนโลยี ด้วยกระบวนการ
PLC (ครมู ยุรี ซาวจำปา) 28 ก.พ. 6๖
- การสร้างวสิ ยั ทศั นร์ ว่ มกัน
(Share Vision)
- การเรยี นรูร้ ว่ มกันเป็นทมี (Team
Learning)
- การจัดการเรยี นร้สู นู่ กั เรยี น
(Instruction)
5. กิจกรรมนเิ ทศตดิ ตามโรงเรียน - - ๕,000 ๕,000 1 ม.ิ ย. 6๕
SMT (ครูมณฑิรา หลา้ คำแกว้ ) ถงึ
- พฒั นาหลกั สูตร
- อำนวยความสะดวกและกำกับ 28 ก.พ. 6๖
ติดตาม การดำเนนิ งานการจัดการ
เรยี นการสอนในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
- อำนวยการสะดวกและกำกับ
ติดตาม การดำเนนิ งานกจิ กรรม
แผนปฏิบตั ิการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๐๙
ที่ กจิ กรรม / ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ค่าวสั ดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย งบประมาณ ดำเนินงาน
ตา่ งๆ เชน่ การจัดการเรยี นรูต้ าม
แนวทางสะเต็มศกึ ษา ดาราศาสตร์
ในโรงเรยี น การเรยี นรู้ Coding
การจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ด้วย
กระบวนการ PLC และ กิจกรรม
ต่างๆ ของ สสวท.
- เตรยี มการรองรับการนิเทศ
ติดตามจากหน่วยงานต้นตา่ งๆ เชน่
สพป.ชม.2 ศึกษาธกิ ารจังหวัด
เชียงใหม่ สสวท.
๓. ขน้ั นิเทศติดตามผล (C) - - - - 31 ม.ี ค.6๖
-ตรวจสอบ สรปุ และรายงานผล
กิจกรรม
๔. ขนั้ สรุปผลและประเมนิ ผล (A)
-สรุปและประเมินผลเพ่ือปรบั ปรงุ - -- - 31 ม.ี ค.6๖
กิจกรรม
กจิ กรรมที่ ๕ หนึ่งครู หนึง่ นวัตกรรม - - 68,400 68,400 ตลอดปี
- การศึกษา
ผูร้ บั ผดิ ชอบ นางสาวนภสั วรรณ แซงยะ -
-- - 1-10 ส.ค
๑. ขน้ั วางแผน (P) - 65
- ประชุมงานแผนดำเนนิ งาน -
- เขียนโครงการ - 68,400 68,400 1 ก.ย. 65
- เสนอเพือ่ รบั การอนมุ ัติ ถงึ
๒. ข้นั ดำเนนิ กจิ กรรม (D) 31 ม.ค. 66
- ดำเนนิ การตามแผนทีว่ างไว้
- จดั สรรงบประมาณให้คณะครคู น -- - 1–28 ก.พ.
ละ 1,200 บาท จำนวน 57 คน -- 66
- ให้คณะครสู ร้างสอ่ื และนวตั กรรม
ทางการศกึ ษา คนละ 1 นวัตกรรม - 1 ม.ี ค. 66
๓. ขน้ั นเิ ทศตดิ ตามผล (C)
- ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน
- จดั แสดงโชวผ์ ลงานนวัตกรรม
- ประเมินผล
๔. ขั้นสรปุ ผลและประเมนิ ผล (A)
สรุปผล สรุปปัญหา หาแนวทาง
แก้ไข
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๑๐
ที่ กิจกรรม / ขนั้ ตอนการดำเนินงาน งบประมาณ คา่ วัสดุ รวม ระยะเวลา
ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย งบประมาณ ดำเนินงาน
-
กจิ กรรมที่ ๖ NARONG MODEL - ตลอดปี
- การศกึ ษา
ผ้รู บั ผดิ ชอบ ๑,000
นางสาวอัญชลี อนิ ทกาโมทย์
-
กระบวนการดำเนินงาน -- - ภายใน
๑. ขน้ั วางแผน (P) - 30 พ.ค. 65
- แต่งตงั้ คณะทำงานกิจกรรม -
NARONG MODEL - -
- ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน
กิจกรรม
- ขออนุมัตกิ ารใช้เงินตามกจิ กรรม - - -
2. ขน้ั ดำเนินกิจกรรม (D)
ดำเนนิ การขบั เคลอื่ นกิจกรรม ดังน้ี 1 มิ.ย. 6๕
ถึง
- จดั ซ้ือวัสดุ-อปุ กรณห์ รือซ่อมแซม - 2,000 3,000
31 ม.ี ค. 6๖
เพื่อการบำรงุ ดแู ลรักษา ป้าย
นิทรรศการงาน NARONG
MODEL
3. ขั้นนิเทศตดิ ตามผล (C) - ๒,000 ๒,000 1 ม.ิ ย. 6๕
- เข้ารว่ มเวทีแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ถงึ
ทางวชิ าการทัง้ ภายในและภายนอก 31 ม.ี ค. 6๖
โรงเรียนทเ่ี ก่ียวข้องกับการบริหาร
จัดการโดยใช้ NARONG MODEL
4. ข้ันสรปุ ผลและประเมินผล (A) - - - 31 มี.ค. 6๖
- จัดทำรายงานสรุปผลการ
ดำเนนิ งานโดยใช้ NARONG
MODEL เป็นตัวขบั เคลอ่ื นงาน
ทางด้านการบรหิ ารการจดั การ
พรอ้ มทั้งสรปุ สภาพปญั หา
เพอ่ื หาแนวทางแกไ้ ข หรอื สร้าง
ความทา้ ทายทางการปบริหารบน
ความเปลย่ี นแปลงตามสถานการณ์
รวมท้ังสนิ้ 314,092
หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทุกรายการ
แผนปฏิบตั ิการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๑๑
๕. ใชง้ บประมาณจาก
๕.๑ โครงการขบั เคล่ือนพฒั นาการศกึ ษาอย่างยั่งยืน (จาก สพฐ.) ยกยอดมาจากปีงบประมาณ ๒๕๖๔
จำนวน.......๑๕๐,๖๙๒........บาท. (......หนึง่ แสนห้าหมืน่ หกร้อยเกา้ สิบสองบาทถ้วน.......)
กิจกรรมท่ี ๑ การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ จำนวน ๒๐,๒๓๒ บาท
กจิ กรรมที่ ๒ การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ส่ฐู านสมรรถนะ จำนวน ๑๓๐,๔๖๐ บาท
๕.๒ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
จำนวน.......๑๖๓,๔๐๐..........บาท. (......หน่ึงแสนหกหมืน่ สามพนั สีร่ ้อยบาทถ้วน............)
กิจกรรมที่ ๓ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน จำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท
กิจกรรมท่ี ๔ โรงเรียนคุณภาพ SMT จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท
กิจกรรมที่ ๕ หนงึ่ ครู หนงึ่ นวัตกรรม จำนวน ๖๘,๔๐๐ บาท
กจิ กรรมที่ ๖ NARONG MODEL จำนวน ๕,๐๐๐ บาท
รวมงบประมาณทีใ่ ชด้ ำเนนิ การท้งั สิ้น จำนวน ๓๑๔,๐๙๒ บาท
(......สามแสนหนึ่งหม่ืนสีพ่ นั เก้าสิบสองบาทถ้วน............)
๖. การวัดและประเมินผลโครงการ
ตัวบง่ ช้สี ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วิธวี ัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมือทใ่ี ช้
ดา้ นปรมิ าณ - เกยี รติบัตร
- ชิ้นงาน/ผลงาน
(๑) ครูร้อยละ ๗๐ นำหลักสูตรฐานสมรรถนะสู่การจัดกิจกรรม - การสงั เกตการจดั กจิ กรรม ผู้เรยี น
- รายงานกิจกรรม
การเรยี นการสอนได้ในระดบั ดี ของครู - ภาพถ่าย
(๒) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80 ไดร้ บั การส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการ - การสงั เกตพฤติกรรมการเข้า
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน ร่วมกิจกรรมของผูเ้ รียน
สสวท. ในทกุ ระดับชั้น - การประเมนิ ชน้ิ งาน/ผลงาน
(๓) ครูร้อยละ 90 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาและพัฒนา ของผเู้ รียน
ศักยภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ทุก
ระดับชั้น ทั้งด้านเนื้อหา เทคนิคการสอน การจัดการเรียนรู้ตาม
แนวทางสะเต็มศึกษา การจัดการชั้นเรียน และอื่นๆ ที่ส่งผลต่อ
การพัฒนาความรู้และเจตคติต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยขี องนักเรยี น
(4) โรงเรียนร้อยละ 80 ได้รับความร่วมมือกับหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องและเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับ
บุคลากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาและเครือข่าย
ภาคเอกชนในทอ้ งถิน่ รวมถงึ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ
(5) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีแหล่งเรียนรู้ในการตระหนักรู้และเห็นถึง
ความสำคัญของการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพชื ในโรงเรียน
แผนปฏบิ ัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๑๒
ตัวบ่งชสี้ ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วิธวี ัดและประเมินผล เคร่อื งมือที่ใช้
เชิงคุณภาพ - เกียรติบตั ร
- ชิ้นงาน/ผลงาน
(1) ครสู ามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรูส้ ่ฐู านสมรรถนะได้ - การสังเกตการจัดกิจกรรม ผู้เรยี น
ของครู - รายงานกจิ กรรม
(๒) ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ - การสังเกตพฤติกรรมการเข้า - ภาพถา่ ย
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท. ใน ร่วมกิจกรรมของผูเ้ รียน
ทุกระดับช้ัน - การประเมินชิน้ งาน/ผลงาน
(๓) ครไู ดร้ ับการสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพครผู ้สู อนวทิ ยาศาสตร์ ของผู้เรยี น
คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทุกระดับชัน้ ท้ังดา้ นเนื้อหา เทคนิคการ
สอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา การจัดการช้ัน
เรียน และอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้และเจตคติต่อการ
เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของนักเรยี น
(4) โรงเรียนได้รับความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับบุคลากร และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาและเครือข่ายภาคเอกชนใน
ท้องถน่ิ รวมถึงมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ
(5) ผู้เรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการตระหนกั รแู้ ละเหน็ ถึงความสำคัญ
ของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียน
๗. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
7.1 ไดห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะที่สอดคลอ้ งบริบทโรงเรียนวดั แม่แกด้ น้อย
7.2 โรงเรยี นมรี ปู แบการเรียนการสอนที่เป็นแบบอย่าง
7.๓ เกดิ การคดิ คน้ และพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของ
ผู้เรยี น รวมทัง้ เพือ่ ดำเนนิ การให้มีการขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานอนื่
7.๔ ลดความเหลอื่ มลำ้ ในการศึกษา
7.๕ มีการกระจายอำนาจและให้อิสระแกห่ น่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรม
การศกึ ษาเพ่อื เพ่ิมความคล่องตวั ในการบริหารและการจัดการศึกษาใหม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพยงิ่ ข้นึ
7.๖ มีการสรา้ งและพฒั นากลไกในการจดั การศึกษาร่วมกนั ระหวา่ งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ลงชื่อ...............................................ผู้เสนอโครงการ
( นางสาวปรยี าภทั ร์ บุรมยช์ ยั สนิ )
ผู้เห็นชอบโครงการ แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๑๓
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
ลงชือ่ ลงชือ่
( นางสาวศิริขวัญ ถาชื่น) (นางสาวปรยี าภทั ร์ บรุ มย์ชัยสิน)
หวั หนา้ กล่มุ บริหารงานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั แม่แก้ดน้อย
ความเหน็ ผู้อนุมตั ิโครงการ
อนุมตั ิให้ดำเนินการได้
ไมอ่ นุมตั ิ เพราะ..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
(ลงช่อื ).........................................................................
( นายณรงค์ ลมุ มา )
ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวดั แม่แกด้ น้อย
แผนปฏบิ ัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๑๔
โครงการ ประกนั สขุ ภาพทุกช่วงวัย
กจิ กรรมที่ ๑.ส่งเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก ฟนั สวยด้วยมือเรา
กจิ กรรมที่ ๒.กิจกรรมโครงการขบั เคลอื่ นการป้องกนั ปญั หายาเสพตดิ ในสถานศึกษาและทอ้ ง ก่อน
วยั ในวยั รุน่
กิจกรรมที่ ๓.กจิ กรรมโครงการสร้างนวตั กรรมใหม่การปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ สแ์ ละพืชผักปลอด
สารพิษโรงเรยี นวัดแมแ่ ก้ดน้อย
แผนงาน บรหิ ารทวั่ ไป
สอดคลอ้ งกลยุทธ์ของสถานศึกษา ขอ้ ท่ี 1 เพ่ิมประสทิ ธิการเรียนการสอนโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญมงุ่ พัฒนา
ผู้เรียนเตม็ ศักยภาพ
สอดคลอ้ งมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน
๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
ตัวชวี้ ดั ๒) ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางตรีนชุ คณุ ยศยง่ิ นางรุ่งนภา เมืองอนิ ทร์ นายอาทติ ย์ ชยั มงคล
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ โครงการต่อเน่ือง
ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มนี าคม 256๖
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หลกั การและเหตผุ ล
นักเรียนในโรงเรยี นวัดแมแ่ ก้ดน้อยระดบั ปฐมวัยส่วนใหญม่ ีปัญหาสุขภาพในช่องปาก นักเรียนยังไม่แปรงฟนั
หลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 60 นักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธีเพียงร้อยละ 50 และมีนักเรียนฟันผุ พฤติกรรมด้าน
สุขภาพของนักเรียนที่เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคในช่องปากเนื่องจากบริโภคขนมหวาน และขาดการดูแลเอาใจใส่ของ
นักเรียนและผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก เช่น การสอนให้แปรงฟันที่ถูกวิธี และการดูแลให้แปรงฟันอย่าง
อย่างสม่ำเสมอ ประกอบกับนักเรียนส่วนใหญ่ยังเป็นเด็กเลก็ ทำให้ดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองได้น้อย ต้องอาศัย
ผปู้ กครองและพี่ๆช่วยดูแลเรือ่ งการแปรงฟนั ให้ถูกวธิ ีและสม่ำเสมอ
ปัญหาระดับมัธยมส่วนใหญ่จะเปน็ ปญั หาระดบั ชาติคือการแพร่ระบาดของสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษาและท้อง
ก่อนวัยในวัยรุ่น ซึ่งทางโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองแม่โจ้
กิจกรรมปอ้ งกันและเฝ้าระวงั ยาเสพติด ในสถานศกึ ษา เปน็ การลดปญั หาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุข
ในสถานศึกษา และเสริมการเรียนรู้ที่ถูกต้องในเพศศึกษาให้กับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับ
มัธยมต้น
การส่งเสรมิ การปลกู พืชไรด้ นิ ไฮโดรโปนกิ สเ์ พื่อเพิม่ พนู ความรู้เก่ียวกบั เทคโนโลยกี ารปลูกพืชไรด้ ินใหเ้ ข้าใจใน
การนำไปปฏิบัติการปลูกพืชไร้ดินไวบ้ ริโภคในโรงเรียนและลงสู่ครัวเรอื นและหากเหลือก็สามารถจำหน่ายเป็นรายได้
เสริมของครอบครัวดังนั้นโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย จึงได้เสนอโครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
และพชื ผกั ปลอดสารพิษโรงเรยี นวดั แม่แกด้ นอ้ ย เพ่ือเปน็ แหลง่ เรยี นรใู้ หก้ ับนักเรียนและชมุ ชน
2. วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและ
สขุ อนามยั ของเดก็ ปฐมวัยทดี่ ี
แผนปฏิบตั ิการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๑๕
2. เดก็ ปฐมวัยเลอื กซื้อและรบั ประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ :เด็กปฐมวัยแปรงฟันได้ถูกวิธี
ร้อยละ 90
3. เพือ่ ลดปัญหาการแพรร่ ะบาดของยาเสพติดและอบายมขุ ในสถานศึกษา
4. เพอ่ื ให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรูใ้ นเร่อื งของเพศศึกษาท่ถี ูกตอ้ งและหลกี เลี่ยงทอ้ งก่อนวัยในวยั รนุ่
5. เพอ่ื พัฒนาพฤติกรรมของนักเรยี นและผปู้ กครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัย
ทด่ี ีในด้านโภชนาการอย่างยง่ั ยนื
6.เพือ่ สรา้ งนวตั กรรมการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์และพชื ผักปลอดสารพิษ
3. เป้าหมาย
3.1 เชงิ ปริมาณ
3.1.1 ครูผู้ดูแลเดก็ ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวัยอย่างน้อย 80 %ได้รับความรู้มีความรู้ ความเข้าใจในการ
ดูแลสุขภาพช่องปากและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้เพื่อการดูแลรักษา
สุขภาพอนามัย ของเด็กปฐมวัย ได้อยา่ งถกู วธิ ี และสามารถปฏิบัตติ ามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆครบถ้วน
ทุกข้นั ตอน
3.1.2 นักเรียนร้อยละ 90 เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธีและให้ความตระหนักต่อสุขภาพช่อง
ปาก
3.1.3 นักเรยี นร้อยละ 80 นักเรียนในหอ้ งเรยี นได้ดแู ลชว่ ยเหลือกันและกัน ตักเตอื น แนะนำเพื่อนในการ
ป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด อบายมุขและอ่ืนๆ
3.1.4 นักเรียนรอ้ ยละ 80 ใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์และหา่ งไกลยาเสพตดิ
3.1.5นกั เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ไดเ้ รยี นรูใ้ นเรอ่ื งของเพศศกึ ษาที่ถูกต้องและหลกี เลยี่ งท้องก่อนวยั ในวยั รุน่
3.1.6 ร้อยละ๘๐ พัฒนาพฤตกิ รรมของนักเรยี นและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคณุ ค่าอาหาร
และมีสุขนิสัยทีด่ ใี นดา้ นโภชนาการอย่างย่ังยนื
3.1.7 ร้อยละ๘๐สามารถสร้างนวตั กรรมการปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์และพืชผักปลอดสารพษิ
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
3.2.1 ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวยั อย่างน้อย 80 %ได้รับความรู้มีความรู้ ความเข้าใจในการ
ดูแลสุขภาพช่องปากและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้เพื่อการดูแลรักษา
สขุ ภาพอนามัย ของเดก็ ปฐมวัย ได้อยา่ งถกู วธิ ี และสามารถปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกนั ด้านสุขอนามัยต่างๆครบถ้วน
ทกุ ขั้นตอน
3.2.2 นกั เรยี นสามารถแปรงฟันไดถ้ ูกวธิ แี ละให้ความตระหนักต่อสุขภาพช่องปาก
3.2.3 นักเรียนในห้องเรียนได้ดูแลช่วยเหลือกันและกัน ตักเตือน แนะนำเพื่อนในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพตดิ อบายมขุ และอืน่ ๆ
3.2.4 นักเรยี นใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชนแ์ ละหา่ งไกลยาเสพตดิ
3.2.5 นกั เรียน ไดเ้ รยี นรู้ในเรอื่ งของเพศศกึ ษาทถ่ี ูกต้องและหลีกเล่ียงทอ้ งก่อนวยั ในวยั รุ่น
3.2.6 พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุข
นิสัยท่ดี ใี นด้านโภชนาการอย่างย่งั ยืน
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๑๖
3.2.7 สามารถสรา้ งนวัตกรรมการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สแ์ ละพืชผักปลอดสารพิษ
4. กจิ กรรมขั้นตอนการดำเนนิ งาน และรายละเอียดการใช้งบประมาณ
ท่ี กิจกรรม / ขั้นตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ค่าวัสดุ รวม ระยะเวลา
ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย งบประมาณ ดำเนินงาน
25,665
กจิ กรรมที่ 1 สง่ เสรมิ สุขภาพช่องปาก 25,665 พฤษภาคม
๒๕๖๕
ฟันสวยดว้ ยมอื เรา
มิถุนายน
ผ้รู ับผดิ ชอบนางตรนี ุช คุณยศยิ่ง ๒๕๖๕-
กมุ ภาพันธ์
ขน้ั วางแผน (P) ๒๕๖๖
กรกฏาคม
๑. ๑.๑ ประชมุ วางแผนและขออนมุ ตั ิ ๒๕๖๕
ตลอดปี
การใชเ้ งนิ ประชาสมั พนั ธ์ให้นักเรียน การศึกษา
มีนาคม
ทราบ ๒๕๖๖
๒. ขั้นดำเนนิ กิจกรรม (D) 25,665
-จัดกจิ กรรมตามโครงการ
ขน้ั นิเทศตดิ ตามผล (C)
จัดตามตารางการนเิ ทศของฝ่าย
วชิ าการ
๓. ขน้ั สรุปผลและประเมินผล (A)
สรุปผลการดำเนินงานเสนอต่อ
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมโครงการขับเคลอ่ื น 35,000 35,000
การป้องกนั ปญั หายาเสพติดใน
สถานศึกษาและทอ้ งก่อนวัยในวัยรนุ่
ผรู้ บั ผดิ ชอบนางรุง่ นภา เมืองอินทร์
แผนปฏิบัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๑๗
ที่ กิจกรรม / ขนั้ ตอนการดำเนินงาน งบประมาณ คา่ วัสดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย 35,000 งบประมาณ ดำเนนิ งาน
กระบวนการดำเนินงาน
๑. ขัน้ วางแผน (P) 35,000 มิถนุ ายน
๒๕๖๕
1.ประชุมวางแผน กรกฎาคม-
2.ขออนุมัติโครงการ สงิ หาคม
๒. . ขนั้ ดำเนินกจิ กรรม (D) ๒๕๖๕
-จัดกจิ กรรมอบรมให้ความรู้ พฤศจิกายน
ขั้นนิเทศตดิ ตามผล (C) มีนาคม6๖
1.ติดตามผลการดำเนนิ กจิ กรรม
ขั้นสรุปผลและประเมินผล (A) พ.ค.6๕
๓. 1.รายงานผลการดำเนินกจิ กรรม มิ.ย. 6๕
กจิ กรรมท่ี 3 โครงการสรา้ งนวตั กรรม 50,000 50,000 ก.ค.6๕
ใหมก่ ารปลกู ผักไฮโดรโปนิกสแ์ ละพชื ผัก 50,000 50,000 พ.ย.6๕
ปลอดสารพิษโรงเรียนวดั แม่แกด้ น้อย ม.ี ค.6๖
ผู้รบั ผดิ ชอบนายอาทิตย์ ชัยมงคล 110,66๕ 110,66๕
กระบวนการดำเนนิ งาน
๑. ขั้นวางแผน (P)
1.ประชมุ วางแผนอนมุ ตั โิ ครงการ
๒. ข้ันดำเนนิ กจิ กรรม (D)
1.จัดซอื้ วสั ดุอุปกรณ์
-โครงสรา้ ง เมลด็ ผัด
2.ออกแบบและจัดกจิ กรรมการ
เรยี นตามบรบิ ทของตนเอง พร้อมทง้ั
นำผลงานเผยแพร่สู่สาธารณชน
ขั้นนเิ ทศตดิ ตามผล (C)
๓. นิเทศติดตามงาน
ขน้ั สรุปผลและประเมนิ ผล (A)
๔. รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรม
รวมงบประมาณทงั้ สนิ้
๕. ใช้งบประมาณ จากเงินอุดหนุน จำนวน 110,665 บาท. (หน่ึงแสนหนึ่งหมน่ื หกร้อยหกสบิ หา้ บาทถ้วน)
แผนปฏิบัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๑๘
๖. การวดั และประเมนิ ผลโครงการ
ตวั บ่งชีส้ ภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วิธีวัดและ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้
ประเมินผล แบบสงั เกต
แบประเมินกจิ กรรม
ดา้ นปริมาณ การสงั เกต แบบการสมั ภาษณ์
การประเมนิ กิจกรรม
1 ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวัยอย่างน้อย 80 %ได้รับ การสมั ภาษณ์ แบบสงั เกต
ความรู้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและ แบประเมินกจิ กรรม
แบบการสมั ภาษณ์
สุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้
เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ของเด็กปฐมวัย ได้อย่างถูกวิธี
และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ
ครบถ้วนทุกข้ันตอน
2 นักเรยี นร้อยละ 90 เดก็ นักเรยี นสามารถแปรงฟันได้ถกู วิธีและให้
ความตระหนกั ตอ่ สุขภาพชอ่ งปาก
3 นกั เรยี นร้อยละ 80 นกั เรยี นในหอ้ งเรียนได้ดแู ลช่วยเหลอื กันและ
กัน ตักเตือน แนะนำเพื่อนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
อบายมุขและอืน่ ๆ
4 นักเรียนร้อยละ 80 ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยา
เสพตดิ
5นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้เรียนรู้ในเรื่องของเพศศึกษาที่ถูกต้องและ
หลีกเลี่ยงทอ้ งกอ่ นวัยในวัยรุ่น
6 ร้อยละ๘๐ พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิด
ความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้าน
โภชนาการอย่างย่งั ยืน
7 ร้อยละ๘๐สามารถสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และ
พืชผกั ปลอดสารพษิ
ดา้ นคณุ ภาพ
1 ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวัยอย่างน้อย 80 %ได้รับ การสังเกต
ความรู้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและ การประเมนิ กจิ กรรม
สุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ การสัมภาษณ์
เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ของเด็กปฐมวัย ได้อย่างถูกวิธี
และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ
ครบถ้วนทุกข้นั ตอน
2 นักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธีและให้ความ
ตระหนกั ต่อสขุ ภาพชอ่ งปาก
3 นักเรียนในห้องเรียนได้ดูแลช่วยเหลือกันและกัน
ตักเตือน แนะนำเพื่อนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
อบายมุขและอ่นื ๆ
แผนปฏบิ ัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๑๙
ตวั บ่งชี้สภาพความสำเรจ็ ของโครงการ วธิ วี ดั และ เครือ่ งมือทใ่ี ช้
ประเมนิ ผล
4 นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยา
เสพตดิ
5 นักเรียน ได้เรียนรู้ในเรื่องของเพศศึกษาที่ถูกต้องและ
หลกี เลี่ยงท้องกอ่ นวัยในวัยรนุ่
6 พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิด
ความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้าน
โภชนาการอยา่ งยั่งยืน
7 สามารถสรา้ งนวัตกรรมการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์
และพชื ผักปลอดสารพิษ
๗. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
1 ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวัยอย่างน้อย 80 %ได้รับความรู้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล
สุขภาพช่องปากและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ
อนามัย ของเด็กปฐมวัย ได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆครบถ้วนทุก
ขั้นตอน
2 นักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถกู วธิ ีและให้ความตระหนักต่อสุขภาพชอ่ งปาก
3 นักเรียนในห้องเรียนได้ดูแลช่วยเหลือกันและกัน ตักเตือน แนะนำเพื่อนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายา
เสพติด อบายมขุ และอ่นื ๆ
4 นกั เรยี นใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์และหา่ งไกลยาเสพตดิ
5 นักเรยี น ไดเ้ รยี นร้ใู นเรื่องของเพศศึกษาทถ่ี กู ต้องและหลีกเลีย่ งท้องก่อนวัยในวัยร่นุ
6 นักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสยั ที่ดีในด้านโภชนาการอย่าง
ยง่ั ยนื
7 นักเรยี นสามารถสรา้ งนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และพชื ผักปลอดสารพิษ
ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ
(นางรงุ่ นภา เมอื งอนิ ทร์ )
ตำแหน่ง ครู
ผ้เู ห็นชอบโครงการ แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๐
…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ผู้เห็นชอบโครงการ
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
ลงช่ือ …………………………………………………………………………
(นายวรศักดิ์ ตะยะพงค์)
ลงชือ่
หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานทั่วไป (นายกิตตชิ ัย โสภณอัมพรนนท์)
รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารงานท่ัวไป
ความเหน็ ผ้อู นุมตั ิโครงการ
อนมุ ตั ใิ ห้ดำเนนิ การได้
ไมอ่ นุมัติ เพราะ..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
(ลงช่อื ).........................................................................
( นายณรงค์ ลมุ มา )
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวัดแมแ่ ก้ดน้อย
แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๑
โครงการ จ้างบุคลากรเพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการจดั การงานพัสดุและการบญั ชี
แผนงาน การบริหารงานบุคคล
สอดคลอ้ งกลยุทธ์ของสถานศึกษา ข้อที่ 5 บรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมสี ว่ นรว่ ม
สอดคล้องมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ
ประเด็นพิจารณาข้อท่ี 1-2
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางจรรยา วงศค์ ำ
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ โครงการตอ่ เนื่อง
ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม ๒๕๖5 - มนี าคม 2566
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หลกั การและเหตผุ ล
โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อยเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียนจำนวนมาก บุคลากรมีปริมาณงานท่ี
นอกเหนือจากงานสอนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะงานพัสดุและการบัญชี ทางโรงเรียนตระหนักและเล็งเห็นประโยชน์
ด้านการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีนโยบายคืนครูสู่ห้องเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของทาง
กระทรวงศึกษาธิการ จึงประชุมหารือกันและขอความเห็นชอบจากกรรมการสถานศึกษา เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ท่ี
ประชุมมมี ติเห็นขอบใหโ้ รงเรยี นดำเนนิ การจดั จา้ งบุคลากรเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการงานพสั ดุและการบญั ชีได้ โดยใช้
งบประมาณเงินอุดหนุนของทางโรงเรียน เพื่อใช้จ้างบุคลากร ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานของโรงเรีย น ด้านกระบวนการ
บริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา และเป็นไปตามมติเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และมติที่ประชุม กลุ่ม
บริหารงานบคุ คลจงึ จดั ทำโครงการ “จา้ งบคุ ลากรเพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั การงานพสั ดแุ ละการบัญชี” ขึน้
2. วตั ถุประสงค์
2.9 เพื่อให้โรงเรียนมีบุคลากรด้านการบัญชีและพัสดุมาร่วมพัฒนาคุณภาพการจัดการงานพัสดุและ การ
บญั ชี
2.10 เพื่อให้การบริหารและจัดการงานพัสดุและการบัญชีของโรงเรียน เป็นไปด้วยความเรียนร้อย มี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
3. เปา้ หมาย
3.1 เชิงปริมาณ
ร้อยละ 80 ของความพึงพอใจต่อผู้รับบริการอยู่ในระดับดีมาก ต่อการบริหารจัดการงานพัสดุและการ
บัญชี ของโรงเรียน
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
การบริหารและจัดการงานพสั ดแุ ละการบัญชขี องโรงเรยี นวดั แม่แกด้ น้อย มปี ระสิทธิภาพอยูใ่ นระดบั ดมี าก
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๒
4. กจิ กรรมข้นั ตอนการดำเนนิ งาน และรายละเอยี ดการใช้งบประมาณ
ที่ กิจกรรม / ข้ันตอนการดำเนนิ งาน งบประมาณ ค่าวสั ดุ รวม ระยะเวลา
ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย งบประมาณ ดำเนนิ งาน
เมษายน 65
กระบวนการดำเนินงาน 108,000
เม.ย.- พ.ค.
๑. ขนั้ วางแผน (P) 65
1. ประชมุ ทบทวนข้อมูลอัตรากำลงั พฤษภาคม
บคุ ลากรของโรงเรยี น ระดม ความ พฤษภาคม
คดิ เหน็ ผเู้ กยี่ วข้องกบั งานอตั รากำลงั ตลอดปี
การศึกษา
วิเคราะหภ์ าระงาน ความจำเปน็ และ
มนี าคม
ความตอ้ งการในการใชอ้ ัตรากำลัง 2566
2. สรุปประเดน็ ปัญหา นำไป
ปรึกษาหารือกับผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่าย
3. ดำเนนิ การตามระเบยี บ ข้อ
กฎหมายหรอื แนวปฏบิ ตั ิท่ี เก่ียวขอ้ ง
ในการคัดเลือกบุคคลากรเขา้ ทำงาน
4. เขียนโครงการเสนอฝา่ ยบรหิ าร
เพ่ือพจิ ารณาอนุมัติข้ันดำเนนิ
๒. กจิ กรรม (D)
1. จดั ทำสัญญาจ้างและออกคำสง่ั 108,000
มอบหมายภาระงานในหนา้ ท่ี ความ
รับผดิ ชอบแกบ่ ุคลากรในโครงการ
จำนวน 1 ตำแหนง่ ในอัตราเดอื นละ
9,000 บาท ระยะเวลา 12 เดอื น
2. บคุ ลากรในโครงการ ปฏบิ ตั งิ าน
ตามสญั ญาและภาระงานทีไ่ ด้รบั
มอบหมาย ภายใต้การควบคมุ ดแู ล
ของหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง
3. ดำเนนิ การเบกิ จ่ายงบประมาณ
๓. คา่ จ้างตามวันเวลาที่กำหนด
ขนั้ นเิ ทศติดตามผล (C)
. 1. นิเทศ ติดตามการปฏบิ ัติงาน
ของบุคลากร และการด าเนินงาน
ตามโครงการ
2. สอบถามความเห็น ความพงึ
พอใจของผู้เก่ยี วข้อง
๔. ขั้นสรปุ ผลและประเมนิ ผล (A)
1. ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของ
บุคลากรและความพึงพอใจของ
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๓
ท่ี กจิ กรรม / ข้นั ตอนการดำเนินงาน งบประมาณ ค่าวสั ดุ รวม ระยะเวลา
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย งบประมาณ ดำเนินงาน
ผเู้ ก่ียวข้องเพ่ือเปน็ ข้อมูลในการจา้ ง
รอบตอ่ ไป
2. จัดทำรายงานการดำเนิน
โครงการเสนอต่อผู้บรหิ ารและนำผล
การดำเนินงานไปปรบั ในการดำเนนิ
โครงการครัง้ ต่อไป
รวมงบประมาณทั้งสน้ิ 108,000 108,000
๕. ใช้งบประมาณ จำนวน. 108,000 บาท. (.หน่งึ แสนแปดหมื่นบาทถว้ น)
๖. การวดั และประเมินผลโครงการ วิธีวัดและประเมินผล เครือ่ งมือทใี่ ช้
ตัวบ่งชีส้ ภาพความสำเร็จของโครงการ -การสอบถาม - แบบสอบถาม
- การประเมิน
ดา้ นปริมาณ -แบบประเมนิ
ระดบั คณุ ภาพความพงึ พอใจต่อผู้รบั บรกิ ารในการบรหิ ารจัดการ -การสอบถาม โครงการ
- การประเมิน
งานพัสดแุ ละการบญั ชี ของโรงเรียน -แบบสอบถาม
ดา้ นคุณภาพ
-แบบประเมิน
ระดับคุณภาพการดำเนนิ งาน งานพสั ดุและการบัญชขี องโรงเรยี น โครงการ
เปน็ ไปตามระเบียบปฏิบตั ิงานการเงนิ และพัสดุ
๗. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
-โรงเรยี นมีระบบบริหารงานด้านการบญั ชีและพัสดุท่เี ป็นระบบ เปน็ ปจั จุบนั โปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบ
ได้
ลงชอ่ื ผูเ้ สนอโครงการ
( นางจรรยา วงศค์ ำ )
ตำแหน่งครูชำนาญการพเิ ศษ
ผ้เู ห็นชอบโครงการ แผนปฏิบตั ิการ ปกี ารศึกษา 2565 ๒๒๔
…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นางยุวรี กุศล) ลงชอื่
(นางสาวปรียาภัทร์ บุรมย์ชยั สิน)
หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั แมแ่ ก้ดน้อย
ความเห็นผู้อนุมัตโิ ครงการ
อนุมัตใิ หด้ ำเนินการได้
ไมอ่ นมุ ัติ เพราะ..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
(ลงชอื่ ).........................................................................
( นายณรงค์ ลุมมา )
ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนวดั แมแ่ ก้ดน้อย
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๕
ส่วนท่ี 4
การกำกับติดตามและประเมินผล
การกำกับติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบ แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565 ได้จัดระบบกำกับ
ติดตาม ประเมินผลการตรวจสอบ และรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในรูปแบบการมี
ส่วนร่วมของคณะกรรมการ ดังนี้
1. การกำกบั ตดิ ตาม
1.1. จดั ทำรูปแบบการกำกับติดตามแผนงาน โครงการ ตามยุทธศาสตร์
1.2. จัดผูร้ ับผดิ ชอบในการกำกบั ติดตาม
2. การประเมนิ ผล
2.1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ ผล
2.2. สรา้ งเคร่ืองมอื ประเมนิ ผล
2.3. ดำเนนิ การประเมินผลทัง้ ก่อนดำเนินโครงการเพื่อดูแลความเป็นไปไดร้ ะหวา่ งดำเนิน โครงการ
เพื่อดูความก้าวหน้าและปรับปรุง แก้ไขการดำเนินเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อดูประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
ของการดำเนินการ
3. การตรวจสอบ
3.1. การประเมนิ ตนเองตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม ที่ปฏบิ ตั ิ บันทึกผลเพอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนา
3.2. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเสนอแนะ
แนวทางแกไ้ ขปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางช่วยเหลือสนบั สนนุ
4. การรายงานผล
4.1. รายงานผลการดำเนนิ งาน เม่อื ส้ินสุดแต่ละกิจกรรมท่ีกำหนดไว้
4.2. เมื่อสิ้นสุดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในปีการศึกษา ๒๕๖5 แต่งตั้งคณะทำงานสรุปผลการ
ปฏิบตั งิ าน เพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ข กำหนดทศิ ทางจัดการศกึ ษา
4.3. เมื่อสิ้นปีการศึกษา ๒๕๖5 โรงเรียนจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี เสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพรต่ อ่ ชุมชน
แผนปฏบิ ตั ิการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๒๖
สว่ นท่ี 5
การบรหิ ารแผนไปสู่ความสำเรจ็
การนำแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติเป็นงานของบุคลากรทุกระดับภายในสถานศึกษา โดยมี ผู้บริหาร
สถานศึกษาเปน็ ผู้นำการประยุกต์ใช้และบุคลากรทุกคนเป็นผู้ร่วมมอื ดังนั้นปัจจัยสำคัญ ประการหนึง่ ตอ่ ความสำเรจ็
ของการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ได้แก่ การติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้นอัน
เนื่องมาจากแผนกลยุทธ์ ผู้บริหารจะต้องนำเสนอให้บุคลากรรับทราบอย่างชัดเจน รวมทั้งกระตุ้นและชักจูงให้
บุคลากรเห็นพ้องต่อการเปลี่ยนแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ เมื่อองค์กรสามารถบรรลุถึง เป้าหมายในทุกๆด้าน จึงจะถือว่าการ
ประยุกตใ์ ช้แผนกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษาประสบความสำเรจ็
ข้ันตอนการนำแผนกลยทุ ธ์สู่การปฏิบัติ
1. ศึกษาแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา เป็นการวิเคราะห์กลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อจัดทำแผนที่กลยุทธ์และ
รายละเอียดขนั้ ตอนการดำเนินงานตา่ งๆ ให้เป็นไปตามกลยทุ ธ์
2. ทบทวน / ปรับกลยุทธ์ ในขั้นนี้เป็นการทบทวนกลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อพิจารณาว่า เหมาะสมหรือไม่
อย่างไร ซึ่งอาจมีกรณที ี่มีความจำเปน็ ตอ้ งปรบั กลยุทธ์ จากเหตกุ ารณด์ งั ตอ่ ไปน้ี
- นโยบายหน่วยเหนอื หรือนโยบายสถานศกึ ษามีการปรบั เปลีย่ น
- สงั คมภายในประเทศ หรือสงั คมโลกมกี ารเปลย่ี นแปลงไปตามสภาวการณ์
- กลยทุ ธ์ไม่เหมาะสมกบั สถานการณป์ ัจจบุ นั
3. จัดทำแผนปฏิบัติการ ในขั้นนี้สถานศึกษาจะต้องแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
โดยจัดทำโครงการ/ กิจกรรมที่จะดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ และกำหนด
งบประมาณ จากการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก ประเด็นกลยุทธ์ และกลยุทธ์ และแปลงเป็น
แผนปฏบิ ัติการประจำปีของสถานศกึ ษา เพอื่ เป็นกรอบทิศทางการดำเนนิ งานตามภารกจิ
4. ปรบั กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน ในข้นั นี้เปน็ การปรับกระบวนการปฏิบตั ิงานเพือ่ ให้ สถานศึกษาพรอ้ มท่จี ะนำ
กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติได้สำเร็จ ได้แก่ การปรับโครงสร้างการทำงาน ระบบงานบุคลากร ตลอดจนวัฒนธรรมของ
หน่วยงาน ซึ่งกระบวนการปฏิบัติงานดังกล่าวมีองค์ความรู้ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมจากการพัฒนาองค์กร การจัดทำ
ขอ้ เสนอการเปล่ียนแปลง ( Blue print for Change )
5. ควบคุม กำกบั ตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน เป็นการดำเนนิ การดงั น้ี
- ตรวจสอบความเขา้ ใจของบคุ ลากรในหน่วยงาน
- กำกบั ให้มีการปฏิบัตงิ านใหเ้ ป็นไปตามผังการปฏิบตั งิ าน
- การไดร้ ับการสนับสนนุ โดยการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรหรอื หนว่ ยงานอ่นื ๆ
แผนปฏิบัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๒๗
ข้อคดิ เห็นของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................... ...................................................... .......................
............................................................................................................................. ...........................................................
.............................................................................................................................................................................. ..........
........................................................................................................................................................................................
......................................................................................... ....................................
ลงช่อื
(นายณรงค์ ลมุ มา)
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดแมแ่ ก้ดนอ้ ย
บันทกึ การใหค้ วามเห็นชอบ
............................................................................................................................. ...........................................................
........................................................................................................................................................................................
.................................................. .............................................................................................. ........................................
.......................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................................................. ...........................
........................................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื
(นายเสถียร ธะนนั ต์)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565 ๒๒๘
ภาคผนวก
แผนปฏิบตั ิการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๒๙
ภาคผนวก ก
แนวทางการบรหิ ารงบประมาณรายจา่ ย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
เพื่อให้แผนปฏิบัติราชการประจำปีและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็น
เครอื่ งมือและกลไกขบั เคลื่อนการบริหาร งบประมาณทมี่ งุ่ ผลสัมฤทธ์แิ ละผลสำเร็จตามกรอบเปา้ หมาย นโยบาย พันธ
กิจ ทิศทางการพัฒนา และตัวชี้วัดที่สำคัญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงใหม่ เขต 2 จึงได้กำหนดแนวทางใน
การบริหารและเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำปี ดังน้ี
1. ยึดหลักการบริหารงบประมาณ โดยยึดวัตถุประสงค์ของงบประมาณ ปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย แบบ
แผนทางราชการ และแนวปฏบิ ัติท่ีเกย่ี วข้อง เร่งรดั การใชจ้ ่ายงบประมาณใหเ้ ป็นไปตามกำหนดระยะเวลาและปฎิทิน
ปฏบิ ัติงาน รวมท้ังคำนงึ ถึงประโยชน์สูงสุด การมสี ่วนร่วม โปรง่ ใสและตรวจสอบได้ ภายใต้หลักธรรมาภิบาล
2. เบิกจ่ายตามแผนปฏิบัติการประจำปี และแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณโดย
เครง่ ครัดและคำนงึ ถึงประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลเปน็ สำคญั
3. การจัดตั้ง จัดสรร การบริหาร โอนเปลี่ยนแปลง การใช้เงินเหลือจ่าย และการวิเคราะห์งาน/โครงการเพื่อ
ขออนุมัตงิ บประมาณ ทุกกรณี ใหเ้ ป็นบทบาทหน้าท่ีของกลุม่ นโยบายและแผน
4. การเปลี่ยนแปลงงบประมาณ การใช้เงินเหลือจ่าย การก่อหนี้ผูกพันและอื่น ๆ ต้องได้รับการอนุมัติจาก
ผู้อำนวยการเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2
5. กลุ่มอำนวยการ งานบริหารการเงินและสินทรัพย์ ดำเนินการกำกับ ติดตามการเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม
แผนปฏบิ ัติราชการประจำปแี ละแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ท่กี ำหนด
6. รายงานผลการเบิกจ่ายตามกำหนดเวลา ภายใต้มาตรการควบคุมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
งบประมาณ โดย
6.1 รายงานผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รายไตรมาสตามแบบฟอร์มท่ีสำนกั งบประมาณกำหนด
6.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2 รับทราบผลการดำเนนิ งานตามรายกิจกรรม
7. กรณีมีเงินเหลือ หรือ จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติ
ราชการประจำปี และแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องได้รับอนุมัติ
จาก ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ทั้งนี้ผู้รับผิดชอบหรือกลุ่มภารกิจที่ประสงค์จะโอน
เปลี่ยนแปลง ต้องชี้แจงเหตุผลความจำเป็นหรือความเหมาะสม โดยคำนึงถึงประโยชน์ ประหยัด คุ้มค่า และโปร่งใส
รวมท้ัง ตอ้ งสอดคล้องกับ กลยทุ ธ์เปา้ หมายความสำเร็จของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และสภาพ
ปัญหาความต้องการของเขตพื้นที่การศึกษา โดยเสนอผ่านการวิเคราะห์จากกลุ่มนโยบายและแผน ตามมาตรการ
ควบคุมประสิทธภิ าพการบรกิ ารจัดการงบประมาณ
8. การส่งเงินงบประมาณคืน และการขอใช้เงินเหลือจ่าย ทุกกรณี ต้องเสนอข้อมูลเหตุผลความจำเป็นให้กล่มุ
นโยบายและแผน ศึกษาและวิเคราะห์ เสนอแนวทางการดำเนินงาน และนำเสนอ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2 และกลมุ่ ภารกจิ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
9. ให้หน่วยตรวจสอบภายใน เป็นผู้ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี และรายงานต่อ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 และกล่มุ ภารกจิ ท่ีเกี่ยวข้อง
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๐
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๑
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๒
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๓
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๔
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๕
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๖
แผนปฏบิ ัติการ ปีการศกึ ษา 2565 ๒๓๗
แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๓๘
รายงานการประชุม
การประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานโรงเรยี นวดั แม่แกด้ นอ้ ย
ครง้ั ท่ี 2 /2564
วนั พธุ ท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2564
ณ โรงเรียนวัดแมแ่ ก้ดน้อย
............................................................................................................................. ........
ผู้เข้าร่วมประชมุ
ผ้เู ข้าร่วมประชมุ 1. พระครวู ิสาลจรยิ คณุ
2. นายเสถยี ร ธะนนั ต์
3. นายณรงค์ ลุมมา
4. นางบุญเพียร ศิรวิ รรณ
5. นายณภมู ิ จอมสบื
6. นายมานพ วรรณศรี
7. นางสาวรัชกร วฒั นดำเนนิ
8. นางเพลินจิต ศรีธิ
9. นางจรรยา วงศค์ ำ
10. นางสาวพิมพพ์ ร ยอดยิง่ ชนชพี
11. นายกติ ตชิ ยั โสภณอัมพรนนท์
12. นางตรนี ชุ คณุ ยศยงิ่
14. นางอ่อนแก้ว หมอ่ ม
15. นายวริ ัตน์ สมมติ ร
16. นายปยิ ะพันธ์ ไชยทา
17. นางออ่ นแกว้ หม่อม
ระเบยี บวาระที่ ๑ เร่อื งท่ีประธานแจง้ ให้ทราบ
ทา่ นพระครวู ิสาลจริยคุณ กล่าวเปดิ การประชุม
1.1 การกลา่ วเปิดการประชมุ โดย นายเสถียร ธะนันต์ ประธานกรรมการ
1.2 เร่อื งจาก ผอ.ณรงค์ ลมุ มา
- การกอ่ สร้างอาคารหลังใหม่ ตอ้ งควบคุมผู้รบั เหมาอย่างเข้มงวด เพ่อื ปอ้ งกนั การใช้วัสดุที่ไม่ได้มาตรฐาน
โดยทางโรงเรียนขอใหย้ นื ยันการใช้วัสดุในการกอ่ สร้างตามสัญญา
- การเปดิ -ปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ประจำปีการศกึ ษา 2564 ในวนั ท1ี่ พฤศจิกายน 2564
- แนวทางการจดั การเรยี นการสอน เปิดเรียน On-Site
(จำนวนครู 62 คน ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด 1 เข็ม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2 ได้รับ
วัคซีนป้องกันไวรัสโควิด 2 เข็ม จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 66.42 ครูที่ยังไม่ได้รับวัคซีนจำนวน
14 คน
1.2.1 การประเมนิ TSC PLUS มี 44 ข้อ ถา้ ผ่านการประเมนิ หมดทุกขอ้ สามารถเปดิ เรยี นได้
ผา่ นขอ้ 1-20 ทุกขอ้ แต่ไม่ผ่านขอ้ 21-24 ขอ้ ใดข้อหนงึ่ สามารถเปิดเรียนได้
ไม่ผ่านข้อ 1-20 ข้อใดขอ้ หน่งึ ไมส่ ามารถเปิดเรียนได้
1.2.2 ตอ้ งมสี ถานท่แี ยกกกั ตวั School Isolation รับรองการกักตวั นักเรียนที่เป็น
แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๓๙
1.2.3 ต้องควบคมุ ดุแลการเดนิ ทางระหวา่ งบ้านกับโรงเรยี นอยา่ งเขม้ งวด
1.2.4 ตอ้ งจัดพน้ื ท่ีให้มจี ุดคดั กรอง สแกนนักเรยี น
1.2.5 ตอ้ งมรี ะบบและแผนการรบั การติดตามความพรอ้ ม จากสำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั
1.2.6 มีการประเมนิ มาตรการ Sandbox Safety Zone in School
- คณะครูและนักเรยี นต้องตรวจ ATK ซ่งึ โรงเรียนจะมีการบรหิ ารจดั การอยา่ งไร
- เปิดเรียนได้เฉพาะชั้นมัธยมศึกษา เพราะนักเรียนได้รับวัคซีนแล้ว อายุ12-18ปี จำนวนนักเรียน 300
กว่าคน
การเตรียมการดา้ นคณุ ภาพ
- จดั เตรยี มสถานทร่ี บั ใบงาน
- มจี ดุ คัดกรอง
- จดั ตารางรับ- ส่งงาน การรบั เงนิ อาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ นม
- มกี ารจดั เตรยี มสถานทแ่ี ละแตง่ ต้ังผู้รับผดิ ชอบ
- ปรบั ปรงุ ระบบอนิ เทอร์เนต็ พ่อื รับรองการสอนออนไลน์
- การทำความสะอาดของแม่บา้ น ทุกวันองั คาร และวันพฤหัสบดี
- ผอ.เพ่ิมเตมิ ราคา ATK ราคาแพง 7 วนั ต้องตรวจเช็ค 1 ครัง้ เพราะใชง้ บประมาณมาก
- โรงเรียนควบคุมไมไ่ ดใ้ นการรับส่งนกั เรียนโดยรถรับส่งท่ไี ม่ได้คณุ ภาพ บรรทุกนักเรียนจำนวนมากเกนิ ไป
- นายอำเภอใหเ้ งอ่ื นไขการเปิดปิดโรงเรยี นดจู ากการรับวคั ซนี เพียงอยา่ งเดยี ว
- ผวู้ ่าราชการจังหวดั เชียงใหมไ่ ม่อนุญาตให้เปิดเรียน ON-Site
ขอให้ท่ีประชมุ พจิ ารณา
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่อง รบั รองรายงานการประชุม
มติทป่ี ระชมุ รบั รองรายงานการประชมุ
ระเบียบวาระที่ ๓ สืบเนอื่ งจากการประชุมคราวทแี่ ลว้
ไมม่ ี
ระเบียบวาระท่ี ๔ เรอ่ื งเสนอเพ่ือทราบ
4.1 การเกลี่ยอัตรากำลงั 4 ตำแหน่ง
- รับยา้ ย 2 ตำแหน่ง คณติ ศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษ
- รอบรรจใุ หม่ 2 ตำแหนง่
ระเบียบวาระที่ 5 เร่ืองเสนอท่ีประชุมพิจารณา
5.1 แผนปฏิบตั กิ ารปรับปรุง ปกี ารศึกษา 2564
ทางโรงเรยี นไดข้ ออนุมัติจากคณะกรรมการแล้ว แต่ใหท้ างโรงเรยี นตอ้ งปรบั ใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์
โควดิ -19 และขออนุมตั ิใหม่
5.1.1 ปรบั เปลี่ยนงบประมาณ ฝ่ายแผนปฏบิ ตั ิการ ครจู รรยารบั ผดิ ชอบ
-ระดบั ปฐมวัย กจิ กรรมทัศนศึกษา ,บ้านวิทยาศาสตร์น้อย, Kids day camp
แผนปฏิบัติการ ปกี ารศกึ ษา 2565 ๒๔๐
5.1.2 ระดบั ข้ันพนื้ ฐาน
-การแข่งขนั วชิ าการ เปิดบา้ นวิชาการ ค่ายคุณธรรม ลกู เสือเนตรนารี ทัศนศกึ ษา วันสำคญั
-โครงการสสง่ เสริมสุขภาพ กฬี าสี
-การแลกเปล่ียนวฒั นธรรมไทย –ญป่ี ุน่
-ทางโรงเรียนได้ปรับงบประมาณไปใชใ้ นโครงการฉกุ เฉิน โดยนำไปพฒั นาผ้เู รียน หากมีการเปิดเรียน on-site
โดยขออนุมัติการใชเ้ งนิ โครงการสำรองจา่ ยในกรณีฉุกเฉนิ
5.2 การจดั เก็บเงนิ บำรุงการศกึ ษา โรงเรยี นวดั แมแ่ กด้ น้อย ปกี ารศึกษา 2565
5.2.1 กจิ กรรมท่ี 1 การจา้ งครสู อนวิชาภาษาจนี
-การจ้างครูสอนวิชาภาษาจีนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4-6 จำนวน 1 คน คนละ9,923 บาท ระยะเวลา
12 เดอื น นางสาวเชษฐส์ ดุ า โปธา รวมเปน็ เงิน 119,076 บาท
-การจ้างครูสอนวิชาภาษาจีนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1-3 จำนวน 1 คน คนละ9,548 บาท ระยะเวลา
12 เดอื น นางสาวกมลวรรณ ก๋าอ่วน รวมเป็นเงนิ 114,576 บาท
-การจ้างครูสอนวิชาดนตรีไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4-6 จำนวน 1 คน คนละ9,548 บาท ระยะเวลา
12 เดือน นายวุฒชิ ัย ขัติมงคล รวมเปน็ เงิน 114,576 บาท
5.2.2 กิจกรรมที่ 2 การเชา่ และบำรุงคอมพวิ เตอร์ เปน็ เงนิ ทั้งสิน้ 371,960 บาท
5.2.3 กิจกรรมการจัดซ้ือแบบฝึกหัดภาษาจนี เปน็ เงินทง้ั สน้ิ 70,000 บาท
5.2.4 กจิ กรรมอืน่ ๆ เป็นเงนิ ทงั้ สนิ้ 30,000 บาท
5.2.5 กิจกรรมการนิเทศ รายงานผล และสรปุ ผล ไมใ่ ชง้ บประมาณ
การใช้เงินในโครงการการเก็บเงินบำรุงการศึกษาโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย ปีการศึกษา2565 ใช้เงินทั้งส้ิน
820,188 บาท
5.2.6 การจัดเก็บเงินบำรุงการศึกษา ขอจัดเก็บเงินนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยเกบ็ นักเรียนคนละ800 บาทต่อปีการศกึ ษาโดยขอเรม่ิ จดั เกบ็ ในปกี ารศึกษา 2565 เป็นตน้ ไป
5.3 การจัดเงินระดมทรัพย์จัดเก็บในชั้นอนุบาล ขอจัดเก็บคนละ 2,400 บาทต่อปีการศึกษา โดยขอเริ่ม
จดั เก็บในปกี ารศกึ ษา 2565 เปน็ ตน้ ไป
มติท่ปี ระชมุ เห็นชอบ
ระเบยี บวาระที่ 6 อน่ื ๆ นางตรนี ชุ คุณยศย่งิ
- ผ้บู ันทึกการประชมุ
ปิดประชมุ เวลา 12.00 น.
ลงชอื่ ......................................
(นายณรงค์ ลุมมา)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนวดั แมแ่ กด้ น้อย
ผู้ตรวจการประชุม
แผนปฏบิ ตั ิการ ปีการศึกษา 2565 ๒๔๑
ตำบลปา่ ไผ่ อำเภอสนั ทราย จังหวดั เชียงใหม่
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
โทรศัพท์ : 053-492002